๖๐ ภูมิปัญญาสมุนไพรจากป่าชุมชน

Page 1



กลอนพระราชนิพนธ์

สมุ น ไพร

ไทยนี้

มี ค ่ า มาก

แต่ ปู ่ ย ่ า

ตายาย

ใช้ กั น มา

พระเจ้ า อยู ่ หั ว ควรลู ก หลาน

เป็ น เอกลั ก ษณ์ วิ จั ย ยา

ทรงฝาก รู ้ รั ก ษา

ของชาติ

ประยุ ก ต์ ใ ช้

รู ้ ป ระโยชน์

เพื่ อ คนไทย

รู ้ คุ ณ โทษ

อยู ่ ร อด

ให้ รั ก ษา

ใช้ สื บ ไป

ควรศึ ก ษา

ให้ เ หมาะสมั ย สมุ น ไพร

ตลอดกาล

พระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

1


2

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


ค�ำน�ำ พืชสมุนไพรไทยจากป่าชุมชนในแต่ละภูมภิ าคมีความหลากหลายทัง้ ทางด้านชีวภาพ และ คุณลักษณะ รวมทัง้ ชุมชนเองก็มคี วามแตกต่างกันทางด้านวัฒนธรรมท้องถิน่ ท�ำให้การใช้ประโยชน์ สมุนไพรมีความแตกต่างกันไป ดังนัน้ เพือ่ เป็นการรักษาภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ในด้านการใช้ประโยชน์ พืชสมุนไพร ซึง่ นับวันจะเลือนลางหายไปเพราะขาดผูส้ บื ทอดในการถ่ายทอดองค์ความรู้ หากไม่มกี าร บันทึกหรือเก็บรวบรวมไว้ ภูมปิ ญ ั ญาดังกล่าวอาจจะสูญหายไป กรมป่าไม้ได้มองเห็นความส�ำคัญ ในเรือ่ งการอนุรกั ษ์ภมู ปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ด้านพืชสมุนไพรทีใ่ ช้ในการรักษาโรคในปัจจุบนั และเพือ่ เป็นการ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนือ่ งในวโรกาสทีท่ รงเจริญ พระชนมายุ ค รบ 60 พรรษา เมื่ อ วั น ที่ 2 เมษายน 2558 ซึ่ ง ท่ า นทรงสนพระทั ย และ ให้ความส�ำคัญอย่างมากในเรื่องการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช กรมป่าไม้จึงได้รวบรวมภูมิปัญญา ด้านการใช้พชื สมุนไพรจากปราชญ์ชาวบ้านในพืน้ ทีป่ า่ ชุมชน ตามโครงการ 60 ป่าชุมชน อนุรกั ษ์ พั นธุ ก รรมพืช ตามแนวพระราชด�ำริฯ และจั ดท� ำ หนั ง สือ “60 ภู มิป ั ญ ญา สมุ น ไพรจาก ป่าชุมชน” ขึ้น กรมป่าไม้หวังเป็นอย่างยิง่ ว่า หนังสือ “60 ภูมปิ ญ ั ญา สมุนไพรจากป่าชุมชน” ฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์สำ� หรับผูท้ สี่ นใจในพืชสมุนไพรไทย และจะเป็นสือ่ ในการเผยแพร่ ถ่ายทอดองค์ความรู้ ท้องถิน่ ด้านพืชสมุนไพรให้คงอยูค่ กู่ บั คนไทย และลูกหลานไทยในอนาคต ตลอดจนเป็นการส่งเสริม ให้ประชาชนเล็งเห็นความส�ำคัญในการพึง่ พาอาศัยทีเ่ กือ้ กูลกันระหว่าง คน กับป่า เกิดจิตส�ำนึก ในการร่วมกันดูแลรักษาป่าชุมชนซึ่งเป็นแหล่งสมุนไพรให้อยู่คู่กับชุมชนตลอดไป

(นายชลธิศ สุรัสวดี) อธิบดีกรมป่าไม้

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

3


สารบัญ สมุนไพร

ค�ำน�ำ

๓ ๗

สมุนไพร จากป่าชุมชนภาคเหนือ

4

กระทือ

กุ่มน�้ำ

๑๐

ข้าวเม่านก

๑๒

ข้าวเย็นเหนือ

๑๔

ขี้เหล็ก

๑๖

ซ้อ

๑๘

ตะแบกเลือด

๒๐

ผักหนาม

๒๒

มะเกลือ

๒๔

มะขาม

๒๖

มะเขือแจ้เครือ

๒๘

มะค�ำไก่

๓๐

มะนาวไม่รู้โห่

๓๒

ยางนา

๓๔

ระย่อม

๓๖

ลาน

๓๘

ลูกใต้ใบ

๔๐

สะค้าน

๔๒

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

สมุนไพร จากป่าชุมชน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กรวยป่า

๔๔

ชิงชี่

๔๖

เปราะป่า

๔๘

ฝาง

๕๐

มะกอกน�้ำ

๕๒

มะขามป้อม

๕๔

มะดัน

๕๖

มะหาด

๕๘

ย่านางแดง

๖๐

รางแดง

๖๒

แสง

๖๔

หนอนตายอยาก

๖๖

หมักม่อ

๖๘

เหมือดแอ่

๗๐


สมุนไพร จากป่าชุมชนภาคกลาง และภาคตะวันออก กะตังใบ

๗๒

ก�ำแพงเจ็ดชั้น

๗๔

ก�ำลังวัวเถลิง

๗๖

ขันทองพยาบาท

๗๘

งิ้ว

๘๐

ชาฤาษี

๘๒

ซก

๘๔

เถาเอ็นอ่อน

๘๖

ปลาไหลเผือก

๘๘

ปอบิด

๙๐

พญามือเหล็ก

๙๒

พรวด

๙๔

ย่านาง

๙๖

โลดทะนง

๙๘

สังกรณี

๑๐๐

สาธร

๑๐๒

หญ้าดอกค�ำ

๑๐๔

สมุนไพร จากป่าชุมชนภาคใต้ ก�ำจัดต้น

๑๐๖

ดาหลา

๑๐๘

ปุดสิงห์

๑๑๐

พร้าวนกคุ่ม

๑๑๒

ไฟเดือนห้า

๑๑๔

มะปราง

๑๑๖

มะม่วงหิมพานต์

๑๑๘

ราชครูด�ำ

๑๒๐

เล็บกระรอก

๑๒๒

ว่านทรหด

๑๒๔

เหลือง

๑๒๖

บรรณานุกรม

๑๒๘

INDEX ดัชนี

๑๓๐

ค�ำขอบคุณ

๑๓๒

คณะผู้จัดท�ำ

๑๓๓

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

5


6

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


สมุนไพร ถ้าจะกล่าวถึงเรือ่ ง สมุนไพร ตัง้ แต่ในอดีตกาลนัน้ สมุนไพรอยูค่ คู่ นไทยมานานนับพันปี ซึ่งควบคู่กับการด�ำรงชีวิตของคนในชุมชนตั้งแต่แรกเกิด โดยในยุคโบราณที่สมัยการแพทย์ ยังไม่มีการพัฒนาได้ก�ำเนิดหมอพื้นบ้าน หรือเทียบได้เท่ากับแพทย์ในสมัยปัจจุบัน การใช้ สมุนไพรของหมอพื้นบ้านถือเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ลำ�้ ค่าเกิดจากปรัชญาของหมอพื้นบ้านที่ สามารถจ�ำแนกแยกแยะฤทธิ์และสรรพคุณของสมุนไพร จากธรรมชาติเพื่อใช้ในการเยียวยา รักษาความเจ็บป่วย และการรักษาโดยการแพทย์พื้นบ้านจึงเป็นระบบการรักษาโรคแบบ ประสบการณ์ของชุมชนที่ได้รับการสั่งสมถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ และสมุนไพรยังคงมี บทบาทในการดูแลสุขภาพของประชาชนคนไทยมาโดยตลอด คนไทยในสมัยอดีต จึงผูกพันกับ หมอพื้นบ้านและยาสมุนไพรในการดูแลรักษาสุขภาพของชุมชน ป่า เป็นแหล่งก�ำเนิดพืชสมุนไพรตามธรรมชาติ ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ ป่าชุมชนเป็นรูปแบบการบริหารจัดการป่า ด้วยกลยุทธ์การส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วม เป็นหลัก เพือ่ ให้ป่าเกิดความสมดุลและยัง่ ยืน โดยให้คนได้รบั ประโยชน์จากป่า อยู่ร่วมกับป่าได้ และขณะเดียวกันป่าก็ได้รับการปกป้องดูแลจากชุมชนที่อยู่รอบป่า หรือใช้ประโยชน์จากป่า โดยด�ำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนกระบวนการมีสว่ นร่วมของชุมชนในการอนุรกั ษ์ ฟืน้ ฟู บ�ำรุง ดูแลรักษา ใช้ประโยชน์จากป่าทัง้ ประโยชน์ทางตรง ได้แก่ ด้านการเป็นแหล่งปัจจัยสี่ คือ อาหาร ทีอ่ ยูอ่ าศัย เครือ่ งนุง่ ห่ม และยารักษาโรค และประโยชน์ทางอ้อมด้านการเป็นแหล่งต้นน�ำ้ ล�ำธาร การฟื้นฟูระบบนิเวศ การปรับปรุงสภาพแวดล้อม เป็นต้น โดยป่าชุมชนหลาย ๆ แห่ง มีความโดดเด่นด้านการเป็นแหล่งพืชสมุนไพรที่มีคุณค่า หรือหายาก หรือใกล้สูญพันธุ์ ดังนั้น จึงเป็นที่มาของการรวบรวมองค์ความรู้ภูมิปัญญา เรือ่ ง สมุนไพรจากป่าชุมชน โดยองค์ความรูเ้ หล่านีไ้ ด้จากค�ำบอกเล่าทีม่ กี ารใช้ประโยชน์กนั จริงๆ ในท้องถิ่น ด้วยความมุ่งหวังให้คนในชุมชน ตลอดจนเยาวชนรุ่นหลังได้ตระหนักในคุณค่าของ ภูมิปัญญาด้านสมุนไพร เกิดความรัก หวงแหน และเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุกรรม พืชสมุนไพร หรือเกิดแนวความคิดในการที่จะประยุกต์ หรือพัฒนาต่อยอดภูมิปัญญาการใช้ ประโยชน์พืชสมุนไพรจากป่าชุมชนใช้ให้มีความหลากหลายยิ่งขึ้น อันเป็นการส่งเสริมการเพิ่ม มูลค่าพืชสมุนไพรไทยให้ก้าวไกลสู่ระดับประเทศและระดับสากล ๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

7


กระทือ

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Zingiber zerumbet (L.) Roscoe ex Sm. subsp. ชื่อวงศ์ : ZINGIBERACEAE ชื่ออื่น : กะทือป่า กะแวน กะแอน แฮวด�ำ (ภาคเหนือ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้ล้มลุก ล�ำต้นเหนือดินกลม สูง 0.9 -1.5 เมตร มีเหง้าใต้ดิน ต้นโทรมในหน้าแล้ง แล้วงอกขึ้นใหม่ในหน้าฝน ใบเดี่ยว ออกเรียงสลับในระนาบเดียวกัน กว้าง 5 -7.5 เซนติเมตร ยาว 20 -30 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบมนสอบ ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบ ก้านใบเป็น กาบหุม้ ล�ำต้นดอก ออกเป็นช่อแทงออกจาก เหง้าขึ้นมาช่อดอกรูปทรงกระบอก มีใบ ประดับสีเขียวแกมแดง เรียงซ้อนกันแน่น เป็นระเบียบ ดอกสีเหลือง โคนเชื่อมติดกัน เป็นหลอด ดอกบานไม่พร้อมกัน ผล แบบ ผลแห้งแตก รูปทรงค่อนข้างกลม สีแดง เมล็ดสีด�ำ

8

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรือ่ งสมุนไพรจาก “ป่าชุมชน บ้านเขาน้อย จังหวัดพิษณุโลก” ลุงพิราม อินทะสอน ปราชญ์ชาวบ้านจาก

ป่าชุมชนบ้านเขาน้อย จังหวัดพิษณุโลก เล่าว่า กระทือ ในสมัยก่อนเวลาเข้าไปในป่าเพื่อเก็บ หาของป่านั้น จะเห็นกระทือขึ้นอยู่ตามป่า มากมายชาวบ้านจะใช้มดี หรือมือถอนเอาต้น อ่อนมาท�ำเป็นอาหาร เหง้าน�ำมาหั่นเป็นชิ้น เล็กๆ แกงใส่ปลาไหล ต้นอ่อนหน่อต้มใส่กะทิ ดอกและหน่อนึ่งกินกับน�้ำพริก เป็นสมุนไพร ทีส่ ามารถท�ำเป็นอาหารได้ทงั้ ต้นพร้อมทัง้ หัว มีสรรพคุณทางยา เป็นยาบ�ำรุงเลือดส�ำหรับ สตรี เหง้า ใช้ฝนกับหินแล้วน�ำมาผสมกับน�้ำ ปูนใส ใช้ทาบริเวณท้องให้เด็กเล็ก แก้อาการ ท้องอึด แก้ปวดท้อง

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

9


กุ่มน�้ำ

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Crateva religiosa G. Forst. ชื่อวงศ์ : CAPPARACEAE ชื่ออื่น : กุ่ม ผักกุ่ม (ภาคกลาง ชลบุร)ี ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 5 -15 เมตร ล�ำต้นสีเทา เปลือกค่อนข้างเรียบ ใบเป็นใบ ประกอบแบบนิว้ มือ แผ่นใบค่อนข้างหนาสีเขียวเป็นมัน ด้านล่างใบมีสอี อ่ นกว่าด้านบน มีใบย่อย 3 ใบ ก้านใบประกอบมีความยาวประมาณ 4 - 14 เซนติเมตร หูใบเล็ก ร่วงได้ง่าย ลักษณะ ของใบย่อยเป็นรูปใบหอกหรือขอบขนาน มีความกว้างประมาณ 1.5 -6.5 เซนติเมตร และยาว ประมาณ 4.5 -18 เซนติเมตร ปลายค่อย ๆ เรียวแหลม มีความยาวประมาณ 2.5 เซนติเมตร โคนสอบ ใบย่อยที่อยู่ด้านข้างโคนใบจะเบี้ยวเล็กน้อย ดอกสีขาวอมเหลือง เป็นช่อ ออกบริเวณ ปลายกิ่งหรือซอกใบ ผลรูปใข่ สีเทา

10

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านใหม่ป่าคา จังหวัดตาก”

ลุงประจักษ์ เพ็ชรเมฆ ปราชญ์ชาวบ้านจากป่าชุมชนบ้านใหม่ป่าคา จังหวัดตาก เล่าว่ากุ่มน�ำ้ สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ได้หลายด้าน ด้านใช้เป็นอาหาร กุ่มน�ำ้ จะออกใบอ่อนประมาณเดือนมีนาคม ใบอ่อนมีรสขมไม่นยิ มทานดิบ นิยมน�ำ้ มาดอง โดยน�ำยอดอ่อนมาล้างน�ำ้ ให้สะอาดแล้วผึง่ แดดให้พอแห้งหมาดๆ แล้วน�ำไปดอง เกลือในภาชนะเติมน�้ำเกลือให้ท่วม อาจใส่นำ�้ ซาวข้าวหรือข้าวสุกลงไปด้วย ถ้าไม่ท่วมใบที่ดอง จะมีสีคล�้ำไม่น่าทาน แล้ ว ปิ ด ฝาให้ มิ ด ชิ ด เก็ บ ไว้ ป ระมาณ 3 วัน จึงน�ำมาท�ำเป็นอาหาร ได้หลายอย่าง เช่น แกง ย�ำผักกุ่มดอง ทานคู่กับลาบ ด้านสมุนไพร เปลือกและแก่น ใช้ขับ ปัสสาวะ แก้โรคนิว่ ขับลม แก้ปวดท้อง ใบ ใช้ใบสดทาแก้โรคผิวหนัง กลาก เกลื้อน

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

11


ข้าวเม่านก

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tadehagi triquetrum (L.) H. Ohashi ชื่อวงศ์ : FABACEAE ชื่ออื่น : ขี้กะตืด, ขี้กะตืดแป (เลย), มะแฮะนก (เชียงใหม่), คอกิ่ว (ภาคกลาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้พุ่มขนาดเล็กสูงประมาณ 15 - 50 เซนติเมตร กิ่งก้านมีลักษณะ เป็นสันสามเหลีย่ ม แตกกิง่ ก้านสาขามาก ยอดและกิง่ อ่อนเป็นสีแดงมัน มีหใู บ สีเทาทัง้ สองข้าง เมือ่ แก่เป็นสีชา ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อยใบเดียว ออกเรียง สลับ ลักษณะของใบย่อยเป็นรูปไข่หรือรูปใบหอก ใบมีขนาดกว้างประมาณ 2 - 4 เซนติเมตร และยาวประมาณ 8 - 10 เซนติเมตร แผ่นใบด้านบนเรียบ ส่วนด้านล่างมีขน ก้านใบแผ่เป็นปีก ดอกออกดอกเป็นช่อกระจะ รูปทรง กระบอกโดยจะออกตามซอกใบและที่ปลายกิ่ง กลีบดอกเป็นสีม่วง ลักษณะ เป็นรูปดอกถัว่ ผลมีลกั ษณะเป็นฝักแบนยาว ลักษณะของฝักเป็นรูปขอบขนาน คอดเป็นข้อๆ ประมาณ 6 - 8 ข้อ มีขนรูปตะขอขึน้ ปกคลุมประปราย ผลอ่อนเป็นสีเขียว เมือ่ สุกจะ เปลีย่ นเป็นสีแดง ส่วนผลแห้งเป็นสีน�้ำตาล ผลแก่จะหลุดออกเป็นข้อๆ ข้อละ 1 เมล็ด ส่วนหัว มีกลีบเลี้ยงติดอยู่ ส่วนท้ายมีรยางค์ 1 เส้น ลักษณะโค้งงอ ขอบผลเว้าตื้นหนึ่งหรือสองด้าน

12

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชน บ้านวังหงส์ จังหวัดแพร่”

ลุ ง ตุ ้ ย แก้ ว วิ เ ศษ ปราชญ์ ช าวบ้ า นจาก ป่าชุมชนบ้านวังหงส์ จังหวัดแพร่ เล่าว่าการ ท�ำปลาร้าของชาวบ้านสมัยแต่ก่อน ไม่ได้ใส่ สารกันบูด ไม่ได้ใส่สารไล่แมลงวัน ชาวบ้านก็ได้ ใช้ใบข้าวเม่านก หรือที่ชาวบ้านในชุมชนเรียกว่า “หญ้าหนอนตาย” น�ำมาใส่ในหม้อปลาร้าก็จะ ท� ำ ให้ ป ลาร้ า ไม่ มี แ มลงวั น มาวางไข่ ใบสด สามารถน� ำ มาเป็ น ผั ก จิ้ ม น�้ ำ พริ ก ได้ ทุ ก อย่ า ง เป็นผักกับลาบ ใบน�ำมาต้ม ช่วยขับพยาธิได้ดมี าก และช่วยรักษาโรคพยาธิใบไม้ในตับ สมานแผล ในกระเพาะอาหารแก้ทอ้ งอืด ขับลมในกระเพาะ อาหาร ส่วนมากนิยมใช้วธิ กี ารน�ำมาต้ม โดยเอา ใบหรือต้น 7-15 ใบ ต้มให้นำ�้ เปลีย่ นเป็นสีนำ�้ ตาล สามารถต้มได้ 3 – 4 ครัง้ ดืม่ ได้ทกุ เวลา สามารถ ดื่มแทนน�้ำชาได้เป็นอย่างดี

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

13


ข้าวเย็นเหนือ

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Smilax corbularia Kunth ชื่อวงศ์ : SMILACACEAE ชื่ออื่น : ข้าวเย็นวอก หัวข้าวเย็นเหนือ (ภาคเหนือ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้เถา มีหนามแหลมโดยรอบกระจายอยู่ห่างๆ ที่ โคนใบ ยอดอ่อนมีมือเป็นเส้น 2 เส้น ไว้ส�ำหรับจับยึด มีหัวเป็นเหง้าอยู่ใต้ดินและมีรากแตกอยู่ใต้ดินมาก หัวมีลักษณะกลมยาวเป็น ท่อนๆ ท่อนละประมาณ 5-15 เซนติเมตร มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 -5 เซนติเมตร เนือ้ ในเหง้าเป็นสีเหลืองอ่อนเมือ่ แก่เต็มทีจ่ ะเป็นสีแดงน�ำ้ ตาลอ่อน ใบเป็นใบเดีย่ ว ออกเรียงสลับ ใบเรียว รูปรีแกมรูปใบหอก หรือรูปกลมรี ปลายใบแหลม โคนใบมน ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีขนาด กว้างประมาณ 2.5-7เซนติเมตร และยาวประมาณ 5-18 เซนติเมตร หน้าใบเป็นสีเขียว ส่วนหลังใบมีขนสีขาวปกคลุมออกดอกตามซอกใบที่โคนต้นหรือกลางต้น ลักษณะของช่อดอก เป็นแบบช่อซีร่ ม่ ประมาณ 1 -3 ช่อดอก ดอกมีขนาดเล็ก ดอกเป็นแบบแยกเพศอยู่ กันคนละต้น ดอกเป็นสีเขียวปนขาว กลีบรวม 6 กลีบ ลักษณะเป็นรูปรีหรือรูปรีแกมรูปขอบขนาน ผลทรงกลม แบบผลมีเนื้อ มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 5 -6 มิลลิเมตร มี 1 หรือ 2 เมล็ด

14

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านบุญแจ่ม จังหวัดแพร่”

ลุงสาธร ขุนแอ้ม ปราชญ์ ชาวบ้านจากป่าชุมชนบ้านบุญแจ่ม จังหวัดแพร่ เล่าว่า ชาวชุมชน บ้ า นบุ ญ แจ่ ม นิย มใช้ หั ว ใต้ ดิน ของข้ า วเย็ น เหนื อ แก้ ป ระดง แก้มะเร็งคุดทะราด แก้ร้อนใน กระหายน�้ำ แก้น�้ำเหลืองเสียฆ่า เชื้ อ หนอง แก้ เ ส้ น เอ็ น พิ ก าร แก้ ก ามโรค เข้ า ข้ อ ออกดอก เข้ า ข้ อ ฝี แ ผลเน่ า เปื ่ อ ยพุ พ อง ท�ำให้แผลฝียบุ แห้ง แก้เม็ดผืน่ คัน ดับพิษในกระดูก แก้ปัสสาวะพิการ แก้อักเสบ ในร่างกาย นิยมใช้คู่กันทั้งข้าวเย็นเหนือและ ข้าวเย็น ใต้เรียกว่า ข้าวเย็นทั้งสอง ใช้เหง้าเป็นยาบ�ำรุงใช้หัวต้มน�้ำ กินเพื่อลดปวด ส�ำหรับ หญิงอยู่ไฟหลังคลอดบุตร โดยน�ำหัวใต้ดินมาต้มน้าดื่ม แก้มะเร็ง โดยบดยาหัวให้ละเอียด ผสมกับส้มโมง ต้มจนแห้ง แล้วผสมกับน�ำ้ ผึ้ง กินวันละ 1 เม็ด หัวต้มน�้ำดื่ม เป็นยาบ�ำรุงเลือด

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

15


ขี้เหล็ก

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Senna siamea (Lam.) H. S. Irwin & Barneby ชื่อวงศ์ : FABACEAE ชื่ออื่น : ขี้เหล็กบ้าน (ล�ำปาง สุราษฎร์ธานี) ขี้หล็กหลวง (ภาคเหนือ) ขี้เหล็กแก่น (ราชบุร)ี ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง สูงประมาณ 8 -15 เมตร ล�ำต้นมักคดงอ เปลือกมีสเี ทาถึงน�ำ้ ตาล ด�ำแตกเป็นร่องตื้นๆ ตามยาว แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มแคบ ใบเป็นใบประกอบแบบขนนกปลายใบคู่ เรียงสลับ ใบมีสีเขียวเข้ม มีใบย่อยรูปรี 5 -12 คู่ กว้างประมาณ 1.5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 4 เซนติเมตร เรียงตรงข้าม ใบย่อยปลายใบเว้าตื้น โคนใบมน ขอบใบและแผ่นใบเรียบ ปลายมี ติ่งหนาม ดอกจะออกเป็นช่อกระจะแยกแขนงที่ปลายกิ่ง ยาว 20 -100 เซนติเมตร ดอกมี สีเหลือง กลีบเลีย้ งกลมมี 3 – 4 กลีบ ปลายมน กลีบดอกมี 5 กลีบ ปลายโคนเรียว หลุดร่วงง่าย ก้านดอกจะยาว 1 – 1.5 เซนติเมตร และมีเกสรตัวผู้ หลายอัน ผลมีลักษณะเป็นฝักแบนๆ กว้างประมาณ 1.5 เซนติเมตร และยาว ประมาณ 30 เซนติเมตร มีสีน�้ำตาล ฝักโค้งเล็กน้อย แต่ละฝัก มีเมล็ด 20 – 30 เมล็ดเรียงตัวตามขวาง

16

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านแม่ฮู้ จังหวัดสุโขทัย”

ลุงปิน้ แสนแก้ว ปราชญ์ชาวบ้านจาก ป่าชุมชนบ้านแม่ฮู้ จังหวัดสุโขทัย เล่าให้ ฟังว่าขีเ้ หล็ก มีสรรพคุณทางยา ในหลายๆ ด้าน และเป็นพืชทีห่ าได้งา่ ยตามท้องถิน่ ไม่ ต้องซือ้ หาให้เสียเงินเสียทองส่วนต่างๆของ ต้นขีเ้ หล็กมีสรรพคุณในทางยาแตกต่างกัน เช่น ใบอ่อนและดอกอ่อน รับประทานได้ หรือ จะน� ำ ไปแกง หรือ ลวกจิ้มกิน กั บ น�้ำ พริกก็ได้รสขมของขี้เหล็กมีสรรพคุณช่วย ท�ำให้เจริญอาหาร แก้อาการท้องผูก รากแก้ไข้ บ�ำรุงธาตุ แก้โรคเหน็บชา ล�ำต้นและใบเป็นยา ระบาย แก้นิ่ว ขับปัสสาวะ แก้เบาหวาน ลดความดัน ช่วยให้นอนหลับ บ�ำรุงน�้ำดี รักษาความ ดันโลหิตสูง ช่วยในการขับระดูขาวในสตรี เปลือกและฝักแก้เส้นเอ็นพิการ นอกจากสรรพคุณ ทางยาดังกล่าวแล้วใบของขีเ้ หล็กยังสามารถน�ำมาท�ำเป็นน�ำ้ หมักเพือ่ ก�ำจัดแมลงในนาข้าวและ แปลงพืชผักได้อกี ด้วย โดยไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม และประหยัดเงินไปได้อกี ทางหนึ่ง

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

17


ซ้อ

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gmelina arborea Roxb. ชื่อวงศ์ : LAMIACEAE ชื่ออื่น : สันปลาช่อน (สุโขทัย) ม้าเหล็ก (กาญจนบุร)ี ช้องแมว (ชุมพร) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้ยืนต้นผลัดใบ ขนาดกลาง สูง 15 -20 เมตร ใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามสลับตัง้ ฉาก ใบเป็นรูปไข่หรือรูปหัวใจ ปลายใบแหลมหรือแหลมยาว โคนใบเป็นรูปลิ่มกว้าง แผ่ออกคล้าย รูปหัวใจ ขอบใบเรียบ ใบกว้าง 10 -15 เซนติเมตร และยาว 20 -25 เซนติเมตร แผ่นใบด้านบน เกลี้ยง ส่วนท้องใบด้านล่างสีนวลและมีขนสั้นนุ่ม ออกดอกเป็นช่อกระจุกแยกแขนงสั้นๆ ออกตามปลายกิ่ง มี 1 หรือหลายช่อ ยาว 7 -15 เซนติเมตร ช่อดอกมีดอกย่อยจ�ำนวนมาก ดอกมีใบประดับหลุดร่วงได้งา่ ย กลีบเลีย้ งมี 5 กลีบ เป็นรูประฆัง ด้านนอกกลีบเลีย้ งมีขนติดทน ส่วนกลีบดอกสมมาตรด้านข้าง ลักษณะเป็นรูปปากแตรโป่งด้านเดียว ปลายแยกเป็นกลีบ 5 กลีบ มีขนาดไม่เท่ากัน ด้านนอกเป็นสีน�้ำตาลแดง ส่วนด้านในหลอดกลีบเป็นสีครีมอ่อนๆ ออกดอกในช่วงเดือนธันวาคม ถึง เดือนเมษายน ผลเป็นผลสด เป็นรูปวงรีหรือรูปไข่ยาว 1.5 -5 เซนติเมตร ผิวผลเกลี้ยงเป็นมัน มีกลิ่น ผลอ่อนเป็นสีเขียวเมื่อสุขแล้วจะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง มีเมล็ด 1 -2 เมล็ด เป็นรูปรี โดยจะติดผลในช่วงเดือนมีนาคม ถึง เดือนพฤษภาคม

18

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านเด่นพัฒนา จังหวัดน่าน”

ลุงพรหมปั๋น หน่อท้าว ปราชญ์ชาวบ้านจากป่าชุมชนบ้านเด่นพัฒนา จังหวัดน่าน เล่าว่าต้นซ้อ มีสรรพคุณทางสมุนไพรหลายอย่าง เช่น น�ำดอกซ้อทีต่ ากแห้งแล้ว ประมาณ 50 ดอก มาล้างน�ำ ้ แล้วจึงเติมน�ำ ้ 3 ลิตร โดยใช้เวลาต้ม ประมาณ 10 -15 นาที ต้มได้ 2 ครัง้ หรือจนกว่า สีนำ�้ จะจางลง หลังจากต้มน�ำ้ เสร็จแล้วน�ำมากรองเอาน�ำ้ ดอกซ้อมารับประทานเป็นยาสมุนไพร แก้ไข้และบรรเทาอาการเจ็บคอ ใบน�ำมาคั้นเอาแต่น�้ำใช้ทารักษาแผลได้ เปลือกต้นซ้อ จะใช้ เปลือกต้นซ้อน�ำมาต้มกับน�ำ ้ ใช้อาบช่วยแก้โรคผิวหนัง ผื่นคันและหูด ผลสุกน�ำมาคั้นเอาน�้ำน�ำ ไปผสมกับข้าวเหนียวนึ่งสุก ห่อด้วยใบตองปิ้งหรือย่างไฟเตาถ่านจะได้ข้าวเหนียวปิ้งสีออกแดง หรือส้ม มีกลิน่ หอมรับประทานเป็นขนมได้ ล�ำต้นซ้อ ทีส่ มบูรณ์นำ� มาแกะสลักเป็นพระพุทธรูปไม้

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

19


ตะแบกเลือด

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia mucronata Craib & Hutch. ชื่อวงศ์ : COMBRETACEAE ชื่ออื่น : เปื๋อยสะแอน เปื๋อยปั๋ง (ภาคเหนือ) มะเกลือเลือด (ภาคกลาง) มะกาเถื่อน (เงี้ยว ภาคเหนือ)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

20

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

ไม้ต้นผลัดใบขนาดกลาง สูงได้ถึง 20 เมตร โคนต้น มีพูพอนตืน้ ๆ เปลือกสีน�้ำตาลด�ำ เรียบหรือแตกเป็นแผ่น ล่อน เปลือกเป็นแอ่ง เปลือกในสีน�้ำตาลแดง มีขนสั้นนุ่ม สีนำ�้ ตาลแดงหรือเทาตามกิง่ อ่อน ใบอ่อนแผ่นใบด้านล่าง ช่อดอกและผล ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามหรือเกือบตรงข้าม รูปขอบขนาน รูปรี รูปไข่กลับ หรือรูปไข่ ยาว 8 -25 เซนติเมตร ปลายใบมน เว้าบุ๋ม ติ่งมนหรือแหลม โคนใบ สอบมน หรื อ เว้ า คล้ า ยรู ป หั ว ใจ ก้ า นใบยาว 1-3 เซนติเมตร มีตอ่ มนูนกลมหนึง่ คูท่ ดี่ า้ นข้างของก้านใบครึง่ บนถึงใกล้โคนใบ ขนาด 1 -3 มิลลิเมตร ช่อดอกแบบช่อ


เชิ ง ลด ออกที่ ซ อกใบใกล้ ป ลายกิ่ ง ยาว 9 -15 เซนติ เ มตร ดอกสี ค รี ม มี ก ลิ่ น หอมอ่ อ นๆ ใบประดับรูปเส้นด้ายยาว 1 -2 มิลลิเมตร ร่วงง่าย กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 แฉก หยักมนตื้น ๆ ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศ ผู้ 10 อัน จานฐานดอกมีขน หนาแน่น ผลผนังชั้นในแข็งมี 2 ปีก รูปค่อนข้างกลม กว้าง 2 -5 เซนติเมตร ยาว 2.5-4 เซนติเมตร รวมปีก ตัวผลกว้าง 5 -8 มิลลิเมตร ยาว 1.5-3 เซนติเมตร มีสันคมทางด้านบน และด้านล่าง ปีกเหนียว

บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านดงห้วยเย็น จังหวัดล�ำพูน”

พ่อหนานตา น้อยอนันต์ ปราชญ์ชาวบ้านจากป่าชุมชนบ้าน ดงห้วยเย็น จังหวัดล�ำพูน ได้บอกเล่าว่า ไม้ของต้นตะแบกเลือด เนือ้ ไม้มคี วามแข็งแรงมาก นิยมน�ำมาสร้างส่วนต่าง ๆ ของอาคาร บ้านเรือน ไม้และเปลือกใช้ปรุงเป็นยาแก้บิดมูกเลือด ใช้เปลือก แช่น�้ำบ้วนปาก แก้ปวดฟัน ปวดเหงือก ยางของต้นตะแบกเลือด มีลักษณะเป็นยางสีแดงข้นคล้ายกับเลือด มีสรรพคุณในการ รั ก ษาแผลที่ มี ก ารอั ก เสบ แผลติ ด เชื้ อ และแผลที่ ห ายยาก จะท�ำให้แผลแห้งแล้วค่อย ๆ ตกสะเก็ด ลดการติดเชือ้ ท�ำให้แผล หายเร็วขึ้นกว่าการใช้ยาแผนปัจจุบัน จากประสบการณ์ของ พ่อหนานตา เล่าว่าหลานสาวของพ่อหนานตาท�ำงานอยู่ท่ี กทม. เป็นแผลแล้ ว หายยากมาก ไปหาหมอแผนปั จ จุ บั น กี่ แ ห่ ง ก็ ไม่หาย พอหลานสาวกลับมาบ้านพ่อหนานตาเห็นแผลของหลาน จึงได้เข้าป่าไปหาต้นตะแบกเลือด เพื่อที่จะน�ำยางที่ได้มาทา บริเวณแผลของหลานสาว หลังจากใช้ยางของต้นตะแบกเลือด ทาบริเวณแผล อีก 1 เดือนต่อมา แผลของหลานสาวก็เริ่มแห้ง และหาย ในทีส่ ดุ วิธกี ารเอาน�ำ้ ยาง โดยใช้มดี สับตรงเปลือกแล้ว งัดมีดออก น�ำ้ ยางจะไหลมาตามรอยสับ (ต้องใช้มดี สับเอาน�ำ้ ยาง จากต้นตะแบกเลือดหลาย ๆ ต้น เพราะยางของต้นตะแบกเลือด ทีไ่ หลออกมาจากแต่ละต้นมีจ�ำนวนน้อยมาก) แล้วเอาน�้ำยาง ใส่ในขวดแก้ว (ถ้าน�้ำยางแห้งให้น�ำน�้ำต้มสุกที่ทิ้งไว้จนเย็นแล้ว ผสมเล็กน้อย)

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

21


ผักหนาม

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Lasia spinosa (L.) Thwaites ชื่อวงศ์ : ARACEAE ชื่ออื่น : กะลี (มาเลเซีย -นราธิวาส) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

พืชล้มลุกอายุหลายปี มีเหง้าใต้ดิน ใบ เป็นใบเดี่ยว รูปโล่หรือหัวลูกศรกว้างยาวได้ถงึ 30 เซนติเมตร ขอบใบเว้าลึกเป็นแฉกเข้าหาเส้นกลางใบ ท้องใบและเส้นกลางใบมีหนามปกคลุม ก้านใบยาวได้ถงึ 120 เซนติเมตร มีหนาม ดอก เป็นช่อเดีย่ ว ยาวใกล้เคียงกับใบ ดอกย่อยสีเหลืองอ่อนอัดกันแน่นเป็น แท่ง เป็นดอกสมบูรณ์เพศ มีกลีบรวม 4 -6 กลีบ เกสรเพศผู้ 4 -6 อั น แผ่ น รองช่ อ ดอกสี น�้ ำ ตาล รู ป หอกแคบ ตั้งขึ้นหรือโค้งบิดเป็นเกลียว ผล เป็นผลเดี่ยว อ่อนนุ่ม ขนาดเล็ ก ขนาดเส้ น ผ่ า นศู น ย์ ก ลาง 1 เซนติ เ มตร เมล็ ด มี ลักษณะกลม

22

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านทาชมพู จังหวัดล�ำพูน”

พ่ออุย้ ทา กันแดง ปราชญ์ชาวบ้านจากป่าชุมชนบ้านทาชมพู จังหวัดล�ำพูน วัย 95 ปี เล่าให้ฟังว่าตนเป็นบุตรชายของพ่อหลวงมูล แม่หลวงปา กันแดง พ่อและแม่อาศัยอยู่ที่บ้าน ทาชมภูมาก่อนทีต่ นจะเกิด (ก่อนปี พ.ศ. 2493) ซึง่ ในสมัยนัน้ การคมนาคมไม่สะดวก เทคโนโลยี ไม่เจริญ หากต้องการที่จะติดต่อหรือท�ำการค้าขายกับคนต่างบ้านต่างเมืองต้องใช้วิธีการเดิน เท้าหรือใช้เกวียนเป็นพาหนะในการขนส่งสินค้า ได้แก่ ไม้ ข้าวโพด กล้วย ยาสูบ ต้องใช้เวลา เดินทางหลายวันหลายคืนและมักจะนอนในป่า บางครั้งเป็นแรมเดือนจึงจะถึง และในการใช้ เกวียนต้องใช้โคในการเทียมเกวียน (โคทีใ่ ช้เทียมเกวียนภาคเหนือเรียก “งัวล้อ”) โคนอกจากจะ ใช้เทียมเกวียนแล้ว ยังใช้โคในการท�ำงานเกษตรกรรรมซึ่งต้องท�ำงานหนัก (โคที่ใช้ท�ำงานหนัก ภาคเหนือเรียกว่า “งัวก๋าน” ) ฉะนั้นในวิถีชีวิตสมัยก่อนสัตว์ท่มี ีความส�ำคัญต่อการด�ำเนินชีวิต ประจ�ำวันของชาวบ้านทาชมภูก็คือ “งัวล้อและงัวก๋าน” (ทั้งงัวล้อและงัวก๋านจะใช้วัวเพศผู้) ปี พ.ศ. 2463 เป็นปีทพี่ อ่ อุย้ ทาเกิด ในขณะนัน้ ครอบครัวของพ่ออุย้ ทามีงวั ประมาณ 20 -30 ตัว เมื่อพ่ออุ้ยอายุได้ 15 ปี ได้รับงัวเป็นมรดกจากพ่อ จ�ำนวน 4 -5 ตัว เมื่อโตขึ้นจึงหารายได้เลี้ยง ครอบครัวโดยการเข้าป่าซ้อมไม้ (การท�ำไม้เป็นต้นให้มลี กั ษณะคล้ายเสา) ขายแล้วใช้งวั ลากไม้ (ขนไม้) ออกจากป่าไปขาย ซึ่งเป็นงานหนักมาก หลังจากที่งัวล้อและงัวก๋านต้องท�ำงานหนักใน ช่วงเย็นของแต่ละวันพ่ออุ้ยจะขุดเหง้าผักหนามแก่ที่มักขึ้นอยู่มากในบริเวณที่เป็นล�ำห้วยน�ำมา ต้มให้สุกแล้วโรยเกลือเอาทัง้ น�ำ้ และเนือ้ ให้งัวกิน หรือจะน�ำมาเผาแล้วโรยเกลือให้งวั กินก็ได้ พ่ออุย้ บอกว่าเมื่องัวได้กินหัวผักหนามแล้วจะท�ำให้งัว กินอาหารได้มากขึ้น รู้สึกมีก�ำลัง แก้อ่อนเพลีย พร้อมที่จะท�ำงานหนักในวันรุ่งขึ้นได้ ราวปี พ.ศ. 2493 พ่ อ อุ ้ ย อายุ ไ ด้ 30 ปี ก็ แ ต่ ง งานและ หลังจากนัน้ ก็เลิกเลีย้ งงัวในทีส่ ดุ ส่วนวิถชี วี ติ ของ ชาวบ้านทาชมภูที่อาศัยงัวล้อและงัวก๋านต้องจบ สิ้นลงราวปี พ.ศ. 2514 เมื่อความเจริญเข้ามา การคมนาคมสะดวกขึ้น เทคโนโลยีเจริญมากขึน้ ไม่ต้องใช้เกวียนขนส่งสินค้า ไม่ต้องใช้งัวท�ำงาน อีกต่อไป

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

23


มะเกลือ

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Diospyros mollis Griff. ชื่อวงศ์ : EBENACEAE ชื่ออื่น : ผีเผา (เงี้ยว-ภาคเหนือ) มะเกีย มะเกือ (ภาคเหนือ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

มะเกลือเป็นพันธุ์ไม้วงศ์เดียวกับมะพลับและตะโก เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางจนถึง ขนาดใหญ่ สูงได้ถึง 20 เมตร เปลือกต้นสีด�ำแตกเป็นสะเก็ดเล็กๆ กิ่งอ่อนมีขนนุ่มประปราย ใบเดี่ยว รูปไข่หรือรูปรีปลายแหลม ยาวเพียง 4 -5เซนติเมตร ปลายใบสอบแคบเข้าหากัน ส่วนโคนใบกลมมน เนือ้ ใบบางเกลีย้ ง ท้องใบเห็นเส้นใบชัด ออกดอกเป็นช่อตามง่ามใบ ดอกสีเหลือง มี 4 กลีบขนาดเล็ก มีกลิน่ หอมมาก ดอกเพศผู้และเพศเมียอยู่ต่างต้นกัน โคนกลีบดอกเชือ่ มติ ด กั น เป็ น รู ป ถ้ ว ย ผลเป็ น ผลสดทรงกลม ผิ ว เกลี้ ย ง ขนาดเส้ น ผ่ า นศู น ย์ ก ลางประมาณ 2 เซนติเมตร ผลอ่อนมีเปลือกสีเขียว เมื่อสุกจะเปลี่ยนเป็นสีด�ำ ขึ้นตามป่าเบญจพรรณทั่วไป พบมากในภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันตกเฉียงใต้ ออกดอกระหว่างเดือนมกราคม ถึงกันยายน และติดผลระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงธันวาคม

24

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านต้น ต้อง จังหวัดล�ำปาง”

ลุงลื่น ลวงค�ำ ปราชญ์ชาวบ้านจากป่าชุมชนบ้าน ต้นต้อง จังหวัดล�ำปาง เล่าว่ามะเกลือมีสรรพคุณทาง สมุนไพรมากมายและใช้กันอย่างต่อเนื่องจากบรรพบุรุษ จนถึงปัจจุบัน เชื่อกันว่าผลมะเกลือดิบมีสรรพคุณเป็น ยาขับพยาธิที่คนไทยรู้จักและใช้กันมานาน ผลมะเกลือ มีรสเมาเบื่อ ขับพยาธิในล�ำไส้ ถ่ายตานซาง ถ่ายกระษัย โดยมากใช้กับเด็ก วิธีการคือ เอาลูกสดใหม่ไม่ช�้ำ ต�ำคั้น เอาน�ำ้ ผสมกับน�ำ้ กะทิมะพร้าวดืม่ ทันที ห้ามเก็บไว้ จะเกิดพิษ ขับพยาธิไส้เดือน พยาธิปากขอ พยาธิตัวตืด พยาธิเส้นด้าย จ�ำนวนลูกเอาเท่าอายุ แต่ไม่เกิน 25 ลูก เอาดีเกลือฝรั่ง 10 กรัม ละลายน�ำ้ สุก 1 แก้ว ดื่มตามหลัง 30 นาทีอย่าปล่อยให้เป็นสีด�ำ เพราะอาจเป็นพิษ ปัจจุบนั มีการสกัดสารทีม่ ฤี ทธิข์ บั พยาธิจากผลมะเกลือแล้วผลิตเป็นยาเม็ด ส�ำเร็จรูปใช้รับประทาน เมล็ดรสเมามัน ขับพยาธิในท้อง เปลือกต้นรสฝาดเมา เป็นยากันบูด แก้กระษัย ขับพยาธิ แก้พิษ ตานซาง ทั้งต้นรสฝาดเมา ขับพยาธิ แก้ตานซาง แก้กระษัย แก่นรสฝาดเค็มขมเมา ขับพยาธิ แก้ตานซาง รากรสเมาเบื่อ ฝนกับน�้ำข้าวกิน แก้อาเจียน แก้เป็นลม หน้ามืด แก้กระษัย แก้รดิ สีดวงทวาร แก้พษิ ตานซาง ขับพยาธิ นอกจากเป็นสมุนไพร ได้แล้วผลมะเกลือยังสามารถน�ำมาย้อมผ้าได้อกี ด้วย

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

25


มะขาม

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tamarindus indica L. ชื่อวงศ์ : FABACEAE ชื่ออื่น : ม่องโคล้ง (กะเหรี่ยง กาญจนบุร)ี มอดเล (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้ตน้ ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่แตกกิง่ ก้านสาขามาก เปลือกต้นขรุขระและหนา สีนำ�้ ตาล อ่อน ใบเป็นใบประกอบ ใบเล็กออกตามกิง่ ก้าน ใบเป็นคู่ ใบย่อยเป็นรูปขอบขนาน ปลายใบและ โคนใบมน ดอก ออกเป็นช่อเล็กๆ ตามปลายกิง่ หนึง่ ช่อมี 10 -15 ดอก ดอกย่อยขนาดเล็ก กลีบ ดอกสี เ หลื อ งและมี จุ ด ประสี แ ดงอยู ่ ก ลางดอก ผล เป็ น ฝั ก ยาว รู ป ร่ า งยาวหรื อ โค้ ง ยาว 3 - 20 เซนติเมตร ฝักอ่อนมีเปลือกสีเขียวอมเทา สีน�้ำตาลเกรียม เนื้อในติดกับเปลือก เมื่อแก่ฝัก เปลีย่ นเป็นเปลือกแข็งกรอบหักง่าย สีนำ�้ ตาล เนือ้ ใน กลายเป็นสีนำ�้ ตาลหุม้ เมล็ด เนือ้ มีรสเปรีย้ ว และหวาน

26

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านเขาสัก จังหวัดเพชรบูรณ์”

คุณยายแฉล้ม สุมานะ อายุ 68 ปี ปราชญ์ชาวบ้านจากป่าชุมชนบ้านเขาสัก จังหวัด เพชรบูรณ์ ซึ่งได้รับการถ่ายทอดความรู้เรื่องสมุนไพรมาจากปู่ย่าตายาย เล่าว่า ต้นมะขามมี ประโยชน์มาก ใช้เป็นยาสมุนไพรได้ทุกส่วน เช่น รากแก้ท้องร่วง, เปลือกแก้ไข้ตัวร้อน, แก่น รักษามดลูก เป็นยาชักมดลูกให้เข้าอู่, ใบสด รักษาหวัดโดยผสมกับสมุนไพรอื่นๆ น�ำไปต้มน�้ำ อาบหลังคลอดและเป็นส่วนประกอบท�ำลูกประคบได้ โดยเฉพาะผู้หญิงหลังคลอดลูกใหม่ๆ คุณยายแฉล้ม สุมานะ จะท�ำยาสมุนไพรจากมะขามเปียก เป็นยาระบาย และขับน�้ำคาวปลา หลังคลอดให้กิน โดยมีส่วนผสม คือ มะขามเปียก 1 ก�ำมือ เกลือ 1 ช้อนโต๊ะ น�้ำอุ่น 3 ใน 4 ส่วนของแก้วน�้ำ วิธีท�ำ น�ำมะขามเปียก 1 ก�ำมือ เกลือ 1 ซ้อนโต๊ะและน�ำน�้ำอุ่น 3 ใน 4 ส่วน ของแก้วน�้ำ น�ำส่วนผสมทั้ง 3 อย่าง มาเทรวมกั น ในถ้ ว ยแล้ ว ใช้ มื อ ขย� ำ มะขามเปียก เกลือ และน�้ำให้เข้ากัน พอให้น�้ำมะขามข้นเหนียวคั้นเอาแต่ น�ำ้ มะขามเปียก ส่วนทีเ่ ป็นกากมะขามเอาออก (กากมะขามน�ำไปขัดผิวได้) ส่วนน�ำ้ มะขามเปียก ทีค่ นั้ ได้นำ� มาเทใส่แก้ว แล้วน�ำไปให้ผ้หู ญิงหลังคลอดลูกใหม่ๆ ดืม่ เพือ่ เป็นยาระบาย และขับน�ำ้ คาวปลาหลังคลอด (รับประทานครัง้ เดี่ยวหลังคลอด)

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

27


มะเขือแจ้เครือ

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Securidaca inappendiculata Hassk. ชื่อวงศ์ : POLYGALACEAE ชื่ออื่น : จองละอาง (เชียงใหม่) จุงอาง (ตราด) ชองระอา (ภาคกลาง) สะกุ้น (สงขลา) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้เถาเลื้อย ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปรี แกมรูปไข่ ขนาดกว้าง 5 -8 เซนติเมตร ยาว 10 -12 เซนติเมตร โคนสอบ ปลายแหลม ขอบใบเป็นคลื่นเล็กน้อย เนื้อใบคล้ายแผ่นหนัง ผิวเกลี้ยงดอกสีชมพูแกมแดง ออกเป็นช่อ ดอกย่อยขนาด 1 เซนติเมตร กลีบรองดอกมี 5 กลีบ สามกลีบนอกขนาด เล็ก สองกลีบในมีสสี ดคล้ายกลีบดอก ลักษณะแผ่เป็นกลีบ รูปไข่ กลีบดอกมี 3 กลีบ สองกลีบบนรูปขอบขนานโค้ง กลีบล่างรูปเรือ ปลายแผ่ เกสรเพศผู้มี 8 อัน เชื่อมกันเป็น มัด ผล มีเมล็ดเดียว มีปีก ขนาดกว้าง 1.5 เซนติเมตร ยาว 6 เซนติเมตร

28

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชน บ้านตลาดขี้เหล็ก จังหวัดเชียงใหม่”

พ่ออุย้ แก้ว เทศน�ำ ปราชญ์ชาวบ้านจาก ป่าชุมชนบ้านตลาดขี้เหล็ก จังหวัดเชียงใหม่ พ่อเฒ่าวัย 70 ปี เป็นชาวบ้านตลาดขี้เหล็กโดย ก�ำเนิด ได้เล่าให้ฟังว่าสมัยก่อนนั้นบ้านตลาด ขี้เหล็กมีลักษณะเป็นพื้นที่ป่าที่อุดมสมบูรณ์ไป ด้วยพรรณไม้นานาชนิดทัง้ ขนาดน้อยขนาดใหญ่ มากมาย การคมนาคมไม่สะดวก ชาวบ้านส่วนใหญ่ ด�ำรงชีวิตอยู่ได้ด้วยการพึ่งพิงอาศัยป่าด้วยวิถี ชีวิตแบบเรียบง่าย ด้วยความอุดมสมบูรณ์ของ ป่าทีป่ ระกอบไปด้วยต้นไม้ขนาดใหญ่จำ� นวนมาก นั่นเองที่ท�ำให้วิถีชีวิตของชาวตลาดขี้เหล็กต้อง เปลีย่ นแปลงอีกครัง้ เมือ่ ในปี ๒๕๑๖ ได้มบี ริษทั เข้ามาสัมปทานไม้ซงุ และไม้ฟนื ในป่าบ้านตลาด ขี้เหล็ก จากชาวบ้านที่พึ่งพิงอาศัยอยู่กับป่าเพื่อให้ตนเองอยู่รอดด้วยวิถีชีวิตที่เรียบง่าย ต้องกลับกลายมาเป็นลูกจ้างตัดไม้ให้กบั บริษทั บางคนก็ได้โอกาสตัดไม้ไปขายเอง การตัดไม้ขาย หรือการรับจ้างตัดไม้ก็ดีเป็นอาชีพที่ต้องท�ำงานหนัก หลังจากเสร็จงานมักมีอาการปวดเมื่อย กล้ามเนือ้ ตามเนือ้ ตัว ปวดหลัง ปวดเอว คนทีท่ ำ� งานหนักเหล่านีม้ กั จะหาสมุนไพรทีอ่ ยู่ในป่าน�ำ มาต้ม บางคนก็เก็บมาแล้วก็ตากให้แห้งแล้วน�ำมาดองเหล้าดืม่ เพือ่ แก้อาการปวดเมือ่ ยกล้ามเนือ้ แก้ปวดหลัง ปวดเอว เพื่อวันรุ่งขึ้นจะได้ท�ำงานต่อได้ ส่วนสมุนไพรที่ใช้นั้นก็แตกต่างกันไปขึ้น อยู่กับภูมิปัญญาของแต่ละคน หรือขึ้นอยู่กับว่าได้สูตรยามีอะไรบ้าง แต่สมุนไพรชนิดหนึ่งที่ใน แต่ละสูตรยาขาดไม่ได้คอื “มะเขือแจ้เครือ” อุ้ยแก้วเล่าต่อว่า มะเขือแจ้เครือเป็นไม้เถาที่ ไม่ได้ มีอยู่ทวั่ ไป ในละแวกนีก้ จ็ ะมีเฉพาะในป่าชุมชนบ้านตลาดขีเ้ หล็กเท่านัน้ เถามีขนาดตัง้ แต่เท่าข้อ มือไปถึงขนาดเท่าน่องเลยทีเดียว ส่วนการน�ำไปใส่กบั ตัวยาอืน่ ๆนัน้ ให้ถากเถาทีม่ อี ายุประมาณ 2 -3 ปี จึงจะมีตัวยาดี ไม่อ่อนหรือแก่จนเกินไป มะเขือแจ้เครือจะมีรสเฝื่อนเหมือนมะเขือขื่น ดังนั้นปริมาณที่ใส่ลงในยาแต่ละสูตรนัน้ ไม่ควรใส่ในปริมาณที่มากเกินไปเพราะ จะท�ำให้ยาต้ม หรือยาดองเหล้านัน้ มีรสเฝือ่ นมากอุย้ แก้วยังบอกอีกว่า อุย้ ไม่อยากให้คนทีต่ อ้ งการใช้มะเขือแจ้เครือ ไปท�ำยาโดยวิธกี ารตัดเถา เพราะการตัดด้วยวิธนี จี้ ะมีสว่ นทีเ่ ป็นยอดจะไม่นำ� มาใช้เป็นยาเพราะ ตัวยามีน้อยก็จะถูกทิง้ จึงอยากให้ใช้วธิ ถี ากเถาทีม่ อี ายุพอเหมาะเฉพาะส่วนจึงจะดีกว่าและไม่ ควรถากจนรอบเถาซึ่งจะท�ำให้ต้นมะเขือแจ้เครือตายได้ ๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

29


มะค�ำไก่

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Putranjiva roxburghii Wall. ชื่อวงศ์ : PUTRANJIVACEAE ชื่ออื่น : มะองนก (ภาคเหนือ) มักค้อ (ขอนแก่น) มะค�ำดีไก่ ประค�ำไก่ (ภาคกลาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

เป็นไม้ต้น สูง 10 -15 เมตร ตามต้นและกิ่งก้านมีสีขาวนวล ยอดอ่อนมีขน ใบเป็น ใบเดี่ยว เรียงสลับกัน ห้อยลง รูปรีหรือรูปรีแกมรูปขอบขนาน โคนใบเบี้ยว ขอบใบหยักตื้นๆ ปลายใบแหลมหรือมน ใบสีเขียวเข้มเป็นมัน กว้าง 2.5 -4 เซนติเมตร ยาว 5 -10.5 เซนติเมตร ก้านใบยาว 3 -5 มิลลิเมตร ดอกตัวผู้และดอกตัวเมียอยู่ต่างต้นกัน ดอกตัวผู้ออกเป็นช่อหรือ เป็นกระจุกตามซอกใบ ขนาดเล็ก สีขาวนวล ก้านดอกสัน้ กลีบเลี้ยงมี 3 -6 หยัก เกสรตัวผู้มี 2 -4 อัน ก้านติดกันเล็กน้อย ดอกตัวเมียออกเดี่ยวๆ หรือออกเป็นคู่ๆ กลีบเลี้ยงเหมือนดอก ตัวผู้ รังไข่ มีขนปกคลุม ภายในมี 2 -3 ห้อง ยอดเกสรตัวเมียคล้ายพระจันทร์เสี้ยว ผลรูปไข่ หรือกลมรี กว้าง 1 เซนติเมตร ยาว 1.5 เซนติเมตร หัวท้ายแหลม มีขนละเอียดปกคลุม เปลือกแข็ง สีขาวอมเทา มีรอยย่นเล็กน้อย ภายในมีเมล็ดกลม สีดำ � แข็ง 1 เมล็ด ขนาดเท่าเม็ดล�ำไย ใช้ร้อย ท�ำประค�ำได้

30

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรือ่ งสมุนไพรจาก “ป่าชุมชน บ้านร่องปอ จังหวัดพะเยา”

ลุงจันทร์ขาว เชียงมูล ปราชญ์ชาว บ้านผู้มีความเชี่ยวชาญด้านพืชสมุนไพร และ ลุงค�ำปัน วงค์ชัย หมอยาสมุนไพร จากป่า ชุมชนบ้านร่องปอ จังหวัดพะเยา เล่าให้ฟงั ว่าต้นมะค�ำไก่ หรือต้นทีช่ าวบ้านร่องปอเรียก ว่า ”ต้นยาแก้” มีสรรพคุณทางยามากมาย โดยสามารถใช้ทกุ ส่วนของต้น น�ำมาปรุงเป็นยาสมุนไพรต่างๆ อาทิเช่น ส่วนของใบ จะน�ำมารม แก้ปวดขา น�ำมาต�ำพอกฝี และน�ำมาปรุงเป็นยาถ่ายพิษฝี ล�ำต้น น�ำมาเข้าเครื่องยา ใช้เป็นยา เย็น เป็นยาระบาย ใบและผลอ่อน ใช้เป็นยาลดไข้ เป็นยาขับปัสสาวะรากและเปลือกราก เป็นยาแก้กระษัย แก้เส้นเอ็นหย่อน

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

31


มะนาวไม่รู้โห่

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Carissa carandas L. ชื่อวงศ์ : APOCYNACEAE ชื่ออื่น : หนามขี้แฮด (เชียงใหม่) หนามแดง (กรุงเทพฯ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้พ่มุ สูง 2 - 3 เมตร ทรงพุ่มกลม แตกกิง่ จ�ำนวนมากทุกส่วนมียางสีขาวเหมือนน�้ำนม ล�ำต้นและกิ่งก้านมีหนามแหลมยาว 2 - 5 เซนติเมตร ปลายหนามมีสีแดง ใบเดี่ยว เรียงตรง ข้าม รูปไข่กลับ ปลายใบมนหรือเว้าเข้าเล็กน้อย โคนใบกลม ผิวใบสีเขียวเข้มเป็นมัน ดอกเป็น ดอกช่อสั้น ๆ ที่ปลายกิ่ง กลีบดอกสีขาว มีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ มีขน โคนกลีบเชื่อมติดกันเป็น หลอดยาวสีชมพูแกมแดง ดอกมีกลิ่นหอมอ่อน ๆ หอมตลอดวัน ออกดอกทัง้ ปี ผลเป็นผลเดี่ยว ออกรวมกันเป็นช่อ ผลรูปกลมรี หรือรูปไข่ ผลอ่อนมีสขี าวอมชมพู ผลดิบมีนำ�้ ยางมาก ผลจะ ค่อย ๆ เข้มขึ้นเป็นสีแดง กระทั่งสุกจึงกลายเป็นสีด�ำ เมล็ดมี 1 เมล็ด ติดอยู่ที่ส่วนปลายรูปไต ยาว 2.5 - 3 เซนติเมตร สีน�้ำตาลอมเทา มีเปลือกแข็งหุ้ม

32

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านแม่หาร จังหวัดแม่ฮ่องสอน”

ลุงยะอ่อง วนาเขียวขจี ปราชญ์ชาวบ้านจากป่าชุมชนบ้านแม่หาร จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน เป็นชาวกระเหรี่ยง ซึ่งถือได้ว่าคุณลุงเป็นบุคคลที่มีความรู้ในเรื่องของพืชและพืชสมุนไพร คนหนึ่งในหมู่บ้านลุงได้เล่าว่า เด็กเดินไปไร่ไปนากับพ่อแม่ผ่านป่าในหมู่บ้านจะเจอต้นมะนาว ไม่รู้โห่ จะเด็ดกินผลสุกได้ทันที ส่วนพ่อแม่ก็จะเก็บยอดไปประกอบอาหารโดยน�ำยอดอ่อนมา ลวกจิ้มกับน�้ำพริก ลุงยะอ่องเล่าอีกว่าตอนที่กัดกินผลสุกจะมีรสเปรี้ยวจัดท�ำให้เกิดความ กระชุ่มกระชวย ใครที่ง่วงนอนต้องตาสว่างทันที รากของต้นมะนาวไม่รู้โห่นนั้ ถ้าน�ำไปต้มดื่มรับ ประทานจะสามารถลดไข้ได้ การกินผลสุกนั้นต้องเลือกที่มีสีด�ำๆ กินวันละ 5 -7 ลูก ส�ำหรับ ผู้ป่วยทีเ่ ป็นโรคปอด หัวใจ มะเร็ง ถุงลมโป่งพอง เบาหวาน ไต เก๊าท์ ไทรอยด์ ซึง่ ยางของผลสุก ช่วยในการสมานแผลสดได้เป็นอย่างดี กินติดต่อกันประมาณ 3 เดือน จะรูส้ กึ ว่าเลือดหมุนเวียนดี และสุขภาพแข็งแรงขึน้ ยอดอ่อนแก้อาการเจ็บคอ รักษาแผลในปาก มีสตู รการหมักมะนาวไม่รู้ โห่ดังนี้ ผล 3 กิโลกรัมต่อน�้ำตาล 1 กิโลกรัม แล้วเติมน�้ำผึ้ง 1 แก้วน�้ำดื่ม หมักเก็บไว้ 1 เดือน เมื่อครบเดือนแล้วค่อยมาเติมน�้ำอีก 5 ลิตร แล้วหมักต่อจนครบ 3 เดือน แต่หากไว้นานกว่านัน้ ก็ยิ่งดี การดื่มให้ดื่มวันละแก้วเป๊กเหล้า ให้ดื่มในตอนเช้า มีสรรพคุณขับปัสสาวะ แก้พิษใน ร่างกาย แก้โรคลักปิดลักเปิด แก้อาการอ่อนเพลียและช่วยให้เจริญอาหาร ท�ำให้รา่ งกายแข็งแรง แก้โรคกระเพาะอักเสบ เป็นแผลในกระเพาะ รักษาแผลผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

33


ยางนา

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dipterocarpus alatus Roxb. ชื่อวงศ์ : DIPTEROCARPACEAE ชื่ออื่น : ยางควาย (หนองคาย) ยางเนิน (จันทบุร)ี ราลอย (ส่วยสุรนิ ทร์) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูงถึง 40 - 50 เมตร ล�ำต้นเปลาตรง เปลือกหนาเรียบ สีเทาหรือ เทาปนขาว โคนต้นมักเป็นพูสูงขึ้นมาเล็กน้อย ขนาดเส้นรอบวงเพียงอกของต้นที่มีอายุมาก ระหว่าง 4 - 7 เมตร หรือมากกว่า ยอดและกิ่งอ่อนมีขนทั่วไป และมีรอยแผลใบปรากฏชัดตาม กิ่ง รูปทรง (เรือนยอด) เรือนยอดเป็นพุ่มกลมแน่นทึบ ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปรีหรือรูปไข่ ใบอ่อนมีขนสีเทาประปราย ใบแก่เกลีย้ งหรือเกือบเกลีย้ ง มีขนประปราย ดอก ออกเป็นช่อสัน้ ๆ ไม่แตกแขนงตามง่ามใบตอนปลายกิ่งแต่ละช่อมี 3 - 8 ดอก สีขาวอมชมพู ออกดอก ระหว่าง เดือน มีนาคม - พฤษภาคม ผล เป็นแบบผลแห้ง ตัวผลกลมหรือรูปไข่ ยาว 2.5 - 3.5 เซ็นติเมตร มีครีบยาว 5 ครีบ ด้านบนมีปกี 2 ปีก ปลายมน มีเส้นตามยาว 3 เส้น ปีกอีก 3 ปีก มีลักษณะ สั้นมากคล้ายหูหนู ผลแก่ ระหว่างเดือน พฤษภาคม - มิถุนายน

34

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชน บ้านหนองยาง จังหวัดพิษณุโลก”

ลุงสมาน บัวประเสริฐ ปราชญ์ชาวบ้านจาก ป่าชุมชนบ้านหนองยาง จังหวัดพิษณุโลก เล่าว่า ต้นยางนามีสรรพคุณทางด้านสมุนไพร คือ มี น�้ำมันยาง ท�ำน�้ำมันใส่แผล แก้โรคเรื้อน เปลือก สรรพคุณ น�้ำต้มเปลือกกินแก้ตับอักเสบ บ�ำรุง ร่างกาย ฟอกเลือด และใช้ทาถูนวด (ขณะร้อน) แก้ปวดตามข้อ การท�ำน�้ำมันยาง โดยเจาะเป็น หลุมลึกลงไปในเนือ้ ไม้ตอนโคนๆ ต้นทีก่ น้ หลุมท�ำให้เป็นเป็นแอ่ง เพือ่ เป็นทีพ่ กั น�ำ้ มันไปในตัวการ เผาหลุมทีเ่ จาะจะช่วยให้นำ�้ มันออกมากและเร็วขึน้ จากนัน้ ก็คอยมาเก็บตักเอาน�ำ้ มันเป็นระยะๆ น�้ำมันที่ได้อาจน�ำไปใช้ได้ทันทีโดยไม่ต้องแปรรูปอีกน�้ำมันยางเมื่อใช้ผสมกับผงชันก็ใช้ยาเรือ หรือเครื่องจักรสานที่ท�ำ ด้วยไม้ไผ่ ให้กลายเป็นภาชนะที่กักเก็บหรือตักน�ำ้ ได้เป็นอย่างดี อนึ่ง กากน�ำ้ มันซึ่งเป็นตะกอนเหนียวนัน้ น�ำมาคลุกกับไม้ผุ หรือเปลือกไม้ท�ำเป็นไต้ ใช้เป็นคบเพลิง เดินทางในเวลาค�่ำคืน หรือใช้ก่อไฟในที่ยังต้องใช้ฟืนและถ่านอยู่

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

35


ระย่อม

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Rauvolfia serpentina (L.) Benth. ex Kurz ชื่อวงศ์ : APOCYNACEAE ชื่ออื่น : คลาน ตูมคลาน (กะเหรี่ยง กาญจนบุร)ี เข็มแดง (ภาคเหนือ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้พุ่มเตี้ยขนาดเล็ก ผลัดใบในช่วงฤดูแล้ง ล�ำต้นสูงประมาณ 30 -70 เซนติเมตร มักคดงอ เปลือกล�ำต้นเป็นสีขาวหรือสีน�้ำตาลอมเทา มียางสีขาว รากใต้ดินแตกสาขามาก มีรอยแผลใบอยู่ตามล�ำต้น ใบเป็นใบเดี่ยวออกเรียงตรงข้ามกันหนาแน่นที่ปลายยอด หรือออก เรียงรอบข้อ ข้อละ 3-4 ใบ ลักษณะของใบเป็นรูปรีหรือรูปรีแกมรูปหอก ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ขอบใบเรียบ ใบกว้างประมาณ 5 -8 เซนติเมตร และยาวประมาณ 12 -20 เซนติเมตร แผ่นใบค่อนข้างหนา สีเขียวเข้มเป็นมัน ดอกเป็นช่อ ลักษณะคล้ายดอกเข็ม โดยจะ ออกที่ปลายยอด มีดอกย่อยจ�ำนวนมาก ประมาณ 1 -50 ดอก ดอกสีขาว กลีบดอก 5 กลีบ โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดยาวสีชมพูเข้มหรือสีแดง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ สีขาวแกมเขียว ก้านดอกเป็นสีแดง ผลรูปทรงกลมหรือรูปทรงรี บางครั้งติดกันเป็นผลแฝดตรงโคนด้านใน ผิวผลเรียบเป็นมันและฉ�่ำน�ำ ้ มีขนาดประมาณ 1-1.8 เซนติเมตร ผลอ่อนสีเขียว เมื่อสุกแล้ว จะเปลี่ยนเป็นสีม่วงแดงเข้มหรือสีด�ำ ในผลมีเมล็ด 1 เมล็ด

36

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้าน ห้วยเจริญ จังหวัดอุตรดิตถ์”

ลุ ง หน� ำ สว่ า งทิ ต ย์ ปราชญ์ ช าวบ้ า นจาก ป่าชุมชนบ้านห้วยเจริญ จังหวัดอุตรดิตถ์เล่าว่า รากของระย่อมมีรสขม เป็นยาเย็น มีพษิ เล็กน้อย ออกฤทธิ์ ต่อตับและหัวใจ มีสรรพคุณช่วยท�ำให้เจริญอาหาร ช่วยบ�ำรุงประสาท กระพี้ มีสรรพคุณ เป็นยา บ�ำรุง โลหิต ท�ำให้โลหิตเป็นปกติ และช่วยแก้โลหิตเป็นพิษ รากช่วยฟอกเลือด ท�ำให้เลือดเย็น เป็นยาลดความดัน โลหิต ด้วยการใช้รากแห้งในขนาด 200 มิลลิกรัม น� ำ มาป่ น ให้ เ ป็ น ผงคลุ ก กั บ น�้ ำ ผึ้ ง ท� ำ เป็ น ยาเม็ ด รับประทานติดต่อกัน 1 -3 อาทิตย์ เปลือกมีสรรพคุณ เป็นยาแก้ไข้พิษ แก้ไข้ สันนิบาต ช่วยแก้หืด แก้ลม อั ม พฤกษ์ น�้ ำ จากใบใช้ เ ป็ น ยารั ก ษาโรคแก้ ว ตามั ว ดอกมีสรรพคุณเป็นยาแก้ตาแดง แก้โรคอันเกิดแต่จกั ษุ ขนาดและวิธีใช้ การใช้ราก ให้ใช้รากแห้ง 100 กรัม น�ำมาต้มชงกับน�ำ้ ดื่มเช้าและเย็น ให้ใช้รากแห้งครั้งละ ประมาณ 10-20 กรัม น�ำมาต้มกับน�ำ้ ดืม่ หรือน�ำมาบด ให้เป็นผงท�ำเป็นเม็ดรับประทาน หรือใช้เข้ากับต�ำรา ยาอื่นได้ตามต้องการ ข้อควรระวังในการใช้สมุนไพรระย่อม สตรีมีครรภ์ หรือให้นมบุตร ห้ามใช้สมุนไพรชนิดนี้ หรือหากมีอาการ วิงเวียนศีรษะ หน้ามืด ใจสั่น หรือมีอาการผิดปกติ ให้ใช้หยุดใช้ยาทันที อาการเป็นพิษหรือผลข้างเคียงของการใช้ยานีค้ อื ท�ำให้เกิดการจมูกตันหรือ คัดจมูก หายใจไม่ออก หน้าแดง

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

37


ลาน

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Corypha umbraculifera L. ชื่อวงศ์ : ARECACEAE ชื่ออื่น : ลางหมึ่งเทิง (ภาคเหนือ) ลานวัด (ภาคกลาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้ยืนต้นขนาดกลาง มีล�ำต้นตรงและแข็ง เป็นไม้ต้นเดี่ยวไม่แตกหน่อหรือกอ ล�ำต้นจะ มีความสูงถึง 25 เมตร ส่วนเนื้อไม้เป็นเส้นใย ไม่มีกิ่ง ล�ำต้นมีกาบใบติดคงทนเรียงเวียนอยู่โดย รอบ ล�ำต้นมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 80 เซนติเมตร ต้นลานเมื่อแก่แล้วหรือมีอายุ ราว 20-80 ปี ในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนมิถนุ ายนต้นลานจะออกดอกและผล ซึง่ นัน่ หมาย ถึงชีวติ ช่วงสุดท้ายของต้นลาน ใบมีขนาดใหญ่ ลักษณะคล้ายรูปฝ่ามือหรือรูปพัด ค่อนข้างกลม คล้ายกับใบตาล ใบมีสีเขียวอมเทา แผ่นใบมีขนาดประมาณ 2.5 -3 x 2.5 -3 เมตร ส่วนก้าน ใบออกสีเขียวอ้วนสั้น ยาวประมาณ 2.5 -3 เมตร และขอบก้านใบมีหนามแน่นเป็นฟันคมสีด�ำ ยาวประมาณ 1 เซนติเมตร และมีเส้นโค้งกลางใบยาวประมาณ 1 เมตร แผ่นใบหยักเป็นคลื่น มีร่องแฉกแยกแผ่นใบ 110 แฉก แต่ละแฉกมีขนาดประมาณ 75 -150 X 4.6 -5 เซนติเมตร (เป็นพันธุ์ไม้ที่มีใบใหญ่ที่สุดในโลก) ผลมีลักษณะกลมรี สีเขียว มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 3.5 -4.5 เซนติเมตร หนึ่งผลมีหนึ่งเมล็ด เมล็ดมีลักษณะกลมสีด�ำ

38

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านห้วยลาน จังหวัดเพชรบูรณ์”

ลุงเพชร นวลทอง ปราชญ์ชาวบ้านจากป่าชุมชนบ้านห้วยลาน จังหวัดเพชรบูรณ์ เล่าให้ฟังว่าต้นลานมีสรรพคุณมากมายไม่ว่าจะเป็นด้านสมุนไพร โดยชาวบ้านจะน�ำรากของ ต้นลานมาฝน รับประทานช่วยรักษาไข้หวัด แก้ร้อนใน และช่วยขับเหงื่อ ลูกลาน ใช้รับประทาน เป็นยารักษาโรคกระเพาะ ช่วยฆ่าเชือ้ ในล�ำไส้ และช่วยระบาย เปลือกของผลสามารถรับประทาน เป็นยาขับระบายได้ดี ใบลานน�ำมาเผาไฟสามารถใช้เป็นยาเพื่อช่วยดับพิษอักเสบ แก้อาการ ฟกช�้ ำ บวมต่ า งๆได้ ด้ า นการใช้ ประโยชน์ ใบลานสามารถน�ำมาท�ำ เครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช้ ไ ด้ ห ลายอย่ า ง สมัยโบราณใช้ในการบันทึกข้อมูล และเรือ่ งราวต่างๆ นิยมใช้เป็นทีเ่ ขียน จารึกตัวอักษรในหนังสือพระธรรม ค� ำ สอนของพระพุ ท ธศาสนาโดย เราจะเรียกหนังสือจากใบ ลานนี้ว่า “คัมภีร์ใบลาน” ส่วนใบแก่ก็น�ำมาใช้ มุงหลังคา น�ำมาจักสานเป็นเครือ่ งใช้ ต่างๆได้

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

39


ลูกใต้ใบ

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Phyllanthus amarus Schumach & Thonn. ชื่อวงศ์ : PHYLLANTHACEAE ชื่ออื่น : มะขามป้อมดิน (ภาคเหนือ) หญ้าใต้ใบขาว (สุราษฎร์ธานี) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้ล้มลุก สูง 10 -60 เซนติเมตร ทุกส่วนมีรสขม ใบเป็น ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ปลายคี่ มีใบย่อย 23 - 25 ใบ ใบย่อยรูปขอบขนานแกมไข่กลับ ปลายใบมนกว้าง โคนใบมนแคบ ขนาดประมาณ 0.40 X 1.00 เซนติเมตร ก้านใบสั้นมากและมีหู ใบสีขาวนวลรูปสามเหลีย่ มปลายแหลมเกาะติด 2 อัน ดอกแยกเพศ เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.08 เซนติเมตร ออกตามซอกก้านใบ ย่อย และห้อยลง เป็นดอกแยกเพศ คือ ดอกเพศเมียมักอยูส่ ว่ นโคน ส่วนดอกเพศผู้มักอยู่ส่วนปลายก้านใบ ผลทรงกลมผิวเรียบสีเขียว อ่อนนวล ขนาดประมาณ 0.15 เซนติเมตร เกาะติดอยู่ท่ใี ต้โคนใบย่อย เมื่อแก่จะแตกเป็น 6 พู แต่ละพูจะมี 1 เมล็ด เมล็ดสีนำ�้ ตาลรูปเสี้ยว 1/6 ของทรงกลม ขนาดประมาณ 0.10 เซนติเมตร

40

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านหนองทราย จังหวัดก�ำแพงเพชร”

ลุ ง สมจิ ต ธรรมจิ ต ปราชญ์ ช าวบ้ า นจากป่ า ชุ ม ชนบ้ า นหนองทราย จั ง หวั ด ก�ำแพงเพชร เล่าว่าลูกใต้ใบใช้ประโยชน์ได้ทงั้ ต้น มีรสขมมาก พืชชนิดนีห้ าไม่ยาก แต่คนมักไม่ สนใจ ไม่รู้จักจึงท�ำลายทิ้ง ซึ่งความจริงแล้วเป็นยารักษาโรคได้มากมาย แก้ปวดหลังปวดเอว บ�ำรุงร่างกาย แก้หวัด แก้เบาหวาน แก้ไข้ ก็ให้ใช้ลูกใต้ใบทั้งประมาณ 5 ต้น ล้างน�้ำสะอาด สับเป็นชิ้นเล็ก ตากแดดให้แห้งใส่หม้อดินต้ม ดื่มน�้ำกิน ส�ำหรับสาวๆ ที่เป็นไข้ระหว่างมีประจ�ำ เดือน แนะน�ำให้น�ำต้นใต้ใบนี้มามัดรวมแล้วต้มดื่มน�้ ำ หรือน�ำหญ้าใต้ใบล้างน�้ำให้สะอาด ต�ำละเอียดผสมสุรา คั้นเฉพาะน�ำ้ ยา กินครั้งละ 1 ช้อนชา แค่ 2 วัน ก็หายเป็นปรกติแก้ประจ�ำ เดือนมามากกว่าปรกติ ให้ใช้รากสดต้นลูกใต้ใบต�ำผสมกับน�ำ้ ซาวข้าวกินเป็นยาขับประจ�ำเดือน ให้ใช้ต้นลูกใต้ใบต้มกินขับประจ�ำเดือน และเป็นยาแก้นมหลงคือหญิงที่คลอดบุตรแล้วน�้ำนมที่ เคยไหลหยุดไหล และมีอาการปวดเต้านมร่วมด้วย เรียกอาการนี้ว่า “นมหลง” ถ้าปล่อยไว้จะ กลายเป็นฝีที่นมได้ วิธีท�ำ เอาลูกใต้ใบทั้ง 5 จ�ำนวน 1 ก�ำมือ ต�ำผสมเหล้าขาว คั้นเอาน�้ำกิน 1 ถ้วยชา เอากากพอก ท�ำเพียงครั้งเดียว ไม่กี่นาที นมจะไหลออกมา แต่ข้อควรระวังคือ ห้ามใช้ในคนท้อง เพราะลูกใต้ใบเป็นยาขับประจ�ำเดือน

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

41


สะค้าน

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Piper chantaranothaii Suwanph. & D. A. Simpson ชื่อวงศ์ : PIPERACEAE ชื่ออื่น : สะค้าน มังเหาเจ๊าะ (ม้ง) ตะค้านเล็ก ตะค้านหยวก (กะเหรี่ยงแดง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

42

ไม้เถาเนื้อแข็ง ขนาดกลาง มีข้อปล้อง เนื้อไม้เป็นเส้นยาว หน้าตัดตามขวางมีลาย เป็ น เส้ น รั ศ มี เปลื อ กค่ อ นข้ า งอ่ อ น เนื้อไม้สีขาว ใบเดี่ยวรูปใบหอกกว้าง คล้ายใบพริกไทย แต่แคบกว่า ปลายใบแหลม ใบมีสเี ขียวเข้ม ออกดอกเป็นช่อยาวเล็ก สีครีมดอกย่อยอัดกันแน่น คล้ายดอก พริกไทยหรือดอกดีปลี ผลอ่อนสีเขียว ผลสุกสีแดงคล�้ำ

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านแม่บง จังหวัดเชียงราย”

ลุงกาน ฟุ่มฟองฟู และลุงสิทธิ์ ช่างปัด ปราชญ์ชาวบ้านจากป่าชุมชนบ้านแม่บง จังหวัดเชียงราย เล่าว่าสะค้านในสมัยก่อนเวลาชาวบ้านเข้าป่า จะใช้มีดถากเปลือกสะค้าน แล้วขูดเนื้อไม้มาต้มกิน เพื่อขับเหงื่อ ช่วยให้ร่างกายกระปรี้กระเปร่า แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย ท�ำให้มีแรงที่จะเดินป่าได้ไกลๆ เครือ ล�ำต้น สับเป็นแว่นเล็กๆ ใช้เป็นส่วนประกอบในการ ปรุงอาหาร ช่วยเพิ่มรสเผ็ดร้อน ดับกลิ่นคาว เช่น แกงแค แกงหน่อ แกงขนุน ใบและดอก ใช้กินกับอาหารเป็นเครื่องเคียง เช่น ใบสดกินกับลาบ ล�ำต้น น�ำมาสับเป็นชิ้นๆ ตากแห้ง ผสมกับสมุนไพรตัวอืน่ ๆ เช่น นางพญาเสือ่ โคร่ง ฮ่อสะพานควาย ม้ากระทืบโรง ไม้ฝาง เครือกวาวแดง นมนาง ดีงู บอระเพ็ด เป็นต้น น�ำไปต้มดื่มเช้าเย็น จะช่วยให้ร่างกายแข็งแรง เป็นยาบ�ำรุงก�ำลัง บ�ำรุงธาตุไฟ แก้อาการปวดเมื่อย

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

43


กรวยป่า

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Casearia grewiifolia Vent. ชื่อวงศ์ : SALICACEAE ชื่ออื่น : ค้อแลน (ชัยภูม)ิ ก้วย (ภาคเหนือ) ตานเสี้ยน (พิษณุโลก) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้ต้นขนาดเล็ก สูงได้ประมาณ 20 เมตร กิ่งมีขนก�ำมะหยี่ปกคลุม มีขนสั้นนุ่มตามเส้น กลางใบ แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ ใบเดี่ยว เรียงสลับในระนาบเดียวกัน รูปขอบขนานหรือแกม รูปไข่ ยาว 8 -16 เซนติเมตร ปลายใบแหลมหรือแหลมยาว ปลายมน โคนใบเบี้ยว รูปลิ่ม หรือ มนด้านเดียว อีกด้านกว้างกลมหรือเกือบตัด แผ่นใบหนา ขอบใบจักซี่ฟันตื้นๆ ดอกสีเขียวอ่อน ออกเดี่ยวๆ หรือเป็นกระจุกหลายดอกตามซอกใบ ใบประดับมีหลายใบ เกือบกลม กลีบเลี้ยง ส่วนมากมี 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อมที่โคน กลีบรูปไข่ ด้านนอกมีขน กลีบยาว 2 -3 มิลลิเมตร ไม่มีกลีบดอก ผลแบบแคปซูล ทรงรี ยาว 2.5 -3.5 เซนติเมตร เนื้อหนา สุกสีเหลือง แตกเป็น 3 ซีก เมล็ดมีหลายเมล็ด มีเยื่อหุ้มสีส้มอมแดง จักเป็นครุย

44

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านหินลาด จังหวัดชัยภูมิ”

ลุงสมาน แก้วอุบล หมอยาและปราชญ์ชาวบ้านจากป่าชุมชนบ้านหินลาด จังหวัด ชัยภูมิ เล่าว่า เดิมก่อนที่จะน�ำต้นค้อแลนหรือที่คนทั่วไปรู้จักกันในชื่อต้นกรวยป่า มาใช้เป็นยา รักษาผูป้ ว่ ยโรคภูมคิ มุ้ กันบกพร่อง ปราชญ์ชาวบ้านคนก่อนได้นำ� ใบมาหัน่ ฝอยตากแดด สูบแทน ยารักษาโรคริดสีดวงจมูก เมื่อ 10 ปีก่อน แต่ในปัจจุบันมีการน�ำแก่นค้อแลนมาใช้เป็นยารักษา ผู้ป่วยโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง โดยก่อนหน้านี้มีสมาชิกในหมู่บ้านเป็นโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องทั้ง สามีและภรรยา ผอมแห้ง จนไม่สามารถท�ำมาหากินได้ ไปหาคุณหมอก็หมดทางรักษาเนือ่ งจาก ยังไม่มยี ารักษาโรคนีโ้ ดยตรง หมอจากโรงพยาบาลชัยภูมิ จึงให้กลับมาพักทีบ่ ้าน เมือ่ กลับบ้าน ญาติพี่น้องที่รู้จักได้น�ำยามาจากจังหวัดก�ำแพงเพชรมาให้บอกว่าเป็นยาผีบอก ซึ่งมีคนกินแล้ว หาย จึงได้ต้มยากรอกปากให้กับผู้ป่วย กินยาต้มอยู่ 1 เดือน อาการดีขึ้น จึงได้น�ำตัวอย่างยา มาจากก�ำแพงเพชรให้หมอสมาน ดูซงึ่ รูว้ า่ เป็นต้นค้อแลน จึงพาผูป้ ว่ ยมาให้หมอสมานรักษาโดย ต้มแก่น ค้อแลน ให้ดื่ม ผ่านไปได้ 5 -6 เดือน ร่างกายเริ่มแข็งแรงกลับคืนสภาพปกติ ปัจจุบัน ท�ำงานได้เหมือนคนปกติทั่วไป แต่มี ข้อแม้เรือ่ งอาหารคือ ห้ามรับประทาน อาหารดิบ อาหารทะเล งดเหล้าและ บุหรี่ และจากที่ข่าวที่สองสามีภรรยา สภาพร่างกายแข็งแรง ส่งผลให้ญาติ ผูป้ ว่ ยต่างจังหวัดได้มาขอแก่นกรวยป่า ไปต้มดื่มอีกเป็นจ�ำนวนไม่น้อย

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

45


ชิงชี่

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Capparis micracantha DC. ชื่อวงศ์ : CAPPARACEAE ชื่ออื่น : กระดาดขาว กระโรกใหญ่ (ภาคกลาง) ค้อนฆ้อง (สระบุร)ี หนวดแมวแดง (เชียงใหม่)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้พุ่มหรือกึ่งเลื้อย กิ่งก้านใบมีสเี ขียว ผิวเรียบ เกลีย้ ง กิง่ คดไปมา มีหนาม ตรงหรือโค้งเล็กน้อยใบเป็น ใบเดีย่ วเรียงสลับ รูปขอบขนาน รูปรีหรือรูปไข่ ปลายใบ มนหรือแหลม เนือ้ ใบค่อนข้างหนามัน เกลีย้ ง หลังใบเป็น มัน ท้องใบเรียบดอก เดี่ยว ออกเรียงเป็นแถว 1-7 ดอก ตามซอกใบบริเวณปลายกิ่ง ออกเรียง อยู่เหนือง่ามใบ กลีบดอกรูปขอบขนาน หรือรูปหอก สีขาว ผล ผลสดค่อนข้างกลมหรือรี มี 4 ร่องตามยาว ผิวเรียบกลม แข็งเป็นมัน สีเขียวน�้ำตาล เมื่อสุกสีเหลือง หรือแดง หรือด�ำ

46

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้าน ห้วยไร่บูรพา จังหวัดอุดรธานี”

ลุ ง ไสว พุ ท ธมา ปราชญ์ ช าวบ้ า นจากป่ า ชุ ม ชน บ้านห้วยไร่บูรพา จังหวัดอุดรธานี เล่าว่าต้นชิงชี่มี สรรพคุ ณ หลายอย่ า ง รากของ ต้ น ชิ ง ชี่ มี ร สขมขื่ น แก้ โ รคไข้ กระหายน�้ ำ แก้ ไ ข้ พิ ษ ไข้ ร ้ อ นในทุ ก ชนิ ด (กระทุ้งพิษไข้หรือถอนพิษต่างๆ) แก้โรคที่เกิดในท้อง โรคกระเพาะ รักษามะเร็ง ช่วยให้มดลูกเข้าอูเ่ ร็ว เป็นยา บ�ำรุงหลังคลอดบุตร แก้ไอเนื่องจากหลอดลมอักเสบ แก้หืด ทั้งต้นรสขื่นปร่า ต�ำพอกแก้ฟกช�้ำ บวม ขับน�้ำ เหลืองเสีย ใบรสเฝื่อนเมา เข้ายาอาบ แก้โรคผิวหนัง รักษาประดง น�ำไปต้มดื่มแก้โรคผิวหนัง แก้สันนิบาต ไข้ฝีกาฬ แก้ตะคริว เป็นยา ระงับความร้อน กระทุ้งพิษ ไข้ออกหัดอีสุกอีใส หรือจะ น� ำ ใบเผาเอาควั น สู ด แก้ หลอดลมอั ก เสบ ไข้ พิ ษ ฝีกาฬ ไข้สันนิบาต แก้หืด แก้เจ็บในทรวงอก ต�ำพอก แก้ฟกช�ำ้ บวม ดอกรสขืน่ เมา แก้ มะเร็ ง ผลดิบ รสขื่น เมา แก้โรคในล�ำคอ แก้เจ็บคอ ล�ำคออักเสบ

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

47


ตูบหมูบ

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Kaempferia marginata Carey ex Roscoe ชื่อวงศ์ : ZINGIBERACEAE ชื่ออื่น : เปราะเถื่อน (ชุมพร) เปราะป่า (ภาคกลาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

พืชลงหัวขนาดเล็ก ล�ำต้นสั้น เหง้าคล้ายพวกข่า และรากเป็นกระจุก ลักษณะของเหง้า เป็นรูปทรงกลม สีนำ�้ ตาลที่ผิวมีรอยข้อปล้องอย่างชัดเจน ออกรากจากเหง้าหลักเป็นเส้นกลม ยาว เหง้ามีกลิ่นหอม รสร้อนเผ็ดและขมจัด ใบเป็นใบเดี่ยว ใบอ่อนจะม้วนเป็นกระบอกตัง้ ขึ้น เมื่อแก่จะแผ่ราบบนหน้าดิน ไม่มีก้านใบ ในหนึ่งต้นจะมีใบเพียง 2 ใบ ใบสีเขียวเข้ม ขอบใบ สีม่วงแดง ลักษณะของใบเป็นรูปทรงกลมหรือรูปรี ปลายใบแหลม โคนใบรูปลิ่ม หลังใบเรียบ ด้านล่างมีขน มีขนาดความกว้างประมาณ 8 -14 เซนติเมตร และยาวประมาณ 5 -11.5 เซนติเมตร จะมีการแตกใบและขึน้ มาเหนือดินในช่วงฤดูฝน ผลรูปไข่ สีขาว แตกเป็น 3 พู ภายใน ผลมีเมล็ดลักษณะเป็นรูปไข่มสี ีน�้ำตาล

48

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรือ่ งสมุนไพรจาก “ป่าชุมชน บ้านหนองบัวน้อย จังหวัดร้อยเอ็ด”

ป้าปุ้ย แสงไส ปราชญ์ชาวบ้านจาก ป่ า ชุ ม ชนบ้ า นหนองบั ว น้ อ ย จั ง หวั ด ร้อยเอ็ด เล่าว่าว่านตูบหมูบ มีประโยชน์หลาย ด้าน ด้านอาหาร ตามภูมิปัญญาท้องถิ่นใช้ เป็นผัก รับประทานได้ทั้งเป็นผักสด และผัก ลวก นิยมรับประทานกับอาหารประเภทลาบ น�ำ้ พริก ซุปหน่อไม้ โดยใช้เหง้าและใบอ่อนน�ำ มาล้างน�้ำให้สะอาดต้มน�้ำให้เดือดน�ำใบลงไป ลวกโดยไม่ต้องลวกนานประมาณ 1 - 2 นาที หรือสามารถรับประทานเป็นผักสดเลยก็ได้ และว่านตูบหมูบมีสรรพคุณดับกลิ่นคาวชาว บ้านบางคนนิยมน�ำใบอ่อน มาประกอบอาหารประเภท หมก เช่น กบ เขียด กะปอม ซึง่ ก่อนหมกต้องเตรียม กบ เขี ย ด กะปอม อย่ า งใด อย่างหนึง่ สับละเอียด ใส่ลง ใ น ใ บ ต อ ง ก ล ้ ว ย เ ติ ม พริกน�ำ้ ปลา เกลือ น�ำ้ ปลาร้า ใส่ ใ บอ่ อ นว่ า นตู บ หมู บ คลุกเคล้าให้เข้ากัน แล้วน�ำ ไปนึ่งให้สุก จะมีกลิ่นหอม ของว่านสามารถดับกลิ่น คาวได้เป็นอย่างดีรับประทานกับข้าวเหนียวร้อนๆ สรรพคุณทางยา หน่ออ่อนและใบอ่อน มีสรรพคุณช่วยขับลมแก้อาการท้องอืดท้องเฟ้อ โดยรับประทานหน่อหรือใบอ่อนเป็นผักสด หรือลวกก็ได้ แต่ถา้ รับประทานเป็นผักสดจะได้ผลดีกว่า เหง้าและราก น�ำมาต้มดืม่ เป็นยาขับลม และยาระบาย หรือน�ำมาต�ำพอกบริเวณสะดือเด็กเพื่อรักษาอาการท้องอืดท้องเฟ้อ

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

49


ฝาง

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Caesalpinia sappan L. ชื่อวงศ์ : FABACEAE ชื่ออื่น : ง้าย (กะเหรี่ยง กาญจนบุร)ี ฝางส้ม (กาญจนบุร)ี ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูง 8 -10 เมตร ส�ำต้นมีหนามโค้งสัน้ ๆ และแข็งทั่วทุกส่วน ใบเป็น ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงสลับกัน ใบย่อยรูปไข่หรือรูปขอบขนานกว้าง 0.6 -0.8 เซนติเมตร ยาว 1.5-1.8 เซนติเมตร โคนใบเฉียง ดอกเป็นดอกช่อ ออกที่ซอกใบตอนปลาย กิ่งและที่ปลายกิ่ง กลีบรองดอกมี 5 กลีบ ขอบกลีบเกยซ้อนกัน กลีบล่างสุดโค้งงอและใหญ่ กว่ากลีบอื่น กลีบดอกสีเหลือง มี 5 กลีบ เกสรตัวผู้มี 10 อัน แยกเป็นอิสระ ผลเป็นฝักแบน แข็งเป็นจงอยแหลม เปลือกเป็นสันมน ปลายแหลม มีเมล็ดเป็นรูปรี 2 -4 เมล็ด

50

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านศรี สมบูรณ์ จังหวัดยโสธร”

ป้าวาสนา เกษศิริ ปราชญ์ชาวบ้านจากป่า ชุมชนบ้านศรีสมบูรณ์ จังหวัดยโสธร เล่าว่าเปลือก และใบของต้นฝางสามารถน�ำมาเข้ายาเป็นส่วนผสม ร่วมกับสมุนไพรชนิดอืน่ ท�ำลูกประคบสมุนไพร โดยการ เลือกเอาเปลือกตรงบริเวณที่สูงจากโคนต้นประมาณ 1 เมตร ใช้มีดฟัน (ถาก) ตามขนาดและ จ�ำนวนทีต่ อ้ งการ เมือ่ ได้แล้วให้ใช้มดี เล่มเดียวกันช้อนเอาดินตรงบริเวณโคนต้นมาปิดแผล ปาด ให้ทั่วแผล เพื่อป้องกันแผลติดเชือ้ ราและรักษาแผลของต้นไม้ น�ำเปลือกที่ได้มาหั่นเป็นชิน้ เล็กๆ แล้วน�ำไปตากให้แห้ง เพือ่ ใช้เป็นส่วนผสมร่วมกับใบเปล้าน้อย ใบส้มป่อย ใบมะขาม ใบพลับพลึง ตะไคร้ ขมิ้นชัน เปลือกผลมะกรูด ไพล เกลือ และการบูร น�ำส่วนผสมทัง้ หมดที่เตรียมไว้ตาม อัตราส่วนมาคลุกเคล้าให้เข้ากัน แล้วห่อด้วยผ้าขาวท�ำเป็นรูปทรงกลมใช้เชือกทีเ่ ตรียมไว้มดั ให้ แน่น รวบมัดเศษผ้าที่เหลือให้ชี้ขึ้นด้านบนให้แน่นด้วยเชือกเส้นเดียวกัน มัดจนเชือกหมด เพื่อ ท�ำเป็นที่จับน�ำลูกประคบที่ได้ไปนึ่งในหวด บนเตาถ่าน ใช้ไฟปานกลางนึ่งประมาณ 1 ชั่งโมงน�ำ ลูกประคบที่นึ่งแล้วมาห่อด้วยผ้าแห้งชั้นหนึ่งเพื่อกันเปื้อนและป้องกันความร้อนสัมผัสผิวหนัง โดยตรง แล้วน�ำมาประคบตามร่างกาย หรือบริเวณที่มีอาการ เพื่อแก้อาการปวดตามร่างกาย แก้ปวดข้อ แก้เคล็ดขัดยอก แก้ฟกช�้ำ แก้เลือดตกใน ควรใช้ลูกประคบเพียงครั้งเดียว ห้ามน�ำกลับมาใช้ซ�้ำ เพราะจะไม่ถูกต�ำราตามภูมิปัญญาท้องถิ่น ส่วนแก่น และผล น�ำมาต้มดื่มแก้อาการปวดตามร่างกาย บ�ำรุง เลือ ด บ� ำ รุ ง น�้ำ นม แก้ อ าการผิดส� ำ แดงในสตรีห ลั ง คลอดบุตร ๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

51


มะกอกน�้ำ

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Elaeocarpus hygrophilus Kurz. ชื่อวงศ์ : ELAEOCARPACEAE ชื่ออื่น : สารภีน�้ำ (ภาคกลาง) สมอพิพ่าย (ระยอง) บัวแซว (ภาคอีสาน) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 8 -10 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลมโปร่ง แตกกิ่งต�่ำ เปลือกนอกสีเทา เปลือกในสีแดงอ่อนๆ ใบเดี่ยวเรียงแบบบันไดเวียนห่างๆ รูปไข่กลับ หรือขอบ ขนานแกมไข่กลับ กว้าง 2 - 3 เซนติเมตร ยาว 5.5 -8.5 เซนติเมตร ปลายใบมน โคนใบสอบ แคบ ขอบใบหยักมนตื้น ๆ และห่าง ๆ ใบเกลี้ยงก้านใบสีแดง ยาว 1 -2 เซนติเมตร ใบอ่อน สีเขียวอ่อน ใบแก่สีเขียวเข้ม และก่อนร่วงเปลี่ยนเป็นสีส้มแดง ดอกออกเป็นช่อตามง่าม ใบยาว 4 – 5 เซนติเมตร มีขนสีขาวเป็นเงา กลีบรองกลีบดอก 5 กลีบ มีขนาดยาวกว่ากลีบดอก เล็กน้อย ขอบกลีบหยักเป็นฝอย ลึกประมาณครึง่ หนึง่ ของความยาว ไม่มขี น เกสรเพศผูจ้ ำ� นวนมาก มีขนสั้น ผลสด รูปรี ยาวประมาณ 2 - 3 เซนติเมตร สีเขียวอ่อน เมล็ดแข็งมีเมล็ดเดียว รูปรี ปลายแหลมทั้งสองด้าน ผิวเมล็ดขรุขระ ผลอ่อน สีเขียวนวล ผลแก่สีเขียวอมเหลือง ระยะเวลา ในการออกดอก ระหว่างเดือน เมษายน ถึง เดือนพฤษภาคม และเป็นผลระหว่าง เดือนตุลาคม ถึง เดือนธันวาคม

52

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านจาน จังหวัดบุรีรัมย์”

ลุงสมหมาย โชติยา ปราชญ์ชาวบ้านจากป่าชุมชนบ้านจาน จังหวัดบุรีรัมย์ เล่าว่า ชาวบ้านเรียกมะกอกน�ำ้ ว่า “บักแซว” เกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ของมะกอกน�้ำ ด้านอาหาร ผลชาวบ้านนิยมน�ำผลดิบมากินจิ้มพริกเกลือ น�้ำปลาหวาน มีรสเปรี้ยวอมฝาด และน�ำไปดอง เพื่อเก็บไว้กนิ ได้นานขึ้นประโยชน์ท�ำให้ชุ่มคอ แก้กระหายน�้ำได้ดี ใบบางคนน�ำยอดอ่อนมากิน เป็นผัก มีรสเปรีย้ ว ด้านสมุนไพร เปลือกต้น รสเฝือ่ น เปลือกแห้งต้มน�ำ้ ดืม่ กินเป็นยาฟอกเลือด หลังการคลอดบุตร ด้านเศรษฐกิจ ชาวบ้าน เก็บผลดิบน�ำไปขายตลาดในอ�ำเภอและจังหวัด เพื่อเพิ่มรายได้ของครัวเรือน ด้านอื่น ๆ ประโยชน์ของต้นมะกอกน�้ำอีกอย่างหนึ่ง ท�ำให้มีปลา ชุกชุม เนื่องจากเป็นต้นไม้ที่มักขึ้นอยู่ใกล้น�้ำ และมีรากเป็นฝอยยื่นลงไปในน�้ำเป็นแหล่งอาหาร ของสัตว์น�้ำ จึงท�ำให้มสี ัตว์น�้ำอาศัยอยู่ใต้บริเวณต้นมะกอกน�้ำเป็นจ�ำนวนมาก

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

53


มะขามป้อม

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Phyllanthus emblica L. ชื่อวงศ์ : Euphorbiaceaae ชื่ออื่น : ก�ำทวด (ราชบุร)ี กันโตด (เขมร -จันทบุร)ี ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้ยืนต้นขนาดเล็ก -กลาง สูง 8 -12 เมตร เปลือกนอกสีน�้ำตาลอมเทา ผิวเรียบ หรือ ค่อนข้างเรียบ เปลือกในสีชมพูสด ใบเดีย่ ว มีลกั ษณะคล้ายใบประกอบคล้ายใบมะขาม รูปขอบขนาน ติดเรียงสลับ กว้าง 0.25 -0.5 เซนติเมตร ยาว 0.8 -12 เซนติเมตร สีเขียวอ่อนเรียงชิดกัน ใบสัน้ มาก เส้นแขนงใบไม่ชดั เจน ดอกขนาดเล็กแยกเพศ แต่อยู่บนกิง่ หรือต้นเดียวกัน ออกตาม ง่ามใบ 2-5 ดอกแน่นตามปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง 6 กลีบดอกสีขาวหรือขาวนวลผลทรงกลม มีเนื้อหนา 1.2 - 2 เซนติเมตร ผลอ่อนสีเขียวอ่อน ค่อนข้างใส มีเส้นริ้วๆ ตามยาว สังเกตได้ 6 เส้นเนือ้ ผลรับประทานได้มีรสผาดเปรี้ยวขมและอมหวาน เปลือกหุ้มเมล็ดแข็ง

54

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนโคกป่าซี จังหวัดกาฬสินธุ์”

ลุงปานทอง จิตจักร ปราชญ์ชุมชนจากป่าชุมชนโคกป่าซี จังหวัดกาฬสินธุ์ เล่าว่า ถือได้ว่าทุกส่วนของมะขามป้อมมีคุณประโยชน์ต่อร่างกายเรามาก นับว่าเป็นยาอายุวัฒนะ ขนานหนึ่ง ต� ำ ราโบราณบอก สรรพคุ ณ ทางยาของมะขาม ป้อมไว้หลายอย่าง เช่นราก ใช้ ต้มดืม่ แก้รอ้ นใน แก้ทอ้ งเสีย แก้ โรคเรื้ อ น ลดความดั น โลหิ ต เปลือกใช้เปลือกแห้งบดเป็นผง โรยบาดแผล หรือต้มดื่มแก้โรค บิด ฟกช�ำ้ ปมก้าน ใช้เป็นยาบ้วน ปากแก้ปวดฟัน หรือต้มแล้วใช้ อม หรื อ ดื่ ม แก้ ป วดท้ อ งน้ อ ย กระเพาะอาหาร แก้ปวดเมื่อย กระดูก แก้ไอ แก้ตานซางในเด็ก ผลสดรับประทานเป็นผลไม้แก้ กระหายน�้ ำ ได้ เ ป็ น อย่ า งดี นอกจากนั้ น ยั ง เป็ น ยาบ� ำ รุ ง แก้หวัด แก้ไอ ละลายเสมหะ ขั บ ปั ส สาวะ เป็ น ยาระบาย รักษาคอตีบ รักษาเลือดออก ตามไรฟัน หรือต้มผสมกับน�ำ้ ผึง้ เป็นยาถ่ายพยาธิผลตากแห้ง น� ำ มาบดชงน�้ ำ ร้ อ นแบบชา ดื่มแก้ท้องเสีย แก้โรคหนองใน บ�ำรุงธาตุ แก้โรคบิด ใช้ล้างตา ตาแดง แก้ ต กเลื อ ด แก้ โ รค ดีซ่าน โลหิตจาง เมล็ดเผาไฟ จนเป็ น เถ้ า ผสมกั บ น�้ ำ มั น พื ช ทาแก้คัน หิด

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

55


มะดัน

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Garcinia schomburgkiana Pierre ชื่อวงศ์ : CLUSIACEAE ชื่ออื่น : ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้ต้นขนาดเล็ก สูงขนาด 7 -10 เมตร แตกกิ่งก้านเป็นพุ่ม เปลือกต้นเรียบสีน�้ำตาล อมด�ำ ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนาน กว้าง 2.5 เซนติเมตร ยาว 9 เซนติเมตร ปลายใบและ โคนใบแหลม ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบลื่น สีเขียวเข้มก้านใบยาว 0.5 - 1 เซนติเมตร ออกดอก เดี่ ย วหรื อ เป็ น กระจุ ก 3 -6 ดอก ตามซอกใบ มี ทั้ ง ดอกสมบู ร ณ์ เ พศและดอกเพศผู ้ ดอกสีเหลืองอมส้ม กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ค่อนข้าง กลม กลีบดอก 4 กลีบ รูปรีแกมรูปไข่ ปลายกลีบ ดอกมน ดอกเพศผู้มีเกสรเพศผู้ 10 - 12 อัน ผลรูปรี ปลายแหลมผิวเรียบสีเขียว เป็นมันลื่นมี รสเปรี้ยว เมล็ดมี 3 - 4 เมล็ด ติดกัน

56

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่ า เรื่ อ งสมุ น ไพรจาก “ป่ า ชุ ม ชน โนนใหญ่ จังหวัดศรีสะเกษ”

ลุงสูรย์ ดอกจัน ปราชญ์ชาวบ้านจากป่ า ชุมชนโนนใหญ่ จังหวัดศรีสะเกษ เล่าว่ารากของ ต้นมะดัน มีรสเปรี้ยว แก้เบาหวาน แก้ไข้หวัด แก้ไข้ ทับระดู ขับฟอกโลหิต กัดเสมหะในล�ำคอ แก้กระษัย แก้ระดูเสีย เป็นยาระบายอ่อนๆ เปลือกต้น แก้ไข้ทบั ระดู แก้โลหิตระดู ใบ มีรสเปรี้ยว แก้หวัด แก้ไอ แก้กระษัย แก้เสมหะพิการ แก้น�้ำลายเหนียว กัดเสมหะ แก้ประจ�ำเดือนพิการ แก้ระดูเสีย ขับฟอกโลหิต เป็นยาระบายอ่อนๆ แก้โลหิตพิการ ขับปัสสาวะ ผล มีรสเปรีย้ ว ล้างเสมหะ กัดเสมหะ ฟอกโลหิต แก้ไอ แก้ประจ�ำเดือนพิการ การน�ำ ไปปรุงเป็นยารับประทานส่วนมากนิยมใช้วิธีการต้ม ถ้าต้มตามหลักการแพทย์แผนไทยคือต้ม 3 เอา 1 โดยใช้น�้ำ 3 ส่วน ต้มเคี่ยวจนเหลือ 1 ส่วน แล้วเอายานัน้ มาผสมกับน�้ำอุ่นรับประทาน ใช้แก้เสมหะ แก้กระษัย ขับฟอก โลหิตประจ�ำเดือนได้ เป็นยาระบาย อ่ อ นๆ แต่ ข ้ อ ควรระวั ง คือ ผู ้ ที่มี ภาวะโลหิตจางไม่ควรรับประทาน พวกยาและอาหารที่ มี ร สเปรี้ ย ว เพราะจะยิ่งไปกัดฟอกโลหิตมาก ขึ้ น จะท� ำ ให้ เ กิ ด อั น ตรายต่ อ ร่างกายได้ นอกจากนี้ยังสามารถ น�ำกาฝากจากต้นมะดันมาตากแดด สั ก 2-3 วั น และใส่ ห ม้ อ ต้ ม ให้ เดือดพล่านใช้สำ� หรับกินแก้ปวดข้อ หรือเข่า ได้อย่างดี ถ้าได้กินเป็น ประจ�ำดีมาก นอกจากประโยชน์ ด้ า นอาหารและสมุ น ไพรแล้ ว ชาวบ้านรอบๆป่าชุมชนโนนใหญ่ยงั ได้นำ� ไม้มะดันมาปิง้ ไก่ซงึ่ เป็นสินค้า otop เปลือกที่ได้จากการเหลาไม้ ปิ ้ ง ไก่ ยั ง ได้ น� ำ มาท� ำ สีย ้ อ มผ้ า อีก ๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

57


มะหาด

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Artocarpus lacucha Roxb. ex Buch.-Ham. ชื่อวงศ์ : MORACEAE ชื่ออื่น : หาด (ทั่วไป) มะหาดใบใหญ่ (ตรัง) ม่วงกวาง (ยะลา) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูง 15 -25 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มกลมทึบ เปลือกต้น สีนำ�้ ตาลปนด�ำ ต้นแก่ผวิ จะหยาบและแตกเป็นสะเก็ดเล็กๆ ยอดอ่อนมีขนสีนำ�้ ตาลออกแดงหนา แน่น มีนำ�้ ยางสีขาว ใบเดี่ยวเรียงแบบสลับระนาบเดียว รูปไข่หรือรูปขอบขนาน กว้างประมาณ 15 -20 เซนติเมตร ยาวประมาณ 25 -30 เซนติเมตร ปลายใบมน ฐานใบมน ขอบใบเรียบ หรือมีซี่จักเล็กน้อย ใบแก่สีเขียวเข้ม เหนียวคล้ายหนัง ด้านบนมีขนหยาบเล็กน้อย ด้านล่างสี เขียวอมเทา มีขนหยาบสีเหลืองเล็กน้อย มีหใู บเล็กบาง รูปหอกซึง่ หลุดร่วงเร็วและมีขนปกคลุม หนาแน่น ดอกเป็นช่อกลมแน่นสีเหลืองหม่นถึงชมพูอ่อนแบบช่อกระจุก ดอกแยกเพศร่วมต้น ช่อดอกตัวผูก้ ลม ออกเป็นช่อเดีย่ วทีซ่ อกใบ ช่อดอกตัวเมียรูปไข่ หรือรูปขอบขนาน สีเหลืองอ่อน ออกตามกลีบช่วงบน ปลายกลีบดอกหยัก ผลสดมีเนื้อ เป็นผลรวมรูปร่างบิดเบี้ยวตะปุ่มตะป�่ำ เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5 -8 เซนติเมตร สีเหลืองอ่อน หรือส้ม ผลแก่สีเหลืองปนน�้ำตาล ผิวนอก มีขนนุม่ คล้ายก�ำมะหยี่ เนือ้ ในสีเหลืองเข้มถึงสีชมพู เมล็ดรูปขอบขนาน หรือเกือบกลม สีนำ�้ ตาลเทา จ�ำนวนมาก

58

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่ า เรื่ อ งสมุ น ไพรจาก “ป่ า ชุ ม ชนป่ า ดงหนองอี เ ฒ่ า จั ง หวั ด อุบลราชธานี”

พ่อใหญ่สา บรรจงทรัพย์ ปราชญ์ ชาวบ้านจากป่าชุมชนป่าดงหนองอีเฒ่า จังหวัดอุบลราชธานี เล่าให้ฟงั ว่าน�ำแก่นไม้ มะหาดมาสั บ แล้ ว น� ำ ไปต้ ม เคี่ ย วกั บ น�้ ำ จนเกิดฟอง ช้อนฟองที่ได้รวมกันท�ำให้แห้ง จะได้ผงสีขาวนวลจับกันเป็นก้อน น�ำไปย่าง ไฟให้เหลือง แล้วน�ำมาบดเป็นผง เรียกว่า “ผงปวกหาด” มีรสร้อนเมา น�ำมาชงกับน�ำ้ เย็น รับประทาน เป็นยาขับพยาธิตวั ตืดและพยาธิ ไส้เดือน หรือใช้ละลายน�ำ ้ ทาแก้ผื่นคัน แก่น รสร้อน ขับพยาธิตัวตืด แก้ลม แก้ท้องอืด เฟ้อ แก้กษัย แก้เส้นเอ็นพิการ แก้เบือ่ อาหาร แก้ลม ขับโลหิต ละลายเลือด ขับปัสสาวะ แก้ไข้ต่างๆ แก้น�้ำเหลืองเสีย แก้ประดงทุก ชนิด แก้หอบหืด แก้เสมหะ เปลือกต้นแห้ง รสฝาด ใช้เคีย้ วกับหมากแทนสีเสียด เปลือก ต้นสดเ ป ็ น ย า ขั บ พ ย า ธิ ต ้ ม กิน แ ก ้ ไ ข ้ ผ ล สุ ก รับประทานได้ รสหวานอมเปรี้ยว เนื้อไม้ มะหาดเป็นสีนำ�้ ตาลแกมเหลืองอ่อน เสี้ยนสน เนื้อไม้หยาบ แข็ง มีความเหนียว และทนทานมาก สามารถเลือ่ ยกบไสตบแต่ง ได้งา่ ย ปลวกและมอดไม่ชอบท�ำลาย นิยมใช้ ท�ำเครือ่ งดนตรี เช่น โปงลาง เสา สร้างบ้าน ท�ำสะพาน ท�ำหมอนรองรางรถไฟ ด้ามเครือ่ งมือ ทางการเกษตร

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

59


ย่านางแดง

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Lysiphyllum strychnifolium (Craib) A. Schmitz ชื่อวงศ์ : FABACEAE ชือ่ อืน่ : สยาน (ตาก ล�ำปาง) หญ้านางแดง (ตะวันออกเฉียงเหนือ) เครือขยัน เถาขยัน (เหนือ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้เถาเนื้อแข็ง พาดพันไปตามต้นไม้อ่นื ยาวได้ถงึ 5 เมตร เถาขนาดกลางๆ มักแบนมี ร่องตรงกลาง สีออกเทาน�้ำตาล เถาแก่กลม สีน�้ำตาลแดง มีมือพันส�ำหรับยึดเกาะออกเป็นคู่ ปลายม้วนงอใบดกหนาทึบ ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่แกมขอบขนาน กว้าง 3 -7 เซนติเมตร ยาว 6 -12 เซนติเมตร ผิวใบมัน สีเขียวเข้ม ปลายใบเว้าตื้น กึ่งเรียวแหลมถึงมีติ่งหนาม โคนใบกลม ถึงรูปหัวใจตื้น ขอบใบเรียบ ผิวเกลี้ยงทั้งสองด้าน ดอกแบบช่อกระจะ ออกที่ปลายกิ่ง รูปทรง กระบอกแคบ โค้งเล็กน้อย ปลายบานห้อยลง ยาว 15 -100 เซนติเมตร ดอกย่อยจ�ำนวนมาก กลีบดอกสีแดงสด มี 5 กลีบ รูปไข่กลับ ยาว 1.2 -1.5 เซนติเมตร มีขนสีขาวปกคลุม ปลายกลีบ ดอกแหลมมน ฐานรองดอกรูประฆัง ผลเป็นฝักแบน รูปขอบขนาน ปลายแหลม โคนฝักเป็น รูปหอก สีเขียวอ่อน เปลือกแข็ง เมื่อแก่แตกอ้า ยาว 15 -16 เซนติเมตร เมล็ด 8 -9 เมล็ด รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 1.7 เซนติเมตร

60

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรือ่ งสมุนไพรจาก “ป่าชุมชน บ้านดอนกอย จังหวัดสกลนคร”

ลุงประสงค์ สุราราช ประธานป่า ชุมชนบ้านดอนกอย จังหวัดสกลนคร และ ลุงสมพลู จันทร์ลาวงศ์ ปราชญ์ชาวบ้านจาก ป่าชุมชนบ้านดอนกอย จังหวัดสกลนคร เล่าว่าชาวบ้านได้น�ำเอาต้นย่านางแดงมาต้ม กินควบคู่กับสมุนไพรชนิดอื่นๆ อาทิเช่น เถา เอ็นอ่อน, ส่องฟ้า, หนอนหน่าย, ก�ำแพงเจ็ดชัน้ , กระเบา ท�ำเป็นยาสมุนไพรซึ่งมีสรรพคุณเป็น ยาแก้ ท ้ อ งเสีย เป็ น ยาระบาย แก้ เ จ็ บ ท้ อ ง คุณลุงทัง้ สองยังได้เล่าอีกว่าสูตรยาสมุนไพรนี้ ได้รับการถ่ายทอดมาจากสมัยปู่ย่าตายาย ท่านได้น�ำมาต้มกินเพื่อรักษาตามสูตรโบร�่ำ โบราณ ซึ่งสรรพคุณ ท า ง ย า อื่ น ๆ ข อ ง ย่ า นางแดงก็ มี อี ก มากมาย เช่น ช่วยบ�ำรุง ธาตุในร่างกาย ช่วยบ�ำรุง หัวใจ ช่วยแก้ อ าการ ท ้ อ ง ผู ก ไ ม ่ ถ ่ า ย ด้วยการใช้ฝนกับน�้ำ หรือน�้ำซาวข้าว หรือ น� ำ มาต้ ม กั บ น�้ ำ ดื่ ม รากหรือเหง้าใช้เป็น ยาแก้ไข้ ถอนพิษไข้และแก้ไข้ทงั้ ปวง ช่วยล้างสารพิษหรือสารตกค้างจากยาฆ่าแมลงในร่างกาย หรือเกิดอาการแพ้ต่าง ๆ ด้วยการใช้ใบหรือเถาน�ำมาต้มดื่มเป็นประจ�ำหรือใช้กินแทนน�ำ ้ ก็จะ ช่วยลดอาการดังกล่าวได้ ช่วยล้างสารพิษจากยาเสพติด ซึง่ หมอพืน้ บ้านบางแห่งได้นำ� รากหรือ เถามาฝนให้ผู้ป่วยที่ก�ำลังเลิกยาเสพติดดื่ม เพื่อช่วยล้างพิษของยาเสพติดในร่างกาย

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

61


รางแดง

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ventilago denticulata Willd. ชื่อวงศ์ : RHAMNACEAE ชื่ออื่น : แสงอาทิตย์ (ประจวบคีรีขันธ์) ก้องแกบ (ภาคเหนือ) เถาวัลย์เหล็ก (ภาคกลาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

เป็นไม้เถามักเลือ้ ยตามต้นไม้และกิ่งไม้อ่นื เถาเป็นสีเทา ผิวของล�ำต้นหรือเถาเป็นรอย แตกระแหงเป็นร่องสีแดงสลับ ท�ำให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม ใบเป็นใบเดี่ยว แผ่นใบเป็นสี เขียว ใบคล้ายกับใบเล็บมือนางหรือกะดังงาไทย ออกเรียงสลับ ลักษณะของใบเป็นรูปไข่ยาว รูปไข่แกมขอบขนาน หรือรูปวงรีแกมขอบขนาน ปลายใบแหลม ขอบใบเป็นจักตื้น ใบมีขนาด กว้ า งประมาณ 4 -6 เซนติเ มตร และยาวประมาณ 8 -14 เซนติเ มตร ส่ว นก้ า นใบสั้น ดอกรางแดง ออกดอกเป็นช่อตามซอกใบใกล้กับปลายยอด ดอกย่อยมีจำ� นวนมาก กลีบดอก เป็นสีเขียวแกมเหลืองหรือสีเขียวอมขาว ผลรางแดง ผลเป็นผลแห้งไม่แตก ผลมีรูปร่างกลม ด้านปลายผลแผ่เป็นครีบคล้ายปีกแข็ง ภายในมีเมล็ดประมาณ 1 -2 เมล็ด

62

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนดอนเจ้าปู่ จังหวัดนขอนแก่น”

ลุงณรงค์ ศรีพุทธา ปราชญ์ชาวบ้านจากป่าชุมชนดอนเจ้าปู่ จังหวัดนขอนแก่น เล่าว่า ต้นรางแดง มีสรรพคุณทางยาหลายอย่าง ใบมีรสเย็นน�ำมาคั่วหรือปิ้งไฟให้กรอบแห้ง แล้วชงผสมน�ำ้ อุ่นดื่มเป็นน�้ำชา เรียกว่า “ชารางแดง” นอกจากจะช่วยให้ ชุ่ม คอแล้ว ยังมีฤทธิ์ ส�ำคัญช่วยลดความดันโลหิต ลดคอเรสเตอรอล และน�้ำตาลในเลือด ด้วยเหตุนี้บางคนจึง นิยมดื่มชารางแดงเพื่อลดน�้ำหนัก เพราะ ช่วยเผาผลาญไขมันให้ออกมาในรูปเหงื่อ และปัสสาวะ นอกจากนี้ยังช่วยคลายความ เมื่อยล้าจากอาการตึงของเส้นเอ็นอีกด้วย บางความเชื่อ ก็ เ ชื่อ ว่ า การดื่ม ชารางแดง บ่อยๆ เพือ่ ช่วยป้องกันโรคภัยไข้เจ็บต่างๆได้ เถา รสจืดเย็น น�ำมาหัน่ เป็น ท่อน ตากแดด แล้วน�ำไปต้มน�้ำดื่มหรือดองเหล้าขาว จะมี ฤทธิ์เป็นยาบ�ำรุงร่างกาย รักษาและแก้โรค กษั ย เส้ น คลายความปวดเมื่อ ย ช่ ว ยขั บ ปัสสาวะและเหงื่อส�ำหรับผู้ที่ผอมแห้งและ รั บ ประทานอาหารได้ น ้ อ ยจะช่ ว ยบ� ำ รุ ง ร่างกายให้เจริญอาหารมากขึ้น

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

63


แสง

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Xanthophyllum lanceatum J. J. Sm. ชื่อวงศ์ : POLYGALACEAE ชื่ออื่น : แสงกึน (อุบลราชธานี) กระเบียน (กาญจนบุร)ี ชุมแสง (ภาคกลาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 5 -10 เมตร ทรงพุ่ม แตกกิ่งก้านสาขามาก มีกิ่งห้อยย้อยลง ปลายกระดกขึ้น เปลือกเรียบสีน�้ำตาลอมเทาล�ำต้นหักงอ ใบเดี่ยวยาวรี เรียงสลับ ปลายเรียว แหลม โคนใบสอบเรียว ขอบใบเรียบ แผ่นใบสีเขียวเป็นมันวาว ใบอ่อนสีเขียวออกเหลือง ออกดอกเป็นช่อ ดอกย่อยขนาดเล็กสีขาวออกเขียว ออกตามซอกใบหรือซอกใบใกล้กิ่ง ออกเป็ น ช่ อ แบบช่ อ เชิ ง ลดที่ ป ลายกิ่ ง ช่ อ ดอกยาว ผลเดี่ ย วสี เ ขี ย วหม่ น ขนาดประมาณ 2 เซนติเมตร สุกมีสีเหลืองอ่อน ผลเมล็ดแข็งค่อนข้างกลม ผลสุกสีเหลืองอ่อน นิเวศวิทยา เจริญเติบโต ในสภาพที่ชื้นแฉะน�้ำท่วม ขึ้นริมน�้ำล�ำห้วย และที่ดอนก็ขึ้นได้

64

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านคูขาด จังหวัดอุบลราชธานี”

ลุ ง ทองพูน บุญประการ หมอยาจากป่ า ชุ มชนบ้ า นคู ขาด จั งหวั ด อุ บ ลราชธานี เล่าว่า ต้นแสงเป็นยาเย็นคือการออกฤทธิท์ ำ� ให้รา่ งกายเย็นสบาย ต้นแสงมีประโยชน์ แก้โรคซาง ของเด็ก (โรคเบื่ออาหารของเด็ก ผมมีกลิ่นคาวเหม็นตลอดเวลา เหงื่อออกเยอะ) แสงเป็น สมุนไพรหลักและสามารถน�ำสมุนไพรอย่างอื่นมาผสมได้อีกด้วย การแก้ซางในเด็ก วิธีใช้โดย การน�ำแก่นสดหรือกิ่งสด น�ำไปแช่รวมกับต้นฮังซุม แตงแซง หัวลิง สั้น แช่อาบรวมกันจะได้ผลดียิ่งขึ้น แช่นาน 3 -4 ชั่วโมง ปริมาณสมุนไพรในการแช่อาบ ไม่มเี กณฑ์ตายตัวขึน้ กับปริมาณอาบมากหรือจะอาบน้อย ก็ใส่สมุนไพรให้พอดีและเท่าๆกัน ทุกอย่าง การแช่ สมุนไพรนานเกินไปจะมีกลิ่นแรงจะอาบไม่ได้ วิธีการ อาบส่วนมากจะอาบช่วงเที่ยงให้แช่ตอนเช้า ถ้าอาบ ตอนเย็นแช่ตอนเที่ยงจะท�ำให้สมุนไพรออกฤทธิ์พอดี เล่าว่าเวลาที่ไปเก็บสมุนไพรห้ามให้เงาตัวเราทับต้น สมุ น ไพรเพราะจะท� ำ ให้ ส มุ น ไพรนั้ น ใช้ ไ ม่ ไ ด้ ผ ล การรักษาแช่อาบจนกว่าอาการจะดีขนึ้ หรือแช่อาบตาม ที่ต้องการ ยอดอ่อนนิยมน�ำมาต้มกินกับน�้ำพริก ลาบ หรืออาหารรสจัดต่างๆ มีให้กินในช่วงปลายฤดูหนาว เข้าฤดูร้อน นอกจากนี้ยังใช้ท�ำฟืน ส่วนผลสุกใช้เป็น อาหารปลา สรรพคุณอีกอย่างของต้นแสงคือแก่นต้น น�ำมาแช่น�้ำอาบแก้ฟกช�้ำภายในได้ แต่บ้านคูขาดนิยม ใช้ต้นแสงแก้โรคซางของเด็ก

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

65


หนอนตายหยาก ชื่อวิทยาศาสตร์ : Stemona ชื่อวงศ์ : STEMONACEAE ชื่ออื่น : ปงช้าง (ภาคเหนือ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

collinsae Craib

ไม้เถาล้มลุกอายุหลายปี ล�ำต้นตั้งตรง สูง 20 -40 เซนติเมตร รากแบบรากกลุ่มอยู่ กันเป็นพวง คล้ายนิ้วมือ สีเหลืองอ่อน อวบน�้ำ มีรากใต้ดนิ จ�ำนวนมาก ยาว 10 -30 เซนติเมตร ใบเดียวเรียงสลับรูปหัวใจ ยาว 9 -15 เซนติเมตร กว้าง 6 -10 เซนติเมตร ปลายใบแหลม ขอบ ใบเรียบ โคนใบรูปหัวใจ ผิวใบเกลี้ยง ดอกช่อออกที่ซอกใบ ใบประดับรูปขอบขนาน ปลายมน กลีบรวมมี 4 กลีบ สีเหลืองแกมชมพู ขนาดไม่เท่ากัน เรียง 2 ชัน้ ผลค่อนข้างแข็งสีนำ�้ ตาลขนาด เล็ก พบตามป่าดิบแล้ง เมื่อถึงฤดูแล้งต้นเหนือดินจะโทรมหมดเหลือแต่รากใต้ดนิ เมื่อเข้าสู่ฤดู ฝนใหม่ ใบจึงจะงอกออกมาพร้อมทั้งออกดอก รากมีพิษ รับประทานเข้าไปท�ำให้มึนเมา ถึงตายได้

66

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่ า เรื่ อ งสมุ น ไพรจาก “ป่ า ชุ ม ชนสามสิ บ ส่ า งและเขาเขี ย ว จั ง หวั ด นครราชสีมา”

ลุงนิยม ตุนาด ปราชญ์ชาวบ้านจากป่าชุมชนสามสิบส่างและเขาเขียว จังหวัด นครราชสีมา ได้เล่าถึงการใช้ประโยชน์ของต้นหนอนตายหยากว่า ใช้ราก ต้มน�ำ้ ดืม่ ถ่ายพยาธิ ตัวจีด๊ น�ำรากผสมกับหญ้าหวายนาและชะอม ต้มน�ำ้ ดืม่ ถ่ายพยาธิตวั จีด๊ คัน้ น�ำ้ พอก แก้หดิ เหา ต�ำรายาไทย ใช้ราก ซึ่งมีรสเมาเบื่อ ปรุงยารับประทาน แก้โรคผิวหนังผื่นคันน�้ำเหลืองเสีย รมหัวริดสีดวงให้ฝ่อแห้งไป พอกทาแก้โรคผิวหนัง ฆ่าหิดเหา ฆ่าเชื้อพยาธิภายใน มะเร็งตับ น�ำรากมาดองเหล้าขาว แล้วละลายน�ำ ้ ฉีดฆ่าแมลงศัตรูพชื น�ำรากมาโขลกบีบเอาน�ำ้ หยอดแผล วัวควายซึ่งมีหนอนไช หนอนจะตายหมด

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

67


หมักม่อ

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Rothmannia wittii (Craib) Bremek. ชื่อวงศ์ : RUBIACEAE ชื่ออื่น : หมักหม้อ (ภาคเหนือ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้พุ่ม สูง 6 – 8 เมตร เปลือกสีนำ�้ ตาลอมด�ำ แตกกิ่งก้านสาขากว้าง กิ่งอ่อนมีขนอ่อน สีน�้ำตาลแดงปกคลุมหนาแน่น แตกกิ่งเป็นชัน้ คล้ายกับฉัตร มีทรงพุ่มกลม โปร่ง ใบเดี่ยว เรียง ตรงข้ามเป็นคู่ ใบรูปขอบขนาน หรือรูปวงรีแกมขอบขนาน กว้าง 12 – 16 เซนติเมตร ใบอ่อน มีขนปกคลุมทัง้ สองด้าน ใบค่อนข้างนิม่ มีขนาดใหญ่ และเห็นเส้นแขนงใบชัดเจน หูใบอยูร่ ะหว่าง ก้านใน ปลายใบ และโคนใบแหลม สีเขียวสด เวลามีดอกจะทิ้งไป ดอกเป็นช่อ ออกเป็นกระจุก ที่ซอกใบใกล้ปลายยอด สีขาวนวล กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง มีดอกย่อย 5 -12 ดอก ดอกย่อยรูประฆัง ปลายแยกเป็น 5 กลีบ และบานโค้งงอกลับ โคนกลีบด้านในมีแต้มสีเขียว และ แถบประสีม่วง ดอกบานคว�่ำลง เมื่อบานมีเส้นผ่าศูนย์กลางของดอก 3 – 5 เซนติเมตร มีกลิ่น หอมอ่อนๆ ตอนกลางคืน ออกดอกช่วงเดือนธันวาคม – กุมภาพันธ์ ผลสดรูปทรงกลมขนาด 3 – 4 เซนติเมตร เปลือกผลเรียบ แข็ง มีรอยตะเข็บสีน�้ำตาลเป็นสันเล็กน้อย แบ่งครึ่งลูก เนื้อผลมีรสหวานเล็กน้อย มีสีเขียวเข้ม เมื่อแก่มสี ีด�ำ มีเมล็ดจ�ำนวนมาก

68

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนโคกหินลาด จังหวัดมหาสารคาม”

น้ า ร� ำ ไพ แสนสุ พ รรณ์ หมอยาในหมู ่ บ ้ า นจากป่ า ชุ ม ชนโคกหิ น ลาด จั ง หวั ด มหาสารคาม ทีไ่ ด้รบั การถ่ายทอดภูมปิ ญ ั ญาการใช้สมุนไพรมาจากพ่อของเขา และด้วยความ ชอบเกี่ยวกับสมุนไพรเป็นส่วนตัวอยู่แล้ว น้าร�ำไพได้เล่าว่า ต้นหมักม่อ สามารถใช้ประโยชน์ ได้เกือบทุกส่วนของต้น และดอกก็มกี ลิ่นหอมหรือที่เรียกว่า “สวยเป็นยา” และง่ายในการเก็บ หาเพื่อใช้ประโยชน์เพราะมีมากมายในป่าชุมชนโคกหินลาด การน�ำไปใช้เป็นยา โดยการขูด เปลือกชัน้ ในที่มยี างสีขาวใช้อมเป็นยาแก้เจ็บปากแก้ร้อนในสมานบาดแผลแก่นและราก ต้มดืม่ แก้โรคท้องอืดท้องเฟ้อ แก้ไข้ ล�ำต้นน�ำมาผสมกับสมุนไพรอื่นต้มดื่มแก้และรักษากามโรค แก้ทอ้ งผูก และใช้ปรุงยาต้มดืม่ แก้ไข้ ถ่ายเส้นเอ็น แก้อมั พฤกษ์อมั พาต เหน็บชา ถ่ายพิษในตับ ขับปัสสาวะ ผล ใช้ดองแล้วเป็นยาบ�ำรุงก�ำลัง ประโยชน์ทางด้านอาหาร เมล็ดข้างในของ ผลสุกรับประทานได้ มีรสมันคล้ายถั่ว

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

69


เหมือดแอ่

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Memecylon edule Roxb. ชื่อวงศ์ : MELASTOMATACEAE ชื่ออื่น : พลองเหมือด (ภาคกลาง) พลองด�ำ (ประจวบคีรีขันธ์) เหมียด (สุรินทร์) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้พุ่ม สูง 3 – 7 เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม แผ่น ใบรู ป ไข่ ก ลั บ กว้ า ง 3 – 4 เซนติ เ มตร ยาว 5 – 10 เซนติ เ มตร ปลายใบแหลม โคนใบรู ป ลิ่ ม ขอบใบเรี ย บ ใบมันเรียบ ก้านใบยาว 0.4 – 0.5เซนติเมตร ดอกสีน�้ำเงิน อมม่วง ช่อผลยาว 1 -2 เซนติเมตร ออกตามกิ่งและ ซอกใบ ผลออกเป็นกระจุก ก้านผลย่อย ยาว 0.3 - 0.5 เซนติเมตร ผลย่อย 2 - 10 ลูก ผลสดรูปกลม เส้นผ่าน ศูนย์กลาง 0.5 - 0.6 เซนติเมตร

70

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้าน พรเจริญ จังหวัดนครพนม”

ลุ ง ค� ำ ผ่ อ น บุญหาญ ปราชญ์ช าวบ้ า นจาก ป่ า ชุ ม ชนบ้ า นพรเจริญ จัง หวัดนครพนม เล่ า ว่ า ต้นเหมือดแอ่มีสรรพคุณใช้เป็นยาลดไข้ตัวร้อน โดย การน� ำ ใบเหมื อ ดแอ่ 1 ก� ำ มื อ มาแช่ น�้ ำ 1.5 ลิ ต ร แล้วน�ำมาเช็ดตัวของคนทีเ่ ป็นไข้ จะสามารถลดไข้ตวั ร้อนได้อย่างรวดเร็ว และสามารถใช้ใบของ ต้นเหมือดแอ่ เป็นยาป้องกันมดหรือแมลงวันและมอดได้ เช่น การท�ำพริกแห้ง จะเอาใบของ เหมือดแอ่ มาผสมแล้ว ตากเพื่อ ป้อ งกันมดหรือ แมลงไม่ใ ห้ มาท� ำ ลายพริก ซึ่ง มีวิธีท�ำ ดัง นี ้ พริก 1 กิโลกรัม ผสมกับใบเหมือดแอ่ 1 ก�ำมือ น�ำมาคลุกให้เข้ากัน แล้วน�ำไปตาก จะสามารถ ป้องกันมด, มอด และแมลงวัน ที่มาท�ำลายพริกที่ตากได้

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

71


กะตังใบ

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Leea indica (Burm. f.) Merr. ชื่อวงศ์ : VITACEAE ชื่ออื่น : คะนางใบ (ตราด) ดังหวาย (นราธิวาส) ตองจ้วม (ภาคเหนือ) สะดัด (สระแก้ว) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้พุ่ม หรือไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 1 -3 เมตร แตกกิ่งก้านตัง้ แต่โคนต้น ใบเป็นใบประกอบ แบบขนนก 1 -3 ชั้น ใบย่อยมี 3 -7 ใบ ปลายใบคี่ เรียงแบบสลับ ใบย่อยออกเป็นคู่ตรงข้าม หูใบรูปไข่กลับ แผ่เป็นแผ่น มักจะเกลี้ยงหรือมีขนประปราย หูใบร่วงง่าย ใบย่อยรูปขอบขนาน แกมรูปไข่ ถึงรูปหอกแกมรูปไข่ รูปรี หรือรูปใบหอกแกมรี ปลายแหลมถึงเรียวแหลม โคนใบ สอบหรือกลม หรือเว้าเล็กน้อย ขอบใบจักมนหรือจักแบบฟันเลื่อย หรือแบบซี่ฟันตื้นๆ เนื้อใบ หนาปานกลาง หลังใบและท้องใบเป็นลอนตามเส้นใบ แผ่เป็นแผ่น ดอกเป็นช่อตั้งขึ้นตาม ซอกใบ ก้านดอกสีแดง ดอกย่อยสีเขียวอ่อน ดอกตูมรูปทรงกลมสีแดงเข้มพอบานสีขาว ผลกลม แป้น ผิวบาง มีเนื้อนุ่ม ผลอ่อนสีเขียวพอแก่จัดสีแดงเข้มจนถึงสีม่วงด�ำ มี 6 เมล็ด

72

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรือ่ งสมุนไพรจาก “ป่าชุมชน บ้านพร้าว จังหวัดสระแก้ว”

ลุงบุดดี อรัญนาจ ปราชญ์ชาวบ้าน จากป่าชุมชนบ้านพร้าว จังหวัดสระแก้ว ท่านได้เล่าว่าได้ มี ป ระสบการโดยตรงจาก การน� ำ รากของต้ น สะดั ด หรือ ต้ น กะตั ง ใบ มารักษาโรคงูสวัด โดยการเลือกต้นกะตังใบที่ ใหญ่ซึ่งมีดอกบานหรือดอกตูมก็ได้ ดูล�ำต้นที่ มีสีแดงเข้ม โดยขุดให้ลกึ ลงไปประมาณ 1 คืบ น�ำรากมาท�ำความสะอาด หั่นเป็นท่อนแล้ว น�ำมาฝนกับหินลับมีด เพื่อให้ได้เนื้อของราก มาผสมกับน�ำ ้ แล้วใช้สำ� ลีชบุ น�ำ้ ทีผ่ สมกับราก กะตังใบ มาทาบริเวณที่เป็นโรคงูสวัด ซึ่งจะ รู ้ สึ ก เย็ น ให้ ท าวั น ละสองครั้ ง เช้ า และเย็ น โดยใช้ได้ทั้งรากสดและรากแห้ง เมื่อผสมกับ น�้ำแล้วถ้าใช้ไม่หมดน�ำมาใส่ตู้เย็นเอาไว้ใช้ ครัง้ ต่อไปได้ เพียงไม่กวี่ นั อาการของโรคงูสวัด ที่ลุงบุดดีเป็นอยู่ ก็ค่อยๆดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

73


ก�ำแพงเจ็ดชั้น

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Salacia chinensis L. ชื่อวงศ์ : CELASTRACEAE ชื่ออื่น : ตะลุ่มนก (ราชบุร)ี ตาไก้ (พิษณุโลก) สามชัน้ (เลย) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้พุ่มรอเลือ้ ย สูง 2 -6 เมตร เปลือกล�ำต้นเรียบสีเทานวล เนื้อไม้มีวงปีสนี �้ำตาลแดง เข้ม จ�ำนวนหลายชั้นเห็นชัดเจน เรียงซ้อนกันเป็นชั้น 7 -9 ชั้น ใบเรียงตรงข้าม สลับตั้งฉาก แผ่นใบค่อนข้างหนา รูปวงรีกว้าง 2 -4 เซนติเมตร ยาว 4 -8 เซนติเมตร ปลายแหลมหรือมน โคนใบสอบ ขอบหยักหยาบๆ หลังใบเรียบเป็นมันสีเขียวเข้ม ท้องใบเรียบ เนื้อใบกรอบ ก้านใบ ยาว 0.6 -1.5 เซนติเมตร ดอกสีเขียวอมเหลืองหรือเหลือง ออกเป็นช่อ แบบกระจุกหรือช่อ แยกแขนงสัน้ ๆตามซอกใบ กลีบดอก 5 กลีบ สีเหลืองปนเขียว ออกเป็นกลุ่มหรือช่อสัน้ ๆ ทีซ่ อก ใบ หรือกิ่งก้าน ปลายกลีบดอกมนบิดเล็กน้อย แกนดอกนูนเป็นวงกลมมี 3 -6 ดอก ในแต่ละ ช่อ ผลสดรูปร่างค่อนข้างกลม ผิวผลเกลี้ยง รูปกระสวยกว้าง หรือรี ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 -2 เซนติเมตร ผลอ่อนสีเขียว ผลสุกสีแดงหรือสีแดงอมส้ม เมล็ด กลมขนาดใกล้เคียงกับ ผลมี 1 เมล็ด ออกดอกช่วงเดือน มกราคม ถึงเดือนมีนาคม ผลรับประทานได้

74

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพร จาก “ป่ า ชุ ม ชนบ้ า น โนนหิ น ผึ้ ง จั ง หวั ด ปราจีนบุรี”

ลุงทองย้อย โชฎก ปราชญ์ ช าวบ้ า นจากป่ า ชุ ม ช น บ ้ า น โ น น หิ น ผึ้ ง จังหวัดปราจีนบุรี เล่าว่า การน�ำต้นก�ำแพงเจ็ดชั้นมา ใช้ประโยชน์ในด้านสมุนไพร โดยมี ขั้ น ตอน คื อ เตรี ย ม เปลือ กล� ำ ต้ น หรือ รากของ ต้นก�ำแพงเจ็ดชั้น ขนาดเท่า ฝ่ามือ (อาจสับเป็นชิ้นเล็กๆ ก็ได้) ผสมกับเปลือกต้นหรือ ร า ก ข อ ง ต ้ น ติ้ ว ห ม ่ อ น ในสัดส่วนที่เท่ากันน�ำมาต้ม กับน�ำ้ สะอาดในหม้อดินหรือ หม้อเคลือบ โดยให้ปริมาณ น�้ ำ อยู ่ ใ นระดั บ พอดี กั บ ยา โดยใช้ ไ ฟอ่ อ น ระยะเวลา ประมาณ 20 นาที จนเดือด ทิ้ ง ไว้ จ นอุ ่ น แล้ ว น� ำ มาดื่ ม ดื่มวันละ 2 เวลา ก่อนหรือ หลังอาหารเช้า - เย็น โดยมี สรรพคุณทางยา แก้โรคไต แก้ท้องผูก ยาระบาย แก้ลม ตี ขึ้ น แก้ ป วดเมื่ อ ย ขั บ ปัสสาวะ

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

75


ก�ำลังวัวเถลิง

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Anaxagorea luzonensis A. Gray ชื่อวงศ์ : ANNONACEAE ชื่ อ อื่ น : ชะแมบ (ตราด) ปู น (สุ ร าษฎร์ ธ านี ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ช้ า วั ว เถลิ ง (ประจวบคี รี ขั น ธ์ )

ไม้พุ่ม สูง 3 -6 เมตร แตกกิ่งก้านหนาแน่น เปลือกต้นสีน�้ำตาลไหม้ ใบเดี่ยว ออกเรียง สลับ รูปขอบขนาน หรือรูปรีแกมรูปหอก ปลายแหลม โคนมน สีเขียวสด ใบดกและหนาทึบ ให้ร่มเงาดีมาก ดอก ออกเป็นดอกเดี่ยวๆ หรือเป็นช่อตามซอกใบ 2 -3 ดอก กลีบดอกสีเหลือง นวลเกือบขาว ดอกกลิ่นหอมอ่อนๆ เวลามีดอกดูสวยงามแปลกตามาก ผลสด รูปทรงคล้าย กระสวย มีเมล็ด 1 -2 เมล็ด ดอกออกได้เรื่อยๆ ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดและการตอนกิ่ง

76

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่ า เรื่ อ งสมุ น ไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านลานคา จังหวัด ราชบุรี”

นายสมพร สีทอง ปราชญ์ ชาวบ้านจากป่าชุมชนบ้านลานคา จั ง หวั ด ราชบุ รี ได้ เ ล่ า ให้ ฟ ั ง ถึ ง ประโยชน์ของต้นก�ำลังวัวเถลิง ทีข่ นึ้ ใน ป่าชุมชนบ้านลานคาว่า เป็นทีท่ ราบกัน ดีในแวดวงหมอพื้นบ้านของไทย ว่า สมุนไพรก�ำลังวัวเถลิงสรรพคุณดีมาก ในการเอามาปรุ ง เป็ น ยาเสริ ม พลั ง ความแข็ ง แรงในเพศชาย โดยเอา เปลื อ กและเนื้ อ ไม้ ใ ส่ ล งไปด้ ว ยใน สมุนไพรต�ำรานัน้ ๆ หรือจะเป็นการเอา มาดองเหล้า หรือเอามาปรุงผสมกับ พืชสมุนไพรชนิดอื่นๆ บดละเอียดเป็น ยาผง เอามาเป็นยาชงก็ได้ หรือเอามา คลุกกับน�้ำผึ้งเป็นยาลูกกลอนเก็บไว้ ใช้ได้นานขึ้น หรือวิธงี ่ายๆเลยโดยการ ใช้เนือ้ ไม้ และ เปลือกต้น กะจ�ำนวนพอ ประมาณเท่ากัน ต้มน�ำ้ ดืม่ วันละ 2 เวลา ก่อนหรือหลังอาหารเช้า และก่อนนอน ครัง้ ละ 1 แก้ว เป็นยาบ�ำรุงโลหิต ท�ำให้ ธาตุสมบูรณ์ บ�ำรุงเส้นเอ็น แก้ปวด เมื่ อ ยตามร่ า งกาย และบ� ำ รุ ง ก� ำ ลั ง ได้ ดี ม าก ส่ ว นเนื้ อ ไม้ แ ละรากให้ ก ะ จ� ำ นวนพอประมาณต้ ม น�้ ำ เดื อ ด ดื่มขณะอุ่น เป็นยาบ�ำรุงน�้ำนมสตรีที่ ก�ำลังอยูไ่ ฟ นิยมใช้กนั มาแต่โบราณแล้ว ๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

77


ขันทองพยาบาท

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Suregada multiflora (A.Juss.) Baill. ชื่อวงศ์ : EUPHORBIACEAE ชื่ออื่น : ฮ่อสะพานควาย ยางปลอก (แพร่ น่าน) ดูกหิน (สระบุร)ี ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้ยืนต้น สูง 7 -13 เมตร ล�ำต้นตัง้ ตรง เป็นทรงพุ่มแน่นทึบ แตกกิ่งก้านค่อนข้างกลม กิง่ ก้านอ่อนและห้อยลูล่ ง ทีเ่ ปลือกต้นเป็นสีนำ�้ ตาลแก่ และแตกเป็นร่องแบบตืน้ ๆ ตามยาว เนือ้ ไม้เป็นสีขาว ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานแกมรูปหอก กว้าง 3 -8 เซนติเมตร ยาว 9 - 22 เซนติเมตร เนือ้ ใบหนาทึบ เหนียว หลังใบเรียบลืน่ เป็นมัน ท้องใบเรียบสีออ่ นกว่า ฐานใบรูปหัวใจ ปลายใบเป็นติ่งยาวขอบใบจักฟันเลื่อย ไม่มีขน มีต่อมใสๆ ขนาดเล็ก ดอก สีเหลืองออกเป็นช่อ สั้นๆ ตรงข้ามกับใบ มีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ ไม่มีกลีบดอก ดอกตัวผู้มีเกสรตัวผู้จ�ำนวนมากมี ดอกตัวเมีย รังไข่มี 3 ช่อง ตอนปลายจะแยกเป็น 2 แฉก ดอกแยกเพศแยกต้น มักผลิดอกใน เดือนมีนาคม ถึง เดือ นพฤษภาคม ผลทรงกลมมีร ่ อ งแบ่ ง เป็ น 3 พู เส้ น ผ่ า นศู น ย์ ก ลาง 2 เซนติเมตร ผลเมื่อยังอ่อนสีเขียว และจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองเมื่อผลสุก

78

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่ า เรื่ อ งสมุ น ไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านเขาโล้น จังหวัด พิจิตร”

ลุ ง ล�่ ำ ค� ำ ยิ น ดี ปราชญ์ ชาวบ้านจากป่าชุมชนบ้านเขาโล้น จั ง หวั ด พิ จิ ต ร ได้ เ ล่ า ถึ ง การใช้ ประโยชน์จากต้นขันทองพยาบาทว่า ได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ โดยตอนแรกใช้ภายในครัวเรือนก่อน ต่อมาได้เผยแพร่ใช้ในชุมชนและน�ำไป ขายตามท้องตลาด โดยสมุนไพร ทีน่ ำ� ไปใช้เป็นส่วนประกอบนัน้ เป็นผลผลิต ที่ได้จากป่าชุมชนบ้านเขาโล้น และ การใช้ ป ระโยชน์ จ ากต้ น ขั น ทอง พยาบาทใช้เฉพาะส่วนของล�ำต้นโดย การน�ำมาผ่าเป็นชิน้ ๆ ตากแดดให้แห้ง และน�ำมาต้มรวมกับสมุนไพรชนิดอืน่ โดยมีสตู ร ดังนี้ ล�ำต้น เถาวัลย์เปรียงตากแห้ง ประมาณ 1 ขีด ต้นขันทองพยาบาท ตากแห้ ง ประมาณ 1 ขี ด รากเครื อ เขาคอนตากแห้ ง ประมาณ 1 ขีด ล�ำต้นห้วยขาแข้งตากแห้ง ประมาณ 1 ขีด ลูกปอบิดตากแห้ง ประมาณ 1 ขีด ล�ำต้นรางแดงตากแห้ง ประมาณ 1 ขีด ใบเตยตากแห้ง ประมาณ 1 ขีด น�ำสมุนไพร ทั้งหมดมาต้มรวมกันโดยเติมน�้ำให้ท่วมสมุนไพร ต้มจนน�้ำ จะเปลี่ยนเป็นสีแดงรับประทานได้ตลอดเวลา หรือแทนน�้ำ เปล่า เวลาจะดื่มก็น�ำมาอุ่นให้ร้อน หรือจะต้มแล้วใส่ขวด น�ำไปแช่ตู้เย็นก็ได้ สรรพคุณ แก้โรคมือเท้าชา ความดัน เบาหวาน กระดูกเสื่อม บ�ำรุงก�ำลัง ปวดขา โลหิตจาง

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

79


งิ้ว

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bombax ceiba L. ชื่อวงศ์ : MALVACEAE ชื่ออื่น : งิ้วแดง (กาญจนบุร)ี งิ้วบ้าน (ภาคกลาง) งิ้วปง งิ้วปงแดง (ชอง จันทบุร)ี ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูงประมาณ 15 -25 เมตร ล�ำต้นเปลาตรงมีหนามอยู่ทั่ว ล�ำต้นและกิ่ง ใบเป็นใบประกอบแบบนิ้วมือมีใบย่อยประมาณ 3 -7 ใบ เรียงสลับกัน ใบเป็นรูป รีถงึ รูปไข่ ปลายใบเรียวแหลม โคนใบสอบเรียว ส่วนขอบใบเรียบ ใบกว้างประมาณ 1.5 -2.5 นิว้ และยาวประมาณ 6 -10 นิ้ว ใบสีเขียวไม่มขี น แผ่นใบค่อนข้างหนาและเกลี้ยง ก้านช่อใบยาว โคนก้านบวมเล็กน้อยดอกเป็นดอกเดีย่ ว ออกตามปลายกิง่ หรือตามปลายยอด ดอกมีขนาดใหญ่ สีชมพูแกมเลือดหมู สีแดง สีแสด และมีทเี่ ป็นสีทองแต่หาได้ยาก ดอกมีกลิน่ หอมเอียน ออกดอก เป็นกระจุกหรือเป็นกลุม่ กลุม่ ละประมาณ 3 -5 ดอก ฐานรองดอกเป็นรูปถ้วยแข็ง ๆหรือเป็น กลีบเลี้ยงติดกัน ปลายแยกออกเป็น 5 กลีบขนาดเล็ก สีเขียวอ่อน ส่วนกลีบดอกมีขนาดใหญ่ และหนามี 5 กลีบ เป็นรูปขอบขนาน เมื่อดอกบานเต็มที่จะมีขนาดกว้างประมาณ 8 -10 เซนติเมตร ปลายกลีบจะแผ่ออกและม้วนกลับมาทางขั้วของดอก หลุดร่วงได้ง่าย ดอกมีเกสร ตัวผู้ เป็นเส้นยาวจ�ำนวนมาก เรียงกระจายเป็นวงรอบ สีขาวปนสีชมพู ส่วนเกสรตัวเมียมี 1 อัน

80

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


สีชมพู ผลเมื่ออ่อนเป็นสีเขียว เมื่อแก่จะเป็นสีน�้ำตาล เปลือกของผลแข็ง มีความยาวประมาณ 6 -8 นิ้ว และเมื่อแก่จัดจะแตกอ้าออกตามรอยประสาน ในผลมีเส้นหรือปุยสีขาวและมีเมล็ด ขนาดเล็กจ�ำนวนมาก ลักษณะเป็นรูปทรงกลมสีด�ำ และถูกห่อหุ้มด้วยปุยฝ้ายสีขาว ๆ สามารถ ปลิวไปตามลมได้ไกล

บอกเล่ า เรื่ อ งสมุ น ไพรจาก “ป่ า ชุ ม ชนบ้ า นห้ ว ยสะพานสามั ค คี จั ง หวั ด กาญจนบุรี”

น้าบุญฤทธิ์ กรรณสูต ปราชญ์ชาวบ้านด้านหมอสมุนไพร จากป่าชุมชนบ้านห้วย สะพานสามัคคี จังหวัดกาญจนบุรี เล่าให้ฟังว่างิ้วป่ามีสรรพคุณทางยาสมุนไพรมากมาย โดยยางของต้นงิ้วป่ามีสรรพคุณเป็นยาบ�ำรุงก�ำลัง ช่วยขับน�้ำเหลืองเสีย ช่วยห้ามเลือดตกใน ช่วยกระตุ้นสมรรถภาพทางเพศ เปลือกสดมีรสฝาดเย็นช่วยแก้อาการท้องเสีย ใช้รักษาแผล อักเสบ โดยใช้ตม้ กับน�ำ ้ ดืม่ เป็นยาแก้อาการร้อนใน เปลือกใช้ผสมกับเปลือกต้นนุน่ ช่วยแก้อาหาร เป็นพิษ ดอกแห้งช่วยแก้พิษไข้ ดอกและผลมีรสหวานและฝาดเย็นช่วยแก้พิษงู ใบมีรสเย็นบด ผสมน�ำ้ ใช้ทาแก้ต่อมทอมซิลอักเสบ ต�ำพอกแก้อาการฟกช�้ำ รากใช้เป็นยากระตุ้นและยาบ�ำรุง ก�ำลัง ส่วนเมล็ดใช้รกั ษาโรคผิวหนัง ซึง่ การน�ำต้นงิว้ ป่าไปใช้เป็นยาสมุนไพรบางขนานต้องน�ำไป เข้ากับสมุนไพรตัวอื่น และบางขนานก็ไม่ต้องน�ำไปเข้ากับสมุนไพรตัวอื่น การน�ำไปปรุงเป็นยา รับประทานส่วนมากนิยมใช้วธิ กี ารต้ม คือ ต้ม 3 เอา 1 โดยน�ำเปลือกต้นงิว้ ทีเ่ ตรียมไว้ใส่ในหม้อดิน ซึ่งหม้อต้มยาสมุนไพรจะใช้หม้อดิน จากนั้นใส่น�้ำประมาณ 3 ส่วน ต้มเคี่ยวจนเหลือ 1 ส่วน ใช้รบั ประทาน เช้า -เย็น ครัง้ ละ 1 ถ้วยยาดอง มีสรรพคุณบ�ำรุงก�ำลัง หรือจะน�ำมาดองกับเหล้าขาว ก็ได้ โดยน�ำเปลือกต้นงิ้วที่ตากจนแห้งสนิทแล้วมาใส่ในขวด หรือโหลดอง ดองกับเหล้าขาว ใช้รบั ประทานมีสรรพคุณเป็นยาบ�ำรุงสรรถภาพทางเพศ นอกจากต้นงิว้ จะมีสรรพคุณสมุนไพร มากมายแล้วชาวบ้านห้วยสะพานยังใช้ต้นงิ้วเป็นส่วนท�ำนายลักษณะภูมิอากาศ โดยสังเกตว่า ถ้างิ้วออกดอกจะสิ้นสุดฤดูฝนย่างเข้าฤดูหนาว ซึ่งชาวบ้านจะเรียกว่า “หนาวดอกงิ้ว”

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

81


ชาฤาษี

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Paraboea argentea Z. R. Xu ชื่อวงศ์ : GESNERIACEAE ชื่ออื่น : ชาตาฤาษี ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้พุ่ม ขนาดเล็ก สูง 20 -60 เซนติเมตร แตกกิ่งก้านเป็นพุ่ม จ�ำนวนมาก ตั้งตรงหรือทอดเอน ไปตามพื้นหิน ล�ำต้นส่วนล่างเป็นเนื้อไม้แข็ง ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับตัง้ ฉาก แผ่นใบ รูปรีหรือรูปไข่ ปลายมน โคนรูปลิ่ม ขอบหยักตืน้ ใต้ใบปกคลุมด้วยขนแบบใยแมงมุม สีขาว ช่อดอก เป็นช่อกระจุกสัน้ เกิดที่ยอดหรือซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกมี 5 กลีบ สีม่วง กลีบดอก รูประฆัง โคนเชื่อมติดกันเป็นหลอดด้านในสีขาว

82

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านพระพุทธบาทน้อย จังหวัดสระบุรี” ลุงมงคล เบญจขันธ์ ปราชญ์ชาวบ้านจากป่าชุมชนบ้านพระพุทธบาทน้อย จังหวัด

สระบุรี เล่าว่า ต้นชาฤาษี ขึ้นตามเขาหินปูน เป็นพืชที่มีดอกสีม่วงสวยงาม หายาก และยัง สามารถน�ำใบที่ตากแห้งมาเป็นสมุนไพรใช้เป็นส่วนประกอบของการท�ำน�้ำสมุนไพรจับเลี้ยง ซึง่ ใบของชาฤาษีนมี้ สี รรพคุณ ช่วยขับปัสสาวะ แก้ปสั สาวะขัด ดืม่ แล้วท�ำให้ชนื่ ใจแก้กระหายน�้ำ ท�ำให้ร่างกายสดชื่น บ�ำรุงธาตุ บ�ำรุงก�ำลัง ช่วยย่อยอาหาร แก้น�้ำเหลืองเสีย แก้ไตพิการ ลดความดัน แก้โรคไต

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

83


ซก

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Arenga pinnata (Wurmb) Merr. ชื่อวงศ์ : ARECACEAE ชื่ออื่น : เต่าเกียด (กาญจนบุร)ี ลูกชิด (ภาคกลาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้ยนื ต้นอายุยนื เป็นพืชขนาดใหญ่ตระกูลปาล์ม ใบประกอบแบบขนนก ออกเรียงสลับ รูปขอบขนาน ปลายมนและแหลม โคนใบรูปเงี่ยง ใบหอก ขอบเรียบ ผิวหนา หลังใบสีอ่อน ดอก ช่อดอกเชิงลดขนาดใหญ่ออกตามซอกใบห้อยยาวลงได้มากกว่า 2 เมตร ผลกลุ่มรูปไข่ สีเขียว ผลแก่สีเหลืองและด�ำ เมล็ดสีขาวขุ่น ลักษณะนิ่มและอ่อน แต่ละผลมี 2-3 เมล็ด ต้นต๋าวให้ผลช่วงอายุ 15-20 ปี ส่วนใหญ่ให้ผลครัง้ เดียว มากที่สุดไม่เกิน 4 ครัง้

84

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านตะ เกราทอง จังหวัดระยอง”

ลุงอารมณ์ สุนทรประเสริฐ ปราชญ์ชาวบ้าน จากป่าชุมชนบ้านตะเกราทอง จังหวัดระยอง กล่าวว่า ส�ำหรับต้นซก ที่ขึ้นกระจายตัวอยู่บริเวณโดยรอบป่า ชุมชนเป็นจ�ำนวนมากนัน้ จะน�ำมาใช้ประโยชน์ที่ส�ำคัญ คือ ด้านการท�ำอาหาร โดยการน�ำยอดอ่อนของซก มาต้มเป็นผักเครือ่ งเคียงจิม้ กับน�ำ้ พริกกะปิ นอกจากนีย้ อดอ่อนยังน�ำมาแกงหรือผัดกับเนือ้ สัตว์ได้ ซึง่ มีรสชาติทอี่ ร่อยมากกว่า ยอดมะพร้าว นอกจากนี้ผลซก (ลูกชิด) ยังสามารถน�ำมารับประทานได้ โดยการบีบเมล็ดเอาแต่เนื้อใน จากนัน้ น�ำไปต้มและแช่นำ�้ เชือ่ มโดยทิง้ ไว้ ประมาณ 1 คื น จากนั้ น น� ำ มาท� ำ ขนม เช่ น ใส่ ใ นไอศกรี ม หวานเย็น และรวมมิตร เป็นต้น ด้านสมุนไพร มีค�ำ บอกเล่าจากคนเก่าแก่ มักใช้ส่วนรากอ่อนในการ แก้อาการปวดฟัน น�ำ้ ตาลจากต้นซกเป็นยาระบาย แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

85


เถาเอ็นอ่อน

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cryptolepis dubia (Burm. f.) M. R. Almeida ชื่อวงศ์ : APOCYNACEAE ชื่ออื่น : เครือเขาเอ็น (เชียใหม่) ตีนเป็ดเครือ (ภาคเหนือ) หมอนตีนเป็ด (สุราษฎร์ธานี) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้อนื่ เปลือกเถาเรียบสีนำ�้ ตาลอมด�ำ พอแก่เปลือกจะหลุดล่อน ออกเป็นแผ่น ทุกส่วนของต้นมีน�้ำยางสีขาว ใบเดี่ยวออกตรงข้ามกัน ใบรูปรี ปลายใบมนมีหาง สัน้ โคนใบสอบ หลังใบเรียบเป็นมันและลืน่ ท้องใบเรียบสีขาลนวล ก้านใบสัน้ ดอกออกเป็นดอก ช่อตามซอกใบ ดอกย่อยสีเหลืองอ่อน กลีบดอก 5 กลีบ โคนกลีบดอกเชื่อม ติดกัน กลีบเลีย้ งสีเขียว 5 กลีบ ผลทรง กระบอก ติดกันเป็นคู่ ปลายผลแหลม ผิวเป็นมันลืน่ พอแก่แตกออกด้านเดียว เมล็ดรูปรีสนี ำ�้ ตาล มีขนปุยสีขาวติดอยู่

86

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านจันทิ จังหวัดตราด”

น้าอดิศร สุวรรณไชยรบ (น้าลอง) ปราชญ์ชาวบ้านจากป่าชุมชนบ้านจันทิ จังหวัด ตราด เล่าว่า การใช้สมุนไพรเถาเอ็นอ่อนนัน้ ได้เรียนรูศ้ าสตร์การรักษามาจากหลวงพ่อจิน วัดสะพาน หิน จังหวัดตราด โดยที่เถาเอ็นอ่อน มีรสขม แก้กระษัยเส้น แก้อาการปวดเมื่อยตามร่างกาย แก้เส้นพิการเส้นแข็ง อัมพฤกษ์ -อัมพาต แก้อาการปวดเมือ่ ย ปวดบวม ตามแขน ขา แก้ขัดยอก วิธีการปรุงยานั้นจะใช้วิธี การดองกับสุรา โดยมีเถาเอ็นอ่อนเป็นตัวหลัก นอกจากนี้ยัง มี ส มุ น ไพรชนิ ด อื่น ๆเป็ น ส่ ว นประกอบ คือ แสมสาร ฝาง เทพทาโร ก�ำแพงเจ็ดชัน้ และขมิน้ เครือ โดยน�ำสมุนไพรทัง้ หมด มาหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ จากนั้นน�ำไปตากแดด 1 วัน เมื่อแห้งน�ำ สมุนไพรทัง้ หมดมาคลุกเคล้าให้เข้ากันในอัตราส่วน เถาเอ็นอ่อน 2 ส่วน สมุนไพรชนิดอื่น 1 ส่วน จากนั้นน�ำไปใส่ในผ้าขาวบาง มัดรวมกันคล้ายลูกประคบแล้วน�ำไปใส่ขวดโหล เติมสุราไปจน เต็มขวดโหล จากนัน้ ตัง้ ทิง้ ไว้ 1 ชัว่ โมง(เพือ่ ให้สรรพคุณทางยา ที่เพิ่มขึ้น ควรดองทิ้งไว้ 1 สัปดาห์ ก่อนรับประทาน) ส�ำหรับ ผู้ที่ไม่ชอบรับประทานยาดอง สามารถน�ำส่วนผสมดังกล่าว ข้างต้นน�ำไปต้มน�้ำจนเดือด แล้วรินน�้ำมารับประทานจะได้ สรรพคุณที่เทียบเท่ากัน ข้อควรระวัง ควรรับประทานตาม ปริมาณที่ก�ำหนดจากหมอยา เนื่องจากเถาเอ็นอ่อนมีฤทธิ์ต่อ การกระตุ ้ น ของหั ว ใจ ท� ำ ให้ หั ว ใจเต้ น ช้ า ลงและไม่ ค วร รับประทานติดต่อกันเป็นเวลานานเกินไป

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

87


ปลาไหลเผือก

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Eurycoma longifolia Jack ชื่อวงศ์ : SIMAROUBACEAE ชื่ออื่น : กรุงบาดาล (สุราษฎร์ธานี) คะนาง (ตราด) ตรึงบาดาล (ปัตตานี) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้พุ่ม สูง 1 -10 เมตร เปลือกต้นเรียบสีน�้ำตาล กิ่งอ่อนและยอดอ่อนมีขนปกคลุม ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงเวียน ใบย่อย 8 -13 คู่ เรียงตรงข้าม รูปใบหอกหรือรูปรี กว้าง 1 -3 เซนติเมตร ยาว 5 -10 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบเบี้ยว ขอบใบเรียบ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวใบเรียบเป็นมัน ด้านล่างมีขนประปราย ดอกช่อแบบแยกแขนง ออกเป็นกระจุกที่ปลายกิ่ง และซอกใบ เป็นช่อพวงใหญ่ ยาวได้ถงึ 30 เซนติเมตร ดอกแยกเพศ ร่วมต้น หรือแยกเพศต่างต้น กลีบดอก 5 กลีบ สีมว่ งปนแดง กลีบดอกรูปใบหอกหรือรูปขอบขนาน แกมรูปไข่ กว้าง 2 มิลลิเมตร ผลเป็นพวงมีประมาณ 5 ผลย่อย ทรงกลม ทรงรีหรือรูปไข่ กว้าง 8 -12 มิลลิเมตร ยาว 1 -2 เซนติเมตร เปลือกนอกบาง ผนังผลชั้นในแข็ง กลางผล มีร่องตื้นๆ ตามยาวผลแก่สแี ดงถึงม่วงด�ำ เมล็ดรูปรีมี 1 เมล็ด

88

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านป่าใต้ จังหวัดจันทบุรี”

ลุงสูตร ธัญญะชาติ และน้าวิสูตร ธัญญะชาติ คณะกรรมการฝ่ายภูมิปัญญาท้องถิ่น โครงการ 60 ป่าชุมชนอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ป่าชุมชนบ้านป่าใต้ จังหวัดจันทบุรี กล่าวว่า เมื่ออดีต 30 -50 ปี ชุมชนบ้านป่าใต้และบริเวณใกล้เคียง ยังมีโรคมาลาเรีย หรือไข้จับสั่น ระบาดหนัก ประกอบกับการเข้าถึงแพทย์สมัยปัจจุบันเข้าถึงได้ยากประชาชนโดยส่วนใหญ่ที่ เป็น สามารถรักษาได้จากสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่น คือ ต้นปลาไหลเผือก โดยการน�ำรากจากคอดินลงไปทัง้ ทีส่ ด และแห้ง ต้มน�้ำแบบเคี่ยวจาก 5 ส่วนให้เหลือ 3 ส่วน แล้วกินน�้ำประมาณ 300 CC ก่อนอาหาร เช้า - เย็น จนกว่ า จะหาย โดยมี ค ณะกรรมการป่ า ชุ ม ชน ที่ มี ประสบการณ์การเป็นไข้มาลาเรีย คือพีต่ ่อ นายกู้เกียรติ หนูเลี้ยง ปัจจุบันยังเป็นสมาชิกสภาเทศบาลต�ำบลค่าย เนินวง อีกต�ำแหน่งหนึง่ ซึง่ ได้ใช้ยาต้มปลาไหลเผือกสูตร ดังกล่าวนี้รักษาโรคมาลาเรียจนหาย มาแล้ว เมื่ออายุ 10 ขวบ ประมาณปี พ.ศ.2506

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

89


ปอบิด

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Helicteres isora L. ชื่อวงศ์ : MALVACEAE ชือ่ อืน่ : ขีอ้ น้ ใหญ่ (ภาคเหนือ) ช้อ (กะเหรีย่ ง เชียงใหม่) ปอทับ (เชียงใหม่) ปอกะบิด (ชัยนาท) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้พุ่ม สูง 1 -3 เมตร แตกกิ่งก้านเป็นกอตั้งแต่โคนต้น ทุกส่วนมีขนสีน�้ำตาลปกคลุม มีช่องอากาศ เปลือกล�ำต้นเรียบ มียางเหนียว ใบเดี่ยว เรียงเวียน รูปไข่ ปลายใบเป็นแฉก ไม่เป็นระเบียบ 3 -5 แฉก แฉกกลางสุดยาวคล้ายหาง โคนใบกลมหรือรูปหัวใจ ขอบหยักคล้าย ฟันปลา แผ่นใบกึ่งหนาคล้ายแผ่นหนัง ด้านบนมีขนสากคาย ด้านล่างมีขนรูปดาว หรือขนสั้น หนานุ่ม เส้นโคนใบ 3 -5 เส้น เส้นใบย่อย แบบขั้นบันไดชัดเจนทางด้านล่าง ก้านใบ มีขน หูใบ รูปแถบ ออกดอกเป็นช่อแบบกระจุกทีซ่ อกใบ มี 5 -8 ดอก ก้านช่อดอกสัน้ มีขน ใบประดับและ ใบประดับย่อย รูปแถบ กลีบเลีย้ งสีเหลืองอมเขียวอ่อน เบีย้ ว ติดทน มีขนรูปดาว ขนสัน้ หนานุ่ม โคนกลีบเชือ่ มกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็นแฉกไม่เท่ากัน 5 แฉก รูปสามเหลีย่ ม กลีบดอกสีแดง อมส้ม มี 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน รูปหอกกลับ โค้งพับลง กลีบคู่บนมีขนาดใหญ่กว่ากลีบอื่น ปลายกลีบมน ผล แบบผลแห้งแตก สีนำ�้ ตาลเข้ม มีขนปกคลุม ผลรูปทรงกระบอก ผิวไม่เรียบ สากมือ ผลอ่อนสีเขียว เมือ่ แก่เต็มทีส่ นี ำ�้ ตาล หรือด�ำ ผลเป็นฝักกลมยาวบิดเป็นเกลียวเหมือน เกลียวเชือก หลังผลแตก ฝักจะอ้าออกเห็นเมล็ดรูปกึ่งสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด สีน�้ำตาล

90

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านโป่งก�ำแพง จังหวัดชัยนาท”

ลุงแสงคม อบอุน่ ปราชญ์ชาวบ้านจากป่าชุมชนบ้านโป่งก�ำแพง จังหวัดชัยนาท เล่าว่า ฝักแก่ของปอกะบิดใช้บรรเทาโรคเบาหวานลดน�้ำตาลในเลือด ลดไขมันในเลือด ลดความดัน เหน็บชา ชาปลายมือ ปลายเท้า ปวดข้อ ปวดเข่า ปวดหลัง ไมเกรน ไทรอย เก๊า และภูมิแพ้ การน�ำไปปรุงเป็นยาเพือ่ รับประทานนิยมวิธกี ารน�ำไปต้มแนะน�ำ 3 วิธี วิธแี รก น�ำฝักปอกระบิดมา 50 ฝัก มาล้างน�ำ ้ แล้วน�ำไปต้มในน�ำ ้ 3 ลิตร โดยใช้เวลาประมาณ 10 -15 นาที ต้มได้ 4 ครั้ง หรือจนกว่าสีน�้ำจะจาง แล้วจึงเปลี่ยนยาใหม่ วิธีที่ 2 น�ำฝักปอกะบิด 10 ฝัก ต้มกับน�้ำสะอาด ประมาณ 3 แก้ว จากนั้นเคี่ยวให้เหลือ 1 แก้ว ดื่มวันละ 1 ครั้ง ครั้งละครึ่งแก้ว วิธีที่ 3 น�ำฝัก ปอกะบิด 4 -5 ฝัก ใส่น�้ำร้อน 1 แก้ว จิบเป็นน�้ำชา เติมน�ำ้ ได้เรือ่ ยๆ จนกว่าสีนำ�้ จะจาง หรือชงในกาชงชาก็ได้

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

91


พญามือเหล็ก

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Strychnos lucida R.Br. ชื่อวงศ์ : LOGANIACEAE ชื่ออื่น : กะพังอาด ยามือเหล็ก (กระบี่) เสี้ยวดูก (เหนือ) พญามูลเหล็ก (ภาคกลาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงกลาง สูง 4 -10 เมตร ใบเดี่ยวเรียงตรงข้าม ไม่มีใบเลี้ยง ลักษณะ ใบรูปไข่ กว้าง 2.5 -4 เซนติเมตร ยาว 4 -6 เซนติเมตร ผิวใบเป็นมันมีความคล้ายใบแสลงใจ ดอกช่อ ออกทีซ่ อกใบ กลีบดอกสีเขียวอ่อน ผลมีลกั ษณะกลมโตเท่าผลส้มเกลีย้ ง สีเหลืองอ่อน แกมสีนำ�้ ตาล ส่วนเมล็ดนัน้ มีลักษณะคล้ายก้อนกรวดขนาดประมาณ 2.5 เซนติเมตร และมีขน สีน�้ำเงินปกคลุม เมล็ดมีรสขมมาก และถ้าแก่ก็จะแข็งมาก หนึ่งผลมีเมล็ดประมาณ 12 -24 เมล็ด พญามือเหล็กพบในป่าเบญจพรรณ เขาหินปูน ในภาคกลาง จังหวัดลพบุรแี ละสระบุรี

92

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนเขาอ้ายโป้ด จังหวัดลพบุรี”

ลุงชัยพร กลิน่ จันทร์ ซึง่ ท�ำงานอยูท่ โี่ รงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลซับตะเคียน จังหวัดลพบุรี ซึง่ ถือเป็นปราชญ์ชาวบ้านจากป่าชุมชนเขาอ้ายโป้ด จังหวัดลพบุรี เล่าว่าส่วน ต่างๆ ของต้นพญามือเหล็กมีสรรพคุณหลายอย่าง เช่น สรรพคุณของแก่นและเนือ้ ไม้ รสขมเมา เล็กน้อย ดับไข้จบั สัน่ ดับพิษไข้ แก้กระษัย แก้โลหิต ลดความร้อน ฝนทาศีรษะแก้รงั แค เนือ้ ไม้นี้ พวกที่ชอบสูบกัญชามักใช้ท�ำเป็นเขียงรองหั่นกัญชา แล้วขูดเนื้อไม้ผสมลงไปด้วย กล่าวกันว่า มี ฤ ทธิ์ กั ด เสมหะ ในล� ำ คอได้ ดี ม าก รากรสขมเมา แก้ ไ ข้ เ รื้ อ รั ง แก้ ไ ข้ ม าลาเรี ย เมล็ ด แก้อหิวาตกโรค เป็นยาบ�ำรุง แก้อมั พาต กระตุ้นประสาทไขสันหลัง เป็นยาเบือ่ หนู สุนขั กระตุ้น ความรู้สึกทางเพศ ใบรสขมเมา แก้ฟกบวม เปลือก แก้อหิวาตกโรค เป็นยาบ�ำรุง แก้อัมพาต กระตุน้ ไขสันหลัง ไม่ระบุสว่ นทีใ่ ช้ ตัดไข้ ดับพิษกระษัยโลหิต เป็นยาอยูไ่ ฟ ดับพิษไข้ ดับพิษโลหิต ไข้จบั สัน่ เรือ้ รัง แก้ปวดบวม แก้ละเมอเพ้อพก ข้อควรระวัง ห้ามรับประทานยาทีม่ สี ว่ นประกอบของ เนื้อไม้และ/หรือเปลือกพญามือเหล็ก คิดเป็นนํ้าหนักเนื้อไม้และ/หรือเปลือกแห้งส�ำหรับ รับประทานในมื้อหนึ่งไม่เกินกว่า 60 มิลลิกรัม

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

93


พรวด

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Rhodomyrtus tomentosa (Aition) Hassk. ชื่อวงศ์ : MYRTACEAE ชื่ออื่น : ง้าย ชวด พรวดผี พรวดกินลูก พรวดใหญ่ กายู โทะ มูตงิ กามูตงิ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้พุ่ม สูง 1 -3 เมตร กิ่งอ่อนและยอดอ่อนมีขนสีขาว กิ่งแตกจากจุดเดียวกันรอบต้น เปลือกนอกสีน�้ำตาลบาง ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามกัน แผ่นใบรูปรีถึงรูปขอบขนาน ยาว 5 -10 เซนติเมตร กว้าง 3-5เซนติเมตร หลังใบเกลี้ยง ท้องใบมีขนสีขาวเป็นปุย ปลายใบทู่ โคนใบ สอบ เส้นใบวิ่งเชื่อมกันรอบใบ เหมือนมีขอบใบสองวง แปลกตาดี ก้านใบยาวประมาณ 5 -8 มิลลิเมตร สีน�้ำตาล ดอกออกตามซอกใบและปลายกิ่ง เป็นทั้งดอกเดี่ยวและแตกเป็นกลุ่ม 3 ดอก กลีบดอก 5 กลีบ สีชมพูสด รูปกลีบปลายมน เส้นผ่านศูนย์กลาง 3 -4 เซนติเมตร ฐานรองกลีบรูปถ้วยปลายแฉก 5 แฉก สีเขียวอ่อนขนนุม่ ๆ สัน้ ๆ ปกคลุม เกสรตัวผูจ้ ำ� นวนมาก เกสรตัวเมียปลายขาว ผลแก่สีม่วงคล�้ำถึงด�ำ รูปกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1 -1.5 เซนติเมตร ปลายแฉกฐานรองดอกติดปลายผลรวมทัง้ เกสรทั้งกลุ่ม มีขนสีขาวสัน้ ๆ รอบผล มีเมล็ดมาก ออกดอก ตลอดปี

94

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านห้วยลึก จังหวัดชลบุรี”

ลุงวิสตู ร ธัญญะชาติ ปราชญ์ชาวบ้านจากป่าชุมชนบ้านห้วยลึก จังหวัดชลบุรี เล่าว่า ต้นพรวดมีประโยชน์หลายด้าน ด้านไม้ประดับ ต้นพรวดเป็นไม้พุ่มที่มีขนาดเล็ก ปลูกได้ทั่วไป ง่าย โตเร็ว มีกอพุม่ สวยงาม ใบมีวงขอบ สองชั้นกระทบแสงแดดส่องผ่านสวย ดอกดกสีชมพูขนาดใหญ่เมื่อออกดอก เต็มทีจ่ ะเห็นสีชมพูของดอกพราวไปทัง้ ต้น สวยหวานจั บ ใจ น่ า จะพั ฒ นาเป็ น ไม้ ดอกไม้ประดับได้อีกชนิดหนึ่ง ด้านพืช อาหาร ผลกินได้ เด็กๆ ชอบกินมาก เป็น ผลไม้ ป ่ า ละเมาะที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย ม ยาวนาน มีรสหวานหอม ด้านสมุนไพร สรรพคุณ ผลใช้รกั ษาโรคบิด และท้องร่วง ต�ำ รายาไทยทั้ง ต้นสามารถต้ม น�้ ำดื่ ม บ� ำ รุ ง เ ลื อ ด ร า ก แ ล ะ ใ บ ต ้ ม แ ก ้ ท้องร่วงและปวดท้อง ในประเทศจีน รากและใบรักษาอาการกระเพาะอาหาร อักเสบเฉียบพลันและเรือ้ รัง อาหารไม่ยอ่ ย ตับอักเสบ รักษาเลือดออกจากมดลูก ในหญิงหลังคลอด ผล รักษาโลหิตจาง ในหญิ ง ตัง้ ครรภ์

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

95


ย่านาง

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tiliacora triandra (Colebr.) Diels ชื่อวงศ์ : MENISPERMACEAE ชื่ออื่น : เถาวัลย์เขียว (ภาคกลาง) จ้อยนาง (เชียงใหม่) ยาดนาง (สุราษฎร์ธานี)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้เถาเลื้อย เกี่ยวพันไม้อ่นื เป็นเถากลม ๆ ขนาดเล็ก เหนียว มีสีเขียว เมื่อแก่จะมีสีเข้ม บริเวณเถามีข้อห่างๆ เถาอ่อน มีขนอ่อนปกคลุม เมื่อแก่ผิวค่อนข้างเรียบ ราก มีหัวใต้ดนิ ราก มีขนาดใหญ่ ใบออกติดกับล�ำต้นแบบสลับ ใบรูปไข่ หรือรูปไข่ขอบขนาน ปลายใบเรียว ฐานใบมน ขนาดใบยาว 5 -10 เซนติเมตร กว้าง 2 -4 เซนติเมตร ขอบใบเรียบ ผิวใบเป็นคลื่นเล็กน้อย ก้านใบยาว 1 -1.5 เซนติเมตร สีเขียวเข้ม หน้าและหลังใบเป็นมัน ดอก ออกตามซอกใบ ซอกโคนก้าน จากข้อเถาแก่เป็นช่อยาว 2 -5 เซนติเมตร ช่อหนึ่ง ๆ มีดอกขนาดเล็กสีเหลือง 3 -5 ดอก ออกดอกแยกเพศอยูค่ นละต้น ไม่มกี ลีบดอก ขนาดโตกว่าเมล็ดงาเล็กน้อย ต้นเพศผู้ จะมีดอกสีนำ�้ ตาล อับเรณูสเี หลืองอ่อน ดอกย่อยของต้นเพศผูม้ ขี นาดเล็ก ก้านช่อดอกมีขนสัน้ ๆ ละเอียด ปกคลุมหนาแน่น ออกดอกช่วงเดือนเมษายน ผลรูปร่างกลมเล็ก สีเขียว เมื่อแก่กลาย เป็นสีเหลืองอมแดง หรือสีแดงสด และกลายเป็นสีด�ำในที่สุด

96

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านโค้งตาบาง จังหวัดเพชรบุรี”

ลุงปัญญา เหมือนแท้ เป็นคนท้องถิ่นเดิมและเป็นปราชญ์ชาวบ้านจากป่าชุมชนบ้าน โค้งตาบาง จังหวัดเพชรบุรี มีความสนใจด้านเกษตรผสมผสานและสมุนไพร โดยปลูกพืชทุก ชนิดทีส่ นใจไว้ในพืน้ ทีบ่ ริเวณบ้าน เพือ่ เก็บไว้เป็นตัวอย่างในการทดลองศึกษาและเผยแพร่ความ รู้ให้แก่ผู้ที่สนใจ ลุงปัญญา ได้เล่าประสบการณ์เกี่ยวกับสมุนไพรที่สร้างความประทับใจให้กับ เขาว่า “ลุงเป็นคนธรรมะเมือ่ มีเวลาว่างชอบไปถือศีลกินเจทีส่ ถานปฏิบตั ธิ รรม วันหนึง่ ได้พบกับ ผูห้ ญิงคนหนึง่ ซึง่ ป่วยเป็นมะเร็งระยะสุดท้าย แพทย์ระบุอาการว่าสามารถใช้ชวี ติ ได้อกี ประมาณ 3 เดือน ลุงจึงได้แนะน�ำให้เขาได้รู้จักกับน�้ำคั้นใบย่านางซึ่งคิดว่าหาง่ายพบตามรั้วบ้านและมี สรรพคุณทางยาที่พอทุเลาอาการเจ็บป่วยดังกล่าวได้ ผ่านมาอีก 5 เดือน ลุงได้เจอเขาอีกครั้ง ที่สถานปฏิบัติธรรมเดิม เขาดูแข็งแรงขึ้นและได้ขอบคุณ ส�ำหรับค�ำแนะน�ำดีๆของลุง ลุงรู้สึกประทับใจและเผยแพร่ ประสบการณ์ตรงครั้งนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์กับผู้อื่นต่อไป” จึ ง ได้ น� ำ เสนอน�้ ำ คั้ น จากใบย่ า นางในการศึ ก ษาครั้ ง นี้ เนื่องจากพบได้ทั่วไปในหมู่บ้านโค้งตาบาง ทั้งในป่าชุมชน และตามริมรั้วชุมชน มีคุณค่าทางอาหารและยาที่น่าสนใจ และมีขั้นตอนการท�ำที่ง่าย โดยใช้ใบย่านาง 25 ใบ ต่อน�้ำ 1 ลิตร ขย�ำหรือขยี้ใบย่านางผสมกับน�้ำเปล่า น�้ำจะเปลี่ยน เป็นสีเขียว ขย�ำจนใบย่านางขาวซีดกรองเอาแต่นำ�้ สีเขียวแล้ว น�ำไปดื่มแทนน�้ำได้ทั้งวัน ลุงปัญญายังบอกอีกว่า น�้ำใบ ย่านางเป็นยาอายุวัฒนะมีสารต่อต้านอนุมูลอิสระจ�ำนวน มาก จึงช่วยลดและชะลอการเกิดริ้วรอย และความแก่ชรา ช่วยเสริมสร้างภูมิต้านโรคในร่างกายให้แข็งแรงช่วยเพิ่ม ความสดชื่นให้กับร่างกาย หากดื่มน�้ำใบย่านางเป็นประจ�ำ ก้อนมะเร็งจะฝ่อและเล็กลงช่วยรักษาโรคความดันโลหิตสูง ช่วยป้องกันการเกิดโรคหัวใจ ช่วยในการบ�ำรุงรักษาตับ และไต ช่วยรักษาและบ�ำบัดอาการอัมพฤกษ์ ช่วยฟื้นฟูเซลล์ต่างๆ ในร่ า งกาย ช่ ว ยในการปรั บ สมดุ ล ของร่ า งกายและเป็ น สมุนไพรที่ช่วยในการลดความอ้วนได้อย่างเห็นผล เป็น สมุนไพรที่หาได้ง่าย ดีและมีประโยชน์ควรแก่การเผยแพร่ และเก็บไว้เป็นภูมปิ ัญญาส่งต่อให้กับคนรุ่นต่อไป ๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

97


โลดทะนงแดง

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Trigonostemon reidioides (Kurz) Craib ชื่อวงศ์ : EUPHORBIACEAE ชือ่ อืน่ : ข้าวเย็นเนิน (ประจวบคีรขี นั ธ์) โลดทะนง (ปราจีนบีรี ราชบุรี ตราด) ทะนง (นครราชสีมา) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงได้ถึง 1 เมตร มีรากเก็บสะสมอาหารพองโต ผิวสีแดงอมม่วง เนื้อสีขาว ล�ำต้นเรียวเล็ก ขึ้นเป็นกอ ทุกส่วนของต้นมีขน ล�ำต้นมีขนสั้นนุ่มหนาแน่น ใบเดี่ยว เรียงสลับ เนือ้ ใบหนา แผ่นใบรูปขอบขนาน หรือรูปขอบขนานแกมใบหอก โคนใบมน มีตอ่ มเล็กๆ 2 ต่อม ขอบใบเรียบ ปลายใบแหลม เห็นเส้นใบย่อยเห็นชัด และมีขนนุ่มหนาแน่นบนผิวใบ ทั้งสองด้าน ช่อดอกแบบกระจะ ดอกสีขาว ชมพู ม่วงเข้มหรือเกือบด�ำ ออกเป็นช่อตามซอกใบ และตามกิ่งก้าน ดอกแยกเพศอยู่บนต้นเดียวกัน ดอกเพศผู้มีจ�ำนวนมากกว่าอยู่บริเวณโคนช่อ มีลักษณะตูมกลม ดอกเพศผู้มีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ ก้านดอกมีขน มีกลีบดอก 5 กลีบ ไม่มีขน มีเกสรเพศผู้ 6 อัน ก้านเกสรเชือ่ มติดกันเป็นแท่งเดียว ดอกเพศเมียตูมรูปไข่ มีกลีบเลีย้ ง 5 กลีบ มีขน จานฐานดอกล้อมรอบฐานของรังไข่ มีรังไข่เหนือวงกลีบ กลีบดอกสีขาว ผลแห้งแตกได้ รูปค่อนข้างกลม มีขนสั้นนุ่มปกคลุมหนาแน่น แบ่งเป็น 3 พูชัดเจน มีก้านสีแดง เมล็ดรูป ค่อนข้างกลมหรือรูปไข่แกมสามเหลี่ยม ผิวเรียบพบตามป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ออกดอกตลอดปี

98

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้าน คลองห้วยหวาย จังหวัดนครสวรรค์”

น้ า นั ส ธพงษ์ อั ส กสิ ก รรม ปราชญ์ ช าวบ้ า นจาก ป่าชุมชนบ้านคลองห้วยหวาย จังหวัดนครสวรรค์ เล่าว่า รากของโลดทะนงแดง สามารถใช้ถอนพิษงู แก้ผดผื่น แก้คัน แก้แพ้ยาต่างๆ แก้ผิดส�ำแดง แก้ถอน เมาเหล้า ถอนพิษ ไข้มาลาเรีย วิธีการน�ำไปใช้ปรุงเป็นยารับประทาน โดยน�ำรากโลดทะนง แดงมาล้างให้สะอาด เตรียมน�ำน�้ำซาวข้าวไว้ จากนั้นน�ำรากโลดทะนงแดงจุ่มน�้ำซาวข้าว แล้วฝนกับหินทรายจะได้น�้ำสีขาวขุ่นๆ คล้ายกับน�้ำซาวข้าว ฝนจนได้ปริมาณที่ต้องการ น�ำไป รับประทานได้ตามอาการของไข้ (ควรใช้ผ้ากรองก่อนรับประทาน)

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

99


สังกรณี

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Barleria strigosa Willd. ชื่อวงศ์ : ACANTHACEAE ชื่ออื่น : ขี้ไฟนกคุ้ม (ปราจีนบุร)ี ก�ำแพงใหญ่ (เลย) กวางหีแฉะ (สุโขทัย)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงประมาณ 60 -120 เซนติเมตร ล�ำต้นไม่มีหนาม แตกกิ่งก้านสาขา รอบ ๆ ต้นมากมาย ตามกิ่งก้านจะมีขนสีน�้ำตาลปกคลุมอยู่ ใบเดี่ยว ออกเรียงกันเป็นคู่ๆ ไปตามข้อต้น ลักษณะของใบเป็นรูปรีค่อนข้างยาว ปลายใบแหลมและมีติ่ง ส่วนโคนใบนัน้ ก็จะ แหลมและค่อยๆเรียวแหลมจนถึงก้านใบ ขอบใบมีหนาม พื้นใบเป็นสีเขียว ด้านล่างของใบมีขน ยาวตามเส้นใบ ส่วนด้านบนมีขนบ้างประปราย ดอกออกเป็นช่ออยู่ตามง่ามใบ มีดอกย่อย ประมาณ 10 ดอก ดอกย่อยเมื่อบานเต็มทีจ่ ะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4 เซนติเมตร กลีบดอกมีด้วยกัน 5 กลีบ เชื่อมกันเป็นหลอด รูปปากเปิด สีม่วงอ่อน ลักษณะเป็นรูปไข่แกม รูปรี กว้างประมาณ 2 เซนติเมตร และยาวประมาณ 1.5 เซนติเมตร ดอกมีเกสรเพศผู้ 5 อัน เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไข่จะอยู่เหนือวงกลีบ ออกดอกในช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือนมกราคม ผลเป็นฝักแบนเกลี้ยง เมื่อผลแห้งแตกได้ ภายในผลมี 4 เมล็ด เมล็ดเป็นรูปกลมแบน

100

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านซับขาม จังหวัดสระบุรี”

ลุงวิชิต สง่าชาติ ปราชญ์ ช าวบ้ า นจาก ป่ า ชุ ม ชนบ้ า นซั บ ขาม จังหวัดสระบุรี เล่าให้ฟงั ว่า สั ง ก ร ณี ใ ช ้ เ ป ็ น ส ่ ว น ประกอบของสมุ น ไพร ดองเหล้ า เพื่ อ บ� ำ รุ ง ร ่ า ง ก า ย ซึ่ ง มี ส ่ ว น ป ร ะ ก อ บ ส� ำ คั ญ ดั ง นี้ สังกรณี ม้าแม่ก�่ำ เถาวัลย์เปรียง โด่ไม่รู้ล้ม เถาเอ็นอ่อน ทองพันชั่ง ก�ำแพงเจ็ดชั้น อย่างละ 2 ส่วน ลูกกระชับ ชะเอมป่า อย่างละ 1 ส่วน ดองกับเหล้าขาวโดยผสมน�้ำผึ้งเล็กน้อย กินก่อน อาหารช่วยบ�ำรุงก�ำลัง แก้ปวดเมื่อย ช่วยให้รับประทานอาหารได้ ร่างกายแข็งแรง และตาม ต�ำรายาพื้นบ้านใช้ ทั้งต้น ต้มน�้ำดื่ม แก้อาการไอเป็นเลือด บ�ำรุงก�ำลัง ส่วนของรากมีรสขม ใช้ปรุงเป็นยาแก้ร้อนในกระหายน�ำ ้ ดับพิษไข้ทั้งปวง ถอนพิษไข้กาฬ ลดความร้อนในร่างกาย แก้ไอ แก้โลหิตก�ำเดา

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

101


สาธร

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Millettia leucantha Kurz ชื่อวงศ์ : LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE ชื่ออื่น : กระเจ๊าะ ขะเจ๊าะ (ภาคเหนือ) ขะแมบ ค�ำแมบ (เชียงใหม่) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ สูงได้ถึง 20 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ ค่อน ข้างกลมหรือทรงกระบอก ล�ำต้นเปลาตรง เปลือกสีเทา ผิวเรียบหรือแตกเป็นสะเก็ดเล็กๆ ใบ เป็นใบประกอบเรียงสลับ ใบย่อยเป็นคู่ตรงข้าม 3 -5 คู่ ปลายสุดเป็นใบเดี่ยว แผ่นใบย่อยรูป รีหรือรูปรีแกมรูปไข่กลับ ปลายใบแหลม โคนสอบหรือมน ขอบใบเรียบ ด้านล่างใบสีอ่อนกว่า ด้านบน ใบแก่เกลี้ยง ใบอ่อนและยอดอ่อนมีขนยาว ดอกสีขาว รูปดอกถั่ว ออกเป็นช่อตามง่าม ใบและปลายกิ่งในช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ผล เป็นฝักแบน รูปขอบขนานคล้ายฝักมีด มีเปลือกแข็ง ฝักอ่อนมีขนสั้นๆ คลุม ฝักแก่เกลี้ยงหรือเกือบเกลี้ยง ฝักแก่แตกเป็น 2 ซีกตาม รอยประสาน เมล็ดสีนำ�้ ตาล รูปร่างแบนคล้ายโล่ แต่ละฝักมี 1 -3 เมล็ด ผลแก่ระหว่างเดือน พฤษภาคม ถึง เดือนสิงหาคม

102

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี”

พีอ่ มั พวรรณ คุง้ ลึงค์ หรือพิกลุ อายุ 39 ปี ปราชญ์ชาวบ้านซึง่ เป็นหนึง่ ในคณะกรรมการ ป่าชุมชนบ้านสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี โดยท�ำหน้าที่เป็นประชาสัมพันธ์ เล่าว่านอกจากการใช้ ประโยชน์ต้นสาธรในด้านเนื้อไม้แล้ว ชุมชนแห่งนี้ยังมีการใช้ประโยชน์ของต้นสาธรในเรื่องของ พืชอาหารด้วย โดย ชาวบ้านในชุมชนจะรับประทานส่วนของใบอ่อนหรือยอดอ่อน ซึง่ มีรสชาติ ออกมันๆ และกลิ่นขึ้นจมูก โดยสามารถน�ำมาประกอบอาหารได้หลายรูปแบบ อาทิ แกงส้ม แกงเลียง ผัดน�้ำมันหอย หรือน�ำมาต้ม ลวกจิ้มน�้ำ พริก ซึ่ง ต้ น สาธรนี้จ ะแตก ยอดอ่ อ นในช่ ว งเดื อ นธั น วาคม – มกราคม สามารถหารับประทานได้ตาม ป่าชุมชน นอกจากนีส้ าธรยังมีสรรพคุณ เป็นยาสมุนไพรอีกด้วย เมื่อคนในชุมชน เกิดอาการปวดฟันเนื่องจากฟันผุ ชาว บ้านในชุมชนก็จะน�ำเอาส่วนเปลือกของ ต้นสาธรมาสับเป็นชิน้ ประมาณ 2 -3 ชิน้ ต้มกับน�ำ้ ครึง่ หม้อ (ประมาณ 3 ถ้วยตวง) แล้ ว เติ ม เกลื อ ตั ว ผู ้ ล งไปประมาณ 1 ช้อนโต๊ะ เคี่ยวให้ข้นจนเหลือน�้ำ 1/3 ของน�้ำทีม่ อี ยูเ่ ดิม จากนัน้ ทิง้ ไว้ให้นำ�้ เย็น ลงแล้วน�ำมาอม จะรู้สึกชาที่ปากช่วย บรรเทาอาการปวดฟันได้

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

103


หญ้าดอกค�ำ

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Hypoxis aurea Lour. ชื่อวงศ์ : HYPOXIDACEAE ชื่ออื่น : สากเหล็ก ตาลเดี่ยว (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้ล้มลุก สูง 15 -20 เซนติเมตร ทุกส่วนมีขน เหง้าทรงกลมถึงทรงกระบอกยาว ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงเป็นกระจุกใกล้ราก รูปแถบถึงวงรีแคบ ปลายเรียวแหลม กว้าง 1 -4 เซนติเมตร ยาว 8 –26 เซนติเมตร ดอกแบบช่อกระจะ ออกกลางกลุ่มใบ ช่อยาว 4 -8 เซนติเมตร ใบประดับรูปแถบ หรือรูปใบหอก ดอกในช่อ 1 -2 ดอก เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 เซนติเมตร กลีบรวม สีเหลือง 6 กลีบรูปไข่ หรือรูปขอบขนาน กว้าง 2 -3 มิลลิเมตร ยาว 6 -8 มิลลิเมตร ปลายเป็นติ่งหนาม ขอบเรียบ ผิวด้านในเกลีย้ ง ด้านนอกมีขนเป็นแนวตามยาว ตรงกลางกลีบ เกสรเพศผู้ 6 อัน ก้านชูอบั เรณูเรียวเล็ก เกลีย้ ง รังไข่เหนือวงกลีบ รูปขอบขนาน ยอดเกสรเพศเมียมีขน ผลแบบผลแห้งแตก ยาวประมาณ 7 มิลลิเมตร แตกเป็น 3 ซีก เมล็ดสีดำ � ผิวมีปุ่ม

104

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านเขาใหญ่ จังหวัดนครสวรรค์”

ป้าส�ำเนา ฉ�่ำค�ำ ปราชญ์ชาวบ้านจากป่าชุมชนบ้านเขาใหญ่ จังหวัดนครสวรรค์ เล่าว่าในสมัยก่อนได้เข้าไปหาของป่า เช่น หน่อไม้ เห็ด และผักต่างๆ พบเห็นต้นหญ้าดอกค�ำ หรือตาลเดี่ยว ซึ่ง เป็นสมุนไพรที่มีอยู่ตามธรรมชาติ และเป็นสมุนไพรที่ ตนเองใช้รักษาสิว ฝ้า และท�ำให้หน้าขาว มาตั้งแต่ยัง สาวๆ ทีส่ ำ� คัญหาง่ายในท้องถิน่ และสามารถน�ำมาขยาย พันธุง์ า่ ยโดยการขุดเอาต้นมาปลูก สามารถเป็นสมุนไพร ประจ�ำบ้านได้ด้วย ป้าส�ำเนา ฉ�่ำค�ำ บอกวิธกี ารใช้หญ้า ดอกค�ำว่า เพียงน�ำรากของหญ้าดอกค�ำที่ขุดได้ น�ำมา ล้างน�้ำให้สะอาด เอาเฉพาะส่วนที่เป็นราก น�ำมาปอก เปลือกออกแล้วหั่นให้เป็นแว่นๆ ชิ้นเล็กๆ แล้วน�ำมาต�ำ ให้ละเอียด หลังจากนั้นน�ำมาผสมกับเหล้าขาว โดยใช้ เหล้าประมาณ 4 cc. แล้วคนให้เข้ากัน จากนั้นใช้ส�ำลี ลงไปจุม่ ในเหล้าขาวทีผ่ สมกับรากหญ้า ดอกค� ำ แล้ ว น� ำ มาทาบริเ วณใบหน้ า ทาทิ้งไว้ประมาณครึ่งชั่วโมงแล้วล้าง ออกด้วยน�ำ้ สะอาด ท�ำแบบนีเ้ ป็นประจ�ำ ป้าส� ำ เนา บอกว่ า หน้ า ขาวไร้ สิ ว ฝ้ า โดยไม่ ต ้ อ งพึ่ ง ครี ม ที่ ท� ำ ให้ ห น้ า ขาว ตามท้องตลาดและยังประหยัดเงินอีกด้วย

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

105


ก�ำจัดต้น

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Zanthoxylum rhetsa (Roxb.) DC. ชื่อวงศ์ : RUTACEAE ชื่ออื่น : มะข่วง มะแขว่น (ภาคเหนือ) ลูกระมาศ (ภาคกลาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง ผลัดใบ สูงได้ถึง 20 เมตร เนื้อไม้มแี ก่น ล�ำต้นส่วนยอดมีหนาม แหลมคม เปลือกต้นสีนำ�้ ตาลอมเหลือง ใบดกหนาสีเขียวสด ใบเป็นใบประกอบแบบขนนกปลาย คี่หรือคู่ ก้านใบสีแดง ใบย่อยรูปไข่หรือรูปรี ปลายแหลม โคนแหลมและเบี้ยว ขอบใบเรียบหรือ หยักห่างๆ ใบอ่อนและใบแก่สีน�้ำตาลแดง ดอกออกเป็นช่อตามซอกใบใกล้ยอด ช่อดอกออก แยกแขนง สีนวลหรือขาวอมเขียว รูปรีหรือรูปไข่ ผลเป็นผลกลุ่มออกเป็นช่อ ผลค่อนข้างกลม ผิวขรุขระ สีเขียว มีกลิ่นหอม ผลแก่เปลือกหุ้มเมล็ดสีแดง แก่จัดสีด�ำ แตกอ้าเห็นเมล็ดในสีด�ำ เล็กๆ เส้นผ่าศูนย์กลาง 6 -7 มิลลิเมตร เมล็ดทรงกลมขนาดเล็ก สีด�ำเป็นมัน

106

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนวังศิลาดิเรกสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี”

ลุงภิรมย์ รักเพชร ปราชญ์ชาวบ้านจากป่าชุมชนวังศิลาดิเรกสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี เล่าให้ฟังว่า ต�ำรายาไทย ใช้ผลแก่ของก�ำจัดต้น ทุบห่อผ้าประคบแผลพุพอง หรือต�ำชงน�้ำร้อน ดืม่ แก้ทอ้ งอืดเฟ้อ แก้นำ�้ กัดเท้า เมล็ดรสเผ็ดสุขมุ กลิน่ หอมแก้ลมวิงเวียน บ�ำรุงโลหิต บ�ำรุงหัวใจ ขับลมในล�ำไส้ ขับปัสสาวะ บ�ำรุงธาตุ ถอนพิษฟกบวมแก้หนองใน ใบรสเผ็ด แก้ร�ำมะนาด แก้ปวดฟัน รากและเนื้อไม้ รสร้อนขื่น ขับลมในล�ำไส้ แก้ลมเบื้องบน หน้ามืด ตาลาย วิงเวียน ขับระดู เปลือกต้นใช้ขูดอุดฟันเป็นยาแก้ปวดฟัน หรือบางต�ำราน�ำมาอมเป็นยาแก้ปวดฟัน ซึ่งจะมีฤทธิ์เหมือนยาชา (เปลือกต้น) บางต�ำราใช้เมล็ดก�ำจัดต้นน�ำมาต�ำ ต้ม หรือตุ๋นกับไก่ ใช้ดมื่ แต่นำ �้ เป็นยาแก้สกุ ใส นอกจากจะมีสรรพคุณทางยาแล้วยังสามารถน�ำมาเป็นส่วนประกอบ ในการท�ำอาหารเพือ่ ช่วยเพิม่ รสชาติให้อาหารได้อกี ด้วย โดยน�ำเมล็ดไปตากแห้ง ใช้ใส่ลาบ หรือแกง ท�ำให้มีกลิ่นหอม ผลตากแห้งแล้วน�ำไปประกอบอาหาร เช่น ใส่แกง หรือน�ำไปคั่ว แล้วต�ำใส่ น�้ำพริกลาบ แต่เปลือกผลมีกลิ่นหอมกว่า จึงคัดเอาเมล็ดออกใช้แต่ เปลือกผลก็ได้

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

107


ดาหลา

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Etlingera elatior (Jack) R. M. Sm. ชื่อวงศ์ : ZINGIBERACEAE ชื่ออื่น : กะลา (นครศรีธรรมราช) ดาหลาขาว (กรุงเทพ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ลักษณะคล้ายข่า มีล�ำต้นใต้ดนิ เรียกว่าเหง้า เหง้านี้จะเป็นบริเวณที่เกิดของหน่อดอก และหน่อต้น ล�ำต้นเหนือดินเป็นกาบใบทีโ่ อบซ้อนกันแน่น เช่นเดียวกับพวกกล้วย ส่วนนีค้ อื ล�ำต้น เทียม ล�ำต้นเหนือดินสูง 2-3 เมตร มีสีเขียวเข้ม ใบรูปร่างยาวรี กลางใบกว้างแล้วค่อยๆ เรียว ไปหาปลายใบ และฐานใบ ใบไม่มีก้านใบ ผิวเกลี้ยงทั้งด้านบนและด้านล่าง ใบยาว 30 -80 เซนติเมตร กว้าง 10 -15 เซนติเมตร ปลายใบแหลม ฐานใบเรียวลาดเข้าหาก้านใบ เส้นกลาง ใบปรากฏชัดทางด้านล่างของใบ ดอกดาหลาเป็นดอกช่อมีลักษณะดอกแบบ (head) ประกอบ ด้วยกลีบประดับ มี 2 ขนาด ส่วนโคนประกอบด้วยกลีบประดับขนาดใหญ่ จะมีสีแดงขลิบขาว เรียงซ้อนกันอยู่และจะบานออก ประมาณ 25 -30 กลีบ และมีกลีบประดับ ขนาดเล็กอยู่ส่วน บนของช่อดอก กลีบประดับเล็กหุบเข้าเรียงเป็นระดับประมาณ 300 -330 กลีบ ภายในกลีบ ประดับขนาดใหญ่ที่บานออกมีดอกจริงขนาดเล็กกลีบดอกสีแดง ซึ่งเป็นดอกสมบูรณ์เพศอยู่ จ�ำนวนมาก ดอกบานเต็มที่มีขนาดความกว้างดอกประมาณ 14 -16 เซนติเมตร

108

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่ า เรื่ อ งสมุ น ไพรจาก “ป่ า ชุ ม ชนบ้ า นจุ ฬ าภรณ์ พั ฒ นา 12 จั ง หวั ด นราธิวาส” จากการบอกเล่าของ น้าแวซัยตูน วานิ ปราชญ์ชาวบ้านจาก ป่าชุมชนบ้านจุฬาภรณ์ พัฒนา 12 จังหวัดนราธิวาส เกี่ยวกับการใช้ ประโยชน์ของดาหลาในด้านต่างๆ ส่วนใหญ่ ชาวบ้ า นจะน� ำ มาใช้ในรูปของการประกอบ อาหารและใช้เป็นยา เช่น น�ำดอกดาหลาน� ำ มาหั่ น เป็ น ผั ก ของข้ า วย� ำ ดอกและต้นอ่อน น�ำมาลวกหรือต้มเป็นผักน�้ำพริก และต้นอ่อน น�ำมาแกงต่างๆ ใช้เป็นยา เช่น ช่วยขับลม แก้ทอ้ งอืดท้องเฟ้อ ลดลดความดันโลหิตสูง

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

109


ปุดสิงห์

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Elettariopsis curtisii Baker ชื่อวงศ์ : ZINGIBERACEAE ชื่ออื่น : โต๊ะคูวอกาชิง (ยะลา ปัตตานี, นราธิวาส) ปุดฉ๋อง (พัทลุง ตรัง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้ล้มลุก ลักษณะคล้ายต้นขมิน้ มีเหง้าใต้ดนิ เหง้ามีขนาดเล็กยาวทอดเลือ้ ยไปตามพืน้ ดิน ใบเป็นทางยาว สีเขียวเป็นมันเงา แต่ละต้นประกอบด้วยใบ 3 -5 ใบ ใบรูปขอบขนานแกม รูปหอก ปลายใบแหลมมีตงิ่ ยืน่ ออกมาเล็กน้อย โคนใบเรียวแหลม ก้านใบยาว ช่อดอกออกจาก เหง้าใต้ดิน รูปร่างกลมใหญ่ ก้านดอกสัน้ ดอกร่วงเหีย่ วง่าย ปลายกลีบมี 3 แฉก ดอกสี ขาวนวลตรงกลางมีสีเหลือง เกสรตัวผู้มีขนาดสั้น อับเรณู มีติ่งยื่นออกมา

110

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านป่าพงศ์ จังหวัดพัทลุง”

น้าพรชัย ปิ่นสุวรรณ ปราชญ์ชาวบ้านจากป่าชุมชน บ้านป่าพงศ์ จังหวัดพัทลุง เล่าว่าใบสดของปุดสิงห์มี รสชาติหวานมีกลิ่นคล้ายแมงดานา จึงมีการเอามาใช้ใน การประกอบอาหาร ไม่วา่ จะเป็นการกินใบแบบสดๆ หรือ การน�ำใบมาต�ำเป็นน�้ำพริกแทนแมงดา การกินใบสดนั้น เป็นการน�ำมาปรุงเพื่อเพิ่มความหอมของอาหารและใบ ของปุ ด สิ ง ห์ นั้ น มี ร สชาติ ห วานช่ ว ยให้ เ จริ ญ อาหาร ส่วนการน�ำมาต�ำน�ำ้ พริกนัน้ เพือ่ เพิม่ กลิน่ เนือ่ งจากใบของ ปุดสิงห์นั้นมีกลิ่นคล้ายแมงดานา ซึ่งสามารถใช้ทดแทน กันได้เป็นอย่างดีมี วิ ธี ก า ร ป รุ ง ที่ เหมือนกับน�ำ้ พริกแมงดาทุกอย่าง สรรพคุณทางยาของใบ ปุดสิงห์คือ มีรสชาติที่หวานหอมท�ำให้ผู้ป่วยหรือผู้ที่เบื่อ อาหาร รับประทานอาหารได้เพิม่ ขึน้ หรือจะน�ำส่วนใบและ รากต้มดื่มซึ่งมีสรรพคุณแก้อาการไอ เจ็บคอ ขับเสมหะ หรือการน�ำใบมาต�ำแล้วไปผสมกับน�้ำฉีดไล่แมลงศัตรูพืช เป็ น การลดต้ น ทุ น การผลิ ต และมี ค วามปลอดภั ย ต่ อ เกษตรกรและผู้บริโภค

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

111


พร้าวนกคุ่ม

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Molineria latifolia (Dryand. ex W. T. Aiton) Herb. ex Kurz var. ชื่อวงศ์ : HYPOXIDACEAE ชื่ออื่น : จ๊าลาน (เชียงใหม่) พร้าวนก (นครศรีธรรมราช) ว่านสากเหล็ก (ภาคกลาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

เป็นไม้ล้มลุก ลักษณะคล้ายพืชวงศ์ปาล์ม ใบเรียงสลับติดกันที่โคนต้น แผ่นใบรูปขอบ ขนานแกมรูปหอก พับเป็นร่องๆตามยาว กว้างประมาณ 4 -6 เซนติเมตร ยาวประมาณ 30 -40 เซนติเมตร ปลายใบเรียวแหลมโคนใบสอบแคบ ก้านใบยาว 25 -30 เซนติเมตร โคนแผ่กว้างหุ้มล�ำต้น ดอกมี 6 กลีบ สีเหลือง โคนเชื่อมติดกัน เส้นผ่านศูนย์กลาง 2 -2.5 เซนติเมตร ดอกออกรวมกันแน่น เป็นช่อรูปทรงกระบอกปลายแหลม ยาว 5 -7 เซนติเมตร กว้างประมาณ 4 -5 เซนติเมตร ผลแก่สีขาวถึงสีแดง รูปทรงกระสวยถึงกลมรี ขนาดยาว ประมาณ 4 -5 เซนติเมตร บริเวณขั้วจะป่องออก เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 เซนติเมตร แล้วค่อยๆ เรียวไปทางปลาย ขยายพันธุ์โดยการใช้เมล็ด

112

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านทุ่งสูง จังหวัดกระบี่”

ลุ ง สาคร ปรี ด าผล อายุ 70 ปี ปราชญ์ชาวบ้านจากป่าชุมชนบ้านทุง่ สูง จังหวัดกระบี่ เล่าว่าพร้าวนกคุ่มเป็นไม้ ล้มลุกที่ถือว่าเป็นสมุนไพรที่มีสรรพคุณดี เยีย่ มชนิดหนึง่ ถ้าป่วยเป็นไข้ ให้นำ� ใบและ รากของต้นพร้าวนกคุ่มมาต้มแล้วกินน�้ำ ใช้เป็นยาดับพิษร้อน ถอนไข้ได้ดเี ยีย่ ม และ ยั ง มี ส ร ร พ คุ ณ ช ่ ว ย ก ร ะ จ า ย โ ล หิ ต ฟอกโลหิต และท�ำให้โลหิตไหลเวียนได้ สะดวก และรากของต้นพร้าวนกคุ่มยัง สามารถน�ำมาหั่นบางๆตากแห้ง ดองกับ สุ ร ารั บ ประทานเป็ น ยาชั ก มดลู ก เช่ น คลอดบุตรใหม่ๆ มดลูกลอย ผลของพร้าว นกคุม่ รับประทานแก้คอแห้งกระหายน�ำ้ ได้

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

113


ไฟเดือนห้า

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Excoecaria oppositifolia Griff. ชื่อวงศ์ : EUPHORBIACEAE ชื่ออื่น : ตาตุ่มป่า ตังตาบอด (ภาคเหนือ) ยางร้อน (ล�ำปาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

เป็นไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 4 - 10 เมตร เปลือกค่อนข้างเรียบ สีน�้ำตาลเข้ม ทุกส่วนมีน�้ำ ยางสีขาว ใบเดี่ยว รูปไข่ ปลายแหลม โคนมน ขอบจักฟันเลื่อยตื้นๆ ออกตรงข้ามเป็นคู่ๆ หูใบ ขอบเป็นชายครุย กว้างประมาณ 4 มิลลิเมตร ยาวประมาณ 5 มิลลิเมตร ก้านใบ ยาว 1.3 - 2.5 เซนติเมตร ดอก เป็นดอกเดีย่ วขนาดเล็ก สี เ ขี ย วอ่ อ น ออกรวมกั น เป็ น ช่ อ แบบหาง กระรอกตามปลายกิ่งและง่ามใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกเพศผู้และเพศเมียอยู่ต่างดอกกัน มีกลีบ เลีย้ ง 3 กลีบ ไม่มกี ลีบดอก ออกดอกติดผลช่วง เดือนกรกฎาคม –สิงหาคม ผล กลมรี มี 3 พู แต่ ล ะพู ย าว 4 - 5 เซนติ เ มตร ปลายเป็ น ติ่งแหลม

114

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านนาปริก จังหวัดสตูล”

นายหยา มาลิ นี ปราชญ์ ช าวบ้ า นจากป่ า ชุ ม ชน บ้านนาปริก จังหวัดสตูล เป็นหมอพื้นบ้านที่มีความ รูเ้ กีย่ วกับพืชสมุนไพร เล่าว่า ไฟเดือนห้า เป็นสมุนไพรที่ มีสรรพคุณในการขับเลือด สามารถใช้เป็นส่วนผสมใน การปรุงยาหลายชนิด แต่จะต้องใช้อย่างระมัดระวัง เพราะน�้ำยางของไฟเดือนห้า จะมีพิษมาก หากถูก ผิวหนังท�ำให้ผวิ หนังอักเสบบวมแดง ถ้าเข้าตาก็ท�ำให้ ตาบอดได้ สามารถน�ำไปปรุงเป็นยาโดยใช้ร่วมกันกับ สมุนไพรตัวอืน่ ๆ อีกหลายชนิด เช่น สูตรยาบ�ำรุงรักษา เลือดลม ตัวยาประกอบด้วย ไฟเดือนห้า, ไฟสามกอง, หูหมี, ชิงดอกเดียว, สมแก่, จวง, ไหมปาดัง, ไอ้แหวง, ฝนแสนห่า, เอ็นแดงและไพ วิธปี รุง น�ำสมุนไพรทัง้ หมด มาล้างน�ำ้ ให้สะอาดตากลมให้แห้ง สับเป็นชิน้ ๆ ในอัตราส่วนที่เท่ากัน ใส่ลงในหม้อเติมน�้ำให้ ท่วม ต้มจนน�้ำเดือด รินดื่มครั้งละ ครึ่งแก้ว วันละ 2 ครัง้ หลังอาหารเช้า – เย็น (หลังอาหาร ครึ่งชั่วโมง) ช่วยท�ำให้เลือดลมดี โดยเฉพาะ สุภาพสตรี จะท�ำให้ประจ�ำเดือนมาเป็นปกติ ค�ำเตือน ไฟเดือนห้า ฝนแสนห่า และชิงดอกเดียว มี ส รรพคุ ณ เป็ น ยาร้ อ น สตรี มีครรภ์และ คนที่มีอาการช�ำ้ ในห้ามรับประทาน เพราะจะขับถ่ายเลือดออกมามากเกิน

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

115


มะปราง

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bouea macrophylla Griff. ชื่อวงศ์ : ANACARDIACEAE ชื่ออื่น : ปราง (ภาคใต้) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้ต้น มีทรงต้นค่อนข้างแหลม มีกิ่งก้านสาขาค่อนข้างทึบต้นโต สูง 15 -30 เมตร มีใบมาก ใบเรียว ขนาดใบโดยเฉลี่ยกว้าง 3.5 เซนติเมตร ยาว 14 เซนติเมตร ดอกเป็นช่อ เกิดบริเวณปลายกิ่งแขนง ช่อดอกยาว 8 - 15 เซนติเมตร เป็นดอกสมบูรณ์เพศ ดอกบานจะมี สีเหลือง ออกดอกช่วงเดือนพฤศจิกายน -ธันวาคม ผล มีลักษณะทรงกลมรูปไข่ ปลายเรียว แหลม มะปรางช่อหนึ่งมีผล 1 - 15 ผล ผลดิบมีสีเขียวอ่อน - เขียวเข้มตามอายุของผล ผลสุก มีสเี หลืองหรือเหลืองอมส้ม เปลือกผลนิม่ เนือ้ สีเหลืองแดงส้มออกแดงแล้วแต่ชนิดพันธุ์ รสชาติ หวาน -อมหวานอมเปรี้ยว หรือเปรี้ยว - เปรี้ยวจัด เมล็ดมะปรางผลหนึ่งจะมี 1 เมล็ด ส่วนผิว ของกะลาเมล็ดมีลกั ษณะเป็นเส้นใย เนือ้ ของเมล็ดทัง้ สีขาวและสีชมพูอมม่วง รสขมฝาดและขม ลักษณะเมล็ดคล้ายเมล็ดมะม่วง

116

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บ อ ก เ ล ่ า เรื่ อ ง ส มุ น ไ พ ร จ า ก “ป่าชุมชนบ้านอ่าวอ้ายยอ จังหวัด นครศรีธรรมราช”

ลุงบุญเลิศ พันธุสนิท ปราชญ์ชาว บ้ า นจากป่ า ชุ ม ชนบ้ า นอ่ า วอ้ า ยยอ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช เล่ า ว่ า ส่วนต่างๆ ของต้นมะปราง เช่น ล�ำต้น เปลื อ ก ราก ใบ น� ำ ไปต้ ม ลดอาการ วิงเวียนศีรษะ ลดอาการไข้ ใบน�ำไปต้ม ผสมน�้ำอุ่น อาบลดอาการไข้หวัด ใบอ่อน ใช้เป็นผักจิ้มน�้ำพริก ผลอ่อนและผลแก่ มีรสชาติเปรีย้ ว ใช้ปรุงอาหาร เช่น แกงส้ม ต้มส้ม น�ำ้ พริกมะปราง หรือ ดอง ท�ำมะปราง แช่อิ่ม เป็นยาแก้ท้องผูก เมล็ดตากแห้ง น�ำไปบดท�ำเป็นยาลูกกลอน ผสมน�ำ้ ผึง้ รวง แก้ทอ้ งร่วง ผงบดจากเมล็ดใช้เป็นสียอ้ มผ้า หรือสีผสมอาหาร ล�ำต้นและกิ่ง น�ำไปเผาถ่านใช้เป็นเชื้อเพลิงในการปรุงอาหาร

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

117


มะม่วงหิมพานต์

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Anacardium occidentale L. ชื่อวงศ์ : ANACARDIACEAE ชื่ออื่น : กาหยี ยาโห้ย ยาร่วง (ตรัง) ท้ายล่อ หัวครก (สงขลา) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงประมาณ 6 -12 เมตร ใบเดี่ยว สีเขียวเข้ม ออกสลับ ใบจัด เรียงเป็นแบบเกลียว ผิวมันลื่น คล้ายใบลีลาวดี แต่มีกลิ่นหอมเล็กน้อย ดอก ออกเป็นช่อ มีทั้ง ดอกสมบูรณ์เพศ และดอกไม่สมบูรณ์เพศ รวมอยูใ่ นช่อดอกเดียวกัน เมือ่ ออกใหม่จะมีสเี ขียวซีด แล้วค่อยๆเปลี่ยนเป็นสีแดงสด มี 5 กลีบ ผล ผลเทียม เกิดจากการขยายตัวของก้านดอกเมื่อ สุกจะมีสีเหลือง หรือส้มแดง เนื้อนิ่ม มีส่วน ประกอบของแทนนินมาก ท�ำให้เน่าเสียเร็ว ผลแท้ เป็นผลเมล็ดเดียว รูปไต งอกออกจากปลาย ของผลเทียม เมือ่ สุกจะมีสเี ทา มีเนือ้ ในเมล็ดสีขาว

118

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านทุ่งหลวง จังหวัดตรัง”

ลุงอนันต์ ทองดียิ่ง และป้าอ้อยทิพย์ คงข�ำ ปราชญ์ชาวบ้านจากป่าชุมชนบ้าน ทุง่ หลวง จังหวัดตรัง ได้เล่าถึงการใช้ประโยชน์มะม่วงหิมพานต์ ว่าชาวบ้านบ้านทุง่ หลวง รูจ้ กั น�ำ ยอดอ่อน ผลและเมล็ดของมะม่วงหิมพานต์ มาบริโภค กันเป็นเวลานานแล้ว โดยอาศัยภูมปิ ญ ั ญาพืน้ บ้านทีไ่ ด้ รับการสืบทอดกันมา ตั้งแต่อดีตมาท�ำการแปรรูปเป็น อาหารในรูปแบบต่างๆ เช่น ผลน�ำมาแกงกะทิ แกงไตปลา แกงเลียง หรือทานสด เมล็ด ก็น�ำมาทานเป็นของว่าง หรือใช้ประกอบในการท�ำอาหารคาวหวาน ต่างๆ หลายชนิด เช่น ต�ำน�้ำพริก แกง ย�ำ หรือโรยหน้าขนมหม้อแกง ยอดอ่อนก็ทานเป็นผักสดกินกับ ขนมจีน หรืออาหารที่ มีรสจัด เช่นน�้ำพริก แกงคั่ว แกงส้ม แกงไตปลา ฯลฯ ส่วนต่างๆของมะม่วงหิมพานต์ นอกจากจะให้ประโยชน์ ทางด้านอาหารแล้ว ยังมีสรรพคุณด้านสมุนไพร ช่วยรักษาอาการของโรคต่างๆ ได้ด้วย เช่น เมล็ดช่วย บ�ำรุง เส้นผม ผิวหนัง สุขภาพเหงือก ฟันและกระดูกให้ แข็งแรง ช่วยป้องกัน การเกิดโรคกระดูกพรุนในผูส้ งู อายุ โรคมะเร็ง โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด โรคหัวใจ และโรคเกี่ยวกับ ทรวงอก โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคนิ่ว ใบช่วยบรรเทาอาการของ โรคริดสีดวง อาการท้องร่วง อาการไอ และเจ็บคอ ช่วยรักษา แผลไฟไหม้ น�้ำร้อนลวก แผลใน กระเพาะอาหาร ผล ช่วยรักษาแผลในช่องปาก โรคบิดเรื้อรัง แก้อาเจียน ช่วยขับเหงื่อ ขับปัสสาวะ ต้านกามโรค เปลือกต้น ช่วยรักษาโรคผิวหนังพุพองและกามโรค ใช้เป็นยาแก้ปวด เนื่องจากร�ำมะนาด ยาง ใช้รักษาหูด ตาปลา ช่วยกัดท�ำลายเนื้อด้านที่เป็นปุ่มโต หรือโรคเท้า แตกได้

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

119


ราชครูด�ำ

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Goniothalamus macrophyllus (Blume) Hook. f. & Thomson ชื่อวงศ์ : ANNONACEAE ชื่ออื่น : กาเยาะบราเนาะ (มาเลย ปัตตานี) กิ่งดอกเดียว (ตรัง) ชิงดอกเดียว (สงขลา) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ลักษณะต้น : ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 1 - 2 เมตร แตกกิ่งน้อย กิ่งอ่อนเป็นรูป สี่เหลี่ยม เปลือกหนาและนิ่ม มีกลิ่นฉุน ใบเดี่ยว รูปขนาน แผ่นใบหนา เป็นมันเรียบทั้งสองด้าน โคนใบป่องเรียงสลับในระนาบเดียวกัน ดอกเดีย่ ว กลีบหนาฉ�ำ่ น�ำ ้ มี 6 กลีบ เรียงสองชัน้ กลีบดอก สีเ หลือ งนวลหรือ เหลือ งอมชมพู มีก ลิ่น หอม ออกที่ง ่ า มใบ เมื่อ บานมีเ ส้ น ผ่ า นศู น ย์ ก ลาง 2-3เซนติเมตร ออกช่วงเดือนมีนาคม - มิถุนายน ดอกบาน 2-3 วัน ในช่วงที่ดอกใกล้โรยจะ มีกลิน่ หอม ส่งกลิน่ หอมอ่อนๆ ช่วงกลางวัน และหอมแรงช่วงใกล้คำ �่ ผลกลุ่ม เมือ่ สุก สีม่วงเข้ม เกร็ดพรรณไม้ : ชื่อของชิงดอกเดียว มีที่มาจากลักษณะการติดดอกซึ่งเป็นดอกเดี่ยว ติดกับล�ำต้นจุดละ 1 ดอกเท่านั้น ส่วนล�ำต้นทอดสูงขึ้นด้านบนเดี่ยวๆ โดยจะไม่แตกกิ่งออก ด้านข้าง

120

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรือ่ งสมุนไพรจาก “ป่าชุมชน บ้านนิคมพัฒนา จังหวัดสงขลา”

“ ชิงดอกเดียวมันเป็นยาครอบจักรวาล เป็นยาอายุวัฒนะ ดีที่หนึ่งเลย เข้ายาได้หมด ทุกเรื่อง” การเริ่มต้นของผู้ใหญ่ประภาศ ชวนให้เราอยากรู้จักสมุนไพรชนิดนี้มากขึ้น ด้านลุงหวด ปราชญ์ชาวบ้านป่าชุมชนบ้าน นิคมพัฒนา จังหวัดสงขลา เล่าว่า ชิงดอกเดียว มีสรรพคุณในการ บ�ำรุงประสาท บ�ำรุงหัวใจ แก้ปวดเมื่อย บ�ำรุงก�ำลัง ราก น�ำมาฝนรวม กับน�้ำซาวข้าวให้ได้นำ�้ ข้นๆประมาณ 3 ช้อน โต๊ะ แก้พษิ ให้หมาหรือแมวทีโ่ ดนยาเบือ่ “หรือ จะใช้กับคนก็ได้นะ” หากน�ำไปผสมกับราก ไหลเผือ กมีส รรพคุ ณ เป็ น ยาบ� ำ รุ ง แก้ เ ข็ ด แก้เมือ่ ย กระดูกทับเส้น โรคกระเพาะ โรคหวัด ส่วนด้านยาอายุวฒ ั นะ บ�ำรุงคนผอมแห้งแรงน้อย ประกอบด้วย เปล้าน้อย เปล้าใหญ่ ฝนแสนห่า ยาหนูต้น ก�ำแพงเจ็ดชั้น ชิงดอกเดียว ใช้ทั้ง 5 หมายถึง ราก ต้น ใบ ดอก ผล ใช้ทั้งหมดใน อัตราส่วนประมาณ อย่างละ 1 ส่วนเท่าๆ กัน ดองกับเหล้าขาว ส่วนผสมที่น�ำมาเข้ายานี้ใช้ได้ ทั้งแบบสด หรือหากอบแห้งหรือผึ่งลมให้แห้งก็ได้ แต่ห้ามโดนแสงแดดโดยตรง คนโบราณถือ เคล็ดการเก็บของจากป่าอยู่ 2 อย่าง คือ 1.ต้องสวดมนต์บทชุมนุมเทวดาและเอ่ยขอก่อน 2. ตอนไปเก็บอย่าให้เงาของเราทับบนต้นสมุนไพรนัน้ เราไม่ใช้ชงิ ดอกเดียวแบบเดีย่ วๆ ต้องเข้ายา หมายถึง ผสมกับตัวยาหรือสมุนไพรอื่นๆ แต่ยาสมุนไพรตัวไหนก็ตาม จะกินเกินปริมาณ กินมากกว่าที่บอกไว้ไม่ได้นะ อันตรายไม่ปรากฏข้อมูลที่เกี่ยวกับการน�ำชิงดอกเดียวเป็นพืช อาหาร เช่น เป็นผักเหนาะ (ผักเครือ่ งเคียง) ตามวัฒนธรรมการบริโภคอาหารของคนในท้องถิน่ แต่กม็ นี ะลุงหวดว่า คนจีนเขาใช้ชอ่ ตีนหมู (ข้อเท้า) 4 ช่อ ชิงดอกเดียว 5 ต้นสับเป็นชิน้ ต้มกับเหล้า กินแล้วหายปวดเอว ปัจจุบันในชุมชนบ้านนิคมพัฒนามีผู้รู้สรรพคุณและน�ำสมุนไพรต่างๆ มาใช้ มีประมาณ 4-5 คนเท่านั้น เพราะไม่มีใครสนใจ ผู้ใหญ่ประภาศ จึงตั้งใจอยากถ่ายทอด ความรู้รวม เป็นเล่มไว้ ลุงหวดให้ข้อคิดส่งท้ายว่า ความรู้เรื่องสมุนไพรมีไว้บ้าง จะช่วยเรา ในยามวิกฤตได้ ๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

121


เล็บรอก

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Toddalia asiatica (L.) Lam. ชื่อวงศ์ : RUTACEAE ชื่ออื่น : สะบ่าสะเระ (กะเหรี่ยง กาญจนบุร)ี เครืองูเห่า ผักแปมป่า (ภาคเหนือ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

เป็นไม้เถาขนาดใหญ่ มีกิ่งก้านเล็กเรียว เถาแก่มีปุ่มของหนามติดอยู่ทั่วไป ผิวสีน�้ำตาล มีกระสีขาวอยู่ตามเปลือก เนื้อไม้สีเหลือง เถาอ่อนมีหนามแหลมงุ้ม ใบเป็นใบประกอบแบบ นิ้วมือ 3 ใบใบย่อยรูปไข่ปลายสอบหรือรูปขอบขนานแกมไข่กลับกว้าง 1 -2.5 เซนติเมตร ขอบใบจักเป็นซีถ่ ๆี่ แผ่นใบสีเขียวเข้ม มีจดุ น�ำ้ มันกระจายทัว่ ใบ ใบยาว 5 -10 เซนติเมตร มีกลิน่ คล้ายการบูร และตะไคร้ ดอกสีเหลืองแกมเขียว เป็นช่อที่ปลายกิ่งและง่ามใบ มี 5 กลีบ ผลสด ฉ�่ำน�้ำ ทรงกลมหรือรูปไข่กลับ เมื่อสุกมีสีส้ม มีกลิ่นคล้ายพริกไทยเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 -10 มิลลิเมตร มีต่อมน�้ำมันที่ผิวเกิดตามป่าในเขตร้อนทั่วไป

122

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านครน จังหวัดชุมพร”

นายจรูญ ทองเหลือ ปราชญ์ชาวบ้านจากป่าชุมชนบ้านครน จังหวัดชุมพร เล่าว่าการ น�ำใบสดของเล็บกระรอกมารับประ ทานสดๆจะช่วยแก้อาการปวดท้อง และสามารถน�ำไปต�ำให้ละเอียดเพื่อ พอกหรื อ ทาแก้ โ รคผิ ว หนั ง ได้ เ ป็ น อย่างดี ส่วนมากชาวบ้านจะนิยมรับ ประทานใบสดกั บ น�้ ำ พริ ก และ ขนมจีน เพราะใบสดจะมีรสชาติฝาด เล็กน้อย และนอกจากนี้ยังสามารถ น� ำ เถาไปต้ ม ดื่ ม น�้ ำ แก้ อ าการปวด เมื่อยเส้น ขับปัสสาวะ แก้พิษโลหิต แก้พิษในข้อ แก้ไอ แก้พิษตานซาง ตานขโมยและขั บ พยาธิ ไ ส้ เ ดื อ น ส่วนรากของต้นเล็บกระรอกเมื่อน�ำ ไปตากแห้งสามารถต้มชงน�ำ้ ดืม่ ขับลม บ� ำ รุ ง ก� ำ ลั ง แก้ เ ถาดานในท้ อ ง แก้ ป วดเสี ย ดแทง แก้ ริ ด สี ด วง ล� ำ ไส้ ได้อีกด้วย

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

123


ว่านทรหด

ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Curcuma zanthorrhiza Roxb. ชื่อวงศ์ : ZINGIBERACEAE ชื่ออื่น : ว่านพระยาหัวศึก ว่านการบูรเลือด ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

เป็นไม้ลม้ ลุก มีเหง้าอยูใ่ ต้ดนิ เหมือนต้นขมิน้ ต่างกันเพียงร่องใบ ลักษณะหัวว่านทรหดจะกลม เกลี้ยงคล้ายหัวเผือก เนื้อในสีขาวและมีรสต่างกัน ห้ารส ความสูงประมาณ 1 - 2 เมตร เป็นล�ำต้นเทียม ใบเดี่ยวยาวรี กว้าง 20 เซนติเมตร ยาว 30 - 40 เซนติเมตร ปลายใบและโคนใบแหลม ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบลื่นสีเขียว ร่องใบ สีน�้ำตาล ก้านใบยาวจากพื้นดิน 10 - 15 เซนติเมตร ออกดอกเป็นช่อเหมือนดอกขมิ้นหรือดอก กระเจียว ดอกสีขาวอมม่วง เป็นช่อชูตงั้ สวยงาม

124

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนห้วย ใหญ่ จังหวัดชุมพร”

ลุงบุญยุทธ หยีตป้อม ปราชญ์ชาวบ้านจากป่า ชุมชนห้วยใหญ่ จังหวัดชุมพร เล่าว่าว่านทรหดจะต่าง กับว่านชักมดลูกตรงที่ว่านทรหดจะมีหัวเดียว ส่วนหัว ของว่านชักมดลูกจะเป็นแง่งคล้ายขมิน้ และว่านทรหดจะเป็นตัวผู้ ส่วนว่านชักมดลูกเป็นตัวเมีย หัวสดใช้เป็นยา แก้โรคล�ำไส้ แก้ริดสีดวงทวาร และโรคโลหิต บ�ำรุงร่างกาย รักษาโรคมุดกิต ระดูขาว กระบังลมหย่อนยาน รักษาเกี่ยวกับโรคภายใน โดยวิธีท�ำนั้นจะหั่นหัวว่านทรหดเป็น แว่น ตากแดดแล้วน�ำมาต้มกินพอประมาณ 1 แก้วเล็ก ก่อนอาหารเช้าและเย็น ถ้าจะให้ได้ผล รวดเร็วต้องดองกับเหล้า คนทีค่ ลอดลูกใหม่ๆ อยู่ไฟไม่ได้ กินแล้วจะท�ำให้มดลูกเข้าอู่เร็ว รักษา อาการมดลูกทรุดตัว หรือมดลูกต�ำ่ ไม่เข้าที่ มีส่วนช่วยเสริมหรือขยายหน้าอก ช่วยลดเลือนรอย เหีย่ วย่น ฝ้า และรอยด�ำ ช่วยกระชับหน้าท้องทีห่ ย่อนคล้อยหลังคลอดบุตร ช่วยกระชับช่องคลอด ภายในของสตรี ช่วยลดอาการปวดประจ�ำเดือน ลดกลิ่นปาก กลิ่นตัว กลิ่นภายในช่องคลอด ลดอาการร้อนวูบวาบในสตรีวัยทอง แก้อาการท้องอืดท้องเฟ้อ

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

125


เหลียง

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gnetum gnemon Linn. var. tenerum Markgr. ชื่อวงศ์ : GNETACEAE ชื่ออื่น : เรียนแก่ (นครศรีธรรมราช) ผักกะเหรี่ยง (ชุมพร) ผักเมี่ยง เหมียง (พังงา) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไม้พุ่ม สูง 2 – 5 เมตร ผิวเปลือกเรียบ เปลือกอ่อนมีสีเขียว เมื่อแก่จะเปลี่ยนเป็นสี น�ำ้ ตาลใบเป็นใบเดีย่ วเรียงตรงข้ามกัน ใบออกมาจากปลายยอดของต้นและกิง่ ใบเป็นรูปรีปลาย ใบเรียว กว้าง 4 – 10 เซนติเมตร ยาว 10 – 20 เซนติเมตร เนื้อใบบางแต่เหนียวคล้ายแผ่น หนัง ใบมีสเี ขียวเป็นมัน ดอกขนาดเล็กออกเป็นช่อตามข้อของกิง่ แต่ละช่อยาว 3 -4 เซนติเมตร มีปุ่มดอกขนาดเล็กเรียงกันเป็นข้อๆ 5 -8 ข้อ กลีบดอกสีขาว เมื่อร่วงโรยก็ร่วงหล่นทัง้ ช่อดอก ดอกแยกเพศอยู่คนละต้น ดอกตัวเมียเป็นดอกสมบูรณ์เพศดอกขนาดใหญ่กว่า ดอกตัวผู้ออก เป็นช่อตามข้อของกิ่ง เริ่มออกดอกในช่วง เดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม ผลเป็นรูปกระสวย กว้าง 1 – 1.5 เซนติเมตร ยาว 2.5 – 4 เซนติเมตร ผลอ่อนมีเปลือกสีเขียว เมื่อแก่จัดเปลือก และเนื้อจะมีสีเหลือง เนื้อมีรสหวาน ใน 1 ช่อจะมีผลประมาณ 10 – 20 ผล ผลจะแก่จัด ประมาณเดือนมีนาคม ถึง เดือนเมษายน

126

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


บอกเล่าเรื่องสมุนไพรจาก “ป่าชุมชนบ้านสระแก้ว จังหวัดสุราษฎร์ธานี”

ลุงอ�ำนวย อ่อนเย็น และป้าบุญสี มนตรีประสาท ปราชญ์ชาวบ้านจากป่าชุมชนบ้าน สระแก้ว จังหวัดสุราษฎร์ธานี เล่าว่าผักเหลียงใช้ยอดอ่อน ใบอ่อน น�ำไปปรุงอาหาร เช่น ต้ม กะทิ แกงเผ็ด แกงส้ม แกงพริก แกงจืด แกงเลียง แกงไตปลา ผัด หรือใช้หอ่ เมีย่ งค�ำ รองห่อหมก ย�ำยอดอ่อน ใบอ่อน ดอกอ่อน รับประทานเป็นผักสดหรือผักลวกกับน�้ำพริก ขนมจีนน�้ำยา

ผักเหลียงอุดมไปด้วย เบต้าแคโรทีน ทีต่ อ้ งถือว่าเป็นสารต้านออกซิเดชัน่ ทีส่ ำ� คัญ ทัง้ ยังเป็นสาร ตั้งต้นสร้างวิตามินเออีกด้วยเป็น ผักที่ถือว่าเป็นสุดยอดของแหล่งเบต้าแคโรทีน ด้านสมุนไพร ใบของผักเหลียงมีสรรพคุณทางยา รับประทานเพื่อบ�ำรุงเส้นเอ็น กระดูก สายตา และสามารถ น�ำมาใช้ลอกฝ้าได้

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

127


บรรณานุกรม ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2558. ก้นถ้วยใหญ่. (ออนไลน์). แหล่งทีม่ า : http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=197. 20 ก.ย. 2558. ฟรินน์.คอม. 2558. กุ่มน�้ำสรรพคุณและประโยชน์ของต้นกุ่มน�้ำ 39 ข้อ. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://frynn.com. 20 ก.ย. 2558. แพร จารุ ไชยวงษ์แก้ว. 2558. กุ่มน�้ำ. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.technologychaoban.com/ news_detail.php?tnid=1142. 20 ก.ย. 2558. ไม่ระบุชื่อผู้แต่ง. 2558. ผักเกล็ดขนมจีน. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.bloggang.com/ mainblog.php?id=plaipanpim&month=07-11-2013&group=1&gblog=352. 20 ก.ย. 2558. ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2558. พลองเหมือด. (ออนไลน์). แหล่งทีม่ า : http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=242. 20 ก.ย. 2558. ส�ำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 6 สงขลา. 2558. ความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ ป่าเขาบรรทัด. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://paro6.dnp.go.th/paro6_technical/khao%20 ban%20tad/Mmagnoliopsid1.html. 20 ก.ย. 2558. ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2558. มะขามป้อม. (ออนไลน์). แหล่งทีม่ า : http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=258 . 20 ก.ย. 2558. ไม่ระบุชื่อผู้แต่ง. 2558. ว่านตูบหมูบ. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.baanmaha.com/community/ threads/. 20 ก.ย. 2558. ไม่ระบุชื่อผู้แต่ง. 2558. ว่านตูบหมูบ. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://ta-pollar.blogspot.com/2010/08/ blog-post.html. 20 ก.ย. 2558. ไม่ระบุชื่อผู้แต่ง. 2558. กลุ่มยาถ่ายพยาธิ มะหาด. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.rspg.or.th/ plants_data/herbs/herbs_04_5.htm. 22 ก.ย. 2558. ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2558. มะหาด. (ออนไลน์). แหล่งทีม่ า : http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=187. 22 ก.ย. 2558. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. 2558. มะหาด. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/. 22 ก.ย. 2558. ไม่ระบุชื่อผู้แต่ง. 2558. ก�ำจัดต้น. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://rspg.svc.ac.th/Wiki/index.php. 22 ก.ย. 2558. ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2558. ก�ำจัด. (ออนไลน์). แหล่งทีม่ า : http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=13. 22 ก.ย. 2558.

128

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน


ไม่ระบุชื่อผู้แต่ง. 2558. ก�ำจัดต้น. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://eherb.hrdi.or.th/search_result_details. php?herbariumID=506&name. 22 ก.ย. 2558. ไม่ระบุชื่อผู้แต่ง. 2558. ก�ำลังวัวเถลิง. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.bloggang.com/viewdiary. php?id=endless9&month=06-2009&date=23&group=11&gblog=10. 22 ก.ย. 2558. ฟรินน์.คอม. 2558. รางแดง สรรพคุณและประโยชน์ของต้นรางแดง 20 ข้อ. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://frynn.com. 22 ก.ย. 2558. ชยันต์ พิเชียรสุนทร, แม้นมาส ชวลิต และ วิเชียร จีรวงส์. 2558. ประค�ำไก่. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.vichakaset.com. 22 ก.ย. 2558. ดร. ปิยะ เฉลิมกลิ่น. 2558. ลาน. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.rspg.or.th/plants_data/use/ palm.htm. 22 ก.ย. 2558. ฟรินน์.คอม. 2558. ลาน สรรพคุณประโยชน์ของต้นลาน 15 ข้อ. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://frynn.com. 22 ก.ย. 2558. ไม่ระบุชื่อผู้แต่ง. 2558. สรรพคุณ ว่านทรหด. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://samumpri-thai.blogspot. com/2011/03/blog-post_5172.html. 18 ก.ย. 2558 กรมป่าไม้. 2558. ต้นไม้ประจ�ำจังหวัดชัยภูมิ (ขี้เหล็กบ้าน). (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.forest. go.th/nursery/index.php?option=com_content&view=article&id=576&Itemid=575&lang=th. 18 ก.ย. 2558 suwit Manasthaisong. 2558. กรวยป่า. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://thaiherb-tip108.blogspot. com/2013/09/blog-post.html. 18 ก.ย. 2558 ส�ำนักงานหอพรรณไม้. 2558. กรวยป่า. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.dnp.go.th/botany/detail. aspx. 18 ก.ย. 2558 ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2558. ชิงชี่. (ออนไลน์). แหล่งทีม่ า : http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=222. 18 ก.ย. 2558 ไม่ระบุชื่อผู้แต่ง. 2558. ดอกกิ่งดอกเดียว. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.thaitreeflowers.com/ view.php?id=20110923132410.5. 18 ก.ย. 2558 ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. 2558. งิ้วแดงดอกแดง. (ออนไลน์). แหล่งทีม่ า : http://202.143.163.36/Project/index.php/2015-07-12-13-46-28. 18 ก.ย. 2558 ไม่ระบุชื่อผู้แต่ง. 2558. ขี้เหล็ก. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.herb-health.com. 28 ก.ย. 2558 ไม่ระบุชื่อผู้แต่ง. 2558. กรวยป่า. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.qsbg.org/Database/Botanic_ Book%20full%20option/search_detail.asp?Botanic_ID=2448. 28 ก.ย. 2558 ๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

129


INDEX ดัชนี แหล่งที่มาของข้อมูล หน่วยงาน สนจทป.ที่ 1 (เชียงใหม่) สนจทป.ที่ 1 สาขาแม่ฮ่องสอน สนจทป.ที่ 2 (เชียงราย) สนจทป.ที่ 2 (เชียงราย) สนจทป.ที่ 3 (ลำ�ปาง) สนจทป.ที่ 3 (ลำ�ปาง) สนจทป.ที่ 3 สาขาแพร่ สนจทป.ที่ 3 สาขาแพร่ สนจทป.ที่ 4 (ตาก) สนจทป.ที่ 4 (ตาก) สนจทป.ที่ 4 สาขานครสวรรค์ สนจทป.ที่ 4 สาขานครสวรรค์ สนจทป.ที่ 4 สาขาพิษณุโลก สนจทป.ที่ 4 สาขาพิษณุโลก สนจทป.ที่ 5 (สระบุรี) สนจทป.ที่ 6 สาขานครพนม สนจทป.ที่ 6 สาขานครพนม สนจทป.ที่ 7 (ขอนแก่น) สนจทป.ที่ 7 (ขอนแก่น) สนจทป.ที่ 7 สาขาอุบลราชธานี สนจทป.ที่ 7 สาขาอุบลราชธานี สนจทป.ที่ 8 (นครราชสีมา) สนจทป.ที่ 8 (นครราชสีมา) สนจทป.ที่ 9 (ชลบุรี) สนจทป.ที่ 9 (ชลบุรี) สนจทป.ที่ 9 สาขาปราจีนบุรี สนจทป.ที่ 9 สาขาปราจีนบุรี สนจทป.ที่ 10 (ราชบุรี) สนจทป.ที่ 10 (ราชบุรี)

130

ป่าชุมชน ป่าชุมชนบ้านดงห้วยเย็น ป่าชุมชนบ้านแม่หาร ป่าชุมชนบ้านแม่บง ป่าชุมชนบ้านร่องปอ ป่าชุมชนบ้านต้นต้อง ป่าชุมชนบ้านห้วยเจริญ ป่าชุมชนบ้านเด่นพัฒนา ป่าชุมชนบ้านวังหงส์ ป่าชุมชนบ้านใหม่ป่าคา ป่าชุมชนบ้านหนองทราย ป่าชุมชนบ้านเขาโล้น ป่าชุมชนบ้านเขาใหญ่ ป่าชุมชนบ้านเขาสัก ป่าชุมชนบ้านเขาน้อย ป่าชุมชนบ้านพระพุทธบาทน้อย ป่าชุมชนบ้านพรเจริญ ป่าชุมชนบ้านดอนกอย ป่าชุมชนบ้านหนองบัวน้อย ป่าชุมชนดอนเจ้าปู่ ป่าชุมชนบ้านคูขาด ป่าชุมชนบ้านศรีสมบูรณ์ ป่าชุมชนสามสิบส่างและเขาเขียว ป่าชุมชนบ้านหินลาด ป่าชุมชนบ้านห้วยลึก ป่าชุมชนบ้านป่าใต้ (ดอนทราย) ป่าชุมชนบ้านโนนหินผึ้ง ป่าชุมชนบ้านพร้าว ป่าชุมชนบ้านสวนผึ้ง ป่าชุมชนบ้านห้วยสะพานสามัคคี

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

จังหวัด ลำ�พูน แม่ฮ่องสอน เชียงราย พะเยา ลำ�ปาง อุตรดิตถ์ น่าน แพร่ ตาก กำ�แพงเพชร พิจิตร นครสวรรค์ เพชรบูรณ์ พิษณุโลก สระบุรี นครพนม สกลนคร ร้อยเอ็ด ขอนแก่น อุบลราชธานี ยโสธร นครราชสีมา ชัยภูมิ ชลบุรี จันทบุรี ปราจีนบุรี สระแก้ว ราชบุรี กาญจนบุรี

ชื่อสมุนไพร ตะแบกเลือด มะนาวไม่รู้โห่ สะค้าน มะคำ�ไก่ มะเกลือ ระย่อม ซ้อ หญ้าหนอนตาย กุ่มน้ำ� ลูกใต้ใบ ขันทองพยาบาท ตาลเดี่ยว มะขาม กระทือ ชาฤาษี เหมือดแอ่ ย่านางแดง เปราะป่า รางแดง แสง ฝาง หนอนตายหยาก กรวยป่า พรวด ปลาไหลเผือก กำ�แพงเจ็ดชั้น กะตังใบ สาธร งิ้วป่า


สนจทป.ที่ 11 (สุราษฎร์ธานี) สนจทป.ที่ 11 (สุราษฎร์ธานี) สนจทป.ที่ 12 (นครศรีธรรมราช) สนจทป.ที่ 12 (นครศรีธรรมราช) สนจทป.ที่ 12 สาขากระบี่ สนจทป.ที่ 13 สงขลา สนจทป.ที่ 13 สาขานราธิวาส ศูนย์ฯ 1 (เชียงใหม่) ศูนย์ฯ 1 (เชียงใหม่) ศูนย์ฯ 2 (เพชรบูรณ์) ศูนย์ฯ 2 (เพชรบูรณ์) ศูนย์ฯ 3 (สกลนคร) ศูนย์ฯ 3 (สกลนคร) ศูนย์ฯ 4 (ศรีสะเกษ) ศูนย์ฯ 4 (ศรีสะเกษ) ศูนย์ฯ 5 (อุทัยธานี) ศูนย์ฯ 5 (อุทัยธานี) ศูนย์ฯ 6 (ระยอง) ศูนย์ฯ 6 (ระยอง) ศูนย์ฯ 7 (เพชรบุรี) ศูนย์ฯ 7 (เพชรบุรี) ศูนย์ฯ 8 (ตรัง) ศูนย์ฯ 8 (ตรัง) ศูนย์ฯ 9 (ลำ�ปาง) ศูนย์ฯ 9 (ลำ�ปาง) ศูนย์ฯ 10 (ขอนแก่น) ศูนย์ฯ 10 (ขอนแก่น) ศูนย์ฯ 11 (สระบุรี) ศูนย์ฯ 11 (สระบุรี) ศูนย์ฯ 12 (สุราษฎร์ธานี) ศูนย์ฯ 12 (สุราษฎร์ธานี)

ป่าชุมชนบ้านวังศิลาดิเรกสาร ป่าชุมชนบ้านห้วยใหญ่ ป่าชุมชนบ้านอ่าวอ้ายยอ ป่าชุมชนบ้านป่าพงศ์ ป่าชุมชนบ้านทุ่งสูง ป่าชุมชนบ้านนิคมพัฒนา ป่าชุมชนบ้านจุฬาภรณ์พัฒนา 12 ป่าชุมชนบ้านตลาดขี้เหล็ก ป่าชุมชนบ้านทาชมภู ป่าชุมชนบ้านหนองยาง ป่าชุมชนบ้านห้วยลาน (เขาล้านลื้อ) ป่าชุมชนบ้านโคกป่าทรี ป่าชุมชนบ้านห้วยไร่บูรพา ป่าชุมชนป่าโนนใหญ่ ป่าชุมชนป่าดงหนองอีเฒ่า ป่าชุมชนบ้านโป่งกำ�แพง ป่าชุมชนบ้านคลองห้วยหวาย ป่าชุมชนบ้านตะเกราทอง ป่าชุมชนบ้านจันทิ ป่าชุมชนบ้านโค้งตาบาง ป่าชุมชนบ้านลานคา ป่าชุมชนบ้านทุ่งหลวง ป่าชุมชนบ้านนาปริก ป่าชุมชนบ้านบุญแจ่ม ป่าชุมชนบ้านแม่ฮู้ ป่าชุมชนบ้านจาน ป่าชุมชนบ้านป่าโคกหินลาด ป่าชุมชนเขาอ้ายโป้ด ป่าชุมชนบ้านซับขาม ป่าชุมชนบ้านสระแก้ว ป่าชุมชนบ้านครน

สุราษฎร์ธานี ชุมพร นครศรีธรรมราช พัทลุง กระบี่ สงขลา นราธิวาส เชียงใหม่ ลำ�พูน พิษณุโลก เพชรบูรณ์ กาฬสินธุ์ อุดรธานี ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ชัยนาท นครสวรรค์ ระยอง ตราด เพชรบุรี ราชบุรี ตรัง สตูล แพร่ สุโขทัย บุรีรัมย์ มหาสารคาม ลพบุรี สระบุรี สุราษฎร์ธานี ชุมพร

กำ�จัดต้น ว่านทรหด มะปราง ปุดสิงห์ พร้าวนกคุ้ม ราชครูดำ� ดาหลา มะเขือแจ้เครือ ผักหนาม ยางนา ลาน มะขามป้อม ชิงชี่ มะดัน มะหาด ปลาไหลเผือก โลดทะนง ต๋าว เถาเอ็นอ่อน ย่านาง กำ�ลังวัวเถลิง มะม่วงหิมพานต์ ไฟเดือนห้า หัวข้าวเย็นเหนือ ขี้เหล็ก มะกอกน้ำ� หมักม่อ พญามือเหล็ก สังกรณี เหลียง เล็บกระรอก

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

131


ค�ำขอบคุณ คณะผู้จัดท�ำหนังสือ “ภูมิปัญญาสมุนไพรจาก 60 ป่าชุมชน” ขอขอบคุณ โครงการ อนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืชอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี (อพ.สธ.) ที่ได้อนุญาตให้ใช้ตราสัญลักษณ์โครงการ อพ.สธ. ส�ำหรับจัดพิมพ์ลงใน หน้าปกหนังสือ ขอขอบคุณ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรโี ฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ที่ให้การสนับสนุน งบประมาณในการด� ำ เนิน งาน “โครงการ ๖๐ ป่ า ชุ ม ชน อนุ รั ก ษ์ พั น ธุ ก รรมพืช ตามแนว พระราชด�ำริ เพื่อร่วมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖๐ พรรษา ๒ เมษายน ๒๕๕๘” ขอขอบคุณ ปราชญ์ชาวบ้านในพืน้ ที่ 60 ป่าชุมชนเป้าหมาย ทีเ่ ป็นผูใ้ ห้ขอ้ มูล และมีสว่ นร่วม ในการอนุรักษ์ สืบทอดภูมปิ ัญญา ด้านการใช้ประโยชน์พชื สมุนไพร เพื่อน�ำมาเป็นข้อมูลในการ เผยแพร่ในหนังสือเล่มนี้ ขอขอบคุณ ส�ำนักงานหอพรรณไม้ ส�ำนักวิจยั การอนุรกั ษ์ปา่ ไม้และพันธุพ์ ชื กรมอุทยาน แห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พชื ขอขอบคุณ ส่วนจัดการป่าชุมชน ส�ำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ท่ี 1 -13 ส�ำนักจัดการ ทรัพยากรป่าไม้สาขาทุกสาขา ศูนย์ส่งเสริมวนศาสตร์ชุมชนที่ 1 -12 ที่ส�ำรวจรวบรวมข้อมูล และรูปภาพพรรณพืชสมุนไพรประกอบการจัดท�ำหนังสือ

132

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

กองบรรณาธิการ


คณะผู้จัดท�ำ จัดท�ำโดย

ส�ำนักจัดการป่าชุมชน กรมป่าไม้ 61 ถนนพหลโยธิน ลาดยาว จตุจักร กรุงเทพ 10900 โทร. 0 2561 4292 -3 ต่อ 5639 www.forest.go.th

ที่ปรึกษา นายชลธิศ สุรัสวดี อธิบดีกรมป่าไม้ นายประลอง ด�ำรงค์ไทย รองอธิบดีกรมป่าไม้ นายพรชัย จุฑามาศ รองผู้อ�ำนวยการ อพ.สธ. ดร.ปิยรัษฎ์ ปริญญาพงษ์ เจริญทรัพย์ รองหัวหน้าส�ำนักงาน อพ.สธ. ฝ่ายวิชาการ เลขานุการคณะกรรมการ อพ.สธ. นางบุญทิวา ด่านศมสถิต ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั ผลิตไฟฟ้า ราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) บรรณาธิการ นางนันทนา บุณยานันต์

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักจัดการป่าชุมชน

กองบรรณาธิการ นางปริชาติ เจริญกรุง นางสาวอมรรัตน์ สะสีสังข์ นางสาวพิทยาภรณ์ ป่าหลวง นางสาวกุลกานต์ แก้วเก้า

นักวิชาการป่าไม้ช�ำนาญการ นักวิชาการป่าไม้ปฏิบัติการ นักวิชาการป่าไม้ปฏิบัติการ นักวิชาการป่าไม้

สนับสนุนข้อมูลโดย ส�ำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 1 -13 ส�ำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้สาขาทุกสาขา ศูนย์ส่งเสริมวนศาสตร์ชุมชนที่ 1 -12 ปีที่พิมพ์

พุทธศักราช 2558

๖๐ ภูมิปัญญา สมุนไพรจากป่าชุมชน

133


......./......./.........


......./......./.........


......./......./.........


......./......./.........


......./......./.........


......./......./.........


......./......./.........


......./......./.........


......./......./.........


......./......./.........


......./......./.........



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.