Systems_Thinking

Page 1


สรุปองคความรูจากการอบรม โครงการขับเคลื่อนเครือขายคุณธรรมในระบบการศึกษา ระดับอุดมศึกษา : การอบรมภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษา สูมหาวิทยาลัย

หลักสูตรที่ 3

การคิดอยางเปนระบบ (Systems Thinking) กระบวนกร ชัยวัฒน ถิระพันธ

โดย สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา และศูนยวิจัยและพัฒนาจิตตปญญาศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


370.114 สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ส 691 ส สรุปองคความรูจ ากการอบรม โครงการขับเคลือ่ นเครือขายคุณธรรม ในระบบการศึ ก ษา ระดั บ อุ ด มศึ ก ษา : การอบรมภาวะผู  น ำทาง จิตตปญญาศึกษาสูม หาวิทยาลัย หลักสูตรที่ 3 การคิดอยางเปนระบบ, กรุงเทพฯ : สกศ., 2552 88 หนา ISBN 978-974-559-631-3 1. จิตตปญญาศึกษา 2. ชื่อเรื่อง สรุปองคความรูจากการอบรม โครงการขับเคลื่อนเครือขายคุณธรรม ในระบบการศึกษา ระดับอุดมศึกษา : การอบรมภาวะผูน ำทางจิตตปญญาศึกษา สูมหาวิทยาลัย หลักสูตรที่ 3 การคิดอยางเปนระบบ สิ่งพิมพ สกศ. อันดับที่ 20/2552 ISBN 978-974-559-631-3 พิมพครั้งที่ 1 มกราคม 2552 จำนวน 3,000 เลม จัดพิมพและเผยแพร สำนักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ถนนสุโขทัย เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท 0-2668-7123 โทรสาร 0-2243-1129 Web site : http://www.onec.go.th พิมพที่ หางหุนสวนจำกัด ภาพพิมพ 296 ซอยจรัญสนิทวงศ 40 ถนนจรัญสนิทวงศ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพฯ 10700 โทรศัพท 0-2433-0026-7, 0-2433-8587 โทรสาร 0-2433-8587


(ก)

คำนำ โครงการขับเคลื่อนเครือขายคุณธรรมในระบบการศึกษา ระดับ อุดมศึกษา : การอบรมภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิทยาลัย เกิ ด ขึ ้ น จาก แนวคิ ด ของ ศาสตราจารย นายแพทย ประเวศ วะ สี ที ่ ต อ งการ ใหสถาบันการศึกษาไทยจัดการเรียนรูแบบใหมที่มุงการพัฒนาดานในดวย กระบวนทัศนใหมที่สงเสริมศักยภาพของมนุษยในการเขาถึงความจริง ความดี ความ งาม ซึ่ง เปนความ สุข ที่เกิด จาก ปญญา ความ ตระหนักรู และ ความ เขมแข็งทางจิตวิญญาณ ซึ่งแนวคิดดังกลาวนั้นเปนที่มาของจิตตปญญาศึกษา (Contemplative Education) ที่มุงเนนการสรางกระบวนทัศนใหม การปลูกฝง ความตระหนักรู ดวยกิจกรรมบมเพาะความรัก ความเมตตาการมีจิตสำนึก ตอสวนรวม การพัฒนาจิตและฝกปฏิบัติ จนผูเรียนเกิดปญญา (Wisdom) อันจะสงผลใหพลโลกอยูรวมกันอยางสันติ ไมเกิดความแปลกแยกระหวาง คนในสังคมและระหวางมนุษยกับสิ่งแวดลอม สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาในฐานะหนวยงานที่วางนโยบาย การศึกษาของประเทศไดเล็งเห็นความสำคัญเรงดวนในการผลักดันแนวคิด และ ระบบ การ เรี ย นรู  เช น นี ้ ขึ ้ น ใน สั ง คม ไทยจึ ง ได ดำเนิ น โครงการ ร ว มกั บ คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จัดอบรมภาวะผูนำทางจิตตปญญา ศึกษาใหแกแกนนำผูบริหารในระดับอุดมศึกษา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อให ผูบริหาร คณาจารย ในระดับอุดมศึกษาไดเรียนรูอยางเขาใจผานประสบการณ เพื่อจะไดเปนกำลังสำคัญในการผลักดันแนวคิดและกระบวนการเรียนรูแบบ จิ ต ต ป ญ ญา ศึ ก ษา ให เกิ ด ขึ ้ น ใน มหาวิ ท ยาลั ย และ สร า ง กลุ  ม คน ที ่ จ ะ เป น ผูกอกระแสเริ่มตน (Critical Mass) และจุดประกายใหกระบวนการเรียนรูแบบ จิตตปญญาศึกษาขยายตัวไปเปนเครือขายอยางกวางขวาง และเกิดความ เปลี่ยนแปลงในสังคมไทยขึ้นได


(ข) เอกสารฉบับนี้เปนการสรุปองคความรูที่ไดจากการอบรม เรื่องการคิด อยางเปนระบบ จากทั้งหมด 4 เรื่อง คือ 1) การเรียนรูดวยหัวใจใครครวญ 2) ศาสตร แห ง นพ ลั ก ษณ 3) การ คิ ด อย า ง เป น ระบบ 4) การ ศึ ก ษา เพื ่ อ การเปลี่ยนแปลงอยางลึกซึ้ง โดยการคิดอยางเปนระบบ เปนวิชาที่พยายาม ทำความเขาใจระบบที่ซับซอนความสัมพันธระหวางเรากับระบบที่ซับซอน และเปลี่ยนแปลง ฝกการมองระบบที่ปรับเปลี่ยนเสมือน “ภูเขาน้ำแข็ง” ที่เรา ตองคิดทั้ง 4 ระดับ จึงจะเห็นระบบทั้งหมด ฝกการทำแผนที่ความสัมพันธ ที ่ ม องไม เ ห็ น ด ว ย ตาเปล า ด ว ยการ ทำความ เข า ใจ เส น ทางการ ป อ น กลั บ (feedback loops) ที่เปนทั้งการปอนกลับเพิ่มกำลังทวีคูณ (reinforcing feedback) การปอนกลับคานกำลัง (balancing feedback) รูจักการมาชา ใน ระบบ ที ่ ซั บ ซ อ น เรี ย น รู  เ รื ่ อ ง “โคตร แบบ” (archetypes) ที ่ มั ก เกิ ด ขึ ้ น จากการคิดและการกระทำของเรา การฝกอบรม systems thinking จะชวย ใหมีทักษะในการ conceptualize ดวย สำนั ก งานฯ ขอ ขอบคุ ณ วิ ท ยากร ผู  บ ริ ห าร คณาจารย ผู  เข า รั บ การอบรมทุกทาน และหวังเปนอยางยิ่งวาเอกสารฉบับนี้ จะเปนเครื่องมือ ใหผูผานการอบรมและผูสนใจไดศึกษาเพื่อจุดประกายใหสถาบันอุดมศึกษา ทั ่ ว ประเทศ ได นำ สิ ่ ง ที ่ ได เรี ย นรู  สู  การ ปฏิ บ ั ต ิ ให ปรากฏผล เป น รู ป ธรรม ที่คณาจารย หลักสูตร และคุณภาพผูเรียน อยางยั่งยืนตอไป

(รองศาสตราจารยธงทอง จันทรางศุ) เลขาธิการสภาการศึกษา


(ค)

สารบัญ คำนำ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2

บทที่ 3

หนา (ก) (ค) บทนำ 1 สาระสำคัญ/ กิจกรรมการเรียนรู 8 กำหนดการอบรม 8 2.1 ทฤษฎีวาดวยวัฎจักรการเรียนรูลึกซึ้ง 12 2.2 ทฤษฎีวาดวยการคิด 4 ระดับ “มองใหทะลุภูเขาน้ำแข็ง” 25 2.3 ทฤษฎีวาดวย ปรัชญา ทักษะและขอควรระมัดระวัง 37 ในการคิดกระบวนระบบ 2.4 Feedback : การปอนกลับของเรื่องราว 40 2.4.1 ทฤษฎีวาดวย เสนการปอนกลับ 40 (Feedback loops) และการมาชา (delay) ในโลกที่ซับซอน 2.4.2 ทฤษฎีวาดวย การปอนกลับเพิ่มกำลังทวีคูณ 44 (reinforcing feedback) และการปอนกลับ คานกำลัง (balancing feedback) 2.4.3 ทฤษฎีวาดวย “โคตรแบบ” (Archetype) 57 2.5 ทฤษฎี “โมเดลของระบบพลวัต” (system dynamic) 69 บทสรุป : เสียงสะทอนจากผูเขาอบรม 77


1

การคิดอยางเปนระบบ

º··Õè

1

º·¹Ó

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาไดดำเนินโครงการขับเคลือ่ นเครือขาย คุณธรรมในระบบการศึกษา ระดับอุดมศึกษา : การอบรมภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิทยาลัย รวมกับคณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ซึ่งเปนโครงการสืบเนื่องจากการประชุม “ภาคีสงเสริมนวัตกรรมการเรียนรู” (กลุมโกศล)1 ซึ่งมี ศาสตราจารยนายแพทยประเวศ วะสี เปนประธานไดประชุม รวมกับอธิการบดี รองอธิการบดี คณบดี จากมหาวิทยาลัยทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชนที่สนใจมิติการพัฒนาจิตวิญญาณในการจัดการศึกษา เพื่อสราง ความสมดุลระหวางความเขมแข็งทางวิชาการกับการเติบโตดานใน ดวย การเรียนรูผานประสบการณตรงแบบบูรณาการและผสานสรรพศาสตรเพื่อ นำไปสูการเปลี่ยนแปลงภายในตนเองอันจะนำไปสูการปรับสังคมไทยจากสังคม อำนาจไปสูสังคมปญญา ซึ่งเปนกระบวนการทางปญญา กระบวนการทางสังคม และ กระบวนการ ทางศี ล ธรรม ร ว ม กั น อาจ กล า ว ได ว า การ เรี ย นรู  ที ่ ดี เป น สิ่งประเสริฐของมนุษย สามารถพามนุษยใหบรรลุอะไรไดทั้งสิ้น และการเรียนรู ที่ดีควรมีวัฒนธรรมเปนฐานและมีวิทยาศาสตรเปนเครื่องมือ กลุมโกศลไดจัดประชุมเปนระยะๆ เพื่อขยายภาคี แสวงหาการเรียนรู ที่ดีที่สุดและชวยเพื่อนมนุษยใหไดพบการเรียนรูที่ดีที่สุด เพื่อเขาจะไดพัฒนา ศั ก ยภาพ ของ ตั ว เอง ได โดย จั บ เรื ่ อ ง การ เรี ย นรู  หลาย แง ม ุ ม รวม ทั ้ ง เรื ่ อ ง กระบวนการทางวิทยาศาสตรผนวกกับศิลปะ ดนตรี Body Movement และ 1

เรียกสั้นๆ วา กลุมโกศล เปนกลุมที่รวมตัวอยางอิสระ เพื่อรวมคิด รวมแสวงหา รวมสงเสริม กระบวนการ เรียนรูที่ดีใหขยายตัวออกไป ทั้งใน และ นอก ระบบ การศึกษาดวยกลไกที่ ไมเปนทางการ ทำงานสนับสนุนกลไกที่เปนทางการ


2

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

ยังไดติดตามเรือ่ ง Brain Based Learning มีเรือ่ งหนึง่ เรียกวา “จิตตปญญาศึกษา” ซึง่ ศาสตราจารยสุมน อมรวิวฒ ั น ไดกรุณาแปลจาก “Contemplative Education” สวนนายแพทยประสาน ตางใจ ไดอธิบายวา จิตตปญญาศึกษา หมายถึง Wisdom จาก Intuition ซึ่งก็คือการศึกษาที่ทำใหเกิดปญญาจากการรูจิตของ ตัวเอง แลวเกิดปญญาใหม (Wisdom) ในคราวที่กลุมโกศลประชุมรวมกับแกนนำผูบริหารในมหาวิทยาลัย ทั้งภาครัฐและเอกชนกวา 100 คน ไดมีการแลกเปลี่ยนประสบการณการเรียนรู แนวจิตตปญญาศึกษา โดยมีผูทรงคุณวุฒิ นักคิด ผูสนใจเรื่องจิตตปญญา ศึกษามาแลกเปลี่ยนและเลาประสบการณการดำเนินงาน รวมถึงการดำเนินงาน ในมหาวิทยาลัยมหิดลซึ่งกอตั้งศูนยจิตตปญญาศึกษาในมหาวิทยาลัยขึ้นเปน แหงแรก ผลจากการประชุม ผูบริหารสถาบันอุดมศึกษาแสดงความสนใจที่จะ รวมเรียนรูแนวจิตตปญญาศึกษาเพื่อนำมาปรับใชในระดับอุดมศึกษา จำนวน 8 6 แห ง ดั ง นั ้ น สถาบั น อุ ด มศึ ก ษา จึ ง เป น ความ หวั ง ว า จะ เป น หั ว รถจั ก ร ทางปญญาที่จะดึงขบวนการศึกษาทั้งหมดไปดวยพลังองคสาม2 หรือ “ไตรยางค แหงการศึกษา” ไดแก องคที่ 1 การศึกษาในฐานวัฒนธรรม องคที่ 2 กระบวนการทางวิทยาศาสตร องคที่ 3 จิตตปญญาศึกษา ปจจุบันทั่วโลกไดมีการศึกษา เรื่อง Contemplative Education ไวมาก เชน ในสหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัยนาโรปะมีการจัดการศึกษาดวย Contemplative Education ทั้งมหาวิทยาลัยมีคนไทยไปศึกษาระดับปริญญาโทจนจบมา แลวถึง 6 คน แคลิฟอรเนีย มี Institute of Noetic Science ทำการวิจัยคนควา และฝกอบรมเกี่ยวกับจิตสำนึกใหม (New Consciousness) 2

ศ.นพ.ประเวศ วะสี. “มหาวิทยาลัยกับจิตตปญญาศึกษาและไตรยางคแหงการศึกษา”, 2550.


3

การคิดอยางเปนระบบ

ในประเทศไทยมีความพยายามนำหลักการและแนวคิดเกี่ยวกับการ เรียนรูมิติภายในของมนุษยหรือจิตตปญญามาบูรณาการเขากับการศึกษา ทั้งในระบบและนอกระบบ ในรูปแบบที่หลากหลาย ขึ้นอยูกับบริบท ทัศนคติ ประสบการณ ความชำนาญ รวมทั้งปรัชญาพื้นฐานของสถาบันหรือหนวยงาน ตนสังกัดนั้นๆ เชน กลุมโรงเรียนวิถีพุทธ โรงเรียนสัตยาไส โรงเรียนรุงอรุณ เสมสิกขาลัย เครือขายพุทธิกา สถาบันขวัญเมือง เปนตน นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยมหิดล รวมกับศูนยสงเสริมและพัฒนาพลัง แผนดินเชิงคุณธรรม ไดดำเนินโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตรการอบรม กระบวนกรดานจิตตปญญาศึกษา โดยมีวัตถุประสงคหลักในการสังเคราะห ปรัชญาหลักการพืน้ ฐาน กระบวนการคุณสมบัตของ ิ กระบวนกรและองคประกอบ อื่นๆ สำหรับการจัดกระบวนการเรียนรูตามแนวจิตตปญญาศึกษา ดวยการจัด ฝกอบรมกระบวนกรแกนนำดวย 9 กระบวนการ3 ที่มุงเนนการสรางกระบวนทัศน ใหม การปลูกฝงความตระหนักรู ความรักความเมตตา จิตสำนึกตอสวนรวม ตลอดจนการฝกปฏิบัติพัฒนาจิต เพื่อใหกระบวนกรเกิดปญญาและนำไปใช  จิตตปญญาศึกษาในสังคม เคลือ่ นไหวผลักดันแนวคิดและกระบวนการเรียนรูแนว ไทย และไดมีการเปดสอนหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตตปญญา ศึกษา และการเรียนรูสูการเปลี่ยนแปลง ในมหาวิทยาลัยมหิดล ปการศึกษา 2551 จากแนวคิดดังกลาว สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา เครือขาย กระบวน กร 4 จิ ต ต ป ญ ญา ศึ ก ษา ( นาย ณั ฐ ฬส วั ง วิ ญ ู และ นาย อดิ ศ ร จันทรสุข) และศูนยจิตตปญญาศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จึงรวมกันกำหนดหลักสูตรการอบรมภาวะผูน ำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย 3

4

การอบรมแนวจิตตปญญาศึกษา 9 กระบวนการ 1) การเจริญสติวิปส สนา 2) การทำงานเชิง อาสาสมัคร 3) จิตตศิลป 4) พลังกลุม 5) นพลักษณเพื่อการพัฒนาตน 6) สุนทรียสนทนา / ชุมชนแหงการเรียนรูเพื่อการเปลี่ยนแปลงรวม 7) วิธีคิดกระบวนระบบ 8) การเผชิญความ ตายอยางสงบ 9) นิเวศภาวนา กระบวนกร เปนคำที่นายณัฐฬส วังวิญู ไดบัญญัติขึ้น หมายถึง “วิทยากรกระบวนการ” หรือ “ผูจัดกระบวนการเรียนรู”


4

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

ขึ้น โดยมุงหวังใหแกนนำซึ่งเปนระดับผูบริหารในสถาบันอุดมศึกษา ไดเรียนรู จากประสบการณตรงเพื่อเปนแกนนำความรู ความเขาใจ จากที่ไดสัมผัสไป เผยแพรแนวคิดสูการปฏิบัติตามบริบทของแตละสถาบัน รวมทั้งเปนการสราง เครือขายจิตตปญญาศึกษาในระดับอุดมศึกษา เพื่อการขยายผลในวงกวาง ตอไป ดวยเหตุที่ผูเขาอบรม เปนผูบริหาร ระดับอธิการบดี รอง อธิการบดี คณบดี ในระดับมหาวิทยาลัยซึ่งมีขอจำกัดดานเวลาที่จะมาเขาอบรม จึงกำหนด หลักสูตรการอบรมไว 4 หลักสูตร5 คือ 1) การเรียนรูดวยหัวใจที่ใครครวญ (Contemplative Education) 2) ศาสตรแหงนพลักษณ (Enneagram) 3) การคิด อยางเปนระบบ (Systems Thinking) 4) การศึกษาเพื่อการเปลี่ยนแปลงอยาง ลึกซึ้ง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาผูบริหารและคณาจารยในดานภาวะผูนำ ดานจิตตปญญาศึกษา (Contemplative Education Leadership) และเพื่อ พัฒนา “ทีมเรียนรู” และชุมชนแหงการเรียนรูดานจิตตปญญาศึกษา สาระ สำคัญประกอบดวย หลักสูตรที่หนึ่ง การเรียนรูดวยหัวใจที่ใครครวญ (Contemplative Education)6 เปนการสรางความเขาใจพื้นฐานดวยกระบวนการเรียนรูดวยใจ อยางใครครวญ ผานประสบการณที่เริ่มจากการสรางมณฑลแหงการเรียนรู การเรียนรูพื้นที่และการสรางสัมพันธภาพการรับฟงอยางลึกซึ้ง ดวยกระบวนการ เรียนรูรวมกันอยางเปนกลุม เพื่อใหเห็นวาความรูนั้นกอรูปขึ้นมาในวงสนทนาได ในบรรยากาศแหงความผอนคลาย ความไววางใจและมิตรภาพสอดคลองกับ แนวทางแหงการเขาถึงความรูของวิทยาศาสตรกระบวนทัศนใหม ความเขาใจ เรื่องคลื่นสมอง การทำงานของสมอง ปญญาสามฐาน ทิศทั้ง 4 ผนวกกับ ปรัชญาและแนวปฏิบัติของภูมิปญญาตะวันออก ไดแก การเจริญสติภาวนา 5

6

หลักสูตรในที่นี้ หมายถึง เนื้อหาสาระและรูปแบบการฝกอบรม รวมถึงวัตถุประสงค ที่ตองการใหเกิดกับผูผานการอบรม และตัวอยางกิจกรรมการเรียนรูที่กระบวนกรจงใจ จัดขึ้นเพื่อเปนเครื่องมือนำไปสูวัตถุประสงคที่ตองการ ศ.สุมน อมรวิวัฒน แปล Contemplative Education วา จิตตปญญาศึกษา


5

การคิดอยางเปนระบบ

บมเพาะความตืน่ รูในกาย  ไทฉฉี วน โดยทัง้ หมดนีถื้ อไดวา เปนอีกรูปแบบหนึง่ ของ จิตตปญญาศึกษา เพือ่ ใหเขาถึงปาฏิหาริยแห  งการหันหนาเขาหากันดวยความรัก ความเมตตา หลักสูตรที่สอง ศาสตรแหงนพลักษณ (Enneagram) เปนทฤษฎี บุคลิกภาพทีม่ รี ากฐานจากศาสตรโบราณ และไดถูกนำมาพัฒนาโดยนักจิตวิทยา ตะวันตก จุดเดนของนพลักษณ คือ การเนนความเขาใจบุคลิกภาพจากโลกทัศน จุดสนใจและเกิดกิเลสพื้นฐานในคนทั้งเกาลักษณที่จำแนกไว ทั้งนี้อาจกลาว ไดวานพลักษณเปนเครื่องมือที่ดีที่สุดอยางหนึ่งในการเขาใจจิตใจ และความ รูสึกนึกคิดของตนเองและผูอื่น กระบวนการอบรมและการเรียนรูจะเกิดขึ้น ผานกระบวนการที่เอื้อใหเกิดการสำรวจตนเอง และการสัมภาษณ (Panel interview) เพื่อใหผูเขารวมกระบวนการเกิดการทบทวนประสบการณของตน และ เรี ย นรู  ลั ก ษณะ หลั ก ของ คน แต ล ะ ลั ก ษณ ร ว ม กั น จาก ตั ว อย า ง รู ป ธรรม ในชีวิตของแตละคน หลักสูตรที่สาม การคิดอยางเปนระบบ (Systems Thinking) เปน การพยายามทำความเขาใจระบบที่ซับซอนความสัมพันธระหวางเรากับระบบ ที่ซับซอนและเปลี่ยนแปลง ฝกการมองระบบที่ปรับเปลี่ยนเสมือน “ภูเขาน้ำแข็ง” ที่เราตองคิดทั้ง 4 ระดับ จึงจะเห็นระบบทั้งหมด ฝกการทำแผนที่ความสัมพันธ ทีมอง ่ ไมเห็นดวยตาเปลา ดวยการทำความเขาใจเสนทางการปอนกลับ (feedback loops) ที่เปนทั้งการปอน กลับเพิ่มกำลังทวีคูณ (reinforcing feedback) การปอนกลับคานกำลัง (balancing feedback) รูจักการมาชาในระบบที่ซับซอน เรียนรูเรื่อง “โคตรแบบ” (archetypes) ที่มักเกิดขึ้นจากการคิดและการกระทำ ของเรา การฝกอบรม systems thinking จะชวยใหมีทักษะในการ conceptualize ดวย หลักสูตรที่สี่ การศึกษาเพื่อการเปลี่ยนแปลงอยางลึกซึ้ง (Transformative Education) คือแนวคิดสำคัญในการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ให เกิ ด ความ ตระหนั ก รู  ต อ โลกภาย ใน ของ ตน เอง ที ่ ประกอบด ว ย ความคิ ด


6

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

ความรูสึก ความเชื่อ ทัศนคติ การมองโลกและชีวิต ซึ่งเชื่อมโยงสัมพันธกับ โลกภายนอกทั้งในแงการดำเนินชีวิตและการปฏิบัติงานในดานตางๆ อยาง ไมสามารถแยกจากกันได หากผูสอนตั้งแตระดับชั้นอนุบาลจนถึงอุดมศึกษา มองขามการเรียนรูเกี  ย่ วกับโลกภายในของตนเอง ซึง่ เปนพืน้ ฐานสำคัญทีเชื ่ อ่ มโยง ไปสูความคิดความเชื่อและการปฏิบัติในระดับวิชาชีพ ก็อาจกลายเปนอุปสรรค สำคัญตอกระบวนการสอนและการพัฒนาคุณภาพภายในของผูเรียนใหเปน มนุษยที่สมบูรณได กระบวนการสืบคนตนเองและกลุมเชิงสรางสรรคจะชวยให ผูสอนเกิดความตระหนัก ยอมรับ และกาวขามความคิดความเชื่อดั้งเดิมของตน เกี่ยวกับการสอนและการเรียนรูไปสูการเปดรับแนวคิดที่แตกตางหลากหลาย บนพื้นฐานความเชื่อในศักยภาพของมนุษย จนสามารถออกแบบกระบวนการ เรียนรูแนวใหมที่ชวยใหผูเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางลึกซึ้งในทุกสาระวิชา และในบริบทตางๆ ได การฝกอบรมทั้ง 4 หลักสูตร จัดขึ้นในชวงวันที่ 28 เมษายน – 5 สิงหาคม 2551 หลังจากสิ้นสุดการฝกอบรมหลักสูตรที่ 4 ไปแลวหนึ่งเดือนจึงไดมีการจัด ประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณการนำสิ่งที่เรียนรูไปปรับใชตามบริบทของ ผูผานการอบรม เมื่อวันที่ 3 – 4 กันยายน 2551 พบวา ผูเขารับการอบรมเกิด การ เรี ย นรู  และ นำ สิ ่ ง ที ่ ได เรี ย นรู  ไป ใช ประโยชน ใน ระดั บ ที ่ แ ตกต า ง กั น ทั ้ ง ในสวนตนเอง ครอบครัว กับผูคนรอบขาง รวมถึงการนำไปปรับใชกับการจัด การเรียนการสอน สรุปไดดังนี้ ตอตนเอง : การรูจักตนเอง เขาใจตนเอง สังเกตตนเอง อัตตาความ มีตัวตนลดลง มีการใครครวญ (quiet mind) มากขึ้น ทำใหตนเองเปนคนที่ ชาลง เย็นลง (cool down) ไดเรียนรูเรื่องกระบวนการคิด รูจักมองใตภูเขา น้ำแข็งประกอบดวยมากกวาการมองแคปรากฏการณทีเห็ ่ น ตองสืบคนจากตนตอ ของปญหา เหตุปจจัย มองเห็นผังความเชื่อมโยงของชีวิตตนเอง ตอครอบครัว : เขาใจคนในครอบครัวมากขึ้น มีเมตตา มีการปฏิบัติที่ เปลี่ยนไป


7

การคิดอยางเปนระบบ

ตอผูค นรอบขาง : ฟงผูอ น่ื อยางตัง้ ใจ ชวยเหลือคนทีอยู ่ รอบข  างมากขึน้ ความขัดแยงลดลง การนำไปปรับใชกับการจัดการเรียนการสอน : มีการนำรูปแบบ กิจกรรมไปปรับประยุกตใชกับการเรียนการสอน เริ่มจากการฟงนักศึกษาอยาง ลึกซึ้ง มีเทคนิคในการใชภาษา การตั้งคำถามลงลึก การตั้งคำถามยอนกลับ นำกิจกรรมการ ผอน พักตระหนักรูมาใช ใชระฆังประกอบการ จัดกิจกรรม การเรียนการสอน ปลูกฝงวิธีคิดใหกับนักศึกษา ใหเวลานักศึกษานิ่งแลวคิดกอน (อยูกับตัวเอง) ใหเขียน แลวคอยพูดคุยหรือนำเสนอ ใหนักศึกษาสรุปสาระจาก บทเรียน เวลาทำอะไรใหนึกถึงเหตุปจจัย มองอยางเปนระบบ เชื่อมโยงอยาง เปนองครวม เปนเหตุเปนผล ผลที่เกิดขึ้น : กลุมนักศึกษาที่ผานการใชกระบวนการนี้ในชวงแรกจะ รูส กึ งงแตในชวงหลังจะชอบ แตบางกลุม ทีไม ่ คอ ยเขาใจก็มี กระบวนการนีสามารถ ้ นำไปใชจริง ไดประโยชน รูสึกวา “คุมคา” ปญหาอุปสรรค : การนำไปใชทำไมไดตอเนื่อง ติดอยูกับความเคยชิน ของผูรับที่อยากไดชุดความรูที่สำเร็จรูปที่นำไปใชไดทันที ผูบริหารบางแหงยัง ไมเห็นดวย ขอเสนอตอการประยุกตใชและการขับเคลื่อน : นำไปปรับปรุง หลักสูตรการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษา การจัดกิจกรรมอบรมหลักสูตร จิตตปญญาศึกษาใหแกบุคลากรในมหาวิทยาลัย หลักสูตรการเรียนรูดวยใจ อยางใครครวญ มีการนำไปใชใหคำปรึกษากับนักศึกษา หมัน่ ประชุม มีเครือขาย ที่เรียนรูดวยกัน ทำใหสดใหม (refresh) ในเรื่องนี้อยูตลอดเวลา เริ่มจากกลุม เล็กๆ กอน เพราะปจจัยสนับสนุนไมมาก ขอเสนอแนะ : ผูเขารับการอบรมจะกลับไปดำเนินการตอที่สถาบัน ของตนเอง สวนในระดับเครือขายอาจจะมีการจับมือกันระดับพื้นที่จังหวัด ภาค โดยมีหนวยงานที่เปนกลไกในการขับเคลื่อน (สนับสนุนวิทยากรและการจัด เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู) อาทิ สำนักงานกองทุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) เปนตน


8

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

º··Õè

2

ÊÒÃÐÊÓ¤ÑÞ / ¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

การอบรมภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิทยาลัยที่สำนักงาน เลขาธิการสภาการศึกษา และศูนยวิจัยและพัฒนาจิตตปญญาศึกษา คณะ ครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวมกันดำเนินการนี้ ประกอบดวยหลักสูตร 1) การเรียนรูดวยหัวใจที่ใครครวญ (Contemplative Education) หลักสูตร 2) ศาสตรแหงนพลักษณ (Enneagram) หลักสูตร 3) การคิดอยางเปนระบบ (Systems thinking) หลักสูตร 4) การศึกษาเพื่อการเปลี่ยนแปลงอยางลึกซึ้ง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาผูบริหารและคณาจารยคณะครุศาสตร/ศึกษาศาสตรในดานภาวะผูนำดานจิตตปญญาศึกษา (Contemplative Education Leadership) และเพื่อพัฒนา “ทีมเรียนรู” และชุมชน แหงการเรียนรูดาน จิตตปญญาศึกษา

กำหนดการการฝกอบรม วันที่หนึ่ง 09.00 - 09.15 น. 09.15 - 10.30 น. 10.45 - 11.30 น. 11.30 - 12.00 น.

กลาวชี้แจงกระบวนการเรียนรูรวมกัน ทฤษฎี ว า ด ว ยวั ฎ จั ก ร การ เรี ย นรู  ลึ ก ซึ ้ ง (Deep learning cycle) และ องคกร เรียนรู (Learning organization) ซึ่ง สัมพันธกับกระบวนการคิดกระบวนระบบ (systems thinking) เขาใจหลักการพืน้ ฐานของวิธคิี ดกระบวนระบบ ดวยการเลาเรือ่ ง “ตัวของฉัน” Reflection in action บทเรียนจากการเลาเรือ่ งตัวของฉันสัมพันธ กับมิติวิธีคิดกระบวนระบบและปรีชาญาณตะวันออกอยางไร? มันสะทอนอะไรตอ Contemplative seeing


9

การคิดอยางเปนระบบ

13.00 - 14.30 น. 14.30 - 15.15 น. 15.30 - 16.30 น. 16.30 - 17.00 น. 17.00 - 17.30 น.

แบบฝกหัดวาดวยเสนของเหตุและผล (Causal loops) ขอคิด จากบทเรียนนี้ ทฤษฎีวาดวยการคิด 4 ระดับ “มองใหทะลุภูเขาน้ำแข็ง” แบบฝกหัดการคิด 4 ระดับ จากปญหาจริง Reflection in action บทเรียนนี้ใหขอคิดอะไร มีอะไรเปน ความคิดใหมๆ ในแบบฝกหัดนี้บาง? Journaling and check out

วันที่สอง 09.00 - 09.45 น. 09.45 - 10.15 น. 10.30 - 11.00 น. 11.00 - 12.00 น. 13.30 - 14.00 น. 14.00 - 14.30น. 14.30 - 15.00 น. 15.15 - 15.45 น. 15.45 - 16.30 น. 16.30 - 16.45 น. 16.45 - 17.15 น.

นั่งสมาธิ แลว Check in ทฤษฎีวาดวย ปรัชญา ทักษะและขอควรระมัดระวังในการคิด กระบวนระบบ ทฤษฎีวาดวย เสนการปอนกลับ (Feedback loops) และ การมาชา (Delay) ในโลกที่ซับซอน แบบฝกหัด ทำความเขาใจกับความซับซอนของการ Delays ของสภาพปญหาที่เราเผชิญ Reflection in action การเขาใจความซับซอนให “ญาณทัศนะ” อะไรแกเรา? “โคตรแบบ” (Archetype) เมื่อภาพจำลองความคิด (Mental model) เขามาเปนสวนสำคัญของระบบ โดยที่เราไมไดสังเกต แบบฝกหัด หนึ่งโคตรแบบที่เราพบบอยๆ ในการทำงาน (ทำงาน กลุม 3 คน) ทฤษฎีวาดวย การปอนกลับเพิ่มกำลังทวีคูณ (Reinforcing feedback) และการปอนกลับคานกำลัง (balancing feedback) แบบฝกหัด คนหาการปอนกลับเพิ่มกำลังและการปอนกลับคาน กำลัง ในระบบที่เราดำรงอยู Reflection in action Journaling and check out


10

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

วันที่สาม 08.30 - 08.45 น. 08.45 - 10.15 น. 10.30 - 11.30 น. 11.30 - 12.00 น. 13.00 - 13.45 น. 13.45 - 14.30 น. 14.45 - 15.30 น. 15.30 - 16.15 น.

นั่งสมาธิ แลว Check in วาดวย “โคตรแบบยิ่งแกยิ่งยุง” (Fix that back fires) ทำแบบฝกหัด ปญหาเรื้อรังที่เราพบมานานแลวยังแกไมตก ขอคิด กลยุทธในการรับมือกับปญหาแบบนี้ ทฤษฎี “โมเดลของระบบพลวัต” (System dynamic) แบบฝกหัดระบบพลวัตและตัวแปรในการรักษาและพัฒนา ระบบที่เราปรารถนา เราไดอะไรจากการคิดกระบวนระบบ ศึกษาจาก Hand outs (ทำงานกลุมยอย) Journaling and check out

วันที่หนึ่งของการอบรม แนวคิดพื้นฐานของหลักสูตรการเรียน การคิดอยางเปนระบบ (Systems thinking) เปนวิชาที่พยายาม ทำความ เขาใจระบบที่ซับซอนความสัมพันธระหวางเรากับระบบที่ซับซอน และเปลี่ยนแปลง ฝกการมองระบบที่ปรับเปลี่ยน เสมือน “ภูเขาน้ำแข็ง” ที่ เราตองคิดทั้ง 4 ระดับ จึงจะเห็นระบบทั้งหมด ฝกการทำแผนที่ความสัมพันธ ที่มองไมเห็นดวยตาเปลา การทำความเขาใจเสนทางการปอนกลับ (feedback loops) เป น ทั ้ ง การ ป อ น กลั บ เพิ ่ ม กำลั ง ทวี ค ู ณ (reinforcing feedback) การ ป อ น กลั บ คาน กำลั ง (balancing feedback) รู  จ ั ก การ มาช า ใน ระบบ ที่ซับซอน เรียนรูเรื่อง “โคตรแบบ” (archetypes) ที่มักเกิดขึ้นจากการคิด และการกระทำของเรา การฝกอบรม systems thinking จะชวยใหมีทักษะ ในการ conceptualize ดวย วิธีคิดกระบวนระบบ (Systems Thinking) วิชาที่วาดวยความเขาใจโลก และ ความ เข า ใจ ใน ระบบ ที ่ ซั บ ซ อ น หาก เรา ต อ งการ เข า ใจ เรื ่ อ งราวการ เปลี่ยนแปลงตางๆ ที่เกิดขึ้นในยุคโลกาภิวัตนวามีความเกี่ยวของกับเราอยางไร


11

การคิดอยางเปนระบบ

หรือตองการที่จะเขาใจระบบของสังคม ระบบเศรษฐกิจ ระบบวัฒนธรรม หรือ ระบบอื่นๆ อีกมากมาย เราจำเปนตองเรียนรูและฝกฝน วิธีการคิด วิธีการ เชื่อมโยงและทำความเขาใจกับความเปนเหตุเปนผลของกันและกัน วิธีคิดกระบวนระบบ หรือ Systems thinking ในทัศนะของอาจารย ชัยวัฒน ถิระพันธุ เปนเรื่องของวิธีคิดเกี่ยวกับระบบ ที่รวมเอาทฤษฎีตางๆ มาไว ซึ่งถาหากแปลตรงตัวก็คือ “วิธีคิดระบบ” แตเหตุผลในการเติมคำวา “กระบวนระบบ” เขาไปเพื่อเปนการตอกย้ำความแตกตางของระบบสองระบบ และ วิ ธ ี คิ ด สอง วิ ธ ี คิ ด คื อ ระบบ แห ง ธรรมชาติ ซึ ่ ง เป น ระบบ เป ด ที ่ มี ชี ว ิ ต มีกระบวนการวิวัฒนที่ไมหยุดนิ่ง กับระบบที่ไมมีชีวิตที่เปนระบบกลไกในเชิง วิศวกรรมศาสตร การใชคำวา “กระบวน” จึงเปนความสำคัญทางภาษาและภาพ แหงความเขาใจตอ Systems thinking วิ ธ ี คิ ด กระบวน ระบบ (Systems thinking) จึ ง ให ความ สำคั ญ กั บ ระบบแหงธรรมชาติซึ่งยิ่งใหญเหนือระบบใดๆ เปนระบบเปดที่มีชีวิต และ มีกระบวนการวิวัฒนอยางไมหยุดยั้ง ฉะนั้น การทำความเขาใจกับระบบและการคิดอยางเปนระบบ จึงเปน หลักการเบื้องตน ในการทำความเขาใจตอเรื่องราวตางๆ รอบตัวเรา ลวนเปน เรื่องของวิถีชีวิตที่เราเกี่ยวของ ระบบจึงไมอาจแยกจากการมีชีวิตของมนุษย การทำความเขาใจถึงความสัมพันธ ความเชื่อมโยง ที่มองเห็นสัมพันธภาพ และความโยงใยของชีวิต มองเห็นคุณคาในตัวของมนุษยได เปนวิธีการมองโลก แบบองครวมที่ทำใหเราสามารถอยูกับระบบตางๆ ไดอยางสมดุล การ ฝ ก อบรม ครั ้ ง นี ้ เป น การ ฝ ก อบรม ที ่ เน น การ ปฏิ บ ั ต ิ เน น การ ฝ ก ปฏิบัติเปนกลุม ลงมือทำ ความยากของ Systems thinking คือ การเอาชนะ ความเคยชินเกา เหมือนการเรียนรูภาษาใหมที่ฝดในชวงแรก การฝกแบบนี้ เวลาจึงเปนสิ่งจำเปนอยางยิ่ง หัวใจของการคิดอยางเปนระบบคือ การฝกฝน บอยๆ ซึ่งจะหนักในเรื่องภาษาในการลากเสนซึ่งตองใชการเรียนรูแบบ team learning และการใชภาษาในการเลาเรือ่ ง (story telling) ซึง่ เปนภาษาทีมี่ อารมณ การกระทำ


12

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

2.1 ทฤษฎีวาดวยวัฎจักรการเรียนรูลึกซึ้ง ทฤษฎีวาดวยวัฎจักรการเรียนรูลึ กซึง้ และองคกรเรียนรูซึ ง่ สัมพันธ กับกระบวนการคิดกระบวนระบบ ที่มาและความสำคัญกอนจะเรียนการคิดกระบวนระบบ ทำความ เข า ใจ โลก อั น ซั บ ซ อ น ดั ง รู ป กระบวน กร นำ แผนภาพ ของ ชาวเยอรมันชื่อ ไฮโยว ริกมันซ ซึ่งเปนผลการศึกษาในป ค.ศ. 1993 โดยที่เขา ชี้ใหเห็นวาโลกที่เราอาศัยอยูซับซอนอยางไร เพื่อเปนการทำความเขาโลกอัน ซับซอนดังรูป กระบวนเริ่มเกริ่นนำเพื่อทำคามเขาใจโลกอันซับซอนโดยมีภาพ ผลการศึกษาวิเคราะหของชาวเยอรมันชื่อไฮโยว ริกมันซ, 1993

แผนภาพที่ 1

จากแผนภาพ ดานหนึง่ คือ พลวัต (Dynamic) ทีเริ่ ม่ จากดานลางมีระเบียบ (order) 100% และจะมีความนิ่ง (static) ไมเคลื่อนไหว ระบบจะมีพลวัต จากพลวัตไปสู Turbulence เริม่ ปน ปวน และไปสู chaos ความวุน วาย ไรระเบียบ โกลาหล สิ่งนี้เปนสภาวะที่เปนดานแกนแนวนอน ความซับซอน (Complexity)


13

การคิดอยางเปนระบบ

เริ่มจากความซับซอนนอยไปสูกลางๆ ความซับซอนจะสูงขึ้นกวาเดิม โซน 3 ความซับซอนเขาขั้น extreme ที่นาสนใจคือโซนสุดทาย อันเปนโซนที่อยูเหนือ ความสามารถในการจัดการของมนุษย เมื่อเขาสูวิกฤติ หายนะ จะทำอยางไร เมื่ออยูโซน 4 ซึ่งเกินขีดความสามารถศักยภาพของความเปนมนุษย คำถาม สำคัญคือ มนุษยแบบไหนจะจัดการกับโซน 4 ได และขณะนี้โลกกำลังจะอยูใน โซน 4 แลว จะทำอยางไร ดานบนคือ ความตอเนือ่ งของความซับซอน (Continuity of dynamic) และ Dynaxity (Dynamic + Complexity) ของปญหา เชน การกอการราย สิ่งแวดลอม ปญหาของโอกาสทีจ่ ะเกิดสงครามโลกครัง้ ที่ 3 การระเบิดของประชากรโลก ความ อดอยาก จริยธรรมเสื่อม โรคภัยตางๆ

แผนภาพที่ 2

แผนภาพ นี้เกิดขึ้นในชวงป 1993 การศึกษาคนพบวา สาเหตุของ ปญหาในโลกนี้เกิดจากหลายสาเหตุเปน Dynaxity (Dynamic + Complexity)/ Dynaxibility (Dynamic + Ability) (ความสามารถในการรับมือกับความซับซอน) เสนประคือ ความสามารถในการรับมือกับพลวัต (Dynaxibility) กอนป 1991


14

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

มนุษยมีความสามารถเหนือความซับซอนวุนวาย อยูเหนือปญหา หลังป 1991 ความสามารถของมนุษยอยูต่ำกวาปญหา เหตุผลที่เปนหลังป 1991 เพราะ หลังจากสิ้นสุดสงครามเย็นโลกทั้งโลกเปนใบเดียวกัน แทนที่มนุษยจะหวง เรื่องการรบ การฆา หรือความขัดแยงดานอุดมการณ แตมนุษยคิดวาโลกเปน แบบเดียวกันแลว ใชระบบเดียวกันหมด แตกลายเปนวาปญหากลับเพิ่มขึ้น จนเกินขีดความสามารถของมนุษย เกิดเปนชองวางทีทำให ่ ความสามารถไลไมทนั ปญหา สิ่งที่ทำใหไดคือ การไลใหทันกับปญหาใหได 3 ปกอนหนานี้ มีการวิเคราะหเพิ่มเติมเรื่องความซับซอน จากเดิมที่ มีความซับซอนประเภทเดียวคือ Dynamic Complexity เปนความซับซอนที่หา ตนเหตุแนนอนไมได (Whole-System Approach) นอกจากเวลาแลวสถานที่ สงผลกระทบของเราไดตลอดเวลา คือปญหากระทบมาถึงตัวเราไดตลอดเวลา แมวาเราจะไมไดเปนคนสรางปญหาก็ตาม เปนเพราะการที่โลกเปนหนึ่งเดียว ทำใหมากระทบถึงเราดวย คือ dynamic complexity ทีเกิ ่ ดขึ้นไดตลอดเวลา อยางที่สองคือ Social Complexity คือ ความซับซอนทางสังคม เนื่องจากในโลกนี้มีตัวละครมากมาย การที่ไมรูวาใครกันแนเปนผูสรางปญหา ที่แท (Multistakeholder Approach) เมื่อสองอยางนี้เกิด สงผลใหการหาคน แกปญหายากขึ้นดวย ความซับซอนประเภทที่สามคือ ความซับซอนแบบฉับพลัน (Emerging Complexity) เปนปญหาที่เกิดขึ้นอยางฉับพลันอาจจะเปนทั้งที่มนุษยกอหรือ ไมไดกอขึ้น เชน ภัยพิบัติจากธรรมชาติ ฉะนั้นหากจะรับมือกับปญหาทั้ง 3 ประเภทใหได นี่คือเหตุผลที่ตอง ทำความเขาใจการคิดอยางเปนระบบ ไอสไตนกลาวไววา ปญหาสำคัญที่เผชิญ ไมสามารถแกไดดวยวิธีคิดที่เราเคยแกปญหามาแลว สรรพสิ่งทั้งหลายลวนมาแตเหตุ การคิดอยางเปนระบบ เกิดขึ้น เพราะวาปญหาในโลกเริ่มซับซอนมากขึ้น การคิดอยางที่เคยคิดกันมา คิดแบบแยกสวน คิดเปนเสนตรง คิดแบบวิทยาศาสตรแบบเกา ไมเห็น


15

การคิดอยางเปนระบบ

ความสัมพันธของกันและกัน จึงแกปญหาโลกนี้ไมได ตองโยงเปนหนึ่ง เดียวกัน ดังเชน ซุนหวู ไดเขียนตำราพิชัยสงครามขึ้นมาในยุคที่เมืองจีนเปน มิคสัญญี รบกันตลอด หาความสงบไมได เปนชวงที่เมืองจีนไรระเบียบ ประโยค สำคัญคือ ชนะสงครามโดยไมทำสงคราม สงครามคือความขัดแยงขั้นสูงสุด แตเนื้อแทเริ่มตนมาจากความขัดแยง ฉะนั้นจะยุติสงครามโดยไมใชความ รุนแรงไดอยางไร การคิดอยางเปนระบบเปนการเรียนรูการ  คิดทีไม ่ แยกสวน เห็นสิง่ ทัง้ หลาย เกี่ยวของกับตัวเรา เราอยูในระบบ หัวใจของการเรียนรูที่ปเตอร เซงเก (Peter Senge) ซึ่งเขียนหนังสือชื่อ The Fifth Discipline แปลวา วิชาที่หา ซึ่งเปน หนังสือที่วาดวย Learning Organization ทายที่สุด systems thinking เปนเรื่องของการเรียนรูดวยการคิดแบบใหม มองแบบใหม แตไมไดใหมสุด เพราะ systems thinking มีฐานที่ยืนอยูบนพื้นฐานการคิดของโบราณคือ 1. การคิดแบบองครวม โดยมีรากฐานมาจากเตา เห็นสภาวะ มีสอง ดานเสมอ มีหยินหยางและผันแปรเสมอ การคิดแบบองครวมอยูในทุกศาสนา อยูแลว รวมถึงเรื่องการคิดดวยใจที่เปนพื้นฐานอยูแลว 2. สิ่งทั้งหลายยอมเกิดมาแตเหตุ (อิทัปปจจยตา) ดังคำที่พระพุทธเจา ไดสอนไว Systems thinking เปนการคิดแบบไมแยกสวน คิดแบบองครวม คิดเห็นสรรพสิ่งทั้งหลายเปนอนิจจัง มีขึ้นมีลง มีดีมีชั่ว เห็นวาตนเปนสวนหนึ่ง ของปญหา ตองไมคิดวาเราอยูนอกระบบ ตรงกันขามเราเปนสวนหนึ่งของ ระบบที่ปญหาจะกระทบเราดวย และหากเราอยากจะแกระบบเราจำเปน ตองแกไขตนเองดวย พื้นฐานของการเรียนรูที่แทจริง หัวใจของการเรียนรูที่ เซงเกพูดถึงคือ การเรียนรูอยางลึกซึ้ง วงจรของการเรียนรูอยางลึกซึ้ง (Deep/Enduring Learning Cycle) และไมมีวันสิ้นสุด ซึ่งประกอบดวย


16

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

Belief/Attitude Deep Learning Awareness/Sensibilities Skill/Capability - Awareness/Sensibilities การมีสติและการมีจิตใจที่ละเอียดออน เปนปจจัยที่สำคัญของการเรียนรูอยางลึกซึ้ง - Belief/Attitude คนเราตองมีศรัทธา มีความเชือ่ หากเราไมเชือ่ ทัศนคติ เราเปนแบบหนึ่ง หากเราเชื่อหรือศรัทธา ทัศนคติของเราจะเปนอีกแบบหนึ่ง - Skill/Capability ทำไมความชำนาญหรือทักษะมีความสำคัญตอ การเรียนรูอยางลึกซึ้ง สมมติวาเราอยากเรียนรูเรื่อง จิตตปญญาศึกษา เรา ตองมีทักษะอะไร เชน สมาธิ หรือการเจริญสติ จำเปนตอการเรียนรูดวยใจ การฝกฝนตองใชเวลา ทักษะและความสามารถจึงเปนสิ่งที่สัมพันธกัน ทั้งสาม สวนเชื่อมโยงกัน l กิจกรรมที่ 1 : ผูเขารับการอบรมจับกลุมคุยกันวาทำไมการเรียนรู อยางลึกซึ้งจึงตองประกอบดวยองคประกอบทั้งสามสวน ขอคิดเห็นของผูเขาอบรม ความคิดเห็นที่ 1 คิดวาวงจรการเรียนรูนี้ไดใชและทำ เมื่อเราคิดจะ ทำอะไรสักอยางหนึ่ง มักจะสอนนักเรียนเสมอวาหากอยากเปนครูตองศรัทธา จึงตั้งอกตั้งใจเรียน หากอยากเปนครูที่เกงตองฝกฝน ความคิดเห็นที่ 2 เหมือนตอนหลงทาง ตองมีสติกอนเพือ่ จะหาทางออก จากนั้นเราก็มีความเชื่อวาจะตองหาทางออกเจอ ขณะเดียวกันก็ใชประสบการณ วา เคยใชทางนี้ คอยๆ คิดจนหาทางออกเจอ


17

การคิดอยางเปนระบบ

กระบวนกร : ทำไมความรักกอใหเกิดการเรียนรู หรือสงเสริมการเรียนรู ความรัก อาจจะเปนเรื่องของเมตตาและกรุณา ทำไมเรื่องนี้จึงสำคัญ และทำอยางไร ใหใจมากอน สิ่งเหลานี้เกี่ยวของกับ Awareness อยางไร มีคำถามอีกมากมาย ซึ่งเหลานี้เกี่ยวของกับทักษะของการเปดตา ใจ ความคิด แมวาจะพูดงายแต ทำยากมาก จะปฏิบัติอยางไร การเรียนรูในความหมายของ Community of practices/Learning organization คือ ความสามารถในการทำสิง่ ทีป่ รารถนาทีด่ ใี หเปนจริง การเรียนรู ในที่นี้เปนการสรางความจริงใหมใหปรากฏ (new reality) เพราะมีความจริง เกาๆ ที่เราไมปรารถนา เมื่อกอนเราบินไมไดแตตอนนี้เราบินได และบินไดทีละ เปนรอยๆ คน จะเปนอนาคตที่ตองการไดตองมีทักษะหรือความสามารถหลักๆ (core learning capability) 5 ประการ โดยเขาเปรียบความสามารถเหลานี้ เหมือนเกาอี้ 3 ขา คือ 1. Aspiration ความสามารถในการสรางแรงบันดาลใจ ความมีวิริยะ พากเพียร มีไฟที่จะทำสิ่งนั้นใหได ทักษะในการสรางแรงบันดาลใจจึงเปน เรื่องสำคัญมาก เพราะหากไมมีตัวนี้ จะทำใหไมอยากทำสิ่งตางๆ องคกรใด ไมมีแรงบันดาลใจ มักทำสิ่งตางๆ ไมไดดีเทาที่ควร 2. Reflective and Generative Conversation เปนทักษะการสนทนา และการครุนคิดอยางพินิจนึกลึกซึ้ง และมีทักษะในการ generate เมื่อคิดแลว ตองทำใหความคิดนั้นผลิดอกออกผล สนทนาแลวเกิดปญญาใหมๆ ขึ้นมา ใหได สนทนาอยางไรใหคนตื่น เกิดกำลังใจ 3. Understanding Complexity หรื อ /และ Conceptualization การเขาใจความจริงอันซับซอนและการสราง concept ความสามารถในการทำ concept ใหไดเพื่อที่จะจับเรื่องความซับซอนใหได โลกที่ซับซอนตองมีทักษะทั้งสามประการ ขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งไมได ขณะเดียวกันก็ตองมี 5 วิชาและวินัย (Disciplines) ตอใหรูเทคนิควิธีการ


18

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

แตไมมีวินัย ทำใหบรรลุในสิ่งที่ตองการไมได วินัยทั้ง 5 ประกอบดวย 1. Shared Vision วิสัยทัศนที่ไปดวยกัน เพราะฉะนั้นผูนำที่มีความ สามารถคือ ผูนำที่กระตุนใหคนในองคกรเดินไปสูวิสัยทัศนรวมกันได 2. Personal Mastery ฝกฝนเอาชนะตนเองใหเปนคนเกงขึ้น ยกระดับ ตนเองใหสูงขึ้น หากไมพัฒนาตนเอง ก็ไปไมถึงการมีวิสัยทัศน 3. Team Learning แกนของทักษะนี้คือ บทสนทนา (Dialogue) และที่สำคัญคือ การมีสติ (Mental Model) สังเกตเห็นวาเรามีสติหรือไม ตอง เห็นสมมติฐานของตนเอง มองเห็นวาสิ่งที่เราพูดออกไป มาจากสมมติฐานนี้ มองเห็นที่มาของคำพูด 4. Conceptualization เปนเรื่องของการคิดอยางเปนระบบ 5. System Thinking ตองฝกฝนเปนทีม เปนวิชาที่สำคัญที่สุดเพราะ ตองอาศัยความเปนทีม เพื่อที่จะใหเราเขาใจความซับซอนของปญหาจำเปน ที่จะตองเขาใจทุกคนในทีมจึงจะแกปญหาได เพราะแตละคนคิดไมเหมือนกัน ประวัติความเปนมา ความเติบโต ประสบการณ ที่ตางกัน และการคิดอยาง เปนระบบตองมีสติ เมื่อมีสติจะสนทนาอยางไรเพื่อใหเห็นความจริงออกมา การ ไปหาความจริงตองมีการคนหา ตั้งคำถาม (Inquiry) มีการฝกฝน ถาไมเห็น ความจริงอันเจ็บปวดเราก็ไมสามารถสรางวิสัยทัศนรวมกันได ตองฝกฝนตัวเอง ใหเกงขึ้นได เมื่อเห็นความจริงเราก็ทำใหเปนจริงใหได นอกจากจะเปนการเรียนรูเพื่อจัดการกับความซับซอนแลวนั้น การคิด อยางเปนระบบชวยในการเขาใจเรื่องตางๆ ศาสตรอื่นๆ ไดอยางไร ใหเรา มี Awareness ตลอด ใหมีทักษะ โดยเฉพาะการครุนคิด Reflection และ ตั้งคำถาม


19

การคิดอยางเปนระบบ

เกาอี้สามขาของการคิดอยางเปนระบบ

กิจกรรมที่ 2 : แบงเปนกลุมๆ ละ 5 คน แบบฝกหัดนี้จะเกี่ยวกับ Systems thinking กอนอื่นจะพูดเกี่ยวกับ ความปรารถนา ความตองการ (to aspire) ซึ่งเปนเรื่องที่เกี่ยวกับพลัง กลาว ไปถึงเรื่องของคริสตศาสนาจะมีเรื่องของพระพุทธเจาสรางมนุษยโดยการปนดิน ขึ้นมาแลวก็เปาลมหายใจเขาไป พระเจาใหลมหายใจแกมนุษยและสวนนี้ที่เรา เรียกวา Aspire การใหลมหายใจและลมหายใจนี้เกิดมีพลังเกิดมีชีวิตขึ้นมา หาก ใครเคยไดดูรูปภาพของ Michel Angelo เปนภาพการเปาลมหายใจใหแกมนุษย นี่ก็คือรากเหงาของความตองการ ทุกกลุมจะมี กระดาษ Flip Chart 1 แผน พรอมทั้งปากกาหรือดินสอสี 2 – 3 สี เพื่อมารวมกันทำแบบฝกหัดสนุกๆ แตจริงใจ เพราะทุกคนจะตองเลา ความจริง ทุกคนจะตองเลาเรื่อง “ตัวฉัน” แตละคนจะใชเวลาคนละ 6 นาที วาตัวเองนั้นเปนใคร ดังที่ไดกลาวไวแลววาหัวใจของ Systems thinking คือ Story telling เลาเรื่องใหมีชีวิตชีวาใหคนอื่นนึกภาพออกวาตัวทานเปนใคร ใหนำอัตลักษณหรือเอกลักษณของตัวเองออกมาเพื่อบอกวาตัวเองเปนใคร โดยการเลาเรื่องออกมา เราจะใชกระบวนการ Mind mapping ซึ่งแตละคน จะเลาเรื่อง สมมติวา ก. เลาเรื่องของตัวเอง แลวเพื่อนในกลุมจดออกมา โดย l


20

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

ทุกคนมีสิทธิ์เลาตามรูปแบบของตัวเองแตขอสำคัญจะตองทำใหคนอื่นเขาใจ ดวยวาตัวทานเองเปนใคร หลังจากนั้น ข. เลาเรื่องของตัวเอง และทานอื่นจดออกมา แบบ Mind mapping เมื่อ ค. เลา ก็ใชสีใหมเขียน สลับสีกันไปเรื่อยๆ เพื่อใหเราเห็น แตละคนจะมีสีที่เราเห็นภาพชัดเจนโดยจะตอง จดไวดวยวาอาจารยทานนี้ ชื่อนี้ มีเรื่องราวแบบนี้ จดสั้นๆ เรื่องที่สำคัญที่สะทอนความเปนฉันของแตละคน แลวหลังจากนั้นเราจะนำมาสะทอนกันวาเรื่องเกี่ยวกับ“ตัวฉัน”มันเกี่ยวกับ Systems thinking อยางไร ทานใด พรอม ใหเลากอน แตละกลุมจะ ตอง มีอาสาสมัครในการจดบันทึกในลักษณะ Mind mapping โดยจดในกระดาษ Flip Chart ที่แจกให พยายามใช สีในการเขียนสัก 3 สี เพื่อใหเราเห็นสีสัน มีชีวิตชีวา สรุปบทเรียนจากการเลาเรื่อง “ตัวของฉัน” ผูเขารวม 1 : จากการที่ไดเรียนมานี้สิ่งที่ไดรับคือ 1. ไดเห็นคนที่ไดอยูกลุมเดียวกันมีความวิริยะ อุตสาหะ ที่จะทำใหงาน ที่ตัวเองรับผิดชอบสำเร็จ 2. ความไมยึดติด 3. การแบงปนคนอื่นเทาที่จะแบงปนได 4. มีพลัง ที่จะทำงานที่ตัวเองตั้งใจใหได วิทยากร : ในกระบวนการการฝกอบรมของเมืองไทย เมื่อทำงานกลุม ใหสะทอนวาเห็นอะไร ซึ่งสวนใหญมักจะเปนการรายงานสิ่งที่ทำในกลุมซึ่งอันนี้ ไมใช เราตองการที่จะสะทอนกลับจากตัวเราเองวาเห็นอะไร การหยั่งเห็น การมองใหทะลุ ซึ่งเปนเรื่องที่สำคัญกวาการรายงาน และสิ่งที่ผูเขารวมไดกลาว ไปนั้นมันไมใชการรายงาน แตอาจารยพยายามที่จะดึงอะไรบางอยางออกมา จากตัว ซึ่งที่กลาวไปวาทานเห็นอะไร นักประพันธคนสำคัญชาวฝรั่งเศสทานหนึ่ง กลาวไววา “การเดินทางทีสำคั ่ ญๆ ไมใชเปนการคนพบภูมทิ ศั นและทิวทัศนใหมๆ แตเปนการพบดวงตาใหม” มีคนหลายคนไดมีโอกาสทองเที่ยวหลายประเทศ


21

การคิดอยางเปนระบบ

ทั่วโลกไมใชแคการเห็นวิว แตดวงตาของเราเห็นอะไรใหมๆ บางหรือเปลาสิ่งนี้ สำคัญที่สุด เพราะฉะนั้นการเรียนรูของเราเปน Learning Journey และตอนนี้ เรากำลัง Learning Journey ดวยกัน โดยการเดินทางดวยกัน ดวยการเรียนรู เราเห็นอะไรบนเสนทางนี้จากเพื่อนจากตัวเราเองอันนี้คือแกนที่เกี่ยวของกับ Contemplative Education ผูเขารวม 2 : สำหรับกิจกรรมนี้ที่ทานวิทยากรใหมองดวยใจนี้ทำ ใหเห็นวา การที่เราไดเขียนเรื่องของตัวเองก็คือการไตรตรองตัวเองและเปน เรื่องของพื้นที่ของตนเอง ซึ่งไดเรียนจากหลักสูตรแรก คือมณฑลแหงการตื่นรู เรารูวาตัวเองเปนอยางไรและยอมรับวาสมาชิกในกลุมเปนอยางไร ระหวาง ที่สมาชิกในกลุมพูดถึงตัวเอง เราฝกยอมรับวาเปนอยางนั้นไมไดโตแยง เปด ใจยอมรับเขา และสิ่งที่เห็นในอีกแงหนึ่งคือ ทุกคนรวมทั้งตัวเองพูดถึงตัวเอง ใน แง บ วก ไม ม ี ใคร พู ด ถึ ง ตั ว เอง ใน แง ล บ มั น ก็ เหมื อ นกั บ ว า เรา มอง ตั ว เอง ในแงที่ดีฉะนั้นจะสะทอนไปถึงวาเราก็จะมองคนอื่นในแงดีดวย ซึ่งเปนมณฑล แหงการตืน่ รูอย  างหนึง่ ซึง่ มณฑลแหงการตืน่ รูจะ  สัมผัสไดโดยการทีเรา ่ ยอมรับคน อื่นเปดใจที่จะเรียนรูวาคนอื่นเปนอยางไรและก็เรียนรูตัวเองดวยวาตัวเองคิดวา ตัวเองเปนอยางไร มี Concept เกี่ยวกับตัวเองอยางไรซึ่งถือวาเปนมณฑลแหง การตื่นรูอยางหนึ่ง ผูเข  ารวม 3 : เมือ่ เราตัง้ ใจบันทึกสิง่ ทีเพื ่ อ่ นเลาทำใหเรารูจ กั เพือ่ นมากกวา หนาตาของเขา ทำใหรูจักเพื่อนในวงมากขึ้นวาทำไมเขาถึงเปนแบบนั้น แต สำหรับตัวเอง คิดวาไมไดทำใหคนอื่นเขาใจตัวเองเลยเนื่องจากวาตัวตนที่แตละ ทานเลานั้นจะเลาตั้งแตเด็กจนถึงตอนโตขึ้นมา เลาถึงความประทับใจจากชวง ชีวิตที่ผานมา ทำใหเรารูวา ลักษณะสำคัญที่จะเกิดขึ้นในตัวของเขาคนนั้นที่เปน ตัวตนอยูตอนนี้มีอะไรที่เปนลักษณะเดน มีภูมิหลังที่พอจะวิเคราะหและประเมิน ได แตในทางตรงกันขามตัวเองเปนคนที่เลาคนแรกและทำใหเพื่อนๆ ตองลุน วาจะเลาอะไรซึ่งแตละคนพยายามจะตั้งคำถามให ตัวเองจะเลาเกี่ยวกับ เรื่องราวที่เกิดขึ้นในปจจุบันวา ตอนนี้ตัวเองเปนอาจารย เปนแม มีลูกสาว 3 คน


22

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

แตกลับไมไดเลาเรือ่ งทีผ่ า นมาเลยวาเกิดอะไรบาง จึงทำใหคิดวาอาจารยทานอืน่ ไมทราบวาตัวเองเปนอยางไรบาง กระบวนกร : สิ่งที่ไดฟงสำคัญมากกวาสิ่งที่เราเขียนลงไป เพราะ ฉะนั้นสิ่งที่เราสนใจคือ เรื่อง Awareness Sensibility กับ Deep listening วาเกี่ยวของกันอยางไร ระหวางที่เราฟงเพื่อน เรา Aware หรือไม รูสึกหรือไม การที่เรารับรูวาจิตรับรูแตเมื่อเราจะนำมาแปลเปนภาษานั้นบางครั้งออกมา ไมได สวนนี้คือสิ่งหนึ่งที่นาสนใจ เพราะฉะนั้นทายที่สุดความรูบางสิ่งบางอยางที่ ดึงออกมานัน้ มันทำใหบางสิง่ บางอยางหลุดหายไป ดังนัน้ เราควรจะทำอยางไรให สิง่ เหลานัน้ มันปรากฏออกมา สภาวะการจับสิง่ ทีบางครั ่ ง้ ไมสามารถอธิบายออกมา ไดหมดแตเรารับรูวาควรดึงออกมาอยางไร และคำพูดก็เปนอีกอยางหนึ่งแต มีบางสิ่งบางอยางที่อยูเหนือคำพูด เรารับรูได เราสังเกตเห็นอะไร ทำไมเราสัมผัส ถึงความ “เปนฉัน”ของเพื่อนได มีอะไรที่อยูนอกเหนือคำบรรยายแลวเรายังคน ไมพบวาทายที่สุดแลว ความสามารถ (Capacity) หรือ สมรรถภาพ (Capability) ของมนุษยนั้นมีลึกซึ้งมากแคไหน ผูเขารวม 4 : จากการที่เราฟงเพื่อนๆ ในกลุมเลาทำใหเรากลาที่จะ เปดตัวเองมากขึ้นและสามารถที่จะอธิบายตัวเองทั้งในแงบวกและแงลบ และ จากการที่เราฟงประสบการณจากคนอื่นนั้นก็ทำใหเราไดรูจักตัวเองมากขึ้น ดวย ตัวเองนั้นเปนคนที่ทุรนทุรายกับเรื่องของการทำงานมาก คิดวาตัวเอง เกง ดี และสามารถทำอะไรไดดีอยูแลว แตเมื่อถูกยายไปทำงานที่อื่นก็ทำให เรา ตีโพยตีพาย คิดวาเราทำสิ่งๆ นั้นดีอยูแลว แตเหตุใดถึงใหเราไปทำอยางอื่น แตพอไดฟงอาจารยในกลุมทานหนึ่งพูดวา เราจะตองมีใจที่ตัดสละ คืออาจารย ทานนั้นพูดวาทานไดถูกยายไปทำงานที่อื่นโดยที่บอกกอนเพียงแคหนึ่งวันวา จะตองยาย ซึ่งมันสะทอนใหตนเองคิดวาตนเองยึดติดกับตัวเองมาก และเมื่อฟง อาจารยทานนั้นพูด ทำใหเราไดคิดและควรจะตองปรับตัวใหม วิ ท ยากร : อาจารยไดพูดสิ่งที่นาสนใจ “ฟงคนอื่นมากขึ้น ทำให รูจักตัวเองมากขึ้น” มหากวี เกอเธ เคยกลาวไววา “ฉันรูจักฉัน ฉันรูจักตัวฉัน


23

การคิดอยางเปนระบบ

เทาที่ฉันรูจักโลก เพราะฉันอยูในโลก และโลกก็อยูในฉัน” มันเกี่ยวของกับ การเรียนรูดวยหัวใจอยางไร และการคนพบตัวเองนั้นมีกระบวนการที่ซับซอน พอสมควรและสิ่งที่นาสนใจคือ ตัวฉันเองกอตัวเปนฉันขึ้นมาไดอยางไร มัน เปนเรื่องฉัน หรือเรื่องอะไร ซึ่งสวนมากจะเปนเรื่องอื่นเรื่องของบริบทเปนเรื่อง ของคนนั้นๆ เลย แลวฉันจึงปรากฏ ฉันมีหลายๆ สิ่ง มี พอ แม พี่ นอง มีนักเรียนมาทำใหฉันมุงมั่น หรือมาทำใหฉันมีไฟ มันมีอยางอื่นมาเกี่ยวของ ทั้งสิ้น ตัวฉันที่เกิดขึ้นมานั้นเกิดมาจากอะไร ถาไมมีคนอื่น ตัวฉันเองนั้น จะ เกิด เอกลักษณความ เปนตัวของ ตัวเอง เกิดขึ้น มา ไดหรือไม สำหรับผม นั้นคิดวา ความ “เปนฉัน” นั้นไมสามารถเกิดขึ้นมาไดหากไมมีบุคคล อื่นๆ เมื่อมีชุมชน ครอบครัว สังคม และโลก จึงทำใหเกิดความ “เปน ฉั น ” การที่เราประสบความสำเร็จหรือเกิดความลมเหลวนั้น สิ่งนั้นไดชวย สรางความ “เปนฉัน” ขึ้นมา และฉันเองก็ไมไดหยุดแตเพียงเทานั้น เพราะ จนกวาที่เราจะเสียชีวิตนั้น ก็อาจจะมีนิสัยบางอยางที่คงอยูและมีนิสัยบางอยาง ที ่ เรา ได ปรั บ ไปแล ว และ แบบฝ ก หั ด ที ่ ได ทำ ไป นั ้ น มาจาก การ ได เรี ย นรู  จาก หนังสือ The fifth discipline field book นั้น หนังสือจะพูดถึงการทักทายของ เผาๆ หนึ่ง ที่ South Africa เมื่อเจอหนากันจะทักทายกันวา (ฉันเห็นคุณ) แต คนไทยสวนใหญจะทักทายกันวา (ไปไหนมา) หรือ (กินขาวหรือยัง) แตที่ South Africa จะทักกันวา (ฉันเห็นคุณ) ซึ่งหมายความวาฉัน Respect คุณ คุณ ในฐานะมนุษย ซึ่งปญหาของชาติเกิดจากการที่ฉันไมเห็นคุณแสดงวาบุคคล ผูนั้นไมมีความหมาย เมื่อฉันไมเห็นคุณ และเมื่อเราไมเห็นเขาก็แสดงวาเรา ไมเคารพเขา ไมเห็นคุณคาของเขา เมื่อคุณไมเห็นคุณคาของผูอื่น คุณก็จะปฏิบัติ ตอผูอื่นดวยวิธีการหนึ่ง แตเราเห็นวาผูอื่นมีคุณคา เขาทำใหเราโต ทำใหเรา อยูได เราก็จะ ปฏิบัติตอผูนั้นดวยวิธีอีกวิธีหนึ่ง ดังนั้นความ “เปนฉัน” นั้น ถูกฟูมฟก ถูกเลี้ยงดูจากครอบครัว จาก ชุมชน และจากสังคม ความเปน“ฉัน”จึงปรากฏ ไมวาจะความเปนฉันหรือ ความเปนอัตลักษณเกิดจากสิ่งอื่นๆ ทั้งสิ้น


24

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

เพราะฉะนั้น Systems thinking เปนเรื่องการเห็นภาพรวม (Holistic thinking) เห็นความเชื่อมโยงของสรรพสิ่งทั้งหลาย และแมกระทั่งตัวฉันเองนั้นก็ เปนผลิตผลของผูอ น่ื ทัง้ สิน้ ซึง่ เปนของ พอแม วงศตระกูล หรือชุมชนทีเรา ่ เกิด และ วัฒนธรรมนั้นสรางเราขึ้นมา หากไมมีสิ่งเหลานี้ ก็ไมมีเรา แสดงใหเห็นวาทุกสิ่ง ทุกอยางนั้นเกี่ยวของซึ่งกันและกัน ทุกสิ่งทุกอยางจะเปนระบบ สำหรับบางคน อาจจะมีขอบเขตที่กวางแตกับบางคนอาจจะมีขอบเขตที่แคบ สิ่งนั้นเกิดขึ้นจาก ประสบการณชีวติ จากการทำงาน และการพบปะกับผูค น บางคนอาจจะมีขอบเขต แคในจังหวัด ในมหาวิทยาลัยหรือในคณะของตนเอง แตบางคนนั้นมีขอบเขต กวางโดยขามไปจังหวัดอืน่ ๆ หรือบางทีไปถึงประเทศอืน่ ๆ ซึง่ เปนสวนหนึง่ ของโลก หรือสวนหนึ่งของกระบวนการของโลก เพราะฉะนั้นเมื่อตัวเราทำหรือเราเปลี่ยน อะไรผลกระทบนั้นจะเกิดกับคนอื่นดวย ซึ่งอาจจะกระทบมากหรือนอยก็ได แต วิธกี ารพูดหรือการคิดของเราลวนทำใหเกิดผลกระทบกับผูอ น่ื ทัง้ สิน้ และตัวเราเอง นั้นกวาจะเกิดขึ้นมาไดก็ลวนมีที่มาและที่ไปมากมาย มีภูมิหลังและมีบริบท ยกตัวอยางจากตัวเองเองซึ่งเปนคนนครศรีธรรมราชนั้น ซึ่งหลายๆ คนทราบดีวา คนนครศรีธรรมราชเปนคนทีไม ่ ยอมใคร หากเกิดความไมเปนธรรม คนนครศรีธรรมราชจะลุกขึ้นสูซึ่งสิ่งนี้เปนมาแตโบราณ ทั้งนี้ก็ยังมีเรื่องเลา มีประวัตศาสตร ิ ของคนนครศรีธรรมราช ซึง่ ไดสืบทอดกันตอๆ มา และสรางบุคลิก ของแตละคนขึน้ มา และเมือ่ ผมเติบโตขึน้ ก็ทำใหไดรบั อิทธิพลอะไรตางๆ มากมาย ไดรับวิธีคิด รับความรูของแตละชาติมา ความเปนตัวเราก็จะคอยๆ พัฒนาขึ้น เรื่อยๆ จนกระทั่งทำใหไดพบปะกับคนอเมริกา ซึ่งเมื่อกอนตัวเองจะติดกับความ เปนคนยุโรปทำใหผมไมคอ ยชอบคนอเมริกนั มากเทาไร แตเมือ่ ผมไดไปพบปะกับ เพื่อนๆ ชาวอเมริกันบอยๆ ทำใหผมไดเรียนรูอะไรตางๆ มากขึ้น เพราะฉะนั้นความเปนผมก็เกิดจากสิ่งตางๆ ที่ผมไดรับเขามาเหมือน อยางที่มีคนกลาววา “You Are What You Eat” ซึ่ง “Eat” นั้นก็ยังเกี่ยวกับเรื่อง ของวัฒนธรรมดวย ซึ่งแบบฝกหัดนี้ทำใหเราไดรูจักอะไรมากขึ้น ไดรูจักเพื่อน และตัวเราเองทำไหรูวาเรื่องของ Systems thinking นั้น เปนเรื่องของวิธีคิด


25

การคิดอยางเปนระบบ

ทุกอยางเปนกระบวนการวิวฒ ั นาการไปเรือ่ ยๆ ทุกสิง่ ทุกอยางนัน้ ลวนมีบริบทหรือ Background ถึงแมวา เราจะสัมพันธกนั ระดับโลก เชือ่ มถึงโลก แตในความเปนจริง นั้นสิ่งตางๆ ลวนมีขอบเขต มีเอกลักษณ มีความเปนชาติของแตละสังคม หรือ ของแตละจังหวัดแตละที่ก็จะมีบุคลิกของตัวเอง ทำใหเห็นถึงความสัมพันธของ บุคลิก และในระบบใหญก็ยังมีระบบยอยแลวก็จะกลายเปนกระบวนการ ทายสุดนั้น Systems thinking ก็จะเปน Network thinking การคิดเปน เครือขาย เปนการเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน สรุปไดวาเมื่อตัวเราอยากจะทำการ แกไขระบบหรือเปลี่ยนแปลงระบบ เราจะตองทำการเปลี่ยนแปลงและแกไข ตัวเองดวย เพราะเมื่อเราเปลี่ยน ระบบก็มีสิทธิ์เปลี่ยนได การที่จะเปลี่ยนมาก หรือนอยก็จะขึ้นอยูกับศักยภาพและความสามารถของคนแตละคน และนี่คือ เหตุผลที่ทาน คานธี พูดวา การที่เราจะเปลี่ยนโลกเราจะตองเปลี่ยนตัวเอง กอน เพราะฉะนั้นถาเราจะเปลี่ยนระบบเราตองดูตัวเองกอน และเราจะมีวิธีการ แกไขอยางไรที่เฉลียวฉลาด มียุทธศาสตรในการคนหาการเปลี่ยนแปลง สิ่งนี้คือ หัวใจของการเขาใจความซับซอน คนหาจุดที่เปนคานงัด ทั้งหมดนี้คือการเกริ่น เกี่ยวกับ Systems thinking รวมถึงวิธีคิดตางๆ 2.2 ทฤษฎีวาดวยการคิด 4 ระดับ “มองใหทะลุภูเขาน้ำแข็ง” กิจกรรมที่ 3 : ใหผูเข  ารวมอบรมทุกคนเงยหนาและยกมือขึน้ จินตนาการ ถึงนาิกา นาิกาเรือนนี้ คือนาิกาเรือนโปรงอยูในขอมือ หมุนตามเข็มนาิกา เราจะมองไปขางบน แลวหมุนตามไปเรื่อยๆ แลว เมื่อนำนาิกาเรือนนี้เอา ลงมาขางลางโดยไมตองหงายทอง แลวมองขางบนลงมาขางลาง เมื่อนาิกา เรือนนี้โปรงแสดงวามันจะทวน เหตุที่ทวนเข็มนาิกาเพราะวาเราเปลี่ยนมุม ขณะที่เรามองขึ้นไปเปนมุมขางบน อยางเชนมุมมองสายตาของมดที่มองขึ้นไป ขางบน แตถาเปนมุมมองของเหยี่ยวซึ่งมองลงมาขางลางก็จะแตกตางกัน หมายความว า Systems thinking กำลั ง บอกว า ทุ ก ๆ คน อยู  ในระบบทั้งหมด ยกตัวอยางเชน ผูบริหารมองมุมหนึ่ง แตผูที่อยูใตบังคับบัญชา จะมองดวยอีกสายตาหนึ่ง เมื่อมองไปที่เดียวกันแตมองจากคนละมุม เพราะ l


26

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

ฉะนั้นไมแปลกใจที่ทำไมในหลายๆ เรื่อง เหตุถึงไดเกิดปญหา เพราะแตละ คนลวนยืนอยูบนตำแหนงของตนและไมยอมขยับวาทานอื่นมองดวยสายตา ของอะไร เขาหวงอะไร และคิดอะไร สิ่งนี้คือปญหา อยาลืมวาเมื่อเรามองอะไร นัน้ เรามองจากสายตาๆ หนึง่ ดวยประสบการณหนึง่ ดวยวัยหนึง่ และตำแหนงหนึง่ แต ถ า เรา เป น ตำแหน ง อื ่ น หรื อ สายตา อื ่ น เรา จะ มอง อย า งไร ตั ว อย า ง เช น ตำแหนงการเปน พอ แม หรือลูกนัน้ ตอนทีเรา ่ เปนวัยรุน เรามองพอแมดวยสายตา อะไรและเมื่อเราเปนพอแมนั้นเรามองลูกดวยสายตาอะไร ซึ่งเปนคนละตำแหนง กัน และวัยรุนขณะนี้เมื่อเทียบกับวัยรุนสมัยกอนมันมีบริบทที่แตกตางกันอยางไร Systems thinking เปนเรื่องของการเขาใจมุมมองของแตละมุมวา คนอื่นมองเราดวยสายตาอะไร เขาคิดอะไร และโดยเฉพาะโลกของเขา ใน สมั ย นี ้ เป น โลก ของ อะไร แล ว กั บ โลก ของ เรา นั ้ น เป น โลก อะไร แต คนสวนใหญมักจะลืมและเอาตัวเองเปนตัวตั้ง สิ่งนี้คือปญหาที่สำคัญของระบบ Systems thinking เพราะฉะนั ้ น Systems thinking คื อ การ สั ง เกตว า ตัวคุณเองนั้นอยูใน Position ไหนของ System และคุณมองดวยอะไร และ ขณะนี้ System ไดเปลี่ยนไปแบบใดแลวบาง และสิ่งสำคัญของ Systems thinking คือ นอกจากที่เรา จะ มอง จาก ตำแหนง ของ ตัวเอง แลวเรา ยัง ตอง ตระหนักวาตรงจุดที่เรายืนนั้นยืนอยูตำแหนงอะไร เรามีผลประโยชนอะไร เราหวงอะไร เรามีบริบทอยางไร เราคิดอะไร บริบทที่เราเติบโตมากวาที่จะเปน แบบนี้เคยเปนอยางไร และในระบบที่เราเปนอยางทุกวันนี้เราไดเปลี่ยนแปลง อะไร ไปบาง คนอื่นที่เขามาอยูในระบบ คนอื่นเขาคิดอะไร บาง เขาเติบโต มาอยางไร Life Style ของเขาเปนอยางไร วิธีมองของเขาเปนอยางไรซึ่งมัน จะทำใหเราคนพบอะไรบางอยางที่จะทำใหตอติดไดหรือไม หรือจะคิดเฉพาะ จาก ตำแหน ง ของ ตั ว เอง และ ทำ ตามที ่ เรา มอง เท า นั ้ น Systems thinking จะพยายามใหมองจากหลายๆ จุด เปลี่ยนมุมมองใหมองจากหลายๆ มุมได มิฉะนั้นแลวจะทำใหเราไมสามารถแกไขในหลายๆ เรื่องไดเพราะวา แตละคน ยึดอยูเพียงอยางเดียว นี่คือปญหาของคนตาบอดคลำชาง จะจับเฉพาะสิ่งที่ ตัวเองจับ คือคนตาบอด 10 คนพยายามจะจับชาง เปรียบไดกับเราที่ตาบอดกับ


27

การคิดอยางเปนระบบ

ในหลายๆ เรื่อง ทั้งๆ ที่ตาของเราเองนั้น ไมไดบอดแตความสามารถในการมอง ของเรานัน้ ทำใหเราตาบอด สวนนีคื้ อหัวใจ Systems thinking วาควรจะทำอยางไร ใหเรามีตาใน Systems thinking เปน เรื่องที่ทำใหเรามีตาในหรือทำใหสิ่งที่เรา ไมสามารถ มอง เห็นดวยตา นั้น ปรากฏ ออกมาใหเราเห็นดวยตาได ดังในรูป รูปนี้คือภูเขาน้ำแข็ง ไมมีใครรูชัดวาภูเขาน้ำแข็งนี้ลึกมากเพียงใดเมื่อ มองดวยตา แตหากคนไหนที่เคยดูหนังเรื่อง Titanic เรือที่ชนภูเขาน้ำแข็งนั้นเรา สามารถหลบสวนขางบนไดแตจะชนใตเรือ เพราะเราไมสามารถรูได  วาภูเขาน้ำแข็ง นั้นลึกเพียงใดทำใหเรือทะลุและน้ำเขาเรือ เชนเดียวกันกับที่เราก็ไมสามารถรูวา รากของปญหานั้นอยูที่ไหน นี่คือสาเหตุที่เราจะตองคนหา และแบบฝกหัดตอไป จะเปนแบบฝกหัดที่จะทำใหไดฝกการคนหาวามันเกิดขึ้นไดอยางไร ตอไปจะเปน แบบฝกหัดเบื้องตนที่เรียกวา การคนหาสาเหตุที่แท (Causal loops) อันเปนเรื่อง ที่วาดวยเสนของเหตุแตจะเปน Causal loops งายๆ กอนแลวจะคอยๆ ยกระดับ ไปเรื่อยๆ l แบบฝกหัดวาดวยเสนของเหตุและผล (Causal loops) ยกตัวอยางแบบฝกหัดเกี่ยวกับ Beckham นักฟุตบอลซึ่งมีรายไดสูง ไดรับความสำเร็จในชีวิต ทั้งที่ครอบครัวของเขาเองไมไดมาจากครอบครัวที่ มีฐานะมากนัก แตตัวเขาเองไดรับความสำเร็จในชีวิตมาก กอนอื่นเราจะมา ตั้งคำถามวา ความสำเร็จของ Beckham นี้เกิดขึ้นไดอยางไร วิธีทำ เราจะเอา ประเด็นที่เปนผลลัพธสุดทาย ความสำเร็จของ Beckham เปนผลลัพธสุดทาย ขณะนีเขี ้ ยนไวทางซายมือ แลวคนหาสาเหตุไปเรือ่ ยๆ แลวนำมาใสไวขวามือ ความ สำเร็จของ Beckham นั้นมาจากอะไรบาง Beckham โดงดังมาจากการเปนนักฟุตบอล กีฬาฟุตบอลของเขา ได มา อย า งไร เหตุ ผ ล หนึ ่ ง คื อ การ มี พรสวรรค มี ความ สามารถ ใน การ เล น


28

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

ฟุตบอลมาตั้งแตเด็ก แตขณะเดียวกันเพียงแตพรสวรรคนั้นยังไมเพียงพอ เพราะยังมีนักฟุตบอลจำนวนมากที่มีพรสวรรคแตไปไดไมไกลเพราะเขาไมได พัฒนาการเลนของเขาเองใหดีขึ้นเรื่อยๆ เพราะฉะนั้นการฝกฝนการเลนรวม กับพรสวรรคจึงทำใหมีความสามารถในการเลน การฝกฝนนั้นมาจากการได เขาไปอยูในโรงเรียน Manchester United Academy เปนโรงเรียนที่ฝกฝน การเลนฟุตบอลโดยเฉพาะ ทางโรงเรียนจะเนนหนักเรื่องการเรียนเกี่ยวกับ ฟุตบอลเปนหลัก สิ่งนี้แสดงใหเห็นถึงระบบที่เขามารองรับ ทำใหเขาไดฝกฝน อยางดี นอกจากนั้นแลว Beckham ยังมีโคชอยาง Sir Alex Ferguson เปน ผูที่เกงในการปนเด็กรุนใหมไดพัฒนาเติบโตการเปนโคชที่ดีไมใชแคการสอน ฟุตบอลเพียงอยางเดียวเพราะวัยรุนจะมีชีวิตสวนตัวที่เปนปญหา ถาหากโคช ไมดูแลเปนอยางดีอาจจะทำใหเด็กเสียคนได Sir Alex Ferguson จะคอย ดูวาใครที่มีพรสวรรคสูงๆ และจะคอยติดตามดูเสมือนวานักฟุตบอลเปนลูก คนหนึ่ง เชน ขณะที่ Rian Gigg อายุ 17 – 18 ป เปนวัยรุนไดรับความสำเร็จใน ชีวิต มีเงินทองมากมาย ซึ่งอาจจะทำใหเกิดผลเสียกับตัวเขาไดหากไมมีใครดูแล อยางดี ขณะนั้น Sir Alex Ferguson จะคอยกำกับดูแล และสิ่งที่ Sir Alex Ferguson ทำยังคงเกิดขึน้ กับนักฟุตบอลในรุน ตอๆ มา ทัง้ นีทั้ ง้ นัน้ การทีมี่ โคชดูแล เอาใจใสก็เปนเรือ่ งทีสำคั ่ ญกับนักฟุตบอลมาก มิใชเพียงแตในสนามแตนอกสนาม ก็เปนเรื่องที่สำคัญเชนเดียวกัน ฉะนั้นโคชที่มีความสามารถแบบนี้ก็จะมีคาตัวที่ แพง ซึ่งสโมสรเหลานั้นจะตองมีเงินมากในการจางโคชที่มีความสามารถ เมื่อเรา ไลดูแลวทำใหเห็นวาการประสบความสำเร็จของ Beckham นั้น พบวา เหตุผล ที่สองของการประสบความสำเร็จของเขาคือหาก Beckham ไมไดลงเลนฟุตบอล เขาจะไมสามารถโชวฝเทาของเขาไดเพราะฉะนั้นเมื่อ Beckham มีโอกาสได ลงเลนเขาก็จะมีโอกาสไดโชวฝเทา และการที่เขาจะไดลงเลนก็เนื่องมาจาก สโมสร ของ Manchester United นั้นมีโอกาสไดเลนในหลายๆ ถวย และ Manchester United ก็จำเปนจะตองใชนักฟุตบอลจำนวนมากเพื่อลงเลน ดังนั้น จึงเพิ่มโอกาสใหเด็กหนุมไดลงเลน และทดสอบฝเทา Manchester United เปนสโมสรที่มีเงินจำนวนมากในการจางนักฟุตบอลที่มีความสามารถ


29

การคิดอยางเปนระบบ

มากๆ ในราคาแพงๆ ทั้งนี้จะตองอาศัยคนที่มีความสามารถในการบริหารจัดการ เพือ่ ใหเกิดกำไร หรือรวมถึงการนำเขาสูตลาดหุ  น ดังนัน้ ความสำเร็จของ Beckham นั้นมีที่มาและที่ไปซึ่งอาจจะไมใชเพียงแตความสามารถของตัวเองเพียงอยาง เดียวแตยังตองอาศัย Backup ที่ดีดวย สิ่งที่นาสนใจอีกประการคือ ยัง มีนักฟุตบอลที่มีความสามารถอีกมากแตไมประสบความสำเร็จเชนเดียวกับ Beckham ทั้งที่ขณะนี้ฝเทาของ Beckham ไดตกลงแตเขายังสามารถที่จะ ไปลงเลนที่อเมริกาไดเกิดจากสาเหตุใด และขณะนี้รายไดของเขาสวนใหญ ไดมาจากการโฆษณาไมใชมากจากการเลนฟุตบอล นั่นมาจากการที่เขาเปน คนดัง ซึ่งสาเหตุมาจากการที่ Beckham มีหนาตาดีและยังมีภรรยาเปนดารา และนักรองอีกดวยและตัวเขาเองมีเพื่อนที่เปนดาราดังอีกมากมาย การที่อะไร หลายๆ อยางรวมกันอยูในคนๆ เดียวก็จะทำใหการโฆษณาสินคามีมากกวา คนอื่น ทายที่สุดแลวความสำเร็จของ Beckham ไดมาจากหลายๆ วิธี ซึ่งถา เปนนักฟุตบอลคนอื่นๆ ก็จะไมสามารถทำแบบ Beckham ไดแมวาพวกเขาจะ เลนฟุตบอลไดดีกวาแตรายไดก็ไมสามารถจะมากเทา Beckham ไดเพราะวาเขา มีปจจัยองคประกอบมากกวาเปนพิเศษ สิ่งนี้ทำใหเขาไดรับความสำเร็จในชีวิต ดังนั้นแบบฝกหัดนี้จะเอาความสำเร็จที่เปนผลลัพธหรือนำปญหาที่เกิดขึ้น ในปจจุบันวางไวและทำการคนหาวาปญหาเหลานั้นเกิดขึ้นมาไดอยางไรหรือ แมกระทั่งความสำเร็จนั้นเกิดขึ้นมาไดอยางไร เพื่อจะคนหาปจจัยที่กอใหเกิด ความสำเร็จ ผลลัพธสุดทายไมวาจะเปนปญหาหรือความสำเร็จเปรียบเสมือน ปลายยอดของภูเขาน้ำแข็ง เราจะตองคนหาที่มาลึกๆ วามันเกิดขึ้นมาไดอยางไร หาไปเรื่อยๆ แลวจะทำใหเราจับสาเหตุที่แทได เปนการมองที่ลึกลงไปยังสาเหตุ ทีแท ่ จริง นิยามปญหาใหชัดเจน ตัง้ โจทยใหชัด หลังจากนัน้ ตัง้ คำถามวาเกิดมาจาก อะไรและจะทำใหเราเจอกับอีกหลายๆ สาเหตุ จนกระทั่งทำใหเราไดเจอสาเหตุที่ แทจริง ซึ่งไมควรรีบดวนสรุปตั้งคำถามไปเรื่อยๆ l กิจกรรมที่ 4 : แบงกลุม 5 คนแบบเดิม ทานจะตั้งโจทยโดยการใช ความสำเร็จหรือใชตัวปญหาเปนตัวตั้งก็ไดแลวคนหาสาเหตุของมัน บางกลุม อาจจะใชเรื่องของปญหาที่เคยเกิดขึ้นซ้ำๆ เราก็มารวมกันคนหาดวยกัน หรือ


30

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

บางทานอาจจะใชความสำเร็จวาความสำเร็จนัน้ เกิดขึน้ ไดอยางไร ขอสำคัญคือเรา จะตองนิยามไวอยางชัดเจน วาเกิดมาไดอยางไร และลูกศรจะตองไลมาสูผลลั  พธ สุดทาย ทำใหเราไดรูวามีอีกหลายสิ่งหลายอยางที่จะนำมาสูผลลัพธ บทสรุปรวมกัน ขอคนพบจากการทำแบบฝกหัดนี้ - เกิดกระบวนการเรียนรูวาทำไมเราทำไมได ทำไมคิดไมได ทั้งที่ ทำในสิ่งเหมือนกัน - คิดวาตัวเองถอยหลังไปหารากเหงาของปญหาไมได เพราะเรา เคยชินกับการเดินไปขางหนา ทำใหหาคำตอบไมได - เมื่อสืบคนไปถึงราก จะเชื่อมโยงกันและกัน สาเหตุที่แทพันกันไป พันกันมา - กิ จ กรรมนี ้ ฝ  ก ให เ ราหาเหตุ แ ละต น เหตุ แต อ าจจะมี ป  ญ หาคื อ หากเราคิ ด ต น เหตุ ผ ิ ด นำไปสู  ก ารแก ป  ญ หาที ่ ผ ิ ด ซึ ่ ง ต อ งแก ไ ข ดวยการหาขอมูลใหลุมลึก - หัวใจของแบบฝกหัดนี้ คือ ใหเราไมยึดมั่นถือมั่นวา สิ่งนี้ใชแลว คนหาไปเรื่อยๆ ไมสรุป l ทฤษฎีวาดวยการคิด 4 ระดับ “มองใหทะลุภูเขาน้ำแข็ง” วิ ธ ี คิ ด ของ Systems thinking อย า ง หนึ ่ ง คื อ พยายาม รู  ทุ ก อย า ง พรอมทั้งรูจักตัวเองดวยเพราะวาตัวเองนั้นถือวาเปนสวนหนึ่งของระบบ ระบบ นั้นเปรียบเสมือนภูเขาน้ำแข็งเปนปรากฏการณใหเราเห็นและจับตองได เชน 1. ระดับปฏิกิริยา (Reactive) ปลายยอดของภูเขาน้ำแข็งเปนระดับ ของเหตุการณ ปฏิกิริยา (Reactive) เชน เกิดเหตุการณไฟไหม เราก็ดับไฟ ตามสถานการณ เปนระดับ Reaction แตการแกปญหานี้มิไดเปนการแกปญหา ทั้งระบบ ดังนั้นเราตองมีวิธีแกไขเพื่อเรียนรูใหมใหดีกวาเดิม 2. ระดั บ การ ปรั บ ตั ว (Adaptive) หาก ต อ งการ จั ด การ อั ค คี ภ ั ย ทั้งระบบ ตองกลับไปดูสถิติ ขอมูล ดูเวลา หรือพื้นที่ที่เกิดไฟไหมเปนประจำ พื้นที่ เสี่ยงภัย เมื่อเรารูรูปแบบ รูเวลา พื้นที่ ก็แกปญหา เชน เราจะตองจับ pattern หรือจับแนวโนมใหได วาไฟไหมนั้นมักจะไหมบอยในเดือนไหน แลวสถิติจะบอก


31

การคิดอยางเปนระบบ

เรา ซึ่งเปนการจับกาลเวลา อยางที่สองลองสังเกตดูวาพื้นที่ที่มีความหนาแนนสูง แถวนั้นจะมีโอกาสไฟไหมมาก สวนหมูบานที่มีบานติดกัน อยางบานจัดสรรจะ มีโอกาสนอยกวา หลังจากนั้นเราก็จะรูวิธีที่จะรับมือ วิธีการแกปญหาเมื่อเรารู แลววาพื้นที่ใดเปนที่ที่มีโอกาสเกิดเพลิงไหมสูง ดังนั้นเราควรจัดสถานีดับเพลิง ไวใกลพื้นที่นั้นใหมากที่สุด หากพื้นที่นั้นมีลักษณะซอยแคบก็ควรจะปรับปรุง รถดับเพลิงใหเล็กลงเพือ่ ความสะดวก การเพิม่ สายฉีดน้ำใหยาวขึน้ หรือระยะยาว คือ เอาคนในชุมชนมาอบรมการดับเพลิง 3. ระดั บ ความคิ ด สร า งสรรค (Creative) อย า งไร ก็ ต าม เมื ่ อ การสรางตึกสูงขึ้น โครงสรางของอาคารเปลี่ยนไป ทำใหตองสรางสรรค การออกแบบอาคารเพื่อปองกันอัคคีภัย หรือทำทางหนีไฟ จัดใหมีการออก กฏหมาย ซึ่งระดับนี้เปนการแกเชิงโครงสราง เพราะโครงสรางกอใหเกิดรูปแบบ ของพฤติกรรม ที่สามารถนำไปสูระดับสถานการณ ขณะเดียวกัน ระดับนี้เอง ก็เกิดมาจากความคิดของมนุษย เปนการแกปญหาเชิงลึก 4. ระดับภาพจำลอง ความคิด (Mental Model) แตการจะ จัดการ ในระยะยาวใหไดตองปรับวิธีคิด (Mental Model) ของผูคนในสังคม โดย ประกอบดวย - World view หรือโลกทัศน - Core value - Attitude - Habit เพราะฉะนั้นหัวใจในการแกไขปญหาของ Systems thinking คือ ใชเปนเครื่องมือในการวินิจฉัยโรคเพื่อจะแกไขใหถูกตอง ดังนั้นตองมีการ ฝกเสมอๆ เพราะไมวาเราจะทำอะไรก็ตามเราจะคิดแบบ 4 ระดับเสมอ เชน ประเทศ ทาง ยุ โ รป จะ มี วิ ธ ี ก าร แก ไ ข ป ญ หาจราจร โดย การ ใช mass transit การใชรถราง หรือการใช underground ซึ่งตางจากอเมริกาที่ใชรถเพียง อยางเดียว โครงสรางเปนตัวที่ทำใหเกิดปญหามากมายกับชีวิตของมนุษย และโครงสรางนั้นก็มาจากการสรางของมนุษย โดยจินตนาการในการสราง


32

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

เมือง การจัดระบบจราจร การอยูรวมกัน สังคมไทยในสมัยนี้มีโครงสรางที่ เปลี่ยนแปลงไป ทุกคนมีพื้นที่ในการอยูรวมกันนอยลง หากเรามีการสรางสนาม กีฬา สวนสาธารณะ หรือพืน้ ทีที่ จ่ ะใหเราอยูร วมกันก็จะสามารถชวยเปลีย่ นรูปแบบ การดำเนินชีวิต ของเราได หากโครงสรางไมดี ปญหาอื่นๆ ก็จะตามมา ไมวาจะ เปนปญหาของเด็กในปจจุบนั ลวนเกีย่ วเนือ่ งมาจากปญหาโครงสราง และ mental model ทั้งสิ้น ทั้งปญหาการจัดระบบตางๆ และแมแตครอบครัวก็ยังละเลยกับ ปญหานั้นดวยไมมีคนชวยกันผลักดันความสุขสาธารณะ ความสุขที่สรางสรรค l กิ จ กรรมที ่ 5 : ใหนำเอาปญหาหรือเหตุการณ อาจจะเปนปญหา เรื่องเดิม โดยเพิ่มวิธีคิดเปน 4 ระดับ จับระดับเหตุการณใหไดและจับ pattern of behavior ซึ่งเปนเรื่องของการจับสถิติหรือแนวโนม แลวคนหาวาแนวโนมนั้น มาจากไหน ขุดคนหาระดับตางๆ ของภูเขาน้ำแข็งวามีอะไรบาง ยกตั ว อย า งว า Pattern นั ้ น เปรี ย บเสมื อ นกั บ น้ ำ ที ่ ไ หลไปตาม ทาง บางครั้งก็ไหลวน บางครั้งก็ไหลเอื่อย หรือบางที่ไหลเร็ว นั่นเปนเพราะ โครงสรางของฝงทำใหน้ำตองไหลแบบนั้น ตราบใดที่ตลิ่งไมเปลี่ยนน้ำจะไหล ไปแบบเดิม แตหากวันหนึ่งมีคนมาสรางประตูน้ำปดจะทำใหการไหลของ น้ำเปลี่ยนเพราะวาโครงสรางไดถูกเปลี่ยนไปแลว อยางเชนแมน้ำโขงสมัยกอน ที่มีเกาะ แกงหินมากมาย ทำใหมีปลาอาศัยอยูมาก แตเมื่อประเทศจีน ตองการขยายทางคมนาคมทำใหตองระเบิดโขดหินตางๆ ทำใหปลาหายไป จากแมน้ำโขง เนื่องจาก pattern ถูกเปลี่ยนไปแลว เพราะมนุษยไปทำลาย โครงสรางของแมน้ำโขง ยิ่งกวานั้นยังทำใหวิถีชีวิตของคนที่อาศัยอยูตาม แมน้ำโขงเปลี่ยนแปลงไปอีกดวย สิ่งนี้เนื่องมาจากที่คนเราไมไดมองถึงระบบ ทั้ง 4 ระบบ หากพูดถึง event ของปลาแมน้ำโขงประเภทหนึ่งหายไปไหนก็จะ ทำใหเราเห็น pattern การหายของปลา การหายไปไดอยางนั้นเปนเพราะ โครงสราง และโครงสรางก็หายไป จากการที่จีนตองการเปลี่ยนแมน้ำโขงเปน เสนทางการขนสงโดยไมสนใจในระบบนิเวศน สิ่งนี้ก็มาจากวิธีคิดของมนุษย ทั้งสิ้นที่ไปสรางปญหาใหเกิดโดยที่ไมรูตัว และปญหานี้ทำใหเกิดปญหาเรื่อง ของสภาวะโลกรอนตามมาดวย โครงสรางการใชอุตสาหกรรมตางๆ ใชพลังงาน


33

การคิดอยางเปนระบบ

สิ้นเปลือง และกอใหเกิดมลภาวะตางๆ ทำใหสภาวะดินฟาอากาศแปรปรวน ทุกอยางลวนมีเหตุทั้งสิ้นเพียงแตวาเราจะจับเหตุนั้นไดหรือไม ลักษณะไหน อยางไร

กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู วิทยากร : จากกิจกรรมการคิด 4 ระดับ คิดวาทานไดอะไรบาง มีสวน ไหนที่ยากบาง การแยกระดับคอนขางยาก สมมติ ว า การ แต ง กาย ผิ ด ระเบี ย บ เป น ป ญ หา ที ่ เรา ต อ งการ แก ไ ข สถานการณที่เห็นคือการแตงตัว รัดรูป กระโปรงสั้น แตการแตงกายผิดระเบียบ นี้มีทั้งผูหญิงและผูชาย มาถึงการตั้งคำถาม pattern of behavior วา นิสิต ในคณะไหนแตงกายผิดระเบียบบอยที่สุด เพื่อระบุปญหาใหแคบลง โดย การจับระดับสถิติจากการ identify คณะ หรือชั้นป ปไหนมีการทำผิดระเบียบ มาก หลังจากนั้นใหตั้งคำถามตอวา ทำไม และทำกราฟลองคนหาดูวา มีโครงสรางอะไรเพราะหัวใจของ Systems thinking คือการตั้งคำถาม โครงสราง ใดที่ทำใหคณะนี้แตงกายผิดระเบียบ เกิดมาจากสาเหตุใด หัวใจของ Systems thinking ไมมขี อสรุปลวงหนามีเฉพาะการตั้งคำถาม เพราะหากเราหาโครงสราง ของคณะไดวา คณะจะเกี่ยวเนื่องกับวิธีคิดตางๆ ของวิธีคิดของเด็กหรือไม และ เหตุใดชั้นปที่ 3 และ 4 มีจำนวนลดลง หาวามีโครงสรางใดเขาไปเกี่ยวของหรือไม เพราะโครงสรางทุกอยางมีตั้งแต hard ถึง soft หลังจากนั้นเราตองยอนกลับมาดู วา mental model อะไรที่ทำใหเกิดโครงสรางนี้ มาจากความคิดของใคร อยาง เชน ความคิดของนิสิต ความคิดของอาจารยหรือครูผูบริหารที่เกี่ยวของ ดังนั้น วิธีคิดแรกคือการตั้ง pattern มองยอนกลับไปดูสมัยกอนวามีการทำผิดระเบียบ หรือไมอยางไร แตสมัยนีมี้ การผิดระเบียบทีล่ อแหลมมากขึน้ เหตุทีทำให ่ นักศึกษา แสดงออกมาอยางนั้นเกิดจากอะไร เราตองตั้งคำถามและทำการคนหาไปเรื่อยๆ เสมือนกับนักสืบโดยการเก็บหลักฐานใหมากทีส่ ดุ เทาทีจ่ ะมากได และคนหาทีม่ า ที่ไปตอไป


34

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

สิ่งที่ยากของปญหาโครงสรางเนื่องจากโครงสรางนั้นมีหลายระดับ ไมวาจะเปนเรื่องของกฎระเบียบขอบังคับ กฎหมาย วัฒนธรรม ประเพณี และยัง มีโครงสรางบางอยางที่ไมไดเขียนแตทุกคนปฏิบัติ เชน นักเรียนอาชีวะสถาบัน หนึ่งมีวิธีการรับนองหรือปลูกฝงใหมีการทะเลาะเบาะแวงกับโรงเรียนอื่น คลาย กับ code of conduct ซึ่งอาจารยเองก็ไมรูเหตุผล ทายที่สุดเรื่องของ Systems thinking คือการที่เราจะทำใหเห็นกับตา เปนการ visualize สิ่งที่ซอนอยูใตภูเขาน้ำแข็ง เมื่อเจอแลวใหกลับมาดูวาอะไร คือวิธีการแกปญหา เพราะบางอยางมีคำถามเพียงคำถามเดียวแตมีคำตอบถึง 5 คำตอบก็เปนได คนหาวาคำตอบไหนเหมาะสมทีส่ ดุ หรือวิธกี ารอางคำตอบแบบ บูรณาการ ยกตัวอยาง กลุมหนึ่งพูดวาเด็กคิดไมเปนหรือคิดวิเคราะหไมเปน ดังนั้นเราควรจะถามกอนวาสาเหตุมาจากไหนและมาไดอยางไร ยิ่งไปกวานั้น ใน สมั ย นี ้ ผู  ใ หญ ที ่ คิ ด วิ เ คราะห เป น แต มี น อ ยมาก และ ไม ลึ ก พอ อย า ง เช น ตามหนังสือพิมพยังมีการวิเคราะหการเมืองแบบเดิมๆ สวนหนึ่งอาจจะมาจาก การ ดวนสรุปมากเกินไป และอีกสิ่งหนึ่งที่เรามักมองขามเพราะคิดวาไมเกี่ยวกับ การศึกษา คือการคิดใน 2 สวน หนึ่งคือ active mind คือการคิดสรางสรรค การคิดนอกกรอบ แตสิ่งที่ สำคัญกวา active mind และคนไทยมักจะมองขามคือ quiet mind สวนนี้จะไป อยูกับสายของศาสนา ดังนั้น active mind กับ quiet mind ตองอยูรวมกัน เพราะ คนทีเก ่ งมักจะนิง่ และมีจิตทีสงบ ่ เราสามารถสังเกตไดจากตัวเอง เมือ่ เรารูส กึ เกิด อาการหงุดหงิดเราจะคิดอะไรไมออก แตเมื่อเราผอนคลาย ความคิดดีๆ ก็จะมา เอง ดังนั้น active mind กับ quiet mind สองสวนนี้เปนสวนที่สำคัญ เมื่อถามวาเหตุใดเด็กคิดไมเปน นั่นอาจจะหมายถึง เด็กมีสมาธิสั้น และ เหตุใดเด็กจึงมีสมาธิสั้น เพราะเด็กสมัยนี้มีสิ่งเราในสังคมเกิดขึ้นมากมาย และ สิง่ นัน้ ก็ลอใจ (Distract) เราทุกวัน ซึง่ ตางจากคนสมัยกอนไมมสิี ง่ เราเขาก็จะอยูกั บ Inner part เพราะฉะนั้น Inner part เปนสงบนิ่ง สงบเย็น สงบสวาง และสภาวะ ตรงนี้ก็หายไป


35

การคิดอยางเปนระบบ

อารมณกับความรูสึกแตกตางกันอยางไร ความรูสึกคือ Feeling อยางเชน เวลาที่เลาเรื่องใหเพื่อนฟงเรื่องนั้น อาจจะเปนเรื่องที่สะเทือนใจเราหรือบางเรื่องอาจจะสะเทือนใจเพื่อนที่ฟงอยู ก็ได สิ่งนี้คือ feeling ที่สรางอารมณไดดวย และปจจุบันนี้ก็มีหนังสือที่เกี่ยวกับ emotion ซึ่งอาจจะสำคัญกวา IQ ดวยซ้ำ แลว EQ เกี่ยวของกับเรื่อง active mind อยางไรบาง อยางไรก็ตาม สิ่งที่คิดวาสำคัญในตอนนี้คือเรื่องของ quiet mind เพราะเหมือนกับวาหากเราตองทำงานแลวแบงเวลาไปพักผอนดวย จะทำใหเรา มีแรงมาทำงานตอได จิตก็เหมือนกัน จิตเปนเรื่องของ fitness ทาง mental หาก เราออกกำลังกาย เราก็ตองพักผอนเพื่อทำใหเกิดสมดุล และที่ผานมาสังคมไทย ไมมีความสมดุล ของ active mind กับ quiet mind และ active mind คือ การเรง ไล ตามสภาวะขางนอก แลวสังคมก็ทำใหสมาธิของคนสั้นลงไปเรื่อยๆ และสิง่ นีก็้ สามารถเกิดขึน้ กับตัวผูใ หญไดดวย ดังนัน้ เราจะตองใชความสงบเปนตัว แกไข แลวจะทำใหเราเกิดความสมดุลในตัวเอง มันจึงเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับ awareness สติจะเขามาเปนตัวกำกับทุกอยางวา เกิดอะไรขึ้นกับเรา เราพักผอน เพียงพอหรือไม จิตของเราสงบหรือไม กอนที่เราจะพูดอะไร เรามีความสบายใจ หรือวาหงุดหงิดหรือไม เราตองเห็นตัวเองทุกครั้ง เพราะฉะนั ้ น แล ว แม ว  า Systems thinking จะ เป น วิ ธ ี คิ ด ของ การวิเคราะห เชื่อมโยง การมีเหตุมีผลตางๆ เปนพื้นฐานคือการมีจิตใจที่สงบไมมี อารมณโมโห ซึ่งเรื่อง Systems thinking มา ตองอาศัยการฝกฝนมากพอสมควร l สะทอนความคิดประจำวัน (Check out) หั ว ใจ ของ การ Check out คื อ การ ให แต ล ะ ท า น นั ่ ง ล อ มวง โดย มี กติ ก า ว า ให หยิ บ สั ญ ลั ก ษณ อย า ง เช น ปากกา วางไว ตรงกลาง วง ให เป น เหมือน talking stick ใครที่ถือ talking stick จะสามารถพูดไดสวนทานอื่น ก็นั่งฟง กระบวนการคือ เมื่อใครพรอมจะพูดใหหยิบปากกา หรือ สัญลักษณ อะไรก็ตามแลวทำการเริ่มพูด ประมาณ 2-3 นาที หลังจากนั้นพูดวา “check out แลวครับ/คะ” หัวใจของการทำ check out คือเพื่อใหแตละทานไดตกผลึก เพราะวาบางครั้งเราไดรับรูอะไรตางๆ มามากมายแตเราไมมีการตกผลึก ซึ่งจะ l


36

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

ทำใหความคิดเหลานัน้ กระจัดกระจาย หากเราไดฟงตัวเองหรือเพือ่ นพูดความคิด เหลานั้นจะเชื่อมเขาหากันเปนการตกผลึกครั้งสุดทายของวัน แบงปนรวมกันวา วันนี้เราไดเรียนรูอะไรที่นาสนใจมาบาง โดยมองจากตัวตนเอง เลาใหเพื่อนๆ ฟง จะไดเปนการ collective learning ครั้งสุดทายของวันนี้ ผูเขารวม 1 : วันนี้ไดเรียนรูอะไรหลายๆ อยางแตสวนตัวแลว วันนี้ คาดหวังไววาอยากจะเรียนรูวิ ธกระบวนการ ี คิดทีเป ่ นระบบ แตยังเรียนรูได  ไมมาก อยางที่วิทยากรเคยกลาวไววาเพิ่งจะเปนเพียงการเริ่มตนเทานั้น อีกอยางคือ หากเราไมสามารถแปลภาษาอังกฤษถูกตองก็อาจจะทำใหเราไมเขาใจบางสิ่ง บางอยางได วิทยากร : อยางที่อาจารยไดกลาววาคิดวาตัวเองคิดไมเปนระบบ อาจารยเคยสังเกตตัวเองหรือไมวารูสึกวาตรงไหนที่ติดขัดหรือรูสึกวาสวนไหน ที่ไมเขากับวิธีคิดของตัวเองแบบรูปธรรม ผูเขารวม 2 : อาจจะเปนเพราะวาวันนี้เราไดพูดกันเรื่องของปญหา ซึ่งมันอาจจะ ทำใหกระจัดกระจาย มาก แตสวนใหญสิ่งที่ตัวเองจะคิดออก มักจะเปนเรื่องในเชิง positive มากกวา แตหากคิดเรื่องของปญหาจะทำใหเรา คิดวาไมสามารถหาทางออกได สวนนี้จึงไมทราบวาจะเกี่ยวกับสิ่งที่ทำใหเกิด การติดขัดหรือไม สวนเรื่องของภาษาก็มีสวนในบางชวงเพราะคิดวาคำศัพทนั้น ไมตรงกับกระบวนการที่เราทำอยู ใน ส ว นแรก เรื ่ อ ง ของ ภาษา reactive, creative, adaptive และ rethink สิ่งนี้แสดงใหเห็นวาการแกปญหาในแตละระดับมันเกี่ยวของกันอยางไร อยางเชนเรื่อง reaction เมื่อนักเรียนคิดไมเปน reaction ของครูคือ ดุนักเรียน สิ่งนี้คือการแกปญหาแบบ reactive แตถาไปถึงขั้นที่ลึกลงไปคือการจับ pattern ใหได สวนมากแลวเด็กที่คิดไมเปนนั้นมักจะอยูในวิชาไหน เราก็ควรไปเริ่มดูจาก สถิติ เมื่อรูแลวเราจะตองหาวิธีในการคุยกับนักเรียน การแกแบบนี้คือการแกไข แบบ adaptive การแกไขแบบปรับตัวเขากับปญหา ปรับใหดีขน้ึ และการแกแบบ เชิง creative คือการแกไขแบบไมใหปญหานัน้ เกิดขึน้ ซ้ำอีก และสังคมไทยสมัยนี้


37

การคิดอยางเปนระบบ

มีแตการแกไขปญหาแบบวัวหายลอมคอก โดยทีไม ่ ไดใชเวลานัน้ ไปซอมคอก เชน กรณีทนั่ี กเรียนตีกันนัน้ ทีเรา ่ ไมสามารถแกไขได เรียกวา Chronicle problem เปน ปญหาที่เรื้อรังแตไมเคยแกไขในเชิง creative ซึ่งเราไมไดแกไขจากรากเหงาของ ปญหา ตองหาวาโครงสรางของปญหาอยูตรงไหน  โดยการคิดนอกกรอบ ออกจาก ที่เดิมแลวก็มาจัดโครงสรางใหม แตสวนที่สำคัญคือเราจะมองเห็นปญหาที่ แทจริงกอนแลวคอยลงมือแก และปญหาใหญของ Systems thinking คือ การติดกับสิ่งเกาๆ นอกจากนี้ปญหาอีกอยางหนึ่งคือมนุษยบางคนนั้นไมมีจริต ในการแกไขปญหาแตหากเราฝกแกปญหาอาจจะทำใหดีขึ้นเพราะรากของ Systems thinking นั้นอยูที่หลักคิดของอิทัปปจจยตา และการมองโลกแบบ องครวมที่มีมาในทุกๆ ศาสนา เพราะทุกๆอยางนั้นลวนมีชีวิตแตคนสวนใหญ มักจะลืม สรุปวา วันนี้สิ่งที่เรียนจะเรียนเฉพาะการวินิจฉัยปญหา การหาปญหา ใหเจอ วาสาเหตุที่แทนั้นมาจากอะไร ดังนั้นเราจึงคอยแกไข วันที่สองของการอบรม 2.3 ทฤษฎีวาดวย ปรัชญา ทักษะและขอควรระมัดระวังในการคิดกระบวน ระบบ l เริ่มกิจกรรมโดยใหผูเขารับการอบรมแบงกลุมๆ ละ 5 คน (Check in) การ ประชุ ม ที ่ ดี มั ก จะ เป น การ ประชุ ม ที ่ ผู  เข า ร ว ม มา พร อ มทั ้ ง กาย และใจ แตการประชุมที่มีผลไมคอยจะดีนักนั้นคนที่มาไมมีใจในการเขารวม บางครั้งมนุษยขณะที่มาประชุมนั้นใจคอยแตพะวงในเรื่องอื่นๆ เชน บางทาน อาจจะกังวลเรื่องวา ลูกปวยนอนอยูที่บาน กลัววาจะไมมีคนดูแล หรือวากังวล วาจะตองไปซื้อของ หรือไปธนาคาร เปนตน เนื่องจากการมีความกังวล เพราะ ฉะนั้น เวลาที่เราพูดหรือคุยก็อาจจะทำไดไมดีเพราะไมมีสมาธิ ดังนั้นกอนที่เราจะเขารวมทำการประชุมนั้น ควรจะจับกลุมพูดคุย เรื่องตางๆ ที่อาจจะมีความกังวลอยูเพื่อใหไดระบาย และพรอมที่จะมีสมาธิ


38

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

ตอไป การอยูในที่ปจจุบัน บางที่อาจจะมีหรือไมมีหัวขอในการ check in แตควรจะคุยในเรื่องที่ทำใหเราสบายใจ วิธีทำคือการทำเชนเดียวกับวิธีการ check out หยิบปากกามาวางกลางวง ใครพรอมทีจ่ ะพูดกอนก็หยิบปากกาขึน้ มา แลวก็เลาเรื่องตอไปจะเปนเรื่องอะไรก็ได เมื่อพูดจบแลวใหพูดวา “check in แลว ครับ/คะ” ใชเวลาทานละประมาณ 2-3 นาที หลังจากที่ไดทำการ Check in แลวรูสึกอยางไรบาง ผูเขารวม : รูสึกอยากคุยตอเพราะเปนเรื่องของตัวเอง วิทยากร : การ ที ่ ได พู ด เรื ่ อ ง ของ ตั ว เอง นั ้ น ดี อย า งไร เพราะอะไร ในการพูดเรื่องของตัวเองแลวทำใหเรารูสึกสบายใจ ทุกอยางมีสาเหตุ ความ สบายใจนั้นเกิดขึ้นไดจากอะไร สิ่งนั้นคืออะไร มนุษยมีบางสิ่งบางอยางซอนอยู หรือเปลา และหากเราคนไปลึกๆ แลวอาจจะมีสาเหตุบางอยางทีเรา ่ ไมไดครุน คิด มากอน และถาเราจับสิ่งนั้นไดเราก็จะใชเครื่องมือนั้นมาใชกอนการประชุม เพื่อ ใหผูเขารวม นั้น มีความ สบายใจ แลวเขา จะ มีสติและ สมาธิ ซึ่ง จะ ดีกวา การเขาประชุมเลย สำหรับผมที่เลนกีฬาบอยตัวผมเองก็ยังตองผอนคลาย อิริยาบถ ไมเกร็ง ไมเครียด เพราะถานักกีฬาเกิดความเครียด ไมผอนคลายจะ ทำใหเลนกีฬาชนิดนั้นไดไมดี ทุกอยางลวนเกี่ยวกับการผอนคลาย ซึ่งทำใหเกิด พลัง (Energy) ดังนั้นแสดงวาสภาวะความเปนมนุษยนั้นมีอะไรบางสิ่งบางอยาง ที่เรายังครุนคิดกับมันไมพอ และใชประโยชนกับมันไมเต็มที่ นี่แสดงใหเห็นวา ทำไมคนที่ฝกสมาธิจึงผอนคลาย (relax) ไดงายและเร็ว ดังนั้นกอนที่เราจะ ทำอะไรตางๆ อยางเชนตอนนี้ที่เราทำ contemplative education จะตอง สังเกตอารมณตลอดเวลา มี awareness ตลอดเวลา เพราะเมื่อเราสบายใจนั้น ในการทำการสนทนา หรือการเรียนรูจะทำใหเราคิดไดดีขึ้นหรือไม เร็วขึ้นหรือไม และมองเรื่องราวตางๆ ไดทะลุหรือไม ดังนั้นจากวงจร ที่เราเรียนเรื่องของ Awareness and Sensibility ซึ่งเรานำไปใชไดตลอดเวลา สิ่งสำคัญที่สุดในการสนทนาโดยเฉพาะในสมัยใหม ที่ซับซอนนั้นไมมีใครเกงคนเดียว ไมมีใครมองเห็นทุกอยางไดหมด ทุกอยาง


39

การคิดอยางเปนระบบ

ตองการความฉลาดรวม (Collective Intelligence) เพราะฉะนั้นคนที่เปน ผูนำในโลกสมัยใหมโลกที่ซับซอน จะไมใชผูนำที่เกงคนเดียว แลวบอก แผนใหคนอื่นทำตาม แตจะเปนผูนำที่สามารถสรางบรรยากาศใหเกิด การสนทนาและมีปญญารวมกัน พรอมทั้งผูที่รวมฟงสนทนาจะตอง รูดวยวาตัวเองจะตองทำอะไรถึงจะเกิดการแบงปนวิสัยทัศนหรือแบงปน ความตองการขึ้นมา สิ่งนี้คือสภาวะของผูนำในโลกสมัยใหม เปนสมัย ของการสราง ความฉลาดรวมกัน ดังนั้นผูนำที่ดีจะตองเปนผูนำที่สามารถ facilitate การประชุมใหเกิดพลัง ใหเกิด Mindfulness และ Awareness ขึ้นในกลุม และสรางปญญารวมกัน สิ่งนี้คือทักษะที่สำคัญมาก โดยเฉพาะ อาจารยผูที่สอนหนังสือ ใน หองเรียน นั้น อาจารยจะ ตอง สราง บรรยากาศ อยางไรใหนักเรียนสนใจ ติดตามเรื่องราว และคิดตามเรา การ เรี ย นรู  ด ว ยใจ นั ้ น แตกต า งจาก การ เรี ย นรู  ด ว ย สมอง ตรงไหน ทำอยางไรใหการเรียนรูดวยใจ เกิดขึ้นไดบอยและงาย มีความเกี่ยวของอยางไร กับ IQ และ EQ บาง สภาวะในการที่ใหทำการพูดคุยกันในชวงเชาทำใหเกิดการ ผอนคลายหรือไม ในภาพทีเ่ ราเห็นนีค้ อื ภาพของมนุษยถบี จักร ที่วิ่งวนอยูกับปญหา และไมสามารถหาทางออกได ซึ่งในสังคมของเราขณะนี้มีอยูเยอะมาก เนื่องจาก การที่ติดอยูในวงความคิดของตัวเองไมสามารถจะ แกไขไดทำใหเหนือ่ ยกับการถีบจักรนีไ้ ปเรือ่ ยๆ ดังนัน้ ชีวิตของเราจะหมดพลัง เมื่อตองคิดอะไรที่ซ้ำซาก แลวทำใหเกิดอาการเบื่อ และเมื่อจิตของเราไมสวาง ก็จะทำใหความคิดของเรานั้นพรามัว Systems thinking จึงเปนเครื่องมือหนึ่ง ที่ใชในการที่พยายามจะทำใหเราออกจากกรอบความคิดเดิมๆ


40

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

ทฤษฎีวาดวย ปรัชญา ทักษะและขอควรระมัดระวังในการคิดกระบวน ระบบ l กิจกรรมที่ 6 : เจาะรูเล็กๆ ตรงกลางที่กระดาษ A4 และ ใหดูรูปนี้ ผานรูนั้น ขณะนี ้ ใ นชี ว ิ ต ของเรา เราไม ร ู  ว  า มี ก รอบอะไรติ ด อยู  บ  า ง เรา ไมรูวาเราเปนมาลำปางขนาดไหน เมื่อเราเห็นแคนี้แสดงวาเราเห็นเฉพาะ ส ว น แต ห ากเราเห็ น องค ร วม เห็ น สภาวะทั ้ ง หมด ท า ยที ่ ส ุ ด แล ว ผลนั ้ น จะ กระทบกลับไปที่ตนเอง ปญหานี้คือสิ่งที่ Systems thinking จะเขาไปเกี่ยวของ มองใหเห็น ผลกรรม หัวใจของ Systems thinking จริงๆ แลวคือการทำใหเห็นกรรม วาเมื่อ ทำกรรมอะไรไว ก็จะกลับมา Systems thinking จะสอนเรื ่ อ งของการกระทำ เมื่อทำอะไรไป จะมี consequence หรือผลลัพธ นี่คือแกนของ Systems thinking ดังนั้น เราจะตองระมัดระวัง สังเกตใหดีกอนที่จะทำอะไร โดยเฉพาะ ในโลกที่ เปราะบาง ออนไหว และซับซอนอยาผลีผลามลงมือแกปญหา โดย ที่ไมครุนคิดใหรอบคอบเสียกอนเพราะวาจะมี (Unintended Consequences) ผลลัพธที่ไมไดเจตนา และผลพวงที่ไมไดคาดคิด l

2.4 ทฤษฎีวาดวย Feedback การปอนกลับของเรื่องราว 2.4.1 ทฤษฎีวา ดวย เสนการปอนกลับ (Feedback loops) และการมาชา (delay) ในโลกที่ซับซอน l ทฤษฎีวาดวย เสนการปอนกลับ (Feedback Loops) เสน feedback คือเสนของการปอนกลับ หรือเสนที่ทำใหเรา เห็นเรื่องของกรรม คือ System thinking ไมใชความรูใหม แตมันยืนอยูบน หลักการของการคิดแบบเดิม หลักอิทัปปจจยตา เพียงแตวาเรานำขึ้นมาในภาษา


41

การคิดอยางเปนระบบ

ใหมคือภาษาของเสน และภาษาของการเลาเรื่อง กอนหนานี้ไดเรียนรูเรื่องของ การคิด 4 ระดับ นอกจากการที่เราจะแกไขเหตุการณปจจุบันแลว ยังคงตอง คำนึงถึงปญหาในอนาคต ดวย จากการที่ไดนิยามปญหาก็จะนิยามปญหา ในประเด็นเรื่องที่เราสนใจ หรือการนิยามปญหาคือการจับประเด็น จับเรื่อง หรือจับเรื่องราวที่เราคางคาใจวาทำไมถึงเกิดขึ้นบอยๆ อาจจะมีความสงสัย วาเหตุใดถึงแตกตางจากเมื่อ 20 หรือ 30 ปที่แลว เราจึงเอาเรื่องราวเอาสถิติ เหลานั้นมาตั้งคำถาม แลวพยายามหา pattern อยางเชน กรณีที่เรายกตัวอยาง ของการเกิดไฟไหม สถิติบอกวาเกิดการไฟไหมถี่มาก คือชวงประมาณตรุษจีน แตชวงหลังๆ นั้นกราฟของการไฟไหมในชวงตรุษจีนนั้นลดลง สิ่งแรกที่เราจะทำ คือ plot กราฟ หรือหา pattern of behavior ของระบบ ใหไดวาเสนกราฟนั้นบอก อะไรบาง หากกราฟบอกวาตรุษจีนในสมัยใหมนั้นเมื่อเขาป 2530 เปนตนมา การเกิดไฟไหมในชวงตรุษจีนนั้นลดลง เราจึงตองตั้งคำถามวาเหตุใดจึงเปน เชนนั้น ทำไมตัวเลขลดลง อะไรที่มาทำให structure เหลานีลดลง ้ ทำไมตรุษจีน สมัยนี้จึงไฟไหมนอยกวาสมัยกอน อะไรคือโครงสรางที่ทำใหเสนกราฟเปลี่ยน สมมติวาไมมีการการทำวิจัยกันอยางชัดเจนแตเราอาศัยเรื่องของการสังเกต และคาดเดาวา วิถีการปฏิบัติเริ่มเปลี่ยนแปลง แลวความรีบรอนทำใหความ เครงครัดตางๆ เริ่มลดลง และรวมทั้งการจุดเทียนจุดธูป มีเทคโนโลยีใหมเกิดขึ้น อยางเชน เทียนไฟฟา สิ่งที่กลาวมาขางตนแสดงใหเห็นวาทุกสิ่งทุกอยางลวน มีเหตุและผลทั้งสิ้น สิ่งนี้ Systems thinking สอนใหเราตั้งคำถาม จาก pattern of behavior ลงมาดูวาโครงสรางเปนอยางไร อยางเชน การเกิดไฟไหมมากที่สุดคือพื้นที่ชุมชนแออัด หรือ ทีที่ มี่ บานเดีย่ วอยูรวมกั  นเยอะๆ จะมีอัตราการเกิดไฟไหมต่ำ สิง่ นีบอก ้ อะไรกับเรา บอกอะไรเกี่ยวกับคนที่ทำงานดับเพลิง บอกอะไรเกี่ยวกับผูที่บรรเทาสาธารณภัย บอกอะไรเกี่ยวกับเรื่องผังเมือง แลวบอกอะไรเกี่ยวกับวิธีการแกปญหา การที่เกิด ไฟไหมนั้นเกี่ยวของกับโครงสรางของอาคารหรือไม Structure และกฎหมายที่ เกี่ยวของกับการสรางอาคาร การแกปญหาอัคคีภัยควรจะเปนอยางไรเรายังคง ตองปรับกันตอไป


42

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

ดังนั้น หัวใจของ Systems thinking จึงเปนเรื่องของการคิด แกไขปญหาระดับเหตุการณในปจจุบนั นอกจากนัน้ เรายังตองมีวิสยั ทัศนมองไปยัง อนาคตอีกดวย วาจะแกไขอยางไร โดยไมทำใหวงจรซ้ำอยูที่เดิม การแกปญหา แบบ reaction เปน adaptive การปรับตัว โดยทำเปนลักษณะ creative สรางเปน โครงสรางใหมขึ้นมาไมใหซ้ำเดิม สุดทายคือ generative การขยายผลหรือการ สรางขึน้ มาใหม สิง่ นีคื้ อเรือ่ งของระดับ vision การ generate คือการคิดไปขางหนา แตอาจจะเปนไปไดวาสิง่ ทีเกิ ่ ดขึน้ ในอดีตอาจจะไมเกิดซ้ำก็ได แตอาจจะมีปญหา ใหมเกิดขึ้นอีก ซึ่งอาจจะซับซอนมากขึ้นกวาเดิม อยางเชนเรื่องโรคระบาดตางๆ วัณโรคที่เพิ่งเกิดขึ้นมาใหมและมีสิทธิ์ที่จะขยายตัวขึ้นเรื่อยๆ เนื่องมาจากสภาวะ โลกทีเปลี ่ ย่ นไป และหากวาภูมติ านทานของเอดสไดมารวมกับวัณโรคจะทำใหเกิด อะไรตอไป และ pattern of behavior of the system เปนอยางไร นี่คือเหตุผลที่วาความสำคัญของ Systems thinking วาทำไม จึงตองพยายาม สิ่งแรกคือ การคิดใหทะลุตั้งแตเหตุการณปจจุบันไปจนถึง pattern กราฟ ซึ่งเราเรียกวาเปนเสนที่บอกเราใหรูถึงระบบ พฤติกรรมของระบบ แลวคนหาโครงสรางวามาไดอยางไร ถาลงใหลึกลองคิดดูวามนุษยมีสวน ทำอะไร บาง จนกระทั่งไปสูวิธีคิดของมนุษย เมื่อเราปรับวิธีการแกไขจาก โครงสรางไปสูวิธีคิดของมนุษยคือ เชน หากใครที่เคยดูภาพยนตรในสมัยกอน จะเราจะเห็นวากรุง London ของอังกฤษในสมัยกอนหรือโรงหนังใน New York มีความสกปรกมาก แตตอมาก็มีการปรับวิธีคิด ปรับระบบการสรางเมืองใหม ทั้งการระบายน้ำ พฤติกรรมของคนก็จะเปลี่ยนไปดวยเพราะโครงสรางหลายๆ อยางเปลี่ยน โครงสรางเปนปจจัยหนึ่งที่ทำใหความสัมพันธของมนุษยเปลี่ยนไป และโครงสรางนี้เกิดขึ้นจากฝมือที่มีมนุษยวางไวทั้งสิ้น การสรางถนนเห็น แตถนน แตหากคนที่เขาใจก็จะคิดไดวา เปนการสรางเพื่อรับใชความเปนมนุษย หากอยากจะหาความสะดวกก็จะตองหาวิธคิี ดวาจะทำอยางไรใหคนทีอ่ ยูร วมกัน นั้นมีความสุขอยางปลอดภัยเพื่อใหอยูไดตอไป เราไมเคยคิด แสดงใหเห็นวา วิธีคิดของมนุษยนั้นนำไปสูปญหาตางๆ ที่เราคาดไมถึง


43

การคิดอยางเปนระบบ

Casual loops เสนของเหตุและผล (Casual loop) เดิมที่เห็นเปนแบบ one way แตจะพบวายังมีเสนทีสั่ มพันธกนั ไปมา หรือขามไปหากันบางก็มี และสิง่ เหลานีใน ้ ความเปนจริงแลวจะมีการ feedback เกิดขึน้ ทุกอยางทีทำ ่ จะมีผลลัพธติดตามมา ดวย อยางเชนในรูป เมื่อเรากระหายน้ำ เราก็จะถือแกวน้ำไปที่ถังน้ำแลวก็กดน้ำให ไหลลงมา ถาเราเปนคนที่ใสใจตอเรื่องสิ่งแวดลอม เราก็จะกดน้ำตามสภาพที่ เราตองการดื่ม สิ่งนี้แสดงใหเห็นวาทุกสวนของรางกายมี Feedback อยูตลอด เวลา เมื่อใดที่เรากระหายน้ำเราจะหยิบแกวน้ำมากด เมื่อพอแลวก็จะหยุด แต บางครั้งเราอาจจะไมไดสังเกตเห็น เรามีการ feedback อยูตลอดเวลาในการ ดำเนินชีวิต แตการที่เราทำแบบนี้มาตั้งแตเด็กทำใหเกินความ เคยชินเลย ไมทันไดสังเกต อยางเชน เมื่อเราขึ้นลิฟตขณะที่อยูคนเดียวเราอาจจะยืนทำอะไร ก็ได แตเมือ่ มีบุคคลอืน่ เขามาปฏิกริ ยิ าของเราก็จะเปลีย่ นทันที สิง่ นีคื้ อ feedback ซึ่งจะเกิดขึ้นเร็วมาก การทำแบบฝกหัดเกี่ยวกับเรื่อง feedback จะทำใหเห็นสภาวะ เชื่อมโยงตางๆ กอนหนานี้เราทำแบบ ก. ไป ข. จาก ข. ไป ค. และจาก ค. ไป ง. เปนเสนตรง (linear) แต Systems thinking นั้นไมเคยเปนเสนตรง เพราะ เปนเรื่องของการไปแลวกลับ การคิดแบบ เป น วั ฏ จั ก ร การ คิ ด แบบ มี เ หตุ ม ี ผ ล ซึ ่ ง ผลนั้นอาจจะกลับมาเปนเหตุได แตการ กลับมานั้นอาจจะมีการทิ้งชวงระยะเวลา หนึ ่ ง หรื อ อาจจะ delay เช น หาก เรา ปวดศีรษะแลวเรากินยา ซึ่งเราไมสามารถ จะหายไดทันที จะตองทิ้งชวงเวลาระยะ หนึ่งกอน กวาที่ยาจะออกฤทธิ์ ทุกอยาง สามารถ delay ไดเสมอ หรืออยางเชน l


44

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

เมื ่ อ เรา ไป พั ก ตาม โรงแรม ใน ฤดู ห นาว หาก ชั ้ น ที ่ พั ก อยู  นั ้ น อยู  ห า ง ถั ง เก็ บ น้ำมาก แลวเมื่อทานหมุนกอกน้ำอุน น้ำที่ออกมา จะไมอุนโดยทันที แลว เมื่อทานหมุนกอกน้ำเย็น น้ำก็อาจจะ เย็นไป ทำใหเราตองหมุนปรับไปมา นั่นจะแสดงใหเห็นถึงการ delay ที่เกิดขึ้นเสมอ สิง่ นีคื้ อหัวใจของ Systems thinking เราเรียกวา เสนของการปอน กลับ (Feedback Loops) เราตองทำเสนของ การปอนกลับใหปรากฏเปน mapping ขึน้ มา ปอนกลับมาอยางไรเพือ่ ใหเราเห็นการกระทำทีมี่ การปฏิสมั พันธกัน ไปมา และถาเรารู delay ควรจะใสลงไปดวย ระบบที่นากลัวที่สุดคือระบบที่ delay หรือมาชา เพราะวาเรา ไมรูว า จะปรับตัวอยางไร อยางเชนมะเร็ง เพราะความนากลัวของมะเร็งคือการมา แบบชาๆ และเงียบ เนื่องจากการ delay ซึ่งไมเหมือนกันโรคอื่นๆ ซึ่งถา delay แลว การแกไขจะชาขึ้น เชนเดียวกับสภาวะโลกรอนที่ใชเวลา สั่งสมเปนเวลานาน หลังจากนั้นทำใหเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติอีกมากมาย แลวสิ่งที่นากลัวเหลานี้ ไดเกิดขึ้นอยางเงียบๆ ชาๆ และเราเองไมทันระวัง เชน เมื่อเราปลอยใหความ ชั่วเขาสูตัวเราทีละนิด ทนไปเรื่อยๆ ยอมไปเรื่อยๆ จะทำใหเรารูสึกเหนื่อยลาแต ไมรูวาจะแกไขปญหาอยางไร เพราะไดครอบงำตัวเราไปแลว ทั้งโครงสรางและ วิธคิี ด นีเหตุ ่ ผลทีว่ า เหตุใด deep learning circle จึงตองเกีย่ วกับ Awareness and Sensibility เมื่อเราขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งอาจทำใหเกิดปญหาได เพราะฉะนั้น ปญหา ใหญๆ ที่มีมากในสังคมที่นากลัวคือปญหาที่มาอยางชาๆ เพราะจิตของเราไดถูก สรางใหเกิดความเคยชินไปแลว อยางความรุนแรงที่เกิดขึ้นทุกวันนี้ทำใหจิตเรา กระดางลงเรื่อยๆ นี่คือสิ่งที่เกิดขึ้นในเรื่องของ Feedback 2.4.2 ทฤษฎีวาดวย การปอนกลับเพิ่มกำลังทวีคูณ (reinforcing feedback) และการปอนกลับคานกำลัง (balancing feedback) Feedback มี 2 ประเภท 1. Reinforcing Feedback คือ การปอนกลับเพิ่มกำลังทวีคูณ ที่มา ที่ไปคือ A กระทำบางอยางตอ B (คือในทิศทางเดียวกัน same direction) เมื่อ A วา B หลังจากนั้น B ก็จะวา A กลับ ไปใน same direction ยิ่งวากันมาก


45

การคิดอยางเปนระบบ

เทาไหรก็ยิ่งทำใหมีอารมณโกรธมากขึ้นเรื่อย ๆ ดังนั้นเสนกราฟที่ตอนแรก อาจจะเลื่อนไปอยางชาๆ หลังจากนั้นมันจะเพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆ ยกกำลังขึ้นไป เพราะ เกิ ด ซ้ ำ แล ว ซ้ ำ เล า ไป ใน ทิ ศ ทาง เดี ย วกั น โดย ที ่ ไม ม ี การ Break เลย เสริมไปในทิศทางเดียวกันหมด หรือหากดีก็จะดีมาก เลวก็จะเลวมาก สิ่งนี้ คือการปอนกลับเพิ่มทวีคูณ ซึ่งจะเสริมซึ่งกันและกัน ไปในทิศทางเดียวกัน โดยที่ไมมีการ Break ในรูปอาจจะมีเพียงวา A กับ B แตในความเปนจริง อาจจะมีทั้ง A B C D หรือ E ทุกอยางสามารถเสริมไปในทางเดียวกันไดหมด ไม ม ี ใ คร ค า น ใคร มี แต การ เสริ ม กั น ทั ้ ง หมดถ า แบบนี ้ แสดงให เ ห็ น ว า การ ที่มีหลายๆ คนเทากับการมีหลาย motor และตางคนก็ไมมีความยับยั้งซึ่งกัน และกั น เลย การ ไป ในทาง เดี ย วกั น บวก หรื อ ลบ ก็ ไ ด ขึ ้ น อยู  กั บ เรื ่ อ งราว นั ้น เรื่องที่ดีๆ อาจจะเปนเรื่องของกำลังใจความหวังหรือเรื่องที่ทำใหเกิดความ ฮึกเหิม แตถาเปนเรื่องรายก็จะทำใหเปนวงจรอุบาทว เปนสิ่งที่ฉุดใหเราลงต่ำ กฎแหงกรรมคือ อะไรก็ตาม ถามีขึ้นก็ตองมีลง เมื่อเสื่อมก็ตอง มีฟน เพียงแตเราจะ Plot ใหเปนกราฟ เพื่อใหมองเห็นภาพความเปนอนิจจัง และสิ่งที่สำคัญที่สุดคือทำใหเราเห็นสภาพของการ take action ถาเราไมระวัง อาจจะกอใหเกิดผลกรรมที่เราไมปรารถนา (Unintended Consequences) ซึ่ง เกิดขึ้นโดยที่เราไมตั้งใจ สิ่งนี้คือสิ่งที่สำคัญมาก และเมื่อเราทำ Systems thinking บ อ ยๆ จะ ทำให เรา กลาย เป น คน ที ่ ละเอี ย ด ทำ อะไร ต อ ง มี การ ระมั ด ระวั ง และ คิ ด ถึ ง สิ ่ ง ที ่ จ ะ เกิ ด ขึ ้ น เสมอ ไม ค ิ ด เพี ย งแค การ แก ป  ญ หา เฉพาะหนา 2. Balancing Feedback คือ A กับ B เมื่อ A กระทำตอ B ไปในทิศทางเดียวกัน แต B ตอบ กลับมาแบบทิศทางตรงกันขาม เชน A วา B แรงๆ แต B เปนคนมีสติ และเขาใจวา A มีพื้นฐานที่ไมได มีเจตนา แตอาจจะเปนเพราะการ


46

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

ดื่มเหลาจึงทำใหขาดสติ แลวพูดอะไรกับ B แรงๆ แต B ไมพูดแรงกลับ จึง ทำใหอารมณของ A นั้นเบาลง ดังนั้นความโกรธถูก Balance ไว หรือถูก ดึงเอาไวไมใหไปไหนไกล ขณะที่ Reinforcing feedback ที่จะไปแบบเรื่อยๆ ฉะนั้นลองสังเกตดูวาเสนไหนเปน same direction และเสนไหนที่ถวงเอาไปไว อยางไรก็ตาม Balancing feedback จะขึน้ อยูกั บบริบท เพราะเรือ่ งบางเรือ่ งนัน้ เปน สิ่งที่ดี อยางเชนการพัฒนาอยางยั่งยืน การรูจักนำของที่ใชแลวกลับมาใชซ้ำอีก ดูแลรักษาสิ่งแวดลอม ไมเนนความเติบโตทางเศรษฐกิจจนเกินไป แตใหดูเรื่อง ของการศึกษา สภาพแวดลอม และคุณภาพทางจิตใจไปดวย หากลองสังเกตดูจะพบวา ประเทศใดก็ตามทีเ่ นนการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจเพียงอยางเดียว ไมชาก็เร็วประเทศนั้นจะมีปญหาในดานอื่นๆ ตามมา เช น เดี ย วกั บ ประเทศไทยของเราที ่ เ น น ความเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ทายที่สุดก็เกิดภาวะฟองสบูแตก เนื่องจากโลภมากเกินไปทำใหเกิดผลเสียกับ ประชาชน พื้นที่หลายๆ แหงถูกทำลาย และเกิดปญหาครอบครัวขึ้นมากมาย ทำให ช ี ว ิ ต ของแต ล ะคนเปลี ่ ย นไป และอย า งเช น ขณะนี ้ ป ระเทศจี น ที ่ เ ร ง การเติบโตทางเศรษฐกิจ แตไมชาปญหาก็ตองเกิดขึ้นตามมา สิ่งที่กลาวมานี้คือ การ Reinforcing มากๆ วันหนึ่งจะมีผลกระทบกลับมา อยางเชนเมื่อบริโภค อะไรมากๆ ก็อาจจะทำใหเกิดโรคอวนได ทำใหเห็นวาปญหาสรรพสิ่งทั้งหลาย นั้น ถาขาดความสมดุลอาจจะทำใหเกิดผลเสียตามมาภายหลังได ดังนั้น Balancing feedback จะดีในเรื่องของธรรมชาติหรือเรื่องขององครวม ดังนั้น Balancing feedback ขึ ้ น อยู  ก ั บ บริ บ ทว า จะนำไปใช ใ นด า นใดหากนำไป ใชในเรื่องของการพัฒนา เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาที่มีคุณภาพ การพัฒนาที่ยั่งยืน แตหากเราตองการที่จะปฏิรูปการศึกษา การปฏิรูประบบ การบริหารราชการแผนดิน เราตองเรงทำเพราะวามีความเดือดรอนเกิดขึ้น อยู  ม าก เราต อ งพยายามสร า งพลั ง ด า นบวกโดยการ Reinforcing หรื อ Reinforcing บางอยางที่ไปเสริมในดานบวกไปทอนกับดานลบก็ทำได ดังนั้น เราตองสังเกตบริบทตลอดเวลา เพราะ Systems thinking นั้นคือการสังเกต เห็ น บริ บ ทตลอดเวลา และทุ ก อย า งนั ้ น ย อ มมี delay เสมอ ไม ว  า จะเป น


47

การคิดอยางเปนระบบ

ทาง Balancing หรื อ Reinforcing เพราะกว า จะประสบความสำเร็ จ นั ้ น ก็ตองใชเวลา ทายที่สุดแลวเมื่อเราจะศึกษาเรื่อง Systems thinking เราตอง ดูที่กายของเรา และสิ่งแวดลอมอาหารการกิน รางกายของเราเปนอยางไร รูสึกอะไรบาง ปฏิกิริยาเวลาที่เราพูดหรือฟงคนอื่นพูดแลวอารมณของเราเปน อยางไร แลวจะสังเกตเห็นวา feedback นี้อยูกับตัวเราตลอดเวลา ทั้งเสริม ไปในทางโมโห หรือใจเย็น ก็ตาม Systems thinking ทำงานตลอดเวลา หาก เรามีสติอยูกับมัน เพียงแตวาสิ่งเหลานี้ไมมีเสนที่เรามองเห็นได ดังนั้นการทำ Systems thinking คือการ plot กราฟใหเห็น อยางที่กลาวไวขางตนคือการทำ Systems thinking เปนเรื่องของการทำสิ่งที่เปน Relationship of forces เปนเรื่องการปฏิสัมพันธของสิ่งตางๆ พลังเหลานี้เปนไดทั้ง พลังกาย พลังใจ และพลังปญญา ทุกสิ่งลวนเกิดขึ้นไดทุกอยาง การปฏิสัมพันธของพลังตางๆ ที่เราทำนั้น ไมสามารถเห็นไดดวยตา แตจะดึงสิ่งนั้นขึ้นมาเปนเสน เพื่อไดทราบ ว า อะไร ทำ กั บ อะไร และ จะ สามารถ คลี ่ คลาย ปญ หา ได ง า ย ขึ ้ น คล า ยๆ กั บ การที่เรามีแผนที่ จะทำใหเราเดินทางไดสะดวกมากขึ้น อยางที่เราทราบดีวา Systems thinking คือการ mapping และเสนของความสัมพันธตางๆ จะทำให เรารูวาปญหานั้นอยูที่ไหน และมากจากไหน แลวเราจะหาหนทาง คลี่คลาย อยางไรสิ่งนี้คือหัวใจของ System thinking เปนเรื่องของการนำปฏิสัมพันธ ทั้งหลาย ซึ่งไมสามารถเห็นไดดวยตานั้น ปรากฏขึ้นมาบนแผนที่ เพื่อใหเรา มีสติแลวนึกไดหลังจากนั้นก็หาหนทางคลี่คลายปญหาเหลานั้น ตัวอยางของ Feedback เชน เมื่อเราจะดื่มกาแฟ ตองเดิน ไปกดน้ำรอน แลวตักกาแฟใสแกว ทุกอยางจะ feedback ไปในตัว อยาง เมื ่ อ เรามองเห็ น ระดั บ น้ ำ เมื ่ อ เรารู  ส ึ ก พอ เราก็ จ ะหยุ ด กดน้ ำ สิ ่ ง นี ้ ก ็ ค ื อ feedback เราจะไมเห็น แตการกระทำจะเกิด สวนนี้เราตองการทำใหเห็น วาอะไรสัมพันธกับอะไร อยางที่กลาวไววาหัวใจของการทำ Systems thinking คือการปฏิบัติ


48

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

โดยจะนำปญหาที่ใชในเรื่องของความคิด 4 ระดับ การเห็น event, pattern, structure และเห็นวิธีคิดของมนุษย ลองนำสิ่งนั้นมาเชื่อมโยง ดูวาอะไรกระทำกับอะไรแลวทำใหเกิดอะไรขึ้น ไมวาจะผลสำเร็จหรือปญหาจาก ที่ได หลังจากนั้นทำเปน mapping ในรูปแบบของการเชื่อมโยงของเหตุปจจัย ตางๆ เขาดวยกัน อะไรทำใหเกิดอะไรขึ้น อะไรที่เปนปญหา ซึ่งบางปจจัยอาจจะ reinforcing เสริมทางดานดีหรือราย หรือความ balancing พยายามถวงไว เชนเรื่องที่ลูกศิษยคิดไมเปน อาจารยก็จะพยายามชวย พยายามจะ balance หรือแกไข แตวธิ กี ารทีท่ ำแบบไหนนัน้ ตอง plot ออกมา อยางเชนเวลาทีเ่ ราตองการ เตือนลูกศิษยนั้นเราจะตองใชวิธีไหนอยางไร จะทำใหเห็นวิธีคิด หรือ structure l กิ จ กรรมที ่ 7 : ทำแบบฝกหัดโดยใชเสนลากเชื่อมโยงวา อะไร ทำใหเกิดอะไรขึ้น อะไรเปนเหตุและอะไรเปนผล และบางทีผลก็จะกลับกลาย เปนเหตุได หรือวาผลนี้ก็อาจจะไปสรางใหเกิดเหตุอยางอื่นก็ได ใชโจทยเดิมเปน ตัวตั้ง แตการเลาเรื่องนั้นตองละเอียดมากขึ้นทำใหเห็นเหตุปจจัยที่กระทำตอกัน มากขึ้นและ plot ขึ้นมา เนนวาสิ่งไหนที่เขาไปเสริมใช (S) แตสิ่งไหนที่เขาไปถวง หรือ break ไวใช (O) สิ่งที่สวนกันเขียนไวที่ปลายเสน ยกตัวอยาง บริษัทหนึ่งที่ตองการใช Systems thinking ในการ แกปญหา ชื่อวา Boeing ซึ่งมีพนักงานทั้งหมด 3,000 กวาคน มีเครื่องบิน 15,000 ลำทั่วโลก ทั้ง 24 time zone คน 3,000 กวาคน ตองเปลี่ยนกันทำงาน เกือบ 200 ประเทศที่จะตองเขาไปดูแลเอาใจใสและติดตาม แกปญหาใหลูกคา ทั้งหมด ซึ่งเปนเรื่องซับซอนมาก Boeing จึงใช Systems thinking ลากเปน เสนเชื่อมโยง การเห็นภาพใหญทั้งหมดจะวุนวาย แตเขาจะคอยๆ plot โดย จะมี เ ส น เชื ่ อ มโยงกั น แล ว ให เ ห็ น ชั ด เจนว า เส น ไหนเป น เส น ไหน อย า งเช น อาจารยแยกสีระหวางเสนของ balancing และ reinforcing หลังจากการ plot แลวจะทำให Boeing เขาใจสภาวะทั้งหมดและรูวาตัวเองควรจะจัดการ อยางไรบางกับปญหา ดังนั้นการทำ Systems thinking ตองอาศัยความ ใจเย็น คอยๆ หาวาอะไรมาจากไหน อยางไร ทำไปเรื่อยๆ จนใหความยุงยาก ตางๆ ปรากฏขึ้นมา สิ่งนี้คือตัวอยาง


49

การคิดอยางเปนระบบ

ดังทีก่ ลาวไววา หัวใจของ Systems thinking นัน้ คือ ความเขาใจความ ซับซอนดวยใจสงบ แลวจึงจะแกปญหาไดดี (understanding complexity) ถาพวกเรา plot เสนไปเรื่อยๆ วา อะไรนำไปสูอะไร อะไรทำใหเกิด อะไร เพราะทุ ก อย า งล ว นมาจากเหตุ ทำไปเรื ่ อ ยๆ แล ว ทุ ก อย า งจะก อ ตั ว ขึ้นมาเอง คอยๆ เรียนรู การทำ Systems thinking ตองพยายามจับที่รายละเอียด พยายามอยาไปยึดติดกับนามธรรม เพราะบางสิ่งบางอยางอาจจะมีรูปธรรม มากกวานัน้ และดูวา มันสงผลกระทบอยางไรบาง พยายามไปใหพน จากนามธรรม ลงไปสูร ปู ธรรม (concrete) และ concrete นัน้ เมือ่ เชือ่ มโยงแลวจะทำใหเกิดอะไร ขึ้นมา การทำแบบฝกหัดนี้เปนการฝกเพื่อใหเกิดความเชี่ยวชาญ และเกิดความ เขาใจ หลังจากนั้นเราจะทำการ reflection วาเมื่อเราเริ่มทำแบบฝกหัดแลว ไดอะไรบาง

การ Reflection ผูเขารวม 1 : ตัวเราเขาใจวิธีมากขึ้น เชน เมื่อเรามีปญหานั้นเรา จะยอนกลับไปดูวาสาเหตุที่เกิดขึ้นนั้นคืออะไร แลวเราก็สามารถจะเชื่อมโยง ไดวาเสนไหนที่ควรจะเปน (S) หรือเสนไหนที่จะเปน (O) วิทยากร : สิ่งที่นาสนใจอีกเรื่องคือ บางกลุมทำเรื่องเด็กขายตัว เมื่อกอนปญหานี้ไมคอยจะรุนแรงมากนัก แตขณะนี้เปนปญหามากในประเทศ ญี่ปุน ซึ่งไมทราบวาประเทศอื่นจะเปนอยางไร ทราบมาวาที่สวีเดนเปน ดินแดนที่เกี่ยวกับเรื่อง Free Sex แตทำไมปญหาแบบนี้ในสวีเดนมีนอยมาก หรื อ ในเดนมาร ก ก็ ม ี น  อ ยมาก แม ว  า ประเทศเขามี ค วามเสรี ท างเพศมาก แตปญหาเกี่ยวกับเอดสหรือปญหาการขายตัวของโสเภณีมีอยูนอยมาก ทั้งๆ ที่เขาเปนประเทศที่มีเสรีทางเพศสูง และยังเปนประเทศแรกๆ ที่สอนเรื่องเพศ ศึกษาในมหาวิทยาลัย สิ่งนี้อธิบายอะไรเกี่ยวกับสังคมบาง แลวตอไปเรื่อง คานิยมทางเพศก็จะเปลี่ยนไป สิ่งสำคัญคือทำไมบางประเทศถึงยังคงรักษา ไวได ซึ่งประเทศ อื่นก็อาจจะ ทำไมได แลวสิ่งนี้บอกสภาวะอะไร บางของ มนุษย อยางไรก็ตามสิ่งที่เราเห็นนั้นก็อาจจะไมตรงกัน Systems thinking


50

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

นั้น เปนการทำแผนที่ ที่อธิบาย relationship of forces ซึ่งหมายถึงความ สั ม พั น ธ ห รื อ ปฏิ ส ั ม พั น ธ ข องพลั ง ต า งๆ ที ่ ม ากระทบ และปรากฏมาเป น แผนที่ใหเราเห็น ในเมื่อตัวแปรของ (S) มีอยูมากกวา (O) ดังนั้นเราควรจะ มาตั้งคำถามตอไป วาควรจะทำอยางไร แนนอนวาเรื่องบางเรื่องอาจจะอยูไกล จากตัวเรา ซึ่งเราไมสามารถมีอิทธิพลตอสิ่งๆ นั้นได เชน กระแสโลกาภิวัตน หรือกระแสเกาหลี เปนตน เหมือนกับสมัยโบราณมีหลายเรื่องของวัฒนธรรม ตะวันตกที่เขามา แตในสมัยนั้นเราจะมีการคัดเลือก และอีกทั้งความชาของ การคมนาคม เรื่องของทุนนิยม ทำใหเรามีเวลาที่จะไตรตรองวาจะรับหรือไมรับ อะไร ซึ่งสมัยนี้ไมมีเวลาที่จะไตรตรอง มีแตการรับเขามา นั่นอาจจะเกี่ยวของกับ ผลประโยชนบางอยางดวย อยางเชน คาราโอเกะเปนสิ่งที่เรารับเขามาจากญี่ปุน ซึง่ คนญีป่ นุ นัน้ เขาใชสถานทีน่ น้ั เพียงเพือ่ การรองคาราโอเกะ แตในไทยนีจ้ ะมีเรือ่ ง ของการบริการทางเพศเปนสวนใหญ หรือเรื่องอินเทอรเน็ตเขามาตอนนี้มีผลเสีย เกิดขึ้นมาก ดังนั้นแสดงวาสภาวะขางในของเรานั้นพรอมที่จะแปลงอะไรก็ได ใหเปนสิ่งที่ไมดี เพราะฉะนั้นหากเรามองอยางลึกๆ แลว เราจะเห็นวาเสนนั้นเปน เสนของวิธีคิดของมนุษยทั้งสิ้น Systems thinking ไมไดสอนใหเรายอมจำนน ตอชะตากรรม แตทำใหเราเห็นวามีเหตุปจจัยเงื่อนไขอะไรบาง ที่เปนคุณและ เปนโทษ Systems thinking จะไมใหคนยอมแพแกชีวิต แตเราควรจะมุงมั่น และแกไขปญหาอยางมีสติ เพื่อทำชีวิตของเราใหมีคา Systems thinking เปนสวนหนึ่งของการเห็นปญหา แตไมยอมแพกับปญหา ซึ่งปญหานั้นมาจาก มนุษยทั้งสิ้น การศึกษาเรื่องของ Contemplative Education หรือ Contemplative Thinking สภาวะชวงที่เราเผชิญนั้นหากเรามองอีกดานหนึ่งคือ สภาวะของ การทาทายศักยภาพแหงตน การไมยอมแพ เราก็จะไมทำใหตัวเองเปนทุกข แลวเราก็ควรจะ balance ตัวเองใหเปน แตในขณะเดียวกันก็ไมตกอยูในหวง แหงทุกขดวย ในการตอสูเพื่อทำสิ่งดีๆ ใหปรากฏ สิ่งนี้คือ key massage ของ Systems thinking การที่เห็นปญหาแลวรูวาปญหานั้นเกิดขึ้นมาจาก มนุษย เพราะทายที่สุดเปนเรื่องที่เกี่ยวกับมนุษยทั้งสิ้น หากเรานั่งพิจารณาจะ


51

การคิดอยางเปนระบบ

เห็นใบหนาของมนุษย เราไมไดเห็นเพียงแคกระดาษอีกตอไป สิ่งนี้คือหัวใจ ของ Contemplation มองใหทะลุกระดาษใหเปนเพียงแผนที่ แตกระดาษนี้จะ ทำใหเราเห็นหนาของมนุษยและชีวิตของมนุษยที่มีปฏิสัมพันธกัน เรานั้นเปนสวนหนึ่งของระบบ สิ่งสำคัญคือเราหาวิถีทางคลี่คลาย ปญหาไดอยางไร ตอนนี้เราตองการเพียงใหทำปญหานั้นๆ ใหปรากฏออกมา หลังจากนั้นจะพยายามชวยกันหาทางแกไข หัวใจของ Systems thinking คือ การทำไปที่ Strategic point จุดยุทธศาสตร หรือจุดคานงัด เราตองใชพลังงาน ของเราอยางฉลาด ไมใชพลังงานของเราใหกระจัดกระจาย อยางทีก่ ลาวไวตอนตน วา Systems thinking คือเรื่องของ understanding complexity ซึ่งอีกขั้นตอนคือ การ Conceptualize คือการไมไลตามเหตุการณ อยางเชนเมื่อเราเห็นตนไม เราก็จะตองเห็นปาดวย เมื่อเราเห็นอะไรหลายๆอยาง จะสามารถทำใหเรา คลี่คลายปญหาได การคิดอยางเปนระบบ หรือ Systems thinking นั้นไมไดอยูที่ความยาก หรือความชาญฉลาด แตอยูที่การเอาชนะความเคยชินเดิมๆ ของเราใหได ขอแรกคือการรีบสรุปหรือหาทางออกเร็วเกินไป และไมทันไดมองที่มาที่ไปตางๆ กอน สิ่งที่สองคือการขาดความอดทนในการนั่ง Plot แตเมื่อใดก็ตามที่ไดมา ร ว มกั น นั ่ ง ทำกั น เป น Team ทุ ก อย า งจะออกมาได และต อ ไปหากคิ ด ว า Systems thinking มีประโยชน ทำวันละประมาณ 15 นาที จะสามารถทำให มีความเชี่ยวชาญได และเราก็สามารถนำวิธีคิดนี้ไปสอนได หากการคิดแบบ 4 ระดับนั้นยากไป ก็สามารถนำการคิดแบบเชื่อมโยงนี้ไปสอนไดและสิ่งนี้ก็ งายตอการคิดวิเคราะหดวย l กิ จ กรรมที ่ 8 : ให ผ ู  เ ข า รั บ การอบรมชมวี ด ิ ท ั ศ น ซึ ่ ง เป น เรื ่ อ ง การฝกเลนดนตรีของนักดนตรีชาวอินเดีย ราวีชังกา ซึ่งเปนนักดนตรีผูยิ่งใหญ เครื่องดนตรีจะคลายกับกีตารของอินเดีย ซึ่งดนตรีอินเดียนั้นไมใชดนตรี ธรรมดา แตเปนดนตรีที่เลนเพื่อขับขานพระเจา หนังภควัตคีตา คือบทเพลง แหงองคภควัน หนังเรื่องนี้บอกอะไรบางเกี่ยวกับเรื่อง Systems thinking


52

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

บทสรุปรวมกันของผูเขารับการอบรมหลังจากการชมวีดิทัศน - มีการประสานความคิดเห็นในการเลน - เปน deep learning cycle มีทักษะ - สรางจินตนาการ เชนในเรื่องนี้ ราวีชังกา บอกวาใหดีดเหมือน น้ำผึ้งหยดใส - มี Awareness ในการฟงผูอื่น - มีการ feedback ไปมา แตจะสะทอนอยางไรใหเปนการสะทอน ที่นำไปสูดานบวก สรางสรรค สมมติวาราวีชังกากลาวโทษแกนักดนตรีอยางเดียว นักดนตรีอาจจะ สงสัยวา แลวเขาควรจะทำอยางไรเพื่อใหถูกใจอาจารย แตหากราวีชังกาพูด วา “เลนใหเหมือนน้ำผึ้งหยด” สิ่งนี้แสดงใหเห็นวาการที่เราพูดนั้นเราใชภาษา อะไร การที่ใหคนที่ฟงนั้นรูสึกและคิดขึ้นมาได สิ่งนี้คือ skill หรือทักษะ ซึ่งเราเห็น ไดชัดจากการเลนดนตรี ขณะที่เราเลนนั้นเราไดฟงเพื่อนเลนหรือไม ทายที่สุด คือการ learning together เพราะจะตองไป perform concert เพือ่ ใหผฟู ง มีความสุข แลวทุกคนก็ควรจะทำใหกลมกลืนกันใหได สิ่งนี้เปน learning community เล็กๆ แตเราจะแปลงจากวงดนตรีมาเปนการสนทนาของมนุษยอยางไร การทีจ่ ะให มีเสียงดนตรีในจิตใจของคน เราจะ perform อยางไร และจะ feedback อยางไร สิง่ ทีเ่ ราคิดและเห็นวาเปนทัง้ หลายนัน้ มันมีอะไรบางทีเ่ ราจะนำมาแปลง ใหเปน Positive หรือ Reinforcing ดานบวกไดหรือไม แลวตัวปญหาเหลานั้น มันอยูที่ไหน สิ่งไหนคือสิ่งสำคัญ ลองหา Feedback ใหมเปน Feedback ดานบวกหรือ Reinforcing ดานบวก โดยลองหาแรงบันดาลใจจากการที่ดูการเลนดนตรีวา เขามีวิธีพูดกัน อยางไร แลวเราตองทำอยางไรเพือ่ ใหเกิดความหวัง และกำลังใจ เมือ่ เปลีย่ นแปลง ก็จะกระทบกันไปเรื่อยๆ อยางที่กลาวไววา Systems thinking เปนเรื่องของ connection และ feedback จากสิ่งที่อยูใกลและขยายวงออกไป แลวเรา ควรจะทำอยางไรใหเกิดการ feedback ดานบวก แลวใหเกิดการยกกำลัง ดวย เลือกจากบางจุดของปญหาเกาที่เคยทำกันมา


53

การคิดอยางเปนระบบ

เราจะตองมีการปรับ Mental model หรือ rethink กอน หลังจากนั้น จึงเริ่มวางยุทธศาสตรใหม สวนนี้ไดมาจากการประเมินขอมูล การไดรับขอมูล ที่ไดมา เช็คอีกครั้งหนึ่ง ปรับความคิดใหม กอนที่จะไปปรับยุทธศาสตร เพราะ ยุทธศาสตรจำนวนมากเกิดขึ้นโดยที่ไดปรับแนวคิด เพราะฉะนั้นหากคนที่ ทำยุทธศาสตร ไมไดปรับความคิดกอนก็อาจจะไมสำเร็จเทาที่ควร สิ่งนี้คือ หัวใจที่สำคัญอยางหนึ่ง การเรียนรูแบบนี้เรียกวา Double Loop Learning เหมือนกับการเลนหมากรุกซึ่งผูเลนจะตองคิดอยางมีชั้นเชิง และคิดหลายๆ ชั้น Double Loop Learning หรือเรียกอีกอยางวา Generative learning เปน ภาษาของปเตอรเซงเก เหมือนกับตอนที่เราเขียนเสนจาก present to future จาก reactive สู adaptive, creative และ generative การเรียนรูสองชั้นนั้นเราจะตองกลับมาที่ Mental model ซึ่งมี โลกทัศน บวกกระบวนทัศน และกระบวนทัศนคือชุดความคิด ความเชื่อ คุณคา ทาที อุปนิสัยและพฤติกรรม (Value, attitude, habits and behavior) ทั้งหมดนี้ รวมกันแลวถึงจะเปนกระบวนทัศน Double Loop Learning นั้นเปนเรื่องของ inside-out การปรับตัวเอง กอน คิดอยางไร เพราะอะไร เปลี่ยนตนเองกอน แลวออกมา acting ขางนอก ตัวอยางที่เห็นไดชัดคือ พระพุทธเจา ซึ่งพระพุทธเจานั้นไมไดแตกตางจาก เจาชายสิทธัตถะในแงของความเปนมนุษย แตสิ่งที่เปลี่ยนคือวิธีคิดดานใน ของทาน และ impact ของทาน แตตอนนี้ทานเปนประวัติศาสตรไปแลว แต พระพุทธเจาเปนประวัติศาสตร ทั้งปจจุบัน และอนาคต เชนเดียวกับ พระเยซู เพราะทานไมไดเปนอดีต แตทานเปนทั้งปจจุบัน และยังจะเปนอนาคต เพราะ สภาวะขางในที่มีผลไปกับสภาวะธรรมชาติ สภาวะแหงโลก ทายที่สุดแลว Deep learning เปนเรื่องของ inside-out มันถึง มีผลสะเทือนมากมาย เรื่องยิ่งซับซอนเทาไรเรายิ่งตองคิดใหลึกมากเทานั้น ดังนั้นเราจะสังเกตไดวาผูที่มีผลกับประวัติศาสตรนั้นจะมี inside ที่ลึก อยาง ทานมหาตมคานธี คนที่ไมมีอาวุธตัวเล็กๆ คนเดียวสามารถที่จะตอสูกับ ประเทศที่ยิ่งใหญที่สุดในขณะนั้นคือประเทศอังกฤษ ขณะนั้นยังไมสามารถ


54

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

จะเอาชนะทานมหาตมคานธีได เพราะวาสภาวะภายในของทานนั้นลึกเกินที่ ใครจะเขาใจได หรือคนอยาง Nelson Mandela ถาไมมีคนอยางเขา Africa ก็อาจจะไมสามารถคงอยูไดถึงวันนี้ เพราะจิตของเขานั้นยิ่งใหญ เขาถึงทำให คนผิวดำและผิวขาวอยูรวมกันได แสดงใหเห็นวาสภาวะของมนุษยคนๆ หนึ่งนั้น มี impact มหาศาล ดังนั้นสำหรับ System thinking เมื่อเราเห็นสภาวะการกระทำของ โลกภายนอกแลว เราก็เห็นโลกภายในคือตัวเรา ซึ่งอยูในระบบ เมื่อภายในของ เรายิ่งลึกเทาไร impact ของเราจะยิ่งเยอะมากเทานั้น l ทฤษฎีตัวยู (U-Theory) ยกตั ว อย า งหนั ง สื อ ที ่ เ ขี ย น Reactive โดย Otto Charmer วาดวยเรื่องของทฤษฎี Learning Thinking ตัว U ซึ่งพูดถึงเรื่องของ reactive learning Downloading Reenacting Mental ซึ่งไมตางจาก adaptive learning หรือ habits models เรียกวา downloading model คลายๆ กับ Doing การ download ขอมูลตางๆ เปนความคิด เปนความเชื่อตางๆ download ลงมาแลวนำไปปฏิบัติทำซ้ำ ดังนั้นการเรียนรู นั้นเปนไปทั้งการบูรณาการความคิดและการปฏิบัติ ใน reactive learning นั้น การคิดจะถูกครอบงำโดย model เกา เพราะเรา download ลงมา เรื่องของ ความคิดเกาๆ แลวก็ถูกครอบงำโดยพฤติกรรมเดิมๆ จึงทำใหเปนวงจรวน ไปเรื่อยๆ เห็นชัดไดจากปญหาบานเมืองของบานเรา ซึ่งเกิดขึ้นแบบซ้ำซาก และหนักหนวงมากๆ เนื่องจากนักการเมืองมีแตความคิดเกาๆ และถูกครอบงำ จากความคิดเกาๆ และไมวาเราจะมีการเปลี่ยนนักการเมืองไปกี่คนก็ตามแต เมื ่ อ ใดที ่ เ รายั ง ใช model เดิ ม ในการบริ ห ารบ า นเมื อ ง ป ญ หาต า งๆ ก็ จ ะ เกิดขึ้นซ้ำแบบเดิม Otto กลาวไววาถาเราจะทำใหเกิด Deep learning ตองนำ Mental model ของมนุษยปรากฏมาใหเห็น เพราะฉะนั้นหากเราตองการใหเปลี่ยน ระบบ เปลี ่ ย นวิ ธ ี ค ิ ด ตั ว เรา หรื อ เปลี ่ ย นการกระทำตั ว เราแล ว ทำให เ กิ ด


55

การคิดอยางเปนระบบ

action that increasingly serves the whole

Increasing awareness of the whole

ผลสะเทือนกระทบกับคนอื่น เหมือนอยางตอนที่ราวีชังกาเลนดนตรีก็เพื่อ พยายามจะบอกวาการปรับอะไรหลายๆอยางเพื่อใหเขากัน เพราะฉะนั้น Deep learning คือเราตองคิดใหลึกลงมามากกวา reacting เรียกวา U Theory ทายที่สุดเราตองทำความ Deeper learning คิด ทำเรื่องโลกทัศนแหงองครวม thinking doing ตระหนั ก กั บ มั น จริ ง ๆ ว า โลก ทั้งหมดมีการเชื่อมโยงซึ่งกันและ กัน และกระทบถึงกันและกันหมด Awareness ตั ว นี ้ จ ะต อ งติ ด ตั ว ไปตลอดเวลา อย า งทุ ก สิ ่ ง ที ่ เ รา พูด ทุกสิ่งที่เราประพฤติปฏิบัตินั้น กระทบกับคนอื่นตลอดเวลามี Feedback ตลอดเวลา ดังนั้นเราจะตองระวัง ทั้งคำพูดและการกระทำ เพราะตองคิดวาสิ่งนั้นอาจจะกระทบกับผูอื่นได เมื่อสิ่งนี้ลงลึกแลวก็จะมีการทำอะไรก็ตามก็รับใชสิ่งที่ใหญกวาเรา สิ่งที่มีคุณคา มีความหมายมากกวาตัวเรา อยางเชน เราก็ตองรับใชสิ่งที่ยิ่งใหญกวาเรา สรรพสิ่งที่เชื่อมโยงถึงกันหมด การรับใชสังคม รับใชโลก รับใชเพื่อนมนุษย สิ่งนี้คือ Deeper learning และสิ่งนี้เปนสิ่งที่ หลายๆ ทานเชน มหาตมคานธี หรือทาน Nelson Mandela ไดทำไวเปนตัวอยาง ฉะนัน้ การเรียนรูท ห่ี ยัง่ ลึกแบบ Deep learning จะสรางความตระหนัก ตอสภาวะที่ใหญกวา ทั้งสภาพที่เปนอยูในปจจุบัน และกำลังจะเกิด อัน จะนำไปสูการรับใช สภาวะใหมที่กำลังจะเกิดขึ้น (The emerging whole) เหมื อ นภาพยนตร ท ี ่ ฉ ายให ด ู ถ ึ ง เรื ่ อ งของความซั บ ซอ นเรื ่ อ งของ Dynamic complexity, social complexity และ emerging complexity เราจะตองรู วาขางหนานั้นกำลังจะเกิดอะไรขึ้น แลวเราทำเพื่อจะรับใชอะไร อยางเชน ความคิดของผมเรื่องใหญขางหนาก็คือ ความสามัคคี ปรองดองกันในชาติเปน เรื่องใหญ เพราะถาไมมีความสามัคคีหรือไมมีความเขาใจกันในชาติ เพราะ ความไมไวใจซึ่งกันและกัน ทั้งในมหาวิทยาลัยหรือชุมชนใดก็ตามก็ยังหา


56

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

ความเขาใจกันยาก และหากวาประเทศใดไมมีความเขาใจกัน แลวประเทศ นั้นจะอยูรวมกันอยางไร เรานั้นไมสามารถสราง Symphony ของชาติได สิ่งนี้ คือ emerging whole ของสังคมไทยซึ่งเปนเรื่องใหญ มัน need Awareness และ Sensibility อยางมาก ดั้งนั้นทุกคนจะเดินไปตามอยางที่ทุกคนอยากจะทำ ทุกคนจะไปตามทางของตัวเองหมด ซึ่งมันไมสามารถสราง Symphony ได Deep learning จึงมีความหมายความสำคัญที่วา ยิ่งเราลงลึกไปขาง ในมากเทาไร who am I, what I am going to do, what is meaning of life สิ่งทั้งหลายเหลานี้มันถึงจะมากระทบกับ Mental model และเมื่อ Mental model เปลี่ยนอยางอื่นก็จะเปลี่ยนตาม ทายที่สุดแลว Systems thinking คือเครื่องมือหนึ่งของการทำใหเรา ฉุกคิด หยุดคิด และหาทางออก และการหาทางออกนัน้ คือการมองเขามา ในตัวเองกอน สิ่งที่ย้ำมากๆ คือ mental model ซึ่งเปนตัวกระทำแลวเกิด interaction กับสิ่งตางๆ การปรับ mental model หรือการปรับความคิดของ เรานั้น แทนที่เราจะรีบกระทำอะไรตางๆ ทันที จะตองฟงความคิดเห็นของ คนอื่นกอน และสมมติฐานเดิมๆ นั้นใชไดหรือไม แลวขอมูลของเรานั้น มีเพียงพอหรือไม แลวคอยลงมือ action และทุกคนนั้นก็ตองเริ่มจากสมมติฐาน เสมอ และบางครั้งเราก็ตอง check ดูวาสมมุติฐานของเรานั้นมีขอมูลอะไรมา รองรับหรือไม หรือเปนความเชื่อที่เราเชื่อมาโดยไมไดพิสูจน และบางทีความเชื่อ นี้ก็อาจจะหมดความหมายไปแลวก็ได สิ่งที่ตองย้ำคือ เนื่องจากการอบรมนี้เปนหลักสูตรของ Contemplative education คือการย้ำการเรียนรูดวยใจ หรือบางครั้งเปนเรื่องของการพัฒนา เรื่องตาใน การมองใหทะลุ และสัมผัสบางสิ่งบางอยางที่ไมสามารถมองเห็น ดวยตา Systems thinking คือเครื่องมือหนึ่งของการที่นำบางสิ่งบางอยาง ที่ไมสามารถมองเห็นดวยตา ใหปรากฏขึ้นมา ใหเปน mapping แตเมื่อ เราเห็น mapping แลว เราไมควรไปติดอยูกับ map สิ่งที่เกิดขึ้นมาบน map นั้นลวนเกิดมาจากฝมือของมนุษย และเกิดจากภายในของมนุษยแลวก็ลงลึก


57

การคิดอยางเปนระบบ

เขาไปในขางใน แลวสนทนากันใหคนอื่นนั้นเปลี่ยนความคิด มองมุมใหม และ มองดวยสายตาใหม จึงจะเปลี่ยนแปลงได และการเปลี่ยนแปลงที่พูดถึงนั้น เรื่องของยุทธศาสตร เพราะทายที่สุดแลวยุทธศาสตรมันมาจากการคิด จากการ วางแผน แตทายที่สุดแลวแผนนั้นก็เปนเพียงแคกระดาษ ซึ่งมันไมมีความหมาย มนุษยผูกระทำนั้นที่มีความหมาย ถามนุษยคนนั้นไมไดเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ของตัวเอง ไมมี vision, aspiration หรือไมมีความเสียสละ ก็จะทำใหเกิดความ แตกตางระหวางผูที่ทำอยางตั้งใจกับผูที่ทำโดยไมมีความตั้งใจ แตตรงนี้ก็จะ มาจากไฟภายในของตัวเราเอง Systems thinking นำไปสูการ awakening บอกวาเรื่องราวตางๆ นั้น ซับซอนกันอยางไร แลวเรื่องราวเหลานี้เกิดขึ้นมา เพราะมนุษยไดกระทำตอกัน และกัน มี feedback ตอกันไปมา ดังนั้น ขึ้นอยูกับวาเรามีภาษาที่จะ feedback กลับไปตอกันอยางไรเพื่อทำใหอีกคนนั้นตื่นขึ้นมาเขาใจในสิ่งที่เกิดขึ้นดวย หรือตัวเราเองนั้นตองสังเกตตัวเองดวยวาขณะที่เราสนทนาอยูนั้นเราพูดและเรา คิดอะไรเราตอง aware อยูตลอดเวลา Systems thinking จะมีประโยชนตอ เมือ่ เราทำเปนทีม ครุน คิดคำนึง และเอาชนะตนเองไปเพื ่ อ ทำสิ ่ ง ที ่ เ ราปรารถนาให เ ป น จริ ง เพราะวา การกระทำที ่ จ ะมี พ ลั ง นั ้ น มั ก จะเป น การกระทำที ่ ไ ม ค  อ ยได ค ิ ด ถึ ง ตั ว เอง สักเทาไรซึ่งจะกลายเปน selfless-self เปนตัวตนที่ไมมีตัวตน คนที่ทำอะไร ไดใหญจริงๆ นั้นตัวตนของเขาจะเบาและบางมาก ซึ่งสวนนี้การทำงานนั้นจะ ขัดเกลาตัวของเราเอง ซึ่งเราจะสามารถไปหาอานไดจากหนังสือของทาน มหาตมคานธี เรื ่ อ ง เมื ่ อ ข า พเจ า แสวงหาความจริ ง เป น process ของ self actualization ความยิ่งใหญของทานคือ ความกลาเอาตัวเองไปทดลอง ความจริง 2.4.3 ทฤษฎีวาดวย “โคตรแบบ” (Archetype) ใน Systems thinking จะพบเหตุการณที่เรามักเจอซ้ำๆ เปนรูปแบบ ที่เกิดซ้ำอยูบอยๆ จนเปน pattern ที่แมจะไมเหมือนเสียทีเดียว แตรูปแบบจะ มีลักษณะคลายเดิม จึงเรียกรูปแบบนี้วา “โคตรแบบ” Archetype type แบบ


58

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

และ arches ดึกดำบรรพ รุนแรก รุนเกา คนแรก หรือสิ่งแรก ดังนั้นการที่ เราจะหาสิ่งนั้น เราตองพยายามจับ pattern ใหได หรือการดูจากกราฟ และ จากสถิติของมหาวิทยาลัย สำหรับในหลายๆ เรื่อง กราฟจะเปนตัวบอกเราไมวา กราฟจะมีอายุนานเทาไหรก็ยิ่งชวยเราไดมากเทานั้น เพราะกราฟจะบอกเรื่อง เลาที่มาที่ไป กราฟที ่ เ ห็ น นั ้ น บอกว า ความพยายามที ่ จ ะขายสิ น ค า ชิ้นนี้ใหได ยิ่งเวลานานเทาไหร ยิ่งมีความพยายามสูงขึ้นเรื่อยๆ เส น ที ่ ส องบอกว า พยายามที ่ จ ะ ตามบริ ก ารสิ น ค า หลั ง การขาย และมันก็เยอะขึ้นดวย แตปรากฏ วายอดขายนั้นตก สิ่งนี้คือ story ของบริษัทๆ หนึ่ง Systems thinking เริ่มตนที่ story เสมอ เรื่องราวจะบอกวา เรามีความพยายามมากที่จะขายสินคา ไมวาจะเปนการโปรโมชั่น ลด แลก แจก หรือแถมเขาทำในหลายๆ อยางแลว พรอมทั้งพยายามบริการหลังการขาย ดวย แตยอดขายก็ยังตกอยู สิ่งนี้คือปญหา เชนเดียวกับการที่อาจารยนั้น เขมงวดกับเรื่องการแตงกายของนักศึกษา แตวานักศึกษานั้นก็ยังคงแตงกาย ผิ ด ระเบี ย บอยู  เ สมอไม ว  า เราจะพยายามเท า ไรแต ก ็ ไ ม ม ี อ ะไรดี ข ึ ้ น สิ ่ ง นี ้ เรียกวา pattern of behavior เปนพฤติกรรมของระบบที่มันแสดงออกมา ไดระยะหนึ่ง ไมวาจะเปน 1 ป 2 ป หรือ 5 ป ก็ตามแลวแตวาเราจะนิยาม ขึ้นมา ดังนั้นเราจะตองคนหาวามันมีอะไรเกิดขึ้น จากตรงนี้เราก็ไป plot การกระทำของมนุษยที่กราฟดูจากบริษัทนี้ MD ตั้งยอดขายไว กำหนดวา ป น ี ้ จ ะต อ งขายสิ น ค า ให ไ ด 10 ล า นชิ ้ น ดั ง นั ้ น ผู  จ ั ด การฝ า ยขายก็ ต  อ งเร ง การขาย และพยายามโหมการขายอยางหนัก แตปรากฏวาเมื่อขายสินคา ไปแลว ฝายบริการนั้นตามไมทันเพราะเวลาที่วางเปาการขายนั้น ฝายบริการ นั ้ น มี จ ำนวนคนไม พ อ เครื ่ อ งมื อ หรื อ อุ ป กรณ ส ำหรั บ พนั ก งานขายก็ ไ ม พ อ


59

การคิดอยางเปนระบบ

ดังนั้นฝายบริการจะตามบริการลูกคาไมทัน After sale service ไมทัน (S) คือ สิ่งที่ฝายขายพยายามทำตามที่เจานายสั่ง แตผลคือ (O) มีการบริการลูกคา ไมทัน ทำใหลูกคาไมพอใจทำใหมีการพูดกันปากตอปากเรื่องการบริการสินคา ของบริษัท ซึ่งเปนแงลบและทำใหยอดขายตก จึงตองพยายามขายใหตาม เปาที่ตั้งไว สิ่งนี้เรียกวา “โคตรแบบ” ซึ่งเราเจอแบบนี้อยูบอยๆ มาก แต อยางไรก็ไมไดตามเปา ทั้งๆ ที่ทุกคนก็พยายามทุกอยาง หลังจากนั้นจะเกิด ปญหาที่ซ้ำซากขึ้น สิ่งนี้แสดงใหเห็นวาการที่เราพยายามจะทำสิ่งที่เปนโคตร แบบที่เกิดขึ้นบอย ซึ่งในหลายๆ ที่ทั่วโลกก็เกิดเรื่องแบบนี้การผิดแบบซ้ำซาก ที ่ ก ล า วข า งต น มาทั ้ ง หมดนี ้ เ ป น การพรรณนา ว า ป ญ หาเหล า นี ้ เ ป น วงจร ที่เกิดขึ้นมานานหลายปแลว ดังนั้น “โคตรแบบ” หรือ System Archetype นั้นมาจากการคิดของ มนุษยแลวกระทำตอกันและกัน หลังจากนั้นผลลัพธจะเกิดขึ้น ซึ่งเราสามารถ สังเกตดูไดจากเสนกราฟ l กิ จ กรรมที ่ 9 : ให ผ ู  เ ข า รั บ การอบรมจั บ คู  ค  น หา “โคตรแบบ” ในชีวิตของตนเองวา อะไรคือ สิ่งที่คิดวนไปวนมา ทำลายพลังงานโดยที่ไมจำเปน และ มา aware ใน “โคตรแบบ” ของเรานั้นเรื่องที่เราตกอยูในวังวนกับเรื่องเดิมๆ ซึ่งบางทีเราอาจจะหลุดมาจากสิ่งๆ นั้นได พยายามคนหาจากดานลบ เรื่อง ที่บั่นทอนกำลังของตัวเอง ตางคนตางคนหา “โคตรแบบ” ของตัวเองกอน แลวนำมาแลกเปลี่ยนกับเพื่อนแลวพยายามชวยกันแกไข เราจะชวย feedback ซึ่งกันและกัน เรื่องที่ทำนั้นอาจจะเกี่ยวของกับการที่เราจะตั้งเปาเพื่อทำบางสิ่ง บางอยาง แลวเราก็กำลังบีบตัวเองอยู หรืออาจจะเกี่ยวกับตัวเราเองก็ได และตอ งพยายามทำสิ่งที่เกิดประโยชนกับตัวเราเอง บางคนจะตั ้ ง คำถามว า บางครั ้ ง ที ่ Plot กราฟแล ว จะมี แ ต ต ั ว (S) หรือการตั้งเปาหมาย แตไมสามารถหาตัว (O) หรือ opposite ไดเจอ นั่นแสดง ว า ทุ ก อย า งเป น ไปตามแผน จึ ง ไม ต  อ งมี (O) เพราะสิ ่ ง ที ่ เ รา plot นั ้ น คื อ การ plot ความจริง เพราะบางครั้งการที่เราตั้งใจจะทำอะไรหลายๆ อยางกับ


60

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

คนรอบขางแตวามันก็ไมเปนอยางที่เราตั้งใจนั้น เราจึงตองคนหาวา มันเกิด อะไรขึ ้ น แต เ มื ่ อ เราทำขึ ้ น มาแล ว เป น ไปตามที ่ เ ราหวั ง เราก็ ต  อ งกลั บ มา ดูดวยวาทำไมถึงทำได ดังนั้นสิ่งที่สำคัญคือการ plot กราฟใหเจอ แลวไดอยาง ที่เราตองการหรือไม

อภิปรายแลกเปลี่ยนขอคิดเห็น ผูเขารวม 1 : คิดวาถาเราใช “โคตรแบบ” นี้ อยางไรก็ทำไมสำเร็จ จึงคิดวาเรานั้นตองยกระดับความคิดเพื่อการที่เราจะแกปญหา วิทยากร : สิ่งที่อาจารยพูดนั้นคือ การพยายามที่จะลดน้ำหนัก ซึ่ง ทำอยางไรก็ไมประสบผลสำเร็จ แตอาจจะมีเรื่องอื่นที่สำคัญกวาหรือไม เพราะ หากวาเรานั้นพอที่จะมีสุขภาพที่ดีก็นาจะเพียงพอแลว สำหรับความคิดของผม ผูเขารวม 2 : มีปญหาคลายๆ ทานอื่น คือสุขภาพรางกายไมคอย แข็งแรง เราจึงตั้งเปาหมายวาอยากจะมีสุขภาพที่ดี จึงพยายามที่จะดูแลตัวเอง ใหดีที่สุดซึ่งสวนนี้เรามี Awareness คือรู แตกระบวนการใหมๆ ที่เราพยายาม ที่จะ Rethink เชนการเลนโยคะ แตปรากฏวาตัวเราเองนั้นก็ไมมีความตั้งใจ ผลัดวันประกันพรุง และหาเหตุเพื่อจะสนับสนุนจิตใจตัวเองวาเราจะไมทำ เพราะอะไร และสิ่งที่ปรากฏใหเห็นคือ ทุกอยางนั้นก็เปนเหมือนเดิม จึงตั้ง คำถามวาความพยายามที่เราคิดวามันเพิ่มขึ้นนั้น มันใชหรือไม เพราะวาสิ่งที่ เราทำนั้นมันลดลง หรือวาตัวเราเองนั้นอาจจะยังไมไดใชความพยายามเลยก็ได วิทยากร : สิ่งที่สำคัญนั้นคิดวา เกี่ยวกับเรื่องของ Personal vision แตหากวาเราไมมี vision คือปรารถนาจะทำสิ่งใดๆ ก็ตามเราก็จะยังไมฝก ตัวเองเทาไร เชนเดียวกับผมในขณะนี้กำลังเรียน อาคีโด ซึ่งโดยปกติแลวจะ ไมมีคนที่อายุมากมาเรียนกันเทาไรนัก แตตัวผมนั้นอยากเรียนเพราะวาผม มี personal vision ที่อยากจะรู ตนเองนั้นมีความพยายามอันแรงกลาที่ จะเขาใจหนังสือของซุนหวู เพราะการจะเขาใจตำราพิชัยสงครามของซุนหวู ตองเขาใจ เตา และหากตองการจะเขาใจ เตา ก็ตอง practice เตา เพราะฉะนั้น อาคีโดเปนวรยุทธของการตอสูที่ใหผูอื่นทำรายเราแลวเราก็จะไมทำรายผูอื่น


61

การคิดอยางเปนระบบ

และยั ง เป น การเรี ย นรู  ท ี ่ ก ายกั บ จิ ต จะต อ งประสานกั น ตลอดเวลา คล า ยๆ กับการเรียนมวยจีน สวนตัวนั้นผมเคยเขาไปเรียนรูพลังของญี่ปุนที่เรียกวา พลัง ki ซึ่งมันจะอยูที่ทอง ของจีนจะเรียกวาพลัง ฉี และของอินเดียจะเรียกวา กุลยานี แสดงวาเรานั้นมีพลังอยูในตัวแลวเรานั้นจะทำอยางไรใหพลังนั้น ไปอยูในตัวของคนอื่น และเราสังเกตวานักคิดตางๆ นั้นจะมีพลังในตัวเอง มิไดหมายความถึง พลังของรางกาย แตเปนพลังบางอยางที่ดึงดูดคนอื่นและ มี อ ิ ท ธิ พ ลบางอย า งให ค นอื ่ น ได ร ั บ ผลกระทบจากความคิ ด และการกระทำ ของเรา ผมเองนั้นพยายามจะฝกโดยเริ่มเรียนจาก อาคีโด หลังจากนั้นก็ไดเรียน การเขียนพูกันญี่ปุนและจีน เพราะการเขียนนั้นจำเปนจะตองใชพลังมากจึง จะเขียนไดสวยและงดงาม ขณะนี้ผมก็ยังเรียนอยูซึ่งเรียนรวมกับเด็กดวย ดังนั้น จะตองปรับตัวใหมใหเขากับเด็กได รับฟงคำตำหนิของอาจารยได สิ่งนี้เพราะ วาผมมี Aspiration คืออยากที่จะเขาใจในสิ่งนี้ จึงตองพยายามนำตัวเองเขาไป ทดลองดู เพราะวาเมื่อเราอานแตหนังสือเองอาจจะไมเขาใจไดอยางลึกซึ้ง และ การเรี ย นของผมทุ ก ครั ้ ง ก็ ต  อ งใช ค วามพยายามอย า งมาก นั ่ น เป น เพราะ มี Aspiration คืออยากที่รูและพัฒนาตนเอง หากตัวเราเองนั้นไมพบ Aspiration เราก็จะปลอยใหสิ่งอื่นเอาชนะตัวเราเองดวย และ Aspiration นั้นไมมีใครตอบ ไดหากเราไมคนพบดวยตัวของเราเอง Aspiration และก็เปนเรื่องของความ ศรัทธาดวย ผูเขารวม 3 : การที่เราจะทำบางสิ่งบางอยางนั้นเราจะตองตั้งใจ ใหมากกวาที่เราเคยทำหรือไม และ Vision ของเรานั้นควรจะเปนอยางไร วิทยากร : มีสิ่งหนึ่งที่เรามักจะลืมคือ The wheel of power เปน ตัวสำคัญที่พยายามจะยกระดับของตัวเองใหได จะดวยสาเหตุใดๆ ก็ตาม The wheel of power เปนตัวสำคัญ อยางเชนเวลาที่เราตองเอาตัวเองเขาเสี่ยงเพื่อ จะเรียนรูและเขาใจเกี่ยวกับ self actualization ทานอาจารยคงจะจำได ในเรื่องของ สามเหลี่ยม Maslow และขั้นสูงสุดนั้นคือ self actualization และ สภาวะตรงนี้คือสภาวะของ Spiritual ดังนั้นการคนพบ who am I, why I am here มันเปนเรื่องที่สำคัญมาก


62

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

หัวใจของ Systems thinking นั้น ถึงแมวาเราจะ plot อะไรลงไป มากมาย แตสิ่งที่กระทำจริงๆ คือ mental model การที่ inside เดินเขา ไปในตัวของเราเอง และสิ่งนี้ก็ need aspiration อยางมาก เพราะตัวเรา นั้นเปนตัวเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ l กิจกรรมที่ 10 : ดูภาพยนตรเรื่องโหมโรง ...ศร เปนดาวเดนในเชิงระนาด หลังจากชนะประชันครั้งแลครั้งเลา เมื ่ อ ศรเดิ น ทางเข า มายั ง บางกอก เขาพ า ยแพ เ ป น ครั ้ ง แรกต อ ขุ น อิ น ผู  ม ี ฝ  ม ื อ การเล น ระนาดในระดั บ สู ง และมี ท างระนาดที ่ ด ุ ด ั น ศรกลายเป น คนที ่ ส ู ญ เสี ย ความภาคภูมิใจในตัวเอง จนวันหนึ่งศรไดไปนอนอยูที่ทุงโลงริมน้ำและสังเกต เห็นตนมะพราวที่มีใบพริ้วไหวไปตามแรงลม ทำใหคิดไดวาจุดเดนและวิธีการ ตีระนาดของตนเองนั้นเปนคนละทางกับของขุนอิน คือของตนเองจะมีลักษณะ พริ้วไหวเหมือนกับทางของตนมะพราว ดังนั้นเขาก็กลับมามุมานะฝกปรือฝมือ อีกครั้ง และคิดคนทางระนาดแบบใหมที่ไมซ้ำใคร…

วิทยากร : หลังจากการดูภาพยนตรแลวไดอะไรบาง ผู  เ ข า ร ว ม 1 : จากการที ่ ด ู แ ล ว มองเห็ น ว า การที ่ เ ราได พ ั ก อย า ง ผอนคลายในที่ที่สงบอาจจะทำใหเราพบกับบางสิ่งบางอยางที่ทำใหเราเปลี่ยน ความคิดเดิมได ขอคิดวาไมวาเราจะทำอะไรก็ตามนั้นไมจำเปนจะตองไป ทำตามผูอื่น เนื่องจากแตละคนยอมมีจริตและความสามารถที่ตางกัน ผูเขารวม 2 : สวนตัวแลวทำใหนึกถึงคำวา “Back to the nature” การที่ศร นั้นเห็นใบมะพราวปลิว เนื่องจากมีลมมากระทบ สิ่งนั้นคือสัจธรรม มันเปนธรรมชาติ เปนธรรมะ ถาหากเขาตีบทตรงนัน้ แตก นัน่ หมายความวาเขาจะ สามารถอานตัวเองออกแลวนำไปใชได เพราะเมื่อขณะที่เราเห็นใบมะพราวนั้น ทำใหเรารูวามันพลิ้วไหวอยางไร จึงทำใหกลับมาคิดถึงคำที่อาจารยพูดวา การที่เราจะทำอะไรนั้นตองมีสิ่งเชื่อมโยง เปนองครวม เปนธรรมชาติ ถาหาก เราทำอะไรแลวมี harmony ซึ่งการเลนดนตรีนั้นเปนธรรมชาติอยูแลว จาก ภาพยนตรเห็นวาเมื่อศรเห็นทางของตัวเองและเมื่อมีจิตที่สงบ นั่นจะแสดงให


63

การคิดอยางเปนระบบ

เขาเห็นวาสิ่งๆ นั้นจะเปนสิ่งที่เขาสามารถจะทำได และในขณะที่จิตของขุนอิน ในขณะนั้นซึ่งจิตของเขากำลังตก การที่มีความมุงมั่นเอาชนะ และหากเรา ไมรูทางของตัวเองนั้น งานที่ทำนั้นก็อาจจะไมประสบความสำเร็จ วิ ท ยากร : เมื ่ อ ผมดู ภ าพยนตร แ ล ว ทำให ผ มเห็ น ว า เมื ่ อ ใดก็ ต าม ที่จิตของมนุษยจดจอกับสิ่งใดอยางหนึ่งอยางเชนในภาพยนตรที่พระเอกรูสึก ลำพองกับความสามารถของตัวเองแลว เมื่อไปเจอคนที่เหนือกวาตัวเองทำให เกิดผลกระทบกับตัวเอง จิตจึงหมดสภาพเพราะรับสิ่งที่เกิดขึ้นไมไหว จึงทำให ครุนคิดมากมายและเมื่อไดยินเพื่อนพูดจึงทำใหเห็นทางของตัวเองขึ้นมา โดย ใชความพลิ้วไหวซึ่งเปนทางของตัวเอง และชวงขอหนังในชวงนั้นเปนชวงของ หลวงศิลปบรรเลง ที่คิดเปลี่ยนแปลงการเลนดนตรีใหมๆ แสดงใหเห็นวาสภาวะ ตางๆ ทำใหเกิดการพลิกแพลงสิ่งใหมอยูเสมอเปนการคิดแบบนอกกรอบ สภาวะของจิตเราทุกวันนี้เราคิดนอกกรอบไมได เมื่อสภาวะจิตของ เรานั้นใชเพียงแตสมอง อยางเดียว แตถาเรากลับมามอง มา Relax ตัวเอง ผอนคลาย และทำใจใหสบาย แลวบางสิ่งบางอยางจะเขามาอยูในสมองของ เราเอง ดังนั้นหนังเรื่องนี้จะเนนเรื่องของ inside บางอยางจะเขามาอยูในสมอง ของเราเอง หรือเรียกอีกอยางวาการคิดโดยไมคิด ทำใหใจวาง เมื่อใด Relax ความคิดที่เปน creative จะเขามาเสมอ ดังนั้นเราจึงตองฝกตัวเองบอยๆ เรื่องของการทำใจใหสงบ วางความตึงเครียดลง ดังนั้นการนั่งสมาธิจึงเปน ตัวชวยเรื่อง quiet mind แลว active mind ก็จะเกิดขึ้นหลังจากการที่เรา พักผอน เชนซามูไร ที่สงบจะสามารถทำการตอสูไดดี ดังนั้นผมอยากจะใหเชื่อมโยงเรื่องของ Contemplative education วาเกี่ยวของกับเรื่องของความสงบในการคิดอยางไร เราตองลากเสนใหเปน mapping แลวพยายามมองผานกระดาษใหเห็นความคิดของคนตางๆ เพราะ บางครั้งเราอาจจะคนพบสิ่งใหมๆ ไดเสมอ โดยเฉพาะจิตใจที่สงบและมีเมตตา จะทำใหเราคิดไดเสมอ เรื่องแบบนี้หากวาเราไดไปอาน ชีวประวัติ ของบุคคลสำคัญในโลก นักวิทยาศาสตร เราจะไปคนพบตอนที่เขามีสภาวะที่กำลังสบายนั้น ชวงนั้นจะ


64

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

เปนชวงที่มีความคิดดีๆ เขามา แลวเราจะรูวา System thinking เปนเพียง เครื่องมือหนึ่งเทานั้นที่ทำใหเรานั้นไดมองอะไรดวยสายตาใหมๆ กวาที่จะมอง อะไรเดิมๆ และหากเราพัฒนาบอยๆ ก็จะทำใหเราเชี่ยวชาญ วันที่สามของการอบรม l “โคตรแบบยิ่งแกยิ่งยุง” (fix that back fires) โคตรแบบมักจะมี Feedback 2 ประเภทมาเจอกันเสมอ เราจะเห็น ปญหาที่เกิดขึ้น สิง่ ทีจ่ ะทำคือ การคิดแกปญ  หา เมื ่ อ พบวิ ธ ี แ ก ป  ญ หา กลั บ เข า มาแก พยายามจะทำใหปญหาสมดุล เมื่อผาน ไปชั่วระยะหนึ่ง เกิดสิ่งที่คาดไมถึงเกิดขึ้น เกิดปญหาใหมเรื่องใหม เปนผลลัพธที่ ไม ป รารถนาให เ กิ ด (unintended consequences) วนกลับไปสูปญหาเดิม เราก็พยายามแกปญหาใหมอีก แกครั้ง ที่สอง อาจจะนำไปสูผลลัพธเดิม หรือ ผานไปสักระยะเกิดผลลัพธที่คาดไมถึง ได อ ี ก นี ่ ค ื อ รู ป แบบของความพยายามแก ป  ญ หา แต เ กิ ด reinforcing feedback ทำใหปญหาใหมๆ เกิดขึ้นมาไดอีก ตัวอยางเชน ปญหายาเสพติด ในสมัยจอมพลสฤษดิ์ที่ใชวิธีทำลายโรงยาฝน เผาทำลาย หลังจากนั้นเกิด เฮโรอีนมีการปราบเฮโรอีน แตกัญชาเกิดมากขึ้น และเกิดยาขยัน แพรจาก โรงเรียน ไปโรงงานและคนขับรถบรรทุก ตอมาเกิดยามาแลวเปลี่ยนเปน ยาบามีการปราบปรามอยางหนัก ปญหาคือยาบาขาดตลาด ราคาสูงขึ้น ทำให ยายไปสูแวดวงเยาวชน เมื่อขายไดดีมีการจูงใจขนานใหญ การขายยาบา ขยายแวดวงผู  ซ ื ้ อ มากขึ ้ น วงจรนี ้ เ ป น การชี ้ ใ ห เ ห็ น ว า ยิ ่ ง แก ย ิ ่ ง หนั ก หรื อ ตัวอยางอัลคาโปน


65

การคิดอยางเปนระบบ

ทั้งหมดไดแสดงใหเห็นถึงปญหาที่เมื่อใดที่เรายิ่งแกก็จะยิ่งยุง เนื่อง มาจากการไมรูจักวิเคราะหปญหาใหดีเสียกอน รีบ React กับปญหานั้นทันที Unintended consequences การไมเห็นความซับซอนของปญหา จึงทำให ปญหาบานปลายไปเรื่อยๆ จนกระทั่งจัดการไมได ทำแบบฝกหัดวิเคราะหปญหาที่ค อนขางเรื้อรังและยังไมสามารถ จัดการได ยิ่งทำการแกเทาไรปญหายิ่งบานปลายออกไปเทานั้น และเรื่องเกา ยั ง ไม ห มดก็ ม ี เ รื ่ อ งใหม แ ทรกเข า มาอี ก อาจจะเป น ป ญ หาที ่ ม หาวิ ท ยาลั ย หรื อ ครอบครั ว ก อ นอื ่ น ต อ งนิ ย ามป ญ หาก อ นว า ป ญ หานั ้ น คื อ ป ญ หาอะไร แลวทางออกของสิ่งนั้นคืออะไร หลังจากลงมือแกไข แลวมันมีอะไรเกิดขึ้นอีก เราสามารถเขียนซอนกันหลายๆ วงก็ได เมื่อมีปญหา แลวเกิดปญหาใหม หลังจากนั้นอาจจะกลับไปที่ปญหาเดิมก็ได

สรุปบทเรียนรวมกัน - หลังจากที่ไดทำแบบฝกหัดไปเรื่อยๆ ทำใหเห็นวาเวลาเรายิ่งแกนั้น เราก็ยิ่งไปเจอเขากับวงจรอุบาทว ยิ่งแกยิ่งเลวราย ซึ่งปญหาที่แกอยูนั้นคือ ปญหาหนี้สินครู สมัยกอนรัฐบาลมีโครงการ มอเตอรไซคคุรุสภา ครูก็ไดไปกูมา สุดทายแลวเมื่อกูก็กูมาขายแลวก็ผอนไปเรื่อยๆ แตกลับทำใหปญหาหนี้สินนั้นก็ ลนพนตัว - เปนปญหาเรือ่ งการแกปญ  หา การขาดครู เนือ่ งจากรัฐบาลมีมาตรการ การลดจำนวนครู โดยการใหครูเกษียณกอนกำหนด และไมไดยับยั้งจำนวน จึงทำใหเกิดปญหาการขาดครูเมื่อรวมกับจำนวนเดิมที่ขาดอยูแลว และการให ครูเกษียณกอนกำหนดโดยที่เสียเงิน 10 – 20 % นั้นทำใหคุณภาพการศึกษา ของเรานั้นต่ำลง วิธีการแกปญหาของสถานศึกษาก็คือการใชเงินจากคาบำรุง การศึกษาหรือคาอื่นๆ มาจางครูอัตราจาง แลวครูอัตราจางนั้นไมมีจิตวิญญาณ ก็จะยิ่งทำใหปญหาแยไปอีก ทั้งตอนนี้ที่รัฐบาลตองการที่จะแกปญหาการศึกษา โดยที ่ อ งค ก รและกระทรวงร ว มมื อ กั น ทำรายงานผลการศึ ก ษาย อ นหลั ง ว า มีสภาพอะไรบางในประเทศเรากับของตางประเทศเปรียบเทียบกัน เขาเสนอ


66

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

มาตรการหนึ่งคือขออัตราการเกษียณคืนรอยเปอรเซ็นตใหครู สองคือลงมาดูวา มันขาดจำนวนเทาไร และเมื่อเสนอไปถึงสามรัฐบาลแลวก็ยังแกปญหาไมได ก็ยังสงกลับมาใหเราทบทวนซ้ำเนื่องจากไมมีงบประมาณ นี่คือวงจรปญหา ที่แกไขไมได วิทยากร : จากประสบการณที่ผมเคยเขารวมกับการประชุมจากที่หนึ่ง คือ นายทหารชั้นสูงของสหรัฐอเมริกานั้นคิดวาไมมีทางการชนะการกอการราย โดยทางอาวุธได หากจะเอาชนะการกอการรายโดยทางอาวุธจะตองใช Civil society คือ มีความยุติธรรมใหกับสังคม และยังยอมรับความหลากหลายทาง วัฒนธรรม เชื้อชาติ และตองมีเศรษฐกิจใหมนุษยทุกคน เรื่องราวเหลานี้จึงจะ คลายตัวลงได ทหารเปนผูรูปญหาและแนวทางแกไข แตการเมืองนั้นคือปญหาที่ วา เขาอยากจะโชวผลงานใหประชาชนเห็น เพื่อจะไดคะแนนเสียง ซึ่งนายทหาร คิดวาปญหานั้นถาจะแกไขตองใชเวลา 20 ปขึ้นไป นักการเมืองจะมีแนวโนม ในการกระโดดไปสู Quick fix คือการแกอยางรวดเร็ว แตหลังจากนั้นคนอื่น ก็ตองรับกรรมตอ ดังนั้นกอนที่เราจะแกปญหาเราตอง มองใหเห็นภาพรวม ทั้งหมดกอน หรือกรณีการโฆษณาเรื่องการลดความอวนนั้นที่ตองเขาคอรส แลวหมดเงินมากมายนั่นไมใชการแกปญหาที่ถูกจุด เพราะความอวนเกิด มาจาก Behavior แตคนเราก็ชอบใชเพียงชั่วคราว l ยุทธศาสตรการรับมือกับปญหาแบบนี้ เมื่อมีของเสีย อยางเครื่องจักร เครื่องใชตางๆ เราก็ตอง แกไข ปญหาใหญของการคิดของมนุษยนั้น เนื่องจากเรามีกระบวนทัศนแบบกลไก เรามีกระบวนทัศนแบบเสนตรง ทำใหเรานั้นแกปญหาผิด เพราะเราเห็นปญหา สังคมเปนเสมือนปญหาของเครื่องจักร เมื่อใดที่เครื่องจักรเสีย หากเราถอด อะไหลออกแลวรูวาชิ้นสวนไหนเสีย เราก็เปลี่ยนชิ้นสวนนั้น แตสังคมเรานั้น ไมใชเครื่องจักร สังคมจะเคลื่อนตลอดเวลา ไมเคยหยุดนิ่ง ดังนั้นสิ่งที่เราทำ อยูนั้นเปนเรื่องของ Living system ไมใชเรื่องของ Mechanic system เพราะ ฉะนั้น Quick fix นั้นก็มาจาก Mental model หรือวิธีคิด ตั้งแตโลกทัศน


67

การคิดอยางเปนระบบ

1) มองโลกเปนชิ้นสวน 2) มองโลกเปนเครื่องจักร ทำใหเราคิดปญหาผิด คิดวาถาเราแกไขชิ้นนี้แลวเราจะจบ หารูไมวาปญหาที่แกนั้นสามารถบานปลาย ไปเปนปญหาอื่นๆ ไดอีก ซึ่งไมมีใครเขาใจวาสังคม และสิ่งมีชีวิต นั้นไมใช เครื ่ อ งจั ก ร เพราะ มั น จะ ปรั บ ตั ว และ โต ต อบ กั บ เรา อยู  ตลอด เวลา และ มั น ก็ ไมยอมจะใหเราแกไขไดงายๆ ระบบทุกระบบนั้นเมื่อเกิดขึ้นมาแลว ไมยอมตาย ไปงายๆ ดังนั้นยุทธศาสตรในการแกปญหาตอ Quick fix คือการที่จะมีผล ตีกลับ ดังนั้นเราตอง plot กราฟกอน วามีปญหาอะไรเกิดขึ้น ใชเวลามานาน กี่ปแลว แลวเราไดแกไขดวยมาตรการใดบางแลว ผลเปนอยางไร เมื่อเห็นกราฟ เราตองมาตั้งคำถามวาเกิดอะไรขึ้นกับสิ่งที่เกิดมาวา 1. เรานั้นอาจจะใชวิธีแกไขแบบเดิมๆ ไมได จะตองเห็นภาพรวม หรือรากเหงาของปญหา ซึ่งเราอาจจะใชวิธีอยางวันแรกที่เราใชคือ การลากเสน causal loop วาอะไรมาไดอยางไร พยายามใชหลายๆ เครื่องมือ อยาเกียจคราน ในการแกปญ  หา คิดมากๆ และใชเครือ่ งหลายๆ อยาง แลวจะทำใหเราเห็นภาพแหง ความเปนจริง สิง่ นีค้ อื ประการแรกการตระหนักถึงผลลัพธทไ่ี มไดคาดฝนวาจะเกิด หลังจากนั้นก็มาสนใจวาปญหาที่จริงนั้นเกิดมาจากที่ไหน 2. หากเราต อ งการที ่ จ ะแก ป  ญ หาบางอย า งเราต อ งแก โ ดยการลด ความถี่หรือจำนวนการแกไขลง เพราะเรารูวาหากเรายิ่งแกไขก็ยิ่งทำใหเกิด ปญหา เราจึงตองทำบางสิ่งบางอยางเพื่อสรางความมั่นใจไมใหคนวาเรา ไมทำอะไรหรือไมยอมแกปญหา เราจึงจำเปนตองลดความถี่ หรือจำนวน การแกไขลงเพื่อการลด side effect หรือทำอยางไรใหมี effect นอยที่สุด เชน หมอจะใหยาแกคนไขและหมอก็รูวาถายาตัวนี้เปนตัวที่แรง หมอก็จะใหคนไข ในปริมาณที่ไมมาก หรืออยางนอยอาจจะหยุดชั่วคราวไปกอน สิ่งนี้คือสิ่งที่ หมอระวังตอ side effect 3. ถามตัวเองดูวาถาเราลงมือที่จะแกเราระวังเรื่อง side effect แลว หรือยัง แลวมีรูปแบบอื่นในการแกปญหาหรือไม แลวเราใชรูปแบบอื่นๆ แลวหรือยัง สิ่งสำคัญคือหากเราไมทำการแกไขแลว ปญหาจะปรับตัวเอง


68

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

หรือคลี่คลายตัวเองไดหรือไม เพราะยังมีเรื่องหลายๆ เรื่องที่ไมม ีใครไป แกไข แตปญหานั้นสามารถคลายดวยตัวของมันเองก็เปนไปได ซึ่งในจีนมี management แบบแกโดยไมแก ทำโดยไมกระทำ ซึ่งคนที่จะสามารถทำแบบนี้ ไดผูนั้นจะตองนิ่งพอสมควร การเห็นภาพใหญแลวไมหวั่นไหวตอสถานการณ เฉพาะหนา เรื่องบางเรื่องที่เปนความขัดแยงระหวางเพื่อน หรือแฟน หรือสามี ภรรยา การพยายามไปชี้แจงในจังหวะที่ไมเหมาะสมนั้นก็จะยิ่งทำใหปญหา บานปลายได แตหากเราปลอยใหเวลาผานไปเพื่อใหแตละคนเกิดความใจเย็น ปญหานั้นก็อาจจะคลี่คลายไปไดเอง ทุกอยางขึ้นอยูกับบริบท สุดทายเราจะเห็นวาปญหาแบบนี้ ทัง้ ปญหาเรือ่ งครู หรือเรือ่ งยาเสพติด ก็ตาม เรื่องแบบนี้ถาจะแกใหถึงรากเหงาอยางแทจริงเราตองพูดถึงเรื่องของ Shared Vision เพราะการแกปญหาครูนั้นจะตองมีวิญญาณหรือมีไฟ ตอใหครู คนนี้ไมเคยมีวุฒิเลยก็ตาม แตหากมี fire to teach มีความรักมีความเมตตาตอ คนอืน่ แลว จะเปนครูไดเสมอ เพราะครูในสมัยโบราณก็ไมเคยเรียนการเปนครู แต วาเมื่อมีหัวใจ มีไฟ มีความรักความเมตตาตอผูอื่นแลว วิญญาณตรงนี้ถึงจะ เรียกวาใจที่บริสุทธิ์ มันเปนเรื่องของ Spiritual แตสิ่งที่เราสอนกันมากหลายๆ ปนั้นมันเปนเรื่องของเทคนิค เพราะทายที่สุดแลวเมื่อมีวิญญาณนั้นคุณก็จะ จัดการทุกอยางได ซึ่งเปนเรื่องของ vision เราจึงตองแกปญหาสวนนี้กอนที่จะ แกเรื่องงบประมาณ อาชีพทั้งหลายไมเฉพาะอาชีพครูหากขาดความรักหรือ ขาดวิญญาณตออาชีพนั้นทุกอยางก็จะลมเหลวหมด ดังนั้นทุกอยางอยูที่ Personal vision and shared vision ที่ตองสราง และตรงนีจ้ ะไมเกิดหากเราไม deep inside เขาไปในตัวของมนุษย สิง่ นีเ้ กิดมาจาก การที่คนเราเมื่อเรียนรู technique ใหมๆ ทำใหหลงลืมเรื่องของจิตวิญญาณไป เครื่องมือที่เราใชประโยชนในการทำ System thinking 1. เราตองสนใจเรื่องเครื่องมือ Loop การลากเสน Causal Loop ไล ตั้งแตวาสิ่งไหนมาไดอยางไร 2. Causal Loop ของเราจะมาในรู ป ของ feedback loop ไปมา เพราะทุกสิ่งทุกอยางนั้นลวนเกิดมาแตเหตุ Causal Loop เปนเรื่องอิทัปปจยตา


69

การคิดอยางเปนระบบ

ขามมาสูการปฏิบัติแลวทำมาเปนแผนที่ใหเห็น 3. System Archetype เรื่องของ โคตรแบบ มนุษยจะทำพลาดกับ สิ่งเดิมๆ สิ่งนี้จะทำใหเราเขาใจในหลายๆอยางไดมากขึ้น 4. การจับ Pattern of behavior of the system คือการจับกราฟหรือ สถิติใหได เพราะมันจะบอกวาอะไรเปนอะไร 5. System dynamic หรือระบบพลวัตซึ่ง System thinking สามารถ นำมาใชประโยชนได อธิบายไดโดยระบบทุกระบบนั้นเมื่อเกิดขึ้นมาแลว มันจะ มีเปาหมายในการดำรงตนของมันเอง เชน องคกรออมทรัพย เมื่อตั้งขึ้นมาแลว ก็ยอมมีเปาหมายในตัวของมันเอง หนวยงานใดตั้งขึ้นมาก็ยอมจะมีเปาหมาย ในการดำรงอยู อะไรก็ตามเมื่อมันเกิดขึ้นมาแลวก็ยอมอยากรักษาไว เหมือนกับ รางกายเรานั้นวาเมื่อเกิดขึ้นมาแลว เราก็ยอมอยากจะมีชีวิตอยู และรางกาย ของเรานั้นก็สูกับสิ่งตางๆ อยูตลอดเวลา เชนเม็ดเลือดแดงหรือเม็ดเลือดขาวนั้น ก็ทำการตอสูกับเชื้อโรคที่เขามาสูรางกายของเราแตระบบภูมิคุมกัน (Immune System) ของเราแข็งแรงพอ จึงเอาชนะได ฉะนั้นระบบทุกระบบ พยายาม survive ทั้งสิ้น ดังนั้นสิ่งที่ควรจำคือ ระบบทุกระบบเมื่อเกิดขึ้นมาแลวยอม มีเปาหมายทั้งสิ้น และถาทานตองการที่จะเปลี่ยนระบบ ทานก็ตองระวังวา ทานจะตองเจอกับการตอตาน แตคนที่ไดประโยชนจากความไมดีนั้นมีเยอะ ดังนั้นการพยายามทำความดีในตอนนี้เปนเรื่องที่ยากมากเพราะวาสั่งสมมา หลายๆ ป เหมือนกับความคุนชินเกาๆ 2.5 ทฤษฎี “โมเดลของระบบพลวัต” (system dynamic) วิ ธ ี ก าร Plot เรื ่ อ ง System dynamic โดยผมจะเปรียบรูปนี้เปน เหมือนกับอางอาบน้ำ มีทอน้ำไหลเขา กับทอน้ำไหลออก สมมติวาถาตองการ ที่จะอาบน้ำเมื่อเปดกอกน้ำ ใหน้ำไหล เขา โดยเปดทั้งกอกน้ำเย็นและน้ำรอน


70

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

พรอมกัน แลวเราก็เฝาดูระดับน้ำจะคอยๆ สูงขึ้นซึ่งระดับน้ำนั้นก็คือสภาวะ ของระบบ เราก็ตองตั้งเปาวาจะใหน้ำสูงขนาดไหนสิ่งนี้คือการควบคุมเรียกวา การควบคุม (Parameter) ทั้งหมดแสดงใหเห็นวาเรานั้นมีเปาหมายวางไว หากสมมติวามีโทรศัพทมือถือดังขึ้นมา เราก็ไดแตคุยโทรศัพท โดย ที่ไมหันมามองวาน้ำขึ้นมาเต็มจนเกือบจะลนแลว เราก็จะปดกอกน้ำกอน ที่จะลน ดังนั้นทำใหสภาวะของน้ำนั้นลนแลวหากเราลงไปอาบน้ำก็จะทำให น้ำลนออกมาได ดังนั้นเราควรจะทำอยางไร ในเมื่อน้ำนั้นสูงกวาเปาหมาย ที่กำหนดไวผมก็จะปลอยน้ำใหไหลออกเพื่อใหกลับเขาสูสภาวะที่ปรารถนา สิ่งนี้ก็คือการควบคุม (Parameter) ดังนั้นเปาหมายสูงสุดก็คือเราจะตองดู เพราะวาระบบทุกระบบนั้น มีเขามีออกตลอดเวลา เหมือนกับการที่รางกายของเราหายใจเขามา แลวก็ หายใจออกไป และการรับประทานอาหารหรือดื่มน้ำเขามา เราก็ตองถายมัน ออกไป นี่คือระบบที่ตองอยูในสภาวะสมดุล ซึ่งมันจะดูแลรักษาตัวของ มันเอง เพียงแตวาในหลายๆ เรื่องนั้นเราไมทันไดระวัง เชน การทานมาก ออกกำลังกายนอย น้ำหนักของเราก็จะเพิ่ม ดังนั้นเราจะตองนำไขมันออก โดยการทานใหนอย หรือดูแลเรื่องอาหารใหเขมงวด ออกกำลังกายมากขึ้น สิ่งนี้คือสภาวะของ System dynamic และเปาหมายของเราในขณะนี้ คือ เศรษฐกิจของเราตอนนี้ไมดีเทาที่ควร เราจะใชเงินเหมือนเดิมไมไดอีกแลว เงินเฟอก็สูงขึ้น น้ำมันก็แพง ดังนั้นสิ่งที่สำคัญคือเราควรจะตองมีการเก็บ และออมเงินไวสวนหนึ่งสำหรับครอบครัว ดังนั้นเราตองดูวาตอนนี้เงินเทาไหร แล ว เรา ต อ ง ตั ้ ง เป า ว า อี ก 5 ป ข า งหน า นั ้ น เรา จะ เก็ บ เงิ น ได มาก เท า ไร เมื ่ อ เปรียบเทียบกับอัตราเงินเฟอทุกวันนี้ แลวขณะนี้มีทางใดบางที่จะเพิ่มเติม รายไดของเรา เชน การหาอาชีพใหม หรือมีการสอนเพิ่มมากขึ้น เพื่อให เงินในบัญชีมีเพิ่มมากขึ้น หลังจากนั้นตองกลับมาดูวามีคาใชจายใดบาง ที่ไมจำเปน ถามีก็ตองตัดออกเพื่อใหสภาวะเงินออกของเรานั้นบรรลุตาม เปาหมายที่เราวางไว พูดงายๆ วาเรานั้นสราง buffer หรือสรางระบบฉุกเฉิน เพื่อความไมประมาท หรือเราสามารถจะมอง ไดอีกดานก็ได ในเรื่องของ


71

การคิดอยางเปนระบบ

การ ดูแลรักษา สภาวะ สิ่งแวดลอม เชน พื้นที่แถว สมุทรสาคร เปน พื้นที่ ที่ทำปาโกงกาง ซึ่งมีคุณภาพที่ดีมาก และยังเปนที่ชื่นชอบของบางประเทศ ทำให ขาย ได ร าคา ดี ม าก ชาวบ า น จึ ง พา กั น ตั ด ไม โกงกาง ขาย จน แทบจะ ไมมีเหลือ และตนโกงกางก็โตไมทัน หลังจากนั้น คนก็ตกงานเนื่องจากไมมี ตนไมใหขาย เพราะการควบคุม (Parameter) นั้นเสียไปแลว ระบบนั้นเสียไป แล ว ทำให คน คิ ด ได หลั ง จากนั ้ น มา เขา ก็ จะ ค อ ยๆ ตั ด เป น แปลงๆ ไม ตั ด ทีเดียวทั้งหมด แสดงใหเห็นวาเขาก็สามารถรักษาระบบได และยังมีอีกหลายๆ ประเทศที่มีการทำ furniture โดยการที่ใชสนนั้น เขาก็จะใชกระบวนการแบบนี้ ทดแทนและหมุนเวียนกันเพื่อใหดำรงอยูกันอยางยั่งยืน หากเราตองการที่จะใหคนไววางใจในตัวเรา (Trust) ซึ่งสภาวะของ Trust นั้นเราก็สามารถที่จะวัดได เหมือนกับระดับน้ำ แลวเราจะทำอยางไร ใหมี Trust ก็เหมือนการมีน้ำไหลเขา เราจะแสดงฝมอื ในการบริหาร นอกจากนั้น ยังจะตองมีความเมตตากรุณาอีกดวย อีกทั้งยังใหความเที่ยงธรรมกับผูอื่น ดูแล ผูอื่น เหมือนกับการไหลเขา คุณงามความดีของเรานั้น แสดงวาเรามี Trust เกิดขึ้นมากมาย แตถาเราไมระมัดระวัง หากถามวาการไหลออกของ Trust คืออะไร ซึ่งบางครั้งก็ตองใชอำนาจ และใชการแสดงออกบางอยางบาง ถา ไมทำเสียเลย มันเปนไปไมได อีกอยางเรานั้นตองรักษาชองวางใหดี ซึ่งทาน จะเห็นไดวา System dynamic นั้นใชไดกับทุกอยาง ทั้งเรื่องของความไววางใจ เรื่อง social capital, ecology, finance ฯลฯ เราก็สรางไดหมด เพียงแตวา เราตองรูจักและเขาใจสภาวะของระบบ และมีปจจัยใดบางที่เปนตัวควบคุมการ ไหลเขาและออก การไหลเขานั้นคือการเพิ่ม และก็จะมีการไหลออกหากไมระวัง ประเด็นของ System dynamic นั้นคือการรูจักใช Parameter ควบคุมปจจัยตัวแปรใหดี ดังนั้นเมื่อเราหยิบขึ้นมา พอดูแลวเราก็จะรูวา สิ่งนั้นคือระบบอะไร แลวปจจัยตัวแปรของเรามีกี่เรื่อง เหมือนกับวากอกน้ำนั้น มีกี่กอก อาจจะมีบางกอกที่รั่วหรือซึมออกมา เราจึงตองเปลี่ยนกอกใหม หรือ บางอยางมันไหลเขามากเกินไปก็ไมดี แลวน้ำมันลนเราก็ตองระวัง เพราะบางที ถาเกลียวหวาน แลวเปดน้ำไมได เราก็ตองคอยเช็คตลอดเวลา


72

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

หัวใจของ System dynamic นั้นคือการจะตองสนใจในสิ่งที่เรา เรียกวา Parameter คือปจจัยตัวแปรที่จะคอยควบคุมระบบ ใหเปนไปตาม เปาหมายที่ตั้งไว ชองวางคือการรับรูวาขณะนี้ระบบอยูในชวงไหน แลวมัน นอยหรือมากเกินไปหรือไม ชองวางก็คือ ยกตัวอยาง เชน ตอนที่เรามองไป ที่อางน้ำวาไมมีน้ำเลย หรือชองวางก็คือเปาหมายที่เราตองการกับสภาพ ที่เปนจริงในปจจุบัน ดังนั้นถาเราเห็นวาในอางน้ำไมมีน้ำ ขั้นแรกของเราคือ ไปปดกอกกอนแลวก็มาเปดใหน้ำเขา เมื่อน้ำเพียงพอแลวเราก็ปดกอก สิ่งนี้คือ ชองวางระหวางเปาหมายกับความเปนจริง โดยเราจะตอง control ตัวแปรดวย ตัวเอง l กิจกรรมที่ 11 : แบงกลุมแบบเดิม ทำแบบฝกหัดเกี่ยวกับเรื่องของ Dynamic System ตั้งโจทยโดยการใชตัวปญหาเปนตัวตั้งแลวใช Parameter ควบคุมปจจัยตัวแปรใหดี ปจจัยตัวแปรมีกี่เรื่อง เราควรจะทำอยางไร วิทยากร : หลังจากที่เราทำแบบฝกหัดเกี่ยวกับเรื่องของ Dynamic System แลวทานไดขอคิดอะไรบาง ซึ่งหัวใจของ Dynamic System ก็คือ การเห็นสภาวะของระบบในตอนนี้ และรับรูวาเปนอยางไร และเราตองสังเกต ทั้งดานบวกและดานลบ มีอาจารยทานหนึ่งถามวาจะตองทำอยางไรเพื่อใหคณาจารยนั้น มีความรวมมือกันในการทำงานกันมากขึ้น ผมจึงใหคำตอบวา ตอนแรกเรา ตองรูเปาหมายกอน เปาหมายนั้นคือ การใหอาจารยทำงานรวมกันดีขึ้น ดังนั้น เราตองเช็คสภาวะกอนวาสภาวะของความรวมมือจริงกับสภาวะที่ตองการ มีชองวางเปนอยางไร การที่เราตองการจะเช็คสภาวะความรวมมือ ณ ตอนนี้ วาดีหรือไมดีจะมีอะไรเปนตัวชี้วัด เชน การเขาประชุมนั้น มาสาย เลิกเร็ว หรือ ความใสใจในการประชุม สิ่งนี้จะมีดัชนีชี้วัดอยูวา มีความรวมมือหรือไม เรา ตองหาตัวชี้วัดใหเจอเสียกอน เพราะเราจะตัดสินโดยที่ไมมีขอมูล หรือหลักฐาน ในการยืนยันไมได เราหาเจอแลวแตเมื่อเทียบกับความตองการแลวยังขาด อยู เราก็ตองดูดานอื่นวาอะไรเปนดานลบ เชน การไมเขาประชุมตรงเวลาเปน เพราะอะไร หรือการสนทนาในหองประชุม ไมมการ ี ใหความใสใจ (Pay attention)


73

การคิดอยางเปนระบบ

นั่นเปนเพราะอะไร เราตองสังเกตจากดานลบกอน แลวทำอยางไรเพื่อปดดาน นี้กอน หลังจากนั้นเราก็ไปดูจากดานบวก หรือมีแรงจูงใจใดบางเพื่อจะใหคน มารวม เราก็ตองไปดูวามีตัวแปรอะไรบาง ซึ่งหัวใจของ Dynamic System คือ การ Control parameter เปนตัวควบคุมตัวแปร เรื่องนี้เปนเรื่องที่ซับซอน แตวา มันเปนเครื่องมือที่เราสามารถจะนำไปแกปญหาตางๆ ได สวนมากแลวระบบนี้ จะดีอยูที่วา เปาหมายที่ชัดเจน เรานั้นตองการที่จะบรรลุอะไร เพราะในหลายๆ รูปแบบของ Systems thinking นั้นคือการปลอยใหมัน evolving แตตรงนี้ คอนขางชัดเจนเพราะวาเราควบคุมไมใหระบบนัน้ เกิดปญหา เปนการ Collecting การปรับเพื่อปดดานลบและเพิ่มดานบวก หรือปองกันดานลบไมใหไหลออก แตดานบวกก็ตองควบคุมไว เชน บางคนที่มีรายไดเยอะมาก จะทำใหมากกวานี้ ไมไดแลว เพราะวาเวลาไมพอ แตเราก็มาดูเรื่องคาใชจายดวย สิ่งสำคัญของเรื่องนี้คือเมื่อเราเห็นดัชนีชี้วัดเราจะตองจับดัชนีชี้วัด ใหได เพราะมันจะทำใหเราไมคิดไปเอง ทำใหเรานั้นมีลักษณะเปนวิทยาศาสตร นอกจากนั้นการทำงานที่ดีเราควรจะรวมกันพูดคุยวาสภาวะเปนอยาง มีการ ชี้แจงในขอสงสัย และตองรวมกันระดมสมอง ชวยกันหาวิธีปดดานลบ และ วางกฎกติการวมกัน ใหทุกคนมีสวนรวมกับเรา l สะทอนความคิดประจำวัน (Check Out) เราไดเรียนรูอะไรที่มีความหมายและความสำคัญบาง และสามารถ นำไปใชอยางไรไดบาง เพราะถาเราไมไดคนพบความหมายความสำคัญตอ ตัวเรา สิ่งนั้นก็จะไมติดตัวเรา ใหทุกทานลองถามใจตัวเองและความรูสึกของ ตัวเองกอน - หลังจากการที่ไดเขารวมการอบรมทั้ง 3 วันนี้แลว ทำใหไดขอคิด หลายประการ สรุปไดคือ การแกปญหานั้น ทุกปญหานาจะมีทางออกในการ แกปญหา แตสวนใหญแลวจะคิดในสิ่งที่เปนขอเสนอในทางลบมากกวา แต เมื่อไดรับฟงจากการเขารวมสัมมนาแลวทำใหเขาใจวาการที่เราไดรับขอเสนอ หรือ feedback นั้นนาจะดูทางบวกดวย เพราะวาจะทำไดงายกวา ประการ ที่สองคือ ในการแกปญหานั้นเรานาจะนำคนที่ทำใหเกิดปญหานั้นเขามามีสวน


74

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

ในการแกปญหาดวย ไมใชแควา ตัดสินใจไปดวยตัวเอง โดยที่ยังๆ ไมรูปญหา ที่แทจริง เพราะบางครั้งเราไดแตเดาวานาจะเปนอยางนั้นอยางนี้ แตความจริง แลว เราจะตองนำปญหานั้นเขามามีสวนรวมดวย โดยไมคิดหรือแกปญหา เพียงคนเดียว เราจะตองใหคนอื่นมีสวนดวย นอกจากนั้นกอนที่จะแกปญหา เราจะตองคิดใหเปนองครวมกอนวาถาจะแกปญหาแลว ควรจะมีอะไรบาง อีก สวนคือการคนหาปญหานั้นเพื่อไปสูเปาหมาย อยางเชนวิธีที่อาจารยสอนคือ เรื่องของ System Dynamic สวนตัวคิดวาเปนวิธีที่งาย และทุกคนเองยัง สามารถนำไปปรับใชในชีวิตประจำวันไดอีกดวย เชนการตั้งเปาหมายวา หาก เราตองการที่จะมีบาน เราควรจะตองมีรายไดเทาไร เปนตน ประการสุดทาย คือ การมองปญหานั้น ไมควรดูเฉพาะจุดเพราะถาเราดูเพียงแคจุดเดียวนั้นเรา ก็จะแกปญ  หาไดเพียงชวงเดียวเทานัน้ แตถาเราดูปญหาเปนชวงยาวแลวจะทำให เราแกไขไดดีกวา - โดยสวนตัวแลวสิ่งที่ไดนั้นคือ ไดรูจักการคิดเปนระบบมากขึ้น นอกจากการจะคิดอยางเปนระบบแลวก็ยังทำใหเราไดคิดเชื่อมโยง ระบบ ในสวนตางๆ ที่อยูในโลกมนุษย ทุกอยางสามารถเชื่อมโยงถึงกันได และเมื่อ เรา คิ ด หรื อ มอง อะไร ก็ จะ ทำให เรา ไม มอง อะไร แบบ แคบๆ อี ก เรา จะ ต อ ง มีการเปดโลกทัศนใหกวาง ทุกอยางลวนแตมีเหตุและผลทั้งสิ้น อีกเรื่องคือ การไดเรียนรูเรื่อง Contemplative education หรือการเรียนรูดวยใจ การที่ ไตรตรองและมีความสม่ำเสมอดวยในแตละวัน เมื่อมีการมองอะไรก็ตามจะ ตอง นำมา คิดและ ไตร ตรอง วาเกิดจากอะไร และ เปน เพราะอะไร แลวเรา ก็จะไมตัดสินอะไรอยางเรงดวน วาใครผิดหรือถูก และสิ่งที่ประทับใจที่สุด คือ inside ที่อาจารยมีภาพยนตรประกอบใหดูทำใหจดจำไดดีมากยิ่งขึ้น และ ทุกครั้งการที่เราไดพบปะกับใครก็ตามทุกสิ่งนั้นลวนเปนสิ่งที่เราตองสัมผัส ไดดวยภายในของเรา แลวจะเกิด inside ขึ้นมา แลวเราจะมีการปฏิบัติตัว กับคนๆ นั้นอยางไร ซึ่งเราจะตองมีความเมตตาและความสงบในใจของเราเอง กอนและทุกอยางจะเปนไปดวยดี


75

การคิดอยางเปนระบบ

- การที่มาครั้งนี้ไดเกิดประโยชนสูงสุดอะไรกับตัวเองในฐานะและ บทบาทที่ทำงานอยู ซึ่งภาพใบไมไหวจากภาพยนตรเมื่อวานนี้ยังติดตา เรา อาจจะมีความคิดบางอยางเขามา หรือเราอาจจะคนหา โคตรแบบ ซึ่งเปน Pattern of behavior ของทุกๆ คนนั้นเปนอยางไร และเราอาจจะสังเคราะหอะไร ไดอยางชัดเจน วามันไหลเขา ไหลออก หรือวามันพรองตรงสวนไหนของระบบ แตลองตั้งคำถามวาเรากลาคิดนอกแบบหรือไม และนอกแบบนั้นเปนนอกแบบ ที่มันตรงหรือถูกตอง เพราะการที่เราจะคิดหรือดำเนินการนอกแบบนั้น มันจะ ตองใชความกลาหาญ และตองใชความพรอมในหลายๆ อยาง เมื่อไดคุยกัน ในกลุมวาองคกรนั้นมีปญหา อาจเปนเพราะความรวมมือที่นอย ซึ่งเราตอง ยอมรับวาการพรองของปญหานั้นก็เกิดจากเราดวย เพราะทุกคนนั้นเปนสวน ที่ทำใหเกิดปญหา และอนาคตจะเปนอยางไร ก็เกิดจากการกระทำในวันนี้ แต เมื่อเราไดมาตรการแลว เรานั้นกลาหาญพอหรือไม และหากวาสิ่งที่เราคิดนั้น มันถูก แลวเขาพรอมหรือไม เพราะทุกคนนั้นก็มีเหตุมีปจจัยของตัวเอง หลังจาก ที่จบหลักสูตรนี้ก็คิดวาเปนสิ่งที่มีประโยชนและควรจะศึกษาเปนการตอเนื่อง ไปเรื่อยๆ วิทยากร : หากถามวาทำไมยังมี Aspiration เพื่อจะเรียนตอทั้งๆ ที่รางกายก็ไมคอยเอื้ออำนวยมากเทาไรนัก นั่นเปนเพราะวาผมตองการจะ เขาใจ สภาวะ ของ เตา และ ตองการจะ เขาใจ ตำรา พิชัยสงคราม ของ ซุนหวู ที่พูดถึงเรื่องการทำสงครามโดยที่ไมมีสงคราม การเอาชนะความขัดแยงโดย ไมใชความรุนแรง ซึ่งเปนคำถามของยุคสมัย สิ่งนี้คือแรงบันดาลใจ ผมเคย มี โอกาส ได สนทนา กั บ ท า น อาจารย ปรี ด ี สิ ่ ง ที ่ ผม ได ร ั บ จาก ตั ว ท า น คื อ เรา เขาใจวาทานเปนคนที่รักแผนดินสยาม และราษฎรสยาม การที่เราไดพบคนๆ หนึ ่ ง ที ่ ทำ แต สิ ่ ง ดี ๆ ตลอดชี ว ิ ต ทำให ผม คิ ด ว า จะ ต อ ง มี การ สื บ ทอด เจตนา รมยของทาน แตนานมาแลวประเทศของเราก็ยังเหมือนเดิม แตมันก็ไมได ทำให ผม รู  ส ึ ก ท อ แท สิ ้ น หวั ง เพราะ เมื ่ อ เจอ ความ ยากลำบาก ทำให ผม ได เกิดการพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ และอนาคตของชาตินั้นก็อยูที่ความรูและปญญา ตรงนี้คือหัวใจ และหากวาเราทำดวยความรักแลว เราจะสามารถจุดประกาย


76

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

คนที่อยูขางๆ เราได เพราะตัวเรานั้นเปนผูเปลี่ยนแปลง และเมื่อวานนี้เราไดเห็น บทสวดมนตของทานนักบุญ Francis ชีวิตของทานนั้นทำเพื่อสันติภาพและ ความสุข เราทุกนั้นก็เดินตามรอยนี้ไดเชนกัน ไมตองหวั่นไหวใดๆ ทั้งสิ้น เพราะ วาสิ่งที่เราทำ ไมอาจจะมีสิ่งไหนที่สำเร็จอยางงายๆ แตเราก็ไดทำอยางดีที่สุด แลว ลองจินตนาการดูวาเมื่อป 1962 มีบุรุษทานหนึ่ง ดร.มาติน ลูเธอร คิง ซึ่งตอสูเพื่อสิทธิเสรีภาพของคนผิวดำ แลวทานก็ถูกลอบสังหาร แตสิ่งที่ทาน ทำไวก็ยังมีผลกระเทือนอยูทุกวันนี้ มีใคร เคยคิดบางวาเมื่อ 40 ปที่แลว คนอเมริกันผิวดำจะมีสิทธิเสรีภาพเชนนี้ แตปลายปนี้สหรัฐอเมริกาอาจจะ มีประธานาธิบดีเปนชาวผิวดำก็ได และอาจจะดีกับโลกไดโลกอาจจะไปถึง จุ ด เปลี ่ ย นที ่ สำคั ญ ได ทุ ก สรรพสิ ่ ง สามารถ เปลี ่ ย นแปลง แต ทุ ก คน จะ ต อ ง never give up สิ่งนี้คือบทสวดมนตขององค ดาไลลามะ “จงอยายอมแพ ไมวาอะไรเกิดขึ้นก็ตาม จงอยายอมแพขอใหเราดำรงอยู สันติภาพ ความหวัง ไวในหัวใจของเรา ไมวาสิ่งใดก็ตาม จงอยายอมแพ”


77

การคิดอยางเปนระบบ

º··Õè

3

º·ÊÃØ» : àÊÕ§ÊзŒÍ¹¨Ò¡¼ÙŒà¢ŒÒͺÃÁ

อาจารยชัยวัฒน : Systems thinking เปนภาษาอยางหนึ่ง ที่ใชเสน เมื่อใดที่เราไดใชบอยๆ สิ่งนั้นก็จะติดตัวเรา แลวเราควรจะทำอยางไรให Systems thinking นั้นติดตัวเรา การเปลี่ยนพฤติกรรม เนื่องมาจากการเปลี่ยน ความคิด และการแกปญหาเปนกลุม ตางจากการแกปญหารายบุคคลอยางไร ลองอานแลวทำความเขาใจ หลังจากนั้นก็จับกลุมคุยกับเพื่อนวาเราตีความวา อยางไร เพราะการอานนั้นบางครั้งแตละคนอาจจะตีความไมเหมือนกัน และ เมื่อเราฟงความคิดเห็นคนอื่นแลวอาจจะทำใหเราเห็นมุมมองที่เรามองไมเห็น ได และทานไดพบอะไรที่จะทำให Systems thinking นั้นติดตัวเราไป เพราะ บางสิ่งบางอยางถาเราไมไดทำอยางตอเนื่อง ก็อาจจะทำใหเราลืมสิ่งๆ นั้นได ทุกอยางเราจะตอง practice บอยๆ เพราะมันจะเกิดประโยชนกับตัวเรา ศึกษาเอกสารประกอบการอบรม โดยมีเนื้อหาดังนี้ l การทำทิศทางเชิงกระบวนระบบใหติดตัว (Embodying a Systemic Orientation) 1. Curiosity มีนิสัยอยากรูอยากเห็น อยากรูความจริง 2. Clarity ฝกฝนทำเรื่อง/ระบบที่ซับซอนใหเขาใจไดงายขึ้น 3. Compassion มีเมตตา เขาใจและเห็นอกเห็นใจคนอื่น 4. Choice เรามีทางเลือกไมจำเปนตองทำแบบเดิม มีทางออก 5. Courage ความกลาหาญ


78

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

การแกปญหาเปนกลุมตางจากการแกโดยปจเจกบุคคลอยางไร? 1. เปาหมาย: ไมไดคิดวาตนเองมีคำตอบที่ถูกตอง แตพัฒนาความ เขาใจใหดีที่สุดโดยใช “ความฉลาดรวมกัน” 2. เครื่องมือ: ทักษะการวิเคราะหเปนสิ่งที่ดีในชวงเริ่มตน แต เครื่องมือที่สำคัญยิ่งกวา คือการสืบคน (ตั้งคำถาม) และการสนทนาที่เกี่ยวของ กับสูวิสัยทัศน/จุดมุงหมายที่ตองการไปใหถึงโดยไมลืมสถานการณที่เปนจริง ในปจจุบัน (current reality) 3. ผลลัพธ: ทำใหเกิดความรวมมือและติดตามงานนั้นสำคัญกวา การตัดสินใจที่คิดวาสุดยอดแลว (optimized decision) 4. ความรวมมือและติดตาม: ตองมาจากการเรียนรู – มันมีความ เปนไปไดที่จำเปนตองแกไขปรับปรุง ซึ่งจะชวยใหเพิ่มขีดความสามารถและ ปลดล็อกที่ยึดติดอยู l การเปลี่ยนพฤติกรรมเนื่องจากการเปลี่ยนความคิด 1. แรงจูงใจ – คนมักมีแรงจูงใจที่จะเปลี่ยนเมื่อเขาเขาใจดีวาเขา มีสวนในการสรางปญหาที่เปนอยูวันนี้ 2. ความรวมมือ – คนมักจะเต็มใจใหความรวมมือ เมื่อเขาเห็นวา พฤติกรรมที่ไมอยากมีนั้นสวนหนึ่งก็มาจากการกระทำของตัวเขาดวย 3. โฟกัส – คนมักจะประสานงานกันไดดีขึ้นและทำใหการโฟกัส ไปยังเรื่องใดเรื่องหนึ่งยาวนานขึ้น เมื่อพวกเขาเห็น “พลังงัด” ไดชัดเจน 4. การเรียนรู – คนมักเปดรับการเรียนรู เมื่อเขาไดเขาใจวา ขอตกลง ที่ทางออกรวมกันนั้นจะตองปรับไปตามสภาพการเปลี่ยนแปลงภายนอก และ เมื่อมีขอมูลใหมๆ เขามา เราไดอะไรจากการคิดกระบวนระบบศึกษาจาก เอกสารประกอบ (hand outs) l

สรุปสาระสำคัญที่สะทอนจากผูเขาอบรม (Check Out) ผูเขารวม 1 : หลังจากที่ทำกิจกรรมแลวทำใหเรายิ่งตองฝก ทำใหเกิด ความอยากรูอยากเห็นสิ่งตางๆ และเรื่องของความเมตตานั้นก็นาจะเขากับ


79

การคิดอยางเปนระบบ

เรื่องของ Balancing feedback ที่ตองฝกทักษะในการพูดในเชิงบวกและ บางสิ่งบางอยางนั้นเรามีทางเลือกที่หลากหลายดังนั้น อยาไปทำ “โคตรแบบ” เดิมๆ และเมื่อใดที่เรามีทางเลือกแลวเราตองกลาและอาจหาญที่จะทำ อาจารยชัยวัฒน : คำวา Compassion คือความเมตตา แตบาง ทานอาจจะแปลวาความกรุณา ในการเรียนรูและเขาใจบางสิ่งบางอยางนั้น ถาจิตใจของเรามีความโกรธ มีโมหะจริต และคิดแคบ เราจะหาความจริงยาก เพราะเมื่อใดก็ตามที่เราเห็นปญหา เห็นความซับซอนและความทุกขของ คนอื่นแลวตองการจะแกปญหาเหลานั้นทั้งของตนเองและเพื่อน เราจะ ตองมีใจเมตตาเพื่อจะไดมองเห็นอะไรที่ดีกวาได สิ่งนี้เปนเรื่องสำคัญมาก ในการเรียนรู การเขาสูปรีชาญาณ เพราะเมื่อใดก็ตามที่เราเจอปญหาในหลายๆ เรื่อง เนื่องจากแตละคนในระบบนั้นจะเห็นอะไรตางกัน เราจะตองนำเขามา คุยดวย ไมเชนนั้นเราก็จะไปสรุปอะไรเอาเอง เพื่อแตละคนจะไดมีโอกาสชี้แจง อีกอยางหนึ่งคือเราตองมีความกลาที่จะทำบางสิ่งบางอยาง ลองทำในสิ่งที่เรา ไมเคยทำบาง เพราะการเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นเมื่อเรากลาจะทำสิ่งใหมๆ เสมอ กลาที่จะคิดตาง ปญหาตางๆ นั้นอาจจะมีเพียงปญหาเดียว แตอาจจะ มีหนทางแกไขมากมาย เราไมรูวาทางใดคือหนทางที่ดีที่สุด ดังนั้นจึงตอง ลองดูกอน หากไมสำเร็จลองเปลี่ยนเปนวิธีใหม ตองมองวา ความลมเหลวนั้นคือ ครูของเรา เรียนรูก บั ความลมเหลวนัน้ เพราะไมมอี ะไรที่ Perfect สิง่ นีค้ อื ลักษณะ ของ innovator โดยแท การกลาที่จะลองทำ เชนเครื่องบินสมัยกอนที่มีการผลิต เครื่องบินใหมๆ ขณะนั้นยังบินไดไมสูงมากนัก แตพอมาถึงปจจุบันก็ได มีการพัฒนาใหดีขึ้นเรื่อยๆ การเมตตานั้นจะมากอนสิ่งอื่นๆ เมื่อเรามีความเมตตาตอคนอื่นแลว เราก็จะมีความเมตตาตอตัวเอง ใหอภัยตัวเองได ยอมรับตัวเอง เพราะบางครั้ง ตัวผมเองก็ยังลองเช็คตลอดเวลาวา บางครั้งเราก็ทำบางสิ่งบางอยางไมถูก และเมื่อเราปลอยวาง open mind แลวทำใหเราไดพบเห็นสิ่งใหมๆ สิ่งนี้ก็เปน การเรียนรูใหมๆ และทำใหเห็นวา ยิ่งกายของเรา Relax และมีจิตที่สงบ มากเทาไหรจะยิ่งทำใหเรามีพลังมากขึ้นเทานั้น


80

สรุปองคความรูจากการอบรม “ภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิ  ทยาลัย” :

จะสังเกตไดวาเวลาที่เราทำงานเปนกลุมแลวงานจะออกมาดี เชน การฝกลากเสนเชื่อมโยง แลวมันทำใหเกิดอะไรบาง เริ่มจากงายไปสูยากกอน รางใหเห็นภาพแลวคอยตั้งคำถามวา อะไรมาไดอยางไร เมื่อใดจับเสน Pattern ไดเมื่อนั้นก็จะคนหา structure นั้นได การจับ Pattern นั้นคือการจับสถิติ มองยอนไปแลวสถิติจะเปนตัวบอกเราวาอะไรมาอยางไร ที่สำคัญคือเราตอง ไมคิดที่จะรีบรอนหาทางออก ตองใจเย็นๆ ฟงความเห็นใหรอบดาน แลวก็ plot สิ่งนั้นขึ้นมา แลวทานจะเห็นความจริงที่ซับซอน เมื่อเห็นแลวเราก็จะเขาใจ มากยิ่งขึ้น Focus คือการรวบรวมพลังสมาธิไปที่ใดที่หนึ่ง เพราะเมื่อใดก็ตาม ที่จิตของเราจดจอกับสิ่งใดอยางหนึ่งนั้นการคิดของเราจะดีเสมอ การมุงมั่น ตั้งใจไปที่ใดที่หนึ่ง พลังจะไปที่นั่นเสมอ พลังจะไหลไปในที่ที่เราใจจดใจจอ อยางเชนการสอนอาคีโดนั้น อาจารยจะย้ำเสมอวาจิตของเราตองมั่น แม บางครั้งรางกายจะไมไดแข็งแรงมากก็ตาม แตเมื่อใดที่เรามุงความสนใจ (pay attention) ไปที่ใดที่หนึ่ง พลังจะไปที่นั่นเสมอ การที่จิตของเราจดจอกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งคลายกับแสง Laser ที่ถูก Synchronize เขาหากันทำใหเกิดพลัง ดังนั้นเมื่อคนที่ฝกสมาธิบอยๆ ก็จะ สามารถ concentrate พลังของตัวเองออกมาได การที่เราจดจอกับที่ใดที่หนึ่ง เราก็จะคนพบวาเราจะตองเปลี่ยนแปลงตรงจุดไหน ดังนั้น quiet mind จิต ที่สงบนั้นมักจะสวางเสมอ ซึ่งคนสมัยโบราณจะมีการฝกแบบนี้บอยๆ ดังนั้น คนโบราณจะเปนผูที่มีญาณทัศนะ หากทานสนใจจะศึกษาเรื่องนี้สามารถไป หาหนังสื่อเรื่อง “Brink” ซึ่งจะพูดถึงสภาวะบางอยางที่จะเขามาสูตัวเรา แตถา อยากอานหนังสือเชิงวิชาการตองอานหนังสือเรื่อง “Flow” เปนสภาวะที่ไหลลื่น เขามาหาตัวเองขณะที่มีใจสงบ


81

การคิดอยางเปนระบบ

รายนามคณะผูจัดทำเอกสาร โครงการขับเคลื่อนเครือขายคุณธรรมในระบบการศึกษา ระดับอุดมศึกษา: การอบรมภาวะผูนำทางจิตตปญญาศึกษาสูมหาวิทยาลัย ที่ปรึกษา รศ.ธงทอง จันทรางศุ เลขาธิการสภาการศึกษา นางสาวสุทธาสินี วัชรบูล รองเลขาธิการสภาการศึกษา ดร.จิรพรรณ ปุณเกษม ผูอำนวยการสำนักมาตรฐานการศึกษา และพัฒนาการเรียนรู รักษาการที่ปรึกษาดานระบบการศึกษา สกศ. ผูรับผิดชอบโครงการ l กลุมพัฒนามาตรฐานการศึกษาของชาติ สกศ. นางสาวศศิธร เล็กสุขศรี หัวหนากลุม พัฒนามาตรฐานการศึกษาของชาติ ดร.ประวีณา ชะลุย นักวิชาการศึกษา ชำนาญการ นางพัชราพรรณ กฤษฎาจินดารุง นักวิชาการศึกษา ชำนาญการ l คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รศ.ดร.พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ คณบดี คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผศ.ดร.จุมพล พูลภัทรชีวิน ผูอำนวยการศูนยวิจัยและพัฒนาจิตตปญญาศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อ.ดร.อุไรวาส ปรีดีดิลก อ.ดร.อัญมณี บุญซื่อ คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ถอดเทปและสรุปสาระสำคัญ นางกัญชิตา ประพฤติธรรม และคณะ เรียบเรียงและประสานการจัดพิมพ นางพัชราพรรณ กฤษฎาจินดารุง บรรณาธิการ นางสาวศศิธร เล็กสุขศรี


เพื่อเปนการใชทรัพยากรของชาติใหคุมคา หากทานไมใชหนังสือเลมนี้แลว โปรดมอบใหผูอื่นนำไปใชประโยชนตอไป



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.