performance

Page 1

สรุปผลการพ ัฒนาระบบราชการไทยทีส ่ าค ัญ

ข้อมูล ณ ว ันที่ 1 มิถน ุ ายน 2554


สรุปผลการพ ัฒนาระบบราชการไทยทีส ่ าค ัญ 1. ด้านการยกระด ับการให้บริการประชาชน 1.1 จ ัดตงศู ั้ นย์บริการร่วมและเคาน์เตอร์บริการประชาชน เพือ ่ ให้ประชาชนได้ร ับบริการทีส ่ ะดวก รวดเร็ ว ้ โดยสว่ นราชการและจ ังหว ัดต่าง ๆ ได้รวบรวมงานบริการของตนมาไว้ ณ จุดบริการเดียว และทว่ ั ถึงยิง่ ขึน ศูนย์บริการร่วม (แห่ง) (SL)

เคาน์เตอร์บริการประชาชน (แห่ง) (GCS)

รวม (แห่ง)

จ ังหว ัด

71

18

89

กระทรวง

29

1

30

รวม

100

19

119

1.2 การลดระยะเวลาการให้บริการอย่างต่อเนือ ่ ง โดยมีการมอบรางว ัลคุณภาพการให้บริการประชาชน และผล ก ั ดน ั ให้ส่ว นราชการทีไ่ ด้ร บ ั รางว ล ั ด งั กล่า วในระด บ ั ดีเ ด่น ส่ง ผลงานเพือ ่ ขอร บ ั รางว ล ั United Nations Public Service Awards ขององค์การสหประชาชาติ • ปี 2551 โรงพยาบาลยโสธร ได้ร ับรางว ัลชมเชยในสาขาคุณภาพการให้บริการ ี งใหม่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาล ัย • ปี 2552 โรงพยาบาลมหาราช นครเชย ี งใหม่ ได้ร ับรางว ัลดีเยีย เชย ่ ม สาขาคุณภาพการให้บริการ • ปี 2554 กรมสรรพากร ได้ร ับรางว ัล 1st Place Winner สาขา Advancing knowledge

management in government กรมชลประทาน ได้ร ับรางว ัล 2nd Place Winner สาขา Fostering participation in

policy-making decisions through innovative mechanisms

2


สรุปผลการพ ัฒนาระบบราชการไทยทีส ่ าค ัญ (ต่อ) 1. ด้านการยกระด ับการให้บริการประชาชน (ต่อ) ่ เสริมให้หน่วยงานปร ับปรุงบริการในการเพิม 1.3 สง ่ ขีดความสามารถในการประกอบธุรกิจ ตามรายงาน ่ ผลให้อ ันด ับของ ผลการวิจ ัยของธนาคารโลก เรือ ่ ง Doing Business ให้เกิดผลสาเร็ จอย่างต่อเนือ ่ ง สง ่ ันด ับที่ 12 ในปี พ.ศ. 2553 ประเทศไทยดีขน ึ้ ทุกปี จากอ ันด ับที่ 20 ในปี พ.ศ. 2549 ไปสูอ

20 out of 155 20 out of 145

2548

Thailand 15 out of 178

2549

2550

18 out of 175

12 (16) out of 183

19 out of 183

13 out of 181 2551

2552

2553

2554 3


สรุปผลการพ ัฒนาระบบราชการไทยทีส ่ าค ัญ (ต่อ) 2. ด้านการปร ับรูปแบบการทางานเชงิ บูรณาการ การสร้างเครือข่ายการพ ัฒนา ่ นร่วม ระบบราชการ และการเปิ ดโอกาสให้ประชาชนมีสว ่ นอืน 2.1 ผล ักด ันให้เกิดการบูรณาการการทางานระหว่างหน่วยงานภาคร ัฐและภาคสว ่ ๆ ภายใต้ กลไกของคณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจ ังหว ัดและกลุม ่ จ ังหว ัดแบบบูรณาการ (ก.น.จ.) ทีม ่ น ี ายกร ัฐมนตรีเป็นประธานและสาน ักงาน ก.พ.ร. ทาหน้าทีเ่ ป็นฝ่ายเลขานุการ มีภารกิจหล ัก ในการกาหนดนโยบาย หล ักเกณฑ์และวิธก ี ารในการจ ัดทาแผนพ ัฒนา และแผนปฏิบ ัติราชการ ประจาปี ของจ ังหว ัดและกลุ่มจ ังหว ัด รวมถึงแนวทางในการบริหารงบประมาณของจ ังหว ัดและ กลุม ่ จ ังหว ัดด้วย

4


สรุปผลการพ ัฒนาระบบราชการไทยทีส ่ าค ัญ (ต่อ) 2. ด้านการปร ับรูปแบบการทางานเชงิ บูรณาการ การสร้างเครือข่ายการพ ัฒนาระบบราชการ และการเปิ ดโอกาสให้ประชาชนมีสว่ นร่วม (ต่อ)

การบริหารงานจ ังหว ัดและกลุม ่ จ ังหว ัดแบบบูรณาการ ร ัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550

มาตรา 78 (2)

จัดระบบการบริหารราชการสว่ นกลาง สว่ นภูมภ ิ าค และสว่ นท ้องถิน ่ ให ้มีขอบเขตอานาจหน ้าทีแ ่ ละความรับผิดชอบ ั เจน เหมาะสมแก่การพัฒนาประเทศ และสน ับสนุนให้จ ังหว ัดมีแผนและงบประมาณเพือ ทีช ่ ด ่ พ ัฒนาจ ังหว ัด เพือ ่ ้ ที่ ประโยชน์ของประชาชนในพืน

พระราชบ ัญญ ัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบ ับที่ 7) พ.ศ. 2550 ทีแ ่ ก้ไขเพิม ่ เติมโดยพระราชบ ัญญ ัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 53/1

ให ้จั ง หวัด จั ด ท าแผนพ ัฒนาจ ังหว ัดให ้สอดคล ้องกับแนวทางการพั ฒนาเศรษฐกิจ และสัง คมในระดับชาติ และความ ต ้องการของประชาชนในท ้องถิน ่ ในจังหวัด ในการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดตามวรรคหนึง่ ให ้ผู ้ว่าราชการจังหวัดจัดให ้มีการประชุมปรึกษาหารือร่วมกันระหว่างหัวหน ้า สว่ นราชการทีม ่ ส ี ถานทีต ่ งั ้ ทาการอยูใ่ นจังหวัดไม่มาตรา วา่ จะเป็ นราชการบริ หารสว่ นภูมภ ิ าคหรือราชการบริหารสว่ นกลางและผู ้บริหาร 55/1 องค์กรปกครองสว่ นท ้องถิน ่ ทัง้ หมดในจังหวัด รวมทัง้ ผู ้แทนภาคประชาสงั คม และผู ้แทนภาคธุรกิจเอกชน การจั ด ท าแผนพั ฒ นาจั ง หวัด ตามวรรคหนึ่ง จ านวนและวิธก ี ารสรรหาผูแ ้ ทนภาคประชาสัง คม และผู ้แทนภาคธุร กิจ เอกชนตามวรรคสอง ให ้เป็ นไปตามหล ักเกณฑ์และวิธก ี ารทีก ่ าหนดในพระราชกฤษฎีกา ้ เมือ ่ ประกาศใชแผนพั ฒนาจังหวัดแล ้ว ในการจัดทาแผนพัฒนาท ้องถิน ่ ขององค์กรปกครองส ่วนท ้องถิน ่ และการดาเนิน กิจการของสว่ นราชการและหน่วยงานอืน ่ ของรัฐทัง้ ปวงทีก ่ ระทาในพืน ้ ทีจ ่ ังหวัดต ้องสอดคล ้องกับแผนพัฒนาจังหวัดดังกล่าว

มาตรา 53/2 ให ้นาความในมาตรา 53/1 มาใชบั้ งคับกับการจ ัดทาแผนพ ัฒนากลุม ่ จ ังหว ัดด ้วยโดยอนุโลม

มาตรา 55/1 ในจังหวัดหนึง่ นอกจากกรุงเทพมหานคร ให ้มีคณะกรรมการธรรมาภิบาลจ ังหว ัดคณะหนึง่ เรียกโดยย่อว่า ่ งและเสนอแนะการปฏิบัตภ “ก.ธ.จ.” ทาหน ้าทีส ่ อดสอ ิ ารกิจของหน่วยงานของรัฐในจังหวัดให ้ใชวิ้ ธก ี ารบริหารกิจการบ ้านเมือง ทีด ่ แ ี ละเป็ นไปตามหลักการทีก ่ าหนดไว ้ในมาตรา ๓/๑

5


สรุปผลการพ ัฒนาระบบราชการไทยทีส ่ าค ัญ (ต่อ) 2. ด้านการปร ับรูปแบบการทางานเชงิ บูรณาการ การสร้างเครือข่ายการพ ัฒนา ่ นร่วม (ต่อ) ระบบราชการ และการเปิ ดโอกาสให้ประชาชนมีสว

พ ร ะ ร า ช ก ฤ ษ ฎี ก า ว่ า ด ้ ว ย ก า ร บริห ารงานจั ง หวั ด และกลุ่ ม จั ง หวั ด แบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 ได ้รับการ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125 ตอนที่ 137 ก เมือ ่ ว ันที่ 30 ธ ันวาคม 2551 และมีผลใชบั้ งคับตัง้ แต่ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เป็ นต ้นไป

6


สรุปผลการพ ัฒนาระบบราชการไทยทีส ่ าค ัญ (ต่อ) 2. ด้านการปร ับรูปแบบการทางานเชงิ บูรณาการ การสร้างเครือข่ายการพ ัฒนา ่ นร่วม (ต่อ) ระบบราชการ และการเปิ ดโอกาสให้ประชาชนมีสว

2.2

บูรณาการระบบการประเมินผลของหน่วยงานกลางให้เป็นเอกภาพ โดยจ ัดทาระบบการ

ประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการ (Government Evaluation System : GES) เพือ ่ ลด ้ และให้มก ภาระการจ ัดท ารายงานของส่ว นราชการให้เ หมาะสมยิง่ ขึน ี ารวางระบบสารสนเทศ ื่ มโยงข้อมูลของสว ่ นราชการและเข้าการเข้าถึงข้อมูลทีง่ า ้ ฐานข้อมูลกลางทีส ่ ามารถเชอ ่ ยขึน

7


สรุปผลการพ ัฒนาระบบราชการไทยทีส ่ าค ัญ (ต่อ) 2. ด้านการปร ับรูปแบบการทางานเชงิ บูรณาการ การสร้างเครือข่ายการพ ัฒนา ่ นร่วม (ต่อ) ระบบราชการ และการเปิ ดโอกาสให้ประชาชนมีสว

ระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการ (Government Evaluation System (GES)) ครม. เมือ ่ ว ันที่ 21 ก.ย. 53 ได้พจ ิ ารณาเรือ ่ งการประเมินความคุม ้ ค่าการปฏิบ ัติภารกิจของร ัฐที่ สศช. เสนอ แล้ว มีมติมอบหมายให้ ค.ต.ป. ร ับไปพิจารณาในรายละเอียดร่วมก ับ สาน ักงาน ก.พ.ร. และหน่วยงานอืน ่ ทีเ่ กีย ่ วข้อง เพือ ่ จ ัดทาต ัวชวี้ ัดการประเมินความคุม ้ ค่าการปฏิบ ัติภารกิจของภาคร ัฐและใชเ้ ป็นต ัวชวี้ ัดในคาร ับรองการปฏิบ ัติ ราชการของแต่ละหน่วยงาน โดยให้ยกเลิกต ัวชวี้ ัดเดิมทีไ่ ม่จาเป็นและให้ดาเนินการให้แล้วเสร็ จภายใน 60 ว ัน แล้ว แจ้ง ผลให้ส าน ก ั งบประมาณทราบเพื่อ ด าเนิน การให้ห น่ ว ยงานต่า ง ๆ ถือ ปฏิบ ต ั ิ และใช ้เ ป็ นต วั ช ี้ว ด ั ประกอบการพิจารณาจ ัดสรรงบประมาณรายจ่าย ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2555 ต่อไป ทงนี ั้ ใ้ ห้นาความเห็ นของ หน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข้องไปประกอบในขนการด ั้ าเนินการต่อไปด้วย ค.ต.ป. ในการประชุมครงที ั้ ่ 4/2553 เมือ ่ ว ันที่ 1 ธ.ค. 53 มีมติ 1) เห็นชอบก ับแนวคิดและหล ักการในการบูรณาการ ระบบการตรวจสอบและประเมินผลภาคร ัฐให้เป็นเอกภาพ โดยกาหนดกรอบต ัวชวี้ ัดในการประเมินผลให้มจ ี านวน ั เท่าทีจ ่ าเป็นและสามารถสะท้อนความพึงพอใจของประชาชนทีม ่ ต ี อ ่ ภารกิจและงานบริการของภาคร ัฐได้อย่างชดเจน ้ นในการจ ัดทา 2) เห็นชอบให้มรี ะบบสารสนเทศฐานข้อมูลกลางของหน่วยงานภาคร ัฐ เพือ ่ ลดปัญหาความซา้ ซอ ่ นราชการทีเ่ สนอต่อหน่วยงานกลางทีอ รายงานของสว ่ ยูใ่ นกาก ับของราชการฝ่ายบริหารและเพือ ่ ให้การบริหาร ิ ธิภาพ พร้อมต่อการรายงานต่อสาธารณะและการตรวจสอบของประชาชน จ ัดการข้อมูลของภาคร ัฐมีประสท ผูอ ้ านวยการสาน ักงบประมาณ และเลขาธิการ ก.พ.ร นาเสนอ นาเสนอระบบการประเมินผลภาคราชการแบบ บูรณาการ (Government Evaluation System (GES)) ต่อทีป ่ ระชุมปล ัดกระทรวง เมือ ่ ว ันที่ 13 ธ.ค. 53 โดย ิ ธิ์ เวชชาชวี ะ) เป็นประธาน มีนายกร ัฐมนตรี (นายอภิสท

ครม. เมือ ่ ว ันที่ 24 ม.ค. 54 มีมติเห็ นชอบตามความเห็ นของ ค.ต.ป. และข้อเสนอของสาน ักงบประมาณและ สาน ักงาน ก.พ.ร. ทีเ่ สนอต่อทีป ่ ระชุมปล ัดกระทรวง เกีย ่ วก ับระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการ 8


สรุปผลการพ ัฒนาระบบราชการไทยทีส ่ าค ัญ (ต่อ) นาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใ้ นการบริหารจ ัดการข้อมูลอย่างเป็นระบบ โดยออกแบบระบบโปรแกรมการจ ัดการ ฐานข้อมูลเพือ ่ ใชใ้ นการจ ัดการฐานข้อมูลให้หน่วยงานต่าง ๆ สามารถดึงข้อมูลทีอ ่ ยูใ่ นฐานข้อมูลไปใชง้ านได้อย่าง เหมาะสม หน่วยงานกลางสามารถเข้าถึง ฐานข้อมูล ฐานข้อมูลกลาง ข้อมูลสารสนเทศได้ ของสว่ นราชการ ของประเทศ Accountability Report

กรม Database กลาง ่ GFMIS, เชน e-Budgeting

Database ภายในอืน ่ ๆ ระบบ GES

ระบบ GES กรม Database ภายในอืน ่ ๆ

กรม Database อืน ่ ๆ

Database ภายในอืน ่ ๆ ระบบ GES

กรม

กรม

ระบบ GES

กรม

กรม

กรม กรม

แต่ละสว่ นราชการมีหน้าทีท ่ จ ี่ ะต้องนาเข้า ้ ข้อมูลพืนฐานของตนไว้ในระบบ เพือ ่ พร้อมต่อ การรายงานและการตรวจสอบสาธารณะ

ประมวลผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ ต และระบบ StatXchange ของสาน ักงานสถิตแ ิ ห่งชาติ

9


สรุปผลการพ ัฒนาระบบราชการไทยทีส ่ าค ัญ (ต่อ) กรอบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการ การประเมินผลกระทบต่อ • ประชาชน เศรษฐกิจ

การประเมินคุณภาพ

(ระดับความพึงพอใจของผู ้รับบริการ/ ผู ้กาหนดนโยบาย)

สงั คม การเมือง สงิ่ แวดล ้อม

ิ ธิผล การประเมินประสท

(ผลลัพธ์/ผลผลิต) • ระดับความสาเร็จในการบรรลุเป้ าหมาย ระดับกระทรวง* กลุม ่ ภารกิจ (ถ ้ามี) กรม

มิตภ ิ ายนอก (External Impacts) (70%)

้ า่ ย การประเมินผลประโยชน์ตอ ่ ค่าใชจ

• ต่อผลประโยชน์ทไี่ ด ้รับจากการ ้ การ (สนองตอบความ ใชบริ

ต ้องการ)

• ต่อกระบวนการให ้บริการ (อานวย

ความสะดวก)

(Benefit-Cost Ratio) หรือ

้ า่ ย ิ ธิผลต่อค่าใชจ การประเมินประสท (Cost-Effectiveness)

*รวมถึงระดับความสาเร็จในการขับเคลือ ่ นนโยบายสาคัญเร่งด่วน ของรัฐบาล และ Joint KPIs (ถ ้ามี)

ิ ธิภาพ การประเมินประสท •ต ้นทุนต่อหน่วย มิตภ ิ ายใน (วัดจากต ้นทุนและผลผลิตทีเ่ กิดขึน ้ จริง) (Internal ั สว่ นค่าใชจ่้ ายจริงต่อค่าใชจ่้ าย •สด Management) ตามแผน (สามารถเรียกได ้จากระบบ (30%) GFMIS online-real time, เอกสาร สงป. 302 รายไตรมาส) •ปริมาณผลผลิตทีท ่ าได ้จริงเปรียบเทียบกับแผน (เอกสาร สงป. 301 รายไตรมาส) ั สว่ นผลผลิตต่อทรัพยากร (สามารถดูจาก •สด ข ้อมูลต ้นทุนต่อหน่วย)

การพ ัฒนาองค์การ •ขีดสมรรถนะของการบริหารจัดการ

PART

PMQA

มาตรฐาน ความ โปร่งใสและ ตรวจสอบ ได้ของ ่ นราชการ สว 10


สรุปผลการพ ัฒนาระบบราชการไทยทีส ่ าค ัญ (ต่อ) 2. ด้านการปร ับรูปแบบการทางานเชงิ บูรณาการ การสร้างเครือข่ายการพ ัฒนา ่ นร่วม (ต่อ) ระบบราชการ และการเปิ ดโอกาสให้ประชาชนมีสว

้ ระกอบในการจ ัดสรรงบประมาณ แนวทางการนาผลการประเมินภาคราชการมาใชป รายจ่ายประจาปี การเลือ ่ นเงินเดือนและเงินรางว ัล ปัจจุบ ันย ังไม่ได้

ผลการดาเนินงานระดับองค์การ Organizational Performance ระดับผลการดาเนินงาน

A

B

5.00

C

D

3.00

E

แปรผ ันตามผล การดาเนินงาน

Incentive Scheme

1. งบประมาณ ประจาปี ของสว่ น ราชการ

2. Base Pay + Merit Increase (6% ของฐาน เงินเดือน)

3. เงินรางวัล ตาม ผลงาน

1.00

ผลงานระดับบุคคล Individual Performance

Note: FY 2553

FY 2555

แปรผ ันตามผลงาน 0-12% * *ประเมินปี ละ 2 ครงั้ ครงละไม่ ั้ เกิน 6% และ ไม่เกิน Mid-point ของเงินเดือนแต่ละบุคคล


สรุปผลการพ ัฒนาระบบราชการไทยทีส ่ าค ัญ (ต่อ) 2. ด้านการปร ับรูปแบบการทางานเชงิ บูรณาการ การสร้างเครือข่ายการพ ัฒนา ่ นร่วม (ต่อ) ระบบราชการ และการเปิ ดโอกาสให้ประชาชนมีสว

2.3 การสร้างเครือข่ายการพ ัฒนาระบบราชการ โดยมีผน ู ้ าการบริหารการเปลีย ่ นแปลง (Chief Change Officer : CCO ) เป็นผูร้ ับผิดชอบ ผล ักด ัน และมีกลุม ่ พ ัฒนาระบบบริหารเป็นกลไก

สาค ัญในการทางาน ่ เสริมการมีสว ่ นร่วมของประชาชนในการบริหารราชการแผ่นดิน เพือ 2.4 การสง ่ การบริหารงาน แบบบู ร ณาการ และการพ ฒ ั นาจ งั หว ด ั /กลุ่ ม จ งั หว ด ั ทีส ่ อดคล้อ งก บ ั แนวทางการพ ฒ ั นาใน

้ ที่ โดยจ ัดให้มก ระด ับชาติและความต้องการของประชาชนในพืน ี ารมอบรางว ัลความเป็นเลิศด้าน ่ นร่วม ในระด ับจ ังหว ัด การบริหารราชการแบบมีสว

12


สรุปผลการพ ัฒนาระบบราชการไทยทีส ่ าค ัญ (ต่อ) 2. ด้านการปร ับรูปแบบการทางานเชงิ บูรณาการ การสร้างเครือข่ายการพ ัฒนา ่ นร่วม (ต่อ) ระบบราชการ และการเปิ ดโอกาสให้ประชาชนมีสว

่ เสริมการมีสว่ นร่วมของประชาชนในการบริหารราชการแผ่นดิน การสง

พล ังข ับเคลือ ่ น

ประโยชน์ในการ บริหารงานแบบ บูรณาการ และ การพ ัฒนา จ ังหว ัด/กลุม ่ จ ังหว ัดที่ สอดคล้องก ับ แนวทางการ พ ัฒนาใน ระด ับชาติและ ความต้องการ ของประชาชนใน ้ ที่ พืน

1. การสารวจความคิดเห็ นของประชาชนในท้องถิน ่ ในจ ังหว ัดเพือ ่ ให้ทราบถึง ั ้ ความต้องการและศกยภาพของประชาชนในพืนที่ 2. การเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการในการจ ัดทาแผน ฯ ในระด ับจ ังหว ัด ระด ับกลุม ่ จ ังหว ัด และระด ับชาติ 3. การประชุมปรึกษาหารือร่วมก ันของภาคสว่ นต่าง ๆ ในจ ังหว ัดเพือ ่ เสนอ ความเห็นเกีย ่ วก ับแผนพ ัฒนาจ ังหว ัดและแผนพ ัฒนากลุม ่ จ ังหว ัด 13


สรุปผลการพ ัฒนาระบบราชการไทยทีส ่ าค ัญ (ต่อ) 2. ด้านการปร ับรูปแบบการทางานเชงิ บูรณาการ การสร้างเครือข่ายการพ ัฒนา ่ นร่วม (ต่อ) ระบบราชการ และการเปิ ดโอกาสให้ประชาชนมีสว

่ เสริมการมีสว่ นร่วมของประชาชนในการบริหารราชการแผ่นดิน (ต่อ) การสง ส าน ก ั งาน ก.พ.ร. ส ่ง เสริม และสน บ ั สนุ น ให้จ งั หว ด ั ด าเนิน การเปิ ดโอกาสให้ ประชาชนเข้า มามีส ่ว นร่ว มในการบริห ารราชการ และจ ด ั ให้ม ก ี ารมอบรางว ล ั ิ ชู ผ ลงานของ “ความเป็ นเลิศ ด้า นการบริห ารราชการแบบมีส ่ว นร่ว ม” เพือ ่ เช ด จ ังหว ัดทีม ่ ผ ี ลงานดีเด่นด้านการบริหารราชการแบบมีสว่ นร่วม ผลการดาเนินงาน ปี 2552 จ ังหว ัดเสนอผลงานการดาเนินงานเปิ ดโอกาสให้ ประชาชนเข้า มามีส่ ว นร่ ว มในการบริห ารราชการเพื่อ ขอร บ ั รางว ล ั ฯ จ านวน 22 จ งั หว ด ั และมีจ งั หว ด ั ทีไ ่ ด้ร บ ั รางว ล ั ฯ ใน ระด บ ั ดีเ ยี่ย ม 9 จ งั หว ด ั ได้แ ก่ นครราชส ีม า อุ บ ลราชธานี สมุทรสงคราม ชุมพร ยะลา จ ันทบุร ี พะเยา ลาพูน และน่าน

ปี 2553 จ ังหว ัดเสนอผลงานการดาเนินงานเปิ ดโอกาสให้ ประชาชนเข้า มามีส่ ว นร่ ว มในการบริห ารราชการเพื่อ ขอร บ ั ้ ยูร รางว ัลฯ จานวน 24 จ ังหว ัด ขณะนีอ ่ ะหว่างการตรวจประเมิน เพือ ่ มอบรางว ัลฯ 14


สรุปผลการพ ัฒนาระบบราชการไทยทีส ่ าค ัญ (ต่อ) ่ ารเป็นองค์การทีม 3. ด้านการมุง ่ สูก ่ ข ี ด ี สมรรถนะสูง บุคลากรมีความพร้อม ความสามารถ และปร ับต ัวได้เหมาะสมต่อสถานการณ์ตา่ ง ๆ ่ นราชการตามมาตรา 33 แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหล ักเกณฑ์ 3.1 การทบทวนภารกิจของสว และวิธก ี ารบริหารกิจการบ้านเมืองทีด ่ ี พ.ศ. 2546 3.1.1 มีมาตรการระง ับการขอจ ัดตงหน่ ั้ วยงานใหม่หรือขยายหน่วยงาน รวมทงการขอจ ั้ ัดตงั้ ั ัดฝ่ายบริหาร (ไม่รวมร ัฐวิสาหกิจ) องค์การมหาชนหรือหน่วยงานอืน ่ ของร ัฐในสงก 3.1.2 การจ ัดทาแผนยุทธศาสตร์การพ ัฒนาหน่วยงาน (พ.ศ. 2554 – พ.ศ. 2556) เพือ ่ ให้ ่ นราชการมีการวางแผนการพ ัฒนาหน่วยงานให้ครอบคลุมบทบาทภารกิจ และเกิดความคุม สว ้ ค่า ่ น 3.1.3 จ ัดทาแผนการถ่ายโอนงานด้านการตรวจสอบและร ับรองคุณภาพมาตรฐานของสว ่ นอืน ราชการต่าง ๆ ให้ภาคเอกชนหรือภาคสว ่ ร ับไปดาเนินการแทน โดยในระยะแรกมีการถ่าย

่ นราชการ โอนไปจานวน 37 งาน ใน 18 สว แผนการดาเนินงานถ่ายโอนภารกิจ การดาเนินการ 3 ระยะ

ระยะเวลา

ระยะที่ 1 :โอนงานตรวจสอบร ับรองมาตรฐานจานวน 35 งานและติดตามประเมินผล

เม.ย. 2553 - ก.ย. 2554

ระยะที่ 2 :เตรียมการและถ่ายโอนภารกิจด้านการตรวจสอบร ับรองมาตรฐาน ทีย ่ ังเหลืออยูใ่ ห้แล้วเสร็จ (58 งาน)

ต.ค. 2554 - ก.ย. 2555

ึ ษาเพือ ระยะที่ 3 :ศก ่ เตรียมการดาเนินการถ่ายโอนภารกิจภาคร ัฐในด้านอืน ่ ๆ ภารกิจงานด้านอืน ่ นอกเหนือจากงานด้านตรวจร ับรองมาตรฐาน

ต.ค. 2555 เป็นต้นไป 15


สรุปผลการพ ัฒนาระบบราชการไทยทีส ่ าค ัญ (ต่อ) ่ ารเป็นองค์การทีม 3. ด้านการมุง ่ สูก ่ ข ี ด ี สมรรถนะสูง บุคลากรมีความพร้อม ความสามารถ และปร ับต ัวได้เหมาะสมต่อสถานการณ์ตา่ ง ๆ (ต่อ)

การพ ัฒนาโครงสร้างและการบริหารงานของกระทรวง ทบวง กรม แนวทางการจ ัดโครงสร้างสว่ นราชการ ้ านาจร ัฐ หน่วยงานทีใ่ ชอ หรือเป็นกลไกของร ัฐ แต่ไม่เป็นองค์กรของร ัฐ

หน่วยงานของร ัฐ กระทรวง

ี สภาวิชาชพ

ทบวง

สป. ทบวง

กรม

กลุม ่ ภารกิจ

กรม

กรม

สถาบ ัน ภายใต้มล ู นิธ ิ

องค์การ มหาชน

ร ัฐ วิสาหกิจ

หน่วย ธุรการ ของ องค์การ ของร ัฐที่ เป็นอิสระ

กองทุน ทีเ่ ป็น นิตบ ิ ค ุ คล

นิตบ ิ ุคคลเฉพาะกิจ (SPV)

SDU 16


สรุปผลการพ ัฒนาระบบราชการไทยทีส ่ าค ัญ (ต่อ) ่ ารเป็นองค์การทีม 3. ด้านการมุง ่ สูก ่ ข ี ด ี สมรรถนะสูง บุคลากรมีความพร้อม ความสามารถ และปร ับต ัวได้เหมาะสมต่อสถานการณ์ตา่ ง ๆ (ต่อ)

การทบทวนบทบาทและภารกิจของภาคร ัฐ

ร ัฐ

ภารกิจทีต ่ ้อง ิ้ เชงิ เลิกโดยสน

ภารกิจทีจ ่ าเป็ น ของรัฐ

ภารกิจทีต ่ ้องการ อาณั ตเิ ชงิ นโยบาย จากฝ่ ายการเมือง

ภารกิจทีต ่ ้องโอนจากรัฐไป ให ้ภาคสว่ นอืน ่

ท้องถิน ่  การให ้สาธาณูปการ ทัง้ หลาย

ชุมชนท้องถิน ่  ดูแลรักษาทรัพยากร ่ ป่ า บางประเภท เชน ทีส ่ าธารณะประโยชน์ ทีใ่ ชร่้ วมกัน

ภารกิจทีต ่ ้องการ ความเป็ นกลาง ทางการเมืองอย่าง เคร่งครัด

ั ประชาสงคมที ่ ไม่มง ุ่ กาไร  การตรวจสอบ ควบคุมบาง ประการ

องค์กรของร ัฐ ทีเ่ ป็นอิสระ

ระบบราชการ พลเรือน/ทหาร ร ัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน ั พันธ์ (ควรจัดความสม ระหว่างการเมือง/ฝ่ าย ประจาให ้เหมาะสม)

องค์กรเอกชน  ภารกิจทีเ่ ป็ นประโยชน์ ร่วมกันทีเ่ อกชนร่วมกันทา ร่วมตรวจสอบได ้

ทีม ่ า : โครงการสร ้างเสริมภาคีการพัฒนารัฐ – สงั คม เพือ ่ สุขภาวะประเทศไทย 17


สรุปผลการพ ัฒนาระบบราชการไทยทีส ่ าค ัญ (ต่อ) ่ ารเป็นองค์การทีม 3. ด้านการมุง ่ สูก ่ ข ี ด ี สมรรถนะสูง บุคลากรมีความพร้อม ความสามารถ และปร ับต ัวได้เหมาะสมต่อสถานการณ์ตา่ ง ๆ (ต่อ) ่ นราชการ จ ังหว ัด สถาบ ันอุดมศ ก ึ ษา 3.2 การจ ัดทาค าร ับรองและประเมินผลการปฏิบ ัติร าชการของสว ื่ มโยงก ับแผนบริหารราชการแผ่นดิน ตามนโยบายร ฐ และองค์การมหาชน ให้เชอ ั บาล และแผนปฏิบ ัติ ราชการของแต่ ล ะหน่ ว ยงาน รวมท งั้ การบู ร ณาการการท างานระหว่ า งกระทรวงในยุ ท ธศาสตร์ท ม ี่ ี ั ่ นราชการเชอ ื่ มโยงไปสูผ ่ ลสมฤทธิ เป้าหมายร่วมก ัน (Joint KPIs ) เพือ ่ ให้การปฏิบ ัติราชการของสว ต ์ าม

ิ นโยบายทีก เป้ าหมายเช ง ่ าหนดไว้ใ นแผนการบริห ารราชการแผ่น ดิน โดยยึด โยงยุ ท ธศาสตร์แ ละ เป้าหมายร่วมก ัน ซงึ่ ดาเนินการอยู่ 9 ยุทธศาสตร์ คือ 1) ยุทธศาสตร์การป้องก ันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 2) ยุทธศาสตร์ความมน ่ ั คงชายแดนภาคใต้ 3) ยุทธศาสตร์การป้องก ันและบรรเทาอุบ ัติภ ัยทางถนน

4) ยุทธศาสตร์สงิ่ แวดล้อม (คุณภาพนา้ ) 5) ยุทธศาสตร์สงิ่ แวดล้อม (คุณภาพอากาศและหมอกคว ัน) 6) ยุทธศาสตร์ขา้ วไทย 7) ยุทธศาสตร์พล ังงานผสม 8) ยุทธศาสตร์เอดส ์ 9) ยุทธศาสตร์การปร ับปรุงบริการเพือ ่ เพิม ่ ขีดความสามารถในการประกอบธุรกิจของประเทศ (ตามรายงานผลการวิจ ัย เรือ ่ ง Doing Business ของธนาคารโลก) รวมถึงจ ัดสรรสงิ่ จูงใจในรูปแบบของเงินรางว ัล เพือ ่ ให้ขา้ ราชการสร้างสรรค์ผลงาน 18


สรุปผลการพ ัฒนาระบบราชการไทยทีส ่ าค ัญ (ต่อ) ่ ารเป็นองค์การทีม 3. ด้านการมุง ่ สูก ่ ข ี ด ี สมรรถนะสูง บุคลากรมีความพร้อม ความสามารถ และปร ับต ัวได้เหมาะสมต่อสถานการณ์ตา่ ง ๆ (ต่อ)

การจ ัดทาคาร ับรองการปฎิบ ัติราชการและการประเมินผลการปฎิบ ัติราชการ ของสว่ นราชการและจ ังหว ัด ั ระบบการบริหารมุง ่ ผลสมฤทธิ ใ์ นราชการไทย Results-Based Management System พ ัฒนาคุณภาพ การบริหารจ ัดการ (PMQA)

วางยุทธศาสตร์

ปรับปรุง

จ ัดสรรรางว ัลให้ สว่ นราชการเพือ ่ ให้จ ัดสรรให้ผู ้ ปฏิบ ัติ

PDCA ประเมินผล

เจรจาเพือ ่ ทาคาร ับรอง ปฏิบ ัติราชการ ต ัวชวี้ ัด/ ค่าเป้าหมาย

ปฏิบต ั งิ าน • รายงานผล SAR • ติดตาม/ประเมินผล (Site Visit)โดยผู ้ ประเมินอิสระ • ค.ต.ป.สอบทาน 19


สรุปผลการพ ัฒนาระบบราชการไทยทีส ่ าค ัญ (ต่อ) ่ ารเป็นองค์การทีม 3. ด้านการมุง ่ สูก ่ ข ี ด ี สมรรถนะสูง บุคลากรมีความพร้อม ความสามารถ และปร ับต ัวได้เหมาะสมต่อสถานการณ์ตา่ ง ๆ (ต่อ)

กรอบการประเมินผลตามคาร ับรองการปฏิบ ัติราชการของสว่ นราชการ ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2554

ิ ธิผล (50 %) มิตด ิ า้ นประสท ความสาเร็จตามแผนปฏิบ ัติ ราชการของกระทรวงและ นโยบายสาค ัญ/ พิเศษของร ัฐบาล 25

ความสาเร็จตามแผน ปฏิบ ัติราชการ ของกลุม ่ ภารกิจ 10

ความสาเร็จตาม แผนปฏิบ ัติราชการ/ภารกิจ หล ัก/เอกสารงบประมาณ 15 รายจ่ายฯ ของกรม

มิตด ิ า้ นคุณภาพการให้บริการ (15 %) ความพึงพอใจ

9

การป้องก ัน การทุจริต

6

ิ ธิภาพ (15 %) มิตด ิ า้ นประสท มาตรฐาน ระยะเวลา การให้บริการ 3

การบริหาร งบประมาณและ จ ัดทาต้นทุน 7 ต่อหน่วย

การควบคุม ภายใน

3

การพ ัฒนา กฎหมาย

2

มิตด ิ า้ นการพ ัฒนาองค์การ (20 %) การพ ัฒนาคุณภาพการบริหารจ ัดการภาคร ัฐ

20

20


สรุปผลการพ ัฒนาระบบราชการไทยทีส ่ าค ัญ (ต่อ) ่ ารเป็นองค์การทีม 3. ด้านการมุง ่ สูก ่ ข ี ด ี สมรรถนะสูง บุคลากรมีความพร้อม ความสามารถ และปร ับต ัวได้เหมาะสมต่อสถานการณ์ตา่ ง ๆ (ต่อ) 3.3 การพฒ ั นาคุณภาพการบริห ารจ ัดการภาคร ฐ ั หรือ PMQA โดยมีการผล ักด ันเรือ ่ งด ังกล่าวมา อย่างต่อเนือ ่ งน ับตงแต่ ั้ ปี พ.ศ. 2547 เพือ ่ พ ัฒนาระบบบริหารจ ัดการภายในองค์การให้มรี ะบบทีด ่ ี เกิดการพ ัฒนาองค์การอย่างต่อเนือ ่ งและยง่ ั ยืน ซงึ่ ในอนาคตจะกาหนดให้มก ี ารมอบรางว ัลคุณภาพ การบริห ารจ ด ั การภาคร ฐ ั ให้ก ับส่วนราชการทีป ่ รบ ั ปรุ ง องค์ก ารได้อ ย่า งต่อ เนือ ่ ง และเป็ นไปตาม เกณฑ์ทก ี่ าหนด เกณฑ์คณ ุ ภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

เกณฑ์คณ ุ ภาพการบริหารจ ัดการภาคร ัฐ 7 หมวด หมวด 1 การนาองค์กร หมวด 2 การวางแผนเชงิ ยุทธศาสตร์ หมวด 3 การให้ความสาค ัญก ับผูร้ ับบริการ ี และผูม ้ ส ี ว่ นได้สว่ นเสย หมวด 4 การว ัด การวิเคราะห์ และการจ ัดการความรู ้ หมวด 5 การมุง ่ เน้นทร ัพยากรบุคคล หมวด 6 การจ ัดการกระบวนการ หมวด 7 ผลล ัพธ์การดาเนินการ การประเมินองค์การตามเกณฑ์ PMQA จะทาให้ทราบ จุดแข็งและโอกาสในการปร ับปรุง เพือ ่ ยกระด ับคุณภาพ การบริหารจ ัดการให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล 21


สรุปผลการพ ัฒนาระบบราชการไทยทีส ่ าค ัญ (ต่อ) ่ ารเป็นองค์การทีม 3. ด้านการมุง ่ สูก ่ ข ี ด ี สมรรถนะสูง บุคลากรมีความพร้อม ความสามารถ และปร ับต ัวได้เหมาะสมต่อสถานการณ์ตา่ ง ๆ (ต่อ)

ผลการดาเนินการพ ัฒนาคุณภาพการบริหารจ ัดการภาคร ัฐ ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2552

22


สรุปผลการพ ัฒนาระบบราชการไทยทีส ่ าค ัญ (ต่อ) ่ ารเป็นองค์การทีม 3. ด้านการมุง ่ สูก ่ ข ี ด ี สมรรถนะสูง บุคลากรมีความพร้อม ความสามารถ และปร ับต ัวได้เหมาะสมต่อสถานการณ์ตา่ ง ๆ (ต่อ) 3.4 การพ ัฒนาน ักบริหารการเปลีย ่ นแปลงรุน ่ ใหม่ (นปร.) เพือ ่ มุง ่ สร้างคนเก่ง พ ัฒนาคนดี โดย ั ทศ สรรหาและค ด ั เลือ กบุ ค ลากรทีม ่ ค ี วามสามารถสู ง เป็ นน ก ั คิด ทีม ่ ว ี ส ิ ย ั น์ น ก ั พฒ ั นาและน ก ั วางแผน น ักปฏิบ ัติทก ี่ อ ่ ให้เกิดการเปลีย ่ นแปลง ผูท ้ ผ ี่ า ่ นการเข้าร่วมโครงการพ ัฒนาน ักบริหาร การเปลี่ย นแปลงรุ่ น ใหม่ จะได้ร บ ั การบรรจุ แ ต่ ง ต งั้ ให้ด ารงต าแหน่ ง ในส่ ว นราชการที่ม ี ความสาค ัญทางยุทธศาสตร์ โดยเริม ่ ดาเนินการตงแต่ ั้ ปี พ.ศ. 2548

มีผผ ู้ า ่ นการค ัดเลือกเข้า

ร่วมโครงการ ด ังนี้ รุน ่ ที่ 1 จานวน 39 คน รุน ่ ที่ 2 จานวน 39 คน รุน ่ ที่ 3 จานวน 49 คน รุน ่ ที่ 4 จานวน 33 คน รุน ่ ที่ 5 จานวน 37 คน

23


สรุปผลการพ ัฒนาระบบราชการไทยทีส ่ าค ัญ (ต่อ) 4. ด้านการสร้างระบบการกาก ับดูแลตนเองทีด ่ ี เกิดความโปร่งใส สามารถ ตรวจสอบได้ รวมทงท ั้ าให้บค ุ ลากรปฏิบ ัติงานอย่างมีจต ิ สานึกความ ั ร ับผิดชอบต่อตนเอง ต่อประชาชนและต่อสงคมโดยรวม 4.1 มีการจ ัดทานโยบายกาก ับดูแลองค์การทีด ่ ี (Organizational Governance : OG) เพือ ่ ให้ ภาคร ัฐนาหล ักการบริหารกิจการบ้านเมืองทีด ่ ม ี าประยุกต์ใชเ้ ป็นแนวทางในการปฏิบ ัติราชการ สามารถเรียนรู ้ ปร ับต ัว และตอบสนองต่อการเปลีย ่ นแปลงในการอานวยความสะดวกและการ ให้บริการประชาชนได้อย่างท ันกาล 4.2

จ ัดท าเกณฑ์การจ ัดระด ับการกาก ับดูแลองค์ก ารภาคร ัฐตามหล ก ั ธรรมาภิบ าลของการ

บริหารกิจการบ้านเมืองทีด ่ ี (Good Governance Rating : GG Rating) เพือ ่ เป็นเครือ ่ งมือ ้ ระเมิน ระด บ ส าหร บ ั ใช ป ั การก าก ับดูแ ลองค์ก ารภาคร ฐ ั ตามหล ก ั ธรรมาภิบ าลของการบริห าร

กิจการบ้านเมืองทีด ่ ี อ ันจะเป็นการผล ักด ันให้ภาคร ัฐยกระด ับธรรมาภิบาลให้เทียบเท่าเกณฑ์ของ สากล

24


สรุปผลการพ ัฒนาระบบราชการไทยทีส ่ าค ัญ (ต่อ) 4. ด้านการสร้างระบบการกาก ับดูแลตนเองทีด ่ ี เกิดความโปร่งใส สามารถ ตรวจสอบได้ รวมทงท ั้ าให้บค ุ ลากรปฏิบ ัติงานอย่างมีจต ิ สานึกความ ั ร ับผิดชอบต่อตนเอง ต่อประชาชนและต่อสงคมโดยรวม (ต่อ)

4.3

จ ัดตงคณะกรรมการตรวจสอบและประเมิ ั้ นผลภาคราชการ (ค.ต.ป.) เพือ ่ ทาหน้าทีว่ าง

นโยบาย และแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลในภาคราชการ รวมท งส ั้ ่งเสริม ผล ก ั ด ัน สอบทาน และเสนอแนะมาตรการเพือ ่ เสริมสร้า งความเข้มแข็ งของการกาก ับดูแลตนเองทีด ่ ี ของส่ ว นราชการ อ น ั จะน าไปสู่ ก ารบรรลุ ผ ลตามเจตนารมณ์ ข องหล ก ั การบริห ารกิจ การ

บ้านเมืองทีด ่ ี

25


สรุปผลการพ ัฒนาระบบราชการไทยทีส ่ าค ัญ (ต่อ) 4. ด้านการสร้างระบบการกาก ับดูแลตนเองทีด ่ ี เกิดความโปร่งใส สามารถ ตรวจสอบได้ รวมทงท ั้ าให้บค ุ ลากรปฏิบ ัติงานอย่างมีจต ิ สานึกความ ั ร ับผิดชอบต่อตนเอง ต่อประชาชนและต่อสงคมโดยรวม (ต่อ) ระเบีย บส าน ก ั นายกร ฐ ั มนตรีว ่ า ด้ว ยการตรวจสอบและประเมิน ผลภาคราชการ พ.ศ. 2548 ก าหนดให้ม ี คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.) เพือ ่ ทาหน้าทีว่ างนโยบาย แนวทางการ ่ นราชการทีอ ตรวจสอบและประเมินผลในภาคราชการ รวมถึงตรวจสอบและประเมินผลการดาเนินงานของสว ่ ยูใ่ น ื่ ถือและความมนใจแก่ กาก ับของราชการฝ่ายบริหาร เพือ ่ เสริมสร้างความน่าเชอ ่ั สาธารณชน

Good Governance Effectiveness Efficiency

พระราชบ ัญญ ัติระเบียบบริหาร ราชการแผ่นดิน (ฉบ ับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1

คณะร ัฐมนตรี รมต.

Responsiveness Accountability Transparency Participation Decentralization

พระราชกฤษฎีกาว่าด้วย หล ักเกณฑ์และวิธก ี ารบริหาร กิจการบ้านเมืองทีด ่ ี พ.ศ. 2546

ค.ต.ป. กระทรวง

ค.ต.ป. อ.ค.ต.ป. บูรณาการ

อ.ค.ต.ป. วิชาการ

Rule of law

Equity Consensus Oriented

อ.ค.ต.ป. กลุม ่ กระทรวง (4 คณะ)

อ.ค.ต.ป. กลุม ่ จ ังหว ัด (5 คณะ)

26


สรุปผลการพ ัฒนาระบบราชการไทยทีส ่ าค ัญ (ต่อ) 4. ด้านการสร้างระบบการกาก ับดูแลตนเองทีด ่ ี เกิดความโปร่งใส สามารถ ตรวจสอบได้ รวมทงท ั้ าให้บค ุ ลากรปฏิบ ัติงานอย่างมีจต ิ สานึกความ ั ร ับผิดชอบต่อตนเอง ต่อประชาชนและต่อสงคมโดยรวม (ต่อ)

4.4

จ ัดตงคณะกรรมการธรรมาภิ ั้ บาลจ ังหว ัด (ก.ธ.จ.) ทาหน้าทีส ่ อดส่องและเสนอแนะการ

ปฏิบ ัติภารกิจของหน่วยงานของร ัฐในจ ังหว ัดให้ใชว้ ธ ิ ก ี ารบริหารกิจการบ้านเมืองทีด ่ ี อ ันจะทา ให้ก ารบริห ารเป็ นไปด้ว ยความโปร่ง ใส ตรวจสอบได้ เป็ นธรรม และมีค วามร บ ั ผิด ชอบต่อ ั ผลสมฤทธิ ข ์ องงาน

27


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.