สรุปผลโครงการฝึกอบรมราษฎร หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ 2554

Page 1


คํานํา สํ า นั ก จั ด การทรั พ ยากรป่ า ไม้ ที่ 13 (สงขลา) ได้ ดํ า เนิ น การจั ด กิ จ กรรม ฝึกอบรมราษฎร หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ระหว่างวันที่ 22 – 24 มี นาคม 2554 ณ โครงการพัฒนาแหล่งท่ องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ตํ าบลฉลุง อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โดยเป็นกิจกรรมตามแผนงานอนุรักษ์และบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ ผลผลิตที่ 1 พื้นที่ป่าไม้ได้รับการบริหารจัดการ กิจกรรมหลักส่งเสริม และพัฒนาการป่าไม้ กิจกรรมส่งเสริมการจัดการป่าชุมชน การดําเนินกิจกรรมในครั้งนี้ สําเร็จลุล่วงลงด้วยดีและได้รับผลตอบรับเป็นที่น่าพอใจ การสร้ า งความเข้ ม แข็ ง ให้ กั บ องค์ ก รชุ ม ชน ทั้ ง การสร้ า งองค์ ค วามรู้ ที่หลากหลาย การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ดําเนินงานป่าชุมชนของทุกชุมชนที่เข้าร่วมการ ฝึกอบรมครั้งนี้ คาดหวังได้ว่าจะเกิดประโยชน์ท้ังต่อชุมชนเอง และต่อการปฏิบัติงานส่งเสริม การจัดการป่าชุมชนของเจ้าหน้าที่ป่าไม้ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อไป ในอนาคต สํานักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 13 (สงขลา) ยินดีน้อมรับทุกความคิดเห็นเพื่อจะ นําไปแก้ไข ปรับปรุง พัฒนา และผลักดันการปฏิบัติงานทุกภารกิจที่เกี่ยวเนื่องกับป่าชุมชน ให้ประสบผลสําเร็จ อํานวยประโยชน์ ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน โดยมุ่งมั่น ปฏิบัติภารกิจอยู่บนพื้นฐานวิสัยทัศน์ของกรมป่าไม้ ที่มุ่งเน้นเป็นหน่วยงานหลักในการจัดการ ทรัพยากรป่าไม้ เพื่อประโยชน์สูงสุดของประเทศ

สํานักจัดการทรัพยากรป่าไม้ท่ี 13 (สงขลา) มิถุนายน 2554


สารบัญ เรื่อง

หน้า

- สรุปผลการฝึกอบรม โครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดย การสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําปี 2554 - แผนภูมิสรุปภาพรวมประเมินความรู้ ความเข้าใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการพื้นทีโ่ ดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําปี 2554 - หลักการเศรษฐกิจพอเพียง - กฎหมายป่าไม้ - องค์ความรู้ในการจัดการการใช้ประโยชน์จากไม้ไผ่ด้วยภูมิปญ ั ญาท้องถิน่

1 10 15 20 23

ภาคผนวก - โครงการฝึกอบรมราษฎร หลักสูตร การบริหารจัดการพืน้ ทีโ่ ดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําปี 2554 - คํากล่าวรายงานต่อประธานในพิธีเปิดโครงการฝึกอบรมราษฎร หลักสูตร การบริหารจัดการพืน้ ทีโ่ ดยการสนับสนุนจากภาครัฐ - คํากล่าวของประธานในพิธีเปิดโครงการฝึกอบรมราษฎร หลักสูตร การบริหารจัดการพืน้ ทีโ่ ดยการสนับสนุนจากภาครัฐ - คํากล่าวรายงานต่อประธานในพิธีปิดโครงการฝึกอบรมราษฎร หลักสูตร การบริหารจัดการพืน้ ทีโ่ ดยการสนับสนุนจากภาครัฐ - คํากล่าวของประธานในพิธีปิดโครงการฝึกอบรมราษฎร หลักสูตร การบริหารจัดการพืน้ ทีโ่ ดยการสนับสนุนจากภาครัฐ - คําสั่งแต่งตั้งคณะทํางานดําเนินการจัดฝึกอบรมราษฎร หลักสูตร การบริหารจัดการพืน้ ทีโ่ ดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

27 31 33 35 37 39


-1-

สรุปผลการฝึกอบรม โครงการฝึกอบรมราษฎร หลักสูตร “การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ” ประจําปี 2554

1. ชื่อกิจกรรม

โครงการฝึกอบรมราษฎรหลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุน จากภาครัฐ

2. หน่วยงาน

ส่วนจัดการป่าชุมชน สํานักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 13 (สงขลา)

3. ผู้รับผิดชอบหลักของกิจกรรม ส่วนจัดการป่าชุมชน สํานักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 13 (สงขลา) 4. หลักการและเหตุผล

กรมป่าไม้ ซึ่งมีหน้าที่โดยตรงในการดูแลบํารุงรักษาทรัพยากร ป่าไม้ของชาติเล็งเห็นว่าการมีส่วนร่วมของชุมชนต่อการจัดกาทรัพยากร ป่าไม้ เป็นสิ่งที่มีความสําคัญอย่างยิ่ง ดังนั้น กรมป่าไม้จึงได้ส่งเสริม และสนั บ สนุ น ให้ ชุ ม ชนในท้ อ งถิ่ น ต่ า ง ๆ เกิ ด ความรู้ สึ ก ร่ ว มเป็ น เจ้ า ของทรั พ ยากรป่ า ไม้ และมี ส่ ว นร่ ว มกั บ เจ้ า หน้ า ที่ ข องรั ฐ ในการ จัดการป่า ตลอดจนใช้เป็นแหล่งอาหารและไม้ใช้สอยตามธรรมชาติ ซึ่งเป็นแนวทางที่สอดคล้ องและสนับ สนุนแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางหนึ่ ง ที่ ส ามารถเสริ ม สร้ า งให้ ส มาชิ ก ชุ ม ชนเหล่ า นั้ น มี ค วาม ผู ก พั น และสามารถพั ฒ นาภู มิ ปั ญ ญาและศั ก ยภาพของชุ ม ชนในการ จัดการป่า ดั ง นั้ น เพื่ อ เป็ น การเสริ ม สร้ า งให้ ส มาชิ ก ชุ ม ชนมี ก ารพั ฒ นา ภู มิ ปั ญ ญา และศั ก ยภาพของชุ ม ชนในการจั ด การป่ า ให้ ต อบสนอง ทั้ ง ในด้ า นการอนุ รั ก ษ์ แ ละเอื้ อ ต่ อ ความเป็ น อยู่ ที่ ดี ข้ึ น การฝึ ก อบรม ให้ความรู้แก่ชุมชน ด้านวิชาการการบริหารจัดการป่า และการพัฒนา อาชีพด้านป่าไม้ จึงนับเป็นปัจจัยสําคัญของความสําเร็จดังกล่าว


-2-

5. กิจกรรม 5.1 วิธีดําเนินการ ดําเนินการฝึกอบรมตัวแทนราษฎรจากหมู่บ้านเป้าหมายกิจกรรมส่งเสริมการจัดการ ป่าชุมชน ในพื้นที่ จังหวัดสงขลา ประจําปีง บประมาณ พ.ศ.2554 จํานวน 5 หมู่บ้าน ๆ ละ 5 คน รวม 25 คน ประกอบด้วยภาคบรรยาย ภาคศึกษาดูงาน และภาคการระดมความคิด ดังนี้ ภาคบรรยาย จั ด หลั ก สู ต รการบรรยายโดยเน้ น ให้ ผู้ เ ข้ า รั บ การฝึ ก อบรมมี ค วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกั บการบริหารจัดการป่าและแนะนําแนวทางในการส่ง เสริมพั ฒนาอาชีพด้านป่าไม้ 3 วิชา ดังนี้ 1. กฎหมายป่าไม้ 2. องค์ความรู้ในการจัดการใช้ประโยชน์จากไม้ไผ่ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น 3. การจัดทําแผนบริหารจัดการป่าชุมชน ภาคการศึกษาดูงาน จัดการศึกษาดูงานในพื้นที่ที่มีการบริหารจัดการป่าของชุมชน ที่ประสบความสําเร็จโดยเป็นที่ยอมรับของสังคม เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้เรียนรู้วิธีการและเทคนิค ในการบริหารจัดการพื้นที่ป่าชุมชนจากประสบการณ์ของชุมชนซึ่งประสบความสําเร็จในการดําเนินการ ภาคการระดมความคิด ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมระดมความคิดในการวางแผนจัดการ ป่าชุมชน ด้านการบริหารจัดการป่าและการพัฒนาอาชีพด้านป่าไม้ในพื้นที่หมู่บ้านตนเอง โดยสรุปปัญหา สาเหตุ ความมุ่งหวัง มาตรการหรือแนวทางในการบรรลุความมุ่งหวัง 5.2 พื้นที่ดําเนินการ ภาคบรรยาย

ณ โครงการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ตําบลฉลุง อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ภาคการศึกษาดูงาน เครือข่ายอนุรักษ์พื้นที่ป่าต้นน้ําเขาพระ หมู่ที่ 6 บ้านบนควน ตําบลเขาพระ อําเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

5.3 ระยะเวลาดําเนินการ

22 – 24 มีนาคม 2554


-3-

5.4 ผลการดําเนินงาน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม จํานวน 25 คน เป็นตัวแทนจากหมู่บ้านเป้าหมายกิจกรรมส่งเสริม การจัดการป่าชุมชน ประจําปี 2554 ในพื้นที่จังหวัดสงขลา ดังนี้ 1. บ้านหัวถนน หมู่ที่ 8 ตําบลปริก อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา 2. บ้านต้นไทร หมู่ที่ 2 ตําบลปลักหนู อําเภอนาทวี จังหวัดสงขลา 3. บ้านห้วยหาดสวนหลวง หมูที่ 1 ตําบลฉลุง อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 4. บ้านช่องเขา หมู่ที่ 9 ตําบลท่าชะมวง อําเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา 5. บ้านใต้ หมู่ที่ 10 ตําบลควนโส อําเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา ภาคบรรยาย 1. กฎหมายป่าไม้ : วิทยากร นายโสภณ คุณมี หัวหน้าโครงการสวนปาล์มเทิดพระเกียรติฯ 2. องค์ความรู้ในการจัดการใช้ประโยชน์จากไม้ไผ่ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น : วิทยากร นายสัน เส็นหล๊ะ 3. การจัดทําแผนบริหารจัดการป่าชุมชน : วิทยากร นายสมเกียรติ บัญชาพัฒนศักดา ศูนย์ศึกษาและพัฒนาวนศาสตร์ชุมชน ที่ 12

------------------------------------------------


-4-

นายสมศักดิ์ เรงเพียร (ผูอ ํานวยการสํานักจัดการทรัพยากรปาไมที่ 13 (สงขลา)) ประธานพิธีเปดโครงการฝกอบรมราษฎร หลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ

2

นางกมลมาส รัตนมณี กลาวรายงานพิธีเปดโครงการฝกอบรมราษฎร หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ


-5-

ผูอํานวยการสํานักจัดการทรัพยากรปาไมที่ 13 (สงขลา) พบปะ แลกเปลี่ยน และรับฟงความคิดเห็นกับผูเขารับการฝกอบรม

ผูเขาฝกอบรมรวมแสดงความคิดเห็น


-6-

นายสัน เส็นหละ วิทยากรบรรยายวิชาองคความรูในการจัดการ การใชประโยชนจากไมไผดวยภูมิปญ  ญาทองถิ่น

นายสมเกียรติ บัญชาพัฒนศักดา วิทยากรบรรยายวิชา การจัดทําแผนบริหารจัดการปาชุมชน


-7-

แบงกลุมยอยระดมความคิดในการจัดทําแผนบริหารจัดการปาชุมชน


-8-

ดูงานแปลงเพาะชํากลาไม

ศึกษาวิธีการจัดการและการใชประโยชนจากไมไผดวยภูมปิ ญญาทองถิน่

ศึกษาดูงาน ณ เครือขาย อนุรักษพื้นทีป่ าตนน้ําเขาพระ


-9-

นําเสนอการระดมความคิด

ประธานในพิธิปดมอบประกาศนียบัตร

ถายภาพรวมกันเปนที่ระลึก


หลักการเศรษฐกิจพอเพียง

แนวคิด/หลักสูตรการดําเนินงานส่งเสริมการจัดการป่าชุมชน

การบริหารจัดการป่าไม้โดยชุมชนมีส่วนร่วม

ระเบียบและกฎหมายด้านป่าไม้

การพัฒนาอาชีพด้านป่าไม้ และเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์

หัวข้ออื่น ๆ

0

0

0

0

0

0

0 0

5

3.7

18.52

22.22

48.15

44.44 40.74

37.04 40.74

37.04 37.04

33.33

63

น้อยมาก น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด

ร้อยละของผู้ตอบแบบประเมิน

10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65 70 75 80 85 90 95 100

11.11

11.11

11.11

7.41

7.41

11.11

7.41

7.41

25.93

37.04 37.04

แผนภูมิที่ 1 แผนภูมิสรุปภาพรวมประเมินความรู้ความเข้าใจก่อนการฝึกอบรมของผู้เข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําปี 2554

-10-


หลักการเศรษฐกิจพอเพียง

แนวคิดและหลักสูตรในการดําเนินงานส่งเสริมการจัดการป่าชุมชน

การบริหารจัดการป่าไม้โดยชุมชนมีส่วนร่วม

ระเบียบและกฎหมายด้านป่าไม้ที่ควรทราบ

การพัฒนาอาชีพด้านป่าไม้ต่าง ๆ และการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์

หัวข้ออื่น ๆ

0

0

0 0

0

0

0 0

0

5

3.7

3.7

14.81

14.81

14.81

14.81

22.22

22.22

29.63

25.93 22.22

18.52

44.44

40.74 40.74

37.04 37.04

55.56

63

59.26

น้อยมาก น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด

ร้อยละของผู้ตอบแบบประเมิน

10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65 70 75 80 85 90 95 100

7.41

7.41

แผนภูมิที่ 1 (ต่อ) แผนภูมิสรุปภาพรวมประเมินความรู้ความเข้าใจหลังการฝึกอบรมของผู้เข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําปี 2554 (ความรู้ความเข้าใจหลังการฝึกอบรม) สํานักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 13 (สงขลา)

-11-


พิธีการในการเปิด-ปิดการฝึกอบรม

ความเหมาะสมของถานที่ในการจัดฝึกอบรม

ความเหมาะสมของห้องจัดอบรม เวที แสง และเสียง

ความสะดวกสบายในการเดินทาง

ความเหมาะสมของสถานที่ศึกษาดูงาน

ความเหมาะสมของระยะเวลาในการจัดฝึกอบรม

การประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการฝึกอบรม

0

0 0

0 0

0 0

0

0 0

0

0

5

3.7

3.7

3.7

3.7

29.63

33.33 40.74

48.15

48.15

55.56

70.37

88.89

น้อยมาก น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด

ร้อยละของผู้ตอบแบบประเมิน

10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65 70 75 80 85 90 95 100

7.41

11.11

18.52

14.81

22.22

25.93 25.93

25.93 22.22

25.93

37.04 33.33

แผนภูมิที่ 2 แผนภูมิสรุปภาพรวมประเมินความพึงพอใจในการถ่ายทอดความรู้ในการจัดการป่าชุมชนของผู้เข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําปี 2554 (ความพึงพอใจในการถ่ายทอดความรู้ในการจัดการป่าชุมชน) สํานักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 13 (สงขลา)

-12-


ความปลอดภัย/สะดวกสบายของห้องพัก

รายการและรสชาติอาหาร

ของว่าง (ขนมและเครื่องดื่ม)

ความเหมาะสมของเนื้อหาบรรยาย

ความเหมาะสมของระยะเวลาในการบรรยายแต่ละหัวข้อ

ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาที่บรรยายของวิทยากร

ความสามารถและทักษะในการสื่อสารและถ่ายทอดเนื้อหา

0

0 0

0 0

0 0

0

0 0

0

5

3.7

3.7 3.7

14.81 22.22

25.93 22.22

29.63

37.04

37.04

55.56

63

59.26

55.56

51.85

48.15

55.56

น้อยมาก น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด

ร้อยละของผู้ตอบแบบประเมิน

10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65 70 75 80 85 90 95 100

7.41

7.41

22.22

18.52 18.52 14.81

11.11

7.41

แผนภูมิที่ 2 (ต่อ) แผนภูมิสรุปภาพรวมประเมินความพึงพอใจในการถ่ายทอดความรู้ในการจัดการป่าชุมชนของผู้เข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําปี 2554 (ความพึงพอใจในการถ่ายทอดความรู้ในการจัดการป่าชุมชน) สํานักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 13 (สงขลา)

-13-


สื่อ - อุปกรณ์ ประกอบการบรรยาย

การบริหารจัดการเวลาในการบรรยาย

ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมฝึกอบรม

ความเป็นไปได้ในการนําไปใช้ในการปฏิบัติงาน

0

0

0

0 0

0

5

3.7

3.7

18.52

22.22

22.22

29.63

25.93

40.74 37.04

48.15

59.26

55.56

น้อยมาก น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด

ร้อยละของผู้ตอบแบบประเมิน

10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65 70 75 80 85 90 95 100

11.11

7.41

14.81

แผนภูมิที่ 2 (ต่อ) แผนภูมิสรุปภาพรวมประเมินความพึงพอใจในการถ่ายทอดความรู้ในการจัดการป่าชุมชนของผู้เข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร การบริหารจัดการพื้นที่โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ประจําปี 2554 (ความพึงพอใจในการถ่ายทอดความรู้ในการจัดการป่าชุมชน) สํานักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 13 (สงขลา)

-14-



-15-

หลักการเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดํารงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนา และบริหารประเทศให้ดําเนินไปในทาง สายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอก และภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความ รอบรู้ ความรอบคอบ และความ-ระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนําวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผน และ การดําเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะ เจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจ ในทุกระดับให้มีสํานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้ มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดําเนินชีวิต ด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุล และพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี

การนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้เป็นกรอบแนวความคิดและทิศทางการพัฒนาระบบเศรษฐกิจมหภาค ของไทย ซึ่งบรรจุอยู่ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาที่สมดุล ยั่งยืน และมีภูมิคุ้มกัน เพื่อความอยู่ดีมีสุข มุ่งสู่สังคมที่มีความสุขอย่างยั่งยืน หรือที่เรียกว่า สังคมสีเขียว (Green Society) ด้วยหลักการดังกล่าว แผนพัฒนาฯฉบับที่ 10 นี้ จะไม่เน้น เรื่องตัวเลขการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แต่ยังคงให้ความสําคัญต่อระบบเศรษฐกิจแบบทวิลักษณ์ หรือระบบเศรษฐกิจที่มีความแตกต่างกันระหว่างเศรษฐกิจชุมชนเมืองและชนบท ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ได้รับการเชิดชูสูงสุดจากสหประชาชาติ (UN) โดยนายโคฟี อันนัน ในฐานะเลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ได้ทูลเกล้าฯถวายรางวัล The Human Development Lifetime Achievement Award แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อ 26 พฤษภาคม 2549 และได้มีปาฐกถาถึง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงว่าเป็นปรัชญาที่สามารถเริ่มได้จากการสร้างภูมิคุ้มกันในตนเองสู่หมู่บ้านและ สู่เศรษฐกิจในวงกว้างขึ้นในที่สุด เป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ โดยที่องค์การ สหประชาชาติ ได้สนับสนุนให้ประเทศต่างๆที่เป็นสมาชิก 166 ประเทศยึดเป็นแนวทางสู่การพัฒนา ประเทศแบบยั่งยืน


-16-

หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาทีต่ ้งั อยู่บนพื้นฐานของทางสายกลาง และ ความไม่ประมาท โดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมคิ ้มุ กันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจ และการกระทํา ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณาอยู่ 5 ส่วน ดังนี้ 1. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ช้ีแนะแนวทางการดํารงอยู่ และปฏิบัติตนในทางที่ ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนํามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และ เป็นการมองโลก เชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยและวิกฤต เพื่อความมั่นคง และความยั่งยืนของการพัฒนา 2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุก ระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน 3. คํานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ พร้อม ๆ กันดังนี้ 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเอง และผู้อื่น เช่น การผลิต และการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ 2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดว่า จะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้น ๆ อย่างรอบคอบ 3. การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และ การเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคํานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะ เกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล 4. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ 1. เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง อย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนําความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการ วางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ


-17-

2. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดําเนินชีวิต 5. แนวทางปฏิบัติ / ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุล และยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้ และเทคโนโลยี

เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียง และแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ เป็นแนวทางในการพัฒนาที่นําไปสู่ ความสามารถในการพึ่งตนเอง ในระดับต่างๆ อย่างเป็นขั้นตอน โดยลดความเสี่ยงเกี่ยวกับความ ผันแปรของธรรมชาติ หรือการเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยต่างๆ โดยอาศัยความพอประมาณ และความมี เหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี มีความรู้ ความเพียรและความอดทน สติ และปัญญา การช่วยเหลือซึ่ง กันและกันและความสามัคคี เศรษฐกิจพอเพียงความหมายกว้างกว่าทฤษฎีใหม่ โดยที่เศรษฐกิจพอเพียงเป็นกรอบแนวคิด ที่ช้ีบอกหลักการ และแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ ในขณะที่แนวพระราชดําริเกี่ยวกับทฤษฎีใหม่ หรือ เกษตรทฤษฎีใหม่ ซึ่งเป็นแนวทางการพัฒนาการเกษตรอย่างเป็นขั้นตอนนั้น เป็นตัวอย่างการใช้หลัก เศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมเฉพาะในพื้นที่ที่เหมาะสม ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดําริ อาจเปรียบเทียบกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีอยู่ 2 แบบ คือ แบบพื้นฐาน กับแบบก้าวหน้า ได้ดังนี้ความ พอเพี ย งในระดั บ บุ ค คล และครอบครั ว โดยเฉพาะเกษตรกรเป็ น เศรษฐกิ จ พอเพี ย งแบบพื้ น ฐาน เทียบได้กับทฤษฎีใหม่ ขั้นที่ 1 ที่มุ่งแก้ปัญหาของเกษตรกรที่อยู่ห่างไกลแหล่งน้ํา ต้องพึ่งน้ําฝน และประสบ ความเสี่ยงจากการที่น้ําไม่พอเพียง แม้กระทั่งสําหรับการปลูกข้าวเพื่อบริโภคและมีข้อสมมติว่า มีที่ดิน พอเพียงในการขุดบ่อเพื่อแก้ปัญหาในเรื่องดังกล่าว จากการแก้ปัญหาความเสี่ยงเรื่องน้ํา จะทําให้ เกษตรกรสามารถมีข้าวเพื่อการบริโภค ยังชีพในระดับหนึ่ง และใช้ที่ดินส่วนอื่น ๆ สนองความต้องการ พื้นฐานของครอบครัว รวมทั้งขายในส่วนที่เหลือเพื่อมีรายได้ที่จะใช้เป็นค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่ไม่สามารถผลิต เองได้ ทั้งหมดนี้เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันในตัวให้เกิดขึ้น ในระดับครอบครัว อย่างไรก็ตาม แม้กระทั่งใน ทฤษฎีใหม่ข้ันที่ 1 ก็จําเป็นที่เกษตรกรจะต้องได้รับความช่วยเหลือจากชุมชนราชการ มูลนิธิ และ ภาคเอกชน ตามความเหมาะสมความพอเพียงในระดับชุมชน และระดับองค์กรเป็นเศรษฐกิจพอเพียง แบบก้าวหน้าซึ่งครอบคลุมทฤษฎีใหม่


-18-

ขั้นที่ 2 เป็นเรื่องของการสนับสนุนให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์ หรือ การที่ธุรกิจต่าง ๆ รวมตัวกันในลักษณะเครือข่ายวิสาหกิจ กล่าวคือ เมื่อสมาชิกในแต่ละครอบครัว หรือ องค์กรต่าง ๆ มีความพอเพียงขั้นพื้นฐานเป็นเบื้องต้นแล้วก็จะรวมกลุ่มกันเพื่อร่วมมือกันสร้างประโยชน์ ให้แก่กลุ่ม และส่วนรวมบนพื้นฐานของการไม่เบียดเบียนกัน การแบ่งปันช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ตามกําลังและความสามารถของตน ซึ่งจะสามารถทําให้ ชุมชนโดยรวม หรือเครือข่ายวิสาหกิจนั้น ๆ เกิดความพอเพียงในวิถีปฏิบัติอย่างแท้จริงความพอเพียงในระดับประเทศเป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบ ก้าวหน้าซึ่งครอบคลุมทฤษฎีใหม่ ขั้นที่ 3 ซึ่งส่งเสริมให้ชุมชน หรือเครือข่ายวิสาหกิจ สร้างความร่วมมือกับองค์กรอื่น ๆ ในประเทศ เช่น บริษัทขนาดใหญ่ ธนาคาร สถาบันวิจัย เป็นต้น การสร้างเครือข่ายความร่วมมือในลักษณะเช่นนี้ จะเป็นประโยชน์ในการสืบทอด ภูมิปัญญา แลกเปลี่ยนความรู้ เทคโนโลยี และบทเรียนจากการพัฒนา หรือ ร่วมมือกันพัฒนา ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงทําให้ประเทศอันเป็นสังคมใหญ่อันประกอบด้วยชุมชน องค์กร และธุรกิจ ต่าง ๆ ที่ดําเนินชีวิตอย่างพอเพียงกลายเป็นเครือข่ายชุมชนพอเพียงที่เชื่อมโยงกันด้วยหลักไม่เบียดเบียน แบ่งปัน และช่วยเหลือซึ่งกัน และกันได้ในที่สุด

การผลิตตามทฤษฎีใหม่สามารถเป็นต้นแบบการคิดในการผลิตที่ดีได้ ดังนี้ 1. การผลิตนั้นมุ่งใช้เป็นอาหารประจําวันของครอบครัว เพื่อให้มีพอเพียงในการบริโภค ตลอดปี เพื่อใช้เป็นอาหารประจําวันและเพื่อจําหน่าย 2. การผลิตต้องอาศัยปัจจัยในการผลิต ซึ่งจะต้องเตรียมให้พร้อม เช่น การเกษตร ต้องมีน้ํา การจัดให้มีและดูแหล่งน้ํา จะก่อให้เกิดประโยชน์ท้งั การผลิต และประโยชน์ใช้สอยอื่น ๆ 3. ปัจจัยประกอบอื่น ๆ ที่จะอํานวยให้การผลิตดําเนินไปด้วยดี และเกิดประโยชน์ เชื่อมโยง (Linkage) ที่จะไปเสริมให้เกิดความยั่งยืนในการผลิต จะต้องร่วมมือกันทุกฝ่ายทั้ง เกษตรกร เพื่อเชื่อมโยงเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับเศรษฐกิจการค้า และให้ดําเนิน ธุรกิจ ภาครัฐ ภาคเอกชน กิจการควบคู่ไปด้วยกันได้ การผลิตจะต้องตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล กับ ระบบ การผลิตนั้นต้องยึดมั่นใน เรื่องของ คุณค่า ให้มากกว่า มูลค่า ดังพระราชดํารัส ซึ่งได้นําเสนอมาก่อนหน้านี้ที่ว่า


-19-

“…บารมีนั้น คือ ทําความดี เปรียบเทียบกับธนาคาร …ถ้าเราสะสมเงินให้มากเราก็ สามารถที่จะใช้ดอกเบี้ย ใช้เงินที่เป็นดอกเบี้ย โดยไม่แตะต้องทุนแต่ถ้าเราใช้มากเกินไป หรือเรา ไม่ระวัง เรากินเข้าไปในทุน ทุนมันก็น้อยลง ๆ จนหมด…ไปเบิกเกินบัญชีเขาก็ต้องเอาเรื่อง ฟ้อง เราให้ล้มละลาย เราอย่าไปเบิกเกินบารมีที่บ้านเมือง ที่ประเทศได้สร้างสมเอาไว้ตั้งแต่บรรพบุรุษ ของเราให้เกินไป เราต้องทําบ้าง หรือเพิ่มพูนให้ประเทศของเราปกติมีอนาคตที่มั่นคง บรรพ บุรุษของเราแต่โบราณกาล ได้สร้างบ้านเมืองมาจนถึงเราแล้ว ในสมัยนี้ที่เรากําลังเสียขวัญ กลัว จะได้ไม่ต้องกลัว ถ้าเราไม่รักษาไว้…” การจัดสรรทรัพยากรมาใช้เพื่อการผลิตที่คํานึงถึง คุณค่า มากกว่า มูลค่า จะก่อให้เกิด ความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคล กับ ระบบ เป็นไปอย่างยั่งยืน ไม่ทําลายทั้งทุนสังคมและทุนเศรษฐกิจ นอกจากนี้จะต้องไม่ติดตํารา สร้างความรู้ รัก สามัคคี และความร่วมมือร่วมแรงใจ มองการณ์ไกลและมี ระบบสนับสนุนที่เป็นไปได้

ประการที่สําคัญของเศรษฐกิจพอเพียง 1. พอมีพอกิน ปลูกพืชสวนครัวไว้กินเองบ้าง ปลูกไม้ผลไว้หลังบ้าน 2-3 ต้น พอที่จะมี ไว้กินเองในครัวเรือน เหลือจึงขายไป 2. พออยู่พอใช้ ทําให้บ้านน่าอยู่ ปราศจากสารเคมี กลิ่นเหม็น ใช้แต่ของที่เป็นธรรมชาติ (ใช้ จุ ลิ น ทรี ย์ ผ สมน้ํ า ถู พื้ น บ้ า น จะสะอาดกว่ า ใช้ น้ํ า ยาเคมี ) รายจ่ า ยลดลง สุ ข ภาพจะดี ขึ้ น (ประหยัดค่ารักษาพยาบาล) 3. พออกพอใจ เราต้องรู้จักพอ รู้จักประมาณตน ไม่ใคร่อยากใคร่มีเช่นผู้อื่น เพราะเรา จะหลงติดกับวัตถุ ปัญญาจะไม่เกิด "การจะเป็นเสือนั้นมันไม่สําคัญ สําคัญอยู่ที่เราพออยู่พอกิน และมีเศรษฐกิจ การเป็นอยู่ แบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกิน หมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับตัวเอง"


-20-

พระราชบัญญัติป่าไม้ 2484 ความหมาย 1. “ป่าไม้” หมายความว่า ที่ดินที่ยังมิได้มีบุคคลได้มาตามกฎหมายที่ดิน 2. “ไม้” หมายความว่า ไม้สักและไม้อื่นทุกชนิดที่เป็นต้น เป็นกอ เป็นเถา รวมตลอดถึงไม้ที่ นําเข้า มาในราชอาณาจักร ไม้ไผ่ทุกชนิด ปาล์ม หวาย ตลอดจนราก ปุ่ม ตอ เศษ ปลายและกิ่ง ของสิ่งนั้น ๆ ไม่ว่าจะถูกตัดท่อน เลื่อย ผ่า ถาก ขุด หรือกระทําโดยประการอื่นใด 3. “ไม้หวงห้าม” - ประเภท ก. ไม้ ห วงห้ า มธรรมดา ได้ แ ก่ ไม้ ซึ่ ง การทํ า ไม้ จ ะต้ อ งได้ รั บ อนุ ญ าต จากพนักงาน เจ้าหน้าที่หรือได้รับสัมปทาน - ประเภท ข. ไม้หวงห้ามพิเศษ ได้แก่ ไม้หายากหรือไม้ที่ควรสงวน ซึ่งไม่อนุญาตให้ทําไม้ เว้นแต่รัฐมนตรีจะได้อนุญาตในกรณีพิเศษ 4. “ไม้สักและไม้ยาง” ทั่วไปในราชอาณาจักร ไม่ว่าจะขึ้นอยู่ที่ใดเป็นไม้หวงห้ามประเภท ก. 5. “ไม้ชนิดอื่นในป่า” จะเป็นไม้หวงห้ามชนิดใด ให้กําหนดโดยพระราชกฤษฎีกา 6. “ของป่า” หมายความว่า บรรดาของที่เกิด หรือมีขึ้นในป่าตามธรรมชาติ คือ ก. ไม้ รวมทั้งส่วนต่าง ๆ ของไม้ ถ่านไม้ น้ํามัน ยางไม้ ตลอดจนสิ่งอื่น ๆ ที่เกิดจากไม้ ข. พืชต่าง ๆ ตลอดจนสิ่งอื่น ๆ ที่เกิดจากพืชนั้น ค. รังนก ครั่ง รวงผึ้ง ขี้ผ้ึง และมูลค้างคาว ง. หินที่ไม่ใช่แร่ตามกฎหมายว่าด้วยแร่และหมายความรวมถึงถ่านไม้ที่บุคคลทําขึ้นด้วย 7. ของป่าอย่างใดในท้องที่ใดจะเป็นของป่าหวงห้าม ให้กําหนดโดยพระราชกฤษฎีกา 8. ผู้ใดเก็บหาของป่าหวงห้าม หรือทําอันตรายด้วยประการใด ๆ แก่ของป่าหวงห้ามในป่า ต้องได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่ และต้องเสียค่าภาคหลวง 9. ผู้ใดนําไม้หรือของป่าเคลื่อนที่ ต้องมีใบเบิกทางของพนักงานเจ้าหน้าที่กํากับไปด้วย ตามข้อกําหนดในกฎกระทรวง ที่ดินที่มิใช่ “ป่า” ตามกฎหมายว่าด้วยป่าไม้น้นั คือ ที่ดินที่มีเอกสารของทางราชการกรมที่ดินที่ออกให้ ได้แก่ โฉนดที่ดิน โฉนดแผนที่ โฉนดตราจอง ตราจองที่ตราว่า “ได้ทําประโยชน์แล้ว “ นส.3, นส. 3 ก, นส. 3 ข, แบบหมายเลข 3, นส.2, และสค. 1 เป็นต้น


-21-

กฎหมายว่าด้วยการป่าไม้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการป่าชุมชน ในปัจจุบันนี้ (2545) ประเทศไทยได้มีกฎหมายเกี่ยวกับการป่าไม้ที่ประกาศใช้บังคับ แล้ว รวมจํานวน 5 ฉบับ ได้แก่ พ.ร.บ. ป่าไม้พุทธศักราช 2484 พ.ร.บ. ป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 พ.ร.บ. อุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 พ.ร.บ. สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 พ.ร.บ. สวนป่า พ.ศ. 2535

การจัดทําโครงการป่าชุมชนในเขตพื้นที่ป่าตามพระราชกําหนดป่าไม้ พุทธศักราช 2484 บทกฎหมายที่ใช้อ้างอิง

พระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484 1. มาตรา 17 (ว่า ด้ ว ยการทํ า ไม้ห วงห้ า ม) บทบั ญ ญั ติ ใ นส่ ว นนี้ มิ ใ ห้ ใ ช้ บั งคั บ ในกรณี ดังต่อไปนี้ (1) พนั ก งานเจ้ า หน้ า ที่ จั ด ทํ า ไปเพื่ อ ประโยชน์ ใ นการบํ า รุ ง ป่ า การค้ น คว้ า หรื อ ทดลองในทางวิชาการ (2) การเก็บหาเศษไม้ ปลายไม้ตายแห้ง ที่ล้มขอนนอนไพรอันมีลักษณะเป็นไม้ฟืน ซึ่งไม่ใช่ไม้สัก หรือไม้หวงห้ามประเภท ข. ไปสําหรับใช้สอยในบ้านเรือนแห่งตน/หรือประกอบกิจ ของตน 2. มาตรา 32 (ว่าด้วยของป่าหวงห้าม) บทบั ญ ญั ติ ใ นส่ วนนี้ มิใ ห้ใ ช้บั งคั บ ในกรณี พ นั ก งานเจ้ าหน้า ที่จั ดทํา ไปเพื่ อโยชน์ ในการบํารุงป่า การค้นคว้า หรือการทดลองในทางวิชาการ 3. ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่องแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484 ลงวันที่ 1 กันยายน 2525 ข้อ 2 (35)


-22-

หน้าที่และสิทธิที่ได้รับจากโครงการป่าชุมชน โครงการป่าชุมชนที่ได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมป่าไม้แล้ว กํานัน/ผู้ใหญ่บ้าน ซึ่งเป็นพนักงาน เจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 และพระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484 ประชาชน ในพื้นที่จะมีหน้าที่และสิทธิ ดังต่อไปนี้ โครงการป่าชุมชนในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ 1. กํานัน/ผู้ใหญ่บ้านเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ จะต้องดําเนินการตามกิจกรรมที่ได้รับอนุมัติ ตามโครงการป่าชุมชน เพื่อประโยชน์ในการดูแลรักษา 2.ในกรณี มี ค วามจํ า เป็ น จะต้ อ งใช้ ไ ม้ ห รื อ ของป่ า ให้ ดํ า เนิ น การตามมาตรา 15 แห่ ง พระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 กฎกระทรวงฉบับที่ 1,106 (2528) ว่าด้วยการ ป่าไม้ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ข้อ 3 ระเบียบกรมป่าไม้ว่าด้วยการอนุญาตทําไม้ในเขตป่าสงวน แห่งชาติ พ.ศ. 2529 ข้อ 20 กฎกระทรวงฉบับที่ 1,107 (2528) ว่าด้วยการเก็บหาของป่า ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ข้อ 2 ระเบียบ กรมป่าไม้ว่าด้วยการอนุญาตเก็บหาของป่าภายในเขต ป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2529 ข้อ 17 โครงการป่าชุมชนในเขตป่าตามพระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484 1. กํานัน/ผู้ใหญ่บ้านเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ จะต้องดําเนินการตามกิจกรรมที่ได้รับอนุมัติ ตามโครงการป่าชุมชน เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองดูแลรักษาป่า 2.ในกรณีที่มีความจําเป็นจะต้องใช้ประโยชน์จากไม้หรือของป่าให้ดําเนินการตามมาตรา 17,25,32 แห่งพระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484 และประกาศกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ลงวันที่ 22 มกราคม 2531 ข้อ 3 ต่อไป


-23-

องค์ความรู้ในการจัดการการใช้ประโยชน์จากไม้ไผ่ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น ต้นไผ่มีความผูกพันกับคนไทยมาช้านาน และในปัจจุบันไผ่ก็ยังทรงคุณประโยชน์ นานับประการ หากเราลองสังเกตดูว่า ในงานของเราก็ต้องมีภาชนะเครื่องใช้ หรือเครื่องมืออุปกรณ์ ที่ทําจากไม้ไผ่เป็นอย่างน้อย ลําไผ่มีประโยชน์ต้ังแต่สร้างที่อยู่อาศัย ทําเครื่องมือเครื่องใช้ในครัวเรือน เครื่องดนตรี ของเล่น หน่อไม้ก็ใช้ประโยชน์ต่อการบริโภคและขายเป็นอาชีพได้ ไม้ไผ่ เป็นไม้ที่ขึ้นง่ายและเติบโตเร็ว ขึ้นได้ดีในทุกสภาวะอากาศดํารงอยู่ได้ในพื้นดิน ทุกชนิด ที่สําคัญ คือ ไผ่เป็นพันธุ์ไม้ที่อํานวยประโยชน์หลายประการ ทั้งประโยชน์ทางตรงและทางอ้อม และเป็นพืชที่ลําต้นกิ่งมีลักษณะแปลกสวยงาม ไผ่เป็นไม้ที่ตายยาก ถ้าไผ่ออกดอกเมื่อใดจึงจะตาย แต่ก็ ยากมากและนานมากที่ไผ่จะออกดอก ไม้ไผ่มีประโยชน์มากกับคนเราคนเราสามารถนําไม้ไผ่มาสร้างบ้าน ที่อยู่อาศัย และทําเครื่อง จักรสานอื่นๆ อีกมากมายสําหรับไม้ไผ่น้ันใช้ได้ทุกส่วนตั้งแต่หน่อ ลําต้น ใบ ราก เยื่อไผ่ ขุยไผ่ มีประโยชน์ใช้สอยในชีวิตประจําวัน ในปัจจุบันเราสามารถนําไม้ไผ่มาจักรสานทําเป็น อาชีพหารายได้ให้แก่ครอบครัว และยังเป็นงานที่เราส่งออกไปขายอยู่นอกประเทศสําหรับคนไทยเราแล้ว งานที่ใช้ฝีมือถือว่าเป็นงานที่ประณีตละเอียดและสวยงามมาก

ประโยชน์ของไม้ไผ่ 1. ด้านการอนุรักษ์ธรรมชาติ - ป้องกันการพังทลายของดินตามริมฝั่ง - ช่วยเป็นแนวป้องกันลมพายุ - ชะลอความเร็วของกระแสน้ําป่าเมื่อฤดูน้ําหลากกันภาวะน้ําท่วมฉับพลัน - ให้ความร่มรื่น - ใช้ประดับสวน จัดแต่งเป็นมุมพักผ่อนหย่อนใจในบ้านเรือน 2. ประโยชน์จากลักษณะทางฟิสิกส์จากความแข็งแรง ความเหนียว การยืดหด ความโค้งงอ และ การสปริงตัว ซึ่งเป็นคุณลักษณะประจําตัวของไม้ไผ่ เราสามารถนํามันมาใช้เป็นวัสดุเสริมในงานคอนกรีต และเป็นส่วนต่างๆ ของการสร้างที่อยู่อาศัยแบบประหยัดได้เป็นอย่างดีอีกด้วย 3. ประโยชน์จากลักษณะทางเคมีของไม้ไผ่ - เนื้อไผ่ใช้บดเป็นเยื่อกระดาษ - เส้นไยใช้ทําไหมเทียม - เนื้อไผ่บางชนิดสามารถสกัดทํายารักษาโรคได้ - ใช้ในงานอุตสาหกรรมนานาชนิด


-24-

ศึกษาดูงาน ณ เครือข่ายอนุรักษ์พื้นที่ต้นน้ําเขาพระ บ้านบนควน หมู่ที่ 6 ตําบลเขาพระ อําเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

ชื่อหมู่บ้าน/ชุมชน

เครือข่ายอนุรักษ์ป่าต้นน้ําเขาพระ ตําบลเขาพระ อําเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

สภาพพื้นที่

พื้นที่ต้นน้ํา

สภาพดิน

ดินเหนียว ปนทราย

สภาพแหล่งน้ํา

พื้นที่ป่าต้นน้ํา เป็นแหล่งน้ําธรรมชาติ 9 สายหลัก ไหลรวมกันลงคลองรัตภูมิ และลงไปทะเลสาบ

ปริมาณฝนเฉลี่ยต่อปี 1,802.44 มม. จํานวนประชากร

1,000 กว่าคน

จํานวนครัวเรือน

300 กว่า หลังคาเรือน

ระยะเวลาการตั้งถิ่นฐานของชุมชน 150 ปี สภาพปัญหาของชุมชน คนเข้าไปบุกรุกเพื่อใช้เป็นที่ทํากิน การตัดไม้ทําลายป่า น้ําใช้ไม่เพียงพอเกิดการแย่งชิง การใช้สารเคมีในที่ทํากิน การจับสัตว์น้ําโดยผิดวิธี

การเรียนรู้และการจัดการตามแนวพระราชดําริ เป็นศูนย์เรียนรู้ภูมิปัญญาไทยเกษตรธาตุ 4 มีการนําหลักปรัชญาเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงในด้านการเกษตร การจัดสรรที่ดินในการทําการเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง มีการทําฝายชะลอน้ํา ใช้ภูมิปัญญาไทยในด้านการเกษตร


-25-

ผลสําเร็จ/การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ชุมชนสามารถที่จะจัดการกับทรัพยากรน้ําได้ท้ังหมด และเห็นความสําคัญของทรัพยากร น้ํามากขึ้น ช่วยรักษาในเรื่องของระบบนิเวศของป่าชุมชน ให้ดํารงอยู่ด้วยความสมดุล ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ และลดการพึ่งพาจากภายนอก เกิดสภาเยาวชนคนต้นน้ําเขาพระ


-26-

4 การใช้ไม้ไผ่ในผลิตภัณฑ์หัตถกรรม และอุตสาหกรรม แบ่งออกได้ ดังนี้ ผลิตภัณฑ์ เครื่ อ งจั ก รสานจากเส้ น ตอก ได้ แ ก่ กระจาด กระบุ ง กระด้ ง กระเช้ า ผลไม้ ตะกร้ า จ่ายตลาด ชะลอม ตะกร้าใส่ขยะ กระเป๋าถือสตรี เข่งใส่ขยะ เครื่องมือจับสัตว์น้ํา เช่น ข้องใส่ปลา ลอบ ไซ ฯลฯ ผลิตภัณฑ์จากลําต้น และกิ่งของไม้ไผ่ ได้แก่ เก้าอี้ โต๊ะ ชั้นวางหนังสือ ทําด้ามไม้ กวาด ไม้เท้า คันเบ็ด ราวตากผ้า โครงสร้างบ้านส่วนต่างๆ ทําแคร่ นั่งร้านก่อสร้าง ท่อส่งน้ํา รางน้ํา ผลิตภัณฑ์จากเนื้อไม้ไผ่ ได้แก่ ถาดใส่ขนม ทัพพีไม้ตะเกียบ ไม้เสียบอาหาร กรอบรูป ไม้ก้านธูป โครง ไม้พาย ไม้เกาหลัง เครื่องดนตรี พื้นบ้าน ไม้บรรทัด ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากไผ่ซีก ได้แก่ โคมกระดาษ โครงพัด โครงร่ม ลูกระนาด คันธนู พื้นม้านั่ง แผงตากปลา สุ่มปลา สุ่มไก่ 5. ประโยชน์ทางด้านการบริโภค เช่น การนําหน่อไม้ไผ่มาทําเป็นอาหาร ไม่ว่าจะเป็นซุบ แกง ต้ม หรือนํามาดองจิ้มน้ําพริก

องค์ความรู้ภูมิปัญญาการใช้ประโยชน์จากไผ่ สรุปได้ดังนี้ การนําหน่อไม้มาบริโภค การนําเอาหน่อไม้มาเป็นอาหารหรือจําหน่าย ชาวบ้านจะไม่ขุดมาทั้งหมด จะเหลือไว้อย่างน้อย กอละ 2 หน่อ หน่อไม้บางชนิด เมื่อพ้นดินแล้ว ชาวบ้านจะไม่นิยมบริโภค เช่น หน่อหก หน่อซาง ทําให้ เติบโต เป็นต้นไผ่ได้การตัดเอาหน่อไม้ที่อยู่พ้นดินบางชนิด เช่น หน่อรวก หน่อไร่ จะเอาส่วนที่พ้นดินขึ้นมา 2-3 นิ้ว จึงเหลือตอที่สามารถแตกกิ่งเป็นต้นไผ่ได้ระยะเวลาของการขุดเอาหน่อไม้ของแต่ละชนิด แตกต่างกัน ทําให้ช่วงของการเจริญเติบโต เช่น ในเดือนเมษายน-มิถุนายน จะขุดหน่อซาง, มิถุนายนกรกฎาคม จะขุดหน่อหก, กรกฎาคมตุลาคม จะขุดหน่อไร่ หน่อรวก



-27-

b. 5~qd=izaqRI.~a41~5ani5

b.m i ~ ~ l i ~ ~ ~ a ~ 1 ~ m a i u ~ i ~ ~ z s ~ i n ~ ~ ~ ~ ~ ~ n ~ ~ ' 1 1 ~ ~ i ~ ~ ~ e ~ n i s ~ d; q P / v w

w

l

Y

W

b.b ~ ~ 8 l ~ ~ i 0 j l 5 u n 7 5 ~ i l i l u : ~ Iui na2a1~~ a ~% iua~I~a~~;~p~a~~nwis~i YY:

2,"

., 4 , a i b n s ~ ~ ? ; i a i n a i u q ~ ~ ~ s ~ ~ ~ i : n ~ s ~ n ~ ~~ ~~ ~a Z~ Za~ ~E ~I U~ Oi I~ ~nW" ~ O L~9L$i~51$b&iold 19

I

Y L

I

a,

u

A

E(

j,dn

I

~~al~~~~aa~svni~~.~na~'j:~i~e!~~~~~~~i1~~"1w~

. EP

~ ' J ? ~ ~91 ~ X =J T ~ ~ ~ > ; ~ ~ ~ R J ~ C ~


-28-


-29-


-30-


-31-


-32-


-33-


-34-


-35-


a

d

3

t!? 3

Sh

t!?

3

Sr

$

9-

ad

asY

sr

3

Y

d)

P

d

Eb 3

d)

Y 3

3

3

3-d-

dr

b

CXP

S D

36 t!? 4

Q.

3 e m 26

2

F

2

43

e

d

d

d

2 d

P

-36-


-37-


-38-


-39-

baviynis


-40-



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.