computer to plate & to film

Page 1

ขัน้ ตอนของการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ แบ่ งได้ 3 ขัน้ ตอนดังนี ้

งานก่ อนพิมพ์ (prepress work) งานพิมพ์ (press work) งานหลังพิมพ์ (finishing after press work) กระบวนการผลิตสิ่งพิมพ์ Printing Technology for Journalism


กระบวนการผลิตสิ่งพิมพ์ ขัน้ ตอนงานก่ อนพิมพ์ กระบวนการพิมพ์ ออฟเซทประกอบด้ วย 1. การเรี ยงพิมพ์ (composition) 2. การพิสูจน์ อักษร (proof) 3. การทาอาร์ ตเวิร์ค (art work) 4. การถ่ ายฟิ ล์ ม 5. การจัดวางหน้ า (lay out) 6. การเตรี ยมแม่ พมิ พ์ Printing Technology for Journalism


Printing Technology for Journalism


กระบวนการผลิตสิ่งพิมพ์ งานก่ อนพิมพ์ ในปั จจุบันจัดแบ่ งได้ 2 ลักษณะ คือ 1. งานก่ อนพิมพ์ แบบเดิมหรือแบบอนาล็อก 2. งานก่ อนพิมพ์ แบบดิจทิ ลั

Printing Technology for Journalism


ความก้ าวหน้ าของเทคโนโลยีการพิมพ์  คอมพิวเตอร์ -ทู-ฟิ ล์ ม (Computer-to-Film หรือ CTF)  คอมพิวเตอร์ -ทู-เพลท (Computer-to-Plate หรือ CTP) คือการทาแม่ พมิ พ์ โดยตรง ไม่ ต้องผ่ านฟิ ล์ ม  คอมพิวเตอร์ -ทู-เพรส (Computer-to-Press หรือ CT-Press) เป็ นการพิมพ์ ท่ เี ครื่องพิมพ์ รั บข้ อมูลโดยตรงจากคอมพิวเตอร์  การพิมพ์ ผ่านดาวเทียม (Satellite Printing) คือการรับข้ อมูลผ่ านดาวเทียมมาทาแม่ พมิ พ์ ได้ ทนั ที  สิ่งพิมพ์ ในรู ปแบบของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่ น CD-Rom หรือ Photo-CD เป็ นต้ น Printing Technology for Journalism


ความก้ าวหน้ าของเทคโนโลยีการพิมพ์ การเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ ชัด คือ ความสามารถในการ ลดเวลาของขัน้ ตอนการทางาน ทัง้ นีเ้ ป็ นผลมาจากความก้ าวหน้ าของ เทคโนโลยีดจิ ทิ ัลและการสื่อสาร ทาให้ เกิดระบบใหม่ ๆ ในขัน้ ตอน การผลิต อาทิเช่ น - คอมพิวเตอร์ -ทู-ฟิ ล์ ม (Computer-to-Film หรื อ CTF) - คอมพิวเตอร์ -ทู-เพลท (Computer-to-Plate หรื อ CTP) คือ การทาแม่ พมิ พ์ โดยตรง ไม่ ต้องผ่ านฟิ ล์ ม Printing Technology for Journalism


ระบบ Computer to Film และ Computer to Plate ใช้ หลักการโฟโตอีเล็กทรอนิกส์ คือภาพที่เกิดขึน้ เป็ นผลมาจากการแปลงสัญญาณแสงเป็ นสัญญาณไฟฟ้าและ แปลงสัญญาณไฟฟ้ากลับเป็ นสัญญาณแสง

Printing Technology for Journalism


ระบบ Computer to film ระบบ Computer to film มี 6 ขัน้ ตอน คือ 1. การนาเข้ าข้ อมูล 2. การจัดวางหน้ า 3. เก็บข้ อมูลส่ วนกลาง 4. RIP 5. สร้ างภาพบนฟิ ล์ ม 6. ทาแม่ พมิ พ์ Printing Technology for Journalism


ระบบ Computer to plate ระบบ Computer to plate มี 5 ขัน้ ตอน คือ 1. การนาเข้ าข้ อมูล 2. การจัดวางหน้ า 3. เก็บข้ อมูลส่ วนกลาง 4. RIP 5. ทาแม่ พมิ พ์ Printing Technology for Journalism


ระบบ Computer to Film และ Computer to Plate การนาเข้ าข้ อมูล คือ การแปลงตัวอักษรหรือภาพให้ กลายเป็ น ข้ อมูลดิจติ อลสาหรับการทางานของคอมพิวเตอร์ การนาเข้ า ประกอบด้ วย - ข้ อมูลตัวพิมพ์ - ข้ อมูลรูปภาพ

Printing Technology for Journalism


ระบบ Computer to Film และ Computer to Plate อุปกรณ์ นาเข้ าข้ อมูลภาพ มี 2 ชนิด คือ 1. กล้ องถ่ ายภาพดิจติ อล (digital camera) 2. เครื่องกราด (scanner)

Printing Technology for Journalism


ระบบ Computer to Film และ Computer to Plate อุปกรณ์ นาเข้ าข้ อมูลภาพ 2. เครื่ องกราด (scanner) มี 2 ชนิด คือ 2.1 เครื่ องกราดทรงกระบอก (drum scanner) ประกอบด้ วย - หลอดกาเนิดแสงกราด - กระบอกรั บการกราด - เลนส์ รับแสงกราด - ช่ องรั บแสงกราด - ระบบปริซมึ และฟิ ลเตอร์ แยกสี - หลอดโฟโตมัลติพลายเออร์ , A/D converter Printing Technology for Journalism


Drum scanner

ที่มา : www.united-graphics.ca

Printing Technology for Journalism


อุปกรณ์ นาเข้ าข้ อมูลภาพ 2. เครื่ องกราด (scanner) มี 2 ชนิด คือ 2.2 เครื่ องกราดแท่ นราบ (flatbed scanner) ประกอบด้ วย - หลอดกาเนิดแสงกราด - ที่ใส่ ต้นฉบับ - กระจกเงาสะท้ อนภาพ - วงล้ อฟิ วเตอร์ แยกสี - เลนส์ รับแสงกราด - CCD ( charge - coupled devices) - A/D converter Printing Technology for Journalism


เครื่ องกราดแท่ นราบ (flatbed scanner)

ที่มา : http://www.itreviews.co.uk

http://www.scanningandmicrofilmsolutions.co.uk/ Printing Technology for Journalism


ขัน้ ตอนการจัดการข้ อมูล เป็ นขัน้ ตอนระหว่ างนาเข้ าและส่ งออก โดยนาข้ อมูล มาจัดวางและประกอบหน้ า รวมถึงการนามาปรับแต่ งแก้ ไข ภาพ ซึ่งแบ่ งเป็ น 4 ส่ วน คือ - ภาษาโพสต์ สคริปต์ - Imposition - ระบบจัดเก็บข้ อมูลส่ วนกลาง - การกาหนดคุณลักษณะสีและการจัดการสี ในระบบ DTP Printing Technology for Journalism


หลักการสร้ างภาพของเครื่องอิมเมจเซตเตอร์ และเพลทเซตเตอร์ ใช้ แสงจากแหล่ งกาเนิดแสงสร้ างภาพบนวัสดุไวแสงจะเป็ น บริเวณภาพและบริเวณที่ไม่ ได้ รับแสงจะเป็ นบริเวณไม่ ใช้ ภาพ แต่ ภาพที่เกิดเป็ นภาพแฝง (latent image) ต้ องนาไปสร้ างภาพและ คงภาพ เพื่อให้ เป็ นภาพที่มองเห็น หลักการทางานของเครื่อง อิมเมจเซตเตอร์ และเพลทเซตเตอร์ จะคล้ ายกันแต่ อิมเมจเซตเตอร์ ใช้ กับฟิ ล์ มหรือกระดาษไวแสง เพลทเซตเตอร์ ใช้ กับแม่ พมิ พ์ ไวแสง Printing Technology for Journalism


เครื่ องอิมเมจเซตเตอร์ เครื่องอิมเมจเซตเตอร์ แบ่ งเป็ น 2ประเภท คือ 1. เครื่องอิมเมจเซตเตอร์ แบบทรงกระบอก (drum imagesetter) 2. เครื่องพิมพ์ อิมเมจเซตเตอร์ แบบแท่ นราบ (flatbed imagesetter) Printing Technology for Journalism


เครื่ องอิมเมจเซตเตอร์ 1. เครื่ องอิมเมจเซตเตอร์ แบบทรงกระบอก (drum imagesetter) 1.1 ระบบหัวบันทึกอยู่ภายนอก(external drum recorder) ประกอบด้ วย แหล่ งกาเนิดแสงอยู่ภายนอก กระบอกสร้ างภาพ ขณะฉายแสงภายนอก กระบอกหมุนรอบตัวเอง แหล่ งกาเนิดแสงเคลื่อนจากซ้ ายไปขวา Printing Technology for Journalism


เครื่ องอิมเมจเซตเตอร์ 1. เครื่ องอิมเมจเซตเตอร์ แบบทรงกระบอก (drum imagesetter) 1.2 ระบบหัวบันทึกอยู่ภายในกระบอก (internal drum recorder) - แหล่ งกาเนิดแสงติดต่ อภายในกระบอกสร้ างภาพ - มีกระจกหมุนวางทามุม45 ทาหน้ าที่หักเหลาแสงให้ ไปสร้ างภาพ ตาม แนวเส้ นรอบวงและ เคลื่อนที่ไปตามแนวแกนกระบอก - ลาแสงเลเซอร์ ย่งิ เล็กภาพยิ่งละเอียดมาก - กระบอกมีส่วนเปิ ดแนวยาวของกระบอก มุมเปิ ดประมาณ 180 - เหมาะกับวัสดุไวแสงอ่ อนตัว เช่ น ฟิ ล์ ม, กระดาษไวแสง - มุมเปิ ดน้ อยทาให้ สร้ างภาพได้ มาก แต่ จะเกิดภาพหลอก (ghost image) Printing Technology for Journalism


เครื่ องอิมเมจเซตเตอร์ 2. เครื่ องพิมพ์ อมิ เมจเซตเตอร์ แบบแท่ นราบ (flatbed imagesetter) - ส่ วนติดตัง้ วัสดุไวแสงเป็ นแท่ นราบ - แรสเตอร์ อมิ เมจเซตเตอร์ อาจมีปัญหาในการประมวลผล ทาให้ จุดภาพสะดุดจึงมีการติดตัง้ อุปกรณ์ บัฟเฟอร์ (page) เพื่อช่ วยให้ เกิดความต่ อเนื่อง - ระบบนีอ้ าจทาให้ รูปร่ างของจุดภาพผิดเพีย้ นตรงบริเวณ ขอบของวัสดุไวแสง เช่ น จุดภาพตรง กลางเป็ นวงกลมปกติแต่ บริเวณ ขอบเป็ นวงรี จึงไม่ เหมาะกับงานที่ต้องการคุณภาพสูงเนื่องจากมี ปั ญหาใน การเหลื่อมได้ และการที่วัสดุไวแสงเคลื่อนที่ทาให้ ความ ต่ อเนื่องไม่ ดี แต่ วัสดุไวแสงที่ใช้ สามารถใช้ กับความยาวที่ไม่ จากัดได้ Printing Technology for Journalism


เครื่องพิมพ์ อิมเมจเซตเตอร์ แบบแท่ นราบ

ที่มา : http://www.viprofix.com/ Printing Technology for Journalism


Printing Technology for Journalism


เครื่องเพลทเซตเตอร์ แบ่ งเป็ น 3 ชนิด คือ 1. แบบอินเทอร์ นอลดรั ม 2. แบบเอ็กซ์ เทอร์ นอลดรั ม 3. แบบพืน้ ราบ Printing Technology for Journalism


เครื่องเพลทเซตเตอร์

1. แบบอินเทอร์ นอลดรั ม - ติดแผ่ นแม่ พมิ พ์ บนโมของกระบอกรั บกราด - ส่ วนกราดฉายแสง เป็ นกระจกสะท้ อนแสงหมุนรอบตัวเอง เคลื่อนที่ตามแนวแกนโดยกระจกจะ สะท้ อนเลเซอร์ ในแนวตัง้ ฉากใน ระนาบของแผ่ นแม่ พมิ พ์ - ระยะห่ างของกระจกหมุนกับแผ่ นแม่ พมิ พ์ คงที่ ทาให้ ขนาด จุดภาพเท่ ากันทุกบริเวณโดยไม่ ต้องใช้ เลนส์ - สามารถติดตัง้ อุปกรณ์ เจาะรู แม่ พมิ พ์ ภายในเครื่ องพิมพ์ ได้ - ประสิทธิภาพในการฉายแสงแต่ ละรอบสามารถสร้ างภาพ ได้ เพียง 50 %เพราะถ้ ามากกว่ านีอ้ าจ เกิดปั ญหาภาพหลอก(ghost image) นอกจากนีย้ ังขึน้ อยู่กับความเร็วในการหมุนของแกนและ ความเร็วในการส่ งผ่ านข้ อมูลจากริป

Printing Technology for Journalism


เครื่องเพลทเซตเตอร์ 2. แบบเอ็กซ์ เทอร์ นอลดรั ม - ติดแผ่ นแม่ พมิ พ์ ด้านนอกของกระบอกรั บกราด - มีหัวฉายแสงด้ วยลาแสงเลเซอร์ เคลื่อนที่ไปตามรางที่ขนาน กับแนวของกระบอกรั บกราด - ลาแสงตัง้ ฉากกับแกนกระบอกและฉายแสงลงบนแผ่ นแม่ พมิ พ์ - กระบอกหมุนรอบตัวเองโดยมีระยะห่ างระหว่ างหัวฉายแสง กับแผ่ นแม่ พมิ พ์ คงที่ - ใช้ แสงเลเซอร์ ฉายลงพร้ อมกันเพื่อ เพิ่มความเร็ว

Printing Technology for Journalism


เครื่องเพลทเซตเตอร์ 3. แบบพืน้ ราบ - แผ่ นแม่ พมิ พ์ ตดิ ตัง้ บนแผ่ นราบ - มีกระจกหมุนเพื่อสะท้ อนเลเซอร์ ให้ เป็ น เส้ นตรงเพื่อ สะท้ อนผิวหน้ าแผ่ นแม่ พมิ พ์ - แผ่ นราบจะเคลื่อนที่ต่อเนื่องในแนวตัง้ ฉากกับการกราด โดยลาแสงจะขยับไปตามแนวขวางของ แผ่ นแม่ พมิ พ์ - ระบบนีส้ ามารถฉายแสงได้ รวดเร็วและมีเทคนิคการป้อน และถอดแผ่ นแม่ พมิ พ์ ได้ รวดเร็ว - ข้ อจากัดของระบบนีค้ ือความกว้ างของแนวกราด - ระบบนีเ้ หมาะกับงานพิมพ์ หนังสือ 4 สี จานวนน้ อยและ ปานกลาง

Printing Technology for Journalism


ข้ อเปรียบเทียบระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ ทฟ ู ิ ล์ มและ คอมพิวเตอร์ ทเู พลท ข้ อเปรียบเทียบ ขัน้ ตอนการเตรียมพิมพ์ ขัน้ ตอนการทาฟิ ล์ ม - เครื่องมือที่ใช้ - ชนิดของฟิ ล์ ม

ระบบคอมพิวเตอร์ ทฟ ู ิ ล์ ม เหมือนกัน

ระบบคอมพิวเตอร์ ทเู พลท เหมือนกัน

ใช้ อิมเมจเซตเตอร์ ฟิล์ มที่ใช้ กับ อิมเมจเซตเตอร์

ไม่ ต้องทาฟิ ล์ ม

ขัน้ ตอนการทาเพลท - เครื่องมือที่ใช้ - ชนิดของเพลท

เครื่องอัดเพลท ใช้ conventional plate

ใช้ เพลทเซตเตอร์ ใช้ เพลทที่เหมาะสมกับชนิด ของเครื่องเพลทเซตเตอร์

คุณภาพของงงานพิมพ์

เกิดเม็ดสกรี นบวมสูง

เกิดเม็ดสกรีนบวมเล็กน้ อย

Printing Technology for Journalism


ข้ อดีและข้ อจากัดของระบบคอมพิวเตอร์ ทฟ ู ิ ล์ ม และคอมพิวเตอร์ ทเู พลท 1. ข้ อดี-ข้ อเสียของระบบคอมพิวเตอร์ ทูฟิล์ ม ก. ข้ อดีของระบบคอมพิวเตอร์ ทูฟิล์ ม คือ ทางานได้ ยืดหยุ่น กว่ า, สามารถแก้ ไขได้ ตลอดเวลา,ไม่ ต้องการบุลากรระดับสูง, ลงทุน ต่า, หาวัสดุง่าย ข. ข้ อเสียของระบบคอมพิวเตอร์ ทูฟิล์ ม คือ ทางานช้ า, ขัน้ ตอนการทางานมีมาก, สร้ างมลพิษ เช่ น นา้ ยาล้ างฟิ ล์ ม, ใช้ คนงาน มากกว่ า, ขัน้ ตอนการทางานซับซ้ อน, เกิดเม็ดสกรี นบวมมาก Printing Technology for Journalism


ข้ อดีและข้ อจากัดของระบบคอมพิวเตอร์ ทฟ ู ิ ล์ ม และคอมพิวเตอร์ ทเู พลท 2. ข้ อดี-ข้ อเสียของระบบคอมพิวเตอร์ ทูเพลท ก. ข้ อดีของระบบคอมพิวเตอร์ ทูเพลท คือ ประหยัดเวลา พืน้ ที่และ ค่ าวัสดุ เช่ น ฟิ ล์ ม, นา้ ยาได้ มาก,ใช้ คนน้ อย, มีความ คล่ องตัวในการทางานมากขึน้ , ลดความผิดพลาดในการทางานแต่ ละ ขัน้ ตอน, ควบคุมการฉายแสงเเม่ พมิ พ์ ได้ แม่ นยา, งานที่ได้ มีคุณภาพ มากกว่ า ข. ข้ อเสียของระบบคอมพิวเตอร์ ทูเพลท คือ ระบบมีราคา แพงต้ องลงทุนสูง, ลักษณะงานสลับซับซ้ อน ต้ องการการเรี ยนรู้ มาก, ต้ องการบุคลากรระดับสูง ซึ่งหาได้ ยาก Printing Technology for Journalism


ระบบ Computer to Film และ Computer to Plate การพิจารณาเลือกระบบคอมพิวเตอร์ ทูฟิล์ มและ คอมพิวเตอร์ ทูเพลท - คอมพิวเตอร์ ทูฟิล์ มเป็ นการใช้ software ควบคุม กระบวนการก่ อนพิมพ์ และสร้ างภาพบนฟิ ล์ ม ซึ่งช่ วยลดต้ นทุน การผลิต และความผิดพลาด รวมทัง้ ประหยัดเวลา - คอมพิวเตอร์ ทูเพลทที่สร้ างภาพบนเพลทซึ่งให้ งานที่มี คุณภาพลดความผิดพลาด และประหยัดเวลามากกว่ า คอมพิวเตอร์ ทูฟิล์ ม แต่ มีราคาแพงกว่ ามาก ซึ่งจะต้ องมั่นใจว่ าสามารถใช้ งานได้ เต็มประสิทธิภาพคุ้มค่ ากับการลงทุน และมีบุคลากรที่มีความสามารถ เพียงพอ Printing Technology for Journalism


ระบบ Computer to Film และ Computer to Plate สรุ ป

- เพื่อช่ วยลดขัน้ ตอน - เพิ่มคุณภาพ - ประหยัดเวลา - ประหยัดค่ าใช้ จ่าย Printing Technology for Journalism


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.