แผนยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย ๕๕-๕๙

Page 1


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2555-2559

1


พระบรมราโชวาท “งานราชการนั้ น เป็ นงานส่ ว นรวม มี ผลเกี่ย วเนื่ อ งถึ ง ประโยชน์ ข องบ้ า นเมื อ ง และ ประชาชนทุ ก คน ผู้ ป ฏิ บั ติบ ริ ห ารราชการจึ ง ต้ อ งคํ า นึ ง ถึ ง ความสํ า เร็ จ ของงานเป็ น สํ า คั ญ อย่านึกถึงบําเหน็จรางวัลหรือประโยชน์เฉพาะตนให้มากนัก มิฉะนั้นงานในหน้าที่จะบกพร่อง เกิดเป็นผลเสียหายแก่ตน แก่งานส่วนรวมของชาติได้ ขอให้ถือว่า การทํางานในหน้าที่ได้ สําเร็จสมบูรณ์ เป็นทั้งรางวัลและประโยชน์อันประเสริฐสุด เพราะจะทําให้ประเทศชาติและ ประชาชนอยู่เย็น เป็นสุขและมั่นคง” พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานเนื่องในวันข้าราชการพลเรือน วันที่ 31 มีนาคม พุทธศักราช 2554 อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช 2


คํานํา แผนยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2555-2559 จัดทําขึ้นโดยพิจารณาถึงความสอดคล้องกับแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ นโยบายรัฐบาล แผนบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘ แนวโน้มการพัฒนา หรือความท้าทายที่จะเกิดขึ้น และศักยภาพที่มีอยู่ในปัจจุบันของกระทรวงมหาดไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นกรอบและ ทิศทางสําหรับส่วนราชการและหน่วยงานรัฐวิสาหกิจในสังกัดในการดําเนินงานให้เกิดความเป็นเอกภาพและสอดคล้องกัน ภายใต้หลักการบริหารงานโดยยึดยุทธศาสตร์ (strategy-based management) ในโอกาสที่ปีพุทธศักราช 2555 เป็นปีที่ครบ 120 ปีแห่งการสถาปนากระทรวงมหาดไทย แผนยุทธศาสตร์ กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2555-2559 จึงมีความสําคัญต่อกระทรวงมหาดไทยในการขับเคลื่อนวิสัยทัศน์และพันธกิจภายใต้ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่กําหนดขึ้นให้บรรลุผลสัมฤทธิ์เพื่อเสริมสร้างขีดสมรรถนะในการปฏิบัติงานขององค์กรในทุกระดับและ ตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง โดยยึดประโยชน์สุขของเป็นประชาชนเป็นที่ตั้ง เพื่อให้ สามารถธํารงไว้ซึ่งหลักแห่งการ “บําบัดทุกข์ บํารุงสุข” แก่ประชาชนสืบไป

20 มิถุนายน 2555 กระทรวงมหาดไทย 3


สารบัญ ส่วนที่ 1 กระทรวงมหาดไทย โครงสร้างกระทรวงมหาดไทย อํานาจหน้าที่กระทรวงมหาดไทย ส่วนที่ 2 แผนยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2555-2559 กรอบแนวคิด การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม วิสยั ทัศน์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ ความเชื่อมโยงนโยบายรัฐบาลกับแผนยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2555-2559 แผนที่ยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2555-2559 ส่วนที่ 3 รายละเอียดแผนยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2555-2559 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 สนับสนุน ส่งเสริมการบริหารราชการส่วนภูมิภาค ท้องที่ และท้องถิ่น ให้เหมาะสมต่อ การพัฒนาประเทศและส่งเสริม พัฒนาการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างเสริมความสงบเรียบร้อย การอํานวยความเป็นธรรม และความมั่นคงปลอดภัยในชีวติ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมให้ชุมชนเข้มแข็ง เมืองน่าอยู่ และประชาชนอยู่เย็นเป็นสุขตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบบริการสาธารณะที่มีคณ ุ ภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 เพิ่มขีดสมรรถนะองค์กรให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง

4

หน้า 5 6 8 9 10 11 15 16 17 18 20 32 -1-5-12-17-21-


ส่วนที่ 1 กระทรวงมหาดไทย

5


มีอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับการบําบัดทุกข์บํารุงสุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของ ประชาชน การอํานวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมือง การปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคง ภายใน กิจการสาธารณภัย และการพัฒนาเมือง และราชการอื่นตามที่มีกฎหมาย กํ า หนดให้ เ ป็ น อํ า นาจหน้ า ที่ ข องกระทรวงมหาดไทยหรื อ ส่ ว นราชการที่ สั ง กั ด กระทรวงมหาดไทย

กระทรวงมหาดไทย สํานักงานรัฐมนตรี ราชการทางการเมือง เพื่อสนับสนุนภารกิจของ รัฐมนตรี ประสานนโยบายระหว่างกระทรวง

- การคุ้มครองสิทธิในที่ดินของบุคคลและจัดการ ที่ดินของรัฐ โดยการออกหนังสือแสดงสิทธิ - ให้บริการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับ อสังหาริมทรัพย์ - การบริหารจัดการที่ดินของรัฐเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด

- การรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคง ภายในประเทศ - การอํานวยความเป็นธรรม - การปกครองท้องที่ - การอาสารักษาดินแดน - การทะเบียน

กรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย - การจัดทําแผนแม่บท วางมาตรการส่งเสริมสนับสนุน การป้องกัน บรรเทาและฟื้นฟูจากสาธารณภัย โดยการ กําหนดโยบายด้านความปลอดภัย สร้างระบบป้องกัน เตือนภัย ฟื้นฟูหลังเกิดภัย และการติดตามประเมินผล เพื่อให้หลักประกันในด้านความมั่นคงปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน

กรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่น - การส่งเสริมและสนับสนุน อปท. โดยการพัฒนาและ ให้คําปรึกษาแนะนํา อปท. ในด้านการจัดทําแผนพัฒนา ท้องถิ่น การบริหารงานบุคคล การเงิน การคลัง และ การบริหารจัดการ เพื่อให้ อปท. มีความเข้มแข็งและ มีศักยภาพในการให้บริการสาธารณะ 6

กรมการพัฒนาชุมชน

กรมที่ดิน

กรมการปกครอง

สํานักงาน ปลัดกระทรวงมหาดไทย - การพัฒนายุทธศาสตร์และแปลงนโยบายของกระทรวง เป็นแผนการปฏิบัติงาน - จัดสรรทรัพยากร และบริหารราชการทั่วไปของกระทรวง - การรักษาความมั่นคงภายใน - การรักษาความสงบเรียบร้อยและอํานวยความเป็นธรรม - การส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารราชการส่วนภูมิภาค

โครงสร้างกระทรวงมหาดไทย

- การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม ของประชาชน - ส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนฐานรากให้มี ความมั่นคงและมีเสถียรภาพ - ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย จัดทํายุทธศาสตร์ชุมชน - ฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการ พัฒนาชุมชน เพื่อให้เป็นชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืน

กรมโยธาธิการและผังเมือง - งานด้านการผังเมืองระดับต่างๆ การโยธาธิการ การออกแบบ การก่อสร้างและการควบคุมการก่อสร้างอาคาร - สนับสนุน อปท. ในด้านการพัฒนาเมือง พื้นที่ และ ชนบท โดยการกําหนดและกํากับดูแลนโยบายการใช้ประโยชน์ที่ดิน ระบบการตั้งถิ่นฐานและโครงสร้างพื้นฐาน - กําหนดคุณภาพและมาตรฐานการก่อสร้างด้านสถาปัตยกรรม วิศวกรรม และการผังเมือง


โครงสร้างหน่วยงานรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

การไฟฟ้านครหลวง

การประปาส่วนภูมิภาค

7

การประปานครหลวง

องค์การตลาด


อํานาจหน้าที่กระทรวงมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย มี อํ า นาจหน้ า ที่ เ กี่ ย วกั บ การบํ าบั ด ทุ ก ข์ บํ า รุง สุ ข การรั ก ษาความสงบ เรียบร้อยของประชาชน การอํานวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนา ชุมชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัย และการพัฒนาเมือง และราชการอื่น ตามที่ มี ก ฎหมายกํ า หนดให้ เ ป็ น อํ า นาจหน้ า ที่ ข องกระทรวงมหาดไทยหรื อ ส่ ว นราชการที่ สั ง กั ด กระทรวงมหาดไทย

8


ส่วนที่ 2 แผนยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2555-2559

9


กรอบแนวคิดในการจัดทํายุทธศาสตร์

FUTURE

ผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา ภาพลักษณ์ และวัฒนธรรมองค์กร

เศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ เทคโนโลยี ปัญหา ข้อเรียกร้อง ความต้องการทางสังคม กระแสการกระจายอํานาจ การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน/ประชาสังคม ที่เพิ่มขึ้น

แผนยุทธศาสตร์ PAST

PRESENT

10

สถานะ โครงสร้าง อํานาจหน้าที่ขององค์กร รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย นโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๑ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2555 - 2558 ข้อเสนอทางวิชาการ


การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมกระทรวงมหาดไทย* จุดแข็ง (Strength)

จุดอ่อน (Weakness)

S1 เป็นหน่วยงานหลักในการขับเคลื่อนและแปลงนโยบายของรัฐบาลไปสู่การ ปฏิบัติในระดับพื้นที่ S2 มีกลไกและเครือข่ายการบริหารงานที่กว้างขวางครอบคลุมถึงระดับพื้นที่ และใกล้ชดิ ประชาชน S3 ยึดถือค่านิยมองค์กร “บําบัดทุกข์ บํารุงสุข” และการทํางานโดยยึด ประชาชนเป็นศูนย์กลาง S4 เป็นหน่วยงานที่มีอํานาจหน้าที่ในการบูรณาการแผนงาน/ โครงการ/ งบประมาณส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น ทําให้มีบทบาทในการ กําหนดทิศทางการพัฒนาในระดับพื้นที่ S5 น้อมนําแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นกรอบแนวทางการพัฒนาและ แก้ไขปัญหาความยากจนและสร้างภูมิคุ้มกันให้กับประชาชนมาโดยตลอด S6 บุคลากรมีทักษะ ความรู้ และมุ่งมั่นทุม่ เทในการปฏิบัติงาน S7 ระบบการทํางานมีการสั่งสมประสบการณ์มายาวนาน มีความเข้มแข็ง เป็นมืออาชีพ และเป็นที่ยอมรับของภาคส่วนต่างๆ S8 จังหวัดและกลุม่ จังหวัดสามารถจัดทําคําของบประมาณ ทําให้สามารถ ตอบสนองความต้องการของประชาชนในพืน้ ที่ได้ S9 มีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้แทนรัฐบาลในการบริหาราชการส่วนภูมิภาค

W5 นโยบายระดับกระทรวง และระดับพื้นที่ขาดการบูรณาการและ ทิศทางการพัฒนาที่ตอ่ เนื่อง W6 การบริหารงานโดยยึดขอบเขตจังหวัด ขาดความยืดหยุ่นในการบริหาร จัดการทรัพยากรในลักษณะข้ามพื้นที่ W7 ระบบการบริหารงานระหว่างกรมมีลักษณะแยกส่วนและขาดการบูรณาการ เช่น ระบบฐานข้อมูล ระบบการติดตามและประเมินผล ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ W8 ระบบถูกแทรกแซงจากการเมือง W9 การบริหารงานกลุ่มจังหวัดยังขาดการสนับสนุนและความร่วมมือจาก ส่วนราชการในสังกัดและส่วนราชการอื่นในพื้นที่

11

W1 กระทรวงมีภารกิจมาก ขาดความชัดเจน เปลี่ยนแปลงบ่อย และขาด ความต่อเนื่องในการปฏิบัติงาน W2 การจัดทําแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ตั้งแต่ระดับจังหวัด อําเภอ ท้องถิ่น และชุมชนขาดการประสาน และบูรณาการ W3 ระบบการบริหารงานบุคคลขาดระบบคุณธรรม ทรัพยากรบุคคลขาดการพัฒนา อย่างเป็นระบบ รวมทั้งไม่เอื้อต่อการสร้างขวัญกําลังใจให้แก่บุคลากร W4 ภาพลักษณ์องค์กรล้าสมัย มีวัฒนธรรมแบบเจ้าขุนมูลนาย ขาดการ ทํางานเชิงรุก


จุดแข็ง (Strength)

จุดอ่อน (Weakness)

S10 มีอํานาจและบทบาทในการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลที่สําคัญและ จําเป็นต่อการพัฒนาประเทศ S11 มีระบบการติดต่อสือ่ สารและประสานงานภายในองค์กรทีม่ ีประสิทธิภาพ และทั่วถึง *ที่มาจาก : การรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder) จํานวน 629 ราย โดยวิธีการ 1) การทําแบบสอบถามแบบเจาะจง 2) การรับฟังข้อเสนอแนะผ่านเว็บไซต์ และ 3) จากการวิเคราะห์ของกลุ่ม Cluster

12


โอกาส (Opportunity)

ภัยคุกคาม (Threat)

O1 ความตื่นตัวทางการเมืองและการมีส่วนร่วมของประชาชน ช่วยสนับสนุน การบริหารงานของกระทรวงมหาดไทยให้ประสบผลสําเร็จ O2 การที่ประเทศไทยเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 เป็นผลให้กระทรวงและองค์กรในระดับพื้นที่ต้องเตรียมพร้อมและปรับตัว เพื่อรองรับทั้งภารกิจด้านความมั่นคงภายใน และภารกิจด้านเศรษฐกิจ O3 การพัฒนาเทคโนโลยีสมัยใหม่ในการบริหารงานภาครัฐและการบริการ ประชาชน O4 รัฐบาล สังคม และประชาชนมีความเชือ่ มั่น และความไว้วางใจต่อการ ดําเนินงานของกระทรวงมหาดไทย O5 การได้รับมอบหมายภารกิจที่มีความสําคัญจากรัฐบาลและตามกฎหมาย กํ า หนด เช่ น การแก้ ไ ขปั ญ หายาเสพติ ด ที่ กํ า หนดให้ เ ป็ น วาระแห่ ง ชาติ การบริหารจัดการที่ดินทั้งระบบ ปัญหาชายแดนและความมั่นคงภายใน ปัญหา ภัยพิบัติ การสร้างความเป็นธรรมของสังคม การเป็นหน่วยประสานงานหลัก (Focal Point Office) ด้านการแก้ไขปัญหาความยากจนในระดับพื้นที่ของ ประเทศไทย เป็นต้น O6 ความร่วมมือและความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศเพือ่ นบ้านเป็นการ สร้างโอกาสการพัฒนาของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และการดําเนินงานใน ภาพรวมของกระทรวงมหาดไทย

T1 การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และการแทรกแซงทางการเมือง ส่งผลต่อ การดําเนินนโยบายที่ขาดความต่อเนือ่ ง T2 ความขัดแย้งทางความคิด/ทางสังคม การแย่งชิงทรัพยากร การขยายตัว ของเมือง การเคลื่อนย้ายแรงงาน (แรงงานแฝง/แรงงานต่างด้าว) ปัญหา ยาเสพติดในพืน้ ที่ที่มีความรุนแรงมากขึ้น T3 แนวโน้มการกระจายอํานาจ/ ข้อเสนอการปฏิรูปโครงสร้างอํานาจทําให้ บทบาทการบริหารราชการส่วนภูมิภาคลดลง T4 การปรับปรุงกฎหมายที่อาจส่งผลให้บทบาท ภารกิจ อํานาจหน้าที่ของ กระทรวงมหาดไทยเปลี่ยนแปลง เช่น กรณีร่าง พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการ ส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ... ที่จะมีการจัดตั้งสํานักงานคณะกรรมการข้าราชการ ส่วนท้องถิน่ มีฐานะเป็นกรมสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี ซึ่งตามกฎหมายจะโอน อํานาจหน้าที่ของ สํานักงาน กถ.สป.มท. และสํานักพัฒนาระบบบริหารงาน บุคคลส่วนท้องถิ่น สถ. ไปเป็นหน่วยงานจัดตั้งใหม่ดังกล่าว เป็นต้น

T5 การเข้าถึงเทคโนโลยีที่ไม่เท่าเทียมกัน ทําให้เกิดความเหลื่อมล้ําและ ข้อจํากัดในการพัฒนานวัตกรรมและการค้นคว้าวิจัย T6 การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม ภูมอิ ากาศ และความรุนแรงของ ภัยพิบัติต่าง ๆ

13


โอกาส (Opportunity)

ภัยคุกคาม (Threat) T7 การปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหารของ อปท. เป็นรูปแบบพิเศษ /เต็ม รูปแบบ พื้นทีท่ ับซ้อนระหว่างส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น ซึ่งอาจส่งผล ต่อรูปแบบการบริหารราชการส่วนภูมิภาคในจังหวัดและอําเภอ เช่น กรณี การยกฐานะเทศบาลเมืองเกาะสมุยเป็นนครเกาะสมุย เป็นต้น

*ที่มาจาก : การรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder) จํานวน 629 ราย โดยวิธีการ 1) การทําแบบสอบถามแบบเจาะจง 2) การรับฟังข้อเสนอแนะผ่านเว็บไซต์ และ 3) จากการวิเคราะห์ของกลุ่ม Cluster

14


วิสัยทัศน์ เป็นกระทรวงหลักในการบริหารจัดการและบูรณาการทุกภาคส่วน เพื่อบําบัดทุกข์ บํารุงสุขประชาชน

15


พันธกิจ ๑. กํากับดูแล จัดระบบการบริหารการปกครองส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ และการปกครองส่วนท้องถิ่น และส่งเสริม พัฒนาการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ๒. รักษาความสงบเรียบร้อย ความมั่นคงภายใน และเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับต่างประเทศ ๓. อํานวยความเป็นธรรมและแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนในระดับพื้นที่ ๔. ส่งเสริมการพัฒนาเมือง โครงสร้างกายภาพ การใช้ประโยชน์ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๕. เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาและแก้ไขปัญหา ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๖. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเชิงบูรณาการ ๗. ให้บริการประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพและจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการบริหารและพัฒนาประเทศ

16


ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. สนับสนุน ส่งเสริมการบริหารราชการส่วนภูมิภาค ท้องที่ และท้องถิ่น ให้เหมาะสมต่อการพัฒนาประเทศ และส่งเสริม พัฒนาการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2. สร้างเสริมความสงบเรียบร้อย การอํานวยความเป็นธรรม และความมั่นคงปลอดภัยในชีวิต 3. ส่งเสริมให้ชุมชนเข้มแข็ง เมืองน่าอยู่ และประชาชนอยู่เย็นเป็นสุข ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4. พัฒนาระบบบริการสาธารณะที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม 5. เพิ่มขีดสมรรถนะองค์กรให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง

17


ความเชื่อมโยงนโยบายรัฐบาลกับแผนยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2555-2559

18


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 ( หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ) ด้านความมั่นคงของรัฐ ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ด้านศาสนา สังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม ด้านกฎหมายและการยุติธรรม ด้านการต่างประเทศ ด้านเศรษฐกิจ ด้านที่ดนิ ทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อม ด้านวิทยาศาสตร์ ทรัพย์สินทางปัญญา และพลังงาน ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555 – 2559 วิสัยทัศน์ สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความ เสมอภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่สําคัญในระยะแผนพัฒนาฯ 1. ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมในสังคม 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน 3. ยุทธศาสตร์ความเข้มแข็งภาคเกษตร ความมั่นคง ของอาหารและพลังงาน 4. ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การ เติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน 5. ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศ ในภูมภิ าคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม 6. ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

กระแสการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ

กฎหมาย/ระเบียบที่เกี่ยวข้อง

กระแสการกระจายอํานาจ การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (AC) ข้อเสนอการปฏิรปู โครงสร้าง โดย คณะกรรมการปฏิรูป (คปร.) ที่มี นายอานันท์ ปันยารชุน เป็นประธาน การเปลี่ยนแปลงด้านสภาพแวดล้อม ภัยพิบัตติ ่างๆ กระแสการมีส่วนร่วมของ ภาคประชาชน ประชาสังคม

1. พ.ร.บ.ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 หมวด 13 กระทรวงมหาดไทย มีอํานาจหน้าที่ - บําบัดทุกข์ บํารุงสุข - รักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน - อํานวยความเป็นธรรมของสังคม - ส่งเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง - พัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค - การปกครองท้องที่ - ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน - การทะเบียนราษฎร - ความมั่นคงภายใน - กิจการสาธารณภัย - พัฒนาเมือง

2. พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 - มาตรา 52/1 อํานาจของจังหวัด มาตรา 61/1 อํานาจของอําเภอ

นโยบายของรัฐบาล (นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี) นโยบายเร่งด่วน ที่จะเริ่มดําเนินการในปีแรก (เกี่ยวเนื่องกับ มท.) สร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติและฟืน้ ฟูประชาธิปไตย กําหนดให้การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดเป็นวาระแห่งชาติ เร่งนําสันติสุขและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของ ปชช. กลับมาสู่พื้นที่ จชต. เร่งฟืน้ ฟูความสัมพันธ์และพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านและนานา ประเทศ ยกระดับคุณภาพชีวิต ปชช. โดยจัดให้มีเบี้ยยังชีพรายเดือนแบบขัน้ บันไดสําหรับ ผู้สูงอายุ ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งทุน โดยเพิ่มเงินกองทุนหมู่บา้ น/ชุมชนเมือง จัดตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี และโครงการ SML บริหารจัดการโครงการหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ให้มีศักยภาพ

นโยบายที่จะดําเนินการภายในช่วงระยะ 4 ปี นโยบายความมั่นคงแห่งรัฐ –เทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ -พัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติ -เร่งดําเนินการแก้ไขปัญหายาเสพติด องค์กรอาชญากรรม การค้า มนุษย์ ผู้หลบหนีเข้าเมือง แรงงานต่างด้าวผิดกฎหมาย และบุคคลที่ ไม่มีสถานะชัดเจน นโยบายเศรษฐกิจ -ส่งเสริมให้ ปชช. เข้าถึงแหล่งเงินทุน -ส่งเสริมและรักษาวินัยการคลัง (อปท.) -พัฒนาระบบโครงสร้างพืน้ ฐาน ระบบประปา /ไฟฟ้าอย่างทัว่ ถึงและ เพียงพอ นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี

นโยบายที่ดนิ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม -สร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ําในการใช้ ประโยชน์ที่ดนิ และทรัพยากรธรรมชาติ -สร้างภูมิคุ้มกันและเตรียมความพร้อมในการรองรับและ ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและพิบตั ิ ภัยธรรมชาติ นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต -สร้างโอกาสทางการศึกษา -สร้างหลักประกันความมั่นคงในศักดิ์ศรีแห่งความเป็น มนุษย์ -ลดอุบัติภัยและความสูญเสียจากอุบัติเหตุจราจรให้ เหลือน้อยที่สุด

แผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2555 – 2558 (รัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี) แผนยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2555 – 2559 (5 ปี) สนับสนุน ส่งเสริมการบริหารราชการส่วนภูมิภาค ท้องที่ และท้องถิ่น ให้ เหมาะสมต่อการพัฒนาประเทศ และส่งเสริม พัฒนาการเมืองการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

สร้างเสริมความสงบเรียบร้อย การอํานวย ส่งเสริมให้ชุมชนเข้มแข็ง เมืองน่าอยู่ และประชาชน 19 ความเป็นธรรม และความมั่นคงปลอดภัยในชีวิต อยูเ่ ย็นเป็นสุข ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

พัฒนาระบบบริการสาธารณะที่มีคุณภาพ อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม

เพิ่มขีดสมรรถนะองค์กรให้เท่าทัน การเปลี่ยนแปลง


แผนที่ยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2555- 2559

20


แผนที่ยทุ ธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ สนับสนุน ส่งเสริมการบริหารราชการส่วนภูมิภาค ท้องที่ และท้องถิ่น ให้เหมาะสมต่อการพัฒนาประเทศ และส่งเสริม พัฒนาการเมืองการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

คุณภาพการให้บริการ

ประสิทธิผล

ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ท้องที่ และท้องถิ่น มีความพร้อมรองรับการเปลีย่ นแปลง

สังคมมีภูมิคุ้มกันจากปัญหายาเสพติดในระดับพื้นที่

จังหวัด/กลุ่มจังหวัด มีทิศทางการพัฒนาที่สอดคล้อง กับนโยบายรัฐบาลและความต้องการระดับพื้นที่ ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในหลักการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข

ประสิทธิภาพ

ประชาชนมีความสามัคคี ปรองดอง และ ธํารงรักษาไว้ซึ่งสถาบันหลักของชาติ

ครัวเรือนยากจนได้รับการแก้ไขปัญหาอย่างบูรณาการ

การให้บริการด้านทะเบียนและบัตร ทะเบียนทีด่ ิน มีความทันสมัยและทั่วถึง

ทุนชุมชนมีความมั่นคงและมีธรรมาภิบาล

กําลังการผลิตน้ําประปาเพิ่มขึ้นและระบบจําหน่าย น้ําประปาเพียงพอ ทัว่ ถึง และมีคุณภาพ

ผังเมืองทุกระดับมีการบริหารจัดการที่ดี

ระบบจําหน่ายพลังไฟฟ้ามีความครอบคลุมทั่วถึงและ ระบบไฟฟ้ามีความปลอดภัย

ส่งเสริม สนับสนุนให้ อปท. จัดบริการสาธารณะและ สวัสดิการขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึงแก่ประชาชนในพื้นที่

พัฒนากระบวนการคุม้ ครองที่ดินของรัฐ

พัฒนากระบวนการจัดที่ดินให้แก่ประชาชนเพือ่ แก้ไขปัญหาความยากจน

พัฒนาระบบบริหารจัดการระบบสารสนเทศทีด่ ินให้ ถูกต้อง และเป็นปัจจุบนั

ส่งเสริมศักยภาพและพัฒนาบทบาทของ กม. ใน การไกล่เกลี่ย ประนอมข้อพิพาทระดับพื้นที่

ส่งเสริมการใช้นวัตกรรมในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ชุมชน

พัฒนาระบบบริการสาธารณะให้ได้มาตรฐานและ ทั่วถึง

เพิ่มประสิทธิภาพด้านการข่าวเพื่อความมั่นคง

พัฒนาบทบาทกํานัน ผญบ. และ กม. เป็นกลไก หลักในการพัฒนาหมู่บ้าน

พัฒนาระบบการจัดเก็บ การเชื่อมโยง และการใช้ ประโยชน์ขอ้ มูลพื้นฐานทางทะเบียน

พัฒนาระบบฐานข้อมูล/ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้อง ทันสมัย

กระทรวงมหาดไทยมีภาพลักษณ์ที่ดี กระทรวงมหาดไทยมีความพร้อมและ ทํางานเชิงรุกต่อการเปลี่ยนแปลง ในมิติต่างๆ

ระบบบริหารจัดการของ กระทรวงมหาดไทยมีประสิทธิภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้

การให้บริการด้านช่างแก่ อปท. ชุมชน และ ส่วนราชการมีคุณภาพ

พัฒนาผู้ผลิต/ ผูป้ ระกอบการ และการตลาด OTOP

เพิ่มประสิทธิภาพฝ่ายปกครองในการป้องกัน ติดตาม และบังคับใช้กฎหมายในความรับผิดชอบ

พัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลให้มีขีดความสามารถสูง

ที่ดินได้รับการจัดรูปเพือ่ พัฒนาพื้นที่

ข้อมูลเพือ่ การพัฒนาชนบทไทยมีความถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน

ระบบเตือนภัยและระบบป้องกันสาธารณภัย มีความพร้อมทัง้ ระดับองค์กรและมาตรการ

เพิ่มขีดความสามารถของ อปท.ในการบริหารจัดการ งบประมาณ และจัดกิจกรรมสาธารณะร่วมกัน

กระทรวงมหาดไทยมีระบบบริการเชิงรุก โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง

หมู่บ้านใน จชต. มีความมั่นคงเข้มแข็ง

แนวเขตทีด่ ินของรัฐถูกต้อง ชัดเจน

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ เพิ่มขีดสมรรถนะองค์กรให้เท่าทัน การเปลี่ยนแปลง

หมู่บ้าน/ ชุมชนมีความสุขมวลรวมเพิ่มขึ้น

ชุมชน/ เมืองมีสภาพแวดล้อมที่ดี

แผนพัฒนาพื้นที่ในทุกระดับมีคุณภาพ

พัฒนาบทบาท กม. และ อปท. ในการจัดทําแผน ยทธศาสตร์พัฒนาอําเภอ

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔ พัฒนาระบบบริการสาธารณะที่มีคุณภาพ อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม

ประชาชนมีหลักประกันด้านความปลอดภัย

ผู้มีสิทธิในการถือครองที่ดินได้รับโฉนดที่ดินที่ถูกต้องตามกฎหมาย

พัฒนาขีดความสามารถของอําเภอให้เป็นศูนย์กลางใน การบูรณาการการบริหาร การพัฒนา และการแก้ไขปัญหา ระดับพื้นที่

ประชาชนน้อมนําแนวทางการพัฒนา อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง และการเรียนรู้ตามรอยยุคลบาท มาเป็นหลักในการดําเนินชีวติ

ประชาชนมีหลักประกันด้านความเป็นธรรม

กลไกการอํานวยความเป็นธรรมในสังคมได้รับการพัฒนา อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ

สร้างกลไกการจัดทําและประสานแผนพัฒนาของ อปท.

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ ส่งเสริมให้ชุมชนเข้มแข็ง เมืองน่าอยู่ และประชาชน อยู่เย็นเป็นสุข ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

การบริหารจัดการชายแดนมีความมั่นคง

อปท. มีขีดความสามารถในการจัดการปัญหายาเสพติด

เครือข่ายภาคประชาชน ประชาสังคม ภาคเอกชน และภาควิชาการในพื้นที่ มีส่วนร่วมในการพัฒนาระดับพื้นที่

ขับเคลื่อนและบูรณาการแผนชุมชน/ แผนท้องถิ่นสู่การปฏิบัติ

พัฒนาองค์กร

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ สร้างเสริมความสงบเรียบร้อย การอํานวย ความเป็นธรรม และความมั่นคงปลอดภัยในชีวิต

พัฒนาระบบบริหารจัดการภายใน องค์กรด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ส่งเสริมการเรียนรู้ และพัฒนาระบบ แลกเปลี่ยน/ วิจัย และพัฒนา องค์ความรู้

พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ

พัฒนาระเบียบ กฎหมายให้ 21 สอดคล้อง ต่อความเปลี่ยนแปลงของสังคม

พัฒนาโครงสร้างทางกายภาพ และสภาพแวดล้อม ให้เอื้อต่อการทํางานและการให้บริการ


ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 สนับสนุน ส่งเสริมการบริหารราชการส่วนภูมิภาค ท้องที่ และท้องถิ่น ให้เหมาะสมต่อการพัฒนาประเทศ และส่งเสริม พัฒนาการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เป้าประสงค์

1. ราชการส่วนภูมิภาค ท้องที่ และท้องถิ่น มีการจัดระบบความสัมพันธ์และการบริหารที่เหมาะสม สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง 2. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข 3. จังหวัด/กลุ่มจังหวัดสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชน ศักยภาพการพัฒนา และปัญหาในระดับพื้นที่ 4. อําเภอเป็นศูนย์กลางในการบูรณาการการบริหาร การพัฒนา และการแก้ไขปัญหาในระดับพื้นที่ 5. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีศักยภาพในการบริหารจัดการท้องถิ่น 6. เครือข่ายภาคประชาชน ภาคประชาสังคม ภาคเอกชน และภาควิชาการในพื้นที่ ได้รับการ ส่งเสริมบทบาทและพัฒนาขีดความสามารถในการทํางานร่วมกับภาครัฐ 22


แผนที่ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถกู ต้อง ในหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

คุณภาพการให้บริการ

ประสิทธิผล

จังหวัดมีทิศทางการพัฒนาที่ สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล และความต้องการระดับพื้นที่

เครือข่ายภาคประชาชน ประชาสังคม ภาคเอกชน และ ภาควิชาการในพื้นที่ มีส่วนร่วมในการพัฒนาระดับพื้นที่

แผนพัฒนาพื้นที่ในทุกระดับมีคุณภาพ

ประสิทธิภาพ

สร้างกลไกการจัดทําและประสานแผนพัฒนาของ อปท. ขับเคลื่อนและบูรณาการแผนชุมชนและ แผนพัฒนาท้องถิ่นสู่การปฏิบัติ

พัฒนาบทบาทของ กม. และ อปท. ในการจัดทําแผน ยุทธศาสตร์พัฒนาอําเภอ

พัฒนาองค์กร

พัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลให้มีขดี ความสามารถสูง พัฒนาระบบฐานข้อมูล/ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศให้ถูกต้อง ทันสมัย

พัฒนาขีดความสามารถของอําเภอให้เป็นศูนย์กลางในการบูรณาการ การบริหาร การพัฒนา และการแก้ไขปัญหาระดับพื้นที่ เพิ่มขีดความสามารถของ อปท. ในการบริหารจัดการ งบประมาณ และจัดกิจกรรมสาธารณะร่วมกัน

พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ

พัฒนาระเบียบ กฎหมายให้สอดคล้อง ต่อความเปลี่ยนแปลงของสังคม

23

ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ท้องที่ และท้องถิ่น มีความพร้อมรองรับ การเปลี่ยนแปลง

พัฒนาโครงสร้างทางกายภาพ และสภาพแวดล้อม ให้เอื้อต่อการทํางานและการให้บริการ


ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างเสริมความสงบเรียบร้อย การอํานวยความเป็นธรรม และความมั่นคงปลอดภัยในชีวิต เป้าประสงค์

1. ประชาชนมีความสามัคคี ปรองดอง และธํารงรักษาไว้ซึ่งสถาบันหลักของชาติ 2. ประชาชนมีหลักประกันด้านความปลอดภัยจากระบบบริหารจัดการสาธารณภัยที่มีมาตรฐาน ตามหลักสากล 3. สังคมไทยมีความสงบเรียบร้อย และมีภูมิคมุ้ กันจากภัยยาเสพติด 4. ระบบการรักษาความมั่นคงภายในมีประสิทธิภาพสูง 5. กระทรวงมหาดไทยมีกลไกการอํานวยความเป็นธรรมที่เป็นที่พึ่งของประชาชน และ มีหลักประกันด้านความเป็นธรรมให้กับประชาชน 6. ที่ดินของรัฐมีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน

24


แผนที่ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2

คุณภาพการให้บริการ

หมู่บ้านใน จชต. มีความมั่นคงเข้มแข็ง

ประสิทธิภาพ

ประสิทธิผล

สังคมมีภมู ิคมุ้ กันจากปัญหา ยาเสพติดในระดับพื้นที่

เพิ่มประสิทธิภาพฝ่ายปกครองใน การป้องกัน ติดตาม และบังคับใช้กฎหมาย ในความรับผิดชอบ

การบริหารจัดการชายแดน มีความมั่นคง

ประชาชนมีหลักประกัน ด้านความเป็นธรรม

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขีดความสามารถ ในการจัดการปัญหายาเสพติด

กลไกการอํานวยความเป็นธรรมในสังคม ได้รบั การพัฒนาอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ

แนวเขตที่ดินของรัฐถูกต้อง ชัดเจน

ผู้มีสิทธิในการถือครองที่ดินได้รับ โฉนดที่ดินที่ถูกต้องตามกฎหมาย

ส่งเสริมศักยภาพและพัฒนาบทบาท ของคณะกรรมการหมู่บา้ น (กม.) ในการ ไกล่เกลี่ย ประนอมข้อพิพาทระดับในพื้นที่

พัฒนาองค์กร

พัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลให้มีขีดความสามารถสูง พัฒนาระบบฐานข้อมูล/ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศให้ถูกต้อง ทันสมัย

พัฒนากระบวนการคุ้มครอง ที่ดินของรัฐ

ระบบเตือนภัยและระบบป้องกันสาธารณภัย มีความพร้อมทั้งระดับองค์กรและมาตรการ

เพิ่มประสิทธิภาพด้านการข่าว เพื่อความมั่นคง

พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ

พัฒนาระเบียบ กฎหมายให้สอดคล้อง ต่อความเปลี่ยนแปลงของสังคม

25

ประชาชนมีหลักประกัน ด้านความปลอดภัย

ประชาชนมีความสามัคคี ปรองดองและธํารงรักษาไว้ ซึ่งสถาบันหลักของชาติ

พัฒนาโครงสร้างทางกายภาพ และสภาพแวดล้อม ให้เอื้อต่อการทํางานและการให้บริการ


ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมให้ชุมชนเข้มแข็ง เมืองน่าอยู่ และประชาชนอยู่เย็นเป็นสุขตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป้าประสงค์

1. ประชาชนอยู่เย็นเป็นสุข พ้นระดับความยากจนอย่างยั่งยืน 2. เศรษฐกิจฐานรากได้รับการพัฒนาด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น 3. เมืองมีการเติบโตอย่างสมดุลและยั่งยืน

26


แผนที่ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3

ครัวเรือนยากจนได้รับการแก้ไข ปัญหาอย่างบูรณาการ

ประสิทธิภาพ

คุณภาพการให้บริการ

ประสิทธิผล

หมู่บ้าน/ชุมชน มีความสุขมวลรวมเพิ่มขึ้น

พัฒนาผู้ผลิต/ ผู้ประกอบการ และ การตลาด OTOP

ประชาชนน้อมนําแนวทางการพัฒนา อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง และการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท มาเป็นหลักในการดําเนินชีวิต

ทุนชุมชนมีความมั่นคงและ มีธรรมาภิบาล

ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบทไทย มีความถูกต้องและเป็นปัจจุบัน

พัฒนาองค์กร

พัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลให้มีขดี ความสามารถสูง

ผังเมืองทุกระดับมีการ บริหารจัดการที่ดี

พัฒนาบทบาทกํานัน ผู้ใหญ่บา้ น และ กม. ให้เป็นกลไกหลัก ในการพัฒนาหมู่บ้าน

พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ

พัฒนาระเบียบ กฎหมายให้สอดคล้อง ต่อความเปลี่ยนแปลงของสังคม

27

ที่ดินได้รับการจัดรูป เพื่อพัฒนาพื้นที่

ส่งเสริมการใช้นวัตกรรมใน การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชมุ ชน

พัฒนากระบวนการ จัดทีด่ ินให้แก่ประชาชน เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน

พัฒนาระบบฐานข้อมูล/ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศให้ถูกต้อง ทันสมัย

ชุมชน/เมืองมีสภาพแวดล้อมที่ดี

พัฒนาโครงสร้างทางกายภาพ และสภาพแวดล้อม ให้เอื้อต่อการทํางานและการให้บริการ


ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบบริการสาธารณะที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม เป้าประสงค์

1. ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสาธารณะที่มีคุณภาพ อย่างรวดเร็ว ทั่วถึง และเท่าเทียม 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถจัดบริการสาธารณะที่มีคุณภาพแก่ประชาชน 3. ระบบข้อมูลพื้นฐานเพื่อการบริหารและพัฒนาประเทศมีความสมบูรณ์และเชื่อถือได้

28


แผนที่ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4

คุณภาพการให้บริการ

การให้บริการด้านช่าง แก่ อปท. ชุมชน และส่วนราชการ มีคุณภาพ

ประสิทธิภาพ

ประสิทธิผล

กระทรวงมหาดไทยมีระบบบริการเชิงรุก โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง

ส่งเสริม สนับสนุนให้ อปท. จัดบริการสาธารณะ และสวัสดิการ ขั้นพื้นฐานให้แก่ประชาชนในพื้นที่

การให้บริการด้าน ทะเบียนและบัตร ทะเบียนทีด่ ิน มีความทันสมัยและทั่วถึง

พัฒนาระบบการจัดเก็บ การเชื่อมโยง และการใช้ประโยชน์ข้อมูล พื้นฐานทางทะเบียน

พัฒนาองค์กร

พัฒนาระเบียบ กฎหมายให้สอดคล้องต่อ ความเปลี่ยนแปลงของสังคม

29

พัฒนาระบบบริหารจัดการ ระบบสารสนเทศทีด่ ินให้ถกู ต้อง และเป็นปัจจุบัน

กําลังการผลิตน้ําประปาเพิ่มขึ้น และระบบจําหน่ายน้ําประปา เพียงพอ ทั่วถึง และมีคุณภาพ

พัฒนาระบบบริการสาธารณะ ให้ได้มาตรฐานและทั่วถึง

พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ

พัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลให้มีขดี ความสามารถสูง พัฒนาระบบฐานข้อมูล/ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศให้ถูกต้อง ทันสมัย

ระบบจําหน่ายพลังไฟฟ้ามีความ ครอบคลุมทั่วถึง และระบบไฟฟ้า มีความปลอดภัย

พัฒนาโครงสร้างทางกายภาพ และสภาพแวดล้อม ให้เอื้อต่อการทํางานและการให้บริการ


ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 เพิ่มขีดสมรรถนะองค์กรให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง เป้าประสงค์

1. กระทรวงมหาดไทยบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาล และมีภาพลักษณ์ที่ดีต่อสาธารณชน 2. บุคลากรดี เก่ง มีความสุข และผูกพันต่อองค์กร 3. กระทรวงมหาดไทยเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ 4. กระทรวงมหาดไทยพร้อมทํางานเชิงรุก ภายใต้บริบทการเปลี่ยนแปลงในมิติตา่ งๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ

30


แผนที่ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5

คุณภาพการให้บริการ

ประสิทธิผล

กระทรวงมหาดไทยมีภาพลักษณ์ที่ดี

กระทรวงมหาดไทยมีความพร้อมและทํางาน เชิงรุกต่อการเปลี่ยนแปลงในมิตติ ่าง ๆ

ประสิทธิภาพ

พัฒนาระบบบริหารจัดการภายในองค์กร ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์

พัฒนาองค์กร

ระบบบริหารจัดการของกระทรวงมหาดไทย มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้

พัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลโดยยึดหลัก สมรรถนะ คุณธรรม และความสมดุล ระหว่างชีวิตกับการทํางาน

ส่งเสริมการเรียนรู้ และพัฒนาระบบ แลกเปลี่ยน/ วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้

ปรับปรุง พัฒนาโครงสร้างทางกายภาพ และ สภาพแวดล้อมให้ได้มาตรฐานและเอื้อต่อการทํางาน และการให้บริการประชาชน

31


ส่วนที่ 3 รายละเอียดแผนยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2555-2559

32


รายละเอียดแผนยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2555 – 2559

ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. สนับสนุน ส่งเสริมการ บริหารราชการส่วนภูมิภาค ท้ อ ง ที่ แ ล ะ ท้ อ ง ถิ่ น ใ ห้ เหมาะสมต่ อ การพั ฒ นา ประเทศ และส่ง เสริ ม พั ฒ น า ก า ร เ มื อ ง ก า ร ปกครองในระบอบ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย อั น มี พระมหากษั ต ริ ย์ ท รงเป็ น ประมุข

เป้าประสงค์ ๑.๑ ราชการส่วนภูมิภาค ท้องที่ และท้องถิ่น มีการ จัดระบบความสัมพันธ์ และการบริหารทีเ่ หมาะสม สอดคล้องกับการ เปลี่ยนแปลง

ตัวชี้วัดระดับ เป้าประสงค์ - ระดับความสําเร็จ ในการจัดทําข้อเสนอ การเปลี่ ย นแปลง เกี่ยวกับการจัดระบบ ความสั ม พั น ธ์ แ ละ การบริ หารราชการ ส่ว นภู มิ ภ าค ท้ อ งที่ และท้องถิ่น

ข้อมูลพื้นฐาน

เป้าหมาย

๕๒

๕๓

๕๔

๕๕

๕๖

๕๗

๕๘

๕๙

-

-

-

-

3

4

5

5

เป้า หมาย

กลยุทธ์

วัตถุประสงค์

๑.๑.๑ เตรียมความ พร้อมเชิงรุก เพือ่ รองรับ การเปลี่ยนแปลงระหว่าง ราชการบริหารส่วน ภูมิภาค ท้องที่ และ ท้องถิ่น

เพื่อให้ราชการส่วน ภูมิภาค ท้องที่ และ ท้องถิ่น มีระบบ ความสัมพันธ์เชิง อํานาจ บทบาท ภารกิจ ที่เหมาะสมกับการ เปลี่ยนแปลงของ สังคม

- ระดับความสําเร็จของ โครงการในการเตรียม ความพร้อม

- โครงการศึกษาวิจยั การกําหนด บทบาท รูปแบบความสัมพันธ์ ของราชการส่วนภูมภิ าค ท้องที่ และท้องถิ่น (สป.) / (ปค.) - การพัฒนาและส่งเสริมการ บริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น (สป.) - โครงการเพิม่ ประสิทธิภาพใน การกํากับดูแลองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นของ นอ. (ปค.) - โครงการสัมมนาเพื่อทบทวน จัดทําแผนยุทธศาสตร์ 10 ปี ท้องถิ่น และแผนปฏิบัติ ราชการ 4 ปี (พ.ศ.25572560) ของกรมส่งเสริมการ ปกครองท้องถิ่น (สถ.)

1.1.2 สร้างความ ตระหนักรู้และความ เข้าใจร่วมกันต่อความ เปลี่ยนแปลงทางการ บริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วน ท้องถิ่น

เพื่อสร้างเวทีในการ รวบรวมประมวล ข้อคิดเห็นจากทุกภาค ส่วนในการร่วมกําหนด ยุทธศาสตร์ในการ พัฒนาและปรับปรุง การบริหารราชการ บริหารส่วนกลาง ส่วน ภูมิภาค และส่วน ท้องถิ่นให้เหมาะสม สอดคล้องกับ สภาวการณ์ทเี่ ปลี่ยนไป

- ระดับความสําเร็จของ การดํ า เนิ น โครงการใน การสร้างความตระหนักรู้ และความเข้าใจต่อความ เปลี่ ย นแปลงทางการ บริหารราชการส่วนกลาง ส่ ว นภู มิ ภ าค และส่ ว น ท้องถิ่น

5

- โครงการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “ถอดรหัสมหาดไทย: ทศวรรษแห่งการ เปลี่ยนแปลง” เนื่องในโอกาส วันสถาปนา กระทรวงมหาดไทยครบรอบ 120 ปี (สถ.) - โครงการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “10 ปี สถ.: สู่ทศวรรษ แห่งการเปลี่ยนแปลงสูท่ ้องถิ่น ชุมชนเข้มแข็ง เพือ่ การพัฒนา อย่างยั่งยืน” เนื่องในโอกาส ครบรอบ 10 ปี (สถ.)

~1~

ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์

๕๕

โครงการ/กิจกรรม

หน่วย

หน่วย รับผิดชอบ หลัก

สนับสนุน

สป.

ทุกหน่วย


ประเด็นยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์

ตัวชี้วัดระดับ เป้าประสงค์

ข้อมูลพื้นฐาน

เป้าหมาย

๕๒

๕๓

๕๔

๕๕

๕๖

๕๗

๕๘

๕๙

-

-

5

5

5

5

5

๑.๒ ประชาชนมี ค วามรู้ ความเข้ า ใจที่ ถู ก ต้ อ งใน หลักการปกครองระบอบ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย อั น มี พระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข

- ระดับความสําเร็จ ในการดํ า เนิ น งาน ตามแผนงานส่งเสริม การปกครองระบอบ ประชาธิ ป ไตยอั น มี พระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุขฯ

-

1.๓ จังหวัด/กลุ่มจังหวัด สามารถตอบสนองความ ต้ อ งการของประชาชน ศักยภาพการพัฒนา และ ปัญหาในระดับพื้นที่

1) จํานวนจังหวัด ที่มีการจัดทํา แผนพัฒนาจังหวัด โดยผ่านกระบวนการ มีส่วนร่วมของ ประชาชนในพื้นที่ ตามหลักเกณฑ์ที่ กําหนด

75

75

75

๗๖

๗๖

๗๖

๗๖

๗๖

2) จํานวนกลุ่ม จังหวัดที่มีการจัดทํา แผนพัฒนากลุ่ม จังหวัดโดยผ่าน กระบวนการมีส่วน ร่วมของประชาชน ในพื้นที่ตาม หลักเกณฑ์ที่กําหนด

18

18

18

18

18

18

18

18

กลยุทธ์

วัตถุประสงค์

๑.๒.๑ ส่งเสริมและ ปลูกฝังวิถีชีวิตแบบ ประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยท์ รงเป็น ประมุขไปใช้ในการ ดําเนินชีวิต

เพื่อให้ประชาชนยึดมั่น ในการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยท์ รง เป็นประมุข

1 . ๓ . ๑ ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร พั ฒ น า จั ง ห วั ด / ก ลุ่ ม จังหวัด ให้ส อดคล้องกับ นโยบายรัฐบาลและความ ต้องการในระดับพื้นที่

เพื่อให้จังหวัด/กลุ่ม จังหวัดมีทิศทางการ พัฒนาที่สอดคล้องกับ นโยบายรัฐบาล และ ตอบสนองความ ต้องการของประชาชน ในระดับพื้นที่

- จํานวนหมู่บ้านที่มี การส่งเสริมกิจกรรม ตามวิถีชีวิตแบบ ประชาธิปไตย

เป้า หมาย ๕๕ ๘,๗๘๐ หมู่บ้าน

~2~

เพื่อให้กระบวนการ พัฒนาพื้นที่ทุกระดับ อยู่บนพื้นฐานของ ข้อมูล ปัญหา และ ความต้องการที่ แท้จริงของประชาชน ภายใต้กระบวนการมี ส่วนร่วมจากทุกภาค ส่วน

หน่วย

หน่วย รับผิดชอบ หลัก

สนับสนุน

- โครงการส่งเสริมวิถีชีวติ ใน ระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยท์ รงเป็น ประมุข (ปค.)

ปค.

สป.

สป.

ปค./ พช./ สถ.

โครงการ/กิจกรรม

- ร้อยละที่เพิม่ ขึ้น ของการจัดกิจรรม ส่งเสริมวิถีชีวิตแบบ ประชาธิปไตย - ระดับความสําเร็จใน การจัดทําแผนพัฒนา จังหวัด/กลุ่มจังหวัด

- โครงการส่ ง เสริ ม และพั ฒ นา ระบบการบริหารงานและบุคลากร จังหวัด/ กลุ่มจังหวัด (สป.) - โครงการพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพ การติดตามและประเมินผลระดับ จังหวัดและกลุ่มจังหวัด (สป.) - โครงการขยายฐานเศรษฐกิจทั้ง การผลิต การลงทุนในการพัฒนา จังหวัดและเมืองชายแดน (สป.) - โครงการพั ฒ นาความร่ ว มมื อ ภาครัฐและเอกชน (สป.) - โครงการศึกษาเพื่อยกระดับขีด ความสามารถการปฏิบัติงานของ สํ า นั ก บริ ห ารยุ ท ธศาสตร์ ก ลุ่ ม จังหวัด (OSM) (สป.) - การสนั บ สนุ น ค่ า ใช้ จ่ า ยในการ บริ ห ารจั ด การของผู้ ว่ า ราชการ จั ง หวั ด ในการแก้ ไ ขปั ญ หาความ เดื อดร้ อนเร่ง ด่ วนของประชาชน (สป.)

- ร้อยละของแผนพัฒนา ทุกระดับในจังหวัด ผ่านเกณฑ์การประเมิน คุณภาพของแผน

-

- การประกวดแผนพัฒนา หมู่บ้าน (ปค.) - โครงการพัฒนากระบวนการ แผนชุมชน (พช) - โครงการพัฒนาระบบรับรอง มาตรฐานแผน (พช.)

เพื่อให้จังหวัดมีระบบ และกลไกการทํางาน เพื่อการพัฒนาจังหวัด ได้อย่างถูกต้องและ ทันการณ์

1.๓.2 พัฒนาคุณภาพ ของแผนทุกระดับ

ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์


ประเด็นยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์ ๑.๔ อําเภอเป็นศูนย์กลาง ในการบู ร ณาการบริ ห าร การพัฒนาและการแก้ไ ข ปัญหาในระดับพื้นที่

ตัวชี้วัดระดับ เป้าประสงค์ - ระดับความสําเร็จ ของอําเภอในการ บูรณาการการ พัฒนาด้านต่างๆ

ข้อมูลพื้นฐาน

เป้าหมาย

๕๒

๕๓

๕๔

๕๕

๕๖

๕๗

๕๘

๕๙

-

-

-

กลยุทธ์

วัตถุประสงค์

๑.๔.๑ พัฒนาขีด ความสามารถของอําเภอ ให้เป็นศูนย์กลางการบูร ณาการการบริหาร การ พัฒนาและการแก้ไข ปัญหาในระดับพื้นที่

เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการให้ อําเภอเป็นศูนย์กลาง ในการบูรณาการการ ปฏิบัติงานในพื้นที่ อย่างแท้จริง

๑.๔.๒ พัฒนาบทบาท ข อ ง คณะกรรมการ หมู่ บ้ า น (กม.) และ อปท. ในการจั ด ทํ า แผนยุทธศาสตร์พัฒนา อําเภอ

เพื่อให้แผน ยุทธศาสตร์พัฒนา อําเภอ เกิดจากการมี ส่วนร่วมของกลไก การทํางาน และ เป็นไปในทิศทาง เดียวกัน

๑.๔.๓ ขับเคลื่อนและ บูรณาการแผนชุมชน และแผนพัฒนาท้องถิ่น สู่การปฏิบัติ

เพื่อให้แผนชุนชน และแผนพัฒนา ท้องถิ่นมีความ สอดคล้องกับ แผนพัฒนาจังหวัด

ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์

๕๕

- ร้อยละความพึงพอใจ ของภาคีการพัฒนาทีม่ ี ต่อการบริหารงาน อําเภอ

ร้อยละ ๙๐

- ร้อยละของอําเภอ ที่มีแผนยุทธศาสตร์ พัฒนาอําเภอผ่าน เกณฑ์มาตรฐานที่ กําหนด

ร้อยละ ๙๕

- ร้อยละของอําเภอที่มี กระบวนการเชื่อมโยง ข้อมูลในการบูรณาการ การจัดทําแผน ยุทธศาสตร์พัฒนา อําเภอเป็นไปตาม เกณฑ์ที่กําหนด - จํานวนอําเภอที่มีการ จัดทําแผน ยุทธศาสตร์พัฒนา อําเภอโดยผ่านกลไก การมีส่วนร่วมของ กม. และ อปท. - ร้อยละของหมู่บ้าน ที่มีและใช้แผนชุมชน ในการบริหารจัดการ ชุมชนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

ร้อยละ

- ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของ อปท. ต้นแบบ มีการ จัดทําแผนพัฒนาท้องถิ่น ที่เกิดจากการมีส่วนร่วม ของประชาชน ~3~

เป้า หมาย

๗๐

ร้อยละ

๓๐

โครงการ/กิจกรรม - โครงการเพิม่ ประสิทธิภาพ กบอ. (ปค.) - โครงการเพิม่ ประสิทธิภาพ ปลัดอําเภอผูร้ ับผิดชอบการ จัดทําแผนยุทธศาสตร์พฒ ั นา อําเภอ(ปค.) - โครงการเพิม่ ประสิทธิภาพ ในการกํากับ ดูแลองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นของ นายอําเภอ (ปค.) - โครงการส่งเสริมระบบ บริหารจัดการและพัฒนา หมู่บ้านแบบมีส่วนร่วม (ปค.)

- โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดอําเภอผู้รับผิดชอบการ จัดทําแผนยุทธศาสตร์ พัฒนาอําเภอ (ปค.)

- โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ ศูนย์ประสานงานองค์การ ชุมชนในการขับเคลื่อนแผน ชุมชน (พช.) - โครงการการประกาศ วาระแห่งชุมชน (พช.) - โครงการพัฒนา อปท. ต้นแบบที่มีการบริหารและ พัฒนาด้วยการมีส่วนร่วม ของประชาชน (สถ.)

หน่วย

หน่วย รับผิดชอบ หลัก

สนับสนุน

ปค.

พช./สถ.


ประเด็นยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์

ตัวชี้วัดระดับ เป้าประสงค์ - ระดับ ความสําเร็จในการ ประกาศใช้ระเบียบ กระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทํา และประสาน แผนการพัฒนา องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น

๑.๕ องค์ ก รปกครอง ส่วนท้องถิ่นมีศักยภาพ ในการบริ ห ารจั ด การ ท้องถิ่น

๑ . ๖ เ ค รื อ ข่ า ย ภ า ค ประชาชน ภาคประชา สั ง คม ภาคเอกชน และ ภ า ค วิ ช า ก า ร ใ น พื้ น ที่ ได้รับการส่งเสริมบทบาท และมี ส่ ว นร่ ว มในการ พัฒนาระดับพื้นที่ ร่วมกับ ภาครัฐ

ข้อมูลพื้นฐาน

เป้าหมาย

๕๕

โครงการ/กิจกรรม

หน่วย รับผิดชอบ หลัก

๕๓

๕๔

๕๕

๕๖

๕๗

๕๘

๕๙

-

-

-

3

4

4

5

5

1.4.4 สร้างกลไกการ จัดทําและประสาน แผนพัฒนาของ อปท.

เพื่อให้เกิดการ บูรณาการในการ จัดทําและประสาน แผนพัฒนา ของ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น โดย คํานึงถึงความ ต้องการของ ประชาชนในพื้นที่ และสอดคล้องกับ แนวทางการพัฒนา ในระดับต่าง ๆ

- ระดับความสําเร็จใน การประกาศใช้ระเบียบ มท. ว่าด้วยการจัดทํา และประสานแผนพัฒนา อปท. พ.ศ.. (เฉพาะปี 2555)

3

- กิจกรรมการยกร่าง ระเบียบกระทรวง มหาดไทยว่าด้วยการจัดทํา และประสานแผนพัฒนา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (สถ.)

๑.๕

๒.๕

1.5.1 ส่งเสริมให้ อปท. มีความสามารถ ในการจัดการตนเอง

เพื่อให้เกิดความ

-ร้อยละที่เพิม่ ขึ้นของ เงินรายได้ของ อปท. (นอกจากเงินอุดหนุน จากภาครัฐ)

1

สถ.

๑.๕.๒ ส่ ง เสริ ม ความ ร่วมมือของ อปท. ในการ จัดทํากิจกรรมสาธารณะ ร่วมกัน

เพื่อให้การทํางาน บรรลุผลสําเร็จมาก ขึ้น เป็นไปอย่างคุ้มค่า และประหยัด ทรัพยากรทางการ บริหาร

- ร้อยละของ อปท. ที่มีการบริหารจัดการ ร่วมกัน

- โครงการปรับปรุงระบบ โปรแกรมแผนที่ภาษีและ ทะเบียนทรัพย์ (สน.คท.) - โครงการจัดทําระบบภูมิ สารสนเทศเพือ่ พัฒนารายได้ของ อปท. (สน.คท.) - โครงการเพิม่ ประสิทธิภาพการ จัดเก็บรายได้ ของ อปท. - โครงการสนับสนุนความ ร่วมมือระหว่าง อปท. (สถ.)

๑ . ๖ . ๑ พั ฒ น า ค ว า ม ร่ ว มมื อ และสนั บ สนุ น ก ล ไ ก ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ข อ ง ภ า คี / เครื อ ข่ า ยการพั ฒ นาใน ระดับพื้นที่

เพื่อให้การพัฒนา จังหวัด เกิดการมีส่วน ร่วมจากทุกภาคส่วน อย่างแท้จริง

- ระดับการมีส่วนร่วม ของกลไกการทํางาน ภาคีการพัฒนา และ เครือข่ายในการพัฒนา จังหวัด - จํานวนประชาชนใน ทุกจังหวัดที่ได้รับการ พัฒนาให้เป็นสมาชิก

- โครงการขยายผลศูนย์ ปฏิบัติการร่วม ROC (สป.) - การพัฒนาประสิทธิภาพและ การประมาณงานข่าวกรองและ พัฒนาการข่าวภาคประชาชน ( สป.) - โครงการพัฒนาศักยภาพ กรอ. จังหวัด/กลุ่มจังหวัด (สป.) - โครงการแก้ไขปัญหาครัวเรือน

สป.

๗๕

๗๕

๗๕

๗๖

๗๖

๗๖

๗๖

๗๖

~4~

วัตถุประสงค์

เป้า หมาย

๕๒

ร้อยละที่เพิ่มขึ้น ของการจัดเก็บ รายได้ในส่วนที่ อปท.จัดเก็บเอง เปรียบเทียบกับปี ที่ผ่านมา

จํ า น ว น จั ง ห วั ด ที่ จั ด กิ จ กรรมพั ฒ นา ความร่วมมือระหว่าง เครือข่าย

กลยุทธ์

ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์

คุ้มค่า ในภารกิจ แห่งรัฐ

๘,๐๐๐ คน

หน่วย สนับสนุน

ปค. พช. สถ.


ประเด็นยุทธศาสตร์

2. สร้างเสริมความสงบ เรียบร้อย การอํานวยความ เป็นธรรม และความมั่นคง ปลอดภัยในชีวิต

เป้าประสงค์

๒.๑ ประชาชนมี ค วาม สามั คคี ปรองดอง และ ธํ า รงรั ก ษาไว้ ซึ่ ง สถาบั น หลักของชาติ

ตัวชี้วัดระดับ เป้าประสงค์

- ระดับความสําเร็จ ในการดํ า เนิ น งาน ตามแผนงานส่งเสริม การปกครองระบอบ ประชาธิ ป ไตยอั น มี พระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข ฯ

ข้อมูลพื้นฐาน

เป้าหมาย กลยุทธ์

๕๒

-

๕๓

-

๕๔

-

๕๕

๕๖

๕๗

๕๘

๕๙

เป้า หมาย ๕๕

โครงการ/กิจกรรม

เครือข่ายประชาชนด้าน การข่าว

ยากจนแบบบูรณาการ (พช) - โครงการนําเสนอข้อมูลเชิง นโยบายแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กับการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของ ประชาชนในชนบท (พช.) - โครงการพัฒนาหมู่บ้าน เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ (พช.) - โครงการจัดประชุมชี้แจงและ ศึกษาดูงานกระบวนการเกี่ยวกับ การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงและการเรียนรู้ตามรอย เบื้องพระยุคลบาท (สถ.)

1.6.2 ส่งเสริมการมีส่วน ร่วมของภาคีทุกภาคส่วนใน การกําหนดนโยบายในทุก ระดับของการพัฒนา เน้น การเชื่อมประสานองค์ ความรู้การประยุกต์ใช้ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

เพื่อให้เกิดความ ร่วมมืออย่างมั่นคง ยั่งยืนของภาคีทุกภาค ส่วนในการขับเคลื่อน ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงสู่การปฏิบัติ

- ร้อยละที่เพิม่ ขึ้นของ อปท. ที่ผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย เป็นหุ้นส่วนในการ ขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงในทุกระดับของ การพัฒนา

๒.๑.๑ สร้างความ ตระหนักถึงความสําคัญ ของสถาบันหลักของชาติ ในระดับพื้นที่

เพื่ อ ให้ ป ระชาชนใน ชาติ มีค วามตระหนั ก และเห็ น ความสํ า คั ญ ของสถาบันหลักของชาติ

- ร้อยละของโครงการ/ กิจกรรมที่ดําเนินการ แล้วเสร็จตามเกณฑ์ที่ กําหนด

๑๐๐

- จํานวนงานก่อสร้าง ปรับปรุงอาคารในเขต พระราชฐานแล้วเสร็จ เป็นไปตามพระราช ประสงค์ภายในเวลา และงบประมาณตามที่ กําหนด

๖ แห่ง

~5~

วัตถุประสงค์

ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์

- โครงการผลิตสือ่ สารคดีหรือ ภาพยนตร์สั้นเกีย่ วกับพระราช กรณียกิจ - โครงการเข้าค่ายตามรอยพ่อ - กิจกรรมรวมพลังคนรักพ่อ ทําความดีเฉลิมพระเกียรติใน โอกาสสําคัญที่เกี่ยวกับ พระมหากษัตริย์ - โครงการปลูกสํานึกรัก สามัคคี และเสริมสร้างความ ปรองดอง - โครงการสนับสนุนกิจกรรม พิเศษหลวง (ยผ.)

หน่วย

หน่วย รับผิดชอบ หลัก

สนับสนุน

สป.

ทุกหน่วย


ประเด็นยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์ ๒.๒ ประชาชนมีหลัก ประกันด้านความปลอดภัย จากระบบบริหารจัดการ สาธารณภัยทีม่ ีมาตรฐาน ตามหลักสากล

ตัวชี้วัดระดับ เป้าประสงค์ ระดับความสําเร็จ ในการบริหารจัดการ สาธารณภัยที่เป็นไป ตามมาตรฐานสากล กําหนด

ข้อมูลพื้นฐาน

เป้าหมาย

๕๒

๕๓

๕๔

๕๕

๕๖

๕๗

๕๘

๕๙

-

-

-

เป้า หมาย

กลยุทธ์

วัตถุประสงค์

ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์

๒.๒.๑ พั ฒ นากลไกเชิ ง สถาบั น และมาตรการ เตรี ย มความพร้ อ มใน ระบบเตือนภัยและระบบ ป้องกันสาธารณภัยและภัย พิบัติต่าง ๆ

เพื่อจัดตั้งหน่วยงาน ด้านสาธารณภัยทีม่ ี มาตรฐาน

- ระดับความสําเร็จ ในการจัดตั้งหน่วยงาน ด้านสาธารณภัย

2

- โครงการจัดตั้งศูนย์บัญชาการ สาธารณภัยแห่งชาติ (ปภ.) - โครงการก่อสร้างสถาบัน ดับเพลิงและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.)

เพื่อสร้างระบบและ แนวทางป้องกัน ผลกระทบจากสา ธารณภัยและภัย พิบัติต่างๆ

- ร้ อยละของพื้ นที่ เสี่ ยง ได้ ดํ าเนิ นการพั ฒนา ฟื้ นฟู โครงสร้ างพื้ นฐาน ตามแผนพั ฒนาฟื้ นฟู โครงสร้างพื้นฐานของ ปภ.

-

- โครงการป้องกันและลด ผลกระทบจากน้ําท่วม น้ําป่าไหลหลาก และโคลน ถล่มโดยใช้โครงสร้าง (ปภ.)

- จํานวนพื้นที่ชุมชนที่ ประสบภัยน้ําท่วมที่มี ความจําเป็นเร่งด่วนได้รับ การป้องกัน

34 แห่ง

- ระบบป้องกันน้ําท่วมพื้นที่ ชุมชนที่จัดทํา (ยผ.)

๕๕

34,359

- ความยาวของแม่น้ําใน เมตร ประเทศและความยาวของ ชายฝั่งทะเลที่ถูกกัดเซาะ ได้รับการป้องกันการ พังทลาย - ความยาวแม่น้ําชายแดน 45,424 เมตร ระหว่างประเทศที่ถูกกัด เซาะได้รับการป้องกันมิให้ เกิดการสูญเสียดินแดน - จํานวนลุ่มน้ําที่ได้จัดทํา ผังนโยบายบรรเทา อุทกภัย

๒.๒.๒ เพิม่ ขีด ความสามารถการบริหาร จัดการสาธารณภัยอย่าง ครบวงจร

~6~

เพื่อให้การบริหาร จัดการสาธารณภัย เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพและ ทันต่อสถานการณ์

โครงการ/กิจกรรม

- โครงการก่อสร้างเขือ่ น ป้องกันตลิ่งริมแม่นา้ํ และริม ทะเลทั่วประเทศ (ยผ.) - โครงการป้องกันการสูญเสีย ดินแดนชายฝั่งแม่นา้ํ ชายแดน ระหว่างประเทศอันเนือ่ งมาจากภัย ธรรมชาติเพื่อความมั่นคง (ยผ.)

- โครงการวางและจัดทําผัง 5 ลุ่มน้ํา นโยบาย บรรเทาอุทกภัยลุ่มน้าํ (ยผ.)

- ระดับความสําเร็จของ การบริหารจัดการสา ธารณภัย

3

- มีกองบัญชาเหตุการณ์ ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

-

- โครงการพัฒนาระบบ บัญชาการเหตุการณ์ - โครงการเสริมสร้างและพัฒนา ชุดเผชิญสถานการณ์วิกฤต (ERT) - โครงการเสริมสร้างสมรรถนะ ชุมชนในการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย - โครงการลดอุบัติภัยและความ สูญเสียจากอุบัติเหตุจราจร

หน่วย

หน่วย รับผิดชอบ หลัก

สนับสนุน

ปภ.

ยผ.


ประเด็นยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์

ตัวชี้วัดระดับ เป้าประสงค์

ข้อมูลพื้นฐาน

เป้าหมาย กลยุทธ์

๕๒

๕๓

๕๔

๕๕

๕๖

๕๗

๕๘

วัตถุประสงค์

๕๙

ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์

เป้า หมาย ๕๕

โครงการ/กิจกรรม

หน่วย รับผิดชอบ หลัก

หน่วย สนับสนุน

- โครงการค่ายแม่บ้านอาสาสมัคร และชุมชมเข้มแข็งเพื่อเตรียม ความพร้อมป้องกันภัย - โครงการพัฒนาระบบการฟื้นฟู พื้นที่ประสบภัยเฉพาะหน้า - โครงการประสานงานและ ช่วยเหลือสงเคราะห์ผู้ประสบภัย - โครงการช่วยเหลือฟื้นฟู ความเสียหายจากภัยพิบัติ ธรรมชาติและสาธารณภัย

๒.๓ สังคมไทยมีความ สงบเรียบร้อย และ มีภูมิคมุ้ กันจาก ภัยยาเสพติด

1) จํานวนจังหวัดที่ ๗๕ ดําเนินการป้องกันและ แก้ไขปัญหา ยาเสพ ติดได้บรรลุเป้าหมาย ตามที่กระทรวง มหาดไทยกําหนด 2) ร้อยละของ หมู่บ้าน/ชุมชนที่ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน หมู่บ้าน/ชุมชน เข้มแข็งเอาชนะ ยาเสพติดอย่างยั่งยืน

-

๗๕

-

๗๕

-

๗๖

๘๐

๗๖

๘๐

๗๖

๘๐

๗๖

๘๐

๗๖

๒.๓.๑ บูรณาการการ ป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติดในระดับพื้นที่

๘๐

~7~

- ระดับความสําเร็จ ในการพัฒนาความร่วมมือ ด้านการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยกับ เครือข่ายภายใน/ ต่างประเทศ

3

- จํานวนจังหวัดที่มีการ จัดทําฐานข้อมูลยาเสพ ติดตามหลักเกณฑ์ ปปส. - จํานวนจังหวัดที่มีการ ดําเนินงานตามแผน ยุทธศาสตร์พลังแผ่นดิน เอาชนะยาเสพติดอย่าง ยั่งยืน เพื่อให้หมู่บ้าน/ชุมชน - ร้อยละของหมู่บ้าน/ มีความเข้มแข็ง ชุมชนที่ผ่านเกณฑ์ เอาชนะยาเสพติดได้ มาตรฐานหมู่บ้าน/ อย่างยั่งยืน ชุมชนเข้มแข็งเอาชนะ ยาเสพติดอย่างยั่งยืน

๗๖

เพื่อให้การป้องกัน และแก้ไขปัญหายา เสพติดมีระบบบริหาร จัดการที่ดี

๗๖ ๘๐

- โครงการเสริมสร้างความรู้ ทางวิชาการ การแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ และความร่วมมือใน การป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยระหว่างเครือข่ายทั้ง ในประเทศและต่างประเทศ - โครงการสนับสนุนการป้องกัน สป. และแก้ไขปัญหายาเสพติดใน (ศพส.มท.) ระดับพื้นที่ - โครงการขับเคลื่อนการดําเนินงาน ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด - โครงการรณรงค์ป้องกันและ แก้ไขปัญหายาเสพติด (To Be Number One) - จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อ เอาชนะยาเสพติดหมู่บ้าน/ชุมชน (ปค.) -โครงการประชาคมเพื่อรับรอง ครัวเรือน (ปค.) - โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ - การแก้ไขปัญหายาเสพติด - ของฝ่ายปกครอง (ปค.) - - โครงการประชุมเครือข่าย - องค์กรประสานพลังแผ่นดิน - เอาชนะยาเสพติด (ปค.)

ปค./ พช./ สถ.


ประเด็นยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์

ตัวชี้วัดระดับ เป้าประสงค์

ข้อมูลพื้นฐาน

เป้าหมาย กลยุทธ์

๕๒

๕๓

๕๔

๕๕

๕๖

๕๗

๕๘

วัตถุประสงค์

๕๙

ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์ - จํานวนร้อยละของ กองทุนแม่ของแผ่นดิน ที่เพิ่มขึ้น - อัตราการเสพซ้ําของ ผู้ที่เคยได้รับการบําบัด รักษาด้วยระบบสมัครใจ

3) ระดับ ความสําเร็จในการ จัดสรรงบประมาณ ให้แก่ อปท. เพื่อ เป็นค่าใช้จ่าย สําหรับดําเนิน โครงการป้องกันและ แก้ไขปัญหายาเสพ ติด

-

-

-

4) ระดับความสําเร็จ ในการป้องกัน ตรวจ ติดตามและบังคับใช้ กฎหมายในความ รับผิดชอบของฝ่าย ปกครอง

-

-

-

2.3.2 เสริมสร้างขีด ความสามารถของ อปท.ในการจัดการ ปัญหายาเสพติด

5

5

5

5

5

๒.๓.๒ เพิม่ ประสิทธิภาพ ฝ่ายปกครองในการ ป้องกัน ตรวจติดตาม และบังคับใช้กฎหมายใน ความรับผิดชอบ

~8~

- เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ อปท. ร่วมเป็น พลังแผ่นดิน ขับเคลื่อนการ ดําเนินงานป้องกัน และแก้ไขปัญหายา เสพติดในระดับพื้นที่ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย เชิงยุทธศาสตร์ “สังคมมีความ ปลอดภัยและได้รับ ผลกระทบจาก ยา เสพติดน้อยลง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการบังคับใช้ กฎหมาย และรักษา ความสงบเรียบร้อย

เป้า หมาย ๕๕

โครงการ/กิจกรรม

๑๕๒๐

- โครงการตรวจสุขภาพ กองทุนแม่ของแผ่นดิน (พช)

ไม่เกิน ร้อยละ ๕

- โครงการบําบัดรักษาด้วย ระบบสมัครใจ (ปค.) - โครงการป้องกันและแก้ไข ยาเสพติดของ อปท. (สถ.)

- จํานวน อปท. ที่ร่วม ดําเนินงานด้านการ ป้องกันและแก้ไขปัญหายา เสพติด โดยยึดข้อมูลผล การดําเนินงานจากระบบ E-plan เป็นหลัก - จํานวนของอปท. ที่ สนับสนุนให้ผู้ป่วยเข้ารับ การบําบัดรักษา

๓,๒๐๐ - จํานวนครั้งการ ตรวจติดตามป้องกัน และปราบปรามการ กระทําความผิด ๕ - ระดับความสําเร็จใน การจัดทําแผนพัฒนา ระบบงานทะเบียนอาวุธ ปืน ฯลฯ

-โครงการตรวจติดตามและ ป้องกันการกระทําความผิด (ปค.) - โครงการจัดทําแผนพัฒนา ระบบงานทะเบียนอาวุธปืน ฯลฯ แบบมีส่วนร่วม (ปค.)

- ร้อยละของสมาคม /มูลนิธิที่อยู่ในความ รับผิดชอบของ จังหวัดที่มีการกระทํา ผิดกฎหมาย

ไม่เกิน ๑๐

- โครงการส่งเสริมการปฏิบัติ ตามกฎหมายสมาคม/มูลนิธิ (ปค.)

- ร้อยละของการแก้ไข ข้อบกพร่องในการ ดําเนินกิจการของ ผู้ประกอบการสถาน บริการและโรงแรม

๖๐

- โครงการประชุมสัมมนา เชิงปฏิบัติการเจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงานตาม พ.ร.บ. โรงแรม พ.ศ. ๒๕๔๗ (ปค.) - โครงการให้ความรู้ผู้ ประกอบธุรกิจโรงแรมและ

หน่วย รับผิดชอบ หลัก

หน่วย สนับสนุน


ประเด็นยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์

ตัวชี้วัดระดับ เป้าประสงค์

ข้อมูลพื้นฐาน

เป้าหมาย กลยุทธ์

๕๒

๕๓

๕๔

๕๕

๕๖

๕๗

๕๘

วัตถุประสงค์

๕๙

ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์

เป้า หมาย ๕๕

โครงการ/กิจกรรม

หน่วย

หน่วย รับผิดชอบ หลัก

สนับสนุน

ปค.

สป./ยผ.

สถานบริการ และจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงาน (ปค.) ๒.๔ ระบบการรักษา ความมั่นคงภายใน มีประสิทธิภาพสูง

1) ระดับความสําเร็จ ของการจัดระเบียบ พื้นที่ชายแดน

-

-

-

๒.๔.๑ เสริมสร้างการจัด ระเบียบความมั่นคง ชายแดน

~9~

เพื่อให้เกิดความเป็น ระเบียบเรียบร้อยด้าน กิจการชายแดนและ กิจการด้านผู้อพยพ

- ร้อยละของอําเภอ ชายแดนที่มีแผนงาน/ โครงการ/กิจกรรมการ เสริมสร้างความมั่นคง ชายแดน

๗๕

- โครงการประชุมสัมมนาเชิง ปฏิบัติการข้าราชการ ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัด อําเภอชายแดน (ปค.)

- ระดับความสําเร็จของ การพัฒนาสถานที่ออก บัตรผ่านแดน (Border Pass) ให้เป็นระบบ อิเล็กทรอนิกส์

- โครงการเพิม่ ประสิทธิภาพ การให้บริการประชาชนใน การออกหนังสือผ่านแดนด้วย ระบบอิเล็กทรอนิกส์ (ปค.)

- ระดับความสําเร็จของ การจัดกิจกรรม เสริมสร้างความสัมพันธ์ กับประเทศเพื่อนบ้าน

- โครงการเสริมสร้าง ความสัมพันธ์และความเข้าใจ อันดีกับประเทศเพื่อนบ้านใน ระดับพื้นที่ (ปค.)

- ร้อยละของพื้นที่พักพิง ชั่วคราวผู้หนีภัยจากการสู้ รบทั้ง ๙ แห่ง ที่ผา่ น เกณฑ์ความปลอดภัย - จํานวนจังหวัดที่มี ช่องทางผ่านแดนมี กิจกรรมกระชับ ความสัมพันธ์กับ ท้องถิ่นและประเทศ เพื่อนบ้าน - ระดับความสําเร็จใน การซ่อมบํารุง ระบบสื่อสารในพื้นที่พัก พิงชั่วคราวผู้หนีภยั จาก การสู้รบ

๙๐

- โครงการฝึกอบรมทบทวน เพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพ สมาชิก อส. และผู้ปฏิบตั ิงาน ด้านกิจการผู้อพยพ (ปค.)

๒๕

- อํานวยการและประสาน นโยบายกิจการต่างประเทศ กิจการชายแดน (สป.)

- โครงการจัดระบบสือ่ สาร ผ่านดาวเทียมในภารกิจดูแล พื้นที่พักพิง ฯ (ปค.)


ประเด็นยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์

๒.๕ กระทรวงมหาดไทย มี ก ลไกการอํ า นวยความ เ ป็ น ธ ร ร ม ที่ เ ป็ น ที่ พึ่ ง ของประชาชน และ มี ห ลั ก ประกั น ด้ า นความ เป็นธรรมให้กับประชาชน

ตัวชี้วัดระดับ เป้าประสงค์

ข้อมูลพื้นฐาน ๕๒

๕๓

เป้าหมาย

๕๔

๕๕

๕๖

๕๗

๕๘

กลยุทธ์

วัตถุประสงค์

๒.๔.๒ เพิม่ ประสิทธิภาพ ด้านการข่าวเพื่อความ มั่นคง

เพื่อให้ระบบการข่าวมี ประสิทธิภาพ รวดเร็ว ถูกต้อง ครอบคลุมทุก พื้นที่

- ร้อยละที่เพิม่ ขึ้นของ จํานวนข้อมูลข่าวสาร ที่สามารถนําไปใช้ ประโยชน์ได้

- โครงการตรวจติดตามและ ปรับปรุงประสิทธิภาพ แหล่งข่าวของศูนย์ข่าวจังหวัด และศูนย์ขา่ วอําเภอ (ปค.)

๒.๔.๓ เสริมสร้างความ เข้มแข็งของหมู่บ้านใน พื้นที่จังหวัดชายแดน ภาคใต้

เพื่อสนับสนุนกลุ่ม มวลชนพื้นที่ให้มีส่วน ร่วมในการแก้ไขปัญหา ความไม่สงบใน จชต.

- ระดับความสําเร็จของ การสร้างความเข้มแข็ง ของหมู่บ้าน/ชุมชนใน พื้นที่ จชต.

- โครงการเสริมสร้างความ เข้มแข็งในการรักษาความสงบ เรียบร้อยและป้องกันตนเอง ของประชาชนในหมู่บ้าน (ปค.) - โครงการฝึกอบรม ผรส. (ปค.) - โครงการฝึกอบรมชุด คุ้มครองหมู่บ้าน และชุด คุ้มครองตําบล จชต. (ปค.)

- จํานวนโครงสร้าง พื้นฐานที่ได้รับการ ก่อสร้างและพัฒนา

23 แห่ง

- โครงการพัฒนาในพื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ยผ.)

70

- กิจกรรมการดําเนินการไกล่ เกลี่ยและประนอมข้อพิพาท ทางแพ่งและอาญาของ พนักงานฝ่ายปกครอง (ปค.)

๑๐

- โครงการสนับสนุนการ ตรวจสอบข้อเท็จจริงและการ สอบสวนคดีอาญา (ปค.) - โครงการสัมมนาเชิง ปฏิบัติการตาม กม.เพื่อ คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของ ประชาชน (ปค.)

๕๙

2 ) ร้ อ ย ล ะ ข อ ง ห มู่ บ้ า น ใ น พื้ น ที่ จชต. ผ่ านเกณ ฑ์ หมู่บ้านปลอดภัย

-

-

-

๙๘

๙๘

๙๘

๙๘

3) ระดับความสําเร็จ ของการพัฒนา ระบบโครงสร้าง พื้นฐานที่ได้มาตรฐาน ในพื้นที่ จชต.

-

-

-

-

4

5

5

5

2.4.4 พัฒนาระบบ โครงสร้างพื้นฐานในพื้นที่ จชต.

เพื่อยกระดับคุณภาพ ชีวิตของประชาชนใน พื้นที่ จชต.

1) ร้อยละของ อําเภอมีการพัฒนา ศูนย์อํานวยความ เป็นธรรมอําเภอให้ ได้มาตรฐาน

-

-

-

๖๐

๗๐

๘๐

๙๐

๑๐๐

๒.๕.๑ พัฒนากลไกการ อํานวย ความเป็นธรรมและการ สืบสวนสอบสวนในอํานาจ หน้าที่ ของพนักงานฝ่ายปกครอง อย่างต่อเนื่องและเป็น ระบบ

เพื่อพัฒนาระบบการ รับเรื่องราวร้องทุกข์ และระบบการไกล่เกลี่ย และประนอมข้อพิพาท ของพนักงานฝ่าย ปกครองให้เป็น มาตรฐานสากล

2) ร้อยละของ อําเภอทีผ่ ่านเกณฑ์ มาตรฐานการสืบสวน สอบสวนในอํานาจ หน้าที่ของพนักงาน ฝ่ายปกครอง

-

-

-

60

65

70

75

80

-เพื่อพัฒนาระบบการ สืบสวนสอบสวนใน อํานาจหน้าที่ของ พนักงานฝ่ายปกครอง ให้เป็นรูปธรรมและ มีมาตรฐาน

~ 10 ~

เป้า หมาย

ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์

- จํานวนที่ทําการ ปกครองอําเภอที่มีการ ตรวจติดตามมาตรฐาน การสืบสวนสอบสวนใน อํานาจหน้าที่ของ พนักงานฝ่ายปกครอง

๕๕

โครงการ/กิจกรรม

หน่วย

หน่วย รับผิดชอบ หลัก

สนับสนุน

ปค.

สป./ทด.


ประเด็นยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์

๒.๖ ที่ดินของรัฐมีการ บริหารจัดการที่มี ประสิทธิภาพและเกิด ประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน

ตัวชี้วัดระดับ เป้าประสงค์

ข้อมูลพื้นฐาน

เป้าหมาย กลยุทธ์

๕๒

๕๓

๕๔

๕๕

๕๖

๕๗

๕๘

๕๙

เป้า หมาย ๕๕

โครงการ/กิจกรรม

-พัฒนาขีด ความสามารถในการ สืบสวน สอบสวนของพนักงาน ฝ่ายปกครองให้มี สมรรถนะสูง เพื่อให้ประชาชนมี ช่องทางในการร้องทุกข์ ที่เข้าถึงได้ง่าย

- จํานวนพนักงานฝ่าย ปกครองที่ได้รับการ พัฒนาขีดความสามารถใน การสอบสวนคดีอาญา

๑๐๐

- ระดับความสําเร็จของ โครงการ

5

- โครงการศูนย์ดํารงธรรมนํา รอยยิ้มสู่ประชาชน (Smile line smile team) (สป.) - การบริหารจัดการข้อมูล ร้องเรียน ร้องทุกข์ (ทด.)

-

-

-

-

5

5

5

5

2.5.2 พัฒนาระบบ รับเรื่องราวร้องทุกข์

4) หมู่บ้าน/ชุมชน มีการจัดการความ ขัดแย้งผ่านกลไก คณะกรรมการ หมู่บ้าน (กม.)

-

-

-

๕๐

๕๕

๖๐

๖๕

๗๐

๒.๕.3 ส่งเสริมศักยภาพ และพัฒนาบทบาทของ คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) ในการไกล่เกลี่ย ประนอม ข้อพิพาทในระดับพื้นที่

เพื่อเพิ่มขีด ความสามารถของ กม. ให้สามารถทําหน้าที่ใน การไกล่เกลีย่ ประนอม ข้อพิพาทได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

- ร้อยละของหมู่บ้าน ที่มีการจัดตั้ง คณะกรรมการ ประนีประนอม ข้อพิพาท

๑๐๐

- โครงการพัฒนาองค์ ความรู้ด้านการไกล่เกลีย่ และ ประนอมข้อพิพาทของ พนักงานฝ่ายปกครอง (ปค.) - โครงการฝึกอบรม กม. ด้านการไกล่เกลีย่ และ ประนอมข้อพิพาท (ปค.)

สัดส่วนที่ดินของรัฐ ที่ได้รับการบริหาร จัดการอย่างมี ประสิทธิภาพเทียบ กับที่ดินของรัฐ ทั้งหมด

-

-

-

๒.๖.๑ พัฒนา กระบวนการคุม้ ครอง ที่ดินของรัฐ (สาธารณประโยชน์)

เพื่อให้ที่ดินของรัฐ ได้รับการคุ้มครอง

ระดับความสําเร็จ ของการพัฒนา กระบวนการคุม้ ครอง ที่ดินของรัฐ

5

๒.๖.๒ เร่งรัดการรังวัด และจัดทําแผนที่เพือ่ แสดงแนวเขตที่ดินของรัฐ

เพื่อให้ที่ดินของรัฐมี แนวเขตที่ชัดเจน ลด ข้อพิพาทเกีย่ วกับ แนวเขตที่ดินของรัฐ

- จํานวนแปลงที่ดินของ รัฐที่ได้รับการรังวัดเพือ่ ออกและตรวจสอบ หนังสือสําคัญสําหรับ ที่หลวง - ร้อยละที่ดินของรัฐที่ ออกหนังสือสําคัญ สําหรับที่หลวงแล้ว มีการดูแลการใช้ ประโยชน์อย่างเหมาะสม

- โครงการสํารวจที่ดินของรัฐ และนําลงระวางแผนที่ (ทด.) - โครงการย้ายแผนที่รูปแปลง ที่ดินของรัฐลงในระวางแผนที่ มาตรฐาน (ทด.) - โครงการนําเข้าข้อมูลแผนที่ รูปแปลงที่ดินของรัฐระบบ ดิจิทัล (ทด.) - โครงการรังวัดทําแผนที่เพือ่ แสดงแนวเขตที่ดินของรัฐและ ควบคุมคุ้มครองที่ดินของรัฐ (ทด.)

๑,๕๐๐

๘๐

หน่วย รับผิดชอบ หลัก

- โครงการสนับสนุนภารกิจ ตาม กม.คุ้มครองพยานใน คดีอาญา (ปค.)

3) ระดับความสําเร็จ ในการพัฒนาระบบการ รับเรื่องราวร้องทุกข์

~ 11 ~

วัตถุประสงค์

ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์

ทด.

หน่วย สนับสนุน


ประเด็นยุทธศาสตร์

3. ส่ ง เสริ ม ให้ ชุ ม ชน เข้ ม แข็ ง เมื อ งน่ าอยู่ และ ประชาชนอยู่ เ ย็ น เป็ น สุ ข ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง

เป้าประสงค์

3.1 ประชาชนอยู่เย็น เป็นสุข พ้นระดับความ ยากจนอย่างยั่งยืน

ตัวชี้วัดระดับ เป้าประสงค์

- ร้อยละของอําเภอ ที่มีหมู่บ้านผ่าน เกณฑ์มาตรฐาน อยู่ดีมสี ุข

ข้อมูลพื้นฐาน ๕๒

-

๕๓

-

เป้าหมาย

๕๔

-

๕๕

๖๐

๕๖

๖๕

๕๗

๗๐

๕๘

๗๕

กลยุทธ์

วัตถุประสงค์

๒.๖.๓ เร่งรัดการออก โฉนดที่ดินให้แก่ผู้มี สิทธิในการถือครอง ที่ดินตามกฎหมาย

ประชาชนได้รับการ ยอมรับในสิทธิการ ถือครองและการทํา ประโยชน์ในที่ดิน

- จํานวนโฉนดที่ออก ให้แก่ประชาชน

3.1.1 ขยายผลแนวทาง การพัฒนาอัน เนื่องมาจากพระราชดําริ หลักการทรงงาน ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง และ การเรียนรู้ตามรอย พระยุคลบาท

- เพื่อขยายผลโครงการ อันเนื่องมาจาก พระราชดําริไปสู่ หมู่บ้าน/ชุมชน และ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นในพื้นที่

- กลุ่มเป้าหมายมีการนํา แนวทางการพัฒนาอัน เนื่องมาจากพระราชดําริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการเรียนรู้ตามรอย พระยุคลบาท มา ประยุกต์ใช้ในการดําเนิน ชีวิต

๕๙

๘๐

ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์

- ร้อยละความพึง พอใจของประชาชน

- จํานวนประชาชนที่ เข้าร่วมกิจกรรมตาม รอยพ่อหลวงผูค้ รองใจ ปวงประชาของศูนย์ เรียนรูโ้ ครงการอัน เนื่องมาจากพระราชดําริ ระดับอําเภอ

3.1.2 ส่งเสริมการมีส่วน ร่วมของภาคีทุกภาคส่วน ในการกําหนดนโยบายใน ทุกระดับของการพัฒนา เน้นการเชื่อมประสาน องค์ความรู้การ ประยุกต์ใช้ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง

~ 12 ~

เพื่อให้เกิดความ ร่วมมืออย่างมั่นคง ยั่งยืนของภาคีทุก ภาคส่วนในการ ขับเคลื่อนปรัชญา เศรษฐกิจแบบ พอเพียงสู่การ ปฏิบัติ

- ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของ อปท. ที่ผู้มีส่วนได้ส่วน เสียเป็นหุ้นส่วนในการ ขับเคลื่อนปรัชญา เศรษฐกิจแบบพอเพียง ในทุกระดับของการ พัฒนา

เป้า หมาย ๕๕ ๑๐๐,๐๐๐

๘๐

โครงการ/กิจกรรม

สนับสนุน

พช.

ทุกหน่วย

- โครงการเร่งรัดการออก โฉนดที่ดินให้ครอบคลุมทั่ว ประเทศ (ทด.) - การจัดทําและให้บริการ แผนที่ระบบดิจิตอล (ทด.) - การจัดทําแผนให้บริการ ระวางแผนที่สําหรับการ ออกโฉนดที่ดิน (ทด.) - โครงการส่งเสริมกิจกรรมการ พัฒนาตามแนวพระราชดําริ (สป.) - กิจกรรมส่งเสริมการพัฒนา ชนบทเชิงพื้นที่ประยุกต์ ตาม แนวทางพระราชดําริ (สป.)

๘.๔ ล้านคน

หน่วย

หน่วย รับผิดชอบ หลัก

- กิจกรรมขยายผลโครงการ ตามรอยพ่อหลวงผู้ครองใจ ปวงประชา ๙ กิจกรรม (ปค.)

โครงการจัดประชุมชี้แจงและ ศึกษาดูงานกระบวนการ เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง และการเรียนรู้ตามรอยเบื้อง พระยุคลบาท (สถ.) - โครงการบูรณาการความ ร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่าย ในการสนับสนุนให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมเป็น


ประเด็นยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์

ตัวชี้วัดระดับ เป้าประสงค์

ข้อมูลพื้นฐาน

เป้าหมาย กลยุทธ์

๕๒

๕๓

๕๔

๕๕

๕๖

๕๗

๕๘

วัตถุประสงค์

๕๙

ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์

เป้า หมาย ๕๕

โครงการ/กิจกรรม องค์กรหนึ่งในระดับพื้นที่ ดําเนินการขับเคลื่อนขยายผล แนวพระราชดําริเรือ่ งการปลูก และใช้ประโยชน์จากหญ้าแฝก - โครงการอบรมสัมมนาเชิง ปฏิบัติการเพื่อรณรงค์สง่ เสริม การใช้หญ้าแฝกเพือ่ อนุรักษ์ ดินและน้ําตามแนว พระราชดําริ (สถ.)

3.1.3 พัฒนาบทบาท กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน และ กม. ให้เป็นกลไกหลักใน การพัฒนาหมู่บ้าน

- ร้อยละของ ประชาชนที่ได้รับ การจัดที่ดินมี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น - ร้อยละที่ลดลงของ ครัวเรือนยากจนที่มี รายได้ต่ํากว่าเกณฑ์ จปฐ. ปี 2554

๙๖.๐๑

๘๒.๖๒

๘๐

๘๐

๘๐

๘๐

๘๐

๘๐

64973 ครัว เรือน

50

100

-

-

-

3.1.3 พัฒนา กระบวนการจัดที่ดิน ให้แก่ประชาชนเพื่อแก้ไข ปัญหาความยากจน 3.1.4 แก้ไขปัญหา ครัวเรือนยากจนแบบ บูรณาการ

~ 13 ~

- เพื่อให้ศูนย์เรียนรู้ ระดับอําเภอมี มาตรฐานสามารถ ขยายผลไปสู่ตําบล หมู่บ้าน และ ครัวเรือนได้

- ร้อยละของศูนย์ เรียนรูโ้ ครงการอัน เนื่องมาจากพระราชดําริ ระดับอําเภอทีม่ ีการ ขับเคลื่อนกิจกรรมตาม รอยพ่อหลวงฯ

๑๐๐

- จัดตั้งศูนย์เรียนรู้โครงการอัน เนื่องมาจากพระราชดําริระดับ อําเภอต้นแบบ (ปค.)

- เพื่อส่งเสริมบทบาท ของผู้ปกครองท้องที่ และ กม. ในการทํา หน้าที่บริหารจัดการ กิจกรรม ในหมู่บ้านให้มีเอกภาพ เพื่อประโยชน์สุขของ ประชาชนในหมู่บ้าน - เพื่อให้ที่ดินของรัฐ ได้รับการบริหารจัดการ และนําไปใช้ประโยชน์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

- ร้อยละของกํานัน ผู้ใหญ่บ้าน และ กม. มีความสามารถในการ พัฒนาและแก้ไขปัญหา

๗๐

- โครงการฝึกอบรมและ พัฒนาศักยภาพ กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน (ปค.) - โครงการฝึกอบรม คณะกรรมการหมู่บ้าน - โครงการหมู่บ้านต้นแบบการ พัฒนา (ปค.)

๑๓,๖๐๐

- การจัดที่ดินทํากินและที่อยู่ อาศัยให้แก่ประชาชนทีย่ ากจน (ทด.) - การบริหารจัดการการใช้ ประโยชน์ที่ดินของรัฐเพือ่ แก้ไข ปัญหาความยากจน (ทด.) - โครงการแก้ไขปัญหาครัวเรือน ยากจนแบบบูรณาการ (พช.)

- เพื่อให้ประชาชนมี รายได้ต่อครัวเรือน เพิ่มขึ้น

- จํานวนประชาชนที่ ยากจนได้รับการจัด ที่ดินทํากินและทีอ่ ยู่ อาศัยในที่ดินของรัฐ

- ระดับความสําเร็จของ โครงการ

5

- โครงการพัฒนาผู้นําชุมชน/อาสา พัฒนาชุมชนเป็นแกนนําเอาชนะ ความยากจน (พช.) - โครงการประกาศระเบียบวาระ การแก้ไขปัญหาความยากจนเป็น

หน่วย รับผิดชอบ หลัก

หน่วย สนับสนุน


ประเด็นยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์

ตัวชี้วัดระดับ เป้าประสงค์

ข้อมูลพื้นฐาน

เป้าหมาย กลยุทธ์

๕๒

๕๓

๕๔

๕๕

๕๖

๕๗

๕๘

วัตถุประสงค์

๕๙

ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์

เป้า หมาย ๕๕

โครงการ/กิจกรรม นโยบายเน้นหนักของ พช. ในปี ๒๕๕๕ (พช.) - โครงการขับเคลื่อนพลัง MOU ต่อสู้ความยากจนกับ อปท. อําเภอ จังหวัด และส่วนราชการ อื่น (พช.)

- จํานวนของหมู่บา้ น เศรษฐกิจพอเพียงที่ มีความสุขมวลรวม เพิ่มขึ้น (ที่ผา่ นมาไม่ได้วัด ความสุขมวลรวม ชุมชน)

-

-

-

36 71

45 49

54 27

63 05

71 83

3.1.5 เสริมสร้างความสุข มวลรวมชุมชนโดยพัฒนา หมู่บ้านเศรษฐกิจ พอเพียง

- เพื่อให้หมู่บ้าน เศรษฐกิจพอเพียงมี ระดับความสุขเพิ่มขึ้น

- ระดับความสําเร็จของ โครงการ

5

- จํานวนสะสม ของชุมชนที่ใช้ทุน ชุมชนแก้ไขปัญหา ในชุมชน

-

-

-

878

1756

2634

3512

4390

3.1.6 พัฒนาทุนชุมชน ให้มั่นคงและมีธรรมาภิ บาล

เพื่อใช้ทุนชุมชนในการ แก้ไขปัญหาของชุมชน อย่างมีธรรมาภิบาล

- ระดับความสําเร็จของ โครงการ

5

- ร้อยละสะสมของกลุ่ม ออมทรัพย์เพื่อการผลิต ที่มีการจัดสวัสดิการ ชุมชน

~ 14 ~

- โครงการสนับสนุนหมูบ่ ้าน เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบเป็น หลักในการพัฒนาและขยายผล หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง (พช.) - โครงการประกาศระดับ ความสุขของหมู่บ้าน (พช.) - โครงการขยายผลหมูบ่ ้าน เศรษฐกิจพอเพียงจากบ้านพี่ สู่บ้านน้อง (พช.) - โครงการสร้างกระแส ความสุขพอเพียง (พช.) - โครงการส่งเสริมการบริหาร จัดการทุนชุมชนเพื่อแก้ไข ปัญหาของชุมชน (พช.) - โครงการพัฒนาฐานข้อมูลทุน ชุมชนเพื่อการพัฒนา (พช.) - โครงการสร้างความร่วมมือ ในการพัฒนาทุนชุมชนกับภาคี เครือข่าย (พช.) - โครงการส่งเสริมการแก้ไข ปัญหากองทุนหมู่บ้านและ ชุมชนเมืองให้ดําเนินงานตาม หลักธรรมาภิบาล (พช.) - โครงการส่งเสริมกลุ่มออม ทรัพย์เพือ่ การผลิตในการ พัฒนาอาชีพสร้างสวัสดิการ การแก้หนี้นอกระบบ เพื่อ แก้ไขปัญหาความยากจน (พช.)

หน่วย รับผิดชอบ หลัก

หน่วย สนับสนุน


ประเด็นยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์

3.2 เศรษฐกิจฐานรากได้รับ การพัฒนาด้วยภูมิปัญญา ท้องถิ่น

ตัวชี้วัดระดับ เป้าประสงค์

- มูลค่ากําไรสุทธิ จากการจําหน่าย ผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ เพิ่มขึ้น

ข้อมูลพื้นฐาน

เป้าหมาย กลยุทธ์

๕๒

630 09 ลบ

๕๓

68 20 8 ลบ

๕๔

704 87 ลบ

๕๕

16 %

๕๖

19 %

๕๗

22 %

๕๘

25 %

วัตถุประสงค์

๕๙

28 %

เป้า หมาย ๕๕

3.1.7 บริหารจัดการ ข้อมูลเพือ่ การพัฒนา ชนบทไทย

- เพื่อให้ระบบการ จัดการข้อมูลเพือ่ การ พัฒนาชนบทไทยมี ความถูกต้อง เป็น ปัจจุบัน และเกิด ประโยชน์สูงสุด

- จํานวนสะสมของ หมู่บ้านต้นแบบการ จัดการสารสนเทศเพือ่ การพัฒนาคุณภาพชีวิต

76

3.2.1 พัฒนาผูผ้ ลิต ผู้ประกอบการ และ การตลาด OTOP

เพื่อให้ผผู้ ลิต/ ผู้ประกอบการมีรายได้ จากการจําหน่าย ผลิตภัณฑ์เพิม่ ขึ้น

- จํานวนผู้ผลิต ผู้ประกอบการที่ได้รับ การพัฒนาทักษะ ความรู้ที่เกี่ยวข้อง

1700 คน

- ร้อยละที่เพิม่ ขึ้นของ รายได้จากการจําหน่าย ผลิตภัณฑ์ชุมชนเฉลีย่ 3 ปีย้อนหลัง

16

- ร้อยละชุมชนทีม่ ีการ อนุรักษ์และสืบสาน ภูมิปัญญาท้องถิ่น

40

ชุมชนมีการอนุรักษ์ สืบสานและเผยแพร่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ~ 15 ~

ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์

โครงการ/กิจกรรม - โครงการส่งเสริมการจัดตั้ง สถาบันการจัดการเงินทุน ชุมชน(พช.) - โครงการพัฒนากระบวนการ บริหารข้อมูลเพื่อการพัฒนา ชนบทไทย (พช.) - โครงการหมู่บ้านต้นแบบการ จัดการสารสนเทศเพือ่ การ พัฒนาคุณภาพชีวิต (พช.) - โครงการนําเสนอข้อมูลเชิง นโยบายแก่หน่วยงานที่ เกี่ยวข้องกับการพัฒนา คุณภาพชีวิตของประชาชนใน ชนบท (พช.) - โครงการพัฒนาเว็บไซต์หมู่บ้าน เพื่อการเรียนรู้ของชุมชน (พช.) - โครงการพัฒนาระบบ ทะเบียนของผูผ้ ลิต ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชน (พช.) - โครงการการส่งเสริม ประสิทธิภาพแผนธุรกิจ (Business plan) (พช.) - โครงการส่งเสริมอาสาพัฒนา เศรษฐกิจฐานราก (พช.) - โครงการส่งเสริมการตลาดเชิงรุก (พช.) - โครงการ OTOP Distribution center (พช.) - โครงการ OTOP สาน สัมพันธ์สองแผ่นดิน (พช.) - โครงการส่งเสริมการจด ทะเบียนสิทธิบัตร ลิขสิทธิส์ ินค้า OTOP (พช.)

หน่วย รับผิดชอบ หลัก

พช.

หน่วย สนับสนุน


ประเด็นยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์

ตัวชี้วัดระดับ เป้าประสงค์

ข้อมูลพื้นฐาน

เป้าหมาย กลยุทธ์

๕๒

๕๓

๕๔

๕๕

๕๖

๕๗

๕๘

วัตถุประสงค์

๕๙

ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์

เป้า หมาย ๕๕

(ฐานข้อมูล ๖,๓๐๐ ตําบล)

3.3 เมืองมีการเติบโต อย่างสมดุลและยั่งยืน

- ร้อยละของจังหวัด ที่ผ่านเกณฑ์ดัชนี ตัวชี้วัดความเป็น เมืองน่าอยู่

-

-

-

-

60

65

70

75

หน่วย

หน่วย รับผิดชอบ หลัก

สนับสนุน

ยผ.

สป./สถ.

- โครงการส่งเสริมการอนุรักษ์ และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น สู่ประชาคมอาเซียน (พช.) - โครงการพัฒนาหมู่บ้าน ท่องเทีย่ ว OTOP (พช.) - โครงการศักดิ์ศรีแห่งภูมิ ปัญญาไทยสู่ ภูมิปัญญาโลก (OTOP Thailand Brand) (พช.)

3.2.2 ส่งเสริมการใช้ นวัตกรรมในการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ชุมชน

ผลิตภัณฑ์ชุมชนมี คุณภาพได้มาตรฐาน

- ร้อยละสะสมของ ผลิตภัณฑ์ชุมชนได้รับ การพัฒนาให้มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน (ฐานข้อมูล ๑๓,๐๐๐ ผลิตภัณฑ์)

20

3.3.1 ส่งเสริมการ บริหารจัดการด้านผัง เมืองทุกระดับ

เพื่อให้จังหวัดและ อปท. มีการบริหารจัดการ ผังเมืองที่เหมาะสม และเป็นระบบ

- จํานวนจังหวัดและ อปท.มีแผนผังนโยบาย โครงการ มาตรการด้าน ผังเมืองในการพัฒนา พื้นที่

1,560 แห่ง

~ 16 ~

โครงการ/กิจกรรม

- จํานวน อปท. มี ผังเมืองเป็นกรอบใน การพัฒนา

110 แห่ง

- จํานวน อปท. มีแผน ที่ระบบภูมศิ าสตร์ สารสนเทศ (GIS)

179 แห่ง

- จํานวนหน่วยราชการ ในจังหวัดมีแผนที่

12 แห่ง

- โครงการส่งเสริม กระบวนการ KBO สู่เศรษฐกิจ สร้างสรรค์ (พช.) - โครงการคัดสรรสุดยอดหนึ่ง ตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย (OPC) (พช.) - โครงการแข่งขันการสร้าง Ideas จากของขวัญผสมผสาน ผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP Fusion Gift Contest) (พช.) - โครงการพัฒนาการออกแบบ บรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP Packaging Design Contest) (พช.) - โครงการผังเมืองที่จัดทํา (ยผ.)

- โครงการสนับสนุนและ เสริมสร้างด้านการผังเมืองของ อปท. (ยผ.) - โครงการระบบภูมิศาสตร์ สารสนเทศ (GIS) เพือ่ การผังเมือง (ยผ.) - โครงการพัฒนาระบบแผนที่ มาตรฐานเพื่อการจัดทําผัง


ประเด็นยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์

ตัวชี้วัดระดับ เป้าประสงค์

ข้อมูลพื้นฐาน

เป้าหมาย กลยุทธ์

๕๒

๕๓

๕๔

๕๕

๕๖

๕๗

๕๘

วัตถุประสงค์

๕๙

ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์

เป้า หมาย ๕๕

4.1 ประชาชนสามารถ เข้าถึงบริการสาธารณะ ที่มีคณ ุ ภาพ อย่างรวดเร็ว ทั่วถึง และเท่าเทียม

- ร้อยละความพึง พอใจของประชาชน ผู้รับบริการต่องาน บริการในภาพรวม ของ มท.

-

-

-

80

80

80

80

80

3.3.2 เสริมสร้าง สภาพแวดล้อมเมืองที่ดี และปลอดภัย

เพื่อให้เกิดการพัฒนา เมืองต้นแบบอย่างเป็น รูปธรรม

- ระดับความสําเร็จใน การบริหารการพัฒนา เมืองต้นแบบ

3.3.3 ส่งเสริม สนับสนุน ให้มีการจัดรูปที่ดินเพื่อ พัฒนาพื้นที่

มุ่งพัฒนาให้เมืองมี ความปลอดภัยและ มีสภาพแวดล้อมที่ดี

- จํานวนชุมชนที่ได้รับ การจัดรูปเพื่อพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานพร้อม จัดระเบียบที่ดินแปลงใหม่

1 ชุมชน

- อาคารสาธารณะเกิด อัคคีภัยไม่มากกว่า เกณฑ์ที่กําหนด

100 แห่ง

- จํานวนอําเภอที่ สามารถให้บริการระบบ e-Service

๘๗๘ +B (เพิ่ม ระบบงาน ๑ ระบบ)

4.1.1 พัฒนาระบบ บริการเชิงรุกโดยยึด ประชาชนเป็นศูนย์กลาง ให้ทันสมัยและทั่วถึง

- เพื่อให้การพัฒนา ระบบ บริการผ่านระบบ อิเล็กทรอนิกส์เป็นได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

- จํานวนระบบงานที่ ได้รับการพัฒนาด้วย ระบบอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มขึ้นจากเดิม - ระดับความพึงพอใจ ของประชาชน ผู้รับบริการต่อการ ให้บริการของ ปค. - จํานวนหน่วยงาน (ภาครัฐและเอกชน) ที่ใช้ประโยชน์ ฐานข้อมูลทะเบียนและ บัตรของ ปค. - ร้อยละของจํานวน อําเภอที่มีการพัฒนา ยกระดับและรักษา คุณภาพการให้บริการ

~ 17 ~

หน่วย

หน่วย รับผิดชอบ หลัก

สนับสนุน

ปค.

ทุกหน่วย

เมืองและผังชุมชน (ยผ.)

มาตรฐาน แสดงแนว เขตการปกครองและ แนวเขตที่ดินของรัฐ

4. พัฒนาระบบบริการ สาธารณะทีม่ ีคุณภาพ อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม

โครงการ/กิจกรรม

- การบริหารการพัฒนาเมือง ต้นแบบการพัฒนาอย่างยั่งยืน พื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันตกของ อ่าวไทย ชะอํา-หัวหิน (สป.) - โครงการส่งเสริมและ สนับสนุนการจัดรูปที่ดนิ เพื่อ พัฒนาพื้นที่ (ยผ.) - มาตรการกํากับดูแล ความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เกี่ยวกับอาคารและการใช้ ประโยชน์ที่ดินจากการบังคับใช้ (ยผ.) - โครงการศูนย์บริการร่วม อําเภอ...ยิม้ หน้าต่างเดีย่ ว (Single window) (ปค.)

๒๕

- โครงการพัฒนารูปแบบ การให้บริการศูนย์บริการ ประชาชน (ปค.)

๘๕

- โครงการจัดตั้งศูนย์บริการ ข้อมูลและรับเรือ่ งร้องเรียน กรมการปกครอง (Dopa Contact Central) (ปค.) - โครงการจัดทําระบบการ เผยแพร่ขอ้ มูลสารสนเทศผ่าน สื่อประสม (Multimedia) ของ กรมการปกครอง (Digital Signage) (ปค.) - โครงการพัฒนาโปรแกรม ประยุกต์เพือ่ การใช้งานบน Tablet PC (ปค.)

๘๕

ไม่น้อย กว่า


ประเด็นยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์

ตัวชี้วัดระดับ เป้าประสงค์

ข้อมูลพื้นฐาน

เป้าหมาย กลยุทธ์

๕๒

๕๓

๕๔

๕๕

๕๖

๕๗

๕๘

วัตถุประสงค์

๕๙

- เพื่อพัฒนาระบบการ ให้บริการนอกสถานที่ ในสถานที่ทมี่ ีประชาชน หนาแน่นหรือสถานที่ ห่างไกล

~ 18 ~

ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์

เป้า หมาย ๕๕

ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน บริการ อําเภอ...ยิ้ม

๘๓๔ อําเภอ

- ระดับความพึงพอใจ ของประชาชน ผู้รับบริการ/ ผู้มีสว่ นได้ส่วนเสีย ต่อการให้บริการ ของ ทด.

ร้อยละ ๘๐

- จํานวนครั้งของการ ให้บริการนอกสถานที่

๒,๔๓๖

- ร้อยละของอําเภอที่ ออกหน่วยบริการ อําเภอ...ยิม้ เคลื่อนที่

๙๕

โครงการ/กิจกรรม - โครงการจัดทําบัตร ประจําตัวอเนกประสงค์ (Smart Card) (ปค.) - โครงการพัฒนาประสิทธิภาพ การให้บริการประชาชนของ ที่ว่าการอําเภอ (ปค) - โครงการพัฒนาระบบ สารสนเทศที่ดินเพื่อการ บริหารจัดการระบบที่ดนิ (ระยะที่ 1) (ทด.) - โครงการปรับปรุงระบบการ ดูแลหลักฐานทางทะเบียนที่ดิน (ทด.) - โครงการจัดทําใบเสร็จรับเงิน ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ใน สํานักงานที่ดิน (ทด.) - โครงการบริการด้านทะเบียน ที่ดินในสํานักงานที่ดิน (ทด.) - บริการด้านรังวัดที่ดินใน สํานักงานที่ดิน (ทด.) - พัฒนาระบบบริการใน สํานักงานที่ดินด้วยเทคโนโลยี และเครือ่ งมือทันสมัย (ทด.) - พัฒนาระบบบริหารจัดการ ด้วยเทคโนโลยีและการสื่อสาร(ทด.) - โครงการสํารวจความพึงพอใจใน การให้บริการต่างๆ ของกรมที่ดิน - โครงการเพิม่ ประสิทธิภาพ การจัดทําบัตรประจําตัว ประชาชนเพื่อรองรับกลุ่ม บุคคลที่ต้องมีบัตรฯ ตาม กฎหมายบัตรประจําตัว ประชาชนฉบับใหม่ (พ.ร.บ.บัตร ประจําตัวประชาชน (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2554) (ปค.) - โครงการอําเภอ...ยิ้ม เคลือ่ นที่ (ปค.)

หน่วย รับผิดชอบ หลัก

หน่วย สนับสนุน


ประเด็นยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์

ตัวชี้วัดระดับ เป้าประสงค์

ข้อมูลพื้นฐาน

เป้าหมาย กลยุทธ์

๕๒

๕๓

๕๔

๕๕

๕๖

๕๗

๕๘

วัตถุประสงค์

๕๙

ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์

เป้า หมาย ๕๕

4.1.2 สนับสนุน ให้บริการด้านช่างแก่ อปท. ชุมชน และส่วน ราชการ

- เพื่อให้หน่วยงาน ได้รับการบริการด้าน ช่าง ที่มีมาตรฐาน

- จํานวนหน่วยงาน ราชการที่ได้รับบริการ ด้านช่างที่ได้มาตรฐาน ตามหลักวิชาการ

430

4.1.3 ขยายระบบ จําหน่ายพลังไฟฟ้า เพิ่มเติมและปรับปรุง ระบบไฟฟ้าให้มี ความปลอดภัย

- เพื่อให้ประชาชน ได้รับบริการไฟฟ้าอย่าง ปลอดภัย และทั่วถึง

- ระดับความพึงพอใจ ชองผู้รับบริการต่องาน บริการไฟฟ้า

80

4.1.4 ขยายกําลังการ ผลิตน้ําประปาและเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบ จําหน่ายน้ําประปาให้ เพียงพอและทั่วถึง

- เพื่อให้ประชาชน ได้รับบริการน้ําประปา อย่างทั่วถึง เพียงพอ และมีคณ ุ ภาพ

- จํานวนข้อร้องเรียน ด้านการให้บริการไฟฟ้า ลดลง

- ระดับความพึงพอใจ ชองผู้รับบริการต่องาน บริการน้ําประปา

- ร้อยละของ อปท. ที่ผ่านเกณฑ์คณ ุ ภาพ การจัดบริการ สาธารณะ

-

-

-

75

75

80

80

-

4.2.1 ส่งเสริม สนับสนุน ให้ อปท. จัดบริการ สาธารณะและสวัสดิการ ขั้นพื้นฐานให้แก่ ประชาชนในพื้นที่

~ 19 ~

- เพื่อให้ อปท. มี ศักยภาพ ในการ จัดบริการขั้นพื้นฐาน ให้แก่ประชาชน อย่างมีประสิทธิภาพ

กฟน. กฟภ.

- โครงการปรับปรุงขยายระบบ ประปา - โครงการวางท่อขยายเขต จําหน่ายน้ํา - โครงการพัฒนาแหล่งน้ํา - โครงการปรับปรุงเส้นท่อ - โครงการปรับปรุงประปา ภายหลังรับโอน - โครงการปรับปรุงกิจการ ประปาแผนหลัก ครั้งที่ 7 , 8 และ ครั้งที่ 9

กปน. กปภ.

5

- โครงการส่งเสริมการบริหาร จัดการน้ํา และแก้ไขปัญหา การขาดแคลนน้ํา เพือ่ การ อุปโภค บริโภค (สถ.) - โครงการเสริมสร้าง เครือข่ายงานพัฒนา

สถ.

- จํานวนข้อร้องเรียน ด้านการให้บริการ น้ําประปาลดลง

-ระดับความสําเร็จ ของ อปท. ในการ จัดบริการสาธารณะ สาธารณูปโภค และ สวัสดิการขั้นพื้นฐาน

- โครงการบริการด้านช่าง (ยผ.) - โครงการบูรณะบํารุงรักษา เพื่อสิ่งแวดล้อม (ยผ.) - โครงการให้บริการก่อสร้าง พลับพลาและตกแต่งสถานที่ (ยผ.) - โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยี และพัฒนาบุคลากรด้านการช่าง (ยผ.) - โครงการขยายเขตไฟฟ้าให้ บ้านเรือนราษฎรรายใหม่ - โครงการพัฒนาสถานีผลิต พลังงาน - โครงการปรับปรุงและขยาย ระบบจําหน่ายพลังงานไฟฟ้า

หน่วย รับผิดชอบ หลัก

80

- พื้นที่ให้บริการ น้ําประปาเพิ่มขึ้นทุกปี

4.2 อปท. สามารถ จัดบริการสาธารณะที่มี คุณภาพแก่ประชาชน

โครงการ/กิจกรรม

หน่วย สนับสนุน


ประเด็นยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์

4.3 ระบบข้อมูลพื้นฐาน เพื่อการบริหารและพัฒนา ประเทศมีความสมบูรณ์ และเชือ่ ถือได้

ตัวชี้วัดระดับ เป้าประสงค์

- ระดับความสําเร็จ ของระบบข้อมูล พื้นฐานในแต่ละเรื่อง

ข้อมูลพื้นฐาน

เป้าหมาย กลยุทธ์

๕๒

-

๕๓

-

๕๔

-

๕๕

4

๕๖

4

๕๗

5

๕๘

5

วัตถุประสงค์

๕๙

5

4.3.1 พัฒนาระบบการ จัดเก็บ การเชื่อมโยง และ การใช้ประโยชน์ข้อมูล พื้นฐานทางทะเบียน

- เพื่อให้ระบบการ จัดเก็บฐานข้อมูล มีความถูกต้อง เป็น ปัจจุบัน และเกิด ประโยชน์สูงสุด

4.3.2 จัดทําและ -เพื่อให้ อปท. มีและ สามารถใช้ ประโยชน์ พัฒนาระบฐานข้อมูล จากระบบฐานข้ อมูล สารสนเทศการเลือกตั้ง สารสนเทศการเลือกตั้ง ท้องถิ่น ท้องถิ่น ~ 20 ~

ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์

เป้า หมาย ๕๕

โครงการ/กิจกรรม คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ของ อปท. (สถ.) - โครงการสนับสนุนการ เสริมสร้างสวัสดิการทาง สังคมให้แก่ผู้พิการหรือ ทุพพลภาพ (สถ.) - โครงการจัดหาเครื่อง คอมพิวเตอร์แบบพกพา สําหรับนักเรียน (One Tablet PC Per child) (สถ.) - โครงการสนับสนุนการ จัดการ ศึกษาโดยไม่เสีย ค่าใช้จ่าย 15 ปี (สถ.) - โครงการส่งเสริมอาสาสมัคร สาธารณสุขประจําหมู่บ้าน (อสม.) เชิงรุก (สถ.) - โครงการบริหารจัดการ ฐานข้อมูลทะเบียนกลาง เพื่อสนับสนุนภารกิจส่วน ราชการ/หน่วยงานภาครัฐ (ปค.)

- ระดับความสําเร็จ ของส่วนราชการ/ หน่วยงานที่ใช้ ประโยชน์จาก ฐานข้อมูลทะเบียน กลางของ ปค.

- ระดับความสําเร็จ ของการพัฒนาระบบ ฐานข้อมูล

3

- โครงการปรับปรุงพัฒนา ระบบสารสนเทศการ จัดการฐานข้อมูลเบี้ยยังชีพ ของ อปท. (สถ.)

ร้อยละของจํานวน อปท. ที่มีการเลือกตั้ง ในปี พ.ศ.2555 และจัดส่งบุคลากร เข้ารับการอบรมเพื่อ บันทึกและใช้

3,057 แห่ง

- โครงการพัฒนาระบบฐาน ข้อมูลสารสนเทศการเลือกตั้ง ท้องถิ่น (สถ.)

หน่วย

หน่วย รับผิดชอบ หลัก

สนับสนุน

ปค.

ทด. /สถ.


ประเด็นยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์

ตัวชี้วัดระดับ เป้าประสงค์

ข้อมูลพื้นฐาน

เป้าหมาย กลยุทธ์

๕๒

๕๓

๕๔

๕๕

๕๖

๕๗

๕๘

วัตถุประสงค์

๕๙

ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์

เป้า หมาย ๕๕

โครงการ/กิจกรรม

หน่วย

หน่วย รับผิดชอบ หลัก

สนับสนุน

สป.

ทุกหน่วย

ประโยชน์จากข้อมูล ผู้บริหารและสมาชิก สภาท้องถิ่น

5. เพิ่มขีดสมรรถนะองค์กร ให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง

5.1 กระทรวงมหาดไทย บริหารงานด้วยหลัก ธรรมาภิบาล และ มีภาพลักษณ์ที่ดีตอ่ สาธารณชน

ระดับความสําเร็จใน การบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี

-

-

-

5

5

5

5

5

4.3.3 พัฒนาระบบ บริหารจัดการระบบ สารสนเทศที่ดินให้ ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน

- เพื่อให้การบริหาร จัดการระบบ สารสนเทศที่ดิน มี ความถูกต้อง เป็น ปัจจุบัน และเกิด ประโยชน์สูงสุด

- ระดับความสําเร็จใน การจัดทําระบบ สารสนเทศที่ดิน

- โครงการศูนย์ข้อมูลทีด่ ินและ แผนที่แห่งชาติ (ระยะที่ 2) (ทด.) - โครงการจัดทําและให้บริการ แผนที่ระบบดิจิตอล (ทด.)

5.1.1 เสริมสร้างระบบ บริหารจัดการองค์กรที่ โปร่งใส ตรวจสอบได้ และมุ่งผลสัมฤทธิ์สูง

- เพื่ อให้ หน่ วยงานใน สังกัด มท. บริหารงาน โดยยึ ด หลั ก ธรรมาภิ บาล

- ระดับความสําเร็จของ โครงการ

- โครงการพัฒนาและบริหาร จัดการเว็บไซต์ (ทด.) - การดําเนินงานตามนโยบาย การกํากับดูแลองค์กรทีด่ ี (ทด.) - โครงการส่งเสริมจริยธรรมและ เสริมสร้างองค์กรใสสะอาด (ทด.)

- เพื่อให้ อปท. มีขีดความ สามารถในการบริหาร จัดการองค์กรและการ จัดเก็บรายได้ที่มี ประสิทธิภาพและโปร่งใส

~ 21 ~

- ร้อยละของ อปท. ที่ การบริหารงานผ่าน เกณฑ์ชี้วัดความสามารถ ตามหลักธรรมาภิบาล

75

- การเสริมสร้างบริหารจัดการ เชิงกลยุทธ์ (สป.) - อํานวยความเป็นธรรมและ สร้างเสริมราชการใสสะอาด (สป.) - การพิจารณาร่างกฎหมาย และข้อหารือทางข้อกฎหมาย (สป.) - โครงการ ส่งเสริมสุขภาพ กองทุนชุมชนด้านธรรมาภิ บาล.(พช.) - โครงการตรวจรับรอง มาตรฐานการปฏิบัติราชการ ของ อปท. (Core Team) (สถ.) - โครงการเสริมสร้าง ประสิทธิภาพการบริหาร จัดการเชิงคุณภาพของ อปท. (สถ.)


ประเด็นยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์

ตัวชี้วัดระดับ เป้าประสงค์ - ระดับทัศนคติ ของประชาชน ต่อภาพลักษณ์ กระทรวงมหาดไทย

ข้อมูลพื้นฐาน

เป้าหมาย กลยุทธ์

๕๒

๕๓

๕๔

๕๕

๕๖

๕๗

๕๘

๕๙

-

-

-

-

3

4

4

5

เป้า หมาย ๕๕

โครงการ/กิจกรรม

5.1.2 เสริมสร้าง ภาพลักษณ์ที่ดีของ องค์กร

- เพื่อสร้างทัศนคติ เชิงบวก ที่มีต่อ กระทรวงมหาดไทย

- ระดับความสําเร็จของ การพัฒนาภาพลักษณ์ เชิงรุก ขององค์กร

- โครงการ Rebranding กระทรวงมหาดไทย (สป.) - โครงการพัฒนาระบบบริหาร จัดการเว็บไซต์ (สป.) - โครงการพัฒนาเว็บไซต์ ภาษาอังกฤษ (สป.) - โครงการเพิม่ ประสิทธิภาพ สถานีโทรทัศน์ผา่ นดาวเทียม มหาดไทย (Mahadthai Channel) (สป.) - การประชาสัมพันธ์และ เผยแพร่กระทรวงมหาดไทย (สป.) - การบริหารจัดการข้อมูล ร้องเรียน ร้องทุกข์ (ทด.)

5.1.3 ปรับปรุง พัฒนา โครงสร้างทางกายภาพ สถานที่ และ สภาพแวดล้อมให้ได้ มาตรฐานเอื้อต่อการ ทํางานและการให้บริการ ประชาชน

- เพื่อสร้าง สภาพแวดล้อมในการ ทํางานและการ ให้บริการที่ดี

- ระดับความสําเร็จของ การพัฒนาโครงสร้าง ทางกายภาพ สถานที่ และสภาพแวดล้อมใน การทํางานของ หน่วยงานในสังกัด มท.

5

5.1.4 พัฒนาระบบ บริหารจัดการภายใน องค์กร ด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์

เพื่อให้การบริหาร จัดการภายในองค์มี ประสิทธิภาพ

- ระดับความสําเร็จใน การดําเนินโครงการ E-Office

5

- โครงการปรับปรุง พัฒนา อาคาร สถานที่ ของหน่วยงาน ในสังกัดกระทรวงมหาดไทย (ทุกหน่วย) - โครงการพัฒนาสํานัก ทะเบียนมาตรฐานและ คัดเลือกสํานักทะเบียนดีเด่น ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาํ หนด (ปค.) - โครงการปรับปรุงสถานที่ ให้บริการประชาชนด้าน อสังหาริมทรัพย์ (ทด.) - โครงการ E-Office

~ 22 ~

วัตถุประสงค์

ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์

หน่วย

หน่วย รับผิดชอบ หลัก

สนับสนุน

สป.

ทุกหน่วย

ทุกหน่วย


ประเด็นยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์ 5.2 บุคลากรดี เก่ง มีความสุข และผูกพัน ต่อองค์กร

ตัวชี้วัดระดับ เป้าประสงค์ - ระดับความพึง พอใจของข้าราชการ กระทรวงมหาดไทย ต่อการบริหารงาน ของกระทรวง มหาดไทย - สัดส่วนอัตรา ข้าราชการ มท. ที่ ลาออก /โอนไป สังกัดกระทรวงอื่น เปรียบเทียบกัน อัตราการรับโอน

ข้อมูลพื้นฐาน

เป้าหมาย

๕๒

๕๓

๕๔

๕๕

๕๖

๕๗

๕๘

๕๙

-

-

-

70

70

75

75

80

เป้า หมาย

กลยุทธ์

วัตถุประสงค์

5.2.1 พัฒนาระบบ บริหารทรัพยากรบุคคล โดยยึดหลักสมรรถนะ คุณธรรม และความ สมดุลระหว่างชีวิตกับการ ทํางาน

เพื่อให้บุคลากรใน สังกัด มท. มีขีด สมรรถนะที่จาํ เป็นต่อ การปฏิบัติงาน

- ระดับความสําเร็จของ โครงการ

5

- ร้อยละของผูผ้ ่านการ ฝึกอบรม ศึกษาดูงาน นําทักษะ ความรู้จาก การอบรม ศึกษาดูงาน ไปประยุกต์ใช้ในการ ปฏิบัติงานที่รับผิดชอบ

70

เพื่อให้บุคลากร ปฏิบัติงานโดยยึดหลัก คุณธรรม จริยธรรม

- ระดับความสําเร็จของ โครงการ

70

เพื่อให้บุคลากรมี ความสุข เกิดแรงจูงใจ ในการปฏิบัติงาน

- ร้อยละความพึงพอใจ ของบุคลากรต่อการ สร้างสมดุลในชีวิต

70

~ 23 ~

ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์

๕๕

โครงการ/กิจกรรม - โครงการฝึกอบรม ด้านภาษาต่างประเทศ (อังกฤษ /ประเทศเพื่อน บ้าน) หลักสูตรเฉพาะของแต่ละ หน่วยงาน หลักสูตรด้าน IT หลักสูตรด้านการบริหาร จัดการภาครัฐสมัยใหม่ - โครงการศึกษาดูงานทั้งใน และนอกประเทศ - โครงการศึกษาต่อ ต่างประเทศ - โครงการแลกเปลี่ยน บุคลากรระหว่างหน่วยงาน - โครงการพัฒนาสมรรถนะ ข้าราชการทีม่ ีศักยภาพสูง - การบริหารและพัฒนา ทรัพยากรบุคคล - โครงการ CSR มท. - โครงการประกาศเกียรติคุณ ข้าราชการดีเด่น มท. - โครงการส่งเสริมมาตรฐาน คุณธรรม จริยธรรมของ บุคลากรในสังกัด - โครงการเสริมสร้างค่านิยม คุณธรรม จริยธรรมและ ธรรมาภิบาลในการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบในภาครัฐ - โครงการอบรมหลักสูตร ด้านคุณธรรม จริยธรรม สําหรับข้าราชการบรรจุใหม่ - โครงการปรับเปลี่ยน ช่วงเวลาการทํางาน (ปค.) - โครงการตรวจสุขภาพ

หน่วย รับผิดชอบ หลัก ทุกหน่วย

หน่วย สนับสนุน


ประเด็นยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์

ตัวชี้วัดระดับ เป้าประสงค์

ข้อมูลพื้นฐาน

เป้าหมาย กลยุทธ์

๕๒

๕๓

๕๔

๕๕

๕๖

๕๗

๕๘

วัตถุประสงค์

๕๙

เพื่อให้ระบบการบริหาร ทรัพยากรบุคคลของ กระทรวงมหาดไทย สนับสนุนให้คนดี คนเก่งทํางาน และมี ความก้าวหน้าในอาชีพ

ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์

- ร้อยละของบุคลากรที่ มีสมรรถนะ และผลการ ปฏิบัติงานผ่านเกณฑ์ที่ ก.พ. กําหนด - อัตราข้อร้องเรียนด้าน การบริหารทรัพยากร บุคคลลดลง - ระดับความสําเร็จของ โครงการ

~ 24 ~

เป้า หมาย ๕๕

60

โครงการ/กิจกรรม ข้าราชการและลูกจ้างประจํา (ปค.) - โครงการเสริมสร้าง สุขภาพและพัฒนาคุณภาพ ชีวิตสําหรับบุคลากร (ปค.) - โครงการแข่งขันกีฬาสาน สัมพันธ์ (ปค.) - โครงการประเมินผลการ ปฏิบัติงานของผู้บริหาร ผู้ว่าราชการจังหวัด/ นายอําเภอ - โครงการพัฒนาการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรแต่ละระดับ - โครงการติดตามและ ประเมินผลโครงการสําคัญ ตามนโยบาย มท. และ นโยบายรัฐบาล - โครงการสัมมนาเชิง ปฏิบัติการการตรวจราชการ แบบบูรณาการเพือ่ มุ่ง ผลสัมฤทธิ์ - โครงการจัดทําแผนการ ปรับปรุงโครงสร้างการ บริหารงานภายในของ หน่วยงาน - โครงการจัดทําฐานข้อมูล บุคลากรทีเ่ ป็นปัจจุบัน - โครงการจัดทําแผนพัฒนา บุคลากร (IDP) - โครงการจัดทําแผนการสร้าง ความก้าวหน้าให้แก่บุคลากร - โครงการพัฒนาศักยภาพและ ติดตามผลการปฏิบัติงานของ ข้าราชการบรรจุใหม่และรับโอน - โครงการนิเทศงานการ บริหารงานบุคคล

หน่วย รับผิดชอบ หลัก

หน่วย สนับสนุน


ประเด็นยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์ 5.3 กระทรวงมหาดไทย เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้

ตัวชี้วัดระดับ เป้าประสงค์ ระดับความพึงพอใจ ข อ ง บุ ค ล า ก ร ใ น สังกัดกระทรวง มหาดไทยต่ อ แหล่ ง เรียนรู้ของกระทรวง

ข้อมูลพื้นฐาน

เป้าหมาย

๕๒

๕๓

๕๔

๕๕

๕๖

๕๗

๕๘

๕๙

-

-

-

๖๐

๖๕

๗๐

๗๕

๘๐

กลยุทธ์

วัตถุประสงค์

5.3.1 ส่งเสริมการเรียนรู้ และพัฒนาระบบ แลกเปลี่ยน /วิจยั และ พัฒนาองค์ความรู้

เพื่ อให้ บุ คลากรสั งกั ด กระทรวงมหาดไทยมี นิสัยรักการเรียนรู้ และ นําความรู้ใหม่มาใช้ใน การพัฒนาองค์กร

ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์

เป้า หมาย ๕๕

- ร้อยละที่เพิม่ ขึ้นของ บุคลากรทีเ่ ข้ารับการ พัฒนาองค์ความรู้ผา่ น ระบบ e-learning

- โครงการ e-learning .... - โครงการเพิม่ ประสิทธิภาพ การจัดเก็บรายได้ อปท.(สถ.) - โครงการตรวจสอบด้าน การเงิน การคลังและการ ควบคุมภายใน อปท. (สถ.) - ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์... - โครงการศึกษา วิจยั พัฒนา..

- จํานวนองค์ความรู้ ที่ได้รับการถ่ายทอด แลกเปลี่ยน - จํานวนหน่วยงานที่มี การจัดการความรูอ้ ย่าง เป็นระบบ

5.4 กระทรวงมหาดไทย พร้อมทํางานเชิงรุกภายใต้ บริบทการเปลีย่ นแปลงใน มิติต่างๆ ทั้งภายในและ ภายนอกประเทศ

ระดั บ ความสํ า เร็ จ ในการสร้ า งความ พร้ อ มเพื่ อ รองรั บ การเปลี่ยนแปลงทั้ง ภายในและภายนอก

-

-

-

-

4

5

5

5

5.4.1 สร้างความพร้อม ระดับองค์กรต่อการ เปลี่ยนแปลงในมิติด้าน ต่าง ๆ

~ 25 ~

- เพื่อให้ กระทรวงมหาดไทย สามารถปรับตัวให้สอด รับกับการเปลี่ยนแปลง ที่จะเกิดขึ้นจาก ประชาคมอาเซียน (Asian Community : AC)

ระดับความสําเร็จใน การเตรียมความพร้อมสู่ ประชาคมอาเซียน (AC)

โครงการ/กิจกรรม

หน่วย รับผิดชอบ หลัก

หน่วย สนับสนุน

ทุกหน่วย

- การพัฒนาระบบงานและ การจัดการความรู้ - โครงการจัดทําคู่มือการ จัดการองค์ความรู้ ด้านการ ให้บริการของศูนย์บริการ ประชาชน (ปค.) - การดําเนินการตาม แผนการจัดการความรู้ - โครงการจัดทําหนังสือ คู่มือ ซีดรี อมเกี่ยวกับการ ปฏิบัติงานของ อปท. (สถ.) - โครงการศึกษาวิจยั อปท. ต้นแบบการบริหารจัดการ บ้านเมืองที่ดีของ อปท. (Best Practice) (สถ.) 3

- โครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อ รองรับการเป็นประชาคม อาเซียน - โครงการเตรียมความพร้อม เพื่อรองรับความร่วมมือ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) - โครงการเตรียมความพร้อม กระทรวงมหาดไทยภายใต้ ประชาคมการเมืองและความ มั่นคงอาเซียน (APSC) - โครงการเตรียมความพร้อม กระทรวงมหาดไทยภายใต้ ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม

สป.

ทุกหน่วย


ประเด็นยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์

ตัวชี้วัดระดับ เป้าประสงค์

ข้อมูลพื้นฐาน

เป้าหมาย กลยุทธ์

๕๒

๕๓

๕๔

๕๕

๕๖

๕๗

๕๘

๕๙

~ 26 ~

วัตถุประสงค์

ตัวชี้วัด ระดับกลยุทธ์

เป้า หมาย ๕๕

- เพื่อให้ กระทรวงมหาดไทยมี บทบาทเชิงรุกในการแก้ไข ปัญหาความยากจนของ ประเทศไทย

- ระดับความสําเร็จของ การทํางานในฐานะ หน่วยประสานงานหลัก ด้านความยากจนของ ประเทศไทย

3

- เพื่อให้ กระทรวงมหาดไทยมี บทบาทเชิงรุกในการ จัดการด้านภัยพิบัติ ของประเทศไทย

- ระดับความสําเร็จของ การทํางานในฐานะ หน่วยประสานงานหลัก ด้านภัยพิบัติของ ประเทศไทย

3

โครงการ/กิจกรรม อาเซียน (ASCC) - โครงการจัดตั้งกลุ่มงานวิเทศ สัมพันธ์ระดับจังหวัด/กลุ่ม จังหวัด - โครงการพัฒนากฎหมายใน ความรับผิดชอบของ กระทรวงมหาดไทยเพื่อรองรับ การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน - โครงการขับเคลื่อนการแก้ไข ปัญหาความยากจนแบบบูรณา การของประเทศไทยกรอบ ความร่วมมือของอาเซียนใน ฐานะหน่วยประสานงานหลัก ภายใต้ประชาคมสังคม วัฒนธรรมอาเซียน และความ ร่วมมือระหว่างประเทศอื่น - โครงการขับเคลื่อนการ จัดการด้านภัยพิบัติของ ประเทศไทย ในฐานะหน่วย ประสานงานหลักภายใต้ ประชาคมสังคมวัฒนธรรม อาเซียน

หน่วย

หน่วย รับผิดชอบ หลัก

สนับสนุน

สป.

ทุกหน่วย

ปภ.

ทุกหน่วย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.