การพิมพ์ระบบดิจิทัล

Page 1

การพิมพ์

Printing Technology for Journalism


ระบบการพิมพ์ • ระบบพิมพ์ใช้แรงกด (Impact Printing System) • ระบบพิมพ์ไร้แรงกด (Non-impact Printing System)

Printing Technology for Journalism


Printing Technology for Journalism


การพิมพ์แบ่งออกเป็น 2 ระบบ 1. การพิมพ์ระบบใช้แรงกดหรือระบบสัมผัส (Impact Printing System / Conventional) 1.1 การพิมพ์ระบบแม่พิมพ์พื้นลึก (Intaglio printing) 1.2 การพิมพ์ระบบแม่พิมพ์นูน (Relief printing) 1.3 การพิมพ์ระบบแม่พิมพ์ฉลุลายผ้า (Serigraphic printing) 1.4 การพิมพ์ระบบแม่พิมพ์พื้นราบ (Plano graphic printing) 2. การพิมพ์ระบบไร้แรงกดหรือระบบไม่สัมผัส ( Non - Impact Printing System ) 2.1 ระบบการพิมพ์เครื่องพิมพ์พ่นหมึก (ink jet printing) 2.2 ระบบการพิมพ์เครื่องพิมพ์แบบใช้ความร้อน (Thermal printing) 2.3 ระบบการพิมพ์เครื่องอิเล็กทรอโฟโตกราฟี (electrophotographic printing)

Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ระบบไร้แรงกด การพิมพ์ระบบไร้แรงกดหรือการพิมพ์ไม่สัมผัส เป็นการพิมพ์ที่ ไม่ต้องอาศัยแม่พิมพ์ เครื่องพิมพ์ และการสัมผัสระหว่างแม่พิมพ์และ วัสดุใช้พิมพ์ และไม่ต้องอาศัยแรงกด หรือแรงอัดสัมผัสในการทาให้ เกิด ภาพ การพิมพ์ระบบไร้แรงกดที่ใช้กันทั่วไปมีหลายประเภท ในที่นี้จะ กล่าวเพียง 2 ประเภท ประเภทแรกคือ การพิมพ์ด้วยวิธีไฟฟ้าสถิต ได้แก่ การถ่ายเอกสาร และการพิมพ์เลเซอร์ ประเภทที่สองคือ การพิมพ์พ่นหมึก Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ระบบไร้แรงกด การพิมพ์แบบพ่นหมึก (ink jet printing) เป็นหลักการพิมพ์ท่ี รู้จักกันนานกว่า 100 ปี มาแล้ว หลักการทางาน คือ การพ่นหมึกหรือ ของเหลวออกจากหัวฉีด แตกกระจายออกเป็นหยดของเหลวเล็กๆ ลักษณะของภาพที่ได้จากการพิมพ์วิธีนี้จะเกิดจากการเรียงตัวของจุด หรือเม็ดของหมึก

Printing Technology for Journalism


ระบบการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องกลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อผลิตสิ่งพิมพ์จานวนมากได้รับ ความนิยมสูงสุด เทคนิคการเรียงพิมพ์ เทคนิคทางกล้อง การวางรูปแบบ ฟิล์ม การทาแม่พิมพ์ เครื่องจักรทางการพิมพ์ และการทาสาเร็จล้วนใช้ อุปกรณ์ประเภทเครื่องกลและอิเล็กทรอนิกส์

Printing Technology for Journalism


ระบบการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ การพิมพ์ระบบอิเล็กทรอนิกส์ หรือการจัดพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Publishing) เป็นการจัดพิมพ์ข้อมูลด้วยอิเล็กทรอนิกส์ โดยไม่ต้องใช้กระดาษ แต่ใช้การบันทึกข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์

Printing Technology for Journalism


ระบบการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์มี 3 ประเภท คือ 1. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) 2. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) และ 3. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)

Printing Technology for Journalism


ระบบการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ คือ เครื่องคอมพิวเตอร์บุคคล (Personal Computer or PC) ระบบ ประมวลภาพ (Image Processing System) ช่วยสร้าง และผลิตสาเนา ตัวอักษรและภาพ ระบบงานก่อนพิมพ์ดิจิทัล (Digital Pre-Press System) ช่วยประมวลข้อมูลภาพและ แยกสีเพื่อผลิตแม่พิมพ์

Printing Technology for Journalism


ระบบการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ การทางานของคอมพิวเตอร์เป็นระบบดิจิทัล (Digital) เป็นการทางานแบบดิจิทัลประมวลข้อมูลขนาดเล็กที่เรียกว่าบิต (Bit Map) โดยองค์ประกอบขนาดเล็กของภาพในแผนที่ บิตนี้ เรียกว่า จุดภาพ (Pixel) ประกอบด้วย จุดสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดเล็กการรวมกัน ของจุดภาพในแนวนอนและในแนวดิ่ง ตัดกันกลาย เป็นภาพที่ปรากฏบนหน้าจอ หรือในเครื่องพิมพ์คอมพิวเตอร์ Printing Technology for Journalism


ระบบการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์

ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เป็นเครื่อง คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและเป็นเครื่องที่ใช้ในการจัดพิมพ์ตั้งโต๊ะ (Desktop Publishing or DTP or Dtp) มีสถานีทางานเดี่ยว (Single Workstation) หรือต่อเป็นเครือข่าย

Printing Technology for Journalism


ระบบการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) ทางานได้เร็วกว่า แบบแรกมีหน่วยความจามากกว่า มีสถานีทางานหลายสถานี ใช้ในการเรียงพิมพ์ รวบรวมภาพและร่างภาพ

Printing Technology for Journalism


ระบบการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) เป็นเครื่อง คอมพิวเตอร์แบบใหญ่ที่สุด ทางานได้มากที่สุด ประกอบด้วยหน่วยประมวลผลกลาง สถานีทางานเชื่อมโยง กันได้

Printing Technology for Journalism


ระบบการพิมพ์ดิจิทัล อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบกับคอมพิวเตอร์ คือ เครื่องกราด (Scanner) เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ต่อเข้ากับระบบการ จัดพิมพ์ตั้งโต๊ะ ช่วยเปลี่ยนภาพถ่าย หรือภาพวาดเป็นข้อมูลดิจิทัล

Printing Technology for Journalism


ระบบการพิมพ์ดิจิทัล เครื่องพิมพ์ที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์มีหลายประเภท เช่น เครื่องพิมพ์แรงกด (Impact Printer) เครื่องพล็อตภาพ (Plotter) เครื่องพิมพ์พ่นหมึก เครื่องพิมพ์เลเซอร์และเครื่องสร้างภาพเลเซอร์ (Laser Image setter)

Printing Technology for Journalism


Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ตั้งโต๊ะ (DESKTOP PUBLISHING ) การพิมพ์ตั้งโต๊ะช่วยลดขั้นตอน ค่าใช้จ่าย และบุคลากร ที่เกี่ยวข้องกับการจัดพิมพ์ได้ตั้งแต่ ผู้ออกแบบ ผู้เรียงพิมพ์ และผู้ทาอาร์ตเวิร์ก

วัตถุประสงค์ของการพิมพ์ตั้งโต๊ะก็เพื่อผลิตงานบนโต๊ะ โดยใช้เนื้อที่น้อยเมื่อเปรียบเทียบกับการพิมพ์และการจัดพิมพ์ ดั้งเดิม Printing Technology for Journalism


เทคโนโลยีการพิมพ์สมัยใหม่มีความก้าวหน้าและ เปลี่ยนแปลงจากระบบดั้งเดิมไปอย่างมาก ในทุกขั้นตอนของ กระบวนการพิมพ์ ไม่ว่าจะเป็นขั้นตอนการเตรียมพิมพ์ ขั้นตอน การพิมพ์ และขั้นตอนการพิมพ์ได้มีการนาเทคโนโลยีดิจิทัล เข้ามาช่วยพัฒนากระบวนการพิมพ์มากขึ้น ทั้งนี้เพื่อให้ สอดคล้องกับการแข่งขันในโลกธุรกิจยุคปัจจุบัน

Printing Technology for Journalism


การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการพิมพ์ เมื่อมนุษย์เริ่มรู้จักดัดแปลงธรรมชาติให้มาเป็นตัวอักษรแล้ว มนุษย์ก็พยายามคิดหาหนทางที่จะผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ให้ได้คราวละมากๆ และรวดเร็ว จึงได้คิดแกะตัวอักษรขึ้น และพัฒนามาเป็นการหล่อ ตัวพิมพ์ลงบนโลหะผสมที่เป็นตะกั่ว พลวง และดีบุกในเวลาต่อมา เพื่อให้ได้สิ่งพิมพ์ที่มีคุณภาพนั่นเอง

Printing Technology for Journalism


การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการพิมพ์ การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการพิมพ์ที่สาคัญ 5 ประการ คือ 1. การเรียงพิมพ์ระบบตัวร้อนไปเป็นการเรียงพิมพ์ระบบตัว เย็น 2. การใช้เลนส์มาเป็นระบบความจาสมองกล 3. การใช้หลอดรับลาแสงไปสู่เลเซอร์ 4. การประกอบตัวหนังสือ+การจัดหน้ามาเป็นการประกอบ หน้าที่สมบูรณ์ 5. จากอุตสาหกรรมการพิมพ์ไปสู่อุตสาหกรรมสารสนเทศ

Printing Technology for Journalism


การเรียงพิมพ์ระบบตัวร้อนไปเป็น การเรียงพิมพ์ระบบตัวเย็น

Printing Technology for Journalism


การเรียงพิมพ์ระบบตัวร้อนไปเป็น การเรียงพิมพ์ระบบตัวเย็น ในการพิมพ์พื้นนูน (Relief Printing Process) หรือที่เรียกว่า "การ พิมพ์ระบบเลตเตอร์เพรส" นั้น จะใช้ตัวพิมพ์เป็นแม่พิมพ์ในการพิมพ์ ซึ่ง ตัวพิมพ์จะประกอบด้วยโลหะตะกั่ว พลวง และดีบุกหลอมเหลวในอุณหภูมิ ประมาณ 500-600 ฟาเรนไฮต์ จากนั้นจะถูกหล่อเป็นตัวๆด้วยแม่แบบใน เครื่องหล่อตัวพิมพ์ (Type-Casting) ซึ่งอาจหล่อเป็นตัวๆหรือเป็นไม้บรรทัด ติดต่อกันได้ ซึ่งต้องใช้ความร้อนในการหล่อโลหะ การสร้างตัวพิมพ์ในระบบนี้ ได้พัฒนามาจากตัวบล็อกไม้ในอดีตมาใช้เป็นอุตสาหกรรมการพิมพ์ที่ แพร่หลายหลายร้อยปี แม้แต่ในปัจจุบันยังมีให้เห็นอยู่บ้างแต่มีแนวโน้มที่จะ ลดลงเรื่อยๆในระบบการพิมพ์แบบนี้เรียกว่า "การพิมพ์ระบบตัวร้อน" (Hot Type) Printing Technology for Journalism


การเรียงพิมพ์ระบบตัวร้อนไปเป็น การเรียงพิมพ์ระบบตัวเย็น ในระบบการพิมพ์ตัวเย็น (Gold Type) เป็นการพัฒนาในระบบ การพิมพ์ในระบบพื้นนูนไปสู่ระบบการพิมพ์พื้นราบ (Planographic Process) หรือที่เรียกว่า "การพิมพ์ระบบออฟเซต" (Offset Printing) ทาให้การเรียงพิมพ์พัฒนาไปสู่การเรียงพิมพ์ด้วยแสง ตัวอักษรจะถูกถ่าย ลงบนกระดาษอัดรูปหรือแผ่นฟิล์มโดยตรงเพื่อนาไปทาแม่พิมพ์ต่อไป

Printing Technology for Journalism


การใช้เลนส์มาเป็นระบบความจาสมองกล

Printing Technology for Journalism


การใช้เลนส์มาเป็นระบบความจาสมองกล การจาลองภาพด้วยกล้องถ่ายภาพทางการพิมพ์ (Process Camera) เคยใช้เลนส์เป็นอุปกรณ์หลัก เพื่อการถ่ายภาพลายเส้น ภาพถ่ายขาวดาและแยกสีจากภาพสีต่างๆได้พัฒนามาสู่การใช้เครื่อง สแกนเนอร์ (Scanner) หรือระบบความจาสมองกล ทาให้ได้ผลงานที่มี คุณภาพสูง เพราะใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการอ่านค่าและกาหนดค่าของ ต้นฉบับ รวมทั้งใช้เวลาที่น้อยมาก

Printing Technology for Journalism


การใช้หลอดรับลาแสงไปสู่เลเซอร์ ปัจจุบันได้มีการนา "เลเซอร์ บีม" (Laser Beam) มาใช้ใน อุตสาหกรรมการพิมพ์ โดยเฉพาะในการเรียงพิมพ์ระบบตัวเย็น (Cold Type) และการถ่ายภาพด้วยเครื่องสแกนเนอร์ (Scanner) ทั้งแบบ ขาวดาและแยกสีเป็นการเปลี่ยนแปลงจาก "CRT" ที่ใช้เป็นช่องหรือ หลอดรับ-ลาแสงไปบันทึกให้เกิดจุด หรือลายเส้น บนบนฟิล์มมาเป็น แสงเลเซอร์มากขึ้น โดยสามารถสร้างจุดหรือเส้นได้ดาสนิทมีความคมชัด และรวดเร็วยิ่งขึ้น

Printing Technology for Journalism


การใช้หลอดรับลาแสงไปสู่เลเซอร์

Printing Technology for Journalism


การประกอบตัวหนังสือ+การจัดหน้ามาเป็น การประกอบหน้าที่สมบูรณ์ ขั้นตอนการเตรียมพิมพ์ (Pre-Press) เป็นขั้นตอนที่ซับซ้อนและ ใช้เวลาค่อนข้างมากในกระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ในขั้นตอนนี้ จาเป็นต้องรวมตัวอักษรกับภาพ โดยต้องเรียงพิมพ์ตัวอักษรเป็นแถวหรือ คอลัมน์ก่อน แล้วจึงนามาประกอบภาพเข้าไปรวมกันก่อนจึงจะนาไปสู่ ขั้นตอนการทาแม่พิมพ์ได้

Printing Technology for Journalism


การประกอบตัวหนังสือ+การจัดหน้ามาเป็น การประกอบหน้าที่สมบูรณ์

Printing Technology for Journalism


การประกอบตัวหนังสือ+การจัดหน้ามาเป็น การประกอบหน้าที่สมบูรณ์ ผลจากเทคโนโลยีข้อนี้ ทาให้การเตรียมการพิมพ์ในขั้นตอนการ จัดหน้า (Lay Out) หรือการจัดทาอาร์ตเวิร์คเป็นขั้นตอนที่เสร็จสมบูรณ์ พร้อมกัน โดยไม่จาเป็นต้องจัดวางหน้าบนกระดาษดัมมี่ แล้วจึงตัดแปะ ตัวเรียงพิมพ์ลงบนกระดาษอาร์ตเวิร์ค ทาให้ได้งานรวดเร็วขึ้นมาก และ ยังสามารถแก้ไขงานได้ตามที่ต้องการโดยไม่ต้องใช้เวลามากมายอีกต่อไป

Printing Technology for Journalism


จากอุตสาหกรรมการพิมพ์ไปสู่อุตสาหกรรมสารสนเทศ ปัจจุบันและอนาคต สังคมไทยกาลังอยู่ในยุคสารสนเทศ (Information Industry) ดังจะเห็นได้จากมีการใช้สื่อข้อมูลทาง อิเล็กทรอนิกส์มากขึ้นทุกขณะ ในหลายประเทศ รวมทั้งประเทศไทย ได้มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ (National Information Infructure : NII) โดยนาระบบเครือข่าย บริการร่วมดิจิทัล (Intergrated Serviec Digital Network : ISDN) คือ นาบริการสื่อสัญญาณทุกประเภททั้ง ตัวอักษร ภาพ และเสียง มารวมให้บริการในเครือข่ายเดียวกัน Printing Technology for Journalism


สรุปพัฒนาการพิมพ์สยู่ ุคดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทมากโดยเฉพาะในทางด้าน เทคโนโลยีการพิมพ์เป็นการพัฒนาของเทคโนโลยีที่ผสมกลมกลืนระหว่าง เทคโนโลยี ดังจะเห็นได้จากการพัฒนาเทคโนโลยีการพิมพ์มาสู่การพิมพ์ระบบ ตั้งโต๊ะมากขึ้นทุกขณะ เพื่อลดขั้นตอนในกระบวนการการเตรียมการพิมพ์ (Pre-Press) ให้น้อยลง ตั้งแต่การเรียงพิมพ์ การจัดอาร์ตเวิร์ค (Art Work) การถ่ายฟิล์ม การประกอบหน้า การวางหน้า และการทาแม่พิมพ์ได้ถูกจัด รวบรวมอยู่ในกระบวนการเพียงขั้นตอนเดียว หรือ 2 ขั้นตอน ก่อนไปสู่ระบบ การพิมพ์ (Press) (วิชัย พยัคฆโส, 2542 : 51)

Printing Technology for Journalism


สรุปพัฒนาการพิมพ์สู่ยุคดิจิทัล วิวัฒนาการของกระบวนการพิมพ์ท่ัวไป (Conventional Printing) ในอดีตที่ประกอบไปด้วยขั้นตอนตั้งแต่การเรียงพิมพ์ด้วย เครื่องคอมพิวเตอร์ (Computerized Composition) ที่รวบรวม ขั้นตอนต่างๆเหลือเพียง 2 ขั้นตอนคือ การเตรียมการจัดให้ออกมาเป็น ฟิล์มสาเร็จและขั้นตอนการทาแม่พิมพ์เท่านั้น และวิวัฒนาการนาไปสู่การพิมพ์ระบบคอมพิวเตอร์ (Computerized System) ที่จัดเรียงพิมพ์ แยกสีด้วยเครื่อง คอมพิวเตอร์ส่งสัญญาณไปสู่การพิมพ์เพียงขั้นตอนเดียว Printing Technology for Journalism


สรุปพัฒนาการพิมพ์สู่ยุคดิจิทัล ความต้องการสื่อสิ่งพิมพ์ของผู้บริโภคสื่อในยุคนี้ ทาให้วงการ การพิมพ์ได้พัฒนาเทคโนโลยีการพิมพ์ เพื่อเป้าหมายดังต่อไปนี้ 1. ลดขั้นตอนการผลิตให้สั้นลง 2. ใช้คนน้อยลงโดยใช้เครื่องจักรเข้ามาทดแทน 3. ใช้ระบบควบคุมคุณภาพมากขึ้น 4. ใช้ระบบอัตโนมัติมากขึ้น 5. นาไปสู่ระบบโรงงานอัตโนมัติมากขึ้น 6. ส่งข้อมูลไปพิมพ์ได้ทุกแห่งในโลก

Printing Technology for Journalism


สรุปพัฒนาการพิมพ์สู่ยุคดิจิทัล จากทิศทางการพัฒนาดังกล่าวจะส่งผลไปสู่การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ที่ สามารถ เพิ่มผลผลิตให้สูงขึ้น ผลิตได้เร็วขึ้นเพิ่มคุณภาพและมาตรฐาน ลดต้นทุนการผลิต ลดมลพิษ สร้างบรรยากาศและสภาวะแวดล้อมที่ดี และสามารถแข่งขันกับสื่ออื่นๆ ได้ ดังนั้น การพิมพ์ในยุคโลกาภิวัฒน์ จึงเป็นการพัฒนามาใช้พัฒนาอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้สัญญาณระบบดิจิทัล (Digital) และแสงเลเซอร์สร้างรูปรอยให้ ปรากฎ (วิชัย พยัคฆโส, 2542 : 51-52) Printing Technology for Journalism


สรุปพัฒนาการพิมพ์สู่ยุคดิจิทัล การพิมพ์ในยุคดิจิทัลไม่ได้เป็นเพียงการพิมพ์ซึ่งอาศัยเครื่องมือ กลเพียงอย่างเดียวอีกต่อไป แต่เป็นการพัฒนาสร้างภาพ ตัวอักษร สี และเสียง ให้ปรากฎทั้งบนจอภาพ และบนกระดาษที่เกิดจากเลเซอร์ พริ้นเตอร์ (Laser Printer) หรือเรียกว่า "ฮาร์ด ก็อปปี้" (Hard Copy) ดังนั้น แนวทางของเทคโนโลยีการพิมพ์ (Printing Technology) จึงถูก เปลี่ยนให้เป็นเทคโนโลยีทางภาพ (Imaging Technology) ที่หมายถึง การสร้างภาพให้ปรากฎด้วยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์เพิ่มมากขึ้นทุกขณะ

Printing Technology for Journalism


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.