crative khunta

Page 1

การขับเคลือ่ นโครงการริเริ่มสร้ างสรรค์ เพือ่ ขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุมชน “ พช. ชุมพร รวมพลังสร้ างสรรค์ ความรู้ มุ่งสู่ ชุมชน”

บ้ านเขาหลัก หมู่ที่ 9 ตาบลวิสัยใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร

โดย นางขวัญตา นิ่มนวล นักวิชาการพัฒนาชุ มชนชานาญการ



ตารางวิเคราะห์ชุมชน ชื่อบ้านเขาหลัก หมู่ที่ 9 ตาบล.วิสัยใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร

ที่

ประเด็นยุทธ์ศาสตร์

1. การพัฒนาทุนชุมชน

ข้อมูลชุมชน 1 กองทุนหมู่บ้าน เงิน 1 ล้านบาท

กลยุทธ์  1. เสริมสร้างความเข้มแข็งในการบริหารจัดการ 2. กลุ่มออมทรัพย์ฯ 350,000 บาท เงินทุนชุมชนให้มีประสิทธิภาพ (Financial)  2.

ส่งเสริมและพัฒนาทุนชุมชนให้มี

ประสิทธิภาพ (Non financial)  3.

ส่งเสริมการบูรณาการทุนชุมชนให้เหมาะสม

และเกิดประโยชน์กับพื้นที่

3 .ผู้นา อช. 1 คนและ อช. 3 คน 4. กลุ่มสตรี

1 กลุ่ม 53 คน มีเงินออม

150,000.บาท 5. สระน้าใกล้ศาลาอเนกประสงค์ 6 กองทุนข้าวสาร 7. กลุ่มปุ๋ยหมัก เกษตรอินทรีย์

สภาพปัญหา

แนวทางการพัฒนา

1. ออมทรัพย์ถูกทอดทิ้งจากระบบ

1. จัดประชุมสมาชิกกลุม่ ออม

ราชการมานาน ไม่มีการดูแล

ทรัพย์.

กรรมการบริหารงานโดยไม่มี กฎเกณ์ กติกา ไม่มรี ะบบบัญชีที่ดี และเป็น ปัจจุบัน สมาชิกน้อยเนื่องจากไม่มคี วาม มั่นใจ ในการทางานของคณะกรรมการ ไม่มีการจัดสวัสดิการชุมชน

2.พัฒนาศักยภาพการบริหาร จัดการกลุ่มออมทรัพย์ฯ


2. การพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนให้เข้มแข็ง กลยุทธ์ 1. ขับเคลื่อนการดารงชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง  2.  3.

1. นางพูลศรี จันดี ผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน

1. ครัวเรือนเศรษฐกิจพอเพียง มีจานวน

1..สร้างจุดเรียนรู้เศรษฐกิจ

เป็นครัวเรือนดารงชีวิตพอเพียง

น้อย ไม่มีการขยาย เพิ่มเติม

พอเพียงบ้านนางพูลศรี จันดี

2. มีอาชีพเสริมการทอเสื่อกกของคนในชุมชน

2. อาชีพเสริม ไม่มีการรวมกลุม่ ทีช่ ัดเจน

ผู้นาอาสาพัฒนาชุมน และสร้าง ผู้นาอาสาพัฒนาชุมชนให้เป็น

ไม่มีแหล่งจัดจาหน่ายผลัดภัณฑ์ชุมชน

ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ของชุมชนให้ได้มาตรฐาน

ส่งเสริมการบริหารผลิตภัณฑ์ให้เกิดประโยชน์

แกนนาคนวิถีพอเพียง 2.ส่งการรวมกลุ่มของอาชีพเสริม

สูงสุ

และพัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้ได้ มาตรฐานพร้อมทั้งจัดหาสถานที่ จาหน่าย

3. การเพิ่มขีดความสามารถผู้นาชุมชน

1.มี กม. 1 คณะ 15 คน

1.ประชาชนไม่ค่อยให้ความสาคัญกับการ 1.ฝึกทักษะการบริหารจัดการ กลุ่มออมทรัพย์ ให้แก่


กลยุทธ์  1. เพิ่มศักยภาพผู้นาชุมชนในการบริหารจัดการ 2.มีกรรมการ กทบ. 1 คณะ 9 คน แบบมืออาชีพ

3.มีกรรมการออมทรัพย์

9

คน

4.กลุ่มสตรี 53 คน กรรมการ 9 คน 5.มีผู้นาอาสาพัฒนาชุมชนที่ดารงชีวิตตาม

ประชุมหมู่บา้ น 2.กทบ.ทางาน

คณะกรรมการ. 3 คน

3.คณะกรรมการกลุม่ ออมทรัพย์ทางาน

3.ฝึกผู้นาอาสาพัฒนาชุมชนให้

อยู่ 3 คน

เป็นวิทยากร ในด้านการ ดารงชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง

แนวทาง เศรษฐกิจพอเพียง

4. การขับเคลื่อนแผนชุมชน

1.มีแผนชุมชน

กลยุทธ์  1. พัฒนากลไกการขับเคลื่อนแผนชุมชนและ

2.แผนชุมชนได้ผ่านการรับรองมาตรฐานปี

กระบวนการบูรณาการแผนชุมชน

2553

 2.

พัฒนาระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชน

2.สร้างทักษะการทางานเป็นทีม

1. แผนชุมชนบางแผนไม่ได้ปฏิบัตใิ ห้เกิด

1.จัดเวทีทบทวนแผนชุมชน

รูปธรรม

เพื่อให้ทันต่อการเปลีย่ นแปลง ของหน่วยงานภาครัฐ

2.การทบทวนแผนชุมชนปีละ 1 ครั้ง ไม่ ทันต่อการทางานของหน่วยงานภาครัฐ

2.ขับเคลื่อนแผนชุมชน

โดยเฉพาะกรมการพัฒนาชุมชน

โดยเฉพาะแผนพึ่งตนเอง ให้เป็น

3.คนในชุมชนไม่ค่อยให้ความสาคัญกับ แผนชุมชน.

รูปธรรมมากยิ่งขึ้น


5. การจัดการความรู้ของชุมชน

1.มีครัวเรือนยากจน 1 ครัวเรือน

1.ครัวเรือนยากจน มีคนพิการ 2 คน

กลยุทธ์  1. การจัดการความรูข้ ้อมูลพื้นฐานชุมชน (จปฐ. 2. หมู่บ้านเป็นหมู่บ้านเร่งรัดพัฒนา ระดับ 3

2. ภูมิปัญญาไม่มีการบันทึก และ

และกชช. 2ค)

ถ่ายทอด

 2.

ส่งเสริมกระบวนการจัดการความรู้ของชุมชน

3.หมู่บ้านไม่ผ่านเกณฑ์ จปฐ. 21 ข้อ 4. มีภูมิปัญญา จานวน 4 ท่าน ในเรื่องการทอ ผ้า การทาเสื่อกก การทาปุ๋ยหมัก และการทาอาหารพื้นบ้านรสเลิศ

1.รวบรวม/บันทึก/และจัดให้มี การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น 2.แก้ไขปัญหาครัวเรือนยากจน

3.แก้ปัญหา จปฐ.


แผนขับเคลื่อนการดาเนินงานตามคารับรองการปฏิบัตริ าชการภายใน (IPA) ประจาปี 2554 หน่วยงาน สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอสวี วัตถุประสงค์หลัก 1. เพื่อขับเคลื่อนผลการดาเนินงานตามคารับรองการปฏิบตั ิราชการภายใน (IPA) ให้บรรลุเป้าหมาย 2. เพื่อให้การดาเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน และสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดบรรลุตามเป้าประสงค์ที่กาหนด ผู้รับผิดชอบ นางขวัญตา นิ่มนวล ระยะเวลาดาเนินการ มิถุนายน – กันยายน 2554 ลาดับ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย ระยะเวลาดาเนินการ งบประมาณ ตัวชี้วัด ผู้รับผิดชอบ ที่ 1 กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้าน จานวน 1 กลุ่ม มิถุนายน-กันยายน - สวัสดิการที่เพิ่มขึ้นจานวน นางขวัญตา นิ่มนวล เขาหลักสู่การออมทรัพย์สวัสดิการ 2554 2 สวัสดิการ -ร้อยละ 10 ของสมาชิกที่มี เงินออมต่อเดือนเพิ่มขึ้น -สมาขิกกลุม่ ออมทรัพย์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5

2

จุดเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านเขา จานวน 1 จุด หลัก เรียนรู้

มิถุนายน-กันยายน 2554

-

มีจุดเรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียง นางขวัญตา นิ่มนวล ต้นแบบ จานวน 1 จุด

วิธีการประเมิน -

ประเมินโดย พัฒนาการ อาเภอและ นักวิชาการ ผู้รับผิดชอบ อาเภอ

“-“


ลาดับ โครงการ/กิจกรรม ที่ 3 พัฒนาศักยภาพฟู้นาอาสาพัฒนา ชุมชน

เป้าหมาย

ระยะเวลาดาเนินการ

งบประมาณ ตัวชี้วัด

จานวน 1 คน

มิถุนายน-กันยายน 2554

-

ผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน 1 คน นางขวัญตา นิ่มนวล เป็นวิทยากรจุดเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบได้

4

แผนชุมชนแผนชีวิต

แผนชุมชนหมู่9 มิถุนายน-กันยายน บ้านเขาหลัก 2554

-

5.

ถอดบทเรียนกลุ่มปุ๋ยหมักบ้านเขา หลัก

จานวน 1 เรื่อง

-

แผนชุมชนที่เป็นแผน นางขวัญตา นิ่มนวล พึ่งตนเองสามารถดาเนินการ เป็นรูปธรรมได้อย่างน้อย 2 กิจกรรม มีความรู้ที่ถอดจากแผนชุมชน นางขวัญตา นิม่ นวล จานวน 1 เรื่องบันทึกใน km blog

มิถุนายน-กันยายน 2554

ผู้รับผิดชอบ

วิธีการประเมิน -

ประเมินโดย พัฒนาการ อาเภอและ นักวิชาการ ผู้รับผิดชอบ อาเภอ “-“

“-“



โครงการแบบย่อ (Project Brief) ประเด็นยุทธศาสตร์ การพัฒนาทุนชุมชน กลยุทธ์ . ส่งเสริมและพัฒนาทุนชุมชนให้มีประสิทธิภาพ ลาดับความสาคัญของโครงการ 1 ๑.ชื่อโครงการ กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้าเขาหลักสู่กลุ่มออมทรัพย์ สวัสดิการ ๒. ความสาคัญของโครงการ หลักการและเหตุผล

กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านเขาหลัก หมู่ที่ 9 ตาบลวิสัยใต้ เป็นกลุ่มที่กรมการพัฒนา ชุมชน กระทรวงมหาดไทย ได้ขับเคลื่อนให้ดาเนินการ กิจกรรม ตั้งแต่การจัดดั้ง และได้ส่งเสริมมาระยะหนึ่ง โดย ให้กระบวนการเรียนรู้ในการรบริหารจัดการทุน โดยใช้ หลักคุณธรรม 5 ประการ คือ ความซื่อสัตย์ ความ เสียสละ ความรับผิดชอบ ความเห็นอกเห็นใจ ความ ไว้วางใจ โดยชุมชนเอง ซึ่งกลุ่มก็สามารถบริหารกลุ่มได้ ในระดับหนึ่ง แต่กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต บ้านเขาหลัก หมู่ ที่ 9 ตาบลวิสัยใต้ เป็นหนึ่งในหลายกลุ่ม ๆ ออมทรัพย์ที่ ไม่มีการจัดสวัสดิการให้กับสมาชิก และประสบปัญหาใน การบริหารจัดการ และปัญหาเรื่องการดาเนินกิจกรรมของ กลุ่ม ดังนั้น จึงต้องปรับการบริหารจัดการกลุ่มโดยมี กิจกรรมเด่นในเรื่องการจัดสวัสดิการเพื่อให้มีการ ปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการกลุ่มให้ดีขึ้น

๓. วัตถุประสงค์ของโครงการ

เพื่อให้สมาชิกกลุ่มได้รับสวัสดิการจากกลุ่มออมทรัพย์ฯ เพื่อให้สมาชิกมีการออมเพิ่มขึ้น

๔. ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ

สมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านเขาหลัก มีความ พึงพอใจ มั่นใจในการบริหารจัดกลุ่มของคณะกรรมการ และขยายผลการออมเพิ่มขึ้น


๕. ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ

- จานวนสวัสดิการที่เพิ่มขึ้น จานวน 2 สวัสดิการ - ร้อยละ 10 ของสมาชิกที่มีเงินออมต่อเดือนเพิ่มขึ้น - สมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 การพัฒนาศักยภาพผู้นาชุมชน

๖. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ ความพร้อมของโครงการ ๗. ผู้รับผิดชอบ

นางขวัญตา นิ่มนวล

๘. ทรัพย์กรที่ต้องใช้

ต้นแบบกลุ่มออมทรัพย์ที่มีการจัดสวัสดิการ

๙. งบประมาณ

ไม่ใช้งบประมาณของทางราชการ

๑๐. ผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ หรือผู้ที่ได้รับ

สมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านเขาหลัก หมู่ที่ 9

ผลกระทบจากโครงการนี้

ตาบลวิสัยใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร

๑๑. โครงการที่เกี่ยวข้อง

ผู้นาต้นแบบของความพอเพียง

๑๒. ความเสี่ยง

-

๑๓. ระยะเวลา และกิจกรรมที่สาคัญของโครงการ

ดาเนินการระหว่างเดือน มิถุนายน – สิงหาคม ๒๕๕๔ ระยะเวลาดาเนินการ กิจกรรม มิย.๕๔ ประชุมคณะกรรมการ ประชุมสมาชิกเพื่อปรับระเบียบ ประชาสัมพันธ์การจัดสวัสดิการ และ รณรงค์การออมฯ จัดสวัสดิการตามตามระเบียน ประเมินผลความพอใจของสมาชิก และ ผลการดาเนินงาน

กค.๕๔

สค.๕๔


จากหลักการ กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านเขาหลัก หมู่ที่ 9 ตาบลวิสัยใต้ เป็นกลุ่มที่กรมการพัฒนา ชุมชน กระทรวงมหาดไทย ได้ขับเคลื่อนให้ดาเนินการกิจกรรม ตั้งแต่การจัดดั้ง และได้ส่งเสริมมาระยะหนึ่ง โดยให้กระบวนการเรียนรู้ในการรบริหารจัดการทุน โดยใช้หลักคุณธรรม 5 ประการ คือ ความ ซื่อสัตย์ ความเสียสละ ความรับผิดชอบ ความเห็นอกเห็นใจ ความไว้วางใจ โดยชุมชนเอง ซึ่งกลุ่มก็ สามารถบริหารกลุ่มได้ในระดับหนึ่ง แต่กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต บ้านเขาหลัก หมู่ที่ 9 ตาบลวิสัยใต้ เป็นหนึ่งในหลายกลุ่ม ๆ ออมทรัพย์ที่ไม่มีการจัดสวัสดิการให้กับสมาชิก และประสบปัญหาในการบริหารจัดการ และปัญหาเรื่องการ ดาเนินกิจกรรมของกลุ่ม ดังนั้น จึงต้องปรับการบริหารจัดการกลุ่มโดยมีกิจกรรมเด่นในเรื่องการจัดสวัสดิการเพื่อให้มีการ ปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการกลุ่มให้ดีขึ้น การเข้าไปดาเนินการ ประชุมคณะกรรมการกลุ่มแล้วแนะนาให้ไปศึกษาดูงาน ของกลุ่ม ออมทรัพย์บ้านควนหินมุ้ย หมู่ที่ 9 ตาบลนาขา อาเภอหลังสวน จากการช่วยประสานงานของ พัฒนาการอาเภอ นายสุรินทร์ มลิวัลย์ ซึ่งเคยเป็นพัฒนาการอาภอหลังสวนมาก่อน


คณะกรรมการกลุ่มออมทรั พย์ เพื่อการผลิต บ้ านเขาหลัก หมู่ท่ ี 9 ตาบลวิสัยใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร ศึกษาดูงาน กลุ่มออมทรั พย์ เพื่อการผลิต บ้ านควนหินมุ้ย หมู่ท่ ี 9 ตาบลนาขา อาเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร


ศึกษาตัวอย่ างการปฏิบัตจิ ากเอกสาร

รั บประทานอาหารกลางวัน กลุ่มบ้ านควนหินมุ้ยเลีย้ งรั บรอง


สรุ ป ผลจากการเข้ าไปดาเนินงาน ในห้ วงระยะเวลาที่กาหนด บทเรี ยนจากการทาโครงการ ที่ 1 ตามประเด็น การพัฒนาทุน กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านเขาหลักสู่กลุ่มออมทรัพย์ สวัสดิการ ประสบความล้มเหลว หลังจากกลับจากการดูงานแล้ว คณะกรรมการแสดงอาการ “ ใครยากทาก็ทา” กรรมการไม่ยากทา เจ้าหน้าผู้ประสานงานก็ต้องหยุด เพราะเป็นกลุ่มออมทรัพย์ของชุมชน ไม่ใช่ เจ้าหน้าที่ ก็ต้องปล่อยไปตามธรรมชาติ ของการได้รับผลประโยชน์ แล้วโดนกีดกัน หากจะดูเหตุที่จริง เกิดจาก กลุม่ ออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านเข้าหลัก หมู่ 9 ตาบลวิสัย ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร เป็นกลุ่มที่จัดตั้ง แล้วเจ้าหน้าที่ผู้จัดตั้งย้ายตาบล ไม่มีการสานต่อ (ไข่แล้ว ทิ้ง) กลุ่มบุคคลที่ได้ชื่อว่าเป็นคณะกรรมการเข้าดาเนินการ โดยยึดหลัก แต่ไม่ยึดคุณธรรม แสวงหาผลประโยชน์ ทาโดยไม่มีระเบียบข้อบังคับ มีการเปิดบัญชี แต่ไม่มีการนาเงินสัจจะฝาก อยู่ที่ กรรมการคนเดียว จากการสอบถามผู้ที่เคยเป็นสมาชิก ถามสาเหตุที่ไม่ออมต่อ ได้รับการบอกเล่า ว่า คณะกรรมการทางานไม่โปร่งใส ทาอยู่ 2 คน การดาเนินงานหากมีผู้กู้จะขอกู้ก็บอกว่าไม่มีเงิน กู้กัน หมดแล้ว เวลาปันผลก็จะได้น้อย เมื่อผู้ออมเงินถามว่าทาไมปันผลได้น้อย กรรมการจะบอกว่าไม่มีใครกู้ ผู้ ออมสรุปให้ฝังว่ากรรมการเอาเงินผู้ออมไป ใช้ ส่งลูกเรียน ทาสวน ได้รับผลประโยชน์ ส่วนตน เมื่อมีเจ้าหน้าที่เข้าไป ก็จะเกิดความไม่พอใจ เนื่องจากกลัวจะรู้ความเป็นจริง และจะ ไม่ให้ความร่วมมือ การดาเนินงานของเจ้าหน้าต่อจากนี้ไป คิดว่าจะตั้งกลุ่มใหม่ และช่วยเหลือสนับสนุน อย่างต่อเนื่อง เพื่อไม่ให้กลุ่มล่มสลาย และเป็นกลุ่มการเงินที่เป็นกลุ่มทีเ่ ก็บออมของชุมชนอย่างแท้จริง และมีการจัดสวัสดิการ ให้กับคนในชุมชน


โครงการแบบย่อ (Project Brief) ประเด็นยุทธศาสตร์ การพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนให้เข้มแข็ง กลยุทธ์ ขับเคลื่อนการดารงชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ลาดับความสาคัญของโครงการ 2 ๑.ชื่อโครงการ ๒. ความสาคัญของโครงการ หลักการและเหตุผล

จุดเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านเขาหลัก จุดเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เป็นแนวทาง การดาเนินงานโครงการตามยุทธศาสตร์กรมการพัฒนา ชุมชน ในยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน ซึ่ง บ้านเขาหลัก หมู่ที่ 9 ตาบลวิสัยใต้ อาเภอสวี จังหวัด ชุมพร ได้สนับสนุนงบประมาณดาเนินการส่งเสริมการทา การเกษตรแบบเกษตรอินทรีย์ จากการสนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์ ขององค์การบริหารส่วนตาบลวิสัยใต้ และได้รับ การอบรมการให้ความรู้จากหมอดินอาสา โดยผ่านการบูร ณาการจาก ครู กศน. และพัฒนากรในพื้นที่ จนเกิด ครัวเรือนต้นแบบ ของผู้นา อช. ในเขตพื้นที่ตาบลวิสัยใต้ เพื่อขับเคลื่อนการดารงชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงของผู้นา อาสาพัฒนาชุมชนตาบลวิสัยใต้ ให้ขยาย สู่ครัวเรือน อื่น ๆ ในชุมชน จึงจัดให้จุดเรียนรู้เศรษฐกิจ พอเพียงขึ้น

๓. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1.เพื่อให้มีการขยายแนวทางการดาเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจ พอเพียงให้คนในชุมชนมากขึ้น 2.เพื่อเป็นการส่งเสริมรายได้ลดรายจ่ายในครอบครัวให้พอ อยู่พอกิน,


3.เพื่อเป็นการสนับสนุนโครงการเศรษฐกิจพอเพียงอัน เนื่องมาจากพระราชดาริ ๔. ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ

1.คนในชุมชน ได้มีแหล่งเรียนรู้รู้ด้านการผลิตเพื่อการยัง ชีพตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. มีศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน เพื่อเป็นแหล่ง เรียนรู้ด้านการเกษตรอย่างยั้งยืนและถาวรในชุมชน

๕. ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ

- มีจุดเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ จานวน1 จุด

๖. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ ความพร้อมของโครงการ ๗. ผู้รับผิดชอบ

การพัฒนาศักยภาพผู้นาชุมชน

๘. ทรัพย์กรที่ต้องใช้ ๙. งบประมาณ

นางขวัญตา นิ่มนวล ไม่ใช้งบประมาณของทางราชการ

๑๐. ผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ หรือผู้ที่ได้รับ ผลกระทบจากโครงการนี้ ๑๑. โครงการที่เกี่ยวข้อง ๑๒. ความเสี่ยง ๑๓. ระยะเวลา และกิจกรรมที่สาคัญของโครงการ

การจัดการความรู้ ดาเนินการระหว่างเดือน มิถุนายน – สิงหาคม

๒๕๕๔

ระยะเวลาดาเนินการ กิจกรรม มิย.๕๔ ประชุมคณะกรรมการหมู่บ้าน ฝึกทักษะการบรรยายให้กบั คณะกรรมการจุดเรียนรู้ ประชาสัมพันธ์การดาเนินงานจุดเรียนรู้

กค.๕๔

สค.๕๔


จุดเรี ยนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงบ้ านเขาหลัก สรุปประเมินผลการดาเนินงานของจุด เรียนรู้

จะขอเดินตามรอยเท้ าพ่ อ

เป็นครัวเรือนเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ของนางพูลศรี จันดี เป็นผู้นาอาสาพัฒนา ชุมชนตาบลวิสัยใต้ เป็นผู้นา อช. ที่น้อมนาเอาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจาวัน และสามารถถ่ายทอด การดาเนินชีวิตของตนให้กับคนในหมู่บ้านได้ โดยได้รับการฝึกอบรมการพูด


มาจากการเข้าร่วมโครงการฝึกอบรมพัฒนาศักยภาพผู้นาของตาบลวิสัยใต้ จากศูนย์ศึกษาและ พัฒนาชุมชนนครศรีธรรมราช โดยมี

จุดเรี ยนรู้ ที่ 1 คือการทาบัญชีครัวเรือนตามความเข้าใจของตนเอง เพือ่ รู้จักตนเอง ซึง่ นาไปสู่ การทา กิจกรรมเพื่อลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ และเป็นข้อมูลตอบแบบสารวจ ข้อมูล จปฐ.ด้วย


จุดเรียนรู้ที่ 2 น้ายาเอนกประสงค์ใช้ในครัวเรือน ส่วนผสม สูตรน้ายาล้างจาน

การลดรายจ่าย โดยการทา


ส่วนผสม สูดร สบู่เปลือกมังคุด

สาธิตการทา

จุดเรียนรู้ที่ 3

การลดรายจ่ายโดยการเลี้ยงหมูหลุมนามูลเอาไว้ทาปุ๋ยใส่สวนทุเรียน เนื้อเพื่อไว้ เป็นอาหาร


เตรียมอาหารหมูจาก ของที่หาได้ในสวน

ขุนหมู เพื่อเอามูล


จุดเรี ยนรู้ ท่ ี 4 การเพิ่ม รายได้ โดยใช้เวลาว่าง ทอเสื่อกก ไว้จาหน่าย และไว้ใช้เวลามีงานบุญในหมู่บ้าน


ผลิตภัณฑ์ จากจุดเรียนรู้ ทีไ่ ด้ รับการอุดหนุนนาไปใช้ ประโยชน์


จุดเรี ยนรู้ ท่ ี 5

กก

การลดรายจ่ายโดยการทาน้าหมักชีวภาพ และปุ๋ยหมัก เพื่อใช้ในสวน

สาธิตทาน้าหมักจากปลา

ทาสารไล่แมลงจากบอระเพ็ด และตะไคร้ และสะเดา

ชักชวนคนในหมู่บ้านทาปุ๋ยหมัก

ชี้ชวนให้ เพือ่ นดูความสาเร็จ จากการยึดคาพ่อสอน


แม่ ใหญ่ ยงั เป็ นสมาชิกธนาคารต้ นไม้ ของหมู่บ้านอีกด้ วย


จุดเรี ยนรู้ ท่ ี 6

การลดรายจ่ายเผาถ่านจากไม้กาแฟไว้ใช้ และได้น้าส้มควันไม้


จุดเรี ยนรู้ ท่ ี 7

จุดเรียนรู้ตามฤดูกาล การปลูกข้ าวไร่ ไว้กนิ เพือ่ ลดรายจ่ าย การปลูกข้ าวโดยใช้ กระบอกไม้ ไผ่

ทาหญ้ าข้ าว


สรุปการผลจากการเข้าไปดาเนินการ โครงการจุดเรียนรู้บ้านเขาหลัก นับว่าเป็นโครงการที่ประสบผลสาเร็จ แต่การสร้างจุดเรียนรู้ไม่ได้สร้างได้ ภายในระยะเวลา 2 เดือน การจะเป็นจุดเรียนรู้ได้ ผู้ที่เป็นบุคคลตัวอย่างให้กับผู้อื่น จะต้องทาด้วยจิตที่ประสงค์จะทาเอง ทาโดยธรรมชาติ การเป็นจุดเรียนรู้เป็น กระบวนการขั้นตอนขั้นตอนหนึ่งที่เจ้าหน้าต้องเข้าไปส่งเสริม ให้เกิดในภายหลัง หากจะ ไปทาจุดเรียนรู้ตั้งแต่แรกเริ่ม คือเข้าไปจัดตั้ง คน ให้ทาโน่น ทานี้ เพื่อจะให้เป็นจุดเรียนรู้ ตามที่เจ้าหน้าที่ต้องการ ทาได้เฉพาะหน้า ให้ผ่านผลงาน หลังจากนั้นก็จะเลือนหายไป ตามปีงบประมาณ ส่วนการประชาสัมพันธ์ ในฐานะของผู้ประสานงานตาบล คิดว่าจะ ประสานไปยังโรงเรียนที่ใกล้ ๆ กับจุดเรียนรู้กอ่ น โดยเริ่มทีเ่ ด็กก่อน หลังจากนั้นคิดว่า น่าจะมีผู้ปกครองของเด็กตามมา


โครงการแบบย่อ (Project Brief) ประเด็นยุทธศาสตร์ การเพิ่มขีดความสามารถผู้นาชุมชน กลยุทธ์ เพิ่มศักยภาพผู้นาชุมชนในการบริหารจัดการแบบมืออาชีพ ลาดับความสาคัญของโครงการ 3 ๑.ชื่อโครงการ พัฒนาศักยภาพผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน ๒. ความสาคัญของโครงการ หลักการและเหตุผล

ผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน คืออาสาพัฒนาชุมชนที่ได้รับการ คัดเลือกจากเวทีประชาคมอาสาพัฒนาชุมชน เพื่อให้ปฏิบัติงาน อาสาสมัครในฐานะผู้นาอาสาพัฒนาชุมชนในตาบล ซึ่งบทบาท หน้าที่ของผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน จะต้องเป็นแกนนาในการพัฒนา หมู่บ้าน ตาบล โดยเป็นผูร้ ิเริ่ม สร้างสรรค์ ประสานงานและ ดาเนินการพัฒนาร่วมกันกับชาวบ้าน และเป็นผู้สนับสนุนการ ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน เพื่อให้การพัฒนาหมู่บ้าน ตาบล บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ตาบลวิสัยใต้ มีผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน ซึ่งอยู่ในเขตการ พัฒนา ตามโครงการ IPA ปี 2554 ซึ่งเป็นผู้นาอาสาที่ดารงชีวิต ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเป็นแกนนาในการจัดตั้ง กลุ่มปุ๋ยหมักชีวิภาพ ของบ้านเขาหลัก หมู่ที่ 9 ตาวิสัยใต้ และสืบ เนื่องจาก กลุ่มปุ๋ยหมัก ได้จดั ทาเป็นจุดเรียนรู้ของหมู่บ้าน แต่ยังไม่ มีผู้ให้ความรู้กับกลุม่ บุคคลที่สนใจในการทาปุ๋ยหมัก จึงจัดให้มีการ พัฒนาศักยภาพผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน ให้เป็นวิทยากรหลักของ กลุ่ม ซึ่งสอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ของอาสาพัฒนาชุมชน ใน 3 ประเด็นคือ การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การจัดการ ศูนย์เรียนรู้ และการอนุรักษ์ทรัพย์กรธรรมชาติ

๓. วัตถุประสงค์ของโครงการ

เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้นาอาสาพัฒนาชุมชนให้สมารถทาบทบาท หน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๔. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้นาอาสาพัฒนาชุมชนสามารถปฏิบัติหน้าทีไ่ ด้อย่างมี ประสิทธิภาพ กลุ่มผู้สนใจได้รับความรูค้ วามเข้าใจในกิจกรรมการทาปุ๋ยหมักได้ เป็นอย่างดี


๕. ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ

ผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน เป็นวิทยากรจุดเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี

๖. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ ความพร้อมของโครงการ ๗. ผู้รับผิดชอบ

การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

๘. ทรัพย์กรที่ต้องใช้

นางขวัญตา นิ่มนวล -

๙. งบประมาณ

ไม่ใช้งบประมาณของทางราชการ

๑๐. ผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ หรือผู้ที่ได้รับผลกระทบ

ผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน

จากโครงการนี้ ๑๑. โครงการที่เกีย่ วข้อง ๑๒. ความเสี่ยง ๑๓. ระยะเวลา และกิจกรรมทีส่ าคัญของโครงการ

การจัดการความรู้ ดาเนินการระหว่างเดือน มิถุนายน – สิงหาคม ๒๕๕๔

ระยะเวลาดาเนินการ กิจกรรม ประชุมคณะกรรมการหมู่บ้าน ฝึกทักษะการบรรยายให้กับผู้นาอาสา พัฒนาชุมชน สรุปประเมินผลการเป็นวิทยากรของผู้นา อาสาพัฒนาชุมชน

มิย. ๕๔

กค. ๕๔

สค.๕๔


จากหลักการ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน ผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน คืออาสาพัฒนาชุมชนที่ได้รับการคัดเลือกจากเวทีประชาคมอาสาพัฒนาชุมชน เพื่อให้ ปฏิบัติงานอาสาสมัครในฐานะผู้นาอาสาพัฒนาชุมชนในตาบล ซึ่งบทบาทหน้าที่ของผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน จะต้องเป็นแกน นาในการพัฒนาหมู่บ้าน ตาบล โดยเป็นผูร้ ิเริม่ สร้างสรรค์ ประสานงานและดาเนินการพัฒนาร่วมกันกับชาวบ้าน และเป็น ผู้สนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน เพื่อให้การพัฒนาหมู่บ้าน ตาบล บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น ตาบลวิสัยใต้ มีผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน ซึ่งอยู่ในเขตการพัฒนา ตามโครงการ IPA ปี 2554 ซึ่งเป็นผู้นาอาสาที่ ดารงชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเป็นแกนนาในการจัดตั้งกลุ่มปุ๋ยหมักชีวิภาพ ของบ้านเขาหลัก หมู่ที่ 9 ตา วิสัยใต้ และสืบเนื่องจาก กลุม่ ปุ๋ยหมัก ได้จดั ทาเป็นจุดเรียนรู้ของหมู่บ้าน แต่ยังไม่มีผู้ให้ความรู้กับกลุ่มบุคคลที่สนใจในการ ทาปุ๋ยหมัก จึงจัดให้มีการพัฒนาศักยภาพผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน ให้เป็นวิทยากรหลักของกลุ่ม ซึ่งสอดคล้องกับบทบาท หน้าที่ของอาสาพัฒนาชุมชน ใน 3 ประเด็นคือ การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การจัดการศูนย์เรียนรู้ และการ อนุรักษ์ทรัพย์กรธรรมชาติ นางพูลศรี จันดี เป็นผู้นาอาสาพัฒนาชุมชนของตาบลวิสยั ใต้ และดาเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งบ้านของนางพูลศรี เป็นจุดเรียนรู้ของคนในชุมชน เพื่อให้การถ่ายทอดการดาเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เผยแพร่เป็นสู่ครัวเรือนในชุมชน หมู่ที่ 9 บ้านเขาหลัก ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร นางพูลศรี จันดี จึงต้องเรียนรู้ วิธีการถ่ายทอด ซึ่งนางพูลศรี มีตน้ ทุนเดิมจากการฝึกอบรมพัฒนาศักยภาพผู้นาชุมชน จากศูนย์ศึกษาและพัฒนา จังหวัด นครศรีธรรมราช ในวิชาการพูดในที่ชุมชนมาบ้างแล้ว


ในห้วงระยะเวลาดาเนินการ เจ้าหน้าที่ได้เข้าไปสนับสนุนส่งเสริม และฝึกการบรรยายจุดเรียนรู้ให้แก่นางพูลศรี จนเป็นผลทาให้นางพูลศรี สามารถ บรรยายให้กับผู้เข้าชมจุดเรียนรูไ้ ด้ในระดับหนึ่ง


การติดตามครัวเรือนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ จปฐ.


โครงการแบบย่อ (Project Brief) ประเด็นยุทธศาสตร์ การขับเคลื่อนแผนชุมชน กลยุทธ์ พัฒนากลไกการขับเคลือ่ นแผนชุมชนและกระบวนการบูรณาการแผนชุมชน ลาดับความสาคัญของโครงการ 4 ๑.ชื่อโครงการ

แผนชุมชน แผนชีวิต แผนชุมชนบ้านเขาหลัก หมู่ที่ 9 ตาบลวิสัยใต้ ได้

๒. ความสาคัญของโครงการ หลักการและเหตุผล

รับรองมาตรฐาน เมื่อปี 2553 และมีการปรับแผนชุมชน เมื่อวันที่ 12 เมษายน 2554 ซึ่งมีโครงการที่พึ่งตนเองยัง ไม่ได้ดาเนินการให้เป็นรูปธรรม ในการนี้คณะกรรมการ หมู่บ้านจึงได้หยิบยกโครงการพึ่งตนเองให้เกิดเป็นรูปธรรม มากยิ่งขึ้น

๓. วัตถุประสงค์ของโครงการ

เพื่อขับเคลื่อนแผนชุมชนให้ดาเนินการอย่างเป็นรูปธรรม

๔. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

แผนชุมชนพึ่งตนเองสามารถทาได้จริง

๕. ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ

แผนพึ่งตนเองสามารถดาเนินการได้อย่างน้อย 2 กิจกรรม

๖. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์

การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ความพร้อมของโครงการ ๗. ผู้รับผิดชอบ ๘. ทรัพย์กรที่ต้องใช้

นางขวัญตา นิ่มนวล -

๙. งบประมาณ

ไม่ใช้งบประมาณของทางราชการ

๑๐. ผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ หรือผู้ที่ได้รับ

ราษฎร์ในพื้นที่ หมู่ที่ 9 บ้านเขาหลัก ตาบลวิสัยใต้

ผลกระทบจากโครงการนี้


๑๑. โครงการที่เกี่ยวข้อง ๑๒. ความเสี่ยง ๑๓. ระยะเวลา และกิจกรรมที่สาคัญของโครงการ

ดาเนินการระหว่างเดือน มิถุนายน – สิงหาคม ๒๕๕๔ ระยะเวลาดาเนินการ กิจกรรม มิย.๕๔

กค.๕๔

สค.๕๔

ประชุมคณะกรรมการหมู่บ้าน ดาเนินกิจกรรมแผนพึ่งตนเอง

สรุปแผนพึ่งตนเองที่ได้จัดทา

จากหลักการ แผนชุมชนบ้านเขาหลัก หมู่ที่ 9 ตาบลวิสัยใต้ ได้รับรองมาตรฐาน เมื่อปี 2553 และมีการปรับแผน ชุมชนเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2554 ซึ่งมีโครงการที่พึ่งตนเองยังไม่ได้ดาเนินการให้เป็นรูปธรรม ในการนี้ คณะกรรมการหมู่บ้านจึงได้หยิบยกโครงการพึ่งตนเองทาให้เกิดเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น


การเข้าไปดาเนินการ ประชุมคณะกรรมการแล้วเห็นว่า มีโครงการพึ่งตนเองที่บรรจุไว้ในแผนชุมชน สามารถทา ได้เลยอยู่ 2 โครงการ คือ 1. ถนนหน้าบ้านหน้ามองเพื่อเพิ่มที่สีเขียว

และ

2. โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการออมในหมู่บ้าน และกลุ่มเด็ก เพื่อเป็นรากฐานในอนาคต โครงการที่ 1 ถนนหน้าบ้านหน้ามองเพื่อเพิ่มที่สีเขียว สามารถขับเคลื่อน และดาเนินการตาม แผนได้ แปลงเพาะพันธ์ต้นโกสน โดยการปักชา มีภูมปิ ัญญาที่นามาใช้ในการปักชาต้นกล้า คือ นาต้น กล้าแช่ในน้าที่มีส่วนผสมของกะปิแกง จะทาให้รากเจริญเติบโตเร็ว


หลังการปักชา เป็นระยะเวลา เกือบสองเดือน เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2554 ถือเป็นวัน พัฒนาของหมู่บ้าน ทาการฉีดยา 2 ข้างทาง วันที่ 20 สิงหาคม 2554 นัดสมาชิกในชุมชน รวมทั้งเด็กด้วย (นัดวันเสาร์เพื่อจะได้ปลูกฝังจิตร สาธารณะกับเด็กด้วย ซึ่งเป็นคาบอกเล่าของผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน) ช่วยกันปลูกต้นโกสน 2 ข้างทาง หมู่บ้าน


พักเที่ยงก็จะมีอาหารกลางวันข้าวหม้อ แกงหม้อ จากผู้ที่ไม่ได้มาปลูกต้นไม้ทามาให้ร่วม รับประทานกันอย่างเอร็ดอร่อย


ส่วนโครงการที่ 2. โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการออมในหมู่บ้าน และ

กลุ่มเด็ก เพื่อเป็นรากฐานในอนาคต ไม่สามารถดาเนินการได้ เนื่องจากเป็นโครงการ ที่เชื่อมโยงกับ กิจกรรมที่ 1 ในเรื่องพัฒนาทุนซึ่งประสบความล้มเหลว สรุปบทเรียนได้ว่า การถือประโยชน์ของคณะกรรมการ (เพียงคนใด คนหนึ่ง) เป็น กิจที่ 1 จะทาให้การพัฒนาหมู่บ้านได้รับผลกระทบไปด้วย ในที่นี้กล่าวถึงคณะกรรมการกลุ่มออม ทรัพย์(การพัฒนาทุน) หากไม่ยึดหลักคุณธรรม 5 ประการ ทีค่ ณะกรรมการกลุ่มออมทรัพย์ หยิบสมุดขึ้นมาทางานอย่างน้อยเดือน ละ 2 ครั้ง ไม่พลิกด้านหลังของสมุดมาดูแล้วทาความเข้าใจ ให้ลึกซึ้ง ร้อยกลุ่มทั้งร้อยกลุ่ม ก็จะไม่ประสบความสาเร็จ จากการศึกดูงาน ในกิจกรรมที่ 1 สอบ หลักการทางานกลุ่มออมทรัพย์ที่ประสมความสาเร็จก็จะได้รับคาตอบว่า ยึดหลักคุณธรรม 5 ประการ


โครงการแบบย่อ (Project Brief) ประเด็นยุทธศาสตร์ การจัดการความรู้ของชุมชน กลยุทธ์ ส่งเสริมกระบวนการจัดการความรู้ของชุมชน ลาดับความสาคัญของโครงการ 5 ๑.ชื่อโครงการ

กลุม่ ทาปุ๋ยหมักบ้านเขาหลัก

๒. ความสาคัญของโครงการ หลักการและเหตุผล

การจัดการความรู้เป็นวิธีการที่ทาให้ความรู้ที่มีอยู่ เกิดการแพร่หลายขึ้น สามารถพัฒนาคน พัฒนางาน และ ระบบทาให้เกิด องค์ความรู้ ที่ทาให้ทุกภาคสามารถนา ความรู้ ไปสู่การฝึกปฏิบัติและการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่างกัน ได้

๓. วัตถุประสงค์ของโครงการ

เพื่อให้องค์ความรู้ของชุมชนได้มีการจัดเก็บและเรียบ เรียง และถ่ายทอด

๔. ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ

มีการจัดเก็บและบันทึก องค์ความรู้ของชุมชนอย่าง เป็นระบบ

๕. ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ

- มีความรู้ จานวน 1 เรื่องได้บันทึกใน km blog กรมการพัฒนาชุมชน

๖. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ ความพร้อมของโครงการ ๗. ผู้รับผิดชอบ

การพัฒนาศักยภาพผู้นาชุมชน นางขวัญตา นิ่มนวล

๘. ทรัพย์กรที่ต้องใช้

-

๙. งบประมาณ

ไม่ใช้งบประมาณของทางราชการ

๑๐. ผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ หรือผู้ที่ได้รับ

คณะกรรมการกลุ่มปุ๋ยหมักหมู่บ้านบ้านเขาหลัก หมู่ที่ 9


ผลกระทบจากโครงการนี้ ๑๑. โครงการที่เกี่ยวข้อง

ตาบลวิสัยใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร จุดเรียนรู้

๑๒. ความเสี่ยง

-

๑๓. ระยะเวลา และกิจกรรมที่สาคัญของโครงการ

ดาเนินการระหว่างเดือน มิถุนายน – สิงหาคม ๒๕๕๔ ระยะเวลาดาเนินการ กิจกรรม มิย.๕๔ กค.๕๔ สค.๕๔ ประชุมคณะกรรมการหมู่บ้านและ ผู้เกี่ยวข้องกลุ่มเพือ่ ถอดบทเรียน เรียบเรียงองค์ความรู้จากบทเรียน นาความรู้เข้าสู่ km blog ของ กรมการพัฒนาชุมชน

จากผลการดาเนินตามโครงการ ได้นาความรู้ที่ถอดบทเรียนในชุมชน และถอดบทเรียน จากเอกสารที่ชุมชนได้บันทึกไว้ สามารถ นาเผยแพร่ทาง ตามตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ ตามรายละเอียด

km blog

ของกรมการพัฒนาชุมชน ได้

ในส่วนบทเรียนที่ถอดและนาเผยแพร่ เป็นบทเรียนที่ ได้ทั้งกระบวนการจัดตั้งกลุ่ม การ บริหารจัดการกลุ่ม และบทเรียนของทาน้าหมัก การทาปุ๋ยหมัก ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น เกิดจากเจ้าหน้าที่ไม่มีความชานาญในการนาบทเรียนที่ได้เรียบ เรียงขึ้นเผยแพร่ได้อย่างเต็มรูปแบบ เนื่องจากขาดทักษะในเรื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะต้องพัฒนา ตนเองต่อไป


   

ไฟล์ของฉัน บล็อกของฉัน เพื่อนของฉัน รู ป ภาพของฉัน

พัฒนาชุมชนจังหวัดชุมพร :: โปรไฟล์ โปรไฟล์ | บล็อก | เพื่อน | รู ปภาพ

KM Blog เพิ่มบล็อก

บล็อกของฉัน 

บล็อกทั้งหมด (4)

  o

เทคนิคการเขียนโครงการ VDR อะไร? ทาไม? กับใคร? ทีไ่ หน? เมือ่ ไหร่ ? อย่ างไร?

o

กลุ่มปุ๋ ยหมักบ้ านเขาหลัก

o

งบการเงินกับการแก้ปัญหาความขัดแย้ งในชุ มชน

o

KM Blog บล็อก ล่ าสุ ด Page| Next | Last

กลุ่มปุ๋ ยหมักบ้ านเขาหลัก โดย พัฒนาชุมชนจังหวัดชุมพร ความคิดเห็น (0) สร้าง: 23 ส.ค. 2554 13:53 แก้ไข: 23 ส.ค. 2554 14:05 | ดู บล็อก | แก้ไข บล็อก | ลบ บล็อก

VDR อะไร? ทาไม? กับใคร? ทีไ่ หน? เมือ่ ไหร่ ? อย่ างไร? โดย พัฒนาชุมชนจังหวัดชุมพร ความคิดเห็น (0) สร้าง: 18 ส.ค. 2554 14:49 แก้ไข: 18 ส.ค. 2554 14:49 | ดู บล็อก | แก้ไข บล็อก | ลบ บล็อก เทคนิคการเขียนโครงการ คาสาคัญ:การเขียนโครงการต้องมีความเชื่อมโยงสอดคล้องสัมพันธ์กนั ตั้งแต่ตน้ จนจบโครงการ ทุกส่วนสาคัญหมด โดย พัฒนาชุมชนจังหวัดชุมพร ความคิดเห็น (0) สร้าง: 14 มิ.ย. 2554 16:10 แก้ไข: 14 มิ.ย. 2554 16:10


| ดู บล็อก | แก้ไข บล็อก | ลบ บล็อก งบการเงินกับการแก้ปัญหาความขัดแย้ งในชุ มชน คาสาคัญ:การสอนให้คณะกรรมการทาบัญชีเป็ น ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ท้ งั หมด หากเราไม่ได้สอนให้คณะกรรมการและสมาชิก อ่านงบการเงินเป็ นด้วย โดย พัฒนาชุมชนจังหวัดชุมพร ความคิดเห็น (0) สร้าง: 14 มิ.ย. 2554 15:18 แก้ไข: 14 มิ.ย. 2554 16:04 | ดู บล็อก | แก้ไข บล็อก | ลบ บล็อก

Page| Next | Last กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ อาคาร B ชั้น 5 ถนนแจ้งวัฒนะ หลักสี่ กทม.10210 โทรศัพท์ 0 - 2141 -6047 © Copyright

กรมการพัฒนาชุมชน. All Rights Reserved.2009 Powered By ECGATES

SOLUTION

เพื่อนของฉัน รูปภาพของฉัน พัฒนาชุมชนจังหวัดชุมพร :: โปรไฟล์ โปรไฟล์ | บล็อก | เพื่อน | รูปภาพ KM Blog

เพิ่มบล็อก บล็อกของฉัน บล็อกทังหมด ้ (4) เทคนิคการเขียนโครงการ VDR อะไร? ทาไม? กับใคร? ที่ไหน? เมื่อไหร่ ? อย่างไร? กลุม่ ปุ๋ยหมักบ้ านเขาหลัก งบการเงินกับการแก้ ปัญหาความขัดแย้ งในชุมชน KM Blog

ชื่อ บล็อก :

กลุม่ ปุ๋ยหมักบ้ านเขาหลัก

หมวดหมู่ :

การพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนให้ เข้ มแข็ง


เนื ้อหา บล็อก :

แบบบันทึกองค์ความรู้ ชื่อกลุม่ กลุม่ ปุ๋ยหมักบ้ านเขาหลัก ที่อยู่ หมูท่ ี่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร เบอร์ โทรศัพท์ที่ติดต่อได้ สะดวก 0857893808 ชื่อเรื่ อง การลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ในการทาเกษตรแบบพอเพียง เป็ นการแก้ ไขปั ญหา/ความสาเร็จ เกี่ยวกับ การตังกลุ ้ ม่ แบบการมีสว่ นร่วม (การเป็ นเจ้ าของ) เหตุการณ์นี ้เกิดขึ ้นเมื่อ มกราคม 2552 สถานที่เกิดเหตุการณ์ บ้ านเขาหลัก หมูท่ ี่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร

เนื ้อเรื่ อง หมูบ่ ้ านเขาหลักหมูท่ ี่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร เป็ นหมูบ่ ้ านที่ทา เกษตรกรรมเป็ นส่วนใหญ่ ปี ใดหากราคาผลผลิต ทางการเกษตรตกตา่ การขาดทุนก็จะเกิดขึ ้นใน การทาการเกษตร ภาวะหนี ้สินก็จะไม่ได้ ปลด เปลื ้องตามเป้าหมาย ผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน ซึง่ ดารงชีวติ ิแบบเศรษฐกิจพอเพียง ได้ ปรึกษา พัฒนากรผู้รับผิดชอบตาบล ในการจัดตังกลุ ้ ม่ ปลูกผักปลอดสารพิษ โดยขอรับงบประมาณอุดหนุน จากองค์การบริ หารส่วนตาบล ในการจัดซื ้อวัสดุอปุ กรณ์ครัง้ แรก เป็ นเงินจานวนเงิน 12,740 บาท มีสมาชิกเริ่ มต้ นเพียง 15 คน โดยมีการดาเนินการมาตังแต่ ้ ปั จจุบนั มีสมาชิก 36 ราย และมีเงิน ออม จานวน 32,500 บาท ตามบันทึกรายงานของกลุม่ ดังนี ้


รายงาน กลุม่ ผลิตปุ๋ยหมัก กิจกรรมกลุม่ ปลูกผักปลอดสารพิษชีวิตยัง่ ยืน บ้ านเขาหลัก หมูท่ ี่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร

นางขวัญตา นิ่มนวล นักวิชาการพัฒนาชุมชน ที่ปรึกษากลุม่


กลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษชีวิตยั่งยืน บ้ านเขาหลัก หมู่ท่ ี 9 ตาบลวิสัยใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร กลุม่ ปลูกผักปลอดสารพิษชีวติ ยัง่ ยืน ก่อตังขึ ้ ้นเมื่อวันที่

29

มกราคม

2552

มีสมาชิกเริ่ มต้ น

ราย ดังรายชื่อต่อไปนี ้ 1. นางสาววันลี ชื่นเกาะสมุย 125 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 2. นางพูลศรี จันดี 187 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 3. นางกุศล ใจแผ้ ว 131/2 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 4. นางสมนึก ใจแผ้ ว 187/3 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 5. นางปั ทมพร แสงสง 93/1 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 6. นางกันหา ศรี ภา 84 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 7. นางสนธยา นิ่มนวล 102/2 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 8. นางสุนยั โคตรหลักคา 176 /2 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 9. นางอรอนงค์ แย้ มนาขา 201 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 10. นางลาดวน พันธุ์บป ุ ผา 127 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 11. นางฉวี นิ่มนวล 102 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 12. นางสมร บุษดี 172 หมู่ 6 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 13. นางวรรณา อยูส ่ ขุ 201/2 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 14. นางจันที กิ่งวงษา 126/1 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 15. นางธัญจิรา ชัยราช 208 หมู่ 7 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร

มีคณะกรรมการกลุม่ จานวน 5 คน ดังรายชื่อต่อไปนี ้ 1.

นางพูลศรี จันดี ประธาน

2.

นางสาววันลี ชื่นเกาะสมุย รองประธาน/ตรวจสอบและประเมินผล

3.

นางสมนึก ใจแผ้ ว เลขานุการ

4.

นางปั ทมาพร แสงสง เหรัญญิก

5.

นางวรรณา อยูส่ ขุ การตลาด

6.

6. นางขวัญตา นิ่มนวล ที่ปรึ กษา

15


สาเหตุการรวมกลุ่ม 1. ในชุมชนมีการปลูกผักกินกันในครัวเรื อน และมีเหลือพอที่จะออกขายสูต ่ ลาดอยูบ่ ้ างแต่ปริ มาณ ไม่เพียงพอต่อความต้ องการของตลาด 2. ต้ องการผลิตผลผลิตที่ปลอดสารพิษเพื่อคุณภาพของผลผลิต เป็ นอาหารที่ปลอดภัย 3. ต้ องการผลิตผักที่เป็ นความต้ องการของตลาดผู้บริ โภคที่รักสุขภาพ 4.

เพื่อเป็ นการปรับวิธีคิดเรื่ องการเกษตรแบบเชิงเดีย่ วเคมี ไปสูเ่ กษตรอินทรี ย์ ตามแนวทาง

เศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั 5.

ชุมชนขาดความเข้ าใจในการผลิตแบบเกษตรอินทรี ย์

สามารถแลกเปลีย่ นความรู้ในการปฏิบตั ิด้วยการพูดคุย

การรวมกลุม่ ทาให้ สมาชิกในชุมชน เมื่อมีการพบปะ

หรื อการประชุม

วัตถุประสงค์ การรวมกลุ่ม 1.

ปรับเปลีย่ นวิธีคดิ ในการทาการเกษตรแบบเชิงเดี่ยวเคมีมาเป็ นเกษตรอินทรี ย์ผสมผสานตาม

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. ลดต้ นทุนในการผลิต โดยการผลิตปุ๋ยอินทรี ย์ใช้ เอง 3. ผลิตผักปลอดสารพิษเพื่อบริ โภคเองในครัวเรื อน แจกจ่าย แลก ในกลุม ่ สมาชิก และแบ่งขาย 4. สมาชิกได้ ทากิจกรรมร่ วมกัน ได้ แลกเปลีย่ นเรี ยนรู้

ช่วยเหลือซึง่ กันและกัน สร้ างความสามัคคีใน

ชุมชน 5. สร้ างอานาจต่อรองด้ านการตลาด 6. สร้ างความเข้ มแข็งให้ กบ ั กลุม่ และชุมชน

วิสัยทัศน์ ของกลุ่ม : สร้ างความยัง่ ยืน สูช่ ีวิต สังคม สิง่ แวดล้ อม ผูกสัมพันธ์ดิน น ้า และชุมชน หลักการปฏิบัตงิ านของคณะกรรมการและข้ อตกลงร่ วมกัน : ยึดหลักคุณธรรม ซื่อสัตย์ ไว้ วางใจ สามัคคี ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมแก้ ปัญหา และร่วมกันตามกฎที่ตงไว้ ั ้ กิจกรรมของกลุม่ และ ข้ อตกลงร่ วมกัน 1. ทุกคนต้ องเริ่ มที่ตนเองก่อน คือต้ องปลูกกินเองก่อน 2. ต่างคนต่างปลูกในที่ดินของตนเอง 3. ผู้ใดสามารถปลูกร่วมกันได้ ก็ให้ ปลูกร่ วมกัน แล้ วแต่ตกลงกันเอง 4. การขายผลผลิตขายร่วมกัน 5. การหาสถานทีข่ าย ในชุมชนและนอกชุมชน 6. มีการแลกเปลีย่ นผลผลิตกันเองในกลุม ่ และเพื่อการบริ โภคในครัวเรื อน 7. จัดเมล็ดพันธุ์ แลกเปลีย่ นเมล็ดพันธุ์ผกั พื ้นบ้ าน 8. ลด ละ เลิก การใช้ สารเคมี และปุ๋ยเคมี 9. การผลิตปุ๋ยอินทรี ย์น ้า ฮอร์ โมน สารไล่แมลง และปุ๋ยหมัก ร่ วมกันทา แบ่งกัน 10. มีการทาบัญชีครัวเรื อน


11. มีการทาบัญชีกิจการ บันทึกการลงแปลง ประเมินผลผลิตล่วงหน้ า 12. หางบประมาณสนับสนุนและส่งเสริ มจากหน่วยงานต่างๆ เช่น อบต. พัฒนาสังคม 13. การจัดการผลผลิตที่ได้ 13.1 รวมกลุม ่ กันขาย 13.2

วางแผนการผลิต ช่วงเทศกาล ผลิตให้ หลากหลาย ต้ องมีการปลูกผักพื ้นบ้ าน จัดตารางการ

ปลูก 13.3

การจัดปริมาณการกาหนดราคา ชัง่ เป็ นกิโลเป็ นหลัก แบ่งกาใหม่ในการขายออกสูต่ ลาด

13.4 การทาบรรจุ ใช้ ความคิดสร้ างสรรค์ 13.5 การออมผักวันละกา หรื อการออมเงิน

การประชุมตังกลุ ้ ม่ ปลูกผักปลอกสารพิษชีวิตยัง่ ยืน วันที่ 29 มกราคม 2552 การทากิจกรรมครัง้ ที่ 1 การประชุมครัง้ ที่ 1 กลุม่ ปลูกผักปลอดสารพิษ บ้ านเขาหลัก หมูท่ ี่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร วันที่ 29 มกราคม 2552 ณ.ที่ทาการผู้ใหญ่บ้าน หมูท่ ี่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร รายนามผู้เข้ าร่วมประชุม 1. นางสาววันลี ชื่นเกาะสมุย 125 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 2. นางพูลศรี จันดี 187 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 3. นางกุศล ใจแผ้ ว 131/2 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 4. นางสมนึก ใจแผ้ ว 187/3 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 5. นางปั ทมพร แสงสง 93/1 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 6. นางกันหา ศรี ภา 84 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร


7. นางสนธยา นิ่มนวล 102/2 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 8. นางสุนยั โคตรหลักคา 176 /2 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 9. นางอรอนงค์ แย้ มนาขา 201 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 10. นางลาดวน พันธุ์บป ุ ผา 127 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 11. นางฉวี นิ่มนวล 102 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 12. นางสมร บุษดี 172 หมู่ 6 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 13. นางวรรณา อยูส ่ ขุ 201/2 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 14. นางจันที กิ่งวงษา 126/1 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 15. นางธัญจิรา ชัยราช 208 หมู่ 7 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 16. นางขวัญตา นิ่มนวล

17. นายสุริยนั สุริฉาย เปิ ดการประชุมเวลา 10.00 น. โดย นางขวัญตา นิ่มนวล พัฒนากร อาเภอสวี การนาเข้ าสูเ่ รื่ อง การรวมกลุม่ เพือ่ ปลูกผัก กล่าวนาเข้ าสูเ่ รื่ องโดยการตังค ้ าถามกับผู้เข้ าร่วมประชุม ถึงจุดหมายในการเข้ าร่วมประชุม ความต้ องการของเข้ าร่วมกลุม่ ในการปลูกผักเพื่อให้ เพียงพอต่อ การนาสูต่ ลาด หรื อการเข้ ารับซื ้อของพ่อค้ า 1. สอบถามข้ อมูลเบื ้องต้ น ในการปลูกผักของผู้เข้ าร่ วมประชุม 1.1 ปริ มาณการปลูก และวิธีการ 1.2 มีการปลูกกินในครัวเรื อนอยูแ่ ล้ วทุกครัวเรื อน 1.3 มีการขายออกสูต่ ลาดบ้ างเล็กน้ อยเป็ นบางราย มีการใช้ ป๋ ยเคมี ุ และสารเคมีบางส่วน 1.4

มีการปลูกแบบระบบเกษตรอินทรี ย์บางส่วน มีการใช้ สารเคมีช่วงการลงเมล็ดพันธุ์ และช่วงที่

ศัตรูพืชระบาดมากๆ 1.5 ใช้ น ้าส้ มควันไม้ ในบางราย 2. ปั ญหาและอุปสรรคที่ต้องใช้ สารเคมี 2.1 ศัตรู พืชระบาดหนัก สารชีวภาพเอาไม่อยู่ 2.2 การปลูกแบบใช้ สารเคมีได้ ผลผลิตเต็มที่ 2.3 ขาดความรู้ ในการใช้ สารชีวภาพ 3. การปรับวิธีคิด โดยการเปรี ยบเทียบการใช้ สารเคมีกบ ั สารชีวภาพ พอสรุปได้ ดงั นี ้ 3.1

ใช้ สารเคมีต้นทุนสูงถึงแม้ ผลผลิตได้ มาก 3.2 ใช้ สารชีวภาพต้ นทุนต่า แต่ผลผลิตอาจน้ อยกว่า

3.3 ปุ๋ยอินทรี ย์ได้ มากกว่าด้ านสุขภาพ (ความปลอดภัย) 3.4 ลดการใช้ สารเคมี หนี ้สินลดลง 3.5 ปลูกด้ วยสารชีวภาพกินเองได้ ปลอดภัยต่อผู้บริ โภค


สรุ ปการปรับวิธีคิด

โดยการยกตัวอย่างระบบทุนนิยมทีใ่ ห้ เราปรับเปลีย่ นวิธีการทาการเกษตร

แบบดังเดิ ้ มเป็ นเกษตรเชิงเดี่ยวและการใช้ สารเคมี ปุ๋ยเคมี ในระบบการทาการเกษตร ทาให้ คนไทย ได้ ประสบปั ญหาต่างๆ เช่นปั ญหาด้ านสุขภาพ ปั ญหาด้ านหนี ้สินที่พอกพูน ในวิถีการเกษตรของคน ไทยในปั จจุบนั และให้ เห็นถึงความล่มสลายของเจ้ าของแนวคิดแบบทุนนิยมต่างๆ เช่น ประเทศ อเมริ กา ต้ องประสบกับปั ญหาระบบเศรษฐกิจล้ ม และในประเทศทุนนิยมต่างๆ แต่ประเทศไทย ยังคงอยูไ่ ด้ เพราะส่วนหนึง่ ของประเทศไทย ประชาชนยังยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวทาง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั คนไทยส่วนหนึง่ จึงอยูไ่ ด้ การเริ่ มต้ นการปลูกผักแบบอินทรี ย์ให้ เริ่ มที่ตวั เองก่อน โดยการปลูกไว้ บริ โภคเองในครัวเรื อน แบ่งปั น แลกให้ กบั เพื่อนบ้ าน ส่วนที่เหลือ แล้ วจึงนาออกขายสูต่ ลาดภายใน และภายนอก พวกเราจึงจะยืนหยัดอยูไ่ ด้ 4.

การตังชื ้ ่อกลุม่ มติที่ประชุมให้ ชื่อกลุม่ ว่า “กลุม่ ปลูกปลูกผักปลอดสารพิษ ชีวิตยัง่ ยืน” ความ

ยัง่ ยืนในที่นี ้ หมายความว่า 4.1

ความยัง่ ยืนของชีวติ เนื่องจากกินผักที่ปลอดสารพิษ ที่ปลูกกินเอง ชีวิตก็ลดความเสีย่ งด้ าน

สุขภาพลงได้ 4.2

สิง่ แวดล้ อมยัง่ ยืน ดินและน ้าสัมพันธ์กนั การผลิตที่ปราศจากสารเคมี ก็ไม่ทาลายสิง่ แวดล้ อม

4.3

กลุม่ ยัง่ ยืน เพราะการรวมกลุม่ ต้ องมีจดุ มุง่ หมายอันเดียวกัน เป็ นหนึง่ เดียว นัน่ คือความ

สามัคคี 5. การสร้ างความเข้ าใจในการรวมกลุม ่ การล่มสลายของกลุม่ พอสรุปสาเหตุของการล่มสลายของ

กลุม่ ได้ วา่ ความชัดเจนของเป้าหมายของกลุม่ ความชัดเจนด้ านการตลาด กระบวนการของภาครัฐ จากัดอิสระการปฏิบตั งิ านของชาวบ้ าน กฎเกณฑ์ในกระบวนการผลิต กระบวนการด้ านภาษี อากร ของผลิตภัณฑ์ 6.

ประโยชน์ของการรวมกลุม่ มีอานาจต่อรองกับพ่อค้ าคนกลาง เกิดความสามัคคีในชุมชน เกิด

การแลกเปลีย่ นเรี ยนรู้ซงึ่ กันและกัน มีการช่วยเหลือซึง่ กันและกันในกลุม่ สมาชิก 7. การตังคณะกรรมการกลุ ้ ม่

หลักการตังคณะกรรมการและข้ ้ อตกลงในการทางานร่วมกัน ต้ องยึด

หลักคุณธรรม ซื่อสัตย์ ไว้ วางใจในกลุม่ สมาชิกและคณะกรรมการเอง สามัคคี ร่วมคิด ร่วมทา ร่วม แก้ ปัญหา ร่วมปฏิบตั ติ ามกฎที่ตงไว้ ั้ 8. รายชื่อคณะกรรมการ 8.1 นางพูลศรี จันดี ประธาน 8.2 นางสาววันลี ชื่นเกาะสมุย รองประธาน/ตรวจสอบและประเมินผล 8.3 นางสมนึก ใจแผ้ ว เลขานุการ 8.4 นางปั ทมาพร แสงสง เหรัญญิก 8.5 นางวรรณา อยูส ่ ขุ การตลาด


8.6 นางขวัญตา นิ่มนวล ที่ปรึ กษา 9. กิจกรรมของกลุม ่ และข้ อตกลงร่วมกัน 9.1 ทุกคนต้ องเริ่ มทีต ่ นเองก่อน คือต้ องปลูกกินเองก่อน 9.2 ต่างคนต่างปลูกในที่ดินของตนเอง 9.3 ผู้ใดสามารถปลูกร่วมกันได้ ก็ให้ ปลูกร่ วมกัน แล้ วแต่ตกลงกันเอง 9.4 การขายผลผลิตขายร่วมกัน 9.5 การหาสถานที่ขาย ในชุมชนและนอกชุมชน 9.6 มีการแลกเปลีย่ นผลผลิตกันเองในกลุม ่ และเพื่อการบริ โภคในครัวเรื อน 9.7 จัดเมล็ดพันธุ์ แลกเปลีย่ นเมล็ดพันธุ์ผกั พื ้นบ้ าน 9.8 ลด ละ เลิก การใช้ สารเคมี และปุ๋ยเคมี 9.9 การผลิตปุ๋ยอินทรี ย์น ้า ฮอร์ โมน สารไล่แมลง และปุ๋ยหมัก ร่ วมกันทา แบ่งกัน 9.10 มีการทาบัญชีครัวเรื อน 9.11 มีการทาบัญชีกิจการ บันทึกการลงแปลง ประเมินผลผลิตล่วงหน้ า 9.12 หางบประมาณสนับสนุนและส่งเสริ มจากหน่วยงานต่างๆ เช่น อบต. พัฒนาสังคม 10. การจัดการผลผลิตที่ได้ 10.1 รวมกลุม ่ กันขาย 10.2

วางแผนการผลิต ช่วงเทศกาล ผลิตให้ หลากหลาย ต้ องมีการปลูกผักพื ้นบ้ าน จัดตารางการ

ปลูก 10.3

การจัดปริ มาณการกาหนดราคา ชัง่ เป็ นกิโลเป็ นหลัก แบ่งกาใหม่ในการขายออกสูต่ ลาด

10.4 การทาบรรจุ ใช้ ความคิดสร้ างสรรค์ 10.5

การออมผักวันละกา หรื อการออมเงิน สรุปการประชุมทุกคนมีมติร่วมกัน เริ่มปลูกผักบริ โภค

เองในครัวเรื อน จากนัน้ แจก แลก และขายในชุมชนก่อน ออกสูต่ ลาดภายนอก เพื่อนาไปสูก่ าร เริ่ มต้ นการปลูกผักโดยระบบชีวภาพที่มีประสิทธิภาพ และความอยูด่ ี กินดีของครอบครัวและชุมชน ปิ ดการประชุมเวลา 12.00 น.


กิจกรรมครัง้ ที่ 2 ประชุมกลุม่ ผักปลอดชีวติ ยัง่ ยืนครัง้ ที่ 2 วันที่ 21 มีนาคม 2552 ณ. ศาลาหมูบ่ ้ านเขาหลัก หมูท่ ี่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร ผู้เข้ าร่วมประชุม 1. นางขวัญตา นิ่มนวล พัฒนากรอาเภอสวี

2. นางสาววันลี ชื่นเกาะสมุย

3. นางลาดวน พันธุ์บป ุ ผา

4. นางพูลศรี จันดี

5. นางจันที กิ่งวงษา

6. นางสนธยา นิ่มนวล

7. นางอรอนงค์ แย้ มนาขา

8. นางสุนยั โครตหลักคา

9. นางประยูร พรหมสิงห์

10. นางกุศล ใจแผ้ ว

11. นางกัญหา ศรี ภา

12. นางปั ทมาพร แสงสง

13. นางฉวี นิ่มนวล

14. นางวรรณา สืบสายสุวรรณ

15. นางปรี ยา รัตนสาม

วาระที่ 1 แจ้ งให้ ท่ ปี ระชุมทราบ โดย นางสาววันลี ชื่นเกาะสมุย แจ้ งให้ ที่ประชุมทราบ เรื่ องการ เขียนโครงการขอสนับสนุนจาก องค์การบริ หารส่วนตาบลวิสยั ได้ รับงบประมาณสนับสนุนจาก องค์การบริ หารส่วนตาบลวิสยั เป็ นที่เรี ยบร้ อยแล้ ว เป็ นจานวนเงิน

12,740

บาท ตามทีข่ ออนุมตั ิ

ซึง่ ประธานกลุม่ ได้ เป็ นผู้รับเช็ค และนาเช็คเงินสดไปขึ ้นเงินและเบิกเป็ นที่เรี ยบร้ อยแล้ ว วาระที่

2

วาระเพือ่ พิจารณา การจัดการงบประมาณที่ได้ รับการสนับสนุน 2.1

การจัดซื ้อวัสดุอปุ กรณ์ -จัดซื ้ออุปกรณ์ในการทาน ้าหมักชีวภาพ ถัง

200

ลิตร จานวน 4 ลูก

(นางพูลศรี จันดี เป็ นผู้รับผิดชอบ) -ท่อ PVC 3 นิ ้ว (นางพูลศรี จันดี เป็ นผู้รับผิดชอบ) -กากน ้าตาล (นางพูลศรี 200

จันดี เป็ นผู้รับผิดชอบ) -ปลาเป็ ด (นางปรี ยา รัตนสาม เป็ นผู้รับผิดชอบ) -ขี ้วัว จานวน

ถุง (นางพูลศรี จันดี เป็ นผู้รับผิดชอบ) -วัสดุอื่นๆ ในการทาปุ๋ยหมัก และน ้าหมักชีวภาพ ให้

จัดหาจากในท้ องถิ่น เช่น แกลบกาแฟ เปลือกหมาก และอื่นๆ ให้ สมาชิกแต่ละคนจัดหามา -การจัด แสดงป้ายโครงการให้ ชดั เจน มติที่ประชุมเห็นชอบ 2.2 สถานที่ในการทา มติที่ประชุมตกลงจัดทาที่บ้านนางพูลศรี จันดี 2.3 การรับสมาชิกเพิม ่ 1 ท่าน คือนางปรี ยา รัตนสาม มติที่ประชุมเห็นชอบรับเป็ นสมาชิก วาระที่ 3

วาระอื่นๆ 3.1 นางขวัญตา นิ่มนวล แจกเมล็ดพันธุ์ผกั คนละ 1 ซอง 3.2

ข้ อคิดในการจัดตังกลุ ้ ม่ โดยนางขวัญตา นิ่มนวล ที่ปรึกษาโครงการได้ ให้ ข้อคิดกับกลุม่ ดังนี ้ -

การไว้ ใจในการทางานของคณะกรรมการ และสมาชิกกลุม่ ด้ วยกัน -การไม่โยนภาระให้ กบั ผู้ใดผู้ หนึง่ ในการทางานแต่เพียงผู้เดียว -การจัดซื ้อวัสดุอปุ กรณ์ต้องมีการยืดหยุน่ ได้ -การปลูกผักไม่ควร ปลูกผักชนิดเดียวกัน

ปิ ดการประชุมเวลา 14.30 น.


กิจกรรมครัง้ ที่ 3 การทาปุ๋ยหมักชีวภาพ วันที่ 16 เมษายน 2552 ณ.บ้ านนางพูลศรี จันดี เลขที่ 187 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร ผู้เข้ าร่วมกิจกรรมการทาปุ๋ยหมัก 1. นางปั ทมาพร แสงสง 2. นางจันที กิ่งวงษา 3. นางสนธยา นิม่ นวล 4. นางลาดวน พันธุ์บปุ ผา 5. นางสมนึก ใจแผ้ ว 6. นางพูลศรี จันดี 7. นางกัญหา ศรี ภา 8. นางฉวี นิ่มนวล 9. นางสมร บุษดี 10. นางสุนยั โครตหลักคา วัตถุดิบที่ใช้ ขี ้วัว 180 กระสอบ วัสดุ เหลือใช้ จากผลผลิตทางการเกษตร เช่น แกลบกาแฟ เปลือกหมาก สมาชิก แต่ละรายนามารวมกัน ที่บ้านนางพูลศรี จันดี จานวน จานวน 195 กระสอบ ปุ๋ยยูเรี ยจานวน 20 กิโลกรัม น ้าหมักชีวภาพ และสาร พด.2 วิธีทา นาขี ้วัวและแกลบกาแฟเทกองบนพื ้นและคลุกให้ เข้ ากันกองบนพื ้นโดยมีการ วางท่อ

PVC

ที่เจาะรูใส่ในกองปุ๋ยไว้ เป็ นระยะ เพื่อเป็ นการระบายอากาศ โดยไม่ต้องกลับกองปุ๋ย

นาน ้าหมักและน ้าผสมสาร พด.2 ผสมน ้ารดให้ ช่มุ กองปุ๋ย คลุมด้ วยวัสดุเพื่อป้องกันฝน ทิ ้งไว้

1

เดือน กิจกรรมครัง้ ที่ 4 กิจกรรมการทาน ้าหมักชีวภาพและสารไล่แมลง วันที่ 29-30 เมษายน 2552 ณ.บ้ านนางพูลศรี จันดี เลขที่ 187 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร ผู้เข้ าร่วมกิจกรรม 1. นางสาววันลี ชื่นเกาะสมุย 125 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 2. นางฉวี นิ่มนวล 102 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 3. นางสุนยั โคตรหลักคา 176 /2 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้

อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 4. นางประยูร พรหมสิงห์ 84/3 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้

อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 5. นางสนธยา นิ่มนวล 102/2 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 6. นางกันหา ศรี ภา 84 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้

อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 7. นางสมร บุษดี 172 หมู่ 6

ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 8. นางธัญจิรา ชัยราช 208 หมู่ 7 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 9. นางพูลศรี จันดี 187 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 10. นางปั ทมพร แสงสง 93/1 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 11. นางสมนึก ใจแผ้ ว 187/3 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร 12. นางกุศล ใจแผ้ ว 131/2 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร


กิจกรรมที่ปฏิบตั ิ 1.ทาน ้าหมักชีวภาพ ส่วนผสม ปลาเป็ ด 130 กิโลกรัม กากน ้าตาล 40 กิโลกรัม สาร พด. 2 จานวน 2 ซอง

วิธีทา ใช้ สว่ นผสมทังหมดแบ่ ้ งเป็ น 2 ส่วน หมักในถัง 200 ลิตร จานวน 2 ถัง โดยใช้ อตั ราส่วน 3 : 1 : 1 : 1 (ปลาเป็ ด : การน ้าตาล : น ้า : สาร พด.2 หมักทิ ้งไว้

แต่น ้าใส่ภาชนะ แจกจ่ายให้ สมาชิก

2.

เป็ นเวลา 15 – 30 วัน กรองเอา

ทาน ้าหมักสมุนไพรไล่แมลง ส่วนผสม ตะไคร้ หอม ข่า

สะเดาเทียม บอระเพ็ด ขมิ ้น กากน ้าตาล สารพด. วิธีทา นาวัตถุดิบที่นามาสับเป็ นชิ ้นเล็ก รวมนา หนักทังหมด ้ 60 กิโลกรัม ผสมกับกากน ้าตาลจานวน 20 กิโลกรัม เติมน ้าที่ผสมสาร พด.2 จานวน 2

ซอง พอท่วมให้ วตั ถุดิบทีเ่ ตรี ยมไว้ หมักทิ ้งไว้ เป็ นเวลา

15 – 30

วัน กรองเอาแต่น ้า แจกจ่าย

ให้ กบั สมาชิก กิจกรรมครัง้ ที่ 5 ตักปุ๋ยหมักใส่กระสอบ และประชุมกลุม่ ผักปลอดสารพิษชีวิตยัง่ ยืน ครัง้ ที่ 3 วันที่ 18 พฤษภาคม 2552 ณ.บ้ านนางพูลศรี จันดี เลขที่ 187 หมู่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร ผู้เข้ าร่วมกิจกรรม 1. นางสาววันลี ชื่นเกาะสมุย 2. นางปั ทมาพร แสงสง 3. นางสนธยา นิ่มนวล 4. นางสมนึก ใจแผ้ ว 5. นางกุศล ใจแผ้ ว 6. นางสุนยั โครตหลักคา 7. นางกัญหา ศรี ภา 8. นางพูลศรี จันดี 9. นางปรียา รัตนสาม 10. นางสมร บุษดี 11. นางประยูร พรหมสิงห์ 12. นางลาดวน พันธุ์ บุบผา วาระที่ 1 เรื่ องแจ้ งให้ ที่ประชุมทราบ เรื่ องการจัดการผลผลิตน ้าหมักชีวภาพ และปุ๋ยหมัก สามารถ นาไปใช้ ได้ แล้ วให้ สมาชิกกลุม่ จัดการแบ่งกันไปใช้ ที่ประชุมรับทราบ วาระที่ 2 เรื่ องเพื่อพิจารณา 2.1

การขายปุ๋ยให้ สมาชิกโดยคิดจากราคาทุนเดิม จากการซื ้อวัสดุทเี่ ป็ นวัตถุดิบ แต่ไม่คิดทุน ค่าอุปกรณ์ เพื่อนาเงินมาเป็ นเป็ นทุนในการทาครัง้ ต่อไป -ปุ๋ยหมักมีต้นทุนค่าวัตถุดิบใน การทาเป็ นเงิน

6,580

บาท มติที่ประชุมตกกันว่าจ่ายคนละ

560

บาท จะได้ เงินคืนมา

เป็ นเงิน 7,280 บาท จากสมาชิกการทาปุ๋ยหมักจานวน 13 คน 2.2

น ้าหมักชีวภาพและสารไล่แมลง คิดจากราคาต้ นทุน ค่าวัตถุดิบในการผลิตเป็ นเงินจานวน 1,640 บาท มติที่ประชุมให้ คืนเงินให้ กบ ั กลุม่ คนละ 120 บาท จานวน สมาชิก 15 คน ซึง่

จะได้ เงินคืนเป็ นจานวน 1,800 บาท 2.3

กาหนดการจ่ายเงินคืนก็ตอ่ เมื่อมีการจัดทาปุ๋ยหมักชุดใหม่ขึ ้นมา

มติที่ประชุมเห็นชอบ

จากการตักปุ๋ยใส่กระสอบ ได้ ผลผลิตปุ๋ยจานวน 317 กระสอบ น ้าหนักประมาณ 7,000 กิโลกรัม แบ่งให้ สมาชิกคนละเท่าๆ กัน


กิจกรรมครัง้ ที่ 6 การกรองน ้า หมักชีวภาพและสารไล่แมลง วันที่ 7 มิถนุ ายน 2552 ผู้เข้ าร่วมกิจกรรม 1. นางพูลศรี จันดี 2. นางโกศล ใจแผ้ ว 3. นางสมนึก ใจแผ้ ว 4. นางปั ทมาพร แสงสง 5. นางกัญหา ศรี ภา 6. นางสมร บุษดี 7. นางจันที กิ่งวงษา 8. นางประยูร พรหมสิงห์ 9. นางวรรณา สืบสายสุวรรณ 10. นางปรี ยา รัตนสาม 11. นางสุนยั โคตรหลักคา 12. นางธัญจิรา ชัยราช ได้ ผลผลิตน ้าปลาหมัก คนละ 2 แกลอน และสารไล่แมลง คนละ 1 แกลอน กิจกรรมที่ครั้งที่ 7 การประชุมกลุ่มผักปลอดสารพิษชีวติ ยัง่ ยืน ครั้งที่ 4 ณ. บ้านนางพูลศรี จันดี วันที่ 12 กรกฎาคม 2552 ผูเ้ ข้าร่ วมประชุม 1. นางสาววันลี ชื่นเกาะสมุย 2. นางกุศล ใจแผ้ว 3. นางฉวี นิ่มนวล 4. นางลาดวน พันธุ์ บุปผา 5. นางพูลศรี จันดี 6. นางสุ นยั โครตหลักคา 7. นางประยูร พรมสิ งห์ 8. นางปัทมาพร แสงสง 9. นาย เจิมศักดิ์ ชื่นเกาะสมุย 31 ม.9 ต.วิสัยใต้ อ.สวี จ.ชุมพร 10. นายชาตรี แจ้จสั ตุรัส 127/5 ม.9 ต.วิสัยใต้ อ.สวี จ. ชุมพร 11. นายสี ชน แจ้จสั ตุรัส 127/3 ม.9 ต.วิสัยใต้ อ.สวี จ.ชุมพร 12. นางยุพา นวลศรี 187/1 ม.9 ต.วิสัยใต้ อ.สวี จ.ชุมพร 13. นางสาวปนัดดา โกเฮง 176 ม.9 ต.วิสัยใต้ อ.สวี จ.ชุมพร 14. นางคาเพียร บุญเติม 87/1 ม.9 ต.วิสัยใต้ อ.สวี จ.ชุมพร เปิ ดการประชุมเวลา 10.00 น. วาระที่ 1 วาระแจ้งให้ทราบ โดยนางพูลศรี จันดี ประธานกลุ่มการประชุมกลุ่มผักปลอดสารพิษชีวติ ยัง่ ยืน การดาเนินกิจกรรมการผลิตน้ าหมักชีวภาพ และ สารไล่แมลง และปุ๋ ยหมักชีวภาพ จากเศษวัสดุเหลือใช้ในชุมชน ชุดแรกได้เสร็ จสิ้ นแล้ว 1.1 สารไล่แมลงจานวน 1 ถัง 200 ลิตร เมื่อกรองแยกกากและน้ าออก ได้สารไล่แมลงคนละ 1 แกลอน 1.2 น้ าหมักชีวภาพที่ทาจากปลา จานวน 2 ถัง 200 ลิตร ได้คนละ 2 แกลอน รวมค่าใช้จ่ายในการผลิตน้ าหมัก ชีวภาพและสารไล่แมลงเป็ นเงิน 1,640 บาท 1.3 ปุ๋ ยหมักชีวภาพได้น้ าหนักโดยประมาณ 7,000 กิโลกรัม แบ่งให้สมาชิก รายละ 24 กระสอบ ที่ประชุม รับทราบ วาระที่ 2 วาระแจ้งเพื่อทราบและพิจารณา 1.1 การออมเงินของสมาชิกกลุ่ม การประชุมกลุ่มผักปลอด สารพิษชีวติ ยัง่ ยืน จะเริ่ มการออมตั้งแต่เดือน 1.2 การรับสมาชิกเพิ่มเติม มีท้ งั หมด 6 ราย ตามรายชื่อข้างต้น มติที่ประชุมรับทราบและเห็นชอบ วาระที่ 3 วาระอื่นๆ เพิ่มเติม จากการทางานในรอบแรกเห็นปัญหาในการทางานร่ วมกันคือสมาชิกบางรายไม่มาช่วย ทางานแต่มีการแบ่งผลประโยชน์ให้เท่าผูอ้ ื่น ที่ประชุมจึงต้องหามติร่วมกันในการแก้ไขปัญหาในการทางาน เพื่อให้การทางานไปด้วยความราบรื่ นโดยคนที่ทางานจะได้ไม่เบื่อหน่าย และผูท้ ี่ไม่มาช่วยผูอ้ ื่นทางานควร จะมีบทลงโทษเพื่อเป็ นการไม่ให้เอาเปรี ยบผูอ้ ื่น มติที่ประชุมว่าหากผูใ้ ดไม่มาช่วยในการทางานให้หกั ปุ๋ ย ออก 3 กระสอบต่อ 1 ครั้ง


กิจกรรมครัง้ ที่ 8 การประชุมการประชุมกลุม่ ผักปลอดสารพิษชีวิตยัง่ ยืน ครัง้ ที่ 5 วันที่ 11 พฤศจิกายน 2552 รายชื่อผู้เข้ าร่วมประชุม 1. นางกุศล ใจแผ้ ว 2. นางฉวี นิ่มนวล 3. นางลาดวล พันธุ์บปุ ผา 4. นาง พูลศรี จันดี 1. นางสุนยั โครตหลักคา 2. นางประยูร พรมสิงห์ 3. นางปั ทมา แสงสง 4. นางสมนึก ใจแผ้ ว 5. นายเจิมศักดิ์ ชื่นเกาะสมุย 6. นายศรีชล แจ้ จสั ตุรัส 7. นางยุพา นวลศรี 8. นางสาว ปนัดดา โกเฮง 9. นางคาเพียร บุญเติม 10. นางสาววันลี ชื่นเกาะสมุย เปิ ดการประชุมเวลา 10.00 น. วารที่ 1 วาระแจ้ งให้ ที่ประชุมทราบ โดยนางพูลศรี จันดี ประธานกลุม่ ปลูกผักปลอดสารพิษชีวติ ยัง่ ยืน

1.1

แจ้ งจานวนสมาชิกทีส่ มัครเพิ่มเติม ปั จจุบนั ทังหมด ้ มี

22

คน จากเดิม

15

คน

1.2

สมาชิกที่สมัครเพิ่มเติมมีความประสงค์ที่จะร่วมทาปุ๋ยหมักโดยยินดีที่จะลงหุ้นในการซื ้อวัตถุดิบ ที่ ประชุมรับทราบ วาระที่ 2 วาระเพื่อพิจารณาและขอมติในที่ประชุม 1.1

การลงหุ้นในการทาปุ๋ยรอบต่อไป เป็ นเงินหุ้นละ 600 บาท และให้ เศษวัสดุมารวมกัน นาหาก

ผู้ใดไม่ลงหุ้นถือว่าไม่ได้ ลงหุ้นในการผลิตครัง้ นี ้ ได้ เงินหุ้นเป็ นจานวนเงิน 8,400 บาท 1.2

การสัง่ ซื ้อขี ้วัว สัง่ จากรถทีว่ ิ่งผลไม้ ขากลับก็ให้ ซื ้อขี ้วัวมาครัง้ ละ

1

คันรถ ประมาณ

200

กระสอบ ในราคากระสอบละ 32 บาท 1.3

การผลิตครัง้ ต่อไปเริ่ มหลังจากการสีกาแฟแล้ ว เนื่องจากจะได้ วสั ดุในการทาปุ๋ย ที่ประชุมมีมติ

เห็นชอบ ปิ ดการประชุมเวลา 12.00 น. กิจกรรมครัง้ ที่ 9 การประชุมและรับมอบเงินสนับสนุนจากสานักงานพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ หน่วยที่ 11 จังหวัดชุมพร วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2553 ณ. ที่ทาการอาเภอสวี จังหวัดชุมพร ผู้เข้ าร่วมประชุมและรับมอบเงิน 1. นางพูลศรี จันดี 2. นางกุศล ใจแผ้ ว 3. นางสมนึก ใจแผ้ ว 4. นางปั ทมาพร แสงสง 5. นางกัญหา ศรี ภา 6. นางสมร บุษดี 7. นางจันที กิ่งวงษา 8. นางประยูร พรหมสิงห์ 9. นางวรรณา สืบสายสุวรรณ 10. นางปรี ยา รัตนสาม 11. นางสุนยั โครตหลักคา 12. นางธัญจิรา ชัยราช 13. นางลาดวน พันธุ์บปุ ผา 14. นางสนธยา นิ่มนวล 15. นางฉวี นิ่มนวล 16. นางสาววันลี ชื่นเกาะสมุย นางสุขลักขณา ชิ ้นศุภกร ผู้อานวยการสานักงานพัฒนาสังคมและความ มัน่ คงของมนุษย์ หน่วยที่ 11 จังหวัดชุมพร มอบเงินสนับสนุนกลุม่ ปลูกผักปลอดสารพิษชีวติ ยัง่ ยืน เป็ นเงิน 32,000 บาท โดยจ่ายเป็ นรายบุคคล คนละ 2,000 บาท จานวน 16 คน ดังรายชื่อข้ างต้ น ซึง่ ได้ ยื่นขอสนับสนุนงบประมาณไปยังสานักงาน ตังแต่ ้ เดือน สิงหาคม 2552 โดยคุณขวัญตา นิ่ม นวล ดาเนินการประสานงาน และสนับสนุนกลุม่


กิจกรรมครัง้ ที่ 10 การประชุมการประชุมกลุม่ ผักปลอดสารพิษชีวิตยัง่ ยืน ครัง้ ที่ 6 วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2553 ณ ศาลาหมูบ่ ้ าน หมู่ที่ 9 ต.วิสยั ใต้ อ.สวี จ.ชุมพร ผู้เข้ าร่วมประชุม 1. นางสมนึก ใจแผ้ 2. นางธัญจิรา ไชยราช 3. นางปั ทมาพร แสงสง 4. นางกุศล ใจแผ้ ว 5. นางสุนยั โครตหลักคา 6. นางประยูร พรหมสิงห์ 7. นางพูลศรี จันดี 8. นางจันที กิ่งวงษา 9.

นางกัญหา ศรี ภา

10.

นางสมร บุษดี

11.

นางลาดวน พันธุ์บปุ ผา

12.

นางวรรณา สืบสาย

สุวรรณ 13. นายเจิมศักดิ์ ชื่นเกาะสมุย เปิ ดการประชุมเวลา 10.00 น. วาระที่

1

วาระแจ้ งให้ ที่ประชุมทราบ กลุม่ ปลูกผักปลอดสารพิษได้ รับงบประมาณสนับสนุนเป็ น

จานวน 32,000 บาท ที่ประชุมรับทราบ วาระที่ 2 วาระเพื่อพิจารณา งบประมาณที่ได้ รับการสนับสนุน ส่วนหนึง่ แบ่งมาสมทบทุนในการทา ปุ๋ยหมัก เป็ นจานวน รายละ 600 ส่วนที่เหลือเป็ นทุนในการซื ้อเมล็ดพันธุ์ผกั และบารุงสวนผัก และ ทุกคนที่ได้ รับงบประมาณจะต้ องปลูกผักกินเองทุกบ้ าน และจะต้ องถ่ายรูปไว้ บ้านละ

1

รูป เพื่อส่ง

ให้ สานักงานพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์เป็ นหลักฐานของกลุม่ ว่าเป็ นการทาจริ ง มติที่ ประชุมรับทราบและเห็นชอบ วาระที่ 3 วาระเพื่อพิจาณาและขอมติที่ประชุม การรับสมาชิกเข้ ากลุม่ เพิม่ มี จานวน 10 คน คือ 1. นางสุดใจ ศิริลกั ษณ์ 2. นางสมถวิล แจ้ จสั ตุรัส 3. นายประมวล บุญพรหม 4. นางสาวปนัดดา โก เฮง 5. นายประสาท คณะครุฑ 6. นางเบา พวงบุรี 7. นางขวัญตา นิ่มนวล 8. นางกมล วรรณพงศ 9.

นายกัญหา บุญพรหม 10. นายอรุณ ผิวผา สมาชิกทีเ่ พิ่มร่วมกิจกรรมในการทาปุ๋ยและน ้าหมัก

ชีวภาพเป็ นการเบื ้องต้ น และมีการระดมเงิน ในการทาปุ๋ยในรอบต่อไป รายละ 600 เป็ นเงินทังหมด ้ 16,800 บาท จากสมาชิกทังหมด ้ 28 ราย มติที่ประชุมเห็นชอบ

กิจกรรมครัง้ ที่ 11 กิจกรรมการตักปุ๋ยใส่กระสอบ วันที่ 14-15 มีนาคม 2554 สมาชิกที่ร่วมกิจกรรมมีรายชื่อดังต่อไปนี ้ 1. นางพูลศรี จันดี

2.

นางสมนึก ใจแผ้ ว

3.

นางประยูร

พรหมสิงห์ 4. นางกุศล ใจแผ้ ว 5. นางลาดวน พันธุ์บปุ ผา 6. นายชัยยุทธ แสงสง 7. นางสุนยั โครต หลักคา 8. นางสาวปนัดดา โกเฮง 9. นายเจิมศักดิ์ ชื่นเกาะสมุย 10. นางคาเพียร บุญเติม 11. นาง ยุพา นวลศรี 12. นายสิชล แจ้ จสั ตุรัส 13. นางฉวี นิ่มนวล 14. นางสาววันลี ชื่นเกาะสมุย ตักปุ๋ยได้ จานวน 162 กระสอบ เฉลีย่ น ้าหนักกระสอบละ 34 กิโลกรัม แบ่งเท่าๆ กัน


กิจกรรมครัง้ ที่ 12 การทาปุ๋ยหมักชีวภาพ ณ.บ้ านนางพูลศรี จันดี วันที่ 6 มิถนุ ายน 2554 สมาชิกผู้ร่วมกิจกรรมมีรายชื่อดังต่อไปนี ้ 1. นางพูลศรี จันดี 2. นางกุศล ใจแผ้ ว 3. นางสมนึก ใจ แผ้ ว 4. นางประยูร พรหมสิงห์ 5. นางลาดวน พันธุ์บปุ ผา 6. นายชัยยุทธ แสงสง 7. นางสุนยั โครต หลักคา 8. นางสาววันลี ชื่นเกาะสมุย 9. นางสาวปนัดดา โกเฮง 10. นายเจิมศักดิ์ ชื่นเกาะสมุย 11. นางคาเพียร บุญเติม 12. นางยุพา นวลศรี 13. นายสิชล แจ้ จสั ตุรัส 14. นางฉวี นิ่มนวล

กิจกรรมครัง้ ที่ 13 การประชุมกลุม่ ปลูกผักปลอดสารพิษชีวติ ยัง่ ยืน วันที่ 1กรกฎาคม 2554 ผู้เข้ าร่วมประชุม 1. นางคาเพียร บุญเติม 2. นางพูลศรี จันดี 3. นางสมร ผุสดี 4. นางกัญหา ศรี ภา 5. นางสมถวิล แจ้ จสั ตุรัส 6. นางปนัดดา โกเฮง 7. นางพัทยา เกิดบุญช่วย 8. นางกุศล ใจแผ้ ว 9.

นางฉวี นิ่มนวล 10. นางประยูร พรหมสิงห์ 11. นางจันที กิ่งวงษา 12. นางสุนยั โครตหลักคา 13. นางปั ทมา แสงสง 14. นางสมนึก ใจแผ้ ว เรื่ องที่แจ้ งให้ ทราบและพิจารณา การรวบรวมเงินออมเพื่อปล่อยให้ สมาชิกกู้ยืม ดอกเบี ้ยร้ อยละ 50 สตางค์ตอ่ เดือน ในการกู้ยืมสมาชิกผู้ก้ ตู ้ องฝากเงินมาแล้ ว

6

เดือน ขึ ้นไป ในครัง้ แรกของการกู้ไม่

เกิน 2,000 บาท ต่อหนึง่ เล่ม ให้ มีการส่งในวันที่ 1 มีนาคม ของทุกปี มติที่ประชุมเห็นชอบ กิจกรรมครัง้ ที่ 14 การประชุมกลุม่ ปลูกผักปลอดสารชีวิตยัง่ ยืน ครัง้ ทึ่ 7 ณ ศูนย์รวมการผลิตปุ๋ยหมักบ้ านเขาหลัก วันที่ 20 กรกฎาคม

2554

ผู้เข้ าร่วมประชุมและร่วมกิจกรรม 1. นางยุพา นวลศรี 2. นางปั ทมา แสงสง 3. นางสมนึก ใจแผ้ ว 4. นางกุศล ใจแผ้ ว 5. นางสุดใจ ศิริลกั ษณ์ 6. นางสาวปนัดดา โกเฮง 7. นายณะริ นทร์

รอดคาทุย

8. นางสมร แสงสง 9. นางประยูร พรมสิงห์ 10. นายกัณหา บุญพรม 11. นายประสาท คณะครุฑ 12. นายอรุ ณ ผิวผา 13. นายชาตรี

แจ้ จตั รุ ัส 14. นายประมวล บุญพรม 15. นายสุนยั โคตรหลัก

คา 16. นายเจิมศักดิ์ ชื่นเกาะสมุย 17. นางพูลศรี จันดี 18. นายสาราญ จันดี เปิ ดการประชุมเวลา 12.30 น.

ระเบียบวาระที่

1

เรื่ องแจ้ งให้ ทปี่ ระชุมทราบ

1.1

เรื่ องการจัดทาปุ๋ยหมักและการเปิ ดอบรมการทา

ปุ๋ยหมักโดยการสนับสนุนจากการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอสวี จะมีการจัดขึ ้นในวันที่

24

มีนาคม

2554 1.2

การเปิ ดโรงปุ๋ยหมักและการเตรี ยมการในการเปิ ดโรงเรื อนโดยได้ รับการสนับสนุนจากองค์การ

บริ หารส่วนตาบลในการสนับสนุนค่าอาหารกลางวัน เป็ นจานวน เงิน รับทราบ

5,000

บาท ที่ประชุม


ระเบียบวาระที่ 2 เรื่ องเพื่อพิจารณาและขอมติที่ประชุม 2.1 การตังกลุ ้ ม่ การผลิตปุ๋ยภายใต้ การเริ่ มต้ นจากรวมกลุม่ ปลูกผักปลอดสารชีวติ ยัง่ ยืน แต่กิจกรรม

ที่ทาได้ ประสบความสาเร็ จเป็ นการผลิตปุ๋ยหมักใช้ ในกลุม่ เป็ นส่วนใหญ่

จึงขอมติที่ประชุมในการ

ก่อตังการผลิ ้ ตปุ๋ยหมักบ้ านเขาหลัก ซึง่ เป็ นการต่อยอดจากกลุม่ ปลูกผักปลอดสารชีวติ ยัง่ ยืน มติที่ ประชุมเห็นชอบ 2.2

การแต่งคณะกรรมการกลุม่ ผลิตปุ๋ยหมักบ้ านเขาหลัก หมูท่ ี่ 9 ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จังหวัด

ชุมพร ที่ประชุมเสนอคณะกรรมการดังนี ้ 1) นายสีชน แจ้ จตั รุ ัส ประธาน 2) นายประสาท คณะครุฑ รองประธาน 3) นางสมนึก ใจแผ้ ว เลขานุการ 4) นางสาววันลี ชื่นเกาะสมุย ผู้ช่วยเลขานุการ 5) นางพูลศรี จันดี เหรัญญิก

นางสาวปนัดดา โกเฮง ผู้ช่วยเหรัญญิก 7) นายสาราญ จันดี กรรมการควบคุมการผลิต 8) นายเจิมศักดิ์ ชื่นเกาะสมุย กรรมการฝ่ ายจัดซื ้อวัตถุดิบ 9) นายชาตรี 6)

แจ้ จตั รุ ัส กรรมการ 10) นายประมวล บุญพรม กรรมการ มติที่ประชุมเห็นชอบ 2.3

การร่างและวางระเบียบกฎของกลุม่ ผลิตปุ๋ยของหมูบ่ ้ านเขาหลัก

หากสมาชิกผู้หนึง่ ผู้ใดไม่ได้ มาจัดทาปุ๋ยหมักให้ หกั ปุ๋ยออก ครัง้

2)

3

1)

สมาชิกของกลุม่ จัดทาปุ๋ย

กระสอบ แล้ วแบ่งให้ ผ้ ทู ี่มาทาครบทุก

สมาชิกต้ องมาร่วมหุ้นในการจัดซื ้อวัตถุดิบในการจัดทาปุ๋ย มติที่ประชุมเห็นชอบ ปิ ดการ

ประชุม เวลา 14.30 น. บันทึกรายงานการประชุมกลุม่ ผลิตปุ๋ยหมักบ้ านเขาหลัก วันที่ 28 มีนาคม 2554 ณ ศูนย์รวมผลิตปุ๋ยหมักหมู่ 9 บ้ านเขาหลัก ผู้เข้ าร่วมประชุม จานวน 35 คน ตามรายชื่อใน

ใบลงทะเบียน เปิ ดการประชุมเวลา 10.00น. โดยนายสีชน แจ้ จสั ตุรัส ประธานกลุม่ วาระที่ 1 เรื่ อง แจ้ งที่ประชุมทราบ

1.1

ประธานแจ้ งเรื่ องการฝึ กอบรมการทาปุ๋ยหมักชีวภาพ ได้ เสร็ จสิ ้น และจะมี

การมอบเกียรติบตั ิจากศูนย์การศึกษานอกโรงเรี ยนในโอกาสต่อไป

1.2

เรื่ องการขยายเวลาการทา

ปุ๋ยหมักออกไปเนื่องจากวัตถุดิบในการผลิตยังไม่พร้ อมและเนื่องจากฝนตกติดต่อกันเป็ นเวลานาน ทาให้ เป็ นอุปสรรคในการทางาน และไม่สามารถจัดหาวัสดุมาได้ ที่ประชุมรับทราบ วาระที่ 2 เรื่ องรับรองรายงานการประชุมครัง้ ทีแ่ ล้ ว มติที่ประชุมรับรอง วาระที่ 3 เรื่ องเพื่อพิจารณาและขอมติที่ประชุม 3.1

เรื่ องการยื่นแบบขอจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชนเพื่อการดาเนินงานของกลุม่ ได้ ดาเนินงานให้

เป็ นไปตามแผนงานการดาเนินของกลุม่ ให้ เป็ นไปตามเป้าหมายและเพื่อการสะดวกในการดาเนิน กิจกรรมใดๆร่วมกับหน่วยงานหรือองค์กรอื่นๆ โดยมีการเสนอชื่อได้ 3 อันดับดังต่อไปนี ้ 1) วิสาหกิจ ชุมชนกลุม่ ผลิตปุ๋ยหมักบ้ านเขาหลัก 2) วิสาหกิจชุมชนผลิตปุ๋ยหมักบ้ านเขาหลัก 3) วิสาหกิจชุมชน ผลิตปุ๋ยหมักพึง่ พาตนเองบ้ านเขาหลัก 3.2

ที่ประชุมเสนอให้ มีผ้ รู ับผิดชอบหรื อ มีอานาจในการจัดการและดาเนินการใดๆของกลุม่ โดย

เสนอบุคคลดังรายชื่อต่ไปนี ้ 1.) นายสีชน แจ้ จตั รุ ัส และ

2)

นางพูลศรี จันดี เป็ นผุ้ทาการแทน

สมาชิก ในการยื่นแบบขอจดทะเบียน วิสาหกิจชุมชน ตามที่กาหนดไว้ ใน พ.ร.บ.ส่งเสริ มวิสาหกิจ


ชุมชน พ.ศ. 2548 และระเบียบต่างๆ ตามที่กรรมการส่งเสริ มวิสหกิจชุมชนกาหนด 3.3

การร่างกฎระเบียบว่าด้ วยการกลุม่ ผลิตปุ๋ยหมัก ที่ประชุมได้ ร่วมกันร่างและหาข้ อสรุปได้ มติที่

ประชุมได้ กฎระเบียบ

5

ข้ อ ดังต่อไปนี ้ 1) การรวมหุ้นของสมาชิกมี

4

แบบคือ

1.1)

การรวมหุ้น

กองกลาง ให้ มีการลงหุ้นรายละ 200 บาท 1.2) การลงหุ้นหมุนเวียน ในรอบการผลิต หุ้นละ 600 บาท ต่อครัง้ 1.3) การหุ้นวัตถุดบิ ในการผลิต เช่น เศษวัสดุ ขี ้เถ้ า น ้าหมักชีวภาพ เป็ นต้ น ให้ สมาชิก ทุกคนนามาร่วมกับกลุม่ ในกรณีที่สมาชิกมีวตั ถุดิบเป็ นจานวนมาก และกลุม่ ต้ องการในผลิต ให้ มี การจัดซื ้อตามราคาที่สมาชิกเห็นชอบ

1.4)

การหุ้นแรงงาน ในการผลิตปุ๋ยในแต่ละรอบการผลิต

สมาชิกผู้ลงหุ้นหมุนเวียนต้ องมาร่วมกิจกรรมในการผลิตทุกครัง้

2)ในการแบ่งผลผลิตปุ๋ยของ

สมาชิก ผู้ลงหุ้นตามระเบียบข้ อที่ 1 สมาชิกต้ องแบ่งเท่าๆ กัน ในการผลิตแต่ละครัง้ หากไม่เป็ นไป ตามระเบียบข้ อที่ 1 ให้ ยดึ หลักการดังต่อไปนี ้ 2.1) กรณีที่สมาชิกขาดหุ้นแรง 1 ครัง้ ในรอบการผลิต ให้ หกั ผลผลิตปุ๋ยครัง้ ละ 3 กระสอบ 2.2) ห้ ามสมาชิกขาดหุ้นแรง เกิน 2 ใน 3 ครัง้ ต่อรอบการผลิต หากมีกรณีจาเป็ น ให้ มีการชี ้แจงในที่ประชุม และใช้ มติที่ประชุมในการลงโทษโดยพิจารณาเป็ นราย กรณีไป สมาชิก

2.3)ห้ ามสมาชิกขาดคุณสมบัติ

ในข้ อที่

2.2)

เกิน

3

รอบ การผลิต ให้ ออกจากการเป็ น

หากมีกรณีจาเป็ นให้ ชี ้แจงในที่ประชุมและใช้ มติที่ประชุมในการลงโทษโดยพิจารณาเป็ น

รายกรณีไป 3)การหักค่าใช้ จ่ายในการซ่อมบารุง เช่น ค่าซ่อมแซมโรงเรื อน ค่าซ่อมเครื่ อง ค่าไฟ เป็ น ต้ น ให้ ใช้ เงินหุ้นกองกลางเป็ นค่าใช้ จา่ ย 4) ให้ มีสามารถมีการแก้ เพิ่มเติมกฎระเบียบได้ ของกลุม่ ได้ โดยต้ องผ่านมติจากที่ประชุมใหญ่ ในครัง้ ต่อๆ ไป 5)สมาชิกต้ องปฏิบตั ิตามระเบียบของกลุม่ อย่าง เคร่งครัด 3.4 รับรองคณะกรรมการกลุม่ ผลิตปุ๋ยอินทรี ย์บ้านเขาหลัก มีรายชื่อดังต่อไปนี ้ 11) นายสี ชน แจ้ จตั รุ ัส ประธาน 12) นายประสาท คณะครุฑ รองประธาน 13) นางสมนึก ใจแผ้ ว เลขานุการ 14)

นางสาววันลี ชื่นเกาะสมุย ผู้ช่วยเลขานุการ

15)

นางพูลศรี จันดี เหรัญญิก

16)

นางสาว

ปนัดดา โกเฮง ผู้ช่วยเหรัญญิก 17) นายสาราญ จันดี กรรมการควบคุมการผลิต 18) นายเจิมศักดิ์ ชื่นเกาะสมุย กรรมการฝ่ ายจัดซื ้อวัตถุดิบ 19) นายชาตรี แจ้ จตั รุ ัส กรรมการ 20) นายประมวล บุญ พรม กรรมการ มติที่ประชุมเห็นชอบรับรอง ระเบียบวาระที่

4

เรื่ องอื่นๆ เรื่ องการขอมิเตอร์ ไฟฟ้ า

สาหรับศูนย์รวมผลิตปุ๋ยหมักหมู่ 9 บ้ านเขาหลัก เพื่อความสะดวกของปฏิบตั ิงานของกลุม่ เนื่องจาก การพ่วงไฟจากบ้ านนางพูลศรี จันดี สมาชิกเห็นอาจเป็ นภาระต่อไป จึงเห็นว่าควรแยกมิเตอร์ ไฟฟ้ า ออกมาต่างหาก

สมาชิกเห็นว่าควรขอมิเตอร์ ไฟฟ้ าเพื่อการเกษตร

ในนามกลุม่

แต่ยงั ขาด

งบประมาณในการขอมิเตอร์ อาจมีการนาเงินส่วนของหุ้นกองกลางหรื อจากหน่วยงานหรื อองค์กร อื่นใด ไว้ พิจารณาในวาระการประชุมครัง้ ต่อไป ที่ประชุมรับทราบ ปิ ดการประชุมเวลา ………………………………………

(นางสมนึก

ใจแผ้ ว)

12.30

น.

ผู้บนั ทึกรายงานการประชุม

…………………………………….. (นายสีชน แจ้ จต ั รุ ัส) ผู้ตรวจรายงานการประชุม


บันทึกขุมความรู้ (Knowledge Assets) การพัฒนาต้ องเป็ นความต้ องการของชุมชน ต้ องระเบิดจากข้ างใน ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมลงทุน ร่วมรับผิดชอบ ร่วมแก้ ปัญหา รวมรับผลประโยชน์ (ที่ เกิดขึ ้น ทังทางด้ ้ านเศรษฐกิจ และสังคม) ทุนต้ องมาจากภายใน (ความเป็ น เจ้ าของ การมีส่วนร่วม) จะประสบความสาเร็จมากกว่า การได้ ทนุ มาจากภาย (ได้ เปล่า ไม่ร้ ูสกึ หวงแหน ไม่มีความรู้สกึ เป็ นเจ้ าของ) การพัฒนาด้ วยทุนนิยม จะสาเร็จด้ วยความรวดเร็ว แต่ไม่ยงั ยืน การพัฒนาด้ วยทุนเศรษฐกิจแบบ พอเพียง (พึง่ ตนเอง) จะสาเร็จช้ า แต่มีความมัน่ คงและยัง่ ยืน แก่ นความรู้ • หลักการพัฒนาชุมชน (การตังกลุ ้ ม่ ) • การทาปุ๋ยหมัก และการทาน ้าหมักชีวภาพ

กลยุทธ์ ในการทางาน * ของกลุม่ - การทางานเป็ นทีม การทางานแบบมีสว่ นรวม * ของเจ้ าหน้ าที่

- การนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใช้ ในการส่ งเสริมการทางานของกลุ่ม ส่ งเสริมชุมชนให้ มีศักยภาพในการบริหารจัดการกลุ่ม โดยยึดหลักงบประมาณ ของประชาชน - ส่ งเสริมชุมชนในกระบวนการจัดทาแผนชุมชน เพื่อเสนอ โครงการในแผนชุมชน ขอรับงบประมาณเพื่อขยายกิจกรรมการดาเนินงานของ กลุ่ม - แนวคิด จากเจ้ าหน้ าที่ - การนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ สามารถใช้ ได้ ทัง้ ในการทางาน การดาเนินชีวิตของตนเอง ถ้ านักพัฒนาทุกคน นาไปใช้ ชุมชนก็จะเข้ มแข็ง การทางานก็จะสาเร็จผลเกิดประโยชน์ จากการที่ เราทาตามพ่ อสอน - แนวคิดจาก สมาชิกกลุ่ม การพึ่งตนเองของกลุ่ม ๆ กลุ่ม สามารถ อยู่ได้ หากเราพึ่งพิงจากภายนอกมากเกินไป สักวันหนึ่งกลุ่มอาจจะ ล้ มลง เมื่อไม่ ท่ ที ่ ีให้ เราพึ่งพิง โดยดูจากการเปรี ยบเทียบ อีกหมู่บ้านหนึ่งได้ งบ เศรษฐกิจพอเพียงมา 200,000 บาท ลงทุนทาด้ วยงบที่ได้ มา ทาสาเร็จแบ่ งปุ๋ย กันใช้ ภายหลังก็ไม่ มีการดาเนินงานต่ อ ทิง้ หลักฐานไว้ เป็ นอนุสรณ์ ของการพึ่ง ผู้อ่ ืน แต่ กลุ่มของเราอยู่ได้ และมีการเพิ่มการออมของสมาชิกอีกด้ วย ชื่อผู้บันทึกความรู้ นางขวัญตา นิ่มนวล นักวิชาการพัฒนาชุมชน ชานาญการ


คาสาคัญ(Keyword):

เพิ่มความคิดเห็น ส่วนบนของฟอร์ ม

เ พิ่ มความเ ห็ น

ส่วนล่างของฟอร์ ม ความคิดเห็นต่อ บล็อกนี ้ Page [1]

คุณเป็ นคนแรกทีจ่ ะแสดงความคิดเห็น ใส่ข้อความได้ เลย! Page [1]

กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ อาคาร B ชัน้ 5 ถนนแจ้ งวัฒนะ หลักสี่ กทม.10210 โทรศัพท์ 0 - 2141 -6047 © Copyright กรมการพัฒนาชุมชน. All Rights Reserved.2009 Powered By ECGATES SOLUTION


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.