IS AM ARE August62

Page 1

IS AM ARE

ความเสียสละ คือ หัวใจของนักสังคมสงเคราะห์

ศ.ระพีพรรณ ค�ำหอม หัวใจของพยาบาล

พล.ต.ต.หญิง ดร.นงเยาว์ สมพิทยานุรักษ์


2 IS AM ARE www.porpeang.or.th


...ประเทศชาติ ข องเราก็ จ ะสามารถด� ำ รงรั ก ษาความเป็ น ปรกติ มั่ น คง พร้ อ มทั้ ง พั ฒ นาให้ ก ้ า วหน้ า ไปและบรรลุ ถึ ง ความวั ฒ นาผาสุ ก ได้ โ ดยสวั ส ดี ขออ� ำ นาจคุ ณ พระศรี รั ต นตรั ย และสิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ จงคุ ้ ม ครองรั ก ษาท่ า นทุ ก คน ให้ มี ค วามสุ ข ความเจริ ญ ทุ ก เมื่ อ ทั่ ว กั น ... พระราชด� ำ รั ส พระบาทสมเด็ จ พระปรเมนทรรามาธิ บ ดี ศ รี สิ น ทรมหาวชิ ร าลงกรณ พระวชิ ร เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว พระราชทานแด่ นายกรั ฐ มนตรี ประธานรั ฐ สภา และประธานศาลฎี ก า เฝ้ า ทู ล ละอองธุ ลี พ ระบาท ถวายพระพรชั ย มงคล ในการพระราชพิ ธี เ ฉลิ ม พระชนมพรรษา ๒๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ 3 issue 139 AUGUST 2019


ฉบับนี้ ฝาก บทความ ส�ำหรับผู้สูงวัย นะคะ ผู้สูงวัยทุกคน ควรที่จะท�ำความเข้าใจและเตรียมตัวที่จะพบสิ่งต่างๆ ที่ก�ำลังจะเกิดขึ้น เพื่อว่าเมื่อเวลานั้นมาถึงเราจะได้ไม่ ต้องตกใจกลัวและพร้อมที่จะเผชิญหน้ากับมันนั่นคือ 1. จ�ำนวนคนรอบข้างในชีวิตคุณมีแต่จะลดลงตลอดเวลา คนรุ่นพ่อรุ่นแม่หรือปู่ย่าตายายนั้นส่วนใหญ่หนีหายกันไปหมด แล้วส่วนคนที่อยู่ในวัยเดียวกับคุณก็จะเริ่มประสบปัญหาในการดูแลตนเอง ในขณะที่คนรุ่นหลังรุ่นลูกหลานก็ก�ำลังง่วนกับชีวิตและ ความเป็นอยู่ของพวกเขาเอง แม้แต่คู่ชีวิตของคุณเองก็อาจจะจากไปก่อนคุณ หรือเร็วกว่าที่คุณคาดไว้ ซึ่งอาจท�ำให้คุณถูกทิ้งไว้อยู่ กับวันเวลาที่ว่างเปล่าคนเดียวก็เป็นได้ คุณจะต้องเรียนรู้ที่จะอยู่คนเดียวให้ได้และยอมรับพร้อมกับการรู้จักกับความเป็นสันโดษใน บั้นปลายของชีวิตที่จะต้องเกิดขึ้น 2. สังคมจะเริ่มให้ความส�ำคัญกับคุณน้อยลงไปเรื่อยๆ ไม่ว่าในอดีตคุณจะเคยยิ่งใหญ่หรือมีชื่อเสียงมากขนาดไหนก็ตาม ความ ชราจะเปลี่ยนคุณให้กลายเป็นเพียงชายแก่หรือหญิงแก่ธรรมดาคนนึงเท่านั้น สปอตไลท์จะหยุดฉายมาที่คุณ และคุณจะต้องหัดพอใจ กับการยืนอยู่ในมุมห้องหรือเงามืดอย่างเงียบๆ เพียงคนเดียวคุณต้องเรียนรู้ที่จะยอมรับและยินดีกับภาพที่เห็นอยู่ตรงหน้าคุณ โดย ปราศจากอาการอิจฉาริษยาหรือคับแค้นใจแต่อย่างใดทั้งสิ้น 3. ถนนสายที่เหลืออยู่นั้นจะขรุขระและเต็มไปด้วยอันตรายต่างๆ ที่พร้อมจะเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา เช่น การแตกหัก เส้นเลือด ตีบตัน สมองฝ่อ หัวใจเต้นผิดจังหวะไทรอยด์เป็นพิษ อารมณ์แปรปรวน การหลงลืมหรือมะเร็ง เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ต่างล้วนจะเป็นแขกที่ไม่ได้รับเชิญของคุณได้ตลอดเวลา คุณจะต้องเรียนรู้ที่จะอยู่กับความเจ็บป่วย หรือแม้แต่ ยอมรับมันมาเป็นเพื่อน อย่าหวังว่าร่างกายคุณจะได้อยู่อย่างสุขสบายตลอดไป การมีจิตใจและความคิดเป็นบวก พร้อมทั้งการ ออกก�ำลังกายอย่างเพียงพอ อย่างน้อยเดินวันละ 10,000 ก้าวเป็นประจ�ำ จะกลายเป็นภาระหน้าที่ของคุณ นอกจากนั้นคุณยังจะ ต้องคอยกระตุ้นตัวเองให้ปฏิบัติอย่างต่อเนื่องและสม�่ำเสมอด้วย 4. เตรียมพร้อมส�ำหรับการใช้ชีวิตติดเตียงและการกลับสู่สภาพทารกแรกเกิด เราทุกคนต่างเคยอยู่บนเตียงเมื่อตอนที่แม่ของ เราน�ำเรามาสู่โลกนี้ และหลังจากการเดินทางผจญภัยและการต่อสู้อันยาวนานในชีวิตแล้ว เราทุกคนก็จะกลับมาสู่จุดเริ่มต้นเดิมอีกครั้งนึง เราจะถูกดูแลโดยคนอื่นเหมือนเมื่อแรกเกิด สิ่งที่แตกต่างกันก็คือครั้งนั้นเราเคย มีแม่เป็นผู้ดูแล ด้วยความรักอย่างสุดหัวใจแต่เมื่อใกล้วันที่เราจะจากโลกนี้ไปเราอาจไม่มีญาติที่ใกล้ชิดมาดูแลเราก็ได้ และหากคุณเป็น ผู้โชคดีที่มีญาติมาคอยดูแล ก็คงเทียบไม่ได้กับความอาทรและความเอาใจใส่ที่คุณเคยได้รับจากแม่ของคุณมีความเป็นไปได้ที่คุณอาจ จะถูกดูแลโดยพยาบาลที่แม้จะมีรอยยิ้มบนใบหน้า แต่จิตใจของเธออาจจะมีแต่ความเหนื่อยหน่ายในขณะปฏิบัติหน้าที่อันน่าเบื่อหรือ แสนจะจ�ำเจนั้น คุณจงฝึกนอนนิ่งๆ อย่าจู้จี้ขี้บ่น อย่าท�ำตัวให้เป็นที่ล�ำบากของคนอื่น จงรู้สึกพอใจในสิ่งที่คุณได้รับ 5. จงพร้อมที่จะพบกับสิ่งหลอกลวงต่างๆ ที่คุณมักเจอ คนส่วนใหญ่รู้ว่าผู้สูงอายุนั้นมักจะมีทรัพย์สินเงินทองที่เก็บสะสมมา ตลอดชีวิต และพวกเขาก็จะพยายามทุกวิถีทางที่จะหลอกเอาเงินและทรัพย์สินต่างๆนั้นจากคุณให้ได้ ไม่ว่าจะมาหลอกซึ่งหน้า การ ส่งข้อความ SMS ส่งอีเมล์หรือโซเชียลมีเดียต่างๆ หรืออาจมีตัวอย่างสินค้ามาให้ลอง โดยบอกว่าจะช่วยชะลอความแก่ หรือท�ำให้ คุณอายุยืนขึ้น หรืออาจจะเป็นโครงการออมทรัพย์ที่จะเพิ่มความร�่ำรวยให้กับคุณอย่างรวดเร็ว เป็นต้น โดยพื้นฐานแล้ว สิ่งที่คนเหล่านี้ต้องการก็คือใช้ทุกวิถีทางเพื่อที่จะฉกเงินในกระเป๋าคุณให้ได้เท่านั้น ~ ดังนั้นคุณต้องระวังและรู้ให้เท่าทัน อย่าได้หลวมตัวหรือหลงเชื่อหลวมตัวเมื่อไหร่เงินและทรัพย์สินที่คุณสะสมไว้จะแยก ทางกับคุณทันที ~ ช่วงสุดท้ายของการเดินทางของคุณจะค่อยๆ สว่างน้อยลงไปเรื่อยๆ จึงเป็นธรรมดาที่คุณเริ่มจะมองเห็นทางเดินข้างหน้า ไม่ชัดและรู้สึกล�ำบากที่จะก้าวเดินหน้าต่อไปเรื่อยๆ ดังนั้นผู้สูงวัยทุกคน จงมองชีวิตตามความเป็นจริงของมัน พอใจในสิ่งที่ได้รับและยินดีกับสิ่งที่มีอยู่ ใช้ชีวิตให้สนุกขณะที่ยังท�ำได้ และที่ส�ำคัญอย่าเอาเรื่องยุ่งเหยิงของสังคม เรื่อง การเมืองแม้แต่เรื่องของลูกๆ หรือหลานๆ มาเป็นปัญหาของตนเอง จงใช้ชีวิตอย่างเจียมเนื้อเจียมตัวและเรียบง่าย อย่าแสดงตัวว่าเก่งเพราะคิดว่ามี ประสบการณ์สูงและผ่านอะไรๆ มามาก อย่าดูถูกผู้อื่นเพราะที่สุดแล้วมันจะท�ำให้คุณเจ็บเองเจ็บมากพอๆ กับที่คุณท�ำให้ ผู้อื่นเจ็บ เมื่ออายุยิ่งมากคุณยิ่งต้องให้ความส�ำคัญกับการอ่อนน้อมและเคารพต่อผู้อื่น ควรท� ำ ความรู ้ จั ก กั บ การปล่ อ ยวาง รู ้ จั ก ว่ า ชี วิ ต คนเรานั้ น เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ ธรรมชาติ ควรปล่อยให้มันเดินไปตามจังหวะและทิศทางของมัน จงใช้ชีวิตที่เหลืออย่าง สงบ สุขุม พอเพียง…ต่อการเป็นผู้สูงวัย www.Porpeang.or.th

ที่มาบทความ - เรียบเรียงจากคุณโจวต้าเซิน 4 IS AM ARE www.porpeang.or.th


Contributors

มู ลนิธิครอบครัวพอเพียง

นางอริยสิริ พิพัฒน์นรา นายณัฐเสกข์ น้อยสมบูรณ์ นายธนพร เทียนชัยกุล นางสุมาลี โฆษิตนิธิกุล นายกรวิก อุนะพ�ำนัก นางประหยัด ทองภูธรณ์ นางอมรรัตน์ ศิริมิตรตระกูล นางสุวรรณา ธานี นางมาริสา อินลี นางกันตาภา สุทธิอาจ นางสาวปัทมา ภูมิน�้ำเงิน นายเอกรัตน์ คงรอด นายอภีม คู่พิทักษ์ นายกมลเศรษฐ์ เก่งการเรือ นางสาวเอื้อมพร นาวี

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเหรัญญิก กรรมการและผู้ช่วยเหรัญญิก กรรมการและเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ดร.เชิดศักดิ์ ดร.กัมปนาท ดร.นฤมล ดร.อ�ำนาจ ดร.ชลพร ดร.กาญจนา ดร.ปิยฉัตร ดร.คุณานันท์

ศุภโสภณ บริบูรณ์ พระใหญ่ วัดจินดา กองค�ำ สุทธิเนียม กลิ่นสุวรรณ ทยายุทธ

Let’s

Start and Enjoy!

ส�ำนักงาน :

โทรศัพท์ : โทรสาร : เว็ปไซต์ :

5 issue 139 AUGUST 2019

นิตยสารครอบครัวพอเพียง 663 ซอยพหลโยธิน 35 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 0 2939 5995 0 2939 5996 www.Porpeang.or.th


Hot Topic

8

เกร็ดการทรงงาน พัฒนาดอยกันดารด้วย โครงการหลวง (พื้นที่สูง)

12

20

ความเสียสละ คือ หัวใจของ นักสังคมสงเคราะห์ ศ.ระพีพรรณ ค�ำหอม

แม่ของแผ่นดิน

Don’t miss

34

74 60 6 IS AM ARE www.porpeang.or.th

52 56


Table Of Contents

ศ.ระพีพรรณ ค�ำหอม

เกร็ดการทรงงาน พัฒนาดอยกันดารด้วยโครงการหลวง (พื้นที่สูง) แม่ของแผ่นดิน cover story ความเสียสละ คือ หัวใจของนักสังคมสงเคราะห์ ศ.ระพีพรรณ ค�ำหอม Cartoon Let’s Talk หัวใจของพยาบาล พล.ต.ต.หญิง ดร.นงเยาว์ สมพิทยานุรักษ์ บทความมูลนิธิชัยพัฒนา คิดถึงสมเด็จย่า พระราชมารดาของพระราชาสองพระองค์ บทความพิเศษ ถ้านับถือพระบรมศาสดา ก็ต้องรักษา “พระไตรปิฎก” ยึดอินเดียด้วยปาก“จารวาก” กาฝากระดับโลก การป้องกันฆ่าตัวตายเป็นเรื่องของทุกคน อย่ารอแพทย์พยาบาล ฝึกภาษา ท�ำความดี ในวิถีพอเพียง ขวัญชัย ปรีดี พอเพียง วัดกันที่ตรงไหน “เพียงพอ ก็พอเพียง” 5 หลักด�ำเนินชีวิต ที่พ่อทิ้งไว้ Round About

7 issue 139 AUGUST 2019

8 12 20 30 34 42 52 56 60 66 70 74 80


พัฒนาดอยกันดาร

ด้วยโครงการหลวง (พื้นที่สูง) เรี ย บเรี ย งจากบทสั ม ภาษณ์ ห ม่ อ มเจ้ า ภี ศ เดช รั ช นี องค์ ป ระธานมู ล นิ ธิ โ ครงการหลวง

“พระเจ้าอยู ่หัวทรงโปรดที่จะศึกษาชี วิตของประชาชนของท่านคนข้างล่างบนพื้นราบท่านก็ทรงทราบ แต่ในพื้นที่ป่าเขาท่านไม่ทราบว่าเค้าอยู ่กันอย่างไร จึงได้เสด็จประพาสต้นบนดอย ท่านก็ถามว่าเค้า เป็ นอย่างไร ท่านก็ทรงทราบว่าเค้าจน ท่านก็สงสาร ท่านก็อยากจะช่ วยให้เค้าเลิกจน เลิกท�ำผิดคือ ปลูกฝิ่ น ให้มีรายได้ดีและไม่ท�ำลายต้นน�้ำล�ำธารเรา” หม่ อ มเจ้ า ภี ศ เดช รั ช นี องค์ ป ระธานมู ล นิ ธิ โ ครงการหลวง 8 IS AM ARE www.porpeang.or.th


เกร็ ด การทรงงาน ในวั น ที่ 25 กุ ม ภาพั น ธ์ 2512 พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จพระราชด�ำเนินเยี่ยมราษฎรชาวไทยภูเขาบนดอยสูง ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ เ ป็ น ครั้ ง แรก ทั้ ง สองพระองค์ ท อด พระเนตรเห็นชีวิตจริง และได้เห็นคุณภาพชีวิตของราษฎรชาว ไทยภูเขาในถิ่นทุรกันดารล�ำบากยากจน ที่ด�ำรงชีวิตด้วยการท�ำ ไร่เลื่อนลอยและปลูกฝิ่น การท�ำไร่เลื่อนลอยได้ก่อความเสียหายให้แก่พื้นที่อัน เป็นต้นน�้ำล�ำธาร ส่วนการปลูกฝิ่นส่งผลต่อสุขภาพ ชีวิต และ เป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ แต่การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของ ชาวเขาเหล่านี้นั้นไม่ใช่เรื่องง่าย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงได้ทรงใช้เวลาในการศึกษาชีวิตความเป็นอยู่ของชาวเขา โดย เฉพาะก่อนที่จะมีพระราชด�ำริให้น�ำพืชอื่นๆ ซึ่งสร้างรายได้ดี แต่ ไม่ผิดกฎหมาย ทั้งยังไม่ต้องบุกรุกพื้นที่ต้นน�้ำมาส่งเสริมให้ชาว ไทยภูเขาเหล่านี้เพาะปลูก หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี องค์ประธานมูลนิธิโครงการหลวง ได้ประทานสัมภาษณ์ว่า “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงขับ รถพระที่นั่งไปบ้านแม้วดอยปุยใกล้พระต�ำหนักภูพิงคราชนิเวศน์ และได้ทอดพระเนตรต้นท้อ (Peach) ที่แม้วเอากิ่งพันธุ์ดีมาต่อ กับต้นตอพื้นเมือง มีรับสั่งถามเจ้าของว่าปลูกฝิ่นได้เงินเท่าไหร่ และเก็บท้อพื้นเมือง (ลูกเล็ก) ขายได้กี่บาท ก็ทรงทราบว่าฝิ่น กับท้อพื้นเมืองท�ำเงินให้เกษตรกรเท่าๆ กัน” “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงคิดว่า ถ้าท้อลูก นิด ๆ ยังท�ำเงินให้เกษตรกรได้ดีเท่าฝิ่นเราก็ควรจะเปลี่ยนยอด ให้ออกลูกมาเป็นท้อใหญ่ ๆ หวานฉ�่ำ สีชมพูเรื่อดั่งแก้มสาวใน นิทานจีน เมื่อรายได้จากท้อและผลไม้อื่นสูงกว่าฝิ่นแล้ว ฝิ่นก็จะ สาบสูญไปเองตามธรรมชาติ ไม่ต้องผลักดันแต่อย่างใด” ดังนั้นการด�ำเนินงานในระยะแรกของโครงการหลวง จึงเป็นไปในลักษณะโครงการส่วนพระองค์ โดยทรงพระกรุณา โปรดเกล้าตั้งโครงการหลวง ขึ้นในปี 2512 โดยใช้พระราช ทรัพย์ส่วนพระองค์ ในช่วงแรกเริ่มนั้น จะไม่มีการบังคับให้ชาวเขาเลิกปลูก ฝิ่น แต่จะน�ำพืชเมืองหนาวไปให้ชาวเขาลองปลูก หากเห็นว่า ดีในปีต่อๆ ไปก็ค่อยๆ ขยายพื้นที่ปลูกต่อไป ซึ่งไม่พบปัญหา อุปสรรคแต่อย่างใดเพราะจะน�ำชาวเขาที่มีความกระตือรือร้น ไปปลูกก่อน และเมื่อได้ผลดีในปีต่อมาคนอื่นในชุมชนก็ได้เข้า ร่วมโครงการกันจนทั่วทั้งชุมชน 9 issue 139 AUGUST 2019


10 IS AM ARE www.porpeang.or.th


หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี ยังได้เล่าว่า ในระยะเริ่มต้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะเสด็จฯ ไปตามดอยต่างๆ วัน เว้นวัน เป็นประจ�ำทุกปี “ตอนเช้าที่ท่านจะบินไป หลังจาก เครื่องบินลงท่านก็จะเสด็จพระราชด�ำเนินขึ้นเขาลงห้วย จนถึง ตอนเย็น ท่านก็จะกลับ เสวยนี่ ท่านก็มีพวกข้าวห่อ” จากงานวิจัยทดลองในสถานีวิจัยจ�ำนวน 4 แห่ง และ จากศูนย์พัฒนาโครงการหลวงอีก 34 แห่ง ครอบคลุม 5 จังหวัด ภาคเหนือ จนถึงแปลงปลูกของชาวเขา ซึ่งหลังจากที่มั่นใจได้ แล้วว่าพันธุ์พืชที่น�ำไปส่งเสริมให้ชาวเขาปลูกนั้น จะเป็นพืชที่ สามารถเติบโตได้ดีในภูมิอากาศบนดอยสูงของภาคเหนือ และ จะให้ผลผลิตตรงกับความต้องการของผู้บริโภค หากชาวเขาได้ ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำของเจ้าหน้าที่มูลนิธิโครงการหลวงที่ได้ เข้าไปเยี่ยมและให้ค�ำปรึกษาอย่างต่อเนื่อง ต่อจากนั้นก็มาถึง เรื่องของการตลาด ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความส�ำคัญและเกี่ยว เนื่องกับระบบการวิจัย ทางมูลนิธิโครงการหลวงจึงได้มีการวิจัย เพื่อแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่เป็นผลผลิตของชาวเขา และงานวิจัย ด้านการตลาดโดยเฉพาะ

หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี ได้กล่าวถึงเรื่องนี้ว่า “ตลาดก็ ส�ำคัญมาก ถ้าเราผลิตแล้วไม่ได้เงินเราจะผลิตท�ำไม เมื่อเราผลิต ได้จริง ๆ แล้ว เราก็ต้องจัดการขายเพราะจะให้ชาวเขาไปขายเอง มันไม่ได้ ฉะนั้นเราต้องท�ำเรื่องการตลาด อีกอันที่คนถาม แล้ว โครงการหลวงได้ก�ำไรเท่าไหร่ เราไม่ได้เลย เพราะว่าของๆ ชาว เขา เราเอาไปขาย ราคามันก็ขึ้นๆ ลงๆ แล้วแต่ตลาดจะซื้อเท่าไร เมื่อเราได้เงินมาแล้วเราจะหักต้นทุน ค่าขนส่ง ค่าภาชนะ ที่ เหลือเราให้ชาวเขาหมดเลย ก�ำไรไม่มีกับเรา ก�ำไรอยู่ที่ชาวเขา” พระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ ท รงห่ ว งใยทุ ก ข์ สุ ข ของเหล่ า อาณาประชาราษฎร์ ภายใต้ พระบรมโพธิสมภารที่อาศัยอยู่บนพื้นที่สูงอย่างชาวไทยภูเขา เหล่ า นี้ ผลท� ำ ให้ วั น นี้ ป่ า ที่ เ คยถู ก บุ ก รุ ก ท� ำ ลายได้กลับ กลาย มาเป็นภาพผืนป่าเขียวขจีที่สมบูรณ์อีกครั้ง ภาพของไร่ฝิ่นที่ เคยมองเห็นได้ไกลสุดสายตาก็ได้กลับกลายมาเป็นพื้นที่ของ พืชเศรษฐกิจที่มีความยั่งยืน พร้อมด้วยภาพของพี่น้องชาวเขา ยิ้มแย้มแจ่มใสอยู่กับชีวิตที่ดีและมั่นคงขึ้น สมดังค�ำขวัญของ ศูนย์โครงการหลวงที่ว่า “ช่วยชาวเขา ช่วยชาวเรา ช่วยชาว โลก” 11

issue 139 AUGUST 2019


ภาพ : FB/ฟรีไฟล์ภาพพระบรมฉายาลักษณ์

12 IS AM ARE www.porpeang.or.th


แม่ของแผ่นดิน

เนื่ อ งในโอกาสวั น แม่ แ ห่ ง ชาติ 12 สิ ง หาคม เวี ย นมาอี ก ครั้ ง จึ ง ขออนุ ญ าตน� ำ เสนอเกร็ ด ในพระราชประวั ติ สมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ต์ิ พระบรมราชิ นี น าถ พระบรมราชชนนี พั น ปี ห ลวง จากหนั ง สื อ "ใกล้ เ บื้ อ งพระ ยุ ค ลบาท" กั บ "ลั ด ดาซุ บ ซิ บ " หนั ง สื อ อั น ทรงคุ ณ ค่ า ผู ้ เ ขี ย นคื อ นายแถมสิ น รั ต นพั น ธุ ์ หรื อ ลั ด ดา ซุ บ ซิ บ นั่ ง เอง

รักแรกพบ ในหลวง-พระราชิ นี

เรื่ อ งแรกที่ ห ยิ บ ยกมาเผยแพร่ นั้ น คื อ เรื่ อ ง “รั ก แรก พบ” ของ ในหลวง-พระราชินี โดยในหนังสือ “ใกล้เบื้องพระ ยุคลบาท” เป็นการเล่าถึง การครบรอบพระราชพิธีราชาภิเษก สมรส พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว สมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชินีนาถ ที่จัดขึ้นเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2493 ณ วัง สระปทุม มีสมเด็จพระศรีสวรินทราบรมราชเทวี พระพันวัส สาอัยยิกาเจ้า ทรงเป็นประธาน หากนับรวมปี พ.ศ. 2559 ใน ปัจจุบัน จะครบ 66 ปี หากย้อนกลับไป เมื่อปี 2521 ปีนั้น สมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถพระราชทานสัมภาษณ์ในภาพยนตร์สารคดี เรื่อง “ขวัญของชาติ” ออกแพร่ภาพทางสถานีโทรทัศน์ บี.บี.ซี. กรุงลอนดอน พระราชทานสัมภาษณ์ถึง “รักแรกพบ” ของในหลวงพระราชินี มีความตอนหนึ่งว่า... “ส�ำหรับข้าพเจ้าเป็นการเกลียดแรกพบมากกว่า รัก แรกพบ เนื่องพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรับสั่งว่าจะเสด็จถึง เวลาบ่าย 4 โมง แต่จริงแล้วเสด็จมาถึง 1 ทุ่ม ช้ากว่านัดหมาย ตั้ง 3 ชั่วโมง”

“ต้องท�ำให้ข้าพเจ้าต้องซ้อมถอนสายบัวอยู่จนแล้วจน เล่า จึงเป็นการเกลียดเมื่อแรกพบมากกว่า” “แต่ในการพบกันครั้งที่สอง ตอนนั้นกลายเป็นความ รัก เป็นสิ่งธรรมดาเหมือนอย่างคุณเคยได้ยินนั่นแหละ คือ เป็น ความรักแรกพบ” “ข้าพเจ้าไม่ทราบมาก่อนว่าพระองค์ทรงรักข้าพเจ้า เพราะเวลานั้น อายุเพิ่งย่าง 15 ปี และตั้งใจไว้ว่าจะเป็นนัก เปียโน เป็นนักเปียโนที่แสดงในงานคอนเสิร์ต” “ตอนประทับอยู่ที่โรงพยาบาลหลังประสบอุบัติเหตุทาง รถยนต์ มีพระอาการหนักมากต�ำรวจเขาโทรศัพท์ไปกราบบังคม ทูลสมเด็จพระราชชนนีฯ พระองค์ท่านรีบเสด็จไปทันที แต่ แทนที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะมีปฏิสันถารกับพระองค์ ท่านกลับทรงหยิบรูปข้าพเจ้าออกมาจากกระเป๋า โดยที่ข้าพเจ้า ไม่เคยทราบมาก่อนเลยว่าพระองค์ทรงมีรูปข้าพเจ้าอยู่” “แล้วพระองค์ก็ตรัสให้น�ำตัวข้าพเจ้าเข้าเฝ้า พระองค์ ทรงรักข้าพเจ้า” “ตอนนั้นข้าพเจ้านึกแต่เรื่องที่จะอยู่กับคนที่ข้าพเจ้ารัก เท่านั้น ไม่ได้นึกไปไกลถึงหน้าที่และภาระของพระราชินีเลย” “พระราชินี” ศิษย์เก่าเซนต์ฟรังฯ หัวหน้าทีม “วิ่งเปี้ยว” สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ในสมัยพระเยาว์นั้น 13

issue 139 AUGUST 2019


ภาพ : FB/ฟรีไฟล์ภาพพระบรมฉายาลักษณ์ เวลาอาหารกลางวัน เด็กคนอื่นทานที่โรงอาหาร ท่านมี คนมาส่งปิ่นโต เอาปิ่นโตมากับท่านผู้หญิงบุษบา น้องสาว บางที มีขนมหวาน ท่านก็แบ่งให้เราทาน บางทีก็เป็นก๋วยเตี๋ยว เป็น ก๋วยเตี๋ยวหมู เจ้าโล ธุระวณิชย์ คนขายชื่อเจ๊กฮะ แห้งชามละ 3 สตางค์ น�้ำชามละ 5 สตางค์ อะไรท�ำนองนี้ค่ะ การเล่นที่นิยมมากของนักเรียนในห้องนี้คือ วิ่งเปี้ยว โดยเฉพาะสมเด็จฯ ถือได้ว่าเป็นกีฬาโปรด ทรงเป็นหัวหน้าทีม เพราะวิ่งเร็วมาก ต่อมาเมื่อท่านเสด็จเยี่ยมเซนต์ฟรังฯ หลังเป็นสมเด็จ พระราชินีแล้ว ท่านยังรับสั่งกับดิฉันว่า จ�ำได้ไหม ตรงนี้เป็นเพล ย์กราวด์ เราเคยเล่นวิ่งเปี้ยวด้วยกัน สิ่งที่จ�ำแม่นเป็นพิเศษคือ พระโฉมที่ออกแววงามมาแต่ ครั้งนั้น ท่านไว้ผมเปียนะคะ แต่แทนที่จะทิ้งยาวลงไป ท่าน ทบขึ้นมาเป็นห่วงแล้วติดกิ๊บ เมื่อถึงชั้นมัธยม 3 ม.ร.ว.สิริกิติ์ เดินทางไปศึกษาต่อยังอังกฤษ ต่อมาหนังสือพิมพ์ลงข่าวการ หมั้น ท�ำให้ดิฉันตื่นเต้นมาก ได้เขียนจดหมายไปหาท่านที่เมือง นอก

เรียนอยู่ที่โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์ หมายเลข ประจ�ำตัว 371 โดยมีพระสหายร่วมชั้นเรียน จ�ำนวน 37 คน "ลัดดา" ผู้เขียนหนังสือเล่มนี้ จึงได้ไปเปิดหนังสือรุ่น ศิษย์เก่า เซนต์ฟรังฯ ปี 2491 พบค�ำสัมภาษณ์ของพระสหายร่วมรุ่นที่ใกล้ ชิดสนิทสนมเป็นพิเศษก็คือ ปรียา ไตลังคะ ที่เปลี่ยนนามสกุล หลังแต่งงานเป็น กลิ่นช้อย อีกคนคือ สุพร เนื่องยินดี ที่เปลี่ยน นามสกุลหลังแต่งงานเป็น สุสังกรกาญจน์ ปรี ย า และ สุ พ ร ผลั ด เปลี่ ย นร่ ว มร� ำ ลึ ก อดี ต ถึ ง ม.ร.ว.สิริกิติ์ กิติยากร ไว้หลายข้อความเป็นที่น่าประทับใจยิ่ง... เรียนอยู่ชั้นเดียวกันเลยค่ะ อยู่ห้องเดียวกันจนถึงชั้น ม.3 มีนักเรียนอยู่ 30 กว่าคน ไปไหนไปด้วยกันตลอด เรียกท่าน ด้วยชื่อเฉยๆ พูดไม่มีคะขาหรอกค่ะ มาสเซอร์แอสเตอร์เคยถาม ว่า ดิฉันกับสมเด็จฯ ท�ำไม Talkative (ช่างพูด) จัง ช่างพูดใน ห้องเรียนจนถูกมาสเซอร์แอสเตอร์ดุบ่อยๆ ตอนนั้น เซนต์ฟรังฯ ยังไม่ได้รับรองวิทยฐานะ เราจึง ต้องไปสอบที่โรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์ เดินทะลุตรอกไปสอบ สมเด็จฯ ท่านทรงเปียโน ทรงร้องเพลงโฮมสวีทโฮม ด้วยนะคะ 14

IS AM ARE www.porpeang.or.th


ภาพ : FB/ฟรีไฟล์ภาพพระบรมฉายาลักษณ์

15 issue 139 AUGUST 2019


ภาพ : FB/ฟรีไฟล์ภาพพระบรมฉายาลักษณ์

16 IS AM ARE www.porpeang.or.th


ที่น�ำความปลาบปลื้มมาให้ดิฉันมากกว่านั้นคือ ทรงตอบ จดหมายมาถึงดิฉัน ข้อความในจดหมายแสดงถึงความสนิทสนม ไม่เคยลืมเพื่อน ท่านตอบมาว่าปรียา อย่าลืมเขียนมาหาฉันอีก นะ ลายมือท่านสวยกว่าลายมือดิฉันมาก เพื่อนๆ ได้พบท่านอีกครั้ง เมื่อท่านกลับเมืองไทย ก็มี รับสั่งให้เฝ้าฯ ที่วังเทเวศร์ ตอนนั้นดีใจมาก ไม่ได้พบกันมาตั้ง นาน ทูลถามว่าเกิดเจอกันบนถนนจะจ�ำได้ไหม เพราะไม่ได้พบ กันหลายปีแล้ว ท่านบอกว่า "จ�ำได้สิจ๊ะ สุพร" สิ่งหนึ่งที่ชาวเซนต์ฟรังฯ รุ่นพระสหายซาบซึ้งกันดีก็คือ น�้ำพระทัยเผื่อแผ่ไปถึงเพื่อนๆ ทุกคน ทรงถามทุกข์สุข มีเพื่อน คนหนึ่งที่เข้าเฝ้าฯ ดูหน้าตาซีดๆ ท่านรับสั่งถามว่าเป็นอะไร เมื่อทรงทราบว่าไม่สบาย วันต่อมาทรงให้ท่านผู้หญิงกรัณย์ สนิทวงศ์ มาติดต่อดิฉัน ถามบ้านเขาอยู่ไหน แล้วท่านก็ทรงเลี้ยง ดูและให้เงินเดือนถึงทุกวันนี้ อย่างมาสเซอร์แอสเตอร์ ท่านพระราชทานเงินเดือนให้ เดือนละ 5,000 บาท เพราะทราบว่าเป็นเบาหวาน ต้องตัดขา และทรงรับไว้อยู่ในพระบรมราชานุเคราะห์ให้ข้าหลวงในวังไป เยี่ยมเสมอ หลังมาสเซอร์แอสเตอร์สิ้น มาสเซอร์เรอเน่ชรามาก ท่านพระราชทานเงินให้เดือนละ 5,000 บาทเหมือนกัน มีเพื่อนคนหนึ่ง ก่อนหน้านี้รับเงินเดือนละ 3,000 บาท ปี ที่แล้วทรงขึ้นให้เป็น 5,000 บาท ก็เพราะไอเอ็มเอฟไงคะ อย่าง

เพื่อนอีกคนหนึ่งมีปัญหา ท่านก็พระราชทานเงินให้ตั้ง 4,000 บาท หรืออย่างบ้านไฟไหม้ท่านก็ให้เงินปลูกบ้านไม่เคยมีใคร ไปขอท่านเลย ทรงห่วงใย ทรงมีน�้ำพระทัยด้วยพระองค์เอง น�้ำพระทัยนี้ พระสหายร่วมรุ่นอีกคนหากยังมีชีวิตอยู่ จะ บอกได้ดีคือ คุณบรรจง ธันวานนท์ เมื่อทรงทราบว่าคุณบรรจง ล้มป่วย ทรงห่วงใยพระราชทานความเมตตามากมาย ทรงบันทึก เทปธรรมะด้วยพระสุรเสียงพระราชทานแก่คุณบรรจงซึ่งเธอก็ เปิดฟังอยู่ข้างหมอนจนวาระสุดท้าย ฉลองพระองค์ชุดโจงกระเบน “สมเด็จพระนางเจ้าฯ” ส� ำ หรั บ หนั ง สื อ “ใกล้ เ บื้ อ งพระยุ ค ลบาท” กั บ “ลัดดาซุบซิบ” นอกจากจะมีเกร็ด พระราชประวัติ พระบรม วงศานุวงศ์ในรัชกาลที่ 9 ทุกพระองค์แล้ว ช่วงท้ายเล่ม ยังเป็น ช่วง “ปุจฉา วิสัชนา” พระราชจริยวัตร และพระจริยวัตร อีกด้วย ซึ่งมีหลายค�ำถามที่น่าสนใจ ทีมข่าวเฉพาะกิจไทยรัฐออนไลน์ จึง ขอคัดสรรเผยแพร่ 17 issue 139 AUGUST 2019


“กรรณิ ก าร์ กรมชลประทาน” ได้ ถ ามว่ า เห็ น ข่ า ว โทรทัศน์ จะเห็นได้ว่าสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชด�ำเนินเยี่ยมราษฎรทางภาคเหนือ โปรดฉลอง พระองค์ชุดกระโปรงเหมือนชุดโจงกระเบน ไม่ทราบชุดนี้มีความ เป็นมาอย่างไร... ฉลองพระองค์ชุดโจงกระเบนนี้โปรดใช้มาหลายปีแล้ว สืบเนื่องจากเวลาเสด็จฯ เยี่ยมชาวแม้วและชาวเขาหลายเผ่า ตามชนบท ราษฎรกลุ่มนี้เคยน�ำกางเกงชาวเขาตัดเย็บด้วยผ้า ชาวเขามาถวาย เพื่อให้ทรงลองใช้ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ จึงน�ำกลับ มาให้ ธีระพันธ์ วรรณรัตน์,พิจิตรา บุณยรัตพันธุ์ และ นคร สัมพันธารักษ์ ซึ่งเป็นช่างฉลองพระองค์ตัดถวายอย่างประยุกต์ ด้วยผ้าที่เหมาะสม แบบสนับเพลาหลวมๆ สบายๆ ไม่รัดรูป เมื่อทรงฉลองพระองค์ชุดใหม่เสด็จพระราชด�ำเนินเยี่ยม สมเด็จพระนางเจ้าฯ ทรงเผชิญภัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ชาวแม้ว ชาวเขาอีกครั้งหนึ่ง ทอดพระเนตรเห็นเขาเหล่านั้นต่าง “ขอทราบถึงพระราชประวัติสั้นๆ อันเกี่ยวกับสมเด็จ พากันยินดี และต่างชี้ชวนให้ดูแม่หลวงแต่งตัวเหมือนพวกเขา พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ในระหว่างสงครามโลกครั้ง อย่างปลาบปลื้มกันมาก ที่ 2” 18 IS AM ARE www.porpeang.or.th


“ประกายฟ้า” ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 และพระนครถูกโจมตีทาง อากาศบ่อยๆ ท�ำให้คมนาคมขาดความสะดวกและปลอดภัย สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ครั้งยังเป็น ม.ร.ว.สิริกิติ์ กิติยากร ได้ย้ายโรงเรียนจากราชินีไปเรียนต่อที่เซนต์ฟรังซีสซา เวียร์คอนแวนต์ และได้รับการอบรมให้รู้จักสภาพความเป็นอยู่ ของชีวิตที่แท้จริง จึงเดินทางจากบ้านเลขที่ 8 ถนนกรุงเกษม เทเวศร์ ด้วยรถรางชั้นที่ 2 มีมหาดเล็กหรือข้าหลวงใหญ่ของท่าน พ่อครั้งยังเป็นหม่อมเจ้านักขัตรมงคล ตามไปรับส่งตลอดเวลา เมื่อผู้โดยสารแน่นมากขึ้น จึงเลื่อนไปนั่งชั้นที่ 1 แต่ในที่สุดเมื่อ มีทหารต่างด้าว เช่น ญี่ปุ่นขึ้นแออัดมากขึ้นทุกที ท่านผู้ปกครอง จึงให้เลิกนั่งรถรางให้เดินไปเรียนแทนโดยมีผู้ไปรับส่งเช่นเคย ตอนเย็นเมื่อหมดชั่วโมงเรียนแล้วต้องอยู่เรียนเปียโน พิเศษต่ออีก กว่าจะได้กลับถึงบ้านก็ร่วม 17.00 น. ทั้งหน้าตา และเนื้อตัวมีเหงื่อไคลย้อยมอมแมมไปหมด ในราวปี พ.ศ. 2487-2488 ได้มีการทิ้งระเบิดในพระนคร หนักขึ้น ประจวบกับ ม.ล.บัว กิติยากร ได้ล้มป่วยลง ไม่สามารถ ทนอยู ่ บ ้ า นเดิ ม ซึ่ ง ใกล้ ส ถานที่ ส� ำ คั ญ ทางยุ ท ธศาสตร์ จึ ง พา ม.ร.ว.สิริกิติ์ กับ ม.ร.ว.บุษบา ย้ายไปอยู่บ้านของ ม.ล.จินดา สนิ ท วงศ์ ที่ ต� ำ บลบางซ่ อ น ริ ม แม่ น�้ ำ เจ้ าพระยา แต่ บั ง เอิ ญ ไปประสบการทิ้งระเบิดท�ำลายสะพานพระราม 6 เข้า ท�ำให้ บ้ า นที่ พั ก อาศั ย ถู ก เพลิ ง ไหม้ ห มดทั้ ง หลั ง ม.ร.ว.สิ ริ กิ ติ์ และ

ภาพ : FB/ฟรีไฟล์ภาพพระบรมฉายาลักษณ์ ประยู ร ญาติ ต้ อ งลงเรื อ นหลบภั ย ไปอยู ่ ใ นคลอง จนกระทั่ ง เหตุการณ์สงบลง จึงได้พาคืนมาที่วังเทเวศร์ บ้านเดิมในพระนคร ส่วนหม่อมเจ้านักขัตรมงคลนั้นไม่ได้ทรงอพยพไปไหนเลยคง ประทับกับบุตรชายทั้ง 2 ดูแลรักษาบ้านอยู่ตลอดเวลา เพลงสากล และดอกไม้ ที่ “สมเด็จพระนางเจ้าฯ” โปรด “จิรัสามร” ถามว่า ขอทราบเพลงสากลที่สมเด็จพระนาง เจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โปรด ค�ำตอบนี้ “ลัดดา” ได้จาก เทวัญ ทรัพย์แสนยากร นัก ดนตรีผู้ยิ่งยงทางแซกโซโฟนและมีทรงผมไม่เหมือนใคร เพลงนั้น คือ “BRIDGE OVER TROUBLE WATER” หลังจากได้รับพระ มหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้เข้าร่วมงาน พระราชทานงาน เลี้ยง ณ ศาลาดุสิดาลัย เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา เมื่อ วันที่ 12 สิงหาคม และเขาได้เล่นเพลงนี้ถวายสมเด็จพระนาง เจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เป็นเพลงแรก “ศิ ริ ญ ญา” ถาม - สมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรม ราชินีนาถ ทรงโปรดดอกไม้ชนิดไหนมากที่สุด โปรดดอกไม้ที่มีกลิ่นหอมทุกชนิด ยกเว้นดอกชมนาด ขอบคุ ณ ข้ อ มู ล ,เนื้ อ หา - หนั ง สื อ "ใกล้ เ บื้ อ งพระ ยุคลบาท" กับ "ลัดดาซุบซิบ" และ ภาพประกอบ หนังสือ ไฮ แมกกาซีน ฉบับพิเศษ 12 สิงหาคม 2547 19

issue 139 AUGUST 2019


cover story

ความเสียสละ คือ หัวใจของนักสังคมสงเคราะห์

ศ.ระพีพรรณ ค�ำหอม “ไม่ ใ ช่ วิ ช าชี พ ที่ จ ะสร้ า งเงิ น สร้ า งทองให้ ตั ว เอง” คื อ ประโยคที่ ห ล่ น มาจากคั ม ภี ร ์ ข องนั ก สั ง คมสงเคราะห์ ที่ ผ ่ า นประสบการณ์ วิ ช าชี พ มาแล้ ว ตลอดชี วิ ต จนกระทั่ ง ก้ า วขึ้ น มารั บ หน้ า ที่ ค รู ผู ้ ถ ่ า ยทอดวิ ช าสั ง คมสงเคราะห์ ศ าสตร์ สร้ า งลู ก ศิ ษ ย์ รุ ่ น ต่ อ ไปเพื่ อ เป็ น ก� ำ ลั ง ช่ ว ยเหลื อ สั ง คมและ ประเทศต่ อ ไป

20 IS AM ARE www.porpeang.or.th


21 issue 139 AUGUST 2019


ศ.ระพีพรรณ ค�ำหอม เกิดและเติบโตในอ�ำเภอหาดใหญ่ จั งหวั ด สงขลา ในครอบครัว ประกอบอาชีพค้าขาย มี พี่ น ้ อ ง ทั้งหมด 8 คน โดยเธอเป็นคนที่ 4 ปัจจุบัน ศ.ระพีพรรณ รับ หน้ า ที่ ค ณบดี คณะสั ง คมสงเคราะห์ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ เมื่อย้อนดูเส้นทางชีวิตของเธอเองก็พบว่า แท้จริง แล้ ว เธอรู ้ จั ก การเสียสละมาตั้งแต่เด็ก เพื่อให้พี่น ้องได้ เรี ย น หนังสือตามสาขาวิชาและสถานศึกษาที่ตนสนใจ เช่น โรงเรียน เตรียมอุดมศึกษา ในกรุงเทพมหานคร โดยเธอเองเลือกเรียน ชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ซึ่งใกล้บ้าน แต่ ด้วยความที่เป็นเด็กเรียนดี เธอก็ฉายแววเป็นที่ 1 ของระดับ ชั้น มศ.5 ในสายการเรียนศิลป์-ค�ำนวณ ก่อนที่เส้นทางชีวิต ของเธอเองจะน�ำไปสู่ถนนสายนักสังคมสงเคราะห์เต็มตัว ด้วย พื้นฐานการปลูกฝังจากครอบครัว ซึ่งให้ความส�ำคัญกับการ ศึกษาอย่างยิ่ง บทสัมภาษณ์นี้ จึงเสมือนแสงส่องทางให้กับผู้ที่อยากจะ เดินทางสายนักสังคมสงเคราะห์ ที่ ศ.ระพีพรรณ ค�ำหอม กรุณา ชี้น�ำไว้เพื่อเยาวชนที่สนใจเรียนด้านนี้ได้รู้ถึงใจความส�ำคัญ เป็น ตัวอย่างให้เห็นที่มาที่ไปของบุคคลหนึ่งที่ประกอบวิชาชีพนี้มา แล้วตลอดชีวิต

อาจารย์ ร ะพี พ รรณเกิ ด และเติ บ โตที่ ไ หนคะ? เป็นคนหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาโดยก�ำเนิดค่ะ ครอบครัว ผู ้ ที่ ต ้ อ งการจะเรี ย นด้ า นสั ง คมสงเคราะห์ อั น ดั บ แรกเลยต้ อ งมี ใ จที่ เ สี ย สละ ชอบช่ ว ยเหลื อ คนอื่ น เขา เราให้ความส�ำคัญกับการศึกษามาก พ่อกับแม่จะมีหลักในการ จะต้ อ งรู ้ ว ่ า วิ ช าชี พ นี้ ไ ม่ ใ ช่ วิ ช าชี พ ที่ จ ะสร้ า งเงิ น สร้ า ง สอนลูกอยู่เสมอ ให้เราอยู่แบบพอเพียง ความหมายของท่านก็ ทองให้ ตั ว เอง เขาจะต้ อ งต่ อ สู ้ กั บ คนในครอบครั ว ที่ คือ ลูกสาวเปรียบเสมือนข้าวเปลือกที่มีเมล็ดงามทุกเมล็ด ไม่ได้ บางครั้ ง อาจจะไม่ เ ข้ า ใจ วั น ปฐมนิ เ ทศอาจารย์ จ ะมา เป็นเมล็ดที่ช�ำรุดหรือต้องทิ้งไป ต้องเป็นเมล็ดข้าวสารที่เอาไป รอเลย เพื่ อ สร้ า งความมั่ น ใจ เพราะพ่ อ แม่ บ างคน กินหรือสร้างประโยชน์ได้ทุกเมล็ด ท่านจะเปรียบแบบนั้น แต่ จะตอบไม่ ไ ด้ เ ลยว่ า ท� ำ ไมเขาถึ ง ยอมให้ ลู ก มาเรี ย น ตอนนั้นเรายังไม่ค่อยเข้าใจเท่าไหร่ คณะนี้ เมื่ อ มองย้ อ นไป สิ่ ง ที่ ค รอบครั ว อาจารย์ เ น้ น กั บ ลู ก ๆ คื อ อะไร? ครอบครัวเรามีพี่น้อง 8 คน เราเป็นคนที่ 4 มี ค่อนข้าง โชคดีว่าที่บ้านให้อิสระ อย่างคุณแม่ท่านจะให้ความส�ำคัญใน เรื่องการศึกษา ท่านจะบอกลูกทุกคนไม่ว่าจะเป็นผู้หญิงหรือ ผู้ชายว่า ทุกคนต้องได้เรียนเท่ากัน ให้เรียนจนสุดความสามารถ ของลูกแต่ละคน แม้เราจะเป็นคนเรียนดีกว่าพี่น้อง แต่คุณแม่ก็ จะมีวิธีสอนไม่ให้น้องรู้สึกว่าด้อยกว่าคนอื่น ท่านบอกว่าได้ศูนย์ กินไข่ไม่เป็นไร กินไข่เราก็อิ่มท้อง แต่กับตัวเราคุณพ่อกับคุณแม่ จะเฉยๆ เพราะท่านรู้ว่าเราสามารถเอาตัวรอดได้ ช่วยตัวเองได้ พึ่งพาตัวเองได้ 22 IS AM ARE www.porpeang.or.th


เข้ามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (มอ.) คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ เอกสังคมวิทยา (ศิลปศาสตรบัณฑิต, สังคมวิทยา และมานุ ษ ยวิ ท ยา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขต ปัตตานี, 2524) เป็นรุ่นที่ 3 เราอยากช่วยให้น้องๆ ให้ได้เรียน ทุกคน จึงเรียนใกล้บ้าน พอเรียนจบปริญญาตรีอายุเรายังน้อย ยังท�ำงานที่ไหนไม่ได้ เลยตัดสินใจเรียนต่อปริญญาโท อีก 2 ปี (สังคมสงเคราะห์ศาสตร์มหาบัณฑิต, สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ทั่วไป มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2526) จบเป็นคนแรกของ รุ่น เพราะเรามีเป้าหมายชัดเจนในการท�ำสิ่งต่างๆ เมื่อเรียนจบ ปริญญาโท เราก็พร้อมท�ำงานทันที บรรยากาศช่ ว งเริ่ ม ต้ น ท� ำ งานเป็ น อย่ า งไรบ้ า งคะ อาจารย์ เ ริ่ ม งานอะไรก่ อ น? เป็ น นั ก สั ง คมสงเคราะห์ อ อกพื้ น ที่ ก ่ อ นค่ ะ ตอนที่ เรี ย นจบใหม่ มี อ าจารย์ ม าทาบทามให้ เ ป็ น ครู แต่ เรารู ้ ว ่ า สังคมสงเคราะห์เป็นงานวิชาชีพ เราต้องท�ำงานหาประสบการณ์ ก่อน ถึงจะไปเป็นอาจารย์สอนลูกศิษย์ได้ เราจึงตั้งเป้าไว้ว่าจะ ไปท�ำงานด้านสังคมสงเคราะห์ 10 ปี จึงเบนเข็มไปเริ่มที่ใต้สุด ของประเทศเลยค่ะ คือโรงพยาบาลเบตง สมัยนั้นท่านผู้อ�ำนวย หมายความว่ า สิ่ ง ที่ ค รอบครั ว อาจารย์ ป ลู ก ฝั ง แก่ การโรงพยาบาลเบตง ท่านเริ่มรับนักสังคมสงเคราะห์เป็นครั้ง แรก ซึ่งท่านก็ยังไม่แน่ใจว่าจะมีใครมาสมัครไหม เพราะอยู่ไกล ลู ก ๆ คื อ ปั ญ ญาความรู ้ ไม่ ใ ช่ สิ่ ง ของเงิ น ทอง? ที่บ้านเรามีอาชีพค้าขาย คุณพ่อกับคุณแม่จะไม่ค่อยมี เดินทางผ่านกว่า 300 โค้ง ยังไม่มีความเจริญเหมือนทุกวันนี้ เวลา ท่านจะส่งลูกทุกคนไปเรียนที่โรงเรียนพุทธศาสนาทุกวัน แต่สภาพแวดล้อมตอนนั้นน่าอยู่นะคะ เมื่อไปถึงเราก็รู้สึกว่า อาทิตย์ ท่านบอกว่าพ่อกับแม่ไม่มีเวลา ต้องส่งไปให้พระช่วย โชคดี ที่นั่นเปรียบเสมือนบ้านที่เป็นครอบครัวใหญ่ เราอยู่ด้วย อบรม ที่เราไปเรียนก็มีสอนภาษาไทย เรียนภาษาธรรม เราจะ กัน ช่วยเหลือกัน ถูกฝึกเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบ หลักการสอนของคุณพ่อจะไม่ให้อะไรที่เป็นสิ่งของ แต่ จะให้เป็นปัญญา ซึ่งจะติดตัวเราไปตลอดและยาวนาน ไม่มี เงินทองให้ เพราะเงินทองให้ไปก็ต้องหมด แต่ถ้าให้ปัญญาให้ ความรู้จะไม่มีวันหมด จะอยู่ในตัวของลูกทุกคน ไม่มีใครมา ปล้นความรู้ออกจากลูกไปได้ เป็นการสร้างหลักในชีวิตของเรา ให้อยู่รอดในสังคมได้ อาจารย์ เ ป็ น คนเรี ย นหนั ง สื อ ดี แต่ ท� ำ ไมไม่ คิ ด มา เรี ย นในกรุ ง เทพฯ? คือว่า เราเรียนมัธยมที่โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย เรา เป็นที่ 1 ของระดับชั้น มศ.5 ในสมัยนั้น เรียนสายศิลป์-ค�ำนวณ แต่ไม่ได้มีโอกาสมาเรียนที่กรุงเทพฯ เพราะมีพี่น้องหลายคน น้องชายอยากเรียนที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา เราเลยให้น้องได้ ขึ้นมาเรียน เราเรียนใกล้ๆ บ้านก็ได้ พอจบมัธยมศึกษาก็สอบตรง 23 issue 139 AUGUST 2019


เราเริ่มท�ำงานนักสังคมสงเคราะห์อายุประมาณ 24 ปี หลังจากจบปริญญาโท พี่สาวเราก็ท�ำงานอยู่ที่ยะลาด้วย เราไม่ เคยรู้สึกว่าเบตงอยู่ไกลนะ กลับรู้สึกโชคดีมากกว่าที่ได้ไปเรียน รู้ประสบการณ์ ไม่ว่าจะเป็นคุณหมอหรือพยาบาลที่นั่น เราอยู่ ด้วยกันจนรู้สึกเหมือนเป็นพยาบาลไปด้วย มีครั้งหนึ่งพยาบาล ขาดแคลน คุณหมอเรียกเราไปช่วยส่งเครื่องมือ คุณหมอยังพูด เล่นว่าหมอลืมไปว่าเราเป็นนักสังคมสงเคราะห์ เพราะเราท�ำงาน กันแบบเป็นเนื้อเดียวกัน ประสบการณ์ ด ้ า นนั ก สั ง คมสงเคราะห์ ที่ เ บตงเป็ น อย่ า งไรบ้ า ง? พื้นที่เบตงในสมัยนั้น แทบจะเป็นพื้นที่การขายบริการ ทางเพศ เพราะติดชายแดน ช่วงวันศุกร์จะมีชาวมาเลเซียเข้ามา ซื้อบริการทางเพศ ปัญหาที่พบบ่อยๆ คือ เรื่องการท�ำแท้ง บาง คนไปท�ำแท้งเถื่อนมา กว่าจะถึงโรงพยาบาลก็เกือบจะเสียชีวิต แล้ว เราจะได้ยินข่าวแบบนี้บ่อย การท�ำงานของเราจึงต้องเป็น ลักษณะเชิงป้องกัน ตอนที่ท�ำเรื่องนี้เราเป็นคนเดินไปปรึกษาคุณ หมอสุนิดา (ร้อยโทแพทย์หญิงสุนิดา อิสรางค์กรู ณ อยุธยา) ว่า

เรามาท�ำงานเชิงป้องกันดีกว่าที่คุณหมอจะต้องคอยมารักษาโรค ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ซ�้ำๆ เราใช้วิธีท�ำลักษณะเชิงรุก คือ ลงพื้นที่ไปหากลุ่มเป้า หมาย แต่การท�ำงานในสมัยนั้นไม่ง่าย เพราะเขาไม่ได้ให้เรา เข้าพบ เลยต้องให้คุณหมอเข้าไปคุยกับนายอ�ำเภอ ท่านบัญญัติ จันทน์เสนะ ด้วยความที่ท่านเป็นนักพัฒนา เราเสนอโครงการ เข้าไปท่านก็ยินดี จึงท�ำให้งานเราสะดวกขึ้น เราจึงเริ่มลงพื้นที่ไปยังสถานบริการทั้งหมดประมาณ 28 แห่ง เพื่อแนะน�ำให้ความรู้เรื่องการป้องกัน การใช้ถุงยาง 24

IS AM ARE www.porpeang.or.th


ซึ่งสมัยนั้นนักสังคมสงเคราะห์มีเพียงคนเดียว เราภูมิใจว่าเรา เองเป็นผู้บุกเบิกงานสังคมสงเคราะห์ท่ีนั่น แม้จะมีบางคนที่ เขาไม่เห็นด้วยในสิ่งที่เราท�ำมากนัก เพราะเขาคิดว่างานในโรง พยาบาลเยอะอยู่แล้ว จะไปท�ำเพิ่มอีกท�ำไม แต่คุณหมออธิบาย ว่าบางทีสาวๆ ที่มาโรงพยาบาลเขามาด้วยปัญหาเดิมๆ คือเป็น โรคติดต่อแบบเดิมอยู่ตลอดเวลา เราจึงต้องแก้ปัญหาด้วยวิธี ออกไปให้ความรู้ สร้างแกนน�ำผู้หญิง โดยอาศัยกลุ่มคนที่เขา เรียกกันว่า แม่ใหญ่ (แม่เล้า นายหน้า) เป็นแกนน�ำเรื่องการ ดูแลสุขภาพ การป้องกัน ให้เขาท�ำสมุดบันทึกของผู้หญิง คือ ถ้า เขาเกิดอาการ เราต้องให้เขาพัก ก่อนที่จะไปแพร่เชื้อต่อ เราไม่ คิดว่างานสังคมสงเคราะห์เป็นงานแก้ไขเฉพาะหน้า แต่กลับคิด ว่า อาจจะเกิดจากการที่เขารู้เท่าไม่ถึงการณ์ เราจึงต้องส่งเสริม ให้การศึกษา เพื่อให้เขาเท่าทันปัญหาต่างๆ การให้การศึกษา เป็นเครื่องมือที่ดี ในการท�ำให้คนเราอยู่รอด ที่ เ บตง อาจารย์ ไ ด้ ป ระสบการณ์ อ ะไรในการท� ำ งาน ด้ า นนั ก สั ง คมสงเคราะห์ โดยเฉพาะเรื่ อ งการป้ อ งกั น เพศสั ม พั น ธ์ ในบริ บ ทต่ า งวั ฒ นธรรม และต่ า ง ศาสนา? อันนี้ถือเป็นความรู้ใหม่เลยนะคะ ชาวอิสลามจะไม่เชื่อ เรื่องการวางแผนครอบครัว พอเราได้ไปท�ำงานชุมชนตรงนี้ พบ ว่า พวกเขามียาสมุนไพรที่ใช้ในการคุมก�ำเนิด เป็นภูมิปัญญาท้อง ถิ่นคล้ายยาหม้อ เขาบอกว่าไม่ต้องวางแผนครอบครัวเลย เพราะ ยาหม้อนี้จะช่วยเรื่องการคุมก�ำเนิด ท�ำให้ฝ่อโดยธรรมชาติ เรา ชาวพุทธจะไม่เคยรู้นี้

อีกเรื่องคือ การสื่อสาร แผ่นพับให้ความรู้ของเราต้อง แปลเป็นภาษายาวี เพื่อให้เขาอ่านเข้าใจ ซึ่งน้องพยาบาลที่เป็น ชาวมุสลิมแปลให้ อาจารย์ได้ท�ำโครงการ ครอบครัวอยู่ดีมีสุข กับท่าน ศาสตราจารย์ ดร.รุจา ภู่ไพบูลย์ จากการลงพื้นที่ภาค ใต้ และได้สัมภาษณ์ จึงพบว่า ผู้หญิงมุสลิมเขามีหน้าที่หลักคือ ดูแลสามี ส่วนสามีจะท�ำหน้าที่ให้การดูแลพยาบาลเธอและลูก ซึ่งตอนแรกเราไม่รู้ข้อมูล เพิ่งมาทราบตอนท�ำวิจัยว่า หน้าที่ของ ฝ่ายชายจะเป็นผู้ก�ำหนดบทบาทของทุกคนในครอบครัว หลั ง จากท� ำ งานอยู ่ ที่ ภ าคใต้ 6 ปี ก็ ไ ด้ ม าท� ำ งานที่ โรงพยาบาลพระนั่ ง เกล้ า กรุ ง เทพมหานคร 4 ปี พอดี กั บ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ ก� ำ ลั ง ขาดแคลนอาจารย์ จึ ง ถู ก ทาบทามให้มาทดลองสอนดูก่อนว่าจะชอบงานด้านนี้หรือไม่ แล้วค่อยตัดสินใจ เราลองสอนอยู่ 2 ปี มีต�ำแหน่งว่างพอดี จึง ได้โอนมาท�ำงานที่คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ตั้งแต่นั้นเป็นตนมา จนวันนี้ ประมาณ 26 ปีแล้ว จากอาจารย์มาสู่คณบดี ต�ำแหน่งสูงสุดแล้ว เ มื่ อ ม า เ ป ็ น อ า จ า ร ย ์ ใ น ค ณ ะ สั ง ค ม ส ง เ ค ร า ะ ห ์ ม.ธรรมศาสตร์ สิ่ ง ที่ อ าจารย์ ม องเห็ น และช่ ว ย ส่ ง เสริ ม คื อ อะไร? อาจารย์ที่นี่เก่งมาก มีอยู่ 6 ท่าน แต่ผู้เรียนมีเพียง 11 คน เราก็สงสัยว่าภายนอกเขาจะรู้จักคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ได้ อย่างไร ในเมื่อเราผลิตบัณฑิตเพียงปีละ 10 กว่าคน เด็กมาเรียน น้อยมาก เราก็เลยไปขอท�ำหลักสูตรเพื่อให้เด็กมาเรียนเยอะๆ 25

issue 139 AUGUST 2019


26 IS AM ARE www.porpeang.or.th


ท�ำงานที่ภาคใต้เพื่อประเมินโครงการส่วนสังคมในพื้นที่จังหวัด ยะลา ศูนย์พัฒนาการจัดการสังคมผู้สูงวัยอ�ำเภอสะบ้าย้อย ปรากฏว่าพื้นที่นั้นเป็นพื้นที่สีแดง มีนักสังคมสงเคราะห์ไปอยู่แต่ อยู่ไม่ได้ ท�ำให้เราเข้าใจว่าคนในพื้นที่ไม่เข้าใจบริบทการท�ำงาน ของนักสังคมสงเคราะห์ โจทย์ที่เราผลิตนักสังคมสงเคราะห์ส่วน กลางไปมันไม่ก่อประโยชน์ เราเลยต้องมาท�ำหลักสูตร เพื่อ เข้าใจคนมุสลิม

ใช่ระยะเวลาเป็นปี เพื่อท�ำการศึกษาความสนใจของคน เรา ต้องการท�ำหลักสูตรบริหาร ภายใต้คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ โดยเริ่มที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ท่าพระจันทร์ มีผู้เรียนสนใจ เพิ่มขึ้น 60 คน จากเดิม 10 คน เราท�ำได้ถึง 17 รุ่น จากนั้น เราจึงน�ำเด็กที่จบแล้วไปสนับสนุนงานในกระทรวงแรงงานและ พัฒนาสังคม ซึ่งเพิ่งก่อตั้งขึ้นในขณะนั้น คณะสังคมสงเคราะห์ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2497 แต่จ�ำนวน ผลิตมีน้อยมากในแต่ละปี สมัยที่เรายังท�ำงานอยู่ที่โรงพยาบาล พระนั่ ง เกล้า ได้ไ ปช่ว ยอาจารย์ท�ำหลัก สูต รที่ ค ณะพยาบาล มหาวิทยาลัยหัวเฉียว จ�ำนวนนักเรียน 100 คน เริ่มตั้งแต่ปี 2530 จนถึงปัจจุบัน พอสร้างหลักสูตรที่มหาวิทยาลัยหัวเฉียว แล้ว เราได้ท�ำหลักสูตรสังคมสงเคราะห์ให้มหาวิทยาลัยสงขลา (ปัตตานี) ตอนที่ไปท�ำหลักสูตรมีคนตั้งค�ำถามเยอะว่าจะท�ำได้ หรือเปล่า เด็กจะมีคุณภาพไหม เราบอกว่าไม่เป็นไร เด็กไม่เก่ง เราก็จัดติว น�ำอาจารย์จากหน่วยงานภายนอกมาช่วยสอน เด็ก ก็ได้ความรู้และพัฒนาได้ เราจึงบรรลุเป้าหมาย เป็นการขยาย กลุ่มงานสังคมสงเคราะห์ภาคใต้ เพราะครั้งหนึ่ง เราเคยไป

จุ ด เด่ น ในการรั บ นั ก ศึ ก ษาของคณะสั ง คมสงเคราะห์ ศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ ? นอกจาก TCAS, โครงการเรียนดีในชนบท, ทุนช้างเผือก, โควตานักกีฬา คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์จะรับเด็กพิการด้วย เป็นคณะแรกของธรรมศาสตร์ที่รับ เราเป็นคณะที่ต้องดูแลและ ช่วยเหลือคนพิการ เราถึงเปิดรับโครงการการคนพิการด้วย อย่างปีนี้รับ 3 คน แต่มีสมัครมา 9 คน เราก็รับไว้หมด เพราะ ไม่อยากตัดโอกาสของเด็ก เราสอนเด็กให้กล้าคิด กล้าโต้แย้ง เราสอนให้เด็กคิดวิเคราะห์เป็น เวลาเขาเรียนจบไปท�ำงานจะ 27

issue 139 AUGUST 2019


อาจารย์จะมารอเลย เพื่อสร้างความมั่นใจ เพราะพ่อแม่บางคน จะตอบไม่ได้เลยว่าท�ำไมเขาถึงยอมให้ลูกมาเรียนคณะนี้ บาง ครอบครัวเขาท�ำงานภาคธุรกิจแล้วการที่ลูกมาเรียนคณะสังคม สงเคราะห์ฯ เมื่อเรียนจบจะไปท�ำอะไร เงินเดือนจะเท่ากับการ ท�ำธุรกิจหรือเปล่า พอเราได้มาอธิบาย พ่อแม่ก็จะสบายใจและ ไปบอกญาติๆ ได้ เราเคยเจอเหตุการณ์นักศึกษาตาบวมแดงมา เลย เราไปถามเด็กว่าเป็นอะไร เขาบอกว่าต้องต่อสู้กับคุณแม่ เรื่องความเข้าใจ เพราะท่านไม่อยากให้เรียน อยากให้ออก แต่ พอเขาได้มาเรียนกับเราเป็นวิชาดูแลผู้สูงอายุ ได้เรียนได้ฝึก พอ เขากลับบ้าน ที่บ้านมีผู้สูงอายุคือคุณยาย จากปกติเวลากลับ บ้านเด็กจะเก็บตัวอยู่ในห้องไม่คุยกับใคร เราก็บอกให้เขากลับ ไปคุยกับผู้สูงอายุที่บ้าน แม่เขาก็เริ่มเห็นการเปลี่ยนแปลงของ ลูก ว่าลูกเรียนยังไง เรียนอะไรมา ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ของความคิดคนที่บ้าน กลายเป็นว่าส่งน้องสาวมาเรียนด้วย พ่อ แม่ก็เข้าใจมากขึ้น จริงๆ คนจบคณะสังคมสงเคราะห์ฯ ท�ำงาน ได้กว้างมากค่ะ

ไม่ใช่ลักษณะ ใช่ครับ/ใช่ค่ะ เราจะสอนให้เขากล้า สร้างความ เป็นผู้น�ำ แต่ในการกล้าคิด กล้าโต้แย้ง ต้องอยู่ภายใต้คุณธรรม ฝากถึ ง เด็ ก ที่ จ ะมาเรี ย นคณะสั ง คมสงเคราะห์ ? สังคมสงเคราะห์ อาจารย์ให้ความส�ำคัญอยู่ 2 เรื่อง คือ สังคมสงเคราะห์ เท่ากับ E ก�ำลัง 2 E แรก คือ Education เป็นเครื่องมือที่ท�ำให้คนเรารู้เท่า ทันสังคมแล้วก็อยู่รอดปลอดภัย มีคุณภาพชีวิตที่ดี E ที่สองคือ Envelopment การเสริมพลังที่ท�ำให้เขา เปลี่ยน กล้าที่จะเปลี่ยนแปลง กล้าที่จะไม่อยู่ในจุดเดิม ไม่ หลงอยู่ในทางตัน ต้องหาทางใหม่ เพื่อจะพัฒนาตนเอง งาน สังคมสงเคราะห์ท�ำให้คนเข้มแข็ง ผู้ที่ต้องการจะเรียนด้านสังคมสงเคราะห์ อันดับแรกเลย ต้องมีใจที่เสียสละ ชอบช่วยเหลือคนอื่น เขาจะต้องรู้ว่าวิชาชีพ นี้ไม่ใช่วิชาชีพที่จะสร้างเงินสร้างทองให้ตัวเอง เขาจะต้องต่อสู้ กับคนในครอบครัว ที่บางครั้งอาจจะไม่เข้าใจ วันปฐมนิเทศ

28 IS AM ARE www.porpeang.or.th


ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า มูลนิธิครอบครัวพอเพียง และศูนย์ครอบครัวพอเพียงทั่วประเทศ 29

issue 139 AUGUST 2019


30 IS AM ARE www.porpeang.or.th


31 issue 139 AUGUST 2019


32 IS AM ARE www.porpeang.or.th


33 issue 139 AUGUST 2019


34 IS AM ARE www.porpeang.or.th


หัวใจของพยาบาล

พล.ต.ต.หญิง ดร.นงเยาว์ สมพิทยานุรักษ์

ในความอ่ อ นโยน ความเมตตา ความเอื้ อ อารี พยาบาลทุ ก คนยั ง ต้ อ งมี ค วามเข้ ม แข็ ง อดทนต่ อ สถานการณ์ ต่ า งๆ ทั้ ง ยั ง ต้ อ งอดกลั้ น ต่ อ อารมณ์ ต นเอง เพื่ อ รั บ มื อ ในการท� ำ งานกั บ ผู ้ ค นมากหน้ า หลายตา ซึ่ ง ล้ ว น แล้ ว แต่ เ ป็ น ผู ้ ที่ มี ค วามทุ ก ข์ จ ากการเจ็ บ ป่ ว ยทั้ ง สิ้ น คนป่ ว ยหนึ่ ง คน ยั ง ความทุ ก ข์ แ ก่ ค รอบครั ว เขาอี ก หลายคน คื อ สิ่ ง ที่ พ ยาบาลถู ก ปลู ก ฝั ง ให้ ค� ำ นึ ง ถึ ง ข้ อ นี้ กลั บ กั น เมื่ อ คนป่ ว ยหนึ่ ง คนอาการดี ขึ้ น ก็ ท� ำ ให้ ส ภาพจิ ต ใจของครอบครั ว เขาดี ขึ้ น ตามไปด้ ว ย นั่ น คื อ ผล ทวี คู ณ จากการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องพยาบาลและผู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งทั้ ง หมด

35 issue 139 AUGUST 2019


วิธีสอนของคุณพ่อคุณแม่ท่านไม่ได้พูดสอน แต่ท่าน ท�ำให้เราดู ว่าหลักปฏิบัติเป็นอย่างไร เรารู้สึกว่าท่านสอนแบบ คลาสสิค ให้เราจดจ�ำเอามาใช้ เราเพิ่งรู้ว่าท่านสอนโดยการท�ำให้ ดูตั้งแต่เด็ก แต่เราไม่รู้ตัวว่าถูกสอน แต่ซึมซับมาเอง สนใจเรี ย นพยาบาลมาตั้ ง แต่ เ ด็ ก รึ เ ปล่ า คะ? เมื่อเรียนจบ มศ.3 ก็เดินทางเข้ากรุงเทพ มีพี่ชายของ แม่คือลุงอยู่ที่นั่น ลุงพามาเรียนที่โรงเรียนดรุณวิทยา อยู่ใกล้ บ้านแถวห้วยขวาง เรียน มศ.4-5 แล้วมาสอบเข้าอุดมศึกษา สอบติดที่ ม.บูรพา เพราะตัวเองอยากเป็นครู แล้วก็มาสอบติด ที่วิทยาลัยพยาบาลต�ำรวจ แต่พ่อแม่บอกว่าอย่าไปเรียนไกลเลย มาเรียนวิทยาลัยครูที่สกลนครดีกว่า เพราะเราสอบได้อันดับหนึ่ง เรื่ อ งของการลงมื อ ปฏิ บั ติ ส� ำ คั ญ มาก ปฏิ บั ติ เ สร็ จ แล้ ว ต้ อ งมาสะท้ อ นคิ ด ว่ า เราท� ำ อะไรไป แล้ ว เราได้ อะไร แล้ ว สิ่ ง ที่ เ ราได้ เ ราจะเอาไปปรั บ ใช้ ยั ง ไงในครั้ ง ต่ อ ไป แต่ ตั ว เองก็ ต ้ อ งมี วิ ธี ก ารจั ด การกั บ ความรู ้ สึ ก ของตั ว เอง คิ ด บวก อั น นี้ ส� ำ คั ญ ให้ ยึ ด หลั ก ของ เศรษฐกิ จ พอเพี ย งและพุ ท ธศาสนาที่ ท� ำ ให้ เ รามี ห ลั ก ในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ให้ รู ้ เ ท่ า ทั น มี ส ติ มี ส มาธิ ฉบั บ นี้ พล.ต.ต.หญิ ง ดร.นงเยาว์ สมพิ ท ยานุ รั ก ษ์ ผู ้ บั ง คั บ การวิ ท ยาลั ย พยาบาลต� ำ รวจ ให้ เ กี ย รติ บ อกเล่ า ถึ ง ประสบการณ์ในการท�ำหน้าที่พยาบาลตั้งแต่เริ่มตัดสินใจเรียน ตลอดจนการท�ำงานกระทั่งใกล้เกษียณอายุราชการ จิตใจของ พยาบาล ความรู้สึก รวมถึงการแนะแนวส�ำหรับเยาวชนที่สนใจ จะเป็นพยาบาลควรค�ำนึงถึงอะไรเป็นส�ำคัญบ้าง ติดตามได้จาก บทสัมภาษณ์นี้ค่ะ

ที่นั่น เราไปสัมภาษณ์เรียบร้อยแล้ว รอมอบตัวอย่างเดียว เสร็จ แล้วครูท่านก็เตือนว่า “เธอสอบตรงนี้ไว้นะ (วิทยาลัยพยาบาล ต�ำรวจ) ไปดูหน่อยซิ” เราก็เดินทางไปดูแต่ไม่มีชื่อ ก็เตรียมจะ กลับบ้าน แต่อาจารย์ที่นั่นบอกว่า “หนูๆ มีคนสละสิทธิ์หนึ่งคน จะเรียนไหม” เราก็หันหลังไปบอกทันที “เรียนค่ะอาจารย์ แต่ หนูไม่มีอะไรมาเลยนะ” เรามาแต่ตัว อาจารย์บอกมาเลยๆ ท่าน ก็จัดการเรียบร้อย ตั้งแต่วันนั้นจนบัดนี้เลยค่ะ (หัวเราะ)

ในวั ย เด็ ก ท่ า นคิ ด ว่ า ตนเองถู ก ปลู ก ฝั ง มาอย่ า งไร ชี วิ ต ถึ ง ก้ า วมาไกลได้ ข นาดนี้ ? เริ่มต้นก็คือ เกิดที่จังหวัดสกลนครค่ะ เป็นลูกคนโต มี น้องอีก 3 คน คุณพ่อคุณแม่เป็นชาวนา ก็ยังนับถือคุณแม่ว่า ท่านจบ ป.4 แต่ท่านเลี้ยงลูกมีวิสัยทัศน์ดีมาก ที่บ้านเราใช้ หลักพุทธศาสนา นับถือศาสนาพุทธมาตั้งแต่เด็ก จ�ำความได้ ว่า เมื่อเริ่มโตขึ้นก็คุ้นเคยกับวัด ช่วยจัดปิ่นโต จัดอาหารฉันเช้า บ้านอยู่ใกล้วัดป่าหลวงปู่มั่น คุณยายท่านชอบไปถือศีล เราก็ วิ่งตามคุณยายไป จึงมีครูบาอาจารย์และญาติผู้ใหญ่เป็นต้น แบบเยอะ

จากพยาบาลก้ า วมาเป็ น อาจารย์ ? เรียนถึงปี 2 ก็ถูกบรรจุให้เป็นราชการ ได้ยศเป็นพล ส�ำรอง เราก็ไม่รู้ว่าพลส�ำรองคืออะไร เรียนมาจนจบปี 4 สอบ ได้เกียรตินิยมอันดับ 2 อันดับหนึ่งเพื่อนได้ แต่เพื่อนไปต่าง ประเทศ เราก็ไปท�ำงานที่โรงพยาบาลต�ำรวจ 5 ปี อาจารย์ บอกว่า อาจารย์ที่นี่ขาดนะ มาเป็นครูเถอะ เราก็บอกหนูสอน ไม่เป็น หนูคุยไม่เป็น อาจารย์บอกหนูไม่ต้องพูด มาเป็นต้น แบบที่ดี ตั้งแต่บัดนั้นจนบัดนี้ ก็เป็นอาจารย์มาตั้งแต่ ปี 2530 จนปัจจุบัน 36

IS AM ARE www.porpeang.or.th


จากนั้นไปเรียนต่อปริญญาโท ด้านการศึกษาจิตวิทยา แนะแนว ที่ มศว เพราะว่าต้องใช้จิตวิทยาในการสอน แล้วก็ ท�ำงานมาเรื่อย ได้รับเลื่อนขั้นตามภาระงาน ตอนหลังก็ไปเรียน ดอกเตอร์ ที่ มศว อีกเหมือนกัน ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตย์ สาขา การจัดการเรียนรู้ การท� ำ งานท� ำ ให้ ม องเห็ น อะไรกว้ า งขึ้ น อย่ า งไรคะ? พอมาท� ำ งานแล้ ว เรารู ้ เ ลยว่ า เรื่ อ งส� ำ คั ญ ที่ สุ ด คื อ เอกลักษณ์ อัตลักษณ์ของนักเรียน คือ มีวินัย ใจอาสา เราเน้น กับนักเรียนว่า สถาบันใน 4 เหล่าทัพ พยาบาลทหารบก เรือ อากาศ ต�ำรวจ เราต้องรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีวินัย ใจอาสา หนู ท่องไว้เลย เพราะเราเกิดมาจากตรงนี้ ต้องตอบแทนคุณแผ่นดิน เรื่องจิตอาสาเด็กจึงเข้าไปเต็มตัว ในปีที่ในหลวงรัชกาลที่ 9 ท่าน สวรรคต เราไปช่วยจนเสร็จงาน ท�ำเป็นหรือไม่ ไม่เป็นไร ขอไป ไว้ก่อน ร่วมมือร่วมแรงกันมาจนปัจจุบัน ถามเด็กว่าท�ำไมชอบจิตอาสา เขาบอกหนูดูไปร้องไห้ ไป ว่าท�ำไมในหลวงถึงทรงงานหนักอย่างนั้น ขนาดเด็กยังคิดได้ ขนาดนั้น เราบอกเขาว่า หนูต้องหล่อหลอมลงไปให้รุ่นน้องนะ ลูก น้องรุ่นไหนที่เข้ามาเราก็ถ่ายทอดความรู้สึกอย่างนี้ ถ่ายทอด ไปเลยว่า ตรงนี้มันเป็นหัวใจ เราฝึกให้เด็กได้สะท้อนคิด ไป ท�ำงานกลับมาแล้วตัวเองได้อะไร จะเอาไปใช้อะไร รู้สึกอย่างไร ให้แนวคิดกับเด็กๆ ทุกวันนี้พอเจอกันเขาก็เข้ามาขอบคุณตลอด บอกว่าขอบคุณอาจารย์ที่ปลูกฝัง เราบอกครูไม่ได้ปลูกฝัง หนูเอง นั่นแหละที่เกิดแนวคิดจากการไปเรียนรู้จากที่อื่นๆ มา แล้วเอา มาคิด เอามาพัฒนาตัวเอง มี ท ้ อ บ้ า งไหมคะ ตอนช่ ว งเป็ น พยาบาล? ตอนที่จบมาใหม่ๆ ไม่รู้จักท้อ อยู่เวรต่อกันสนุกสนาน พอมาเป็นอาจารย์ก็ต้องเปลี่ยนบทบาท แต่ก็สนุก ท�ำงานด้วย ความสนุก แต่ ล ะปี มี นั ก ศึ ก ษากี่ ค นคะ? รับประมาณ 70 คน เพราะว่าเรามีสัดส่วนอาจารย์เท่านี้ ตามเกณฑ์คืออาจารย์ 1 ท่าน ต่อนักเรียน 6 คน เรามีอาจารย์ 45 ท่าน ถ้าจะรับมากกว่านั้นอาจารย์ก็ต้องเพิ่มขึ้น สิ่ ง ที่ ท ่ า นเน้ น กั บ นั ก ศึ ก ษาในการอยู ่ ร ่ ว มกั น คื อ อะไร ? เราจะสอนเขาว่ า เมื่ อ เข้ า มาเรี ย นแล้ ว มั น ไม่ ไ ด้ ส บาย เหมือนอยู่บ้านนะลูก จะตื่นกี่โมงก็ได้ แต่อยู่นี่ เราต้องมีวินัย ไหนจะเพื่อน ไหนจะพี่ น้อง เราต้องรู้จักเกรงใจ อย่าให้ถึงกับ ต้องพูด ให้มองตาแล้วรู้ใจ จะได้รักกัน 37 issue 139 AUGUST 2019


38 IS AM ARE www.porpeang.or.th


ที่ จ ริ ง แล้ ว การสอนนั ก ศึ ก ษาพยาบาลต้ อ งอาศั ย ประสบการณ์ มากกว่ า ความรู ้ ? เราปลูกฝังกับเด็กและอาจารย์ว่า การสอนไม่ได้สอนจาก ความรู้ทั้งหมด ความรู้เราจะไปหาที่ไหนก็ได้ แต่มันเก่าเร็ว แต่สิ่ง ที่เราฝึกคิด ฝึกคุณธรรม ที่เด็กเขาจะต้องผ่านตรงนี้ ต้องท�ำงาน ผ่านกระบวนการท�ำงาน ผ่านกระบวนการคิด โดยเป็นระบบ เชื่อว่าเขาไปเจออะไรก็จะไม่ถอย ไม่ท้อ ไม่เครียด แล้วสังคม ในปัจจุบันมันซับซ้อน ถ้าเด็กไม่รู้จักคิดจะเอาตัวเองไม่รอด เรา จึงฝึกให้เด็กเผชิญกับโลกที่มันซับซ้อน เราจะท�ำยังไง ก็บอกกับ เด็กตลอดเวลาว่า หนูอยู่ในรั้ววิทยาลัยเหมือนอยู่ในห้องแล็บ ฝึก ลองผิดลองถูกมา สะท้อนคิดมาคุยกัน ถ้าหนูไปเจอแบบนี้ในโลก ข้างนอกหนูจะท�ำยังไง เพราะมันซับซ้อนยิ่งกว่านี้อีกนะ

วิ ท ยาลั ย พยาบาลต� ำ รวจ เมื่ อ เรี ย นจบแล้ ว ยั ง ติ ด ยศ อยู ่ ไ หมคะ? ติดยศ 20 คนต่อรุ่นค่ะ คือ ล�ำดับที่ 1-20 ตามคะแนน เฉลี่ย GPA 4 ปี และต้องสอบบอร์ดของสภาฯ ผ่าน ถึงจะได้รับ การบรรจุ เพราะเด็กเขาจะใช้ทุนส่วนตัวเรียนจาก 70 คน จะ ได้ติดยศ 20 คน ที่เหลือก็สามารถไปที่อื่นได้ เพราะเรามีรุ่น พี่อยู่ทั่วโลกเลย จะมีรุ่นพี่กลับมาเยี่ยมจากอเมริกา แนะแนว ทางให้ รุ ่ น น้ อ งปี ล ะครั้ ง ถึ ง สองครั้ ง มาเล่ า ประสบการณ์ ใ ห้ น้องๆ ฟัง เรื่ อ งอาจารย์ พ ยาบาลไม่ เ พี ย งพอ มี ก ารแก้ ไ ขยั ง ไงคะ? เชิญอาจารย์พิเศษค่ะ แต่ก็ยังไม่ผ่านเกณฑ์เท่าไหร่ คือ ถ้าอาจารย์ขาดเราก็ต้องเข้าใจ เพราะว่า ตามเกณฑ์ตามระบบ เขาก�ำหนดไว้ เพราะหลายที่ก็ขาดเหมือนกัน บางปีเกษียณ 50 คน ถ้างานหนักขึ้นเราก็ต้องแบ่งเวลามาช่วยกัน อาจารย์แต่ละ ท่านก็ช่วยกันแบ่งเวลาให้ผ่านวิกฤตไปได้ แต่ละปีก็จะมีอาจารย์ เกษียณกันไป เราก็ต้องเตรียมอาจารย์กันในแต่ละปี ซึ่งอาจารย์ พยาบาลต้องมีประสบการณ์ทางด้านการพยาบาลมาก่อน ต้อง เรียนเรื่องศาสตร์และศิลป์การสอน การแนะแนว เราเตรียมเพื่อ ทดแทนคนที่เกษียณออกไป

39 issue 139 AUGUST 2019


ข้างนอกไม่มีคนคอยแนะน�ำด้วย แต่ในนี้ไม่ว่าหนูผิด หรือถูกโค้ชให้อภัยตลอด ฉะนั้น เวลาครูให้ท�ำอะไรที่ยาก นั่น คือก�ำลังฝึกหนูให้ไปเจอสิ่งที่ยากมากกว่า ซึ่งมองไม่ออกว่าจะ เจอกับอะไร เพราะสิ่งที่เราเจอตามสายอาชีพคือ คนดีๆ เขาไม่ มาหาเราหรอก มีแต่คนทุกข์ทั้งนั้นที่มาหาเรา ทุกข์แล้วมานั่ง อยู่ตรงนี้ เราต้องมองให้ทะลุ ไม่ใช่ว่าทุกข์แต่ตรงนี้ แต่เขาทุกข์ ทั้งครอบครัว ทั้งตระกูล นี่แหละความซับซ้อน ขณะเดียวกันเรา ก็เป็นคนที่มีความรู้สึกเหมือนกัน แม้จะปฏิบัติธรรมให้ใจเย็น เท่าไหร่ ต่างคนต่างก็มีปัญหา แค่ใบไม้ไหวแล้วหนูไปฆ่าตัวตาย อย่างนี้สู้ไม่ได้ จะไปไม่รอด ก็บอกเขาว่าที่เรียนอยู่แค่เล็กน้อย ที่หนูจะต้องออกไปเจอหนักกว่านี้ แล้วเราจะต้องไปช่วยคนอื่น เขา เราจะต้องมีการเตรียมตัวเอง สอนตัวเองด้วย เตรี ย มตั ว อย่ า งไรคะ ถึ ง จะรู ้ ว ่ า ตั ว เองเหมาะกั บ พยาบาล? คือใจเขาจะมีความรู้สึก คือ จิตใจเอื้ออาทรอยากช่วย ผู้อื่น ไม่จ�ำเป็นต้องไปที่ไหน อยู่ในบ้าน อยู่กับปู่ย่าตายายพ่อ แม่ ความอยากช่วย อยู่กับพ่อแม่สายสัมพันธ์ สายสัมพันธ์ส�ำคัญ มาก ความรักความอบอุ่นที่ได้จากพ่อแม่ มันท�ำให้เราพอได้รับ แล้วมันเต็ม มันจึงล้นออกมาจนไปถึงผู้อื่นได้ อันนี้ส�ำคัญมาก ซึ่งเราได้โดยที่เราไม่รู้ตัว มีโมเดลอยู่แล้ว ไม่ต้องสอน ไปอยู่ตรง ไหนเราก็รู้สึกว่ามีแต่คนรัก เมตตาเรา เลยล้นไปหาลูกหลานเรา นักเรียนเรา มีอะไรก็พูดกันตรงๆ

เราได้เราจะเอาไปปรับใช้ยังไงในครั้งต่อไป แต่ตัวเองก็ต้องมีวิธี การจัดการกับความรู้สึกของตัวเอง คิดบวก อันนี้ส�ำคัญ ให้ยึด หลักของเศรษฐกิจพอเพียงและพุทธศาสนาที่ท�ำให้เรามีหลัก ในการด�ำเนินชีวิต ให้รู้เท่าทัน มีสติ มีสมาธิ แล้วความคิดมัน จะเกิดขึ้นมา เราจะมีความสุขอยู่กับความคิด อยู่กับมวลมิตร หมู่คณะ ให้รักตัวเอง รักในสิ่งที่ท�ำ นี่คือสิ่งที่เราปลูกฝังให้รักการ เรียนรู้ เพราะว่าโลกเปลี่ยนตลอด เราต้องเปลี่ยนโดยการเรียน รู้อยู่ตลอด จากผู้คน หัดพูดคุยกับผู้คน เจอกันทักทาย ไปมาลา ไหว้ สนับสนุนให้ก�ำลังใจซึ่งกันและกัน อยู่ด้วยกันให้มีความสุข อันนี้จะปลูกฝังมาก เราพูดกับเด็กเสมอ ว่าหนูโชคดีมาก การเรียนพยาบาล เราอยู่หอพัก เพราะเราต้องขึ้นเวรผลัดเปลี่ยน แต่การอยู่หอพัก นั่นแหละคือการเรียนรู้ พยาบาลจะปรับตัวเร็วมาก เวลาไป ท� ำ งานข้ า งนอกจะรู ้ เ ลยว่ า คนนี้ ม าจากพยาบาล เจอกั น ไม่ นานเหมือนรู้จักกันมา 10 ปี เพราะเขาได้เรียนรู้จากตอนเป็น นักเรียน ฉะนั้น ที่เราเตรียมลูกเรา พ่อแม่ก็ต้องเตรียมลูกเหมือน กันตั้งแต่เด็กๆ เลย พ่อแม่ในครอบครัวก็ต้องมีเวทีในบ้านคุยกัน ท�ำกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันในบ้าน พ่อก็ต้องถามลูก ลูกก็ ต้องคุยให้พ่อฟัง ความอบอุ่นมันจะเกิดขึ้นเอง แล้วมันก็จะเป็น อย่างนี้ไปจนประสบความส�ำเร็จ

ฝากถึ ง เด็ ก และเยาวชน และผู ้ ป กครองที่ อ ยากให้ บุ ต รหลานเป็ น พยาบาล? เรื่องของการลงมือปฏิบัติส�ำคัญมาก ปฏิบัติเสร็จแล้ว ต้องมาสะท้อนคิด ว่าเราท�ำอะไรไป แล้วเราได้อะไร แล้วสิ่งที่

40 IS AM ARE www.porpeang.or.th


41 issue 139 AUGUST 2019


42 IS AM ARE www.porpeang.or.th


43 issue 139 AUGUST 2019


44 IS AM ARE www.porpeang.or.th


45 issue 139 AUGUST 2019


46 IS AM ARE www.porpeang.or.th


47 issue 139 AUGUST 2019


48 IS AM ARE www.porpeang.or.th


49 issue 139 AUGUST 2019


50 IS AM ARE www.porpeang.or.th


51 issue 139 AUGUST 2019


52 IS AM ARE www.porpeang.or.th


ถ้านับถือพระบรมศาสดา ก็ต้องรักษา “พระไตรปิฎก”

“เวลานี้ น ่ า เสี ย ดายว่ า ชาวพุ ท ธจ� ำ นวนมาก ไม่ เ ข้ า ใจสิ่ ง ที่ เ ป็ น หั ว ใจส� ำ คั ญ ซึ่ ง เป็ น แก่ น และเป็ น เนื้ อ ตั ว ของ พระพุ ท ธศาสนา ไม่ รู ้ จั ก พระไตรปิ ฎ ก ไม่ รู ้ จั ก การสั ง คายนา ไม่ รู ้ จั ก วิ ธี รั ก ษาสื บ ทอดพระไตรปิ ฎ กหรื อ ค� ำ สั่ ง สอนของพระพุ ท ธเจ้ า ที่ เ รี ย กว่ า “ธรรมวิ นั ย ” นั้ น เพราะฉะนั้ น จึ ง เป็ น โอกาสหรื อ เป็ น ช่ อ งทางให้ เ กิ ด ความ สั บ สน ตลอดจนความเสื่ อ มโทรมและความคลาดเคลื่ อ นต่ า งๆ พร้ อ มทั้ ง ค� ำ สอนที่ ผิ ด เพี้ ย นแปลกปลอมจะ แทรกซ้ อ นหรื อ แอบแฝงเข้ า มา เรื่องนี้ต่างจากชาวพุทธในสมัยโบราณมาก แม้เขาจะ ไม่มีการศึกษารู้อะไรมากมายในความหมายของคนปัจจุบัน แต่ เขาเข้าใจสิ่งเหล่านี้ อย่างน้อยรู้จักว่าพระไตรปิฎกคืออะไร เป็น หลักของพระศาสนาอย่างไร มีความส�ำคัญอย่างไรต่อความเป็น ความตายของพระพุทธศาสนา เพราะว่าถ้าพระไตรปิฎกคลาด เคลื่อน ก็คือพระพุทธศาสนาคลาดเคลื่อน หรือก�ำลังเลือนลาง ไป ถ้าพระไตรปิฎกหายไป หมดไป ก็คือพระพุทธศาสนาสูญสิ้น เพราะจะไม่มีแหล่งค�ำสอนของพระพุทธเจ้าเหลืออยู่ อย่างที่กล่าวแล้วว่า เรานับถือพระพุทธศาสนา ก็คือ นับถือค�ำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ต้องการฟังค�ำสั่งสอนของ พระพุทธเจ้า เมื่อต้องการรู้ว่าพระพุทธเจ้าสอนว่าอย่างไร เรา จะไปรู ้ เ อาเองได้อย่างไร ก็ต ้องไปฟังจากพระพุ ท ธเจ้ า เมื่ อ พระพุทธเจ้าไม่อยู่ ก็ต้องไปดูค�ำสอนที่จารึกไว้ ซึ่งก็ได้จารึกไว้ และรักษากันมาใน “พระไตรปิฎก” นี้

ส� ำ คั ญ ของพระพุ ท ธเจ้ า เพราะว่ า เรานั บ ถื อ ค� ำ สั่ ง สอนของ พระองค์ ถ้าเรารักษาพระไตรปิฎกไว้ได้ พระพุทธศาสนาก็อยู่ อย่างดีที่สุด แล้วก็จะมีหลักที่เป็นแกนกลาง ที่เรานับถือเป็น อันหนึ่งอันเดียวกันในหมู่ชาวพุทธทั้งหมด ชาวพุทธทั้งปวงใน ประเทศเถรวาททุกประเทศ ก็จะมีเอกภาพดังที่เคยมีเอกภาพ กันแล้วตลอดมา อย่างที่กล่าวแล้วว่า ค�ำสอนของพระพุทธเจ้าในพระ ไตรปิฎกของประเทศไทย พม่า ศรีลังกา หรือในประเทศไหนๆ แม้แต่ที่เอาไปในยุโรป เช่นที่อังกฤษ ก็เป็นเนื้อหาอันเดียวกัน หมด เป็นค�ำสอนเดียวกัน เช่น ทาน ศีล ภาวนา อันเดียวกัน ศีล สมาธิ ปัญญา ไตรสิกขา อันเดียวกัน ขันธ์ 5 ปฏิจจสมุปบาท อันเดียวกัน ไม่ว่าพระสูตรใดๆ ไปดูเนื้อหาก็เหมือนกันหมด ไป ที่ไหนก็ใช้กันได้ เหมือนกัน เพราะฉะนั้น ถ้าพระไตรปิฎกที่เป็นหลักของพระพุทธ ศาสนายังคงอยู่ ชาวพุทธก็ยังมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน แต่ถ้าเราเสียหลักเรื่องนี้เมื่อไร ก็เป็นอันว่าพระพุทธศาสนา จะเริ่มมีปัญหา ชาวพุทธเองก็จะทะเลาะเบาะแว้งกัน นั่นก็คือ ความเสื่อมโทรมของพระพุทธศาสนา และความเสื่อมโทรมแห่ง

ถ้าหมดพระไตรปิฎก ก็คือ หมดพระพุทธศาสนา หมดค�ำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า หมดพระธรรมวินัย หมดพระศาสดาของชาวพุทธ จึงเป็นหน้าที่ของชาวพุทธ ที่จะต้องรักษาพระธรรมวินัย ไว้ ด้วยการเล่าเรียนพระไตรปิฎก แล้วก็รักษาพระไตรปิฎกไว้ ให้อยู่มั่นคงด้วยดี ดังที่ชาวพุทธโบราณทุกประเทศได้พยายาม รักษากันมาเป็นงานส�ำคัญของชาติ ถ้าเราเห็นความส�ำคัญของพระไตรปิฎก ก็คือเห็นความ 53

issue 139 AUGUST 2019


ของเรา เป็นสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล แม้แต่ว่าจะเชื่อพระพุทธเจ้า จึ ง เป็ น หน้ า ที่ ข องชาวพุ ท ธ ที่ จ ะต้ อ งรั ก ษาพระธรรม หรือไม่ ก็เป็นสิทธิที่จะเชื่อหรือไม่เชื่อก็ได้ ต้องแยกให้ถูก วิ นั ย ไว้ ด้ ว ยการเล่ า เรี ย นพระไตรปิ ฎ ก แล้ ว ก็ รั ก ษา เวลานี้ก็เป็นปัญหาอีกอย่างหนึ่งคือ ความสับสนของ พระไตรปิ ฎ กไว้ ใ ห้ อ ยู ่ มั่ น คงด้ ว ยดี ดั ง ที่ ช าวพุ ท ธ คนในยุคที่เรียกกันว่ามีการศึกษา แต่การศึกษานี้ก�ำลังพร่ามัวลง โบราณทุ ก ประเทศได้ พ ยายามรั ก ษากั น มาเป็ น งาน ไปมาก จนแยกไม่ถูกแม้แต่ระหว่างตัวหลักการกับความคิดเห็น ส� ำ คั ญ ของชาติ ส่วนบุคคล เพียงแค่นี้ก็แยกไม่ถูก จึงแน่นอนว่าความสับสนจะ ต้องเกิดขึ้น แล้วก็น�ำไปสู่ปัญหาต่างๆ มากมาย ถ้ า เราถามว่ า พระพุ ท ธเจ้ า สอนว่ า อย่ า งไร หรื อ สอน ประโยชน์สุขของประชาชน ที่จะไม่รู้จักพระพุทธศาสนาที่แท้ เรื่องอะไรว่าอย่างไร เราจะดูที่ไหน เราก็ต้องไปดูพระไตรปิฎก จริงและไม่สามารถปฏิบัติให้ถูกต้อง เพราะฉะนั้น จะต้องช่วยกันสร้างความรู้ความเข้าใจที่ เพราะเราไม่มีแหล่งอื่นที่จะตอบค�ำถามนี้ได้ เราจะว่าเอาเอง ถูกต้องเกี่ยวกับพระไตรปิฎก และชวนกันรักษาด้วยการศึกษา หรือไปตอบแทนพระพุทธเจ้าได้อย่างไร ว่าพระองค์สอนอย่าง นั้นอย่างนี้ พระไตรปิฎกกันอย่างจริงจัง ต่ อ จากนั้ น เมื่ อ รู ้ ว ่ า หรื อ ได้ ห ลั ก ฐานเท่ า ที่ มี ว ่ า เสรีภาพแห่งความคิดเห็นของบุคคล พระพุทธเจ้าสอนว่าอย่างไรแล้ว เราจะเชื่อค�ำสอนนั้นหรือไม่ ต้องไม่สับสนกับความซื่อตรงต่อพระศาสดา อนึ่ ง ขอให้ แ ง่ คิ ด ไว้ นิ ด หนึ่ ง ว่ า การท� ำ เช่ น นี้ ไ ม่ ใช่ หรือเรามีความเห็นต่อค�ำสอนนั้นว่าอย่างไร อันนั้นก็เป็นเรื่อง หมายความว่าเราติดต�ำราหรือติดพระไตรปิฎก อันนี้เป็นคนละ ของเรา เป็นเรื่องของบุคคลนั้น ตอนนี้ไม่ใช่เรื่องหลักการ แต่ เรื่องกัน แต่เป็นการที่เรารู้ว่าอะไรเป็นเกณฑ์ตัดสิน หรือเป็น เป็นเรื่องของความคิดเห็น ฉะนั้ น จะต้ อ งแยกส่ ว นนี้ ใ ห้ ไ ด้ เวลาจะพู ด กั น ก็ ต ้ อ ง มาตรฐานค�ำสอนในพระพุทธศาสนา ให้ได้รู้ว่าพระพุทธเจ้า สอนอะไร และสอนว่าอย่างไร ส่วนเราจะเชื่อหรือไม่ก็เป็นเรื่อง แยกให้ถูกว่าเราก�ำลังพูดกันเรื่องว่า ค�ำสอนของพระพุทธเจ้า 54 IS AM ARE www.porpeang.or.th


ว่าอย่างไร พระพุทธเจ้าสอนในเรื่องนี้ว่าอย่างไร หรือว่าเรา ก�ำลังพูดเรื่องนี้ว่า เรามีทัศนะความคิดเห็นในเรื่องนั้นว่าอย่างไร ต้องแยกให้ถูก แล้วก็พูดให้เป็นขั้นตอน เป็นล�ำดับ ก็จะไม่เป็น ปัญหา เวลานี้ก็เท่ากับว่าได้เกิดปัญหาทั่วไปหมด * ตั้งแต่ไม่รู้จักพระไตรปิฎก ไม่รู้จักความส�ำคัญของพระ ไตรปิฎก ไม่รู้ว่าการรักษาสืบทอดพระไตรปิฎกเป็นมาอย่างไร * แล้วก็มีความสับสนระหว่างค�ำสอนของพระพุทธเจ้า ว่ า พระองค์สอนอย่างไร กับ ความคิด เห็น ของบุ ค คลหรื อ เรา แต่ละคนต่อค�ำสอนนั้นว่าเราคิดอย่างไร ทั้ ง หมดนี้ มองกั น ไม่ ชั ด เจน คลุ ม เครื อ และว่ า กั น เลอะเทอะสับสนไปหมด เพราะฉะนั้นก็แน่นอนว่าจะต้องเกิด ปัญหา ที่ จ ริ ง เรื่ อ งนี้ ไ ม่ ใช่ ว ่ า จะยากอะไรเลย เพี ย งแต่ แ ยก ให้ถูก * ถ้าใครมาถามว่า พระพุทธเจ้าสอนว่าอย่างไร เราจะ ว่าเอาเองก็ไม่ได้ ก็ต้องว่าไปตามที่พระพุทธเจ้าสอน คือไปเอา หลักฐานมาแสดงให้ดู * แต่ถ้าเขาถามว่า พระพุทธเจ้าสอนว่าอย่างนี้แล้ว หรือ ธรรมะข้อนี้พระพุทธเจ้าสอนไว้ว่าอย่างนี้ คุณจะว่าอย่างไร อัน นี้ก็เป็นเรื่องของเราจะว่าเอา เราคิดอย่างไรก็เป็นสิทธิของเรา เป็นเสรีภาพของเราที่จะพูด ว่าธรรมะข้อนั้น พระพุทธเจ้าสอน ไว้อย่างนั้นแล้ว เราจะว่าอย่างไร เราก็ว่าตามความเข้าใจของ เราได้ แต่ ที่จริงก็ควรจะศึก ษาค�ำอธิบ ายของท่ า นให้ ชั ด แจ้ ง ก่อน แล้วจึงมาสรุปเอา ถ้าสรุปดีก็ตรงตามที่พระพุทธเจ้าสอน สรุปไม่ดีก็ผิดพลาด ก็ศึกษาค้นคว้าต่อไป แต่อย่างน้อยก็แยก ให้ชัดอย่างที่กล่าวมาแล้วว่า พระพุทธเจ้าสอนว่าอย่างไร ก็ว่า ไปตามที่พระองค์ทรงสอน แล้วเราเห็นว่าอย่างไร ก็ว่าไปตามที่ เราเห็น เวลานี้คนว่ากันนุงนังสับสนไปหมด

ถ้ า เราถามว่ า พระพุ ท ธเจ้ า สอนว่ า อย่ า งไร หรื อ สอน เรื่ อ งอะไรว่ า อย่ า งไร เราจะดู ที่ ไ หน เราก็ ต ้ อ งไปดู พระไตรปิ ฎ ก เพราะเราไม่ มี แ หล่ ง อื่ น ที่ จ ะตอบค� ำ ถาม นี้ ไ ด้ เราจะว่ า เอาเอง หรื อ ไปตอบแทนพระพุ ท ธเจ้ า ได้ อ ย่ า งไร ว่ า พระองค์ ส อนอย่ า งนั้ น อย่ า งนี้ เมื่อเกิดปัญหาอย่างที่รู้กันอยู่ในปัจจุบัน ก็เป็นโอกาสที่ จะต้องมาซักซ้อมในหมู่ชาวพุทธ เพื่อจะสร้างเสริมความรู้ความ เข้าใจที่ถูกตรง และปฏิบัติกันให้ถูกต้อง ถ้าชาวพุทธจับหลักในเรื่องนี้ได้ มีความเข้าใจถูกต้อง และมีความตรงไปตรงมา ปฏิบัติด้วยความซื่อตรง พระพุทธ ศาสนาก็จะยังคงอยู่เป็นหลัก เป็นศูนย์รวมชาวพุทธ และมีอยู่ เพื่อประโยชน์สุขแก่ประชาชนทั้งหลายสืบต่อไป” สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ( ป. อ. ปยุตฺโต ) ที่มา : ธรรมนิพนธ์เรื่อง “รู้จักพระไตรปิฎก เพื่อเป็น ชาวพุทธที่แท้” 55

issue 139 AUGUST 2019


ยึดอินเดียด้วยปาก “จารวาก” กาฝากระดับโลก “ทวยเทวดาเหิรลงจากฟ้า กินคนเดินดินทั่วแดนแห่งหน ซาตานจ�ำแลงร่างเป็นฤาษี อัศวินร�ำทวนร่ายมนต์คาถา คนจรเดินดินไร้สิ้นสลึง

พอลอยลงมารูปโฉมเป็นมาร ผู้คนพลีกายถวายก�ำนัล ยิ้มกรายพาทีชี้ชวนท�ำบุญ หมายปองอาณาฯ หากลอุบาย อื้ออึงออแอชะแง้ตาลอย…”

56 IS AM ARE www.porpeang.or.th


เนื้อหาส่วนหนึ่งในเพลง “ฝันร้าย” ของวง “คาราวาน” ท�ำให้นึกย้อนไปถึงเรื่องราวใน “คัมภีร์ภาควัดโบราณ” ซึ่งแต่ง ขึ้นจากประวัติศาสตร์อินเดียสมัยก่อนพุทธกาลประมาณ 2-3 พันปี ว่าด้วยก�ำเนิดของ “ปรัชญาจารวาก” ปรัชญาเก่าแก่ที่ ปรัชญาหรือลัทธิต่างๆ ในอินเดียต่างกล่าวถึงและยกมากล่าว ค้านจนสุดกู่ เป็นที่มาในการโต้เถียงจากส�ำนักปรัชญาต่างๆ ตามมา ก่อเกิดปัญญาขบคิดแตกแขนงไปหลากหลาย ก่อนจะ เกิดปรัชญาเชนและปรัชญาพุทธเสียอีก ในขณะที่ปรัชญาทั่วไปบนโลกต่างมุ่งหาความจริงเกี่ยว กับคน โลก และสภาวะเหนือธรรมชาติ กระทั่งลุไปถึงเรื่อง วิญญาณอมตะ แต่ชาวอินเดียไม่คิดปรัชญาเพียงเพื่อรู้ หาก ขบคิดลึกซึ้งเพื่อเข้าใจชีวิตและวิธีด�ำเนินชีวิต มุ่งหา “การบรรลุ รู้แจ้งสัจธรรมแห่งชีวิต” หรือ “ความสุขแท้จริงอันเป็นนิรันดร์” ชนิดที่ว่าค้นหาหนทางเพื่อจะไม่ต้องกลับมาเวียนว่ายตายเกิดได้ ยิ่งดี น�ำไปสู่คุณธรรม จริยธรรมด้านจิตใจ ก่อเกิดศาสนาที่ผู้คน ต่างนับถือกันในปัจจุบัน “คั ม ภี ร ์ ภ าควั ด โบราณ” ซึ่ ง แต่ ง ขึ้ น จากประวั ติ ศ าสตร์ อิ น เดี ย สมั ย ก่ อ นพุ ท ธกาลประมาณ 2-3 พั น ปี ว่ า ด้ ว ยก� ำ เนิ ด ของ “ปรั ช ญาจารวาก” ปรั ช ญาเก่ า แก่ เรื่องราวของพระพฤหัสปติกับปรัชญาจารวากนี้เอง ถูก ที่ ป รั ช ญาหรื อ ลั ท ธิ ต ่ า งๆ ในอิ น เดี ย ต่ า งกล่ า วถึ ง และ ยกมากล่ า วค้ า นจนสุ ด กู ่ เป็ น ที่ ม าในการโต้ เ ถี ย งจาก น�ำมากล่าวในคัมภีร์ภาควัดโบราณในภายหลัง โดยเปรียบเปรย ส� ำ นั ก ปรั ช ญาต่ า งๆ ตามมา ก่ อ เกิ ด ปั ญ ญาขบคิ ด ระหว่าง “เทวดา” กับ “อสูร” เพื่อจะเล่าประวัติศาสตร์ของ แตกแขนงไปหลากหลาย ก่ อ นจะเกิ ด ปรั ช ญาเชนและ อินเดีย และความหมายของเทวดากับอสูรซึ่งแตกต่างจากความ เข้าใจในโลกปัจจุบัน ปรั ช ญาพุ ท ธเสี ย อี ก กล่าวคือ อินเดียโบราณสมัยก่อนพุทธกาลราว 2-3 พันปี เป็นที่อยู่เดิมของคนกลุ่มอื่นซึ่งเป็นเจ้าของดินแดน แต่พวกเขา แต่ปรัชญาจารวาก (ปรัชญาปากหวาน) เป็นเจ้าเดียว กลับถูกขนานนามว่าพวกป่าเถื่อน (มิลักขะ) บ้างเรียกว่า ดราวิ ที่ ฉี ก ขาดทุ ก ต� ำ ราของอิ น เดี ย เย้ ย หยั น ความเชื่ อ เรื่ อ งเทพ เดียน หรือพวกบาเรียน (Barbarian) ซึ่งก็มีความหมายเดียวกัน เรื่องพรหม เมินหน้าใส่เทพพระเจ้าทั้งหลายที่ชาวอินเดียเชื่อ ประกอบด้วยชาติพันธุ์ เช่น ออสเตอร์รอยด์ มองโกลอยด์ ก่อน ว่าประจ�ำอยู่ในสิ่งต่างๆ ตามธรรมชาติ ไม่สนับสนุนพระเวท ที่พวกอารยันจะเข้ามาปกครองโดยการบุกรุกแทรกซึมทีละน้อย ศาสนา และการปฏิบัติเพื่อหลุดพ้น กลับมุ่งเน้นการหาความสุข ในหมู่นักบวชของชาวพื้นเมืองจนกลายเป็นวรรณะเดียวกันใน ใส่ตน โดยเฉพาะเรื่องกาม ท�ำให้ปรัชญาจารวากถูกส�ำนักอื่นๆ ที่สุด พวกอารยันค่อยเข้ามามากขึ้นจนกลืนกินชาวพื้นเมือง เรียกว่า “โลกายัต” (เนื่องจากโลก) ถูกจัดเป็นพวกวัตถุนิยม มุ่งหาความสุขทางกาย เพราะเชื่อว่าชีวิตนี้เกิดจากธาตุดิน น�้ำ เช่นเดียวกับผู้บุกรุกทั่วไปที่เข้ามาพร้อมความถนัดในการสู้รบ ลม ไฟ มารวมกันในสัดส่วนที่พอดีเท่านั้น แล้วก็ตายเมื่อธาตุ หรือเรียกกันว่า พวกนอแมด (Nomad) เช่นเดียวกับในยุโรป ดังกล่าวกระจายออก ไม่ได้มีความหมายเท่าการหาความสุขใน พวกซิวิโกธ หรือพวกเยอรมันชาวป่าที่บุกรุกเข้าไปตีอาณาจักร ขณะมีชีวิตอยู่ ท�ำให้ปรัชญานี้ถูกโจมตีและต่อต้านอย่างหนักเมื่อ โรมัน หรือพวกตาดมองโกลซึ่งเอาชนะจีนได้ ด้วยเหตุผลคือ เวลาผ่านไป ภายใต้ผู้น�ำแนวคิดคือ “พระพฤหัสปติ” ผู้ถูกกล่าว ชนพื้นเมืองเดิมนั้นมีความเจริญด้านวัฒนธรรมและจิตใจ ให้ ความสนใจด้านศาสนา ปรัชญา วรรณคดี อักษรศาสตร์ มีความ ขานว่าเป็น “คุรุนอกรีต” 57 issue 139 AUGUST 2019


พวกตาดมองโกลที่รบเอาชนะจีนจนกระทั่งตั้งราชวงศ์หงวน ขึ้นมาได้ ในอินเดียก็เช่นกัน ชนพื้นเมืองเจริญไปไกลเกินกว่าจะ มานั่งคิดเรื่องสู้รบ เมื่อประสบเข้าจริงๆ จึงจ�ำเป็นต้องถอยร่น จากการถูกรุกรานโดยพวกนอแมด กระทั่งต้องไปอาศัยอยู่ตาม ป่าเขาและทะเลทราย หรือที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์น้อยกว่า ทั้ง ที่มีความรู้ มีสติปัญญามากกว่า และเป็นชนพื้นเมืองที่มีความ เจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งมานานแล้ ว ท� ำ ให้ พ วกอารยั น มองเห็ น โอกาส พยายามกลืน พยายามผสมกับชาวเมืองให้ได้มากที่สุด เห็นได้ ช�ำนาญด้านทฤษฎีเท่านั้น เมื่อถึงเวลาจ�ำเป็นต้องเกิดสงคราม จากนักบวชในศาสนาพราหมณ์ ซึ่งไม่มีพราหมณ์แท้ๆ หลงเหลือ ท�ำให้พวกเขาไม่สามารถสู้พวกนอแมดได้ เพราะพวกนี้เป็น อยู่เลย มีแต่พราหมณ์ผสมทั้งสิ้น พวกป่าเถื่อน ดังนี้ คัมภีร์ภาควัดโบราณ จึงเปรียบอสูรคือชนพื้นเมือง นอกจากนี้ พวกนอแมด ยังเป็นพวกเร่ร่อน ขับเคี่ยว ดั้งเดิมที่เจริญแล้ว และเปรียบเทวดาคือพวกอารยันที่เข้ามา เรื่องสงครามและต่อสู้กับสภาพธรรมชาติต่างๆ อยู่ตลอดเวลา ทีหลัง พวกเทวดาเห็นอสูรมีความเจริญอย่างมาก จึงคิดหาวิธี จึงเก่งด้านพุ่งรบ ตลอดจนสู้กับสัตว์ร้าย เรียกว่ามีอาชีพสู้รบ ให้อสูรตกอยู่ภายใต้อ�ำนาจของตน วางแผนมอมเมาพวกอสูร กับประชาชนในดินแดนแคว้นต่างๆ อยู่เสมอ เหมือนอย่าง ให้หลงทาง โดยคบคิดและใช้ความสามารถของพระพฤหัสปติ 58 IS AM ARE www.porpeang.or.th


ซึ่งเป็นพวกเดียวกัน ท�ำการเดินทางไปยังดินแดนของอสูรใน ฐานะปราชญ์เมธี เพื่อเข้าไปเผยแพร่แนวคิดให้ผู้คนสรรเสริญ ยกย่องโลกียธรรมด้วยค�ำพูดที่ไพเราะอ่อนหวาน จนชาวเมือง คล้อยตาม เพราะง่ายต่อการเข้าใจและปฏิบัติ ไม่ลึกซึ้งซับซ้อน จนลืมคุณค่าโลกุตระที่ได้พยายามพัฒนากันมาหลายพันปี เมื่อ อสูรหลงเชื่อและหันมาสนใจเรื่องวัตถุนิยมเพื่อหาความสุขให้ตัว เองมากขึ้น ในที่สุดดินแดนทางเหนือของอินเดียซึ่งอุดมสมบูรณ์ ที่สุดก็ตกเป็นของพวกเทวดาหรือพวกอารยัน ซึ่งแปลว่า “ผู้ ประเสริฐ” นั่นเอง คือที่มาของปรัชญาเก่าแก่ซึ่งใช้ความเป็นปราชญ์เมธี มอมเมาผู้คนอย่างแยบยลและเลือดเย็น กล่าวคือ ผู้ใดกอบโกย ความสุขในวันนี้ได้มากที่สุดผู้นั้นถือว่าประสบความส�ำเร็จโดย ไม่ต้องค�ำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรม ท�ำให้นึกถึงเพลง “ฝันร้าย” ของวง “คาราวาน” ที่เปรียบเทวดายิ้มแย้มแต่จุดประสงค์ชั่ว ร้าย ปรัชญาจารวากอาจเกิดขึ้นมาหลายพันปีแล้ว แต่ปัจจุบัน

“ปรั ช ญาจารวาก” ปรั ช ญาเก่ า แก่ ที่ ป รั ช ญาหรื อ ลั ท ธิ ต่ า งๆ ในอิ น เดี ย ต่ า งกล่ า วถึ ง และยกมากล่ า วค้ า น จนสุ ด กู ่ เป็ น ที่ ม าในการโต้ เ ถี ย งจากส� ำ นั ก ปรั ช ญา ต่ า งๆ ตามมา ก่ อ เกิ ด ปั ญ ญาขบคิ ด แตกแขนงไป หลากหลาย ก่ อ นจะเกิ ด ปรั ช ญาเชนและปรั ช ญา พุ ท ธเสี ย อี ก ดูเหมือนยังคงเมล็ดพันธุ์งอกงามเงียบๆ ราว “กาฝาก” ที่ค่อย เติบโตกินต้นแม่ น�ำทางสังคมมนุษย์สู่ความหยาบช้า ห่างไกล จิตอันสูงส่ง ในรูปเทวดาปากหวานและหวังดี ท�ำทีมาดับทุกข์ แก่ประชาชนผู้เคลิบเคลิ้ม สู่โซ่ตรวนความสุขทางวัตถุซึ่งยาก ต่อการปลดพันธนาการ “จงกิน จงดื่ม จงรื่นเริงสุขส�ำราญเสียแต่วันนี้ พรุ่งนี้อาจตาย” ปรัชญาจารวาก. 59 issue 139 AUGUST 2019


การป้องกันฆ่าตัวตายเป็นเรื่องของทุกคน

อย่ารอแพทย์พยาบาล

60 IS AM ARE www.porpeang.or.th


วันนี้ขอน�ำเสนอแนวทางการป้องกันฆ่าตัวตายเมื่อญาติ หรือคนใกล้ชิดคิดฆ่าตัวตายส�ำหรับคนไทยทุกคนครับ หัวข้อเรื่องคือ…ท�ำอย่างไรเมื่อคนใกล้ตัวคิดฆ่าตัวตาย... อย่างแรกต้องมีความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับพฤติกรรม การฆ่าตัวตาย ดังนี้ - การฆ่าตัวตายสามารถยับยั้งหรือป้องกันได้ - ผู้ที่พยายามฆ่าตัวตายต้องการการช่วยเหลือ และ ต้องการคนที่เข้าใจ - ผู้ที่ฆ่าตัวตายทุกรายส่วนใหญ่จะมีความคิดอยากตาย น�ำมาก่อน ดังนั้นเมื่อทราบว่ามีคนคิดฆ่าตัวตายต้องรีบเข้าหา รับฟังและให้การช่วยเหลือ - ผู้ที่ฆ่าตัวตายมักจะแสดงท่าทีหรือบอกเป็นนัยก่อน กระท�ำ - ผู้ที่ฆ่าตัวตายมักจะมีความลังเลอยู่ภายในใจ ระหว่าง อยู่หรือตาย - ผู้ที่ฆ่าตัวตายไม่จ�ำเป็นต้องมีอารมณ์เศร้า อาจมีวิตก กังวลหรือหูแว่วประสาทหลอน - การเข้าหา รับฟังและสอบถามเกี่ยวกับการฆ่าตัวตาย จะช่วยลดความกดดันและความกังวลใจ - การพยายามฆ่าตัวตาย เป็นการร้องขอความช่วยเหลือ รูปแบบหนึ่ง ไม่ใช่เป็นการเรียกร้องความสนใจ - ผู้ที่พยามยามฆ่าตัวตาย (แต่ไม่ส�ำเร็จ) มีความเสี่ยงสูง ที่ฆ่าตัวตายส�ำเร็จ - ผู้หญิงพยายามฆ่าตัวตายมากกว่าผู้ชาย ผู้ชายฆ่าตัว ตายส�ำเร็จมากกว่าผู้หญิง แต่ไม่ควรสรุปว่าผู้หญิงที่ฆ่าตัวตาย ไม่คิดจะตายจริง จากนั้นให้การเฝ้าระวังและช่วยเหลือ 4 ขั้นตอน สอด ส่องมองหา. เจรจารับฟัง. ยับยั้งฉับไว. ช่วยเหลือและส่งต่อ. ตามล�ำดับดังนี้ครับ 1. สอดส่องมองหา …สังเกตสัญญาณเตือนการฆ่า ตัวตาย แทบทุกการฆ่าตัวตาย มักจะมีสญ ั ญาณเตือน หากสังเกต และไวต่อสัญญาณที่เกิดขึ้น จะน�ำไปสู่การเฝ้าระวังและให้ความ ช่วยเหลืออย่างทันท่วงที การสังเกตสัญญาณเตือน…ให้ดูจากพฤติกรรม ท่าที การ พูด การกระท�ำ สั ญ ญาณเตื อ น ที่ วิ ก ฤตเร่ ง ด่ ว นต้ อ งตอบสนองทั น ที ได้แก่

สิ่ ง ที่ ห นึ่ ง ที่ ต ้ อ งระวั ง คื อ ผู ้ ที่ ท ่ า นช่ ว ยเหลื อ จนผ่ า น พ้ น วิ ก ฤตและไม่ ฆ ่ า ตั ว ตายนั้ น อาจจะเกิ ด ความ ผู ก พั น ยึ ด ติ ด และเกิ ด ภาวะพึ่ ง พา ท่ า นต้ อ งรั ก ษา ระยะห่ า งแต่ ไ ม่ ท อดทิ้ ง ควรหลี ก เลี่ ย งไม่ ใ ห้ เ กิ ด เหตุ ก ารณ์ เ ช่ น นี้ แต่ ถ ้ า ภาวะดั ง กล่ า วเกิ ด ขึ้ น ท่ า น ควรรี บ ปรึ ก ษาจิ ต แพทย์ เ พื่ อ ขอค� ำ แนะน� ำ แก้ ไ ขเสี ย แต่ เ นิ่ น ๆ 1. ขู่จะท�ำร้ายหรือฆ่าตัวตาย 2. พยายามหาวิธีฆ่าตัวตาย 3. พูดหรือเขียนข้อความสั่งเสียเป็นนัยๆ เช่น ขอลาทุก คน, ขอบคุณในทุกสิ่ง รวมถึงการพูด/เขียนเรื่องความตาย ก�ำลัง จะตาย หรือการฆ่าตัวตาย 4. เตรียมความพร้อมที่จะตาย เช่น พูดจาฝากฝังคนข้าง หลัง, แจกของรักให้คนอื่น 5. อารมณ์เปลี่ยนไปจากซึมเศร้าหรือหงุดหงิดมานาน เป็นสบายใจ สดชื่นอย่างผิดหูผิดตา

สัญญาณเตือนที่ต้องเฝ้าระวังใกล้ชิด

1. พูดว่าอยากตายหรือไม่อยากมีชีวิตอยู่ 2. แสดงความสิ้นหวัง พ่ายแพ้ ล้มเหลวหรือสูญเสีย เป้าหมายของการมีชีวิตอยู่ 3. รู้สึกอับจนหนทาง 4. ดื่มสุราหรือใช้สารเสพติดมากขึ้น 5. ออกห่างเพื่อนฝูง ครอบครัวหรือสังคม 6. รู้สึกว่าตนเองไม่มีค่า เป็นภาระของผู้อื่น เมื่อแน่ใจว่าพบสัญญาณเตือนชัดเจน (คาดว่าจะมีการ ฆ่าตัวตายเกิดขึ้น) สิ่งที่ต้องท�ำเบื้องต้นเพื่อยับยั้งการฆ่าตัวตาย 61

issue 139 AUGUST 2019


คือพิจารณาตัวเราเองก่อนว่ามีความมั่นใจหรือไม่ว่าจะท�ำได้ ถ้า รู้สึกมั่นใจว่าสามารถยับยั้งได้ ให้เข้าไปพูดคุยกับเขาโดยตรง แต่ ถ้าไม่มั่นใจให้หาคนช่วยเหลือ เช่น ต�ำรวจ, สายด่วนสุขภาพจิต 1323, สายด่วนสะมาริตันส์ หรือโทรแจ้งและหารือกับแพทย์ พยาบาล ในโรงพยาบาลที่อยู่ใกล้ที่สุด ผู้ที่มีความคิดฆ่าตัวตายหลายรายเพียงแค่มีคนรับฟัง เรื่องราวที่เกิดขึ้นกับเขาโดยไม่ตัดสิน ไม่ต�ำหนิ ก็เป็นการช่วย เหลือที่ดีในเบื้องต้นและสามารถยับยั้งการฆ่าตัวตายได้ 2. เจรจารับฟัง…เข้าหาและพูดคุยกับคนที่มีแนวโน้ม จะฆ่าตัวตาย ควรเข้ า หาและชวนพู ด คุ ย ทั น ที หากพบสั ญ ญาณ เตือนของการฆ่าตัวตายเกิดขึ้นกับคนใกล้ชิดหรือใครบางคน ที่เราพบเห็น ซึ่งการพูดคุยโดยพบหน้าจะดีกว่าโทรศัพท์หรือ ออนไลน์ ไม่ ต ้ อ งเกรงว่ า เขาจะโกรธหรื อ ไม่ พ อใจ เพราะหาก ประวิงเวลาเนิ่นนานเกินไป แล้วการฆ่าตัวตายเกิดขึ้นจริง เรา จะรู้สึกผิดและเสียใจยิ่งกว่า ไม่ต้องกลัวว่าการพูดคุยจะชี้โพรงให้กระรอก เพราะ จากสัญญาณเตือนนั้นเขามีแนวโน้มที่จะฆ่าตัวตายอยู่แล้ว การ

ชวนพูดคุยจะช่วยให้เขาได้ระบาย ได้ทบทวนสิ่งที่เกิดขึ้นและ อาจได้ทางออกใหม่ หลักการส�ำคัญคือ แสดงให้เขาทราบถึงความเป็นห่วง และกั ง วลของเราต่ อ สั ญ ญาณเตื อ นที่ สั ง เกตเห็ น หรื อ เรื่ อ งที่ ท�ำให้เกิดความทุกข์ใจ ชวนให้เขาเล่าออกมาจากนั้นรับฟังโดย ไม่ต�ำหนิ ไม่วิจารณ์ ให้เขาพูดในสิ่งที่เขาอยากพูด แล้วแสดง ให้เขาเห็นว่า ท่านยินดีที่จะให้ความช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา ทุกข์ใจนั้น ตัวอย่างค�ำถามเริ่มต้นน�ำไปสู่การพูดคุย เช่น “มีอะไรเกิดขึ้นครับ พอจะเล่าให้ฟังได้ไหม” 62

IS AM ARE www.porpeang.or.th


63 issue 139 AUGUST 2019


“มีอะไรที่ดิฉันสามารถช่วยคุณได้บ้าง” การที่มีคนเข้ามาพูดคุย เขาจะรู้สึกไม่โดดเดี่ยว และการ รับฟังโดยไม่ต�ำหนิ ไม่วิจารณ์จะท�ำให้เขารู้สึกดีขึ้น 3. ยับยั้งฉับไว…ประเมินสถานการณ์ และตอบสนอง อย่างฉับไว ควรตั้งค�ำถามที่น�ำไปสู่การพูดคุยเพื่อหาข้อมูลประเมิน ความเร่งด่วนและระดับวิกฤติของการฆ่าตัวตายที่จะเกิดขึ้น ตัวอย่างค�ำถามที่สามารถน�ำไปใช้ ได้แก่ “เรื่ อ งราวที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ คุ ณ ดู เ หมื อ นมากเกิ น กว่ า คนๆ หนึ่งจะจัดการไหว คุณคิดจะฆ่าตัวตายหรือเปล่าครับ” หรือ “ด้วยความทุกข์ใจทั้งหมดที่คุณได้รับมาผมเป็นห่วงว่า คุณคิดจะฆ่าตัวตาย...คุณมีความคิดอย่างนั้นรึเปล่าครับ” รวบรวมข้อมูลที่ได้จากการพูดคุยและจากการสังเกต สถานการณ์ที่เกิดขึ้น เราสามารถประเมินความเร่งด่วนและ ระดับวิกฤติได้โดยพิจารณาจาก 4 ประเด็น ดังต่อไปนี้

ยุติ

4. ให้ความช่วยเหลือ/ส่งต่อ และอยู่ด้วยจนเรื่องราว

หัวใจส�ำคัญของการช่วยเหลือผู้ที่จะฆ่าตัวตาย ก็คือ การ เสนอความช่วยเหลือที่เป็นรูปธรรมและแสดงให้เขาเห็นว่าเรา อยู่กับเขา ยินดีช่วยเหลือเขา ถึงแม้เราไม่สามารถท�ำให้ทุกสิ่ง ทุกอย่างดีขึ้น แต่การที่เขาเห็นเราอยู่ข้างๆ และรับฟังสิ่งที่เขา พูดหรือระบาย จะช่วยลดความกดดันในใจ และช่วยให้เขาหลุด จากอารมณ์ที่ตีบตัน อาจท�ำให้ได้คิด ได้พบทางเลือกอื่น

การให้ความช่ วยเหลือผู ้ท่ีจะฆ่าตัวตาย ในขัน้ ตอน ที่ 4 นี้เราสามารถท�ำได้ ดังต่อไปนี้

1. พาไปพบผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตและจิตเวช จะเป็นจิตแพทย์ พยาบาลจิตเวช พยาบาลให้การปรึกษา นัก จิ ต วิ ท ยา ได้ ยิ่ ง ดี ผู ้ ที่ ฆ ่ า ตั ว ตายทุ ก รายต้ อ งได้ รั บ การตรวจ ประเมินสภาพจิต เพราะจากสถิติที่ผ่านมาพบว่าผู้ที่ฆ่าตัวตาย มากกว่าร้อยละ 80 เจ็บป่วยด้วยโรคจิตเวช เช่น โรคซึมเศร้า โรคจิ ต เภท โรคติ ด สุ ร าหรื อ สารเสพติ ด และโรคไบโพล่ า ร์ เป็นต้น ซึ่งต้องอาศัยการบ�ำบัดรักษาโดยผู้เชี่ยวชาญ และต้อง ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องเพื่อควบคุมอาการของโรคจิตเวช ดังกล่าว 2. เก็บหรือขจัดวัสดุอุปกรณ์และสารพิษที่สามารถ ใช้ฆ่าตัวตาย ส�ำหรับคนไทย เชือก เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ฆ่าตัวตาย บ่อยที่สุด รองลงมาคือ ยาฆ่าแมลง, ยาปราบศัตรูพืช, น�้ำยาล้าง ห้องน�้ำ, ยานอนหลับ และควรก�ำจัดสุราสารเสพติด โดยเททิ้ง หรือท�ำลายให้หมดไป รวมถึงเก็บซ่อน ผ้าพันคอ, สายเข็มขัด, ลวด, สายไฟ, ปืน , มีด , ของมีคม พวกอุปกรณ์เหล่านี้รวม ถึงเชือกควรเก็บใส่กล่องที่แข็งแรงมีกุญแจล็อก หรือใส่กล่อง กระดาษใช้เทปกาวปิดแน่นหนา

1. ความตั้งใจที่จะฆ่าตัวตาย 2. วันเวลาที่จะฆ่าตัวตาย 3. วิธีการที่จะฆ่าตัวตาย 4. แผนการฆ่าตัวตาย ถ้าประเมินแล้วเขามีเพียงข้อ1 คือมีความตั้งใจที่จะฆ่า ตัวตาย ท่านก็สามารถชวนคุย สร้างความหวัง เสนอความช่วย เหลือ ชวนให้คิดเพื่อหาทางเลือกอื่น แต่ถ้าประเมินพบว่ามีข้อ 2 หรือ 3 หรือ 4 เช่น เขาได้ ก�ำหนดวิธีและวันเวลาที่จะฆ่าตัวตายแล้ว หรือมีแผนชัดเจนให้ ถือว่าเป็นวิกฤตเร่งด่วน ต้องรีบแจ้งแพทย์ พยาบาล โรงพยาบาล ที่ใกล้ที่สุดเพื่อขอความช่วยเหลือ ต้องตอบสนองขอความช่วย เหลืออย่างฉับไว ถ้าสามารถพาเขาไปพบแพทย์หรือโรงพยาบาล ได้ก็ให้รีบพาไปทันที หรือโทรแจ้งต�ำรวจ/ศูนย์รับเรื่องฉุกเฉินให้ มาช่วยเหลือโดยด่วน เพื่อส่งต่อไปยังจิตแพทย์ พยาบาลจิตเวช หรือนักจิตวิทยา 64

IS AM ARE www.porpeang.or.th


3. กระตุ ้ น ให้ ป รั บ เปลี่ ย นวิ ถี ชี วิ ต เช่ น ชวนไปออก ก�ำลังกาย ชวนออกไปท�ำกิจกรรมที่เพลิดเพลินและได้พบปะ ผู้คน ทานอาหารเป็นเวลาสม�่ำเสมอ โดยเน้นอาหารเพื่อสุขภาพ นอนหลับอย่างเพียงพอและนอนเป็นเวลา ให้งดสุราและสารเสพ ติดทุกชนิดรวมทั้งชา กาแฟ 4. ดูแลเชิงรุกอย่าบอกเพียงว่าโทรหาได้เมื่อต้องการ แต่ควรโทรไปหาเขา ถามสารทุกข์สุกดิบ หรือประเมินอาการ เป็นระยะ หรือ ไปเยี่ยมสม�่ำเสมอ รวมถึงสอบถามสถานการณ์ ปัญหาชีวิตต่างๆ 5. ติดตามการรักษาหลังจากที่พาไปพบแพทย์ และได้ ยา ก็ต้องตรวจสอบว่าเขาได้รับประทานสม�่ำเสมอและถูกต้อง ตามแพทย์สั่งหรือไม่ ถ้าพบว่าสถานการณ์ไม่ดี แย่ลง อาการไม่ ดีขึ้น หรือผู้ป่วยไม่รับประทานยา ต้องรีบแจ้งแพทย์ทันที หรือ พากลับไปปรึกษาแพทย์ 6. รักษาการติดต่อไว้เสมอถ้าภาวะวิกฤตคลี่คลาย กลับสู่สภาวะปกติก็ควรเปิดช่องทางการติดต่อสื่อสารไว้ ควร โทรหา สอบถามสภาพความเป็นอยู่หรืออาการเป็นระยะ เพื่อ ให้มั่นใจว่าเขายังอยู่ในสภาวะที่ดี จากการวิจัยจะพบได้บ่อยว่า ผู้พยายามฆ่าตัวตาย จะกลับมาฆ่าตัวตายซ�้ำได้อีกหรือเกิดความ คิดฆ่าตัวตายขึ้นได้อีก จากที่เขาประสบปัญหาชีวิตครั้งใหม่หรือ จากการก�ำเริบของโรคที่เป็นอยู่ ผู้ดูแลไม่ควรผิดหวังหรือเสียใจ

หลั ก การส� ำ คั ญ คื อ แสดงให้ เ ขาทราบถึ ง ความเป็ น ห่ ว งและกั ง วลของเราต่ อ สั ญ ญาณเตื อ นที่ สั ง เกต เห็ น หรื อ เรื่ อ งที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด ความทุ ก ข์ ใ จ ชวนให้ เ ขา เล่ า ออกมาจากนั้ น รั บ ฟั ง โดยไม่ ต� ำ หนิ ไม่ วิ จ ารณ์ ให้ เ ขาพู ด ในสิ่ ง ที่ เ ขาอยากพู ด แล้ ว แสดงให้ เ ขาเห็ น ว่ า ท่ า นยิ น ดี ที่ จ ะให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ แก้ ไ ขปั ญ หา ทุ ก ข์ ใ จนั้ น หรือคิดว่าสิ่งที่ได้ท�ำไปเพื่อช่วยเหลือนั้นล้มเหลว ให้ถือว่าเป็น เรื่องที่สามารถเกิดขึ้นได้ แล้วควรให้การช่วยเหลือต่อไป สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ต ้ อ งระวั ง คื อ ผู ้ ที่ ท ่ า นช่ ว ยเหลื อ จนผ่ า นพ้ น วิกฤตและไม่ฆ่าตัวตายนั้น อาจจะเกิดความผูกพัน ยึดติด และ เกิดภาวะพึ่งพา ท่านต้องรักษาระยะห่างแต่ไม่ทอดทิ้ง ควร หลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดเหตุการณ์เช่นนี้ แต่ถ้าภาวะดังกล่าวเกิด ขึ้น ท่านควรรีบปรึกษาจิตแพทย์เพื่อขอค�ำแนะน�ำแก้ไขเสียแต่ เนิ่นๆ #นายแพทย์ธรณินทร์ กองสุข #สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา #กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข

65 issue 139 AUGUST 2019


ฝึกภาษา ท�ำความดี ในวิถีพอเพียง

ขวัญชั ย ปรีดี

ภูมิหลัง

ย้ายไปลอนดอน ใช้เวลาว่างรับงานช่างภาพแฟชั่นอิสระ จนรู้สึก หลงใหลใน Standard Of Living (มาตรฐานการครองชีพ) ของ ลอนดอน และตัดสินใจว่าจะลงหลังปักฐานที่นั่น

ขวั ญ ชั ย ปรี ดี อายุ 34 ปี (ขวั ญ ชั ย หมายถึ ง ชนะ ด้วยความดี) เกิด จ.กาฬสินธุ์ เป็นคนเรียนไม่เก่ง สอบเข้า มหาวิทยาลัยที่หวังไม่ติดสักที่ ระหว่างเรียน ป.ตรี สาขากราฟิก ดีไซน์ ม.มหาสารคาม คะแนนรวมไม่ดีจนอยู่ในเกณฑ์ถูกรีไทร์ เพราะความกลัว จึงเร่งพัฒนาการเรียนของตัวเองจนถึง ปี 3 มีโอกาสเป็นนักศึกษาแลกเปลี่ยนที่สหรัฐอเมริกา ฝึกงานกับ บริษัทท�ำนิตยสารแห่งหนึ่ง เขาตั้งปณิธานต่อตนเองว่า “จบ ปริญญาตรี ต้องพูดภาษาอังกฤษให้ได้” หลังจากกลับมาเรียน ปี 4 ที่ไทย เขาได้งานสอนกราฟิก ดีไซน์แอนิเมชัน (2D) ที่นิวยอร์ก (สอนพิเศษ) และได้งานใน บริษัทเว็บไซต์ของแอลเอ ท�ำงานประจ�ำอยู่ที่เมืองไทย 3 ปี ก่อน

จุ ดเปลี่ยนของชี วิต

แม้จะมีงานประจ�ำสร้างรายได้เลี้ยงตัวที่ดีอยู่หลายช่อง ทางในลอนดอน, มองเห็นความก้าวหน้าของชีวิตที่จับต้องได้ แต่ทุกอย่างแฝงไปด้วยความเครียดตลอดเวลาในทุกๆ ก้าวกว่า จะได้มา ค�ำถามที่เกิดขึ้นคือ Standard Of Living สร้างความ สุขให้ชีวิตแท้จริงหรือ ? ค�ำตอบคือ ไม่, เช่น ผลงานชิ้นที่แล้วดี กว่าชิ้นปัจจุบันก็กลับเป็นทุกข์ขึ้นมา ขดเกลียวกดดันอยู่ในตัว เองและบริษัทที่ท�ำอยู่ 66

IS AM ARE www.porpeang.or.th


จนกระทั่ ง เขาเห็ น ฝรั่ ง ชอบปฏิ บั ติ ธ รรม เขาก็ ท� ำ บ้ าง เช่นเดียวกับคนไทยจ�ำนวนมากที่ต้องรอให้ฝรั่งยอมรับนิยมชม ชอบก่อนถึงจะบอกว่าสิ่งนั้นดีและท�ำตามอย่างผู้เจริญแล้ว ทั้ง ที่ตนเองรู้จักของสิ่งนั้นมาก่อนเขาเสียอีก, หลังจากไปปฏิบัติ ธรรมในวัดที่รัชกาลที่ 9 เสด็จฯ มาเปิดงาน ท�ำให้เขารู้จักยอมรับ ตนเองตามธรรมชาติมากขึ้น ท�ำลายอัตตาตัวตนและหัวโขนตัว เองโดยการท�ำจิตอาสา กลายเป็นเพียงคนเก็บขยะคนหนึ่งในวัด เท่านั้น เขาแบ่งเวลาท�ำงานเหลือ 3 วัน ท�ำจิตอาสา 4 วัน เป็น เวลา 3 ปี จึงพบว่า “ความสุขคือการให้” ไม่ต้องแบกอะไรมาก นัก และนั่นเป็นความสุขแท้จริง

ก�ำเนิดหมู่บ้านนานาชาติเปรมปรีดี

หลั งจากคิด ได้ว ่าการให้คือความสุข ขวั ญชั ย เริ่ มร่ า ง โครงการเพื่อกลับไปท�ำที่บ้านเกิด โดยขายไอเดียกับเพื่อนชาว ต่างชาติถึงจุดประสงค์อยากส่งต่อการให้เพื่อผู้อื่น จัดงานเพื่อรับ บริจาคจนได้เงินก้อนไปสร้างบนพื้นที่บรรพบุรุษตนเองจ�ำนวน เกือบ 5 ไร่ เงินไม่พอเขาก็ทอดผ้าป่าไปเรื่อยๆ จากชาวบ้าน ในละแวก ภายใต้แนวคิด “จ�ำลองสังคมแบบใหม่ ภายใต้แนว พระราชด�ำริ ร.9”

แนวทางด�ำเนินงาน

หลังจากปฏิบัติธรรม น�ำไปสู่การท�ำจิตอาสาเพื่อวางตัว ตนและความทุกข์ ขวัญชัยขมวดความคิดและประสบการณ์ ทั้งหมดจนตกตะกอนได้ว่า ทั้งหมดที่ท�ำแล้วสุขใจ คือแนวทางที่ รัชกาลที่ 9 ให้ไว้นานแล้ว เมื่อน�ำมาจับประเด็นเข้ากับชีวิตจริง ทั้งหมดก็ยืนฐานอยู่บนความพอเพียงที่มีส่วนผสมหลักคือธรรมะ เกิดเป็น หมู่บ้านนานาชาติเปรมปรีดี ซึ่งตั้งใจจะจ�ำลองสังคม ตามค�ำสอน รัชกาลที่ 9 ภายใต้โครงการ "ฝึกภาษา ท�ำความ ดี ในวิถีพอเพียง" เชื่อมโยงจิตอาสากว่า 100 ชีวิต จาก 20 ประเทศ หมุนเวียนตลอดปี สร้างค่ายเยาวชนเพื่อ ฝึกภาษา ท�ำความดี ในวิถีพอเพียง

ท�ำไมต้อง ฝึ กภาษา ท�ำความดี ในวิถีพอเพียง

ภาษาเป็นสิ่งที่เขาถนัดและใช้บ่อยเมื่ออยู่ต่างประเทศ ทั้งยังรู้จักเจ้าของภาษาอีกหลายชาติ แต่ปัญหาที่เขาพบในเด็ก ไทยคือ เรียนภาษาอังกฤษเยอะมาก แต่สื่อสารไม่ได้ เพราะไม่ ได้ใช้จึงท�ำให้ลืม ที่ส�ำคัญคือ การเรียนแกรมม่าโดยที่ยังสื่อสาร ภาษาอังกฤษไม่ได้กลับสร้างความสับสน พูดไม่ออก กังวลแต่ ความถูกผิด ขณะที่เจ้าของภาษาพูดได้อย่างถูกต้องโดยไม่ต้อง จ�ำเรื่องแกรมม่า เพราะพูดจากสิ่งที่ได้ยินทุกวัน จึงเป็นที่มา ของค่ า ยภาษาอั ง กฤษที่ ใช้ บ รรยากาศวิ ถี ชี วิ ต ตามหลั ก ความ 67 issue 139 AUGUST 2019


68 IS AM ARE www.porpeang.or.th


พอเพี ย งตั้ ง แต่ ที่ อ ยู ่ อ าศั ย จนถึ ง หลั ก คิ ด รวมถึ ง การให้ ค วาม ส�ำคัญกับธรรมะ (ธรรมชาติ) และการปฏิบัติธรรม เยาวชนที่ เข้ า ค่ า ยจะใช้ แ ต่ ภ าษาอั ง กฤษเท่ า นั้ น ใคร พูดเป็นหรือไม่เป็นก็ต้องพยายามสื่อสารให้ได้ ตั้งแต่การท�ำ อาหาร อุปกรณ์ภายในครัว และการกินอยู่ ล้วนฝึกให้เยาวชน ใช้ภาษาอังกฤษในชีวิตประจ�ำวันผ่านการแนะน�ำจากจิตอาสา เจ้าของภาษาที่แวะเวียนกันมา ท�ำให้ภาษาอังกฤษด�ำเนินไปตาม ธรรมชาติโดยไม่ต้องเปิดต�ำรา คือพูดตามที่ได้ยินเสมือนเกิดและ เติบโตในครอบครัวภาษาอังกฤษ

ทั้งมวลด�ำเนินไปด้วยการใช้ภาษาอังกฤษทั้งสิ้น จึงท�ำให้เด็กกล้า ตอบโต้เรียนรู้ภาษาอย่างไม่กลัวผิดถูก

หัวใจหลักของโครงการ

ภาษาอั ง กฤษอาจดู เ ป็ น หั ว ใจหลั ก อั น ที่ จ ริ ง การฝึ ก เด็ ก ให้ อ ยู ่ ใ นระเบี ย บ รู ้ จั ก ช่ ว ยเหลื อ สภาพแวดล้ อ ม และผู ้ อื่ น คื อ หั ว ใจหลั ก เช่ น การเดิ น เท้ า เก็ บ ขยะ รอบๆ ชุ ม ชน การฝึ ก ให้ อ ยู ่ ใ นกระท่ อ มเล็ ก ๆ ให้ รู ้ ว่ า ที่ จ ริ ง แล้ ว อยู ่ ไ ด้ อ ย่ า งสบายและสามารถท� ำ ความ สะอาดง่ า ยภายใน 3 นาที การประกอบอาหารจาก สิ่ ง ที่ มี อ ยู ่

ผลที่ได้

เด็กมีระเบียบมากขึ้น รู้จักอยู่กับตัวเองโดยไม่มีมือถือ ไม่มีพ่อแม่คอยโอ๋ ไม่มีเกมส์ สนใจสิ่งแวดล้อมมากขึ้น สนใจ คนรอบข้างมากขึ้น เช่น เมื่อพ่อขับรถมาถึงบ้าน เด็กรีบไปเปิด ประตูให้ ช่วยพ่อถือของ ขวัญชัย กล่าวว่า เท่านี้ก็ภูมิใจมากแล้ว แต่สิ่งส�ำคัญคือ ต้องท�ำให้เด็กเห็นเป็นตัวอย่าง

ภาษาอังกฤษอาจดูเป็นหัวใจหลัก อันที่จริงการฝึกเด็ก ให้อยู่ในระเบียบ รู้จักช่วยเหลือสภาพแวดล้อมและผู้อื่นคือ หัวใจหลัก เช่น การเดินเท้าเก็บขยะรอบๆ ชุมชน การฝึกให้อยู่ ในกระท่อมเล็กๆ ให้รู้ว่าที่จริงแล้วอยู่ได้อย่างสบายและสามารถ ท�ำความสะอาดง่ายภายใน 3 นาที การประกอบอาหารจากสิ่ง ที่มีอยู่ จากสิ่งที่ปลูก โดยแบ่งเด็กเป็น 2 กลุ่มจาก 36 คน กลุ่ม แรกไปหาวัตถุดบิ ประกอบอาหาร กลุม่ ทีส่ องไปตัดใบตองผึง่ แดด ท�ำถ้วยชาม และการฝึกสมาธิเรียนรู้การสัมผัสกับธรรมชาติสิ่ง แวดล้อม รู้จักพอใจและเห็นคุณค่าในที่ท่ีตนเองอาศัยอยู่ ทั้งหมด

อุ ดมคติ

สิ่งที่ขวัญชัยท�ำสานต่อมาจากประสบการณ์จิตอาสาที่ วัดไทยในลอนดอนกว่า 3 ปี ท�ำให้เขาอยากเห็นบ้านเมืองที่หยิบ ยื่นให้กันอย่างจริงใจ เดิมทีเขาตั้งใจกลับไทยเพื่อลงเล่นการเมือง หวังเปลี่ยนผู้ใหญ่ แต่เมื่อตรองดูแล้วเกินก�ำลังที่จะท�ำได้ เขา จึงเลือกเปลี่ยนที่เด็ก จ�ำลองหมู่บ้านตามแนวทางของ รัชกาล ที่ 9 เรียนรู้วิถีความเป็นไทยซึ่งเคยเป็นมาแล้วในอดีตก่อนจะ เกิดวลี “พอเพียง” คนไทยด�ำรงชีวิตด้วยความพอเพียงมาช้า นานแล้วก่อนจะเปลี่ยนไปในปัจจุบัน, ต่างกันตรงที่ การเรียน รู้ความเป็นไทยของขวัญชัย ต้องใช้ภาษาอังกฤษเท่านั้น นี่คือ เมืองจ�ำลองของเขา ภายใต้ความรู้สึกที่ว่า “พระองค์ไม่เคยสิ้น ส�ำหรับเรา”

ข้อมู ลติดต่อ

หมู ่ บ ้ า นนานาชาติ เ ปรมปรี ดี (Prampredee International Eco Village) มูลนิธิเปรมปรีดี ก่อตั้งปี 2561 โครงการ ‘ฝึกภาษา ท�ำความดี ในวิถีพอเพียง’ 401 หมู่ 16 บ้านทุ่งสว่าง ต�ำบลล�ำพาน อ�ำเภอเมือง กาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ 46000 โทร: 099-446-2654, Intragram: Prampredee, Facebook page: Prampredee 69 issue 139 AUGUST 2019


70 IS AM ARE www.porpeang.or.th


พอเพียง วัดกันที่ตรงไหน

พูดถึงค�ำว่าพอเพียงกับการด�ำเนินชีวิต หรือความเป็น อยู ่ อ ย่ า งพอเพี ย ง หลายท่ า นคงจะเกิ ด ค� ำ ถามขึ้ น มาในใจว่ า แล้วอย่างไรล่ะถึงจะเรียกว่าอยู่อย่างพอเพียง หรือแค่ไหนถึง จะเรียกว่าพอประมาณ เอาเกณฑ์อะไรมาวัด พอเพียงของฉัน กับพอเพียงของเธอต้องเท่ากันหรือไม่ เทคนิคอย่างหนึ่งในการตอบค�ำถามลักษณะว่าใช่หรือ ไม่ใช่ เป็นหรือไม่เป็นนี้ ก็คือดูว่า อะไรที่ไม่ใช่บ้าง อะไรที่ไม่ เป็นบ้าง การเห็นสิ่งที่ไม่ใช่หรือสิ่งที่ไม่เป็นชัดเจนมากเท่าใด ก็ จะสามารถรู้และเข้าใจสิ่งที่ใช่ หรือสิ่งที่เป็นชัดเจนมากยิ่งขึ้น เท่านั้น การตั้ ง ค� ำ ถามใหม่ ว ่ า การอยู ่ อ ย่ า งไรถึ ง เรี ย กว่ า ไม่ พอเพียง อาจจะท�ำให้ตอบได้ง่ายขึ้นกว่าเดิม การพิจารณาว่า พอหรือไม่พอนั้น เกิดจากการเปรียบเทียบระหว่างสิ่งที่สัมพันธ์ กัน หรือระหว่างการกระท�ำที่สัมพันธ์กัน ยกตัวอย่างเช่น ในเรื่อง ร่างกาย คือการกินการถ่ายสมดุลกันหรือไม่ กินมากไปโดยไม่ ถ่ายหรือถ่ายน้อยก็มีปัญหา เกิดการสะสมของเสียเกิดโรค กิน น้อยไปหรือไม่กินเลยขณะที่ร่างกายต้องถ่ายของเสียตามปกติ ก็มีปัญหา ร่างกายอ่อนแอขาดภูมิคุ้มกันโรค (ไม่จ�ำกัดเฉพาะที่ เป็นการถ่ายหนักถ่ายเบา แต่ยังรวมการถ่ายของเสียทางเหงื่อ ทางลม ทางความร้อน ตามธาตุดิน น�้ำ ลม ไฟ) หรือถ้าเป็น ในเรื่องเศรษฐกิจ คือการเปรียบเทียบปริมาณหรือมูลค่าการ ผลิตและการบริโภค ว่ามีผลผลิตพอต่อการบริโภคหรือไม่ หรือ มีรายรับที่ได้จากการจ�ำหน่ายผลผลิตพอต่อรายจ่ายที่ต้องใช้ บริโภคหรือไม่ จะเห็นว่าความไม่พอเพียงในทางเศรษฐกิจ คือ ตัวชี้วัด ที่แสดงความไม่สมดุลระหว่างการผลิตและการบริโภคที่เกิดขึ้น

ทั้ ง การยื น ด้ ว ยการเขย่ ง หรื อ ด้ ว ยการย่ อ เป็ น การ เปรี ย บเที ย บให้ เ ห็ น ภาพได้ อ ย่ า งชั ด เจนมากต่ อ การ ใช้ ชี วิ ต ที่ ไ ม่ พ อเพี ย ง ไม่ เ หมาะสมกั บ อั ต ภาพของ ตนเอง สั ง คมทุ ก วั น นี้ มี ผู ้ ที่ ยื น ด้ ว ยการเขย่ ง หรื อ ย่ อ อยู ่ ม ากมาย ก็ อ ยากจะตะโกนถามกั น ให้ ดั ง ๆ ว่ า เมื่ อ ยขากั น หรื อ ยั ง ครั บ จากปริมาณการผลิตที่น้อยเกินไป โดยที่มูลค่าการผลิตมีปริมาณ น้อยกว่าค่าใช้จ่ายการบริโภค เป็นคนที่มีรายรับน้อยกว่าราย จ่ายหรือมีรายได้จากการผลิตน้อยกว่าค่าใช้สอยในการบริโภค และจัดอยู่ในข่ายที่ยังไม่สามารถพึ่งตนเองหรือยืนอยู่บนขาของ ตนเองได้ จ�ำเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือจากผู้อื่น ต้องพึ่งพา ปัจจัยจากภายนอกอยู่ตลอดเวลา ซึ่งหากไม่พยายามลดปริมาณ การบริโภคลง หรือเพิ่มขีดความสามารถในการสร้างมูลค่าการ ผลิ ต เพิ่ ม ขึ้ น ก็ จ ะต้ อ งกู ้ ห นี้ ยื ม สิ น มาเพื่ อ ใช้ ใ นการบริ โ ภคไป เรื่อยๆ จนถึงขั้นล้มละลายในที่สุด นอกเหนือจากความไม่พอเพียงที่เกิดจากมูลค่าการผลิต มีปริมาณน้อยกว่าค่าใช้จ่ายการบริโภคแล้ว ความไม่พอเพียงยัง รวมถึงกรณีของความไม่สมดุลระหว่างการผลิตและการบริโภค ที่เกิดขึ้นจากปริมาณการบริโภคที่น้อยเกินไป เป็นคนที่มีความ ตระหนี่ถี่เหนียวในการใช้สอย พยายามเก็บออมมูลค่าการผลิต ส่วนเกินนั้นไว้ โดยมิได้ก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งต่อตนเองและ ผู้อื่นตามที่ควรจะเป็น 71

issue 139 AUGUST 2019


การตั้ ง ค� ำ ถามใหม่ ว ่ า การอยู ่ อ ย่ า งไรถึ ง เรี ย กว่ า ไม่ พ อเพี ย ง อาจจะท� ำ ให้ ต อบได้ ง ่ า ยขึ้ น กว่ า เดิ ม การพิ จ ารณาว่ า พอหรื อ ไม่ พ อนั้ น เกิ ด จากการ เปรี ย บเที ย บระหว่ า งสิ่ ง ที่ สั ม พั น ธ์ กั น หรื อ ระหว่ า ง การกระท� ำ ที่ สั ม พั น ธ์ กั น ยกตั ว อย่ า งเช่ น ในเรื่ อ ง ร ่ า ง ก า ย คื อ ก า ร กิ น ก า ร ถ ่ า ย ส ม ดุ ล กั น ห รื อ ไ ม ่ กิ น มากไปโดยไม่ ถ ่ า ยหรื อ ถ่ า ยน้ อ ยก็ มี ป ั ญ หา เกิ ด การสะสมของเสี ย เกิ ด โรค

ในประเด็ น เรื่ อ งความไม่ พ อเพี ย งนี้ คุ ณ จิ ร าพร เอี่ยมสมบูรณ์ ได้แสดงทัศนะผ่านทางบทความที่ส่งมายังคอลัมน์ พอเพียงภิวัตน์ ต่อค�ำถามของการด�ำรงชีวิตอย่างไร ถึงจะเรียก ว่า “อยู่อย่างพอเพียง” ไว้อย่างน่าสนใจว่า “…การประกอบ อาชีพที่ซื่อสัตย์สุจริต ด�ำรงชีวิตด้วยการพึ่งพาตนเอง เปรียบ เสมือนการยืนบนขาตนเอง โดยไม่เขย่งหรือย่อ การยืนอยู่บนขา ของตนเองด้วยการเขย่ง เป็นการด�ำรงชีวิตที่ไม่มีความสุข ยึดติด กับวัตถุ ค่านิยม สังคมที่ฟุ้งเฟ้อ จนเกินฐานานุรูปแห่งตน ไม่รู้ จักประมาณตนเอง มีกิเลสตัณหาทะยานอยากไม่สิ้นสุด เต็มไป ด้วยความไม่รู้จักพอ ไม่พอใจในสิ่งที่ตนเองมีอยู่ ขาดความพอดี เป็นลักษณะของการเลียนแบบผู้อื่นที่เห็นว่าเขามีสิ่งใดแล้ว เรา ต้องมีเหมือนเขาบ้าง ไม่เช่นนั้นจะรู้สึกว่าเป็นผู้ต�่ำต้อย ด้อยกว่า ผู้อื่น เดี๋ยวเขาหาว่าไม่ใช่พวกเดียวกัน เป็นพวกแปลกแยก กลัว เข้าสังคมกับเขาไม่ได้ กลัวคนอื่นเขาว่า กลัวคนอื่นเขาดูถูก หรือ กลัวอะไรต่อมิอะไรอย่างอื่นอีกสารพัด ตามแต่ละปัจเจกบุคคล จะมีความคิดเห็นไปตามทัศนคติ ความเชื่อถือ ความยึดมั่นถือ มั่นแห่งตน ประสบการณ์ สติปัญญา ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะใช้เป็นข้อ อ้างที่จะน�ำเอามาเป็นเหตุผลสนับสนุนให้ความต้องการแห่ง ตนได้รับการตอบสนองในสิ่งที่ตนเองปรารถนา หรือตามความ ต้องการในการอยากมีอยากได้ เป็นไปตามกิเลสตัณหาทะยาน อยากแห่งตน

ส่วนการยืนอยู่บนขาของตนเองด้วยการย่อ เป็นการ ด�ำรงชีวิตที่ไม่มีความสุขอีกเช่นกัน เป็นชีวิตที่แห้งแล้ง ขาดความ พอดี พอเหมาะพอประมาณ ยึดมั่นถือมั่นหรือ ประหยัดจนเกิน เหตุ ไม่สมฐานานุรูปแห่งตน อยู่อย่างล�ำบากยากไร้ แต่มีอันจะ กิน หรือมีแต่ไม่ใช้ เป็นลักษณะที่ไม่สนใจใคร ไม่สนใจใครว่า จะถูกมองอย่างไร ตรงกันข้ามกับการด�ำรงชีวิตที่ยืนอยู่บนขา ตนเองด้วยการเขย่ง…” ทั้งการยืนด้วยการเขย่งหรือด้วยการ ย่อ เป็นการเปรียบเทียบให้เห็นภาพได้อย่างชัดเจนมากต่อการ ใช้ชีวิตที่ไม่พอเพียง ไม่เหมาะสมกับอัตภาพของตนเอง สังคมทุก วันนี้ มีผู้ที่ยืนด้วยการเขย่งหรือย่ออยู่มากมาย ก็อยากจะตะโกน ถามกันให้ดังๆ ว่า เมื่อยขากันหรือยังครับ 72

IS AM ARE www.porpeang.or.th


นอกเหนือจากที่แต่ละคนจะพิจารณาต่อสภาพการยืนของตนเองได้อย่างเหมาะสมแล้ว อย่าลืมว่า เรามิได้ยืนอยู่คนเดียว บนโลกใบนี้ หากแต่ยังมีผู้ที่ยืนอยู่ข้างๆ อีกมากมาย สิ่งที่ควรถามต่อไปอีกขั้นหนึ่ง ก็คือ เรามายืนกอดคอกันดีมั๊ย ต่างคนต่างค�ำนึง ถึงซึ่งกันและกัน ใครที่ยืนได้มั่นกว่าก็มากอดคอพยุงผู้ที่ขายังมีก�ำลังไม่แข็งแรงพอที่จะยืนได้ด้วยตัวเอง ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน น�ำไป สู่การพึ่งพิงอิงกัน (Inter-dependent) มีความสามัคคีที่จะเดินไปด้วยกัน เริ่มจากคนไทยด้วยกันเองนี่แหละ ยังไม่ต้องคิดไกลไป กอดคอกับคนในบ้านอื่นเมืองอื่น หากเราปฏิบัติได้ สังคมไทยก็จะน่าอยู่ขึ้นอีกเยอะ อย่ามาให้ต่างชาติเขานินทาได้ว่า คนไทยเรา เต่าเหม็นจนกอดคอสามัคคีกันไม่ได้ Sufficiency Economy Initiative

73 issue 139 AUGUST 2019


“เพียงพอ ก็พอเพียง” 5 หลักด�ำเนินชีวิต ที่พ่อทิ้งไว้

ในปี พ.ศ. 2549 เป็นปีที่ฉันให้ก�ำเนิดลูกสาวคนเดียวของ ฉัน ก่อนคลอด…ฉันคิดตั้งชื่อลูกไว้ไม่กี่ชื่อ โดยมีจุดมุ่งหมายเดียว คือ…อยากให้มีชื่อที่เรียบง่าย เข้าใจได้เลย ไม่ต้องเปิดต�ำราหา ค�ำแปล เพราะฉันอยากให้ลูกมีชีวิตที่เรียบง่ายเหมือนชื่อ แต่ก็ยังไม่ฟันธงว่าจะใช้ชื่อใด เพราะแม่ของฉันค่อน ข้างให้ความส�ำคัญกับการใช้พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ที่ถูก ต้องตรงตามต�ำราอันเป็นมงคลกับชีวิตตามวันเกิด ดังนั้นจึง ต้องรอให้ทราบวันคลอดที่แน่ชัดก่อน จึงจะเลือกได้ว่าควรจะ ใช้ชื่อใด หนึ่งในชื่อไม่กี่ชื่อ และเป็นล�ำดับต้นๆ ที่ฉันคิดขึ้นมาได้ เลยคือ ค�ำว่า “เพียงพอ” ฉันชอบค�ำนี้ตั้งแต่แรกคิด และแอบ 74 IS AM ARE www.porpeang.or.th


ลุ้นอยู่ลึกๆ ว่าอยากให้ลูกเกิด ในวันที่ชื่อนี้เป็นมงคลสอดคล้อง ต้องตามต�ำราดังแม่ว่า ว่ากันง่ายๆ คืออยาก “เกิดตามชื่อ” ไม่ใช่ “เกิดก่อน แล้วชื่อตามมา” คงไม่ต้องเดาว่าท�ำไมฉันถึงคิดค�ำนี้ขึ้นมาได้ ตลอดชีวิตของฉัน ฉันมักจะได้ยินเรื่องราว “การท�ำงานของ ในหลวง” อยู่อย่างสม�่ำเสมอ ไม่ ม าจากทางข่ า วสารบ้ า นเมื อ ง สารคดี ก็ เ ป็ น การ เคลื่อนไหวต่างๆ ในชุมชน ข่าวในพระราชส�ำนัก ฉันได้ยินค�ำ ว่า “แนวพระราชด�ำริปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ฉันได้ยิน ค�ำว่า “โครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง” ฉันได้ยินค�ำว่า “โครงการพระราชด�ำริเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙” และอีกมากมายที่มีค�ำว่า “เศรษฐกิจ พอเพียง” สิ่งที่ฉันคิดต่อยอดมาจากค�ำๆ นั้นคือ “เพียงรู้จักพอ… ก็พอเพียง” และฉันก็ได้ให้ก�ำเนิดลูกในวันที่แม่ของฉันบอกฉัน ว่า…ทุกพยัญชนะ ทุกสระในค�ำว่า “เพียงพอ” เป็นมงคลเหลือ เกินส�ำหรับชีวิตลูก เป็นบุญแท้! ไม่มีตัวอักษรหรือสระใดไม่ ควรใช้ และเมื่อรวมกันเป็นตัวเลขตามต�ำราปฏิทิน 100 ปี ถือว่า นั่นคงพอบอกเป็นนัยๆ ว่า…ชื่อของลูก จะแทนค�ำมั่น เป็นตัวเลขที่ดีที่สุด มีความสมบูรณ์ที่สุด ไม่มีชื่อใดดีเท่านี้อีก สัญญาที่ฉันมีต่อแผ่นดิน จะคอยเตือนตัวเองและลูกให้ร�ำลึกถึง แล้ว การใช้ชีวิตด�ำเนินตามรอยพระราชด�ำริ เพื่อความสุขอันยั่งยืน ของชีวิต และใช้เป็นรากฐานด�ำเนินชีวิตให้เจริญรุ่งเรืองต่อไป อนาคต ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ เป็นแนวพระราชด�ำริที่พระราชทาน มานานกว่า 30 ปี เป็นแนวทางการพัฒนาขั้นพื้นฐานที่ตั้งอยู่ บนทางสายกลาง อยู่ในความไม่ประมาท โดยค�ำนึงถึงความพอ ประมาณ ความมีเหตุมีผล การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเอง ตลอด จนการใช้ความรู้และคุณธรรมเพื่อเป็นพื้นฐานในการด�ำเนินชีวิต ซึ่งต้องมี “สติ ปัญญา และความเพียร”. เป็นที่ตั้ง แล้วจะน�ำพา ชีวิตไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง

ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียงที่แท้จริง

ในครั้งแรกฉันยังไม่เข้าใจความหมายของ “เศรษฐกิจพอ เพียง” มากนัก หลายคนคิดเพียงว่าหมายถึง “ความประหยัด” เพียงอย่างเดียว แต่โดยความหมายที่แท้จริงแล้ว ประกอบไป ด้วยคุณสมบัติเหล่านี้คือ 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อย เกินไปและไม่มากจนเกินไป โดยไม่ไปเบียดเบียนตนเองและผู้ อื่น ไม่ใช่หมายถึงกระเบียดกระเสียรจนเกินพอดี แต่สามารถ

75 issue 139 AUGUST 2019


นั่ น ยิ่ ง ท� ำ ให้ ฉั น เห็ น ถึ ง พระปรี ช าสามารถและพระ อัจฉริยะภาพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 พระ ราชด�ำริของพระองค์มิใช่เกิดจากสายพระเนตรเพียงด้านเดียว แต่ครอบคลุมกันเป็นวงกลม ซึ่งเราสามารถน�ำไปปรับใช้ได้หมด ตั้งแต่ในครอบครัว ไปจนถึงองค์กรใหญ่ระดับประเทศ ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงที่แฝงไปด้วยหลักธรรมาภิบาล เต็มเปี่ยมไป ด้วยคุณธรรมตามหลักศาสนาพุทธ ฉันขอไม่กล่าวถึงการน�ำไปใช้ในองค์กรอื่นๆ แต่ฉันจะ กล่าวถึงสิ่งที่ฉันจับต้องได้ และสามารถน�ำมาปรับใช้ในชีวิต ประจ�ำวันของตัวฉันเอง การด�ำเนินชีวิตตามแนวพระราชด�ำริเศรษฐกิจพอเพียง ท�ำได้ทุกครอบครัว ทุกฐานะ ท�ำได้เลย และท�ำได้ง่ายดาย โดยที่ ไม่ต้องอาศัยองค์ความรู้ใดๆ มากมาย สิ่งเดียวที่เราทุกคนต้อง ก า ร ด� ำ เ นิ น ชี วิ ต ต า ม แ น ว พ ร ะ ร า ช ด� ำ ริ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ มีคือ “จิตส�ำนึก” พระองค์สอนให้เราท�ำ “เพื่อตัวเราเอง” ท�ำ พอเพี ย ง ท� ำ ได้ ทุ ก ครอบครั ว ทุ ก ฐานะ ท� ำ ได้ เ ลย และ “เพื่อสร้างความเจริญให้ชีวิตเราเอง” หลักการง่ายๆ ก็คือ 1. ยึดหลักความประหยัดตัดทอนค่าใช้จ่ายที่ไม่จ�ำเป็น ท� ำ ได้ ง ่ า ยดาย โดยที่ ไ ม่ ต ้ อ งอาศั ย องค์ ค วามรู ้ ใ ดๆ มากมาย สิ่ ง เดี ย วที่ เ ราทุ ก คนต้ อ งมี คื อ “จิ ต ส� ำ นึ ก ” ลดละความฟุ ่ ม เฟื อ ยในการใช้ ชี วิ ต แต่ ล ะครอบครั ว ล้ ว นมี พระองค์ ส อนให้ เ ราท� ำ “เพื่ อ ตั ว เราเอง” ท� ำ “เพื่ อ ความจ�ำเป็นแตกต่างกันไป ควรพิจารณาให้รอบคอบ และใช้ ให้เหมาะสม สร้ า งความเจริ ญ ให้ ชี วิ ต เราเอง” 2. ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง ด�ำรงชีพ ด้วยความสุจริต 3. ละเลิกในการแก่งแย่งผลประโยชน์ และการแข่งขัน ฟุ่มเฟือยได้เป็นครั้งคราวตามอัตภาพ ซึ่งอยู่บนพื้นฐานของการ ในทางการค้า หลีกเลี่ยงความรุนแรง เพื่อให้ได้ซึ่งความส�ำเร็จ พึ่งพาตนเอง ไม่สร้างความเดือดร้อนให้ตัวเองและผู้อื่น 2. ความมีเหตุผล หมายถึง ระดับความพอเพียงของ จากความเห็นแก่ตัว 4. ไม่หยุดนิ่งที่จะหาทางน�ำพาชีวิตให้พ้นจากความทุกข์ เรา จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุมีผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัย ที่เกี่ยวข้องรอบด้าน รวมไปถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระ ยากด้วยการขวนขวายหาความรู้และเพิ่มพูนรายได้ จนไปถึงซึ่ง ค�ำว่า “พอเพียง” ท�ำนั้นๆ ต้องผ่านการตัดสินใจอย่างรอบคอบเสมอ 3. ภู มิ คุ ้ ม กั น หมายถึ ง การเตรี ย มตั ว ให้ พ ร้ อ มรั บ ผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้น โดยค�ำนึงถึง ความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน อนาคต พูดง่ายๆ ว่า “การเตรียมรับมือกับผลที่เกิดขึ้น” โดย ยึดหลักเงื่อนไขของการตัดสินใจในการด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ 2 ประการดังนี้ เงื่อนไขความรู้ นั่นคือ เราต้องมีความรู้ในด้านนั้นๆ และมี ค วามรอบคอบที่ จ ะน� ำ ความรู ้ เ หล่ า นั้ น มาพิ จ ารณาให้ เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน เพื่อจะได้ระมัดระวัง ในการปฏิบัติ เงื่อนไขคุณธรรม นั่นคือ ความตระหนักในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต มีความอดทน มีความเพียร เพื่อใช้สติปัญญา ในการด�ำเนินชีวิต 76 IS AM ARE www.porpeang.or.th


ฉั น สอนลู ก เสมอว่ า “แม้ ลู ก จะเติ บ โตมา และพลาด โอกาสที่จะได้เห็นพระจริยวัตรอันงดงามของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ ซึ่งมีมากมายหลายพันโครงการ มิ เพียงพระราชด�ำริ ยังรวมถึงพระราชด�ำรัส และภาพของการ พระราชด�ำเนินไปดูแลไพร่ฟ้าประชาชนในทั่วทุกสารทิศ ที่แม้แต่ ตัวเราเองก็ยังไปไม่ถึง แทบทุกตารางนิ้วของผืนแผ่นดินไทย ล้วน ผ่านสายพระเนตรของพระองค์มาแล้วทั้งสิ้น ลูกไม่มีโอกาสได้ เห็น แต่ลูกก็รับรู้ได้จากสารคดี จากค�ำบอกเล่าของพ่อแม่ และ ซึมซับความจงรักภักดีโดยไม่มีเงื่อนไขใด” อย่างน้อยๆ สิ่งที่ยังอยู่เสมอ มิใช่แค่ในความทรงจ�ำของ ลูก คือ “ชื่อของลูก” ชื่อที่จะติดตัวลูกไปตราบเท่าชีวิตของลูก เอง เพื่อตอกย�้ำให้ลูกระลึกอยู่เสมอว่า “ค�ำสอนของพ่อ จะอยู่ กับลูกเสมอ” มงคลชีวิตที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตั้งแต่วันที่ลูกเกิดมา คือ “การได้เกิดมาเป็นข้ารองบาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙” พ ร ะ ผู ้ เ ส ด็ จ สู ่ ส ว ร ร ค า ลั ย น ้ อ ม ส� ำ นึ ก ใ น พ ร ะ มหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นอันหาที่สุดมิได้ ข้าพระพุทธเจ้า…ว.แหวนและครอบครัว ด.ญ. เพียงพอ ศุภมาตย์ ขอขอบคุณข้อมูลบางส่วนจาก www.raiporjai.com

5. ปฏิบัติตนในทางที่ดี ลดละสิ่งชั่ว ด�ำรงตนตามหลัก ค�ำสอนของศาสนา หลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ จึงเป็นหลักพื้นฐานของการพึ่งพา ตนเอง เป็นแนวทางที่ให้เราทุกคนบนผืนแผ่นดินไทย ด�ำเนิน ตามวิถีแห่งการด�ำรงชีพอย่างสันติสุข โดยมีธรรมะเป็นเครื่องยึด เหนี่ยวจิตใจ ซึ่งก็คือ วิถีชีวิตไทย ที่ยึดทางสายกลางของความ พอดี เมื่อเกิดความพอดีขึ้นในบ้าน และหากน�ำไปปฏิบัติใช้ในทุกองค์กร ในสังคม ก็ย่อมเกิด ความพอดีในทุกๆ เรื่อง ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม ชีวิตความเป็น อยู่ เทคโนโลยี ต่อให้พัฒนาไปไกลแค่ไหน ก็เกิดความสมดุลและ สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม ที่ส�ำคัญ! เป็นภูมิคุ้มกันให้เราทุกคน สร้างความพอดีให้ จิตใจ ผ่านทุกๆ ปัญหาไปได้ด้วยดี และยังสามารถด�ำรงอยู่ซึ่ง สังคมวัฒนธรรมไทยได้โดยไม่เสื่อมถอย ฉันรู้สึกว่าตัวเองและครอบครัว มีบุญเหลือเกินที่ได้เกิด อยู่ภายใต้ร่มพระบารมี มิเพียงแค่ชื่อ “เพียงพอ” ที่ฉันตั้งให้ลูก แต่เพราะชื่อนี้…ท�ำให้ฉันศึกษาและเข้าใจความหมายของการ ด�ำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพ่อ อย่าง ถ่องแท้ยิ่งขึ้น 77

issue 139 AUGUST 2019


I CAN DO CPR

กิจกรรมอบรมสร้างจิตอาสา I CAN DO CPR การปฐมพยาบาลเยื้องต้น และการดูแลผู้สูงอายุ วันเสาร์ท่ี 24 สิงหาคม 2562 ณ โรงเรียนยานนาเวศวิทยาคม

78 IS AM ARE www.porpeang.or.th


Round About

79 issue 139 AUGUST 2019


พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ระหว่าง มู ลนิธิครอบครัวพอเพียง กับ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุ รีรัมย์

พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ระหว่าง มูลนิธิครอบครัวพอเพียง กับ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ วันอังคาร ที่ 13 สิงหาคม 2562 เวลา 09:00-11:30 น. ณ ห้องประชุมสุพรรณิการ์ ชั้น 2 อาคารเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ โดยมีท่านรองผู้อ�ำนวยการฝ่ายวิชาการ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมโรงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคม และนักเรียนแกนน�ำศูนย์ครอบครัวพอเพียง โรงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคม ร่วมเป็นสักขีพยาน

80 IS AM ARE www.porpeang.or.th


81 issue 139 AUGUST 2019


82 IS AM ARE www.porpeang.or.th


เว็ปไซต์ของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง ท่านสามารถเข้ามาอ่านบทความ นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง หรือข่าวสารดีๆ ได้แล้ววันนี้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และท่านยังสามารถสมัครเป็นสมาชิ กของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง เพื่อรับข่าวสารจากทางมู ลนิธิครอบครัวพอเพียงได้ก่อนใคร โดยท่านสามารถสมัครเพื่อเป็นสมาชิ กได้ท่ี

www.porpeang.or.th 83 issue 139 AUGUST 2019


นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง พร้อมเสริพ์ให้ทุกท่านได้อ่านแล้ว!! เพี ย งแค่ ค ลิ ก เข้ า ไปที่ www.porpeang.or.th ท่ า นก็ ส ามารถอ่ า นนิ ต ยสาร IS AM ARE ครอบครั ว พอเพี ย ง ได้ โ ดยไม่ มี ค ่ า ใช้ จ ่ า ย เรื่ อ งราว สาระดี ๆ มากมายรอท่ า นอยู ่ หากอ่ า นแล้ ว ถู ก ใจอย่ า ลื ม บอกต่ อ นะครั บ 84 IS AM ARE www.porpeang.or.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.