รายงานผลการด�ำเนินงานโครงการ
ผู้น�ำเยาวชน ห่างไกลยาเสพติด ปีที่ ๒
โครงการ ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด”
2 โครงการ
ค�ำน�ำ จากผลของการด�ำเนินโครงการ Do for D. ในปีที่ผ่านมาเป็นปีที่ ๒ และเป็นโครงการขยายผลจากการด�ำเนินโครงการ ในปีที่ผ่านมา และเชื่อมโยงจากโครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชน ที่ได้ด�ำเนินการมาแล้วกว่า ๑๓ ปี การ ด�ำเนินงานอย่างจริงจังและเห็นผลเป็นรูปธรรมจับต้องได้ การลงนามบันทึกข้อตกลงจนได้รับการยอมรับจากหลายหน่วย งานและได้และหน่วยงานที่ส�ำคัญ คือ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ลงนามในบันทึกความร่วมมือกับมูลนิธิ ครอบครัวพอเพียงเพื่อการด�ำเนินโครงการอันเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนในทุกระดับการศึกษาทั่วประเทศ จึงส่งผลให้เครือข่าย การเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับโรงเรียนในระดับมัธยมปลายมีความเข้มแข็งมากขึ้น และยังได้ขยายผลเครือ ข่ายสู่มหาวิทยาลัยทั้ง ๗๔ แห่งทั่วประเทศ จนเกิดผลสัมฤทธิ์เป็นรูปธรรม คือ ทุกโรงเรียน/มหาวิทยาลัยได้จัดตั้งศูนย์ครอบครัวพอเพียง โดยมีผู้อ�ำนวยการ โรงเรียน/รองคณบดี/อาจารย์ที่ปรึกษาเป็นผู้อ�ำนวยการศูนย์ และครูทุกคนในโรงเรียนเป็นกรรมการศูนย์ ผู้ปกครองเป็นประธาน ที่ปรึกษาและที่ปรึกษา นักเรียน/นักศึกษาเป็นอนุกรรมการการขับเคลื่อนผ่านต�ำแหน่ง ประธานรุ่น ๑ คน ประธานกลุ่ม ๕ ด้าน ๕ คน รองประธานกลุ่ม ๕ ด้านและฝ่ายประชาสัมพันธ์ กลุ่ม ๕ ด้าน ความยั่งยืนของโครงการก่อให้เกิดสถิติและดัชนี ชี้วัดที่ส�ำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านสุขภาวะอนามัยของเด็กและเยาวชนกับยาเสพติด บุหรี่และเครื่องดื่มที่ผสมแอลกอฮอล์ ซึ่งในปัจจุบันมีความหลากหลายและมีการเผยแพร่ผ่านระบบอินเทอร์เนทอย่างแพร่หลาย ความจ�ำเป็นเร่งด่วนในการจัดการ ฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติด พิษภัยและบทลงโทษในระดับต่าง ๆ หรือการที่จะได้รับการเยียวยาในฐานะผู้เสพ ด้วย ความร่วมมือจากเครือข่ายผู้ปกครอง เครือข่ายชุมชนจิตอาสา และเครือข่ายเฝ้าระวังภัยยาเสพติดและคณะกรรมการมูลนิธิ ครอบครัวพอเพียงมีความเห็นพ้องในความร่วมมือกันเพื่อสร้างเครือข่ายเยาวชน “จิตอาสาครอบครัวพอเพียง” ดั่งพระราช ด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่ว่า “...ใช้น�้ำดี ไล่น�้ำเสีย เพื่อ การพัฒนาที่ยั่งยืน...” วัตถุประสงค์หลักจากมติที่ประชุมมีใจความตรงกันที่ เพื่อการปลุกจิตส�ำนึกที่ดีของเด็กและเยาวชนลงสู่การปฏิบัติ คือ มุ่งท�ำความดี มีความคิดบวก รู้เท่าทันยาเสพติด รักอนาคตและปรารถนาที่จะช่วยเหลือสังคมและสิ่งแวดล้อม รู้จักให้ รู้จัก แบ่งปัน ความเข้มแข็งของเครือข่ายจักน�ำพาเด็กและเยาวชนให้มีพลังจิตใจที่เข้มแข็ง และเครือข่ายที่เข้มแข็งจะเป็นเครือข่าย ที่ช่วยให้เด็กและเยาวชนพ้นจากปัญหายาเสพติด กิจกรรมค่ายเพื่อฝึกการเป็นผู้น�ำ สร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ได้อย่าง แท้จริง จากการด�ำเนินโครงการที่ผ่านมา จากรุ่นสู่รุ่น ผลสัมฤทธิ์เชิงประจักษ์ที่จับต้องได้ผ่านแบบสอบถามของผู้บริหารสถาน ศึกษาและคุณครูที่ปรึกษาโครงการ รวมถึงต้นแบบของนิสิตที่จบการศึกษาไปแล้วกว่า ๙๐% ที่ยืนยันในการด�ำเนินโครงการ อย่างเป็นระบบ มีความเข้มแข็งและยั่งยืนจะช่วยเหลือเด็กและเยาวชนให้พ้นภัยยาเสพติดได้อย่างแท้จริง การปฏิรูปประเทศให้มีการพัฒนาไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่งอย่างยั่งยืนต้องเริ่มต้นปฏิรูปจากจิตส�ำนึกของพลเมืองเป็น ส�ำคัญ และสังคมจะดีได้นั้นต้องเริ่มต้นที่ ครอบครัว
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 3
วั ต ถุ ป ระสงค์
๑. เพื่อมุ่งเน้นปลูกจิตส�ำนึกให้เด็ก เยาวชนและประชาชนในชุมชนเห็นคุณค่าอย่างยิ่งในปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมุ่งประสงค์ในการต่อยอดทางความคิด เพื่อให้เกิดการขยายผลและน�ำไปสู่การปฏิบัติและพัฒนาอย่างยั่งยืนจากรุ่น สู่รุ่น และสืบสานศาสตร์ของพระราชาอย่างยั่งยืน ตลอดจนส่งเสริมด้านคุณธรรมจริยธรรม มองประโยชน์ส่วนตนให้น้อยลงและ ถือประโยชน์ของส่วนรวมเป็นส�ำคัญ ๒. เพื่อมุ่งเน้นด�ำเนินการรณรงค์ปลุกกระแสให้เยาวชนและประชาชนในชุมชนรู้รักชาติศาสน์กษัตริย์ และการตอบแทน บุญคุณของแผ่นดิน รู้รักสามัคคี รู้สิทธิและหน้าที่พลเมืองดี ร่วมปกป้องผลประโยชน์ของบ้านเมืองและตื่นตัวที่จะคิดดีท�ำดี ร่วมมือร่วมใจกัน รวมพลัง “จิตอาสาครอบครัวพอเพียง” เพื่อเป็นการขยายแนวร่วมในการส่งเสริมการปลุกจิตส�ำนึกการเป็น ส่วนหนึ่งของสังคมและให้เกิดทัศนคติที่ดี ๓. เพื่อมุ่งเน้นสร้างความสมดุล อย่างยั่งยืนและเกิดการสร้างผู้น�ำเป็นต้นแบบจากรุ่นสู่รุ่น จากพี่สู่น้อง จากโรงเรียน สู่ประชาชนในชุมชน โดยเน้นในสถานศึกษาเดิมจนเกิดความเข้มแข็ง เช่น เริ่มต้นการสร้างต้นแบบในระดับชั้นมัธยม ๔ เมื่อ เวลาผ่านไป ๓ ปี สถานศึกษาแห่งนี้จะมีผู้น�ำครบทุกระดับ และผลสัมฤทธิ์จากการด�ำเนินพันธกิจสร้างขบวนการ การเรียนรู้ ส่งต่อผู้เรียนระดับมัธยมต้นทั้ง ๓ ระดับได้อย่างเป็นรูปธรรม ๔. เพื่อการสร้างเครือข่ายที่เข้มแข็งทั้งร่างกายและจิตใจให้ห่างไกลยาเสพติด การขยายโครงการสู่โรงเรียนคู่มิตรภายใน จังหวัด จะน�ำมาซึ่งมิตรภาพ ความร่วมมือกันดูแลและพัฒนาสังคมตลอดจนสิ่งแวดล้อมในชุมชนโดยรวมอย่างเป็นขบวนทัศน์ และมีเป้าหมายของความส�ำเร็จ ผลผลิตที่น�ำมาเป็นตัวชี้วัดตามเกณฑ์ ก่อให้เกิดความสามัคคีของประชาชนในจังหวัด ๕. เพื่อส่งเสริมความรู้ในมิติเศรษฐกิจและสังคม เพื่อการเลือกเรียนที่ตรงกับสภาพและบริบทที่แท้จริงของครอบครัว และความต้องการบุคคลากร/แรงงาน ส่งผลให้นักเรียนที่ก�ำลังเรียนในชั้นมัธยมต้นได้รับประโยชน์ ๑๐๐% และสามารถพึ่งพา ตนเองได้ ๖. เพื่อขยายเครือข่าย “ Do for D” ให้กว้างขวางมากขึ้นจากมัธยม สู่อุดมศึกษาทั้ง ๗๔ แห่ง คือมหาวิทยาลัย สังกัด ทปอ. จ�ำนวน ๒๘ แห่ง , มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี จ�ำนวน ๙ แห่งและมหาวิทยาลัยราชภัฏ จ�ำนวน ๓๘ แห่ง เพื่อการ สร้างต้นแบบบุคคล ให้เป็น ครู ก. หรือ Mentor เครือข่ายจิตอาสาครอบครัวพอเพียงที่มีศรัทธาความดีในตนเอง และพร้อม ที่จะท�ำประโยชน์เพื่อความสุขของผู้อื่นโดยไม่หวังสิ่งตอบแทน
เป้ า หมาย
๑. เชิงปริมาณ : เด็กและเยาวชน จากโรงเรียนขยายเครือข่าย จังหวัดนครพนม จังหวัดยะลา จังหวัดลพบุรี ในค่าย ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด The Way of Life จ�ำนวน ๓ ครั้ง ๆ ละ ๓๐๐ คน ๒. เชิงคุณภาพ : การสร้างภาวะผู้น�ำเรียนรู้ พิษภัยยาเสพติด ชนิดและประเภทของยาเสพติด เรียนรู้ และรู้เท่าทัน กฎหมายและการระวางโทษหรือการยกเว้นโทษผู้เสพ ผ่านหลักสูตรการเรียนรู้เฉพาะด้านโดยวิทยากรช�ำนาญการ
ระยะเวลาการอบรม
๑. ด�ำเนินการกิจกรรมค่าย Do for D. “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” วันเริ่มต้น เดือนสิงหาคม–กันยายน ๒๕๖๒ (โครงการต่อเนื่อง) ๒. ติดตามประเมินผล การขยายผลสู่โรงเรียนและชุมชนผ่านแฟนเพจ Facebook ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียน
4 โครงการ
ตารางการด� ำ เนิ น การ
ครั้งที่ ๑ วันที่ ๒๗ – ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๒ โรงเรียนปิยะมหาราชาลัย ครั้งที่ ๒ วันที่ ๒๓ – ๒๕ สิงหาคม ๒๕๖๒ โรงเรียนคณะราษฎรบ�ำรุง จังหวัดยะลา ครั้งที่ ๓ วันที่ ๖ – ๘ กันยายน ๒๕๖๒ โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย
แนวทางการบ่ ม เพาะ
๑. ส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องชาติ ศาสนาและสถาบันพระมหากษัตริย์ ๒. ส่งเสริมการบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการเรียนและการท�ำกิจกรรม ๓. ส่งเสริมฝึกอบรมทักษะการเป็นวิทยากรและเทคนิคการน�ำเสนอ ๔. ส่งเสริมฝึกอบรมทักษะชีวิตพิชิตยาเสพติด ๕. ส่งเสริมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ทักษะชีวิต เกมพิชิตยาเสพติด ๖. ส่งเสริมอบรมแนวทางการจัดกิจกรรมละคร ๓ ฉาก (Begin – Middle - Last) ๘. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้น�ำและการสอบสอน เพื่อการพัฒนาติดตามประเมินผล ๙. พิธีมอบเกียรติบัตร
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 5
คู ่ มื อ ที่ ใ ช้ เ ป็ น ดั ช นี ชี้ วั ด ผลสั ม ฤทธิ์ ก ารขยายผล
6 โครงการ
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 7
8 โครงการ
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 9
10 โครงการ
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 11
12 โครงการ
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 13
ผลการด� ำ เนิ น งาน
ด�ำเนินการจัดกิจกรรมค่าย Do for D. “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” จ�ำนวน ๓ ค่าย ครบถ้วนตามเป้าหมายที่ ก�ำหนดมีผู้เข้ารับการอบรม จ�ำนวนนักเรียนเข้ารับการอบรม ๙๐๐ คน ครู ๑๒๖ คน พี่เลี้ยงค่าย ๔๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ของเป้าหมาย
รายนามวิ ท ยากร
มู ล นิ ธิ ค รอบครั ว พอเพี ย ง ๑. นาง อริยสิริ พิพัฒน์นรา ประธานมูลนิธิ ๒. นาย ณัฐเสกข์ น้อยสมบูรณ์ รองประธานมูลนิธิ ๓. นางสาว เอื้อมพร นาวี กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการมูลนิธิ ๔. นาย อภีม คู่พิทักษ์ กรรมการมูลนิธิ ๕. นาย ชวลิต ใจภักดี เจ้าหน้าที่มูลนิธิ ๖. นาย นพคุณ แสวงกิจ เจ้าหน้าที่มูลนิธิ ๗. นาย นนทนันท์ แก้วทองค�ำ เจ้าหน้าที่มูลนิธิ ๘. นางสาว ไพลิน หลิมศิริวงษ์ เจ้าหน้าที่มูลนิธิ ส� ำ นั ก งานป้ อ งกั น และปราบปรามยาเสพติ ด ๑. ร้อยต�ำรวจเอก ชวน อุดมสูงเนิน ผบ.ร้อยต�ำรวจตระเวนชายแดน ๒๓๖ วิทยากรกระบวนการ ปปส. ภาค ๔ ๒. นาวสาว นูรีย๊ะ กูเต๊ะ วิทยากรกระบวนการ และ เจ้าหน้าที่ประสานพื้นที่จังหวัดยะลา ปปส. ภาค ๙ ๓. นาย มาโส เจะมิ วิทยากรกระบวนการ และ เจ้าหน้าที่ประสานพื้นที่จังหวัดยะลา ปปส. ภาค ๙ ๔. นางสาว ซูรีดา โซะม๊ะ วิทยากรกระบวนการ และ เจ้าหน้าที่ประสานพื้นที่จังหวัดยะลา ปปส. ภาค ๙ ๕. ร้อยต�ำรวจโท สมบัติ พีพืช ข้าราชการบ�ำนาญ ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติวิทยาการอาสา
ผลที่ ไ ด้ รั บ
๑. เด็กและเยาวชนผู้เข้าอบรมกิจกรรม มีภาวะผู้น�ำและสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตผ่านหลักสูตรการเรียนรู้พิษภัย ยาเสพติด ของชนิดและประเภทของยาเสพติด เรียนรู้เท่าทันกฎหมายและการระวางโทษหรือการยกเว้นโทษผู้เสพ ๒. การประเมินแบบทดสอบ ก่อนและหลัง (pretest- posttest) ได้เข้าอบรมกิจกรรม ๓. การติดตามผลงานจาก Fanpage ศูนย์ครอบครัวพอเพียงแต่ละโรงเรียน ๔. เด็ก เยาวชน ผู้เข้าร่วมอบรมกิจกรรม ขยายผลสู่สถานศึกษาและชุมชน เพื่อการพึ่งพาตนเองและร่วมดูแลสังคม ด้วยการแบ่งปันอย่างเป็นระบบ ๕. การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ส�ำนักคณะกรรมการและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) ให้เป็นที่รู้จักในกลุ่มเด็ก เยาวชน และเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยพัฒนา สร้างความเข้มแข็ง ๖. ได้น้อมน�ำหลักค�ำสอนของพระมหากษัตริย์ และเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลและแก้ปัญหา ยาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชน
14 โครงการ
สรุ ป ภาพรวม
จากผลการประเมินความพึงพอใจ ผู้เข้ารับการอบรมกิจกรรมค่าย Do for D. “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” ปรากฏ ว่าในการจัดอบรม ๓ ครั้ง มีผู้เข้าอบรม จ�ำนวน ๙๐๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ของเป้าหมาย ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจใน ระดับมาก ในหัวข้อทักษะชีวิตพิชิตยาเสพติด โดยสามารถเรียนรู้ เข้าใจ เข้าถึง สามารถพัฒนาต่อยอดในการขยายผล สู่โรงเรียน และชุมชนได้เป็นอย่างดี และมีความเห็นว่าเป็นสิ่งที่สามารถน�ำไปสู่การปฏิบัติได้จริง ขณะเดียวกันก็มีความพึงพอใจในวิชา ทักษะการเป็นวิทยากรและเทคนิคการน�ำเสนอ เพื่อการพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เข้าอบรม ให้เป็นคนซื่อสัตย์ รับผิดชอบ มีจิต อาสา อันเป็นคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ที่สังคมก�ำลังแสวงหา ผลการทดสอบความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดและการรับรู้เกี่ยวกับ ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด แบบทดสอบ Pretest – Posttest ส�ำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมค่าย Do for D. “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” ทั้งหมด ๓ ครั้ง
ระดับความรู้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้มาก คะแนน ๘ – ๑๐ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ปานกลาง คะแนน ๕ – ๗ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้น้อย คะแนน ๑ – ๔
ก่อนเข้ารับการอบรม (คน) (ร้อยละ)
หลังเข้ารับการอบรม (คน) (ร้อยละ)
๕๑๐
๕๖.๖๗
๘๕๓
๙๔.๗๘
๒๕๕
๒๘.๓๓
๔๒
๔.๖๗
๑๓๕
๑๕.๐๐
๕
๐.๕๕
ผลการประเมิ น
ประเมินผลผ่านเล่มคู่มือ หน้า The Way of Life The Way of Feeling ดังนี้ ๑. ดิฉันรู้สึกดีและมีความสุขสนุกสนานมาก ต้องขอขอบคุณทาง มูลนิธิครอบครัวพอเพียง ร่วมกับ ส�ำนักงาน ป.ป.ส.ที่ จัดกิจกรรมนี้ขึ้นมา และมอบโอกาสดีๆ แบบนี้ให้เด็กๆ ในจังหวัดยะลาท�ำให้ดิฉันมีความกล้าที่จะมาท�ำหน้าที่ วิทยากรที่ดี กล้า พูดกล้าแสดงออก อย่างที่ไม่เคยท�ำมาก่อน อีกทั้งยังได้รับความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กับการป้องกันกับ ปัญหายาเสพติด มีสื่อการสอนรู้แบบเกมบันไดงู สื่อการเรียนรู้ทักษะชีวิตพิชิตยาเสพติด ท�ำให้ได้ทั้งความรู้และความสนุกสนาน ไม่หน้าเบื่อ ดิฉันสัญญาว่าจะกลับไปต่อยอด น�ำความรู้ที่ได้ไปลงสู่ชุมชนโรงเรียน ขอขอบคุณมูลนิธิครอบครัวพอเพียงและ ส�ำนักงาน ป.ป.ส. ที่ท�ำให้ดิฉันรับความรู้มากมาย ได้พบเพื่อนต่างโรงเรียนความทรงจ�ำดีๆ ที่จะจดจ�ำตลอดไป : นางสาว รอ มียา เจาะเลาะ ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนรามันห์ศิริวิทย์ ๒. ความรู้สึกที่มีต่อกิจกรรมค่าย Leader Camp@Yala ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด ในครั้งนี้ เป็นค่ายที่ท�ำให้หนู ได้เปิดโลกใหม่ จากคนที่ไม่ค่อยกล้าพูด ไม่กล้าแสดงออก ให้เป็นคนที่กล้าพูดกล้าแสดงออก นอกจากนี้ยังมีการให้ความรู้ดีๆ จากวิทยากรของ ป.ป.ส. ที่มาให้ความรู้แก่พวกหนูท�ำให้พวกหนูรับความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดชนิดต่างๆ ซึ่งยาเสพติดเป็นปัญหา ใหญ่ของสังคม หนูสัญญาว่าจะน�ำความรู้และทักษะที่ได้จากค่ายนี้ ไปถ่ายทอดต่อให้เพื่อนๆ ในโรงเรียนและชุมชน ขอขอบคุณ ป.ป.ส. ที่สนับสนุนให้เกิดค่ายนี้ ที่ให้พวกหนูได้มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมดีๆ แบบนี้และหวังว่าจะได้โอกาสเข้าร่วมอีกหลายๆ ค่ายเลยค่ะ : นางสาว นอเฟาซีกีน ประดู่ ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนจันทร์ประภัสอนุสรณ์ ๓. ค่าย Leader Camp@ลพบุรี ตอนแรกก่อนไปค่ายรู้สึกกังวลมากว่าไปค่ายแล้วจะต้องเจออะไรบ้าง จะเข้ากับคน อื่นได้ไหม จะท�ำงานร่วมกับเพื่อนจากโรงเรียนอื่นได้ไหม จนถึงวันไปค่ายเราก็ต้องถูกจับแยกจากเพื่อนโรงเรียนเดียวกัน และ เข้าไปอยู่ในสีที่ทางพี่เมนเทอร์คัดแยกไว้ไปให้ ซึ่งพอถูกแยกจากเพื่อนรู้สึกแย่มาก แต่สุดท้ายมันกลับกลายเป็นเรื่องดีเพราะ ท�ำให้เราได้พบเจอเพื่อนใหม่จากโรงเรียนอื่นๆ ตลอดเวลา ๓ วัน ๒ คืน เราก็ได้ฝึกการท�ำงานเป็นทีม ได้รับความรู้เรื่องของ
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 15
ยาเสพติด สารเสพติด และเรื่องของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หนูจะน�ำเรื่องราวความรู้ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในค่ายไปเผย แพร่ต่อ พี่ๆ น้องๆ ในโรงเรียน สังคม ขอบคุณส�ำหรับโอกาสดีๆ ค่ายดีๆ #ค่ายต่อต้านยาเสพติด #ค่ายLeader Camp #Stop Dngs #ขอบคุณ ป.ป.ส. : นางสาว รุ่งทิวา พันแก้ว ประธานรุ่น ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนท่าวุ้งวิทยาคาร ๔. ในการมาเข้าร่วมกิจกรรม Leaders Camp@Lopburi ๒๐๑๙ ระหว่างวันที่ ๖ - ๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นการ เข้ารับอบรมครั้งแรกที่ข้าพเจ้าได้แสดงความสามารถในด้านความเป็นผู้น�ำการแลกเปลี่ยนความคิดภายในกลุ่ม การตัดสินใจใน การคิดกระท�ำสิ่งต่างๆ ขอบคุณส�ำนักงาน ป.ป.ส ที่ท�ำให้เกิดค่ายนี้ขึ้นมา เปิดประสบการณ์ในการรับความรู้ทุกท่านวิทยากร อีกทั้งการได้ท�ำความรู้จักกับเพื่อนๆ พี่ๆ น้องๆ จากต่างจังหวัด ต่างโรงเรียน ต่างภูมิภาค ทั้งใกล้และไกล เป็นการเรียนรู้นอก สถานทีท่ สี่ ามารถน�ำไปประกอบในการเรียนการใช้ชวี ติ ประจ�ำวันได้เป็นอย่างดี ทัง้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทักษะชีวติ พิชิตยาเสพติด เรื่องหลักค�ำสอนพระราชด�ำรัส รวมถึงแนวทางการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้ทราบถึงสิทธิตัวของข้าพเจ้าเองภายในประเทศ การตั้งเป้าหมายในอนาคตในชีวิตของ ตนเอง การวางรากฐานความคิดเพื่อไปให้ถึงฝั่งฝันของทุกๆคน ทักษะในการด�ำเนิชีวิตของตนเองพิษภัยของยาเสพติด ข้าพเจ้า มองว่าการอบรมในค่ายนี้ข้าพเจ้าสามารถน�ำความรู้ไปประกอบทักษะชีวิตได้เป็นอย่างดี อีกทั้งความสนุกสนาน การได้แสดง ความสามารถความกล้าแสดงออก ขอสัญญาว่าถ้ามีโอกาสจะกลับไปค่ายอีกอย่างแน่นอนค่ะ : นางสาวอินธิรา สุทธิสนธ์ ศูนย์ ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนโคกส�ำโรงวิทยา ๕. ความรู้สึกที่ได้ร่วมกิจกรรมค่ายนี้ รู้สึกว่าได้เปิดโลกใหม่ที่ไม่เคยได้ท�ำมาก่อนวันแรกที่ได้เข้าค่าย ตอนแรกไม่คิดว่า จะมีความสุขขนาดนี้ ไม่คิดว่าการจัดค่ายจะมีระบบขนาดนี้ และยังได้รับความรู้ที่ไม่ได้รู้มาก่อน ทั้งเรื่องยาเสพติดจาก ป.ป.ส. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากมูลนิธิครอบครัวพอเพียงที่ท�ำไม่ได้ในห้องเรียน ไม่มีในต�ำราเรียน ได้แสดงออกมาก ขึ้นผ่านการสอบสอนเป็นวิทยากร ท�ำงานร่วมกับเพื่อนต่างโรงเรียนต่างจังหวัดมีเพื่อนใหม่มากขึ้น ได้ออกความคิดเห็นกับ เพื่อนๆ ขอขอบคุณผู้ใหญ่ใจดี จากส�ำนักงาน ป.ป.ส. ที่มาให้ความรู้ยาเสพติด มูลนิธิครอบครัวพอเพียงที่จัดค่ายขึ้นมาขอบคุณ ประสบการณ์ที่ได้จากค่ายนี้ : นางสาว สุดารัตน์ ราชชมพู ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนดงดาวแจ้งพัฒนศึกษา ๖. สิ่งที่ได้จากค่าย Leader Camp นอกจากจะได้ความสุขและมิตรภาพแล้วยังได้รับความรู้ของเรื่องหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ๕ ค�ำ ๕ ข้อ ที่พ่อสอน ที่สอดคล้องทั้งกับการด�ำรงชีวิต คุณแม่วัยใส อีกทั้งยังได้ฝึกการเป็นผู้น�ำ ปฏิบัติ จริงท�ำให้เรามีความกล้าแสดงออกท�ำในสิ่งที่ตัวเองไม่เคยท�ำและท�ำในสิ่งที่คนอื่นท�ำไม่ได้ ค่ายนี้เพื่อนๆ พี่ๆ น่ารักมากๆ ค่ะ เต็มเปี่ยมไปด้วยความสนุกสนานและความรู้ครบรสและแน่นอนว่าจะน�ำความรู้นี้ไปต่อยอดให้กับพี่ๆน้องๆที่โรงเรียนค่ะ หนู อยากขอขอบคุณมูลนิธิครอบครัวพอเพียงที่จัดค่ายดีๆ แบบนี้ และขอขอบคุณส�ำนักงาน ป.ป.ส. ที่มีให้ความรู้เรื่องยาเสพติด : นางสาว สุมาลี ผิดข�ำ ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนค�ำบกวิทยาคาร
16 โครงการ
โครงการ ค่ายผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด จังหวัดปิยะมหาราชาลัย
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 17
18 โครงการ
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 19
20 โครงการ
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 21
ผลการทดสอบความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดและการรับรู้เกี่ยวกับส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด แบบทดสอบ Pretest – Posttest ส�ำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมค่าย Do for D. “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” ครั้งที่ ๑ ณ โรงเรียนปิยะมหาราชาลัย จ�ำนวนโรงเรียนเข้าร่วม ๗๑ แห่ง ระดับความรู้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้มาก คะแนน ๘ – ๑๐ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ปานกลาง คะแนน ๕ – ๗ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้น้อย คะแนน ๑ – ๔
ก่อนเข้ารับการอบรม (คน) (ร้อยละ)
หลังเข้ารับการอบรม (คน) (ร้อยละ)
๑๗๘
๕๙.๓๓
๒๗๙
๙๓.๐๐
๑๐๕
๓๕.๐๐
๒๑
๗.๐๐
๑๗
๕.๖๗
-
-
ผลการประเมิ น ผู้ประเมินผ่านเล่มคู่มือทักษะชีวิตพิชิตยาเสพติด The Way of Life The Way of Feeling ดังนี้
22 โครงการ
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 23
24 โครงการ
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 25
โครงการ ค่ายผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด จังหวัดยะลา
26 โครงการ
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 27
28 โครงการ
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 29
30 โครงการ
ผลการทดสอบความรู ้ เ กี่ ย วกั บ ยาเสพติ ด และการรั บ รู ้ เ กี่ ย วกั บ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการป้ อ งกั น และปราบปราม ยาเสพติด แบบทดสอบ Pretest – Posttest ส�ำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมค่าย Do for D. “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” ครั้งที่ ๒ ณ โรงเรียนคณะราษฎรบ�ำรุง จังหวัดยะลา จ�ำนวนโรงเรียนที่เข้าร่วม ๑๒ แห่ง ระดับความรู้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้มาก คะแนน ๘ – ๑๐ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ปานกลาง คะแนน ๕ – ๗ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้น้อย คะแนน ๑ – ๔
ก่อนเข้ารับการอบรม (คน) (ร้อยละ)
หลังเข้ารับการอบรม (คน) (ร้อยละ)
๑๓๐
๔๓.๓๓
๒๘๘
๙๖.๐๐
๙๖
๓๒
๗
๒.๓๓
๗๔
๒๔.๖๗
๕
๑.๖๗
ผลการประเมิ น ผู้ประเมินผลผ่านเล่มคู่มือ หน้า The Way of Life The Way of Feeling ดังนี้
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 31
32 โครงการ
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 33
34 โครงการ
โครงการ ค่ายผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด จังหวัดลพบุรี
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 35
36 โครงการ
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 37
38 โครงการ
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 39
ผลการทดสอบความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดและการรับรู้เกี่ยวกับส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด แบบทดสอบ Pretest – Posttest ส�ำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมค่าย Do for D. “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” ครั้งที่ ๓ ณ โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย จ�ำนวนโรงเรียนที่เข้าร่วม ๔๑ แห่ง ระดับความรู้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้มาก คะแนน ๘ – ๑๐ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ปานกลาง คะแนน ๕ – ๗ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้น้อย คะแนน ๑ – ๔
ก่อนเข้ารับการอบรม (คน) (ร้อยละ)
หลังเข้ารับการอบรม (คน) (ร้อยละ)
๒๐๒
๖๗.๓๓
๒๘๖
๙๕.๓๓
๕๔
๑๘.๐๐
๑๔
๔.๖๗
๔๔
๑๔.๖๗
-
-
ผลการประเมิ น ผู้ประเมินผลผ่านเล่มคู่มือ หน้า The Way of Life The Way of Feeling ดังนี้
40 โครงการ
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 41
42 โครงการ
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 43
การขับเคลื่อนโครงการ ผ่านศูนย์ครอบครัวพอเพียง
44 โครงการ
โรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
โรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 45
โรงเรียนแก่งคอย
โรงเรียนเตรียมอุดมน้อมเกล้า นนทบุรี
46 โครงการ
โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี
โรงเรียนระยองวิทยาคม
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 47
โรงเรียนรัตนาธิเบศร์
โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์
48 โครงการ
โรงเรียนสตรีนครสวรรค์
โรงเรียนสมุทรสาครบูรณะ
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 49
โรงเรียนสระแก้ว
โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม
50 โครงการ
โรงเรียนสตรีสมุทรปราการ
โรงเรียนเมืองกระบี่
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 51
โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช
52 โครงการ
โรงเรียนตะกั่วป่า “เสนานุกูล”
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 53
โรงเรียนคณะราษฎรบ�ำรุง จังหวัดยะลา
โรงเรียนนราสิกขาลัย
54 โครงการ
โรงเรียนนราธิวาส
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 55
โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดปัตตานี
โรงเรียนพิชัยรัตนาคาร
56 โครงการ
โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 57
โรงเรียนพัทลุง
58 โครงการ
โรงเรียนพิมานพิทยาสรรค์
โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 59
โรงเรียนวิเชียรมาตุ
โรงเรียนสตรีพังงา
60 โครงการ
โรงเรียนสตรีพัทลุง
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 61
62 โครงการ
โรงเรียนสตรีระนอง
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 63
64 โครงการ
โรงเรียนสตรีภูเก็ต
โรงเรียนสตรียะลา
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 65
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
โรงเรียนกาญจนาภิเษก กาฬสินธุ์
66 โครงการ
โรงเรียนกัลยาณวัตร
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 67
โรงเรียนเชียงกลมวิทยา
โรงเรียนเดชอุดม
68 โครงการ
โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา
โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 69
โรงเรียนภัทรบพิตร
โรงเรียนเมืองคง
70 โครงการ
โรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย
โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 71
โรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล
โรงเรียนสตรีราชินูทิศ
72 โครงการ
โรงเรียนอ�ำนาจเจริญ
ค่าย “ผู้น�ำเยาวชนห่างไกลยาเสพติด” 73
ไม่ มี ส ่ ว นไหนส� ำ คั ญ เท่ า ส่ ว นรวม เมื่ อ ส่ ว นรวมพ้ น ทุ ก ข์ เราจะสุ ข ร่ ว มกั น
มู ล นิ ธิ ค รอบครั ว พอเพี ย ง
Foundation Of Sufficiency Economy Family (FOSEF)
๖๖๓ พหลโยธิ น ๓๕ แขวงลาดยาว เขตจตุ จั ก ร กรุ ง เทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศั พ ท์ ๐๒ ๙๓๙ ๕๙๙๕, โทรสาร ๐๒ ๙๓๙ ๕๙๙๖, www.fosef.org, email : fosefpr๒๐๑๔@gmail.com facebook/ครอบครั ว พอเพี ย ง