IS AM ARE
จากเด็กเข็นผัก วินรับจ้าง สู่ ผู ้พิพากษา ลิขิตฟ้าหรือจะสู้มานะตน
วรวิทย์ เอี่ยมส�ำอางค์ “ผมถือว่าผมเป็นเกษตร”
รศ.ประวิตร พุ ทธานนท์
รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
2 IS AM ARE www.fosef.org
ความคิ ด นั้ น เป็ น แม่ บ ทใหญ่ ข องการพู ด และการกระท� ำ เพราะกิ จ ที่ จ ะท� ำ ค� ำ ที่ จ ะพู ด ทุ ก อย่ า งล้ ว นส� ำ เร็ จ มาจากความคิ ด การคิ ด ก่ อ นพู ด และก่ อ นท� ำ จึ ง ช่ ว ยให้ บุ ค คลสามารถยั บ ยั้ ง ค� ำ พู ด ที่ ไ ม่ ส มควร หยุ ด ยั้ ง การกระท� ำ ที่ ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ในพิ ธี พ ระราชทานปริ ญ ญาบั ต รของจุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย วั น ที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๔๐
3 issue 137 JUNE 2019
ฉบับนี้ ฝาก บทความ ส�ำหรับผู้สูงวัย นะคะ ผู้สูงวัยทุกคน ควรที่จะท�ำความเข้าใจและเตรียมตัวที่จะพบสิ่งต่างๆที่ก�ำลังจะเกิดขึ้น เพื่อว่าเมื่อเวลานั้นมาถึงเราจะได้ไม่ ต้องตกใจกลัวและพร้อมที่จะเผชิญหน้ากับมันนั่นคือ 1. จ�ำนวนคนรอบข้างในชีวิตคุณมีแต่จะลดลงตลอดเวลา คนรุ่นพ่อรุ่นแม่หรือปู่ย่าตายายนั้นส่วนใหญ่หนีหายกันไปหมด แล้วส่วนคนที่อยู่ในวัยเดียวกับคุณก็จะเริ่มประสบปัญหาในการดูแลตนเอง ในขณะที่คนรุ่นหลังรุ่นลูกหลานก็ก�ำลังง่วนกับชีวิตและ ความเป็นอยู่ของพวกเขาเอง แม้แต่คู่ชีวิตของคุณเองก็อาจจะจากไปก่อนคุณ หรือเร็วกว่าที่คุณคาดไว้ ซึ่งอาจท�ำให้คุณถูกทิ้งไว้อยู่ กับวันเวลาที่ว่างเปล่าคนเดียวก็เป็นได้ คุณจะต้องเรียนรู้ที่จะอยู่คนเดียวให้ได้และยอมรับพร้อมกับการรู้จักกับความเป็นสันโดษใน บั้นปลายของชีวิตที่จะต้องเกิดขึ้น 2. สังคมจะเริ่มให้ความส�ำคัญกับคุณน้อยลงไปเรื่อยๆ ไม่ว่าในอดีตคุณจะเคยยิ่งใหญ่หรือมีชื่อเสียงมากขนาดไหนก็ตาม ความ ชราจะเปลี่ยนคุณให้กลายเป็นเพียงชายแก่หรือหญิงแก่ธรรมดาคนนึงเท่านั้น สปอตไลท์จะหยุดฉายมาที่คุณ และคุณจะต้องหัดพอใจ กับการยืนอยู่ในมุมห้องหรือเงามืดอย่างเงียบๆ เพียงคนเดียวคุณต้องเรียนรู้ที่จะยอมรับและยินดีกับภาพที่เห็นอยู่ตรงหน้าคุณ โดย ปราศจากอาการอิจฉาริษยาหรือคับแค้นใจแต่อย่างใดทั้งสิ้น 3. ถนนสายที่หลืออยู่นั้นจะขรุขระและเต็มไปด้วยอันตรายต่างๆ ที่พร้อมจะเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา เช่นการแตกหัก เส้นเลือด ตีบตัน สมองฝ่อ หัวใจเต้นผิดจังหวะไธรอยด์เป็นพิษ อารมณ์แปรปรวน การหลงลืมหรือมะเร็ง เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ต่างล้วนจะเป็นแขกที่ไม่ได้รับเชิญของคุณได้ตลอดเวลา คุณจะต้องเรียนรู้ที่จะอยู่กับความเจ็บป่วย หรือแม้แต่ ยอมรับมันมาเป็นเพื่อน อย่าหวังว่าร่างกายคุณจะได้อยู่อย่างสุขสบายตลอดไป การมีจิตใจและความคิดเป็นบวก พร้อมทั้งการออก ก�ำลังกายอย่างเพียงพอ อย่างน้อยเดินวันละ 10,000 ก้าวเป็นประจ�ำ จะกลายเป็นภาระหน้าที่ของคุณ นอกจากนั้นคุณยังจะต้อง คอยกระตุ้นตัวเองให้ปฏิบัติอย่างต่อเนื่องและสม�่ำเสมอด้วย 4. เตรียมพร้อมส�ำหรับการใช้ชีวิตติดเตียงและการกลับสู่สภาพทารกแรกเกิด เราทุกคนต่างเคยอยู่บนเตียงเมื่อตอนที่แม่ของ เราน�ำเรามาสู่โลกนี้ และหลังจากการเดินทางผจญภัยและการต่อสู้อันยาวนานในชีวิตแล้ว เราทุกคนก็จะกลับมาสู่จุดเริ่มต้นเดิมอีกครั้งนึง เราจะถูกดูแลโดยคนอื่นเหมือนเมื่อแรกเกิด สิ่งที่แตกต่างกันก็คือครั้งนั้นเรา เคยมีแม่เป็นผู้ดูแล ด้วยความรักอย่างสุดหัวใจแต่เมื่อใกล้วันที่เราจะจากโลกนี้ไปเราอาจไม่มีญาติที่ใกล้ชิดมาดูแลเราก็ได้ และหาก คุณเป็นผู้โชคดีที่มีญาติมาคอยดูแล ก็คงเทียบไม่ได้กับความอาทรและความเอาใจใส่ที่คุณเคยได้รับจากแม่ของคุณมีความเป็นไปได้ที่ คุณอาจจะถูกดูแลโดยพยาบาลที่แม้จะมีรอยยิ้มบนใบหน้า แต่จิตใจของเธออาจจะมีแต่ความเหนื่อยหน่ายในขณะปฏิบัติหน้าที่อันน่า เบื่อหรือแสนจะจ�ำเจนั้น คุณจงฝึกนอนนิ่งๆ อย่าจู้จี้ขี้บ่น อย่าท�ำตัวให้เป็นที่ล�ำบากของคนอื่น จงรู้สึกพอใจในสิ่งที่คุณได้รับ 5. จงพร้อมที่จะพบกับสิ่งหลอกลวงต่างๆ ที่คุณมักเจอ คนส่วนใหญ่รู้ว่าผู้สูงอายุนั้นมักจะมีทรัพย์สินเงินทองที่เก็บสะสมมา ตลอดชีวิต และพวกเขาก็จะพยายามทุกวิถีทางที่จะหลอกเอาเงินและทรัพย์สินต่างๆนั้นจากคุณให้ได้ ไม่ว่าจะมาหลอกซึ่งหน้า การ ส่งข้อความ SMS ส่งอีเมล์หรือโซเชียลมีเดียต่างๆ หรืออาจมีตัวอย่างสินค้ามาให้ลอง โดยบอกว่าจะช่วยชะลอความแก่ หรือท�ำให้ คุณอายุยืนขึ้น หรืออาจจะเป็นโครงการออมทรัพย์ที่จะเพิ่มความร�่ำรวยให้กับคุณอย่างรวดเร็ว เป็นต้น โดยพื้นฐานแล้ว สิ่งที่คนเหล่านี้ต้องการก็คือใช้ทุกวิถีทางเพื่อที่จะฉกเงินในกระเป๋าคุณให้ได้เท่านั้น ~ ดังนั้นคุณต้องระวังและรู้ให้เท่าทัน อย่าได้หลวมตัวหรือหลงเชื่อหลวมตัวเมื่อไหร่เงินและทรัพย์สินที่คุณสะสมไว้จะแยก ทางกับคุณทันที ~ ช่วงสุดท้ายของการเดินทางของคุณจะค่อยๆสว่างน้อยลงไปเรื่อยๆ จึงเป็นธรรมดาที่คุณเริ่มจะมองเห็นทางเดินข้างหน้า ไม่ชัดและรู้สึกล�ำบากที่จะก้าวเดินหน้าต่อไปเรื่อยๆ ดังนั้นผู้สูงวัยทุกคน จงมองชีวิตตามความเป็นจริงของมัน พอใจในสิ่งที่ได้รับและ ยินดีกับสิ่งที่มีอยู่ ใช้ชีวิตให้สนุกขณะที่ยังท�ำได้ และที่ส�ำคัญอย่าเอาเรื่องยุ่งเหยิงของสังคม เรื่อง การเมืองแม้แต่เรื่องของลูกๆหรือหลานๆ มาเป็นปัญหาของตนเอง จงใช้ชีวิตอย่างเจียม เนื้อเจียมตัวและเรียบง่าย อย่าแสดงตัวว่าเก่งเพราะคิดว่ามีประสบการณ์สูงและผ่านอะ ไรๆ มามาก อย่าดูถูกผู้อื่นเพราะที่สุดแล้วมันจะท�ำให้คุณเจ็บเองเจ็บมากพอๆกับที่คุณท�ำให้ ผู้อื่นเจ็บ เมื่ออายุยิ่งมากคุณยิ่งต้องให้ความส�ำคัญกับการอ่อนน้อมและเคารพต่อผู้อื่น ควรท� ำ ความรู ้ จั ก กั บ การปล่ อ ยวาง รู ้ จั ก ว่ า ชี วิ ต คนเรานั้ น เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ ธรรมชาติ ควรปล่อยให้มันเดินไปตามจังหวะและทิศทางของมัน จงใช้ชีวิตที่เหลืออย่าง สงบ สุขุม พอเพียง…ต่อการเป็นผู้สูงวัย
4 IS AM ARE www.fosef.org
Contributors
มู ลนิธิครอบครัวพอเพียง
พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง ประธานโครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชน คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์ นายธนพร เทียนชัยกุล นายณัฐเสกข์ น้อยสมบูรณ์ นายภูวนาถ เผ่าจินดา นางอริยสิริ พิพัฒน์นรา นางสาวเอื้อมพร นาวี ผศ.ดร.ปรีชาพร สุวัฒโนดม นายเอกรัตน์ คงรอด นายอภีม คู่พิทักษ์ นายกมลเศรษฐ์ เก่งการเรือ นายธงชัย วรไพจิตร
ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการและเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและเหรัญญิก กรรมการและผู้ช่วยเหรัญญิก กรรมการ กรรมการ
ดร.เชิดศักดิ์ ดร.กัมปนาท ดร.นฤมล ดร.อ�ำนาจ ดร.ชลพร ดร.กาญจนา ดร.ปิยฉัตร ดร.คุณานันท์
Let’s
Start
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์
ศุภโสภณ บริบูรณ์ พระใหญ่ วัดจินดา กองค�ำ สุทธิเนียม กลิ่นสุวรรณ ทยายุทธ
and Enjoy!
ส�ำนักงาน :
โทรศัพท์ : โทรสาร : เว็ปไซต์ :
5 issue 137 JUNE 2019
นิตยสารครอบครัวพอเพียง 663 ซอยพหลโยธิน 35 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 0 2939 5995 0 2939 5996 www.fosef.org
Hot Topic
8
เกร็ดการทรงงาน
28
ความยากจนไม่ใช่ อุ ปสรรคของการเข้า ถึงการศึกษา ชั ยณรงค์ กัจฉปานันท์
14
ความส�ำคัญของพระราชพิธี บรมราชาภิเษก ่ ค�ำเกียวกับพระราชพิธีบรมราชาภิเษก
Don’t miss
42
74 68 6 IS AM ARE www.fosef.org
40 70
Table Of Contents
รศ.ประวิตร พุ ทธานนท์ รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลตะวันออก
7 issue 137 JUNE 2019
เกร็ดการทรงงาน กปร. หน่วยประสานงานที่ส�ำคัญยิ่ง เรียบเรียงจากบทสัมภาษณ์ พลเอกเปรม ดิณสูลานนท์ ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ cover story “ผมถือว่าผมเป็นเกษตร” รศ.ประวิตร พุทธานนท์ รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลตะวันออก SDGs คืออะไร Cartoon บทความพิเศษ จากเด็กเข็นผัก วินรับจ้าง สู่ ผู้พิพากษา ลิขิตฟ้าหรือจะสู้มานะตน วรวิทย์ เอี่ยมส�ำอาง บทความมูลนิธิชัยพัฒนา การน�ำความรู้ไปใช้ของผู้เข้ารับอบรม จากอุทยานการอาชีพชัยพัฒนา Let’s Talk “สิรินุช ฉิมพลี ผ่านวิกฤติสู้ชีวิต ด้วยปลากัดส่งออก เริ่มต้นจากความไม่รู้ สู่ชื่อเสียงที่โด่งดัง ไปทั่วโลก” ภาพเล่าเรื่อง อาชีพทางเลือก “ชยพล สุ่ยหล้า ลูกชาวนาดีกรีปริญญาโท ลาออกจากงานประจ�ำ ไปท�ำเพื่อบ้านเกิด ด้วยถั่ว ลิสง ซูโม่แฟมิลี่” บทความพิเศษ “ศิลปินภาพเหมือนด้วยสองมือ” อัมพาตเกือบทั้งตัว เหลือเพียงแขนวาดสู้โชคชะตา!! ความเป็นคน ความเป็นครู “ความรู้สึกที่มีต่อลูกศิษย์ กับสิ่งที่ครูตั้งใจให้เขา” ครูพรพิมล ค�ำนวณศิลป์ 70 เส้นทางตามรอยพระบาท โดย ททท. ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงปังค่าจังหวัดพะเยา Round About
8
10
16 26 30
34 42
50 58
64 68
74 80
กปร. หน่วยประสานงานที่ส�ำคัญยิ่ง เรียบเรียงจากบทสัมภาษณ์ พลเอกเปรม ดิณสูลานนท์ ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ 8 IS AM ARE www.fosef.org
เกร็ ด การทรงงาน ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ (ส�ำนักงาน กปร.) ถือก�ำเนิดขึ้น จากการที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 9) ทรง ทุ่มเทก�ำลังทุกด้านด�ำเนินโครงการพระราชด�ำริมาเป็นระยะ เวลานาน และเกิดเป็นโครงการฯขึ้นมากมาย จนจ�ำเป็นต้องมี การบริหารจัดการองค์รวมที่ดี ดังนั้นจึงจ�ำเป็นต้องตั้งส�ำนักงาน กปร. ขึ้น พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรีและ รัฐบุรุษ ในช่วงเวลาที่ด�ำรงต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในปี 25232531 นั้น ได้ตระหนักเห็นว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรมวงศานุวงศ์ เสด็จฯ ไปสรงเยี่ยมราษฏร และได้ พระราชทานพระราชด�ำริให้หน่วยงานต่างๆ พิจารณาโครงการ ช่วยเหลือราษมาเป็นระยะเวลานาน ซึ่งโครงการต่างๆ ที่เกิด ขึ้น ยังประโยชน์มหาศาลแก่ประชาชนและประเทศชาติ แต่ว่า ในขณะนั้นยังไม่มีหน่วยงานใดเข้ามารับผิดชอบโดยตรง เพื่อให้ งานตามโครงการนั้นได้ด�ำเนินไปอย่างรวดเร็ว พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรีและ รั ฐ บุ รุ ษ จึ ง ได้ ริ เริ่ ม ให้ มี ห น่ ว ยงานกลางในการประสานงาน โครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ ดั ง ที่ ไ ด้ เ ล่ า มี ค วามว่ า ดังนี้ “...จนกระทั่ ง ถึ ง ตอนที่ พ วกเราเป็ น รั ฐ บาล เราก็ ม า นั่งคิดกันว่า ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงท�ำโครงการ ต่ า งๆ นั้ น ทรงใช้ เ งิ น ส่ ว นพระองค์ บ ้ า ง เงิ น ของทางราชการ บ้าง ซึ่งทางราชการไม่ค่อยมีระบบในการถวายเงินแต่พระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว เพื่ อ ทรงใช้ ใ นการท� ำ โครงการตามพระ ราชด�ำริ
เพราะฉะนั้น ความคิดนี้จึงเกิดขึ้นที่สภาพัฒน์ตั้งแต่สมัย คุณเสนาะ คุณสุเมธ รวมทั้ง คุณพิมลศักดิ์ด้วย และได้มาเสนอ กับผมว่า ควรจะตั้งหน่วยงานขึ้นเพื่อที่จะรองรับโครงการพระ ราชด�ำริให้เป็นไปอย่างมีระเบียบ มีระบบ และมีความชัดเจนที่ ถวายความช่วยเหลือเป็นเรื่องราว เป็นขั้นเป็นตอน โดยให้ทุก ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องได้มีส่วนร่วมด้วย ทั้งๆที่จริงแล้วแต่เดิม ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องก็เข้ามาร่วมมือกัน ถวายงานพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอยู่แล้ว แต่ว่าไม่ค่อยมีเอกภาพเพราะฉะนั้น กปร. จึงเกิดขึ้นด้วยแนวคิดว่าเราต้องการเอกภาพที่ถวายงาน แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทางสภาพัฒน์จึงได้ริเริ่มเสนอ แนะว่าควรจะจัดตั้ง กปร. ขึ้นมาก็เป็นเรื่องที่ดีมากและก็ได้ผล ประจักษ์แก่คนทั่วๆไป” ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนาหรือ เป็นเลขาธิการ กปร. คนที่ 1 ซึ่งต่อมาเป็นที่ปรึกษา ส�ำนักงาน กปร. และคณะในขณะนั้น จึงได้รับภารกิจอันยิ่งใหญ่น้ีมาศึกษา และเสนอระบบงานผ่านการเห็นขอบของรัฐบาล จึงสามารถจัด ตั้งส�ำนักงานเลขานุการคณะท�ำงานขึ้นมาได้ภายใต้ “ระเบียบ ส�ำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ 2524 “ซึ่งมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2524 เพื่อใช้เป็น หลักในการยึดปฏิบัติการด�ำเนินงาน 9
issue 137 JUNE 2019
cover story
“ผมถือว่าผมเป็ นเกษตร”
รศ.ประวิตร พุ ทธานนท์
รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก รศ.ประวิ ต ร พุ ท ธานนท์ เป็ น ชาวเชี ย งใหม่ โ ดยก� ำ เนิ ด ศิ ษ ย์ เ ก่ า โรงเรี ย นยุ พ ราชวิ ท ยาลั ย (Pieces royal) รศ.ประวิ ต ร พุ ท ธานนท์ กล่ า วว่ า เบ้ า หลอมส� ำ คั ญ ส� ำ หรั บ ตั ว เขา คื อ โรงเรี ย นแห่ ง นี้ เ อง ที่ มุ ่ ง สร้ า งคนดี รั ก พวกพ้ อ ง และเผื่ อ แผ่ มี น�้ ำ ใจซึ่ ง กั น และกั น อี ก ทั้ ง ยั ง มี อ าจารย์ แ ละรุ ่ น พี่ ที่ เ ป็ น ตั ว อย่ า งให้ แ ก่ ค นรุ ่ น หลั ง อี ก หลายคน เหล่ า นี้ ล ้ ว นหล่ อ หลอมให้ รศ.ประวิ ต ร พุ ท ธานนท์ มี ทิ ศ ทางในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ที่ ชั ด เจนขึ้ น เรื่ อ ยๆ เมื่ อ เติ บ โตเป็ น ผู ้ ใ หญ่ เรื่ อ งราวความเป็ น มาของ รศ.ประวิ ต ร พุ ท ธานนท์ จะเป็ น อย่ า งไร เชิ ญ ผู ้ อ่ า นท� ำ ความรู ้ จั ก จากบทสั ม ภาษณ์ นี้ ค ่ ะ
10 IS AM ARE www.fosef.org
11 issue 137 JUNE 2019
ก็ต้องใช้ทีมงานมาก เขาก็มาเชิญผมเข้าไปสอนวิชาปรับปรุงพันธุ์ พืช เป็นงานพิเศษ แล้วทางมหาวิทยาลัยแม่โจ้ก็บอกว่าตอนนี้มี ต�ำแหน่งว่างแล้วสนใจโอนย้ายมาไหม ผมก็บอกให้โอนย้ายมา เพราะผมก็ไม่อยากไปจากเชียงใหม่แล้ว เพราะครอบครัวคุณ พ่อคุณแม่ก็อยู่เชียงใหม่ ก็เลยตัดสินใจโอนย้ายมามหาวิทยาลัย แม่โจ้ เริ่มสอนตั้งแต่ ปี 2538 เป็นต้นมาจนถึงปี 2558 ทั้งหมด 20 ปี ตรงส่วนที่สอนได้อบรมเรื่องโครงการของพระเทพด้วย คือ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช คือผมต้องรักษาพันธุกรรม พันธุ์ พืชไว้ เพื่อต่อเนื่องให้เป็นทรัพยากรของประเทศ ข้ า วโพดที่ ถู ก ตั ด ต่ อ พั น ธุ ก รรมคื อ อะไร ? : เนื่องจากว่าธรรมดาการผสมพันธุ์พืชหรือการตัดต่อ พันธุกรรมปกติไม่สามารถผสมข้ามสปีชีส์ได้ ข้าวโพดก็ต้องผสม กับข้าวโพดจะผสมอย่างอื่นไม่ได้ แต่แนวคิดทางด้านเคมีชีวภาพ มันอยู่ในระดับโมเลกุลที่เกี่ยวกับเรื่องยีนส์ต่างๆ อยู่ในเซลล์ เขามีแนวคิดว่าเขาอยากจะเอาความต้านทานของพืชที่ไม่มีใน ข้าวโพด หาไม่เจอในพันธุกรรมทั้งหมด ความท้าทายตรงนี้มันอยู่ ในจุลินทรีย์ทั้งพืชชั้นสูง โดยมีรหัสพันธุกรรมที่เป็นรหัสที่เหมือน กัน เราจึงได้ความสามารถของข้าวโพดเพิ่มขึ้นจากเดิม ทราบว่ า ท่ า นเป็ น ศิ ษ ย์ เ ก่ า มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ ด้ ว ย ? : ผมจบรุ่นที่ 10 ครับ คณะเกษตรศาสตร์ หลังจาก จบมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ก็เข้ามาท�ำงานที่กรมวิชาการเกษตร ที่บางเขน แล้วหัวหน้าหรืออาจารย์ของผมก็ให้ไปเรียนต่อที่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ระดับปริญญาโท แล้วก็ไม่ได้ไปต่อ ปริญญาเอก เพราะฉะนั้น แนวคิดของผมถ้าจะต่อปริญญาเอก ผมตั้งใจจะไปต่อที่เมืองนอก มีออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา หรือ ญี่ปุ่น ที่ตั้งใจไว้ แต่เนื่องจากไม่ได้ทุนก็เลยไม่ไป มีคนให้ทุนผม เรียนที่ไทยแต่ผมไม่เอา เพราะอาจารย์ผม(ศ.ช�ำนาญ ฉัตรแก้ว) จบจากสหรัฐอเมริกา ผมรู้สึกว่าท่านเป็นต้นแบบของผม ตอนที่ ท ่ า นอยู ่ ก รมวิ ช าการเกษตรฝ่ า ยอยู ่ ฝ ่ า ยไหน ? : อยู่ด้านกอพืชไร่ ค�ำว่ากอพืชไร่นี้นานแล้วนะครับ ตอน นี้ไม่มีกอพืชไร่แล้วแต่เป็นสถาบันวิจัยพืชไร่ไปแล้ว ท� ำ ไมท่ า นถึ ง มาเป็ น อาจารย์ ? : ผมกลับมาเชียงใหม่ มาอยู่ที่ศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่ อยู่ใกล้ๆ กับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ปรากฏว่ามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ไม่มีคนสอนวิชาปรับปรุงพันธุ์พืช วิชานี้เป็นวิชาที่สอนยากแล้ว 12 IS AM ARE www.fosef.org
จ า ก ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ์ ท� ำ ใ ห ้ ท ่ า น ขึ้ น เ ป ็ น ค ณ บ ดี ที่ มหาวิ ท ยาลั ย แม่ โ จ้ ? : วั น หนึ่ ง ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย แม่ โจ้ เ ห็ น ผมท� ำ งานหั ว หน้ า ภาคและมี ลูก ศิษย์แ ละอาจารย์หลายคนอยากให้ เ ป็ น คณบดี ผมไม่ได้ใฝ่ฝันอยากเป็นคณบดี แต่มีคนลงคะแนนให้ ผมเลย ได้เป็นคณบดีของคณะผลิตกรรมการเกษตร ซึ่งเป็นคณะแรก ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นคณะใหญ่ที่สุด แล้วก็สอนที่แม่โจ้ จนเกษียณอายุครับ ท ่ า น เ ข ้ า ม า เ ป ็ น ร อ ง อ ธิ ก า ร บ ดี ม ห า วิ ท ย า ลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลตะวั น ออก ได้ อ ย่ า งไร ? : เนื่องจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ตอนนั้นมันมีปัญหาเรื่องธรรมาภิบาล และมีมาตรา 44 เข้า มา กรรมการสภาและอธิการบดีก็ย้ายออกหมด แล้วก็แต่ตั้ง อธิการบดีคนใหม่ แล้วก็แต่ตั้งรองคณบดีคนใหม่ ซึ่งเป็นเพื่อน กับผมต้อนเรียนที่โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ท่านก็รู้ว่าผมเคยท�ำ หน้าที่เป็นคณบดี ท่านเลยชวนมาช่วยซึ่งวันนั้นเป็นวันที่สมเด็จ พระเจ้าอยู่รัชกาลที่ 9 ทรงเสด็จสวรรคต วันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. จากประสบการณ์ ที่ ผ ่ า นมา ท่ า นมองเห็ น โอกาส 2559 แล้วผมก็ได้รับติดต่อมาว่าให้มาช่วยหน่อย ทางการศึ ก ษาของคนไทยอย่ า งเท่ า เที ย มมากน้ อ ย แค่ ไ หน ? : คือผมถือว่าผมเป็นเกษตร ผมจะคลุกคลีกับเกษตรกร ผมถื อ ว่ า ผมเป็ น เกษตร ผมจะคลุ ก คลี กั บ เกษตรกร บนภูเขา บนดอยมาก เราจะเห็นสภาพต่างๆ ที่ด้อยโอกาส ผม บนภู เ ขา บนดอยมาก เราจะเห็ น สภาพต่ า งๆ ที่ ด ้ อ ย ว่าสิ่งนี้จะต้องให้โอกาสเขา ให้เขาเข้ามามีบทบาทในการเรียนใน โอกาส ผมว่ า สิ่ ง นี้ จ ะต้ อ งให้ โ อกาสเขา ให้ เ ขาเข้ า มา ระดับที่สูงขึ้น เขามีมันสมองที่ดีแต่โอกาสเขายังด้อยกว่าคนอื่น มี บ ทบาทในการเรี ย นในระดั บ ที่ สู ง ขึ้ น เขามี มั น สมอง เพราะนั้น ผมจึงคิดว่า พวกเขาต้องไม่ท้อถอย ยินดีที่จะเข้ามา ที่ ดี แ ต่ โ อกาสเขายั ง ด้ อ ยกว่ า คนอื่ น ท�ำงานให้อาจารย์ เข้ามามหาวิทยาลัยแล้วท�ำงานหนักเอาเบา สู้ แล้วตัวนั้นแหละครับที่เป็นตัวที่รักของอาจารย์ ตอนที่ผมรับ นักศึกษาที่มาเป็นที่ปรึกษาผมจะไม่รับนักศึกษาที่มีฐานะดีเลย รับนักศึกษาที่ค่อนข้างมีฐานะยากจน ไม่มีเงิน ให้มาท�ำงานกับ ผม แล้วผมก็เอาเงินวิจัยโครงการต่างๆ ให้กับเขาเป็นเงินเดือน เป็ น อะไรต่ า งๆ ถ้ า จ� ำ เป็ น จะต้ อ งเป็ น ทุ น การศึ ก ษาบางส่วน ผมก็จะพยายามท�ำให้เต็มที่ แล้วผมคิดว่าเด็กอย่างนี้จะไม่ลืม อาจารย์ เพราะว่าเราอยู่กับเขาแล้วดูแลเขาจนจบ จึงอยากจะ บอกเด็กๆ ที่จะเข้ามหาวิทยาลัยว่า หนทางของท่านยังมีอีกมาก อย่าท้อถอย พระองค์ท่านบอกว่า ขอให้อดทน ความอดทนตรง นี้แหละ อดทนแล้วมีความเพียรอย่างที่พระองค์ท่านเคยพูดไว้ใน พระมหาชนก ท่านว่ายน�้ำอยู่ตั้ง 7-8 วัน ผมอยากให้เด็กที่ก�ำลัง คิดแบบนี้ว่า ความอดทนจะท�ำให้พวกท่านทั้งหลายที่จะเข้ามาสู่ มหาวิทยาลัยจะส�ำเร็จ จะเป็นบุคลากรที่ส�ำคัญของชุมชน สังคม และประเทศชาติต่อไป 13 issue 137 JUNE 2019
14 IS AM ARE www.fosef.org
ค�ำว่าจริยธรรมมันต้องมาจากจิตส�ำนึก จากข้างใน มันจะส่งผล ต่อความประพฤติ ถ้าประพฤติไม่ดี ก็ต้องมีศีลธรรม ศีลธรรมท�ำ ไม่ได้ก็ต้องมีกฎต่างๆ ศีลธรรมต้องมาควบคุมคน มีกฎหมายขึ้น มาควบคุมคน แต่ถ้ามีจิตส�ำนึกที่ดีข้อแรก มันท�ำให้จรรยาบรรณ มันดี แล้วใช้จริยธรรม มันก็จะน�ำพาทุกอย่าง มันเป็นจิตส�ำนึกที่ หล่อหลอมมาตั้งแต่เด็ก
เรื่ อ งจิ ต ส� ำ นึ ก เป็ น สิ่ ง ที่ พู ด ถึ ง กั น มาก ท่ า นมองเรื่ อ ง นี้ อ ย่ า งไร ? : เรื่องจิตส�ำนึกเป็นสิ่งที่พูดยากพูดจริงๆ ยิ่งเด็กด้อย โอกาสจะต้องมีทุนปรับตัวต่างๆ ให้เขาดีขึ้น ผมเชื่อว่าหลายคน เข้ามาเรียนในเมือง จิตส�ำนึกที่ดีของเขาจะอยู่กับครูบาอาจารย์ เขาจะรักษาตัวเขาให้รอดปลอดภัยไปตลอด อยากจะบอกเด็กๆ ว่า ภาวะผู้น�ำของท่านจะเกิดขึ้นได้ถ้าท่านมีความอดทน แล้วมี สติ มีความเพียร ไตร่ตรอง ตามพระราชดํารัสของพระองค์ท่าน ทุกข้อ ลองเอามาคิดดูก็จะน�ำชีวิตไปในทางที่ดีได้
คุ ณ ธรรมก็ ดี ทุ น นิ ย มก็ ดี ตามมุ ม มองของท่ า นพอ จะมี โ อกาสควบคู ่ ไ ปด้ ว ยกั น ได้ ไ หม ? : บ้านเราเนื่องจากเป็นทุนนิยมมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งทุนนิยม ตรงนี้ ซึ่งข้อดีก็มี แต่ส�ำหรับตอนนี้เราต้องมีความพอเพียงระดับ หนึ่ง ต้องคิดให้ได้ ซึ่งตรงนี้ผมคิดมาตลอดและพยายามถ่ายทอด ให้ได้ : ประทศเรายังเป็นไทยนะ เราท�ำอย่างนั้นได้บ้าง เราลอง ท�ำก่อน แล้วลองประเมินดู ถ้าดีค่อยท�ำต่อ ในระยะแรกอย่าง น้อยก็ควรมีเนื้อหาด้านคุณธรรม จริยธรรมควบคู่ไปด้วย ซึ่งไม่ ควรจะขาดหายไป แล้วตอนนี้เด็กถูกหล่อหลอมไปในทิศทาง เดียว ซึ่งไม่ได้เห็นโลกกว้าง ผมก็ห่วงนะ คือคนไม่ใช่เครื่องจักร ถ้าเราจะท�ำงานในระบบหรืองานประจ�ำก็ควรท�ำในระดับหนึ่ง ตามสมควร แล้วต่อจากนั้นคุณไปอยู่ในโลกกว้างได้ไหม หรือ มหาวิทยาลัยต่างๆ ที่กว้างขวางกว่านั้นได้ไหม เพื่อให้เยอะโลก กว้างที่หลากหลาย
ในฐานะอาจารย์ คิ ด ว่ า แม่ แ บบส� ำ คั ญ ไหม ? : คือจริงๆ แล้วชีวิตคนไม่ได้มีเฉพาะการงานที่เข้มงวด ขนานนั้น มันจะต้องสมส่วนกับตัวที่เป็นด้านจิตใจ คุณธรรม จริยธรรมด้วย ตรงนี้จะสอนไม่ได้นอกจากฝึกอบรมโครงสร้าง ในระยะยาว คุณครูจะต้องเป็นแม่ ครูจะต้องเป็นต้นแบบที่ดีแล้ว ตรงนี้จะท�ำให้เราปลูกฝังได้ แสดงว่ า เรื่ อ งคุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม เป็ น เรื่ อ งส� ำ คั ญ ส� ำ หรั บ การศึ ก ษา ? : ผมเข้ามาท�ำงานครั้งแรกเงินเดือน 1,750 บาท สมัย นั้นก็เยอะอยู่ กับเทียบกับเด็กสมัยนี้เข้ามาจะต้องได้ 15,00020,000 บาทเบื้องต้น แต่ทุกคนก็อยากสร้างชีวิตที่ดีขึ้น ก็คือมี เงิน แต่ประเทศชาติต้องสร้างด้วยคุณธรรม จริยธรรม เพราะ 15
issue 137 JUNE 2019
16 IS AM ARE www.fosef.org
SDGs คืออะไร
(Sustainable Development Goals)
17 issue 137 JUNE 2019
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน
เมื่ อ เดื อ นกั น ยายน พ.ศ.2558 ประเทศสมาชิ ก ของ สหประชาชาติได้รับรองวาระการพัฒนาอย่างยั่งยืน พ.ศ. 2573 ซึ่งจะบรรลุเป้าหมายภายในระยะเวลา 15 ปีประกอบด้วย 17 เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนโดยมี 169 เป้าหมายเฉพาะ เจาะจง และ 230 ตัวชี้วัด เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนเน้น ให้ความส�ำคัญกับการปรับสมดุลทั้ง 3 มิติของการพัฒนาอย่าง ยั่งยืนทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมในรูปแบบบูรณา การและการมีส่วนร่วมเพื่อไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง ประเทศไทยมีกรอบการพัฒนาของตนเองที่ก�ำลังใช้อยู่ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง โดยอาศัยหลักภูมิปัญญาและความซื่อสัตย์สุจริตตลอด จนหลักการเดินทางสายกลาง ความสมเหตุสมผลและความ รอบคอบตามแนวคิดของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล อดุลยเดช จุดเน้นของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงคือความยั่งยืน และได้ รั บ การยอมรั บ ว่ า เป็ น หลั ก การส� ำ คั ญ ของแผนพั ฒ นา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของประเทศไทยมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545
การเปลี่ ย นผ่ า นจากเป้ าหมายการพั ฒ นาแห่ ง สหัสวรรษไปสู่เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนใน ประเทศไทย โดยตรง ตลอดจนผ่านเวทีระดับภูมิภาค เช่น อาเซียน ความ เป้ า หมายการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น ระดั บ โลกสร้ า งขึ้ น จากความส�ำเร็จของเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษก่อน หน้าที่ประสานงานโดยสหประชาชาติและประเทศสมาชิก การ รณรงค์เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษเริ่มขึ้น ในพ.ศ. 2543 และสิ้นสุดในพ.ศ. 2558 เป้าหมายการพัฒนาแห่ง สหัสวรรษส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสังคมโดยมุ่งเน้นเรื่อง ขจัดปัญหาความหิวโหย ความยากจนและความเหลื่อมล�้ำ การ ไม่รู้หนังสือ ความเจ็บป่วยและความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อม ประเทศไทยบรรลุเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษโดยส่วน ใหญ่ โดยประเทศไทยได้ใช้แนวทางของปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียงที่เน้นแนวทางให้คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา การ เพิ่ ม ศั ก ยภาพของประชาชนและชุ ม ชน ประเทศไทยยั ง คงมี ส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาของโลกด้วยการช่วยเสริมสร้าง ความสามารถของเพื่อนบ้านในการบรรลุพันธกิจของเป้าหมาย การพัฒนาแห่งสหัสวรรษและความพยายามในการพัฒนาใน อนาคต ประเทศไทยได้แบ่งปันความเชี่ยวชาญที่ได้รับจากการ บรรลุ เ ป้ า หมายการพั ฒ นาแห่ ง สหั ส วรรษกั บ ประเทศอื่ น ๆ
พยายามในการเสริมสร้างศักยภาพเหล่านี้ได้ด�ำเนินการผ่าน ช่องทางที่หลากหลายรวมทั้งความร่วมมือทวิภาคี/ความร่วม มือสามฝ่าย ความร่วมมือใต้-ใต้ และกรอบพหุภาคี ตัวอย่าง เช่ น ประเทศไทยได้ มี ส ่ ว นร่ ว มอย่ า งแข็ ง ขั น ในการแบ่ ง ปั น ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในฐานะที่เป็นรูปแบบการพัฒนาสู่ ประชาคมระหว่างประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเป็นประธาน กลุ่ม G-77 เมื่อปี พ.ศ. 2560 ประเทศไทยได้มีส่วนช่วยในการ จัดตั้งโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในหลายประเทศ เช่น กัมพูชา อินดนีเซีย ลาว เลโซโท เมียนมาร์ ติมอร์ตะวันออก และตองกา 5 ตั้งแต่เริ่มแรก การพัฒนาอย่างยั่งยืนถือเป็นหัวใจ ส�ำคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักการต่างๆที่สนับสนุน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีส่วนเกี่ยวข้องกับความพยายามใน การจัดการกับความยั่งยืนในประเทศไทยเพื่อสร้างความสมดุล ระหว่างความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ การปกป้องสิ่งแวดล้อม และความต้ อ งการของมนุ ษ ย์ ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งยั ง เป็นไปตามหลักการส�ำคัญของวาระ 2573 และสามารถใช้เป็น แนวทางในการสนับสนุนการน�ำไปสู่เป้าหมายการพัฒนาอย่าง ยั่งยืนในบริบทของโลกได้
18 IS AM ARE www.fosef.org
การน�ำเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนสู่ท้องถิ่น น้อยลงและรูปแบบการผลิตที่หลากหลาย (เป้าหมายการพัฒนา
อย่างยั่งยืนที่ 12) การลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล (เป้าหมายการ พัฒนาอย่างยั่งยืนที่ 7) และการจัดการทางทะเลอย่างยั่งยืน (เป้า หมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่ 14) และบนบก (เป้าหมายการ พัฒนาอย่างยั่งยืนที่ 15) ระบบนิเวศต่างๆ
ตั้งแต่วิกฤติเศรษฐกิจในปี พ.ศ. 2540 ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพี ย งถู ก ใช้ เ ป็ น หลั ก การส� ำ คั ญ ในความพยายามเพื่ อ การ พัฒนาความยั่งยืนของประเทศไทย ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เน้นความสมดุลในการใช้ทุนทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีพื้นฐานอยู่บนหลัก การ 3 ประการที่เน้นการเดินทางสายกลางส�ำหรับคนไทยทุก ระดับตั้งแต่จากทุกครอบครัว สู่ระดับชุมชนและสู่ระดับประเทศ หลักการเหล่านี้คือ
• ความสมเหตุ ส มผล ความสมเหตุสมผลหมายถึงการพิจารณาอย่างรอบคอบ ของผลกระทบที่การกระท�ำและการตัดสินใจของเราอาจมีต่อ ทั้งผู้อื่นและโลกรอบตัวเรา การพิจารณาเป้าหมายการพัฒนา อย่างยั่งยืน ความสมเหตุสมผลมีการประยุกต์ใช้ในทางปฏิบัติ ได้มากมายในประเด็นระดับโลกเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิ อากาศโลก (เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่ 13) ความเท่า เทียม (เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่ 10) ความยุติธรรม (เป้า หมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่ 16) การพัฒนาแหล่งพลังงานที่ สะอาด (เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่ 7) และการลดมลพิษ (เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่ 12)
• ความพอประมาณ ในปี พ .ศ. 2541 พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ภู มิ พลอดุ ย เดชได้ อ ธิ บ ายถึ ง ความหมายของการรู ้ จั ก ความพอ ประมาณ: “ความพอเพี ย งคื อ ความพอประมาณ … ความพอ ประมาณไม่ ไ ด้ ห มายความว่ า ประหยั ด เกิ น ไป อนุ ญ าตให้ ใช้ สินค้าที่หรูหราได้ … แต่ควรจะพอประมาณตามความหมาย ของตนเอง” – พระราชด�ำรัส ณ พระราชวังดุสิต เมื่อวันที่ 4 • ความรอบคอบ ธันวาคม พ.ศ.2541 ความรอบคอบเป็นเรื่องเกี่ยวกับการประเมินความเสี่ยง ในประเทศไทย การพอประมาณเป็นหลักการที่ส�ำคัญใน การบรรลุเป้าหมายของการพัฒนาอย่างยั่งยืน เช่น การบริโภคที่ ต่างๆ การท�ำงานอย่างเป็นระบบและการบรรลุระดับของความ
19 issue 137 JUNE 2019
กรอบยุ ทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579)
กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะเวลา 20 ปีที่ประกาศโดย นายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ จันทร์โอชา เป็นสิ่งส�ำคัญใน การให้ประเทศไทยมีทิศทางที่ชัดเจนในระยะยาวเพื่อการพัฒนา อย่างยั่งยืน เรียกกันว่าเป็นแผน 6-6-4 ซึ่งประกอบด้วย 6 ด้าน 6 ยุทธศาสตร์หลัก และ 4 ยุทธศาสตร์สนับสนุน ยุทธศาสตร์ทั้ง 6 ด้านประกอบด้วยความมั่นคง การ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ความเสมอภาคทางสังคม การเติบโตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และการปรับสมดุลของสภาพแวดล้อม และการพัฒนาภาครัฐ ยุทธศาสตร์ทั้ง 6 ด้านดังกล่าวมีเป้าหมายเพื่อ: • เพิ่มและพัฒนาศักยภาพของทุนมนุษย์ • ให้ความยุติธรรมและลดความเหลื่อมล�้ำทางสังคม • เสริมสร้างความแข็งแกร่งทางเศรษฐกิจและเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน • ส่งเสริมการเติบโตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเพื่อการ พัฒนาอย่างยั่งยืน • เสริมสร้างเสถียรภาพของชาติเพื่อการพัฒนาประเทศ สู่ความมั่งคั่งและความยั่งยืน • เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการภาครัฐและส่ง เสริมธรรมาภิบาล 4 ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ส นั บ สนุ น การพั ฒ นาประเทศอย่ า งมี ประสิทธิภาพประกอบด้วยการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและ ระบบโลจิ ส ติ ก ส์ วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี การวิ จั ย และ นวัตกรรม การพัฒนาเมือง ภูมิภาคและเขตเศรษฐกิจ และความ ร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา
สามารถและการพึ่งพาตนเองก่อนด�ำเนินการต่อ นอกจากนี้ยัง เป็นเรื่องเกี่ยวกับคนที่ดูแลไม่ให้เกินขีดความสามารถของพวก เขา หลักการนี้อาจประยุกต์ใช้กับเป้าหมายการพัฒนาอย่าง ยั่งยืนเกือบทั้งหมดรวมทั้งด้านสุขภาพ (เป้าหมายการพัฒนา อย่างยั่งยืนที่ 3) อาหาร (เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่ 2) น�้ำ (เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่ 6) และความมั่นคงด้าน พลังงาน (เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่ 7) โดยเฉพาะ นี่เป็นการน�ำเสนอว่าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเป้า หมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนมีการพัฒนามาอย่างไร ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงเน้นคุณค่าของภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้อง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 ถิ่นเพื่อตอบสนองความท้าทายในการพัฒนาท้องถิ่นและปลูก (พ.ศ.2560-2564) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 12 ได้รับการจัด ฝังแนวความคิดที่ยั่งยืนให้กับคนในท้องถิ่น ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงได้ถูกน�ำไปประยุกต์ใช้ในหลาย ๆ ด้านของชีวิตอย่าง มีนัยส�ำคัญก่อนที่จะน�ำมาใช้เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนา อย่ า งยั่ ง ยื น ทั้ ง ปรั ช ญาเศรษฐกิจพอเพียงและเป้าหมายการ พัฒนาอย่างยั่งยืนได้มีการบูรณาการไว้ในกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) รวมทั้งนโยบายประเทศไทย 4.0 ดังนั้น แผนงานและแผนงบประมาณของหน่วยงานรัฐบาลทั้งหมดจึง ถูกก�ำหนดให้สอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเป้า หมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน 20 IS AM ARE www.fosef.org
21 issue 137 JUNE 2019
ท�ำขึ้นให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนนี้ให้ความส�ำคัญกับ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดจากการใช้ความรู้ ทักษะ และการประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรมและการ วิจัยและพัฒนา นอกจากนี้ยังเน้นความสมดุลกับความยั่งยืน ด้านสิ่งแวดล้อม แผนนี้ยังคงมุ่งเน้นปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งประกอบด้วย 3 หลักการคือ ความพอประมาณ ความสมเหตุ สมผล และความรอบคอบ
นโยบายประเทศไทย 4.0
ประเทศไทย 4.0 สะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง การบู ร ณาการ ของปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งโดยเน้ น การออกแบบระบบ เศรษฐกิจฐานคุณค่าโดยการเทคโนโลยีใหม่ๆ ควบคู่ไปกับการ ปฏิบัติที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยมีเป้าหมายสูงสุดในการน�ำ พาประเทศไทยออกจากกั บ ดั ก รายได้ ป านกลางและผลั ก ดั น ประเทศไทยเข้าสู่ประเทศที่มีช่วงรายได้สูง นโยบายประเทศไทย 4.0 จะบรรลุ ผ ลได้ โ ดยการ ปรั บ โครงสร้ า งอุ ต สาหกรรมที่ มี อ ยู ่ ใ นปั จ จุ บั น ของไทย 5 อุตสาหกรรม หรืออุตสาหกรรม “5 S-Curve แรก” ประกอบ ด้วยอุตสาหกรรมยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ การแพทย์มูลค่าสูง และการท่องเที่ยวด้านสุขภาพ การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ และอาหาร นอกจากนี้ยังมีการส่งเสริม 5 อุตสาหกรรมใหม่ หรือ “S-Curve ใหม่” ซึ่งรวมถึงหุ่นยนต์ การบินและโลจิสติกส์ เชื้อ เพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ อุตสาหกรรมดิจิทัลและศูนย์การ แพทย์ซึ่งประเทศไทยมีศักยภาพที่จะประสบความส�ำเร็จ ประเทศไทยจ�ำเป็นต้องจัดการกับความเหลื่อมล�้ำและ ความไม่สมดุลระหว่างสภาพแวดล้อมและสังคม เป้าหมายรวม ของประเทศไทยก็เช่นเดียวกันกับเป้าหมายการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน นโยบายประเทศไทย 4.0 เป็นเครื่องมือของรัฐบาลใน การขับเคลื่อนเศรษฐกิจและการผลิตของประเทศให้กลายเป็น ประเทศที่มีรายได้สูง ไปสู่เศรษฐกิจแบบที่ภาคส่วนต่างๆได้รับ ผลประโยชน์อย่างทั่วถึงและมุ่งเน้นการเติบโตและการพัฒนา อย่างยั่งยืน นโยบายประเทศไทย 4.0 เป็นรูปแบบทางเศรษฐกิจ ที่มุ่งเน้นการเปลี่ยนการท�ำฟาร์มแบบดั้งเดิมสู่การท�ำฟาร์มแบบ ชาญฉลาด เปลี่ ย นวิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ มแบบ ดั้งเดิมให้เป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่ชาญฉลาด เปลี่ยนการบริการต่างๆแบบดั้งเดิมไปสู่การบริการที่มีมูลค่าสูง และเปลี่ยนระบบเศรษฐกิจให้ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม ความ คิดสร้างสรรค์ การวิจัยและพัฒนา และอุตสาหกรรมที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม
ภาครั ฐ ส่ ว นใหญ่ ใ ช้ ง บประมาณที่ รั ฐ บาลจั ด สรรให้ กั บ หน่ ว ยงานต่ า งๆเพื่ อ ท� ำ งานสนั บ สนุ น เป้ า หมาย การพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น กองทุ น เหล่ า นี้ เ ป็ น รากฐาน ส� ำ ห รั บ แ ผ น ก า ร ด� ำ เ นิ น ง า น แ บ บ บู ร ณ า ก า ร ข อ ง รั ฐ บาลตามกรอบยุ ท ธศาสตร์ ช าติ 20 ปี แ ละแผน พั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ฉ บั บ ที่ 12
วิธีการด�ำเนินงานระดับชาติส�ำหรับการขับเคลื่อน เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน
รัฐบาลไทยได้จัดตั้งคณะกรรมการระดับชาติเพื่อการ พัฒนาอย่างยั่งยืน โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน มีกรรมการ จ�ำนวน 37 คน ซึ่งมาจากภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคการศึกษา และ ภาคประชาสังคม โดยมี เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ (สศช.) เป็ น เลขานุ ก าร คณะ กรรมการระดับชาติเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องและกรอบนโยบายอื่น ๆ ได้ให้ความส�ำคัญกับความ ร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนและองค์กรภาคประชา สังคมโดยยึดหลักความร่วมมือในการพัฒนา อย่างไรก็ตามโครงสร้างการด�ำเนินงานยังคงมีผู้แทนจาก องค์กรภาคประชาสังคมน้อยกว่าที่คาดการณ์ไว้ โดยมีจ�ำนวน ตัวแทนองค์กรภาคประชาสังคมเพียงจ�ำนวน 4 คนจากสมาชิก ทั้งหมด 38 คน ดังนั้นภาครัฐจึงก�ำหนดกระบวนการของการ มีส่วนร่วมขององค์กรภาคประชาสังคมและเนื้อหาของผลลัพธ์ ทางวิชาการที่ส�ำคัญ เช่น แผนการด�ำเนินงานของแต่ละเป้า หมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน ท�ำให้น�ำไปสู่การร้องเรียนว่าองค์กร ภาคประชาสังคม/องค์กรพัฒนาเอกชนที่มีความส�ำคัญน้อยของ 22
IS AM ARE www.fosef.org
ในปี พ.ศ. 2560- 2561 คณะรั ฐ มนตรี ไ ด้ จั ด ตั้ ง คณะกรรมการระดั บ ชาติ ขึ้ น ใหม่ อี ก 3 คณะ: • คณะกรรมการด�ำเนินการของนโยบายของรัฐบาลโดย เฉพาะอย่างยิ่งวาระการปฏิรูปประเทศและการด�ำเนินการเป้า หมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนในระดับท้องถิ่น โดยมีนายกอบ ศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจ�ำส�ำนักนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน คณะกรรมการ • คณะกรรมการเสริมสร้างขีดความสามารถของชุมชน ในท้องถิ่นโดยมีนายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรีประจ�ำส�ำนัก นายกรัฐมนตรี เป็นประธานคณะกรรมการ • คณะกรรมการโครงการยั่ ง ยื น ไทยเพื่ อ การพั ฒ นา เศรษฐกิ จ ระดั บ รากหญ้ า โดยมี รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวง มหาดไทยเป็นประธานคณะกรรมการ คณะกรรมการนี้จัดตั้ง ขั้นเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2561 ชุมชนท้องถิ่นและองค์กรภาคประชาสังคมจะมีช่องทาง มากขึ้นในการท�ำงานร่วมกับภาครัฐและจะสามารถจัดการกับ วาระของท้องถิ่นได้ เมื่อเดือนมกราคม 2561 กระทรวงการต่างประเทศซึ่ง เป็นหน่วยงานรับผิดชอบของเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่ 17 ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาได้ริเริ่มแผนงานแบบเปิดซึ่งมี เป้าหมายเพื่อแก้ปัญหาการจ�ำกัดจ�ำนวนของผู้แทนจากองค์กร
รัฐบาลได้รับการเชิญให้เข้าร่วมในการวางแผนเป้าหมายการ พัฒนาอย่างยั่งยืน ในขณะที่กลุ่มผู้ที่มีความส�ำคัญมากหรือก�ำลัง ท�ำงานอยู่ในระดับรากหญ้าหรือในพื้นที่ห่างไกลกลับไม่ได้รับ เชิญให้เข้ามีส่วนร่วม ภาครัฐส่วนใหญ่ใช้งบประมาณที่รัฐบาลจัดสรรให้กับ หน่วยงานต่างๆเพื่อท�ำงานสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน กองทุนเหล่านี้เป็นรากฐานส�ำหรับแผนการด�ำเนินงาน แบบบูรณาการของรัฐบาลตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีและ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 รั ฐ บาลได้ ส ร้ า งโครงสร้ า งส� ำ หรั บ การประสานงาน ระหว่างหน่วยงานในความพยายามที่จะบรรลุ เป้าหมายการ พัฒนาอย่างยั่งยืน เมื่อเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป้าหมาย และตัวชี้วัดต้องมีการประสานกันระหว่างหน่วยงานอย่างน้อย 2 หน่วยงาน และงานนี้ถือว่าเป็นประเด็นที่ส�ำคัญตามนโยบาย การพั ฒ นาที่ ส� ำ คั ญ นโยบายความมั่ น คงแห่ ง ชาติ นโยบาย ส�ำคัญอื่น ๆ ของรัฐบาลและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หน่วย งานต่างๆสามารถของบประมาณแบบบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ จากงบประมาณกลางซึ่งเป็นโอกาสส�ำหรับการการด�ำเนินการ ในการเชื่อมโยงกัน ประสานกันและสนับสนุนในลักษณะที่มี ประสิทธิภาพ คุ้มค่าและไม่ซ�้ำซ้อน อย่างไรก็ตามหลักฐานที่ แสดงว่ากระบวนการนี้ก�ำลังเกิดขึ้นจริงเป็นประจ�ำมีน้อย
23 issue 137 JUNE 2019
ภาคประชาสังคมในคณะกรรมการอย่างเป็นทางการและเพื่อ สร้างการเจรจาให้มากขึ้นระหว่างหน่วยงานภาครัฐและผู้มีส่วน ได้ส่วนเสียอื่นๆ เพื่อแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล�้ำด้านรายได้ ตั้งแต่ปี พ ศ. 2560 รัฐบาลได้ใช้แนวทางความร่วมมือภาครัฐและภาคเอกชน ในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน โดยได้ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดจิ๋ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ชนบทโดยได้ร่วมมือกับบริษัทขนาด ใหญ่ใน 76 จังหวัดทั่วประเทศ บริษัทเอกชนมุ่งมั่นที่จะถ่ายทอด ความเชี่ยวชาญทางธุรกิจไปยังกลุ่มวิสาหกิจในท้องถิ่นจ�ำนวน 1,200 แห่ง ความเชี่ยวชาญที่แบ่งปันกันครอบคลุมจ�ำนวน 5 ด้านคือประสิทธิภาพทางธุรกิจ การสร้างความหลากหลาย การ สร้างตราสินค้า การขายและการจัดจ�ำหน่าย และความเป็นมือ อาชีพทางธุรกิจ เมื่ อ เดื อนกุ ม ภาพัน ธ์ 2561 ได้มีก ารเปิด ตัว นโยบาย หนึ่ ง เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง วิ ถี ชี วิ ต ของคนยากจน ความพอเพี ย งและ ประชาธิปไตย โดยเรียกโครงการนี้เรียกว่าโครงการไทยนิยม ยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างประโยชน์ให้แก่ 83,151 หมู่บ้าน/ชุมชน นโยบายเหล่านี้มีแนวโน้มที่จะส่งเสริมบทบาท ขององค์ ก รชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น และองค์ ก รภาคประชาสั ง คมและ สร้างผลประโยชน์ให้กับพวกเขา หากนโยบายเหล่านี้บรรลุเป้า หมาย ขั้ น ตอนต่ อ ไปคื อ จะบู ร ณาการนโยบายและโครงการ เฉพาะเหล่านี้ไว้ในแผนงานและยุทธศาสตร์การพัฒนาประจ�ำ ปีอย่างไร บริษัทของไทยหลายแห่งยังได้ริเริ่มโครงการของตนเอง ในการร่วมท�ำงานสู่เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน บริษัทส่วน ใหญ่ต้องทบทวนกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมของตนเอง และหยุดกิจกรรมที่ดูเหมือนจะแตกต่างกันเพียงเล็กน้อย พวก เขาต้องค้นหาวิธีการเพื่อให้บรรลุการพัฒนาอย่างยั่งยืนบนพื้น ฐานของ 17 เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน ภาคเอกชนสามารถ ช่วยให้ประเทศไทยบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนได้ รวม ถึงเป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อม สังคมและวัฒนธรรม บางบริษัทหัน มาปรับกระบวนการผลิตหรือเน้นธุรกิจหลักของตนเองเพื่อให้ สามารถประยุกต์ใช้เพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน ทั้งเพื่อประโยชน์ของตนเองและความมั่งคั่งและความยั่งยืนของ ประเทศไทย
การประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ระดับชาติ • ส่วนโครงการจะครอบคลุมแผนปฏิบัติการการด�ำเนิน งานที่มีกรอบเวลา • ส่วนการติดตามสามารถประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดการด�ำเนิน งานหลักของสหประชาชาติและตัวชี้วัดตามปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียงที่องค์กรต่างๆได้พัฒนาหรือก�ำลังพัฒนาในการประเมินผล ของประเทศไทย และแสดงให้เห็นว่าจ�ำเป็นต้องด�ำเนินการอะไร ต่อหรือไม่เพื่อให้ประสบความส�ำเร็จในการบรรลุ 17 เป้าหมาย การพัฒนาอย่างยั่งยืน รัฐบาลกล่าวว่าเชื่อว่าการทบทวนการด�ำเนินการตาม วาระการพัฒนาอย่างยั่งยืน พ.ศ. 2573 ไม่ได้เป็นเพียงขั้นตอน การรายงานหรือโอกาสในการแลกเปลี่ยนแนวทางปฏิบัติที่ดี และความท้าทายระหว่างประเทศ แต่เป็นโอกาสส�ำหรับหน่วย งานที่เกี่ยวข้องในการท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับสถานการณ์และ การติดตามและประเมินผล แผนงานของรั ฐ บาลไทยเพื่ อ การบรรลุ เ ป้ า หมายการ แผนงาน ตลอดจนสร้างความตระหนักและสร้างความเข้าใจใน เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาค พัฒนาอย่างยั่งยืนประกอบด้วย 3 ส่วนคือ • ส่ ว นยุ ท ธศาสตร์ จ ะด� ำ เนิ น การเกี่ ย วกั บ แนวทางใน เอกชน ภาคประชาสังคม สถาบันการศึกษาและชุมชน 24 IS AM ARE www.fosef.org
ในระยะเริ่มแรกของการด�ำเนินงานตามวาระการพัฒนา ที่ยั่งยืนในปี พ.ศ. 2573 การทบทวนโดยสมัครใจระดับชาติเป็น ขั้นตอนส�ำคัญส�ำหรับประเทศไทยในการติดตามความก้าวหน้า ในความพยายามเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน และช่วยประเทศ ด้วยการเสริมสร้างความเข้มแข็งในความพยายามในการด�ำเนิน การตามเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนและสร้างความตระหนัก รู้ของสาธารณชนและสนับสนุนให้เกิดการมีส่วนร่วมอย่างกว้าง ขวางจากหลายภาคส่วนของสังคมไทยเพื่อการบรรลุเป้าหมาย ของการพัฒนาอย่างยั่งยืน คณะท�ำงาน การทบทวนโดยสมัครใจระดับชาติ ประกอบ ด้วยหน่วยงานหลักต่างๆที่ท�ำงานเพื่อให้บรรลุ 17 เป้าหมาย การพัฒนาอย่างยั่งยืนและส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ ส�ำนักงาน สถิติแห่งชาติก�ำลังเร่งด�ำเนินการโดยใช้สถิติอย่างเป็นทางการ ของประเทศให้เป็นฐานข้อมูลแบบรวมศูนย์ การรวบรวมและ การพั ฒ นาข้อมูลทางสถิติแ ละตัว ชี้วัด เพิ่ม เติม นอกจากนี้ ยั ง ช่วยเพิ่มขีดความสามารถทางสถิติของหน่วยงานและบุคลากร ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ฐานข้อมูลและตัวชี้วัดส�ำหรับเป้าหมายการ พัฒนาอย่างยั่งยืนมีความครอบคลุมมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ การทบทวนโดยสมัครใจระดับชาติ ถูกมองว่าเป็นเครื่องมือใน ทางปฏิบัติและเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการมีส่วนส่วนร่วมที่ ควรได้รับการสนับสนุน
กระบวนการทบทวนโดยสมัครใจระดับชาติได้เสร็จสิ้น แล้ว จากรายงานการทบทวนโดยสมัครใจระดับชาติล่าสุดของ ปี พ.ศ. 2560 เวทีและคณะกรรมการต่างๆเหล่านี้ได้ให้พื้นที่ ส�ำหรับนักธุรกิจ นักวิชาการและองค์กรภาคประชาสังคมเพื่อ ให้ มี ส ่ ว นร่ ว มกั บ รั ฐ บาลในประเด็ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การพั ฒ นา อย่ า งยั่ ง ยื น และเปิ ด โอกาสให้ มี ก ารประสานงานกั น ระหว่ า ง กลุ่มเหล่านี้ (รายงานการทบทวนโดยสมัครใจของประเทศไทย, 1-2) รัฐบาลได้ด�ำเนินการให้มีการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วน เสียหลายรอบ การปรึกษาหรือกับหลายกลุ่ม เช่น เยาวชนและ สมาชิกรัฐสภา ความคิดเห็นเกี่ยวกับความส�ำเร็จของเวทีต่างๆเหล่านี้ ในการให้ค�ำปรึกษาอย่างเพียงพอกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่างๆได้ รับการผสมผสานกัน รัฐบาลไทยรายงานว่าผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สามารถมีส่วนร่วมตามบทบาทและความเชี่ยวชาญของตนได้ ในขณะที่รายงานของภาคประชาสังคมได้กล่าวว่าความพยายาม เหล่านี้ไม่เพียงพอและไม่ได้ผล ภาคประชาสังคมบางกลุ่มแห่ง ได้วิจารณ์ว่าการหารือของรัฐบาลเกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนา อย่างยั่งยืนและแผนการด�ำเนินการของรัฐบาลถูกจ�ำกัดอยู่ใน เฉพาะกลุ่มชนชั้นน�ำและการมองอย่างแคบๆซึ่งส่งผลให้ “กลุ่ม ชนกลุ่มน้อยจ�ำนวนมากและคนธรรมดา” ถูกมองข้าม รายงานเงาที่ มี ต ่ อ การทบทวนโดยสมั ค รใจของ ประเทศไทยรายงานว่าภาคประชาสังคมนอกจากไม่ได้รับเชิญ ให้ เข้ า ร่ ว มในกระบวนการทบทวนโดยสมั ค รใจแห่ ง ชาติ แ ล้ ว “การเป็นหุ้นส่วนกับภาคประชาสังคมในฐานะที่เป็นพันธมิตร ที่เท่าเทียมกัน” ก็ยังไม่เกิดขึ้น อย่างไรก็ตามรายงานฉบับนี้ยัง ระบุด้วยว่าภาครัฐมีส่วนร่วมกับภาคเอกชน และรัฐบาลมีส่วน ร่วมกับภาคประชาสังคมในความพยายามที่จะบรรลุบางเป้า หมายของการพัฒนาอย่างยั่งยืน ในปี พ. ศ. 2560 ประเทศไทยได้รับการจัดให้อยู่ล�ำดับที่ 55 จาก 157 ประเทศในดัชนีที่จัดตั้งขึ้น “เพื่อช่วยให้ประเทศ ต่างๆสามารถตรวจสอบได้ว่าพวกเขายืนอยู่ที่จุดใดในเรื่องที่ ปฏิบัติตามเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ประเทศไทยได้ ลงทุนอย่างมากในการลดความยากจน (เป้าหมายที่ 1) และ ท�ำให้มั่นใจได้ว่ามีการการเข้าถึงน�้ำสะอาดและสุขาภิบาล (เป้า หมายที่ 6) อย่างไรก็ตามยังมีความจ�ำเป็นต้องด�ำเนินการอย่าง มุ ่ ง มั่ น และการมี ส ่ ว นร่ ว มให้ ม ากขึ้ น ส� ำ หรั บ ประเทศไทยที่ จ ะ บรรลุความก้าวหน้าอย่างมีนัยส�ำคัญในทุกเป้าหมายของการ พัฒนาอย่างยั่งยืน โดย thailand.opendevelopmentmekong.net
ประเทศไทย 4.0 สะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง การบู ร ณาการ ของปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งโดยเน้ น การออกแบบ ระบบเศรษฐกิ จ ฐานคุ ณ ค่ า โดยการเทคโนโลยี ใ หม่ ๆ ควบคู ่ ไ ปกั บ การปฏิ บั ติ ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม โดยมี เ ป้ า หมายสู ง สุ ด ในการน� ำ พาประเทศไทยออก จากกั บ ดั ก รายได้ ป านกลางและผลั ก ดั น ประเทศไทย เข้ า สู ่ ป ระเทศที่ มี ช ่ ว งรายได้ สู ง
25 issue 137 JUNE 2019
26 IS AM ARE www.fosef.org
27 issue 137 JUNE 2019
28 IS AM ARE www.fosef.org
29 issue 137 JUNE 2019
จากเด็กเข็นผัก วินรับจ้าง สู่ ผู ้พิพากษา
ลิขิตฟ้าหรือจะสู้มานะตน
ซึ่ ง ถ้ า หากเปรี ย บเที ย บกั บ ชี วิ ต นั้ น ก็ เ ปรี ย บได้ ว ่ า ชี วิ ต ก็ เ หมื อ นเส้ น ทางสายหนึ่ ง ซึ่ ง แน่ น อนว่ า เส้ น ทางสายนั้ น อาจจะไม่ ไ ด้ เ รี ย กอยู ่ เ สมอไปอาจจะเป็ น หลุ ม เป็ น บ่ อ และพบกั บ อุ ป สรรคมากมายที่ จ ะท� ำ ให้ อ าจจะต้ อ งล้ ม ลุ ก คลุ ก คลานไปบ้ า งแต่ ถ ้ า หากลุ ก ขึ้ น มาและลุ ย กั บ เส้ น ทางสายนั้ น ก็ อ าจจะท� ำ ให้ ชี วิ ต ไปสู ่ ค วามส� ำ เร็ จ ก็ ไ ด้ ดั่ ง ชี วิ ต ของคุ ณ โจหรื อ วรวิ ท ย์ เอี่ ย มส� ำ อางค์ นั้ น เอง 30 IS AM ARE www.fosef.org
และในวันนี้เราจะพาทุกคนนั้นมารู้จักกับอัยการวิทย์ กันซึ่งอัยการวิทย์คนนี้ บอกเลยว่าชีวิตกว่าที่จะประสบความ ส� ำ เร็ จ และกลายเป็ น อั ย การนั้ น ไม่ ไ ด้ ส วยงามอย่ า งที่ ใ ครคิ ด เพราะเขาเป็นนักสู้ชีวิตที่บอกเลยว่าเป็นต้นแบบของความมานะ เลยก็ว่าได้โดยในปัจจุบันนั้นเขาสามารถสอบอัยการผู้ช่วยรุ่นที่ 51 และอยู่ในต�ำแหน่งอัยการผู้ช่วยสถาบันพัฒนาข้าราชการ ฝ่ายอัยการคอยช่วยเหลืองานส�ำนักงานคดีอาญากรุงเทพใต้ และปฏิบัติงานราชการส�ำนักงานอัยการพิเศษฝ่ายศาลอาญา กรุงเทพฯใต้ 5 โดยถ้าหากย้อนไปในสมัยก่อนนั้นเรียกว่าครอบครัวของ อัยการวิทย์ นั้นก็ไม่ได้ร�่ำรวยแต่อย่างใดซึ่งครอบครัวของเขานั้น ประกอบอาชีพค้าขายสินค้าทางการเกษตรเช่นพวกผักผลไม้อยู่ ในจังหวัดเพชรบุรีโดยตัวเขานั้นเป็นลูกคนที่ 3 และมีพี่น้องร่วม กันทั้ง 4 คน ซึ่งในตอนเด็กนั้นพ่อแม่ของเขาก็ไม่ค่อยสนับสนุน ให้เรียนหนังสือ อยากจะให้ลูกนั้นออกมาท�ำงานเพราะมีอาชีพ ค้าขายกันอยู่แล้วและเป็นอาชีพที่อิสระไม่ต้องไปเป็นลูกจ้าง ครอบครั ว ของอั ย การวิ ท ย์ นั้ น ก็ ไ ม่ ไ ด้ ร�่ ำ รวยแต่ อย่ า งใดซึ่ ง ครอบครั ว ของเขานั้ น ประกอบอาชี พ ค้ า ขายสิ น ค้ า ทางการเกษตรเช่ น พวกผั ก ผลไม้ อ ยู ่ ใ น จั ง หวั ด เพชรบุ รี โ ดยตั ว เขานั้ น เป็ น ลู ก คนที่ 3 และมี พี่ น้ อ งร่ ว มกั น ทั้ ง 4 คน ซึ่ ง ในตอนเด็ ก นั้ น พ่ อ แม่ ข อง เขาก็ ไ ม่ ค ่ อ ยสนั บ สนุ น ให้ เ รี ย นหนั ง สื อ อยากจะให้ ลู ก นั้ น ออกมาท� ำ งานเพราะมี อ าชี พ ค้ า ขายกั น อยู ่
ใคร และเกรงว่าถ้าหากคิดจะส่งลูกเรียนสูงก็กลัวส่งลูกไปไม่ถึง ฝั่ง เพราะที่บ้านนั้นมีฐานะที่ยากจน แล้วพ่อมักจะพูดกับลูกๆ อยู่เสมอว่า “อย่าไปหวังเลยกับอาชีพราชการคนจนจนอย่างเรา ไม่มีโอกาสไปสอบหรอก” โดยอั ย การวิ ท ย์ นั้ น ก็ ไ ด้ เรี ย นจบในชั้ น ระดั บ ป 6 ที่ โรงเรียนบ้านท่ายางซึ่งเป็นระดับชั้นมาตรฐานการศึกษาภาค บังคับที่เด็กไทยทุกคนนั้นจะต้องเรียนและเมื่อมีความคิดที่อยาก จะต่อชั้นในมัธยมศึกษาตอนต้น ทางพ่อก็ไม่ยอมให้ต่อเพราะ อยากจะให้ออกมาช่วยที่บ้านค้าขาย แต่ตัวเขาก็ตัดสินใจที่จะไม่ ยอมท�ำตามพ่อและไปเรียนต่อระดับมัธยมศึกษาตอนต้นแต่เรียน ได้เพียงแค่พักหนึ่งเท่านั้นเพราะทางบ้านประสบปัญหาในเรื่อง ของทางด้านการเงินจึงท�ำให้จ�ำเป็นจะต้องลาออกมาช่วยเหลือ ครอบครัวหารายได้เสริมมาใช้หนี้สิน แต่สุดท้ายเขานั้นก็กลับมาหาวิธีการเรียนให้กับตัวเองได้ หลังจากที่เขาท�ำงานเข็นผักเพื่อหารายได้นั้นได้เห็นเพื่อนสมัย เรียนแต่ก่อนมอต้นใช้ชีวิตอย่างสนุกสนานเฮฮาและได้กลับไป 31
issue 137 JUNE 2019
โดยในตอนนั้นเขาก็ดูแลพ่อไปด้วยขี่วินมอเตอร์ไซค์ไป ด้วยอ่านหนังสือเพื่อสอบเนติไปด้วยจนกระทั่งจบเนติบัณฑิต ในสมัยที่ 65 และเป็นช่วงที่พ่ออาการทรุดหนักเป็นอย่างมาก สมองไม่สามารถรับรู้อะไรได้ครอบครัวหมดหวังว่าพ่อจะหาย รอวันที่จะจากไปเท่านั้นจนกระทั่งเขานั้นได้มีโอกาสสอบเป็น อัยการผู้ช่วยครั้งแรกเมื่อปี 2557 แต่ก็ไม่ผ่านแต่เมื่อวันอายุ 27 มกราคม 2558 พ่อเกษมชีวิตลงตัวเขานั้นตัดสินใจของครอบครัว ให้เก็บศพพ่อไว้ก่อนรอสอบอัยการรอบต่อไปแล้วจะใส่ชุดขาว ในวันงานศพพ่อให้ได้
เรียนต่อในระดับชั้นกศนเมื่อจบมัธยมต้นจึงขอพ่อเรียนต่อใน ชั้นม 4 ครั้งและในครั้งนี้พ่อก็ยอมและยอมให้เรียนต่อแต่ต้องมา ช่วยเหลือพ่อแม่ตามปกติ แต่เมื่อเรียนถึงชั้นอุดมศึกษาทางพ่อก็ ไม่สามารถส่งเรียงได้แต่เขาก็ต้องการที่จะเรียนขอแค่ให้มีโอกาส เรียนก่อนจึงได้มาสมัครเรียนที่คณะนิติศาสตร์ในมหาวิทยาลัย รามค�ำแหงและสามารถเรียนจบปริญญาตรีได้ในปี 2551 ซึ่งใน ระหว่างที่ท�ำขอเรื่องจบนั้นพ่อก็ยังท�ำเตาย่างไก่เพื่อให้ตัวเขานั้น กลับไปขายไก่ย่างแถวจันทบุรีโดยในตอนนั้นเขาก็ไม่ได้ขัดใจพ่อ แต่อย่างใดเพราะพ่อยอมให้เรียนต่อปริญญาตรีจนจบนั่นเองจึง ได้เริ่มขายไก่ย่างตามค�ำพ่อ แต่แล้วตัวเขานั้นก็ต้องพบกับช่วงเศรษฐกิจที่เกิดปัญหา จึงท�ำให้เขานั่งขายของขาดทุนเรื่อยๆ จนท�ำให้เขานั้นได้กลับมา ขอพ่อมาเรียนเนติบัณฑิตเพื่อท�ำความฝันของตัวเอง ซึ่งนั่นก็เป็น ช่วงเดียวกับการที่พ่อนั้นป่วยลงเรือพ่อป่วยเป็นเบาหวานลงขา ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้จึงท�ำให้ต้องคอยดูแลพ่ออย่าง ใกล้ชิดและต้องหางานที่ไม่ใช่งานประจ�ำท�ำเพราะต้องคอยกลับ มาดูแลพ่อโดยในตอนนั้นก็ตัดสินใจว่าจะขี่วินมอไซค์เพื่อหาราย ได้อยู่บริเวณย่านมหาวิทยาลัยรามค�ำแหงโดยขี่รถตั้งแต่ 05.3008.00 น. และ 18.00-19.00 น.
ชี วิ ต กว่ า ที่ จ ะประสบความส� ำ เร็ จ และกลายเป็ น อั ย การ นั้ น ไม่ ไ ด้ ส วยงามอย่ า งที่ ใ ครคิ ด เพราะเขาเป็ น นั ก สู ้ ชี วิ ต ที่ บ อกเลยว่ า เป็ น ต้ น แบบของความมานะเลย ก็ ว ่ า ได้ โ ดยในปั จ จุ บั น นั้ น เขาสามารถสอบอั ย การ ผู ้ ช ่ ว ยรุ ่ น ที่ 51 และอยู ่ ใ นต� ำ แหน่ ง อั ย การผู ้ ช ่ ว ย สถาบั น พั ฒ นาข้ า ราชการฝ่ า ยอั ย การคอยช่ ว ย เหลื อ งานส� ำ นั ก งานคดี อ าญากรุ ง เทพใต้ แ ละปฏิ บั ติ งานราชการส� ำ นั ก งานอั ย การพิ เ ศษฝ่ า ยศาลอาญา กรุ ง เทพฯใต้ 5
32 IS AM ARE www.fosef.org
ใช้เวลานานหลายปีซึ่งในช่วงนั้นก็ท�ำให้เขานั้นต้องขึ้นลงศาลเป็น ประจ�ำและทุกครั้งพ่อก็รู้สึกเครียดๆที่ได้พบกับคนแก่ผมหงอก และทุกคนนั้นก็ให้ความเคารพเกรงใจอยู่ตลอดเวลา แล้วก็ทราบ ว่าคนๆ นั้นเป็นทนายความของพ่อของเขา โดยในตอนนั้นเขารู้สึกว่าทนายความนั้นดูน่าเกรงขาม เป็นอย่างมากขณะที่คิดว่าพ่อนั้นเก่งแล้วยังมีคนที่พ่อให้ความ เคารพขนาดนี้อีก ซึ่งในตอนนั้นเขาก็เลือกอยู่ระหว่างการเป็น ต�ำรวจกับเป็นทนายความจึงได้ไปตัดสินใจถามพ่อว่า ถ้ากลัวใคร ระหว่างต�ำรวจกับทนายความแต่พ่อกลับบอกว่ากลัวอัยการซึ่งก็ เกิดค�ำถามว่าอัยการคืออะไรประกอบกับของเขานั้นเป็นอัยการ จึงได้เริ่มสังเกตและมาพูดคุยกับอาศัยอยู่เป็นประจ�ำทุกครั้งที่มี โอกาสได้พบหน้ากันและเริ่มรู้จักพนักงานอัยการมากยิ่งขึ้นจน ท�ำให้เขานั้นมีความฝันที่อยากจะเป็นอัยการและมุ่งมั่นที่จะเรียน ต่อสายกฎหมายเพื่อสอบบรรจุเป็นอัยการตั้งแต่นั้นมา
แต่ถ้าว่าความฝันนั้นก็ไม่ส�ำเร็จเพราะในช่วง 2558 เขา ได้ พ บกั บ งานทนายความที่ เ ยอะมากอี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น ทั้ ง เสมี ย น ทนายความเป็นทั้งคนขับรถจะท�ำเอกสารจนไม่สามารถมีเวลา อ่านหนังสือเพื่อเตรียมสอบอัยการได้จึงให้ท�ำให้ความหวังที่จะ ใส่ชุดขาวในวันงานศพพ่อนั้นหายไปแล้วบอกกับทางครอบครัว ว่าเผาก่อนดีกว่าไม่ต้องรอหรอกแต่หลังจากที่เผาศพพ่อเสร็จ ไปแล้วประมาณ 1 เดือนเขาก็สามารถสอบผู้ช่วยอัยการเป็นที่ ส�ำเร็จ … โดยในตอนนั้นเขารู้สึกดีใจเป็นอย่างมากแต่ก็เสียใจว่า ท�ำไมตัวเองในไม่มีความเชื่อมั่นซึ่งถ้าหากไม่เผาพ่อก่อนก็คงได้มี โอกาสใส่ชุดขาวไปเผางานศพพ่อดั่งที่ตั้งใจเอาไว้โดยถ้าหากพูด ถึงเรื่องแรงบันดาลใจที่ท�ำให้เขามาถึงจุดนี้ได้ก็เพราะทางบ้านที่ มีฐานะที่ยากจนและเคยตามพ่อไปขึ้นคดีความคดีแพ่งโดยคดีคดี นั้นพ่อของเขาเป็นโจทก์ฟ้องคดีซึ่งกว่าจะชนะคดีก็ปาไป 3 ศาล 33
issue 137 JUNE 2019
34 IS AM ARE www.fosef.org
35 issue 137 JUNE 2019
36 IS AM ARE www.fosef.org
37 issue 137 JUNE 2019
38 IS AM ARE www.fosef.org
39 issue 137 JUNE 2019
40 IS AM ARE www.fosef.org
41 issue 137 JUNE 2019
“สิรินุช ฉิมพลี ผ่านวิกฤติสู้ชีวิตด้วยปลากัดส่งออก เริ่มต้นจากความไม่รู้ สู่ชื่อเสียงที่โด่งดังไปทั่วโลก”
คุณสิรินุช ฉิมพลี จ.นครปฐม 42 IS AM ARE www.fosef.org
Let’s Talk ปี พ .ศ.2540 เกิ ด วิ ก ฤติ เ ศรษฐกิ จ ครั้ ง ใหญ่ ขึ้ น ใน ประเทศไทย มีการลอยตัวค่าเงินบาทจนเกิดสภาวะต้มย�ำกุ้ง ท�ำให้ความฝันจะได้เห็นประเทศไทยเป็นเสือเศรษฐกิจตัวที่ 5 ของเอเชียต้องพังภินท์ลงไป และกว่าไทยเราจะฟื้นตัวได้กับ สถานการณ์นี้ก็นานหลายปี สภาวะเศรษฐกิจตกครั้งนั้นจึงส่ง ผลให้นายทุนที่กู้เงินมาลงทุนเก็งก�ำไรต้องประสบกับมูลค่าหนี้ เพิ่มขึ้นทบทวีจากมูลค่าเงินบาทอ่อนตัวลง ท�ำให้หลายคนที่ ปรับตัวปรับใจไม่ทัน ต้องล้มละลาย ปิดกิจการ บ้างฆ่าตัวตาย กลายเป็นบุคคลไร้ความสามารถไปชั่วข้ามคืน ซึ่งมนุษย์เดินดิน กินข้าวแกงผู้มีเบี้ยอัฐเพียงน้อยนิดหรือจะต้านกระแสเศรษฐกิจ แบบนี้ได้ท่ามกลางวิกฤติเศรษฐกิจล้มลงแบบโดมิโน ผู้ใช้แรงงาน ฝีมือดีประสบการณ์เด่นถูกลอยแพในตลาดแรงงานเป็นเบือ แล้ว นักศึกษาจบใหม่ไร้ประสบการณ์จะไปเหลือหนทางอะไรให้ไป นอกจากเดินวิจัยฝุ่นไปวันๆ ย้อนไปเมื่อปี พ.ศ.2443 ก้อย สิรินุช ฉิมพลี เป็นเพียง นักศึกษาจบใหม่ ที่เดินออกจากรั้วมหาวิทยาลัยศรีปทุม แล้ว มุ่งตรงเข้าสู่ตลาดแรงงานในทันที ซึ่งแน่ล่ะว่า ณ ช่วงเวลานั้นมี แต่คนว่างงานมากกว่าต�ำแหน่งงานว่างก้อยจึงหนีไม่พ้นสภาวะ ว่างงาน เพราะหางานท�ำในสภาพเศรษฐกิจแบบนี้ได้ยากยิ่ง กว่าหาสาขา 7-11 ต่อให้พกพาความรู้ระดับปริญญาตรี เอก บริหารธุรกิจ ออกมาด้วย ก็ไม่ช่วยให้หางานได้ง่ายหรือเรียกค่า เหนื่อยได้มากขึ้น ด้วยสภาวะเศรษฐกิจตกต�่ำจนถึงขีดสุด สถาน ประกอบการต่างดิ้นรนเพื่อความอยู่รอด พากันลดต้นทุน ลด เงินเดือนพนักงานที่ยังคงจ้างอยู่ เพื่อประครองตัวเองให้รอดพ้น วิกฤติเศรษฐกิจไปให้ได้ การจะว่าจ้างแรงงานสักหนึ่งต�ำแหน่งจ�ำ ต้องผ่านการไตร่ตรองอย่างหนัก นอกจากจะหาต�ำแหน่งงานว่าง
ยากแล้วยังจะมีจ�ำนวนแรงงานล้นเกินความต้องการคอยช่วงชิง ที่นั่งในงานประจ�ำจ่อรออยู่อีกมากมาย จึงไม่ต้องมานั่งฝันหวาน จินตนาการเรื่องรายได้ดีๆ ท่ามกลางค่าครองชีพที่สูงขึ้นทุกวัน แต่เมื่อปากท้องคนเรายังคงต้องการพลังงานเพื่อการมีชีวิตอยู่ต่อ ไป คนมีลมหายใจอย่างก้อยหรือจะยอมแพ้ต่อโชคชะตา โดยไม่ ดิ้นรนท�ำอะไร ทั้งๆ ที่ยังมีสติสัมปชัญญะ มีมือ มีเท้า และ ต้นทุน มันสมองอันดีครบถ้วน
กว่าจะมาเป็ น Sirinut Betta Farm
“หลั ง เรี ย นจบปริ ญ ญาตรี คณะบริ ห ารธุ ร กิ จ จาก มหาวิทยาลัยศรีปทุม ในปี พ.ศ. 2543 ซึ่งเป็นช่วงประเทศไทยได้ รับผลกระทบจากปัญหาภาวะเศรษฐกิจตกต�่ำปลายปี 2540 จึง หางานท�ำไม่ได้ ที่หาได้ก็ไม่พอเลี้ยงดูตัวเอง เลยกลับมาตั้งหลัก อยู่บ้านเกิดที่จังหวัดนครปฐมเพื่อหางานท�ำหารายได้เลี้ยงตัว เอง ไม่ท�ำตัวเป็นภาระของพ่อกับแม่ ช่วงแรกๆ ตอนกลับมาอยู่ บ้านก็ไม่รู้จะท�ำอะไร จึงช่วยพ่อแม่ท�ำไร่พริก ระหว่างนี้ก็สังเกต เห็นว่าคนในหมู่บ้านมีการเพาะเลี้ยงปลากัดจีนขายส่งออก โดย มีพ่อค้าคนกลางมารับซื้อถึงบ้าน ก็คิดว่าดีนะ ไม่ต้องไปเร่ขายก็ มีคนมาซื้อถึงบ้าน ท�ำให้สนใจการเพาะเลี้ยงปลากัด จึงเริ่มหา ข้อมูลเรื่องปลากัดมาอ่าน ศึกษาจากหนังสือ อินเตอร์เน็ต และ วารสารของกรมประมง ท�ำให้ทราบว่าตลาดของปลาสวยงาม โดยเฉพาะตลาดปลากัดเป็นตลาดที่ใหญ่ และปลากัดเป็นปลา เศรษฐกิจส่งออก ด้วยคุณสมบัติของปลากัด คือ เลี้ยงง่าย ตาย ยาก มีสีสันสวยงาม ใช้พื้นที่ในการเลี้ยงน้อยและทนทุกสภาพ อากาศ จึงเป็นที่ต้องการของตลาดต่างประเทศ ท�ำให้สนใจและ เริ่มอาชีพการเพาะเลี้ยงปลากัดนับจากวันนั้นมา พร้อมกับคิดว่า สักวันหนึ่งเราต้องพัฒนาส่งออกปลากัดให้ได้ คิดไปไกลทั้งๆที่ ไม่มีความรู้ด้านการเพาะพันธุ์ปลากัดเลย ไม่มีความรู้ด้านการส่ง 43
issue 137 JUNE 2019
ออก ไม่เก่งภาษาอังกฤษและคอมพิวเตอร์ เพื่อนบ้านต่างกล่าว หาว่าบ้า เลี้ยงปลากัดไม่ต้องจบปริญญาตรีก็เลี้ยงได้ และดูถูกว่า เราจะท�ำไม่ได้ แต่ด้วยมีแรงใจอันมุ่งมั่น ขยันอดทน ท�ำการฝึกหัด เพาะพันธุ์ปลากัดเรื่อยมา พร้อมกับท�ำตลาดออนไลน์ทั้งบน Facebook,Instagram และ เว็บไซต์ sirinutbettafarm.com ขยายฐานการผลิต เดินสายประกวดปลากัด จนมีชื่อเสียงโด่ง ดังไปทั่วประเทศ และสามารถท�ำตลาดปลากัดส่งออกไปได้ไกล หลายประเทศในปัจจุบัน ในนาม Sirinut Betta Farm
ภาพรวมการผลิต :
ที่ Sirinut betta farm เป็นฟาร์มเพาะเลี้ยงปลากัด ที่ แบ่งแยกการเพาะพันธุ์ออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. สายพันธุ์ดั้งเดิม คือ ปลากัดป่า (Wildtype) เลี้ยง เพื่อเป็นการอนุรักษ์สายพันธุ์ดั้งเดิมเพื่อไม่ให้สูญพันธุ์ และเป็น แหล่งเรียนรู้ด้านปลากัดป่าของประเทศไทย 2. สายพันธุ์พัฒนา คือ ปลากัดเน้นสีสันสวยงาม ท�ำ เป็นธุรกิจส่งออกและเปิดเป็นแหล่งเรียนรู้ มีสายพันธุ์ต่างๆ ดังนี้ • ปลากัด Half moon • ปลากัด Crowntail • ปลากัดสองหาง Double Tail • ปลากัดหม้อ Half Moon Plakat • ปลากัดเก่ง Fighter • ปลากัดจีน Veiltail/Longfin • ปลากัด Super Delta ที่ Sirinut betta farm จะเน้นผลิตปลากัดให้ครบทุก สายพันธุ์ ตามตลาดนิยม เพื่อให้ลูกค้ามาซื้อที่ฟาร์มแล้วได้ครบ ทุกสายพันธุ์ ท�ำให้ลูกค้าไม่ต้องวิ่งไปหาซื้อหลายที่ เป็นการช่วย ลูกค้าประหยัดเวลา มาที่นี่ที่เดียวได้ครบทุกสายพันธุ์
การจัดสรรพื้นที่ :
มี ก ารจั ด สรรพื้ น ที่ ภ ายในฟาร์ ม เพื่ อ ให้ ถู ก ต้ อ งตาม มาตรฐาน GAP ของกรมประมงดังนี้ 1. โซน เพาะปลากัด 2. โซน อนุบาลลูกปลากัด 3. โซน โรงเรือนเลี้ยงปลากัด 4. โซน พ่อพันธุ์-แม่พันธุ์ 5. โซน บ่อพักน�้ำ 6. โซน บ่อน�้ำทิ้ง 7. โซน แพ็คปลา (โซนคัดแยกและบรรจุภัณฑ์)
โดยการจัดสรรพื้นที่ทัง้ หมดจะแบ่งเป็ น
1. บ้านพักอาศัยของครอบครัว ใช้พื้นที่ 1 ไร่ 2. ฟาร์มเพาะเลี้ยงปลากัด ใช้พื้นที่ 2 ไร่ แบ่งเป็นโซน อนุบาลลูกปลากัด โซนเลี้ยงปลากัด 3 โรงเรือน โซนแพ็คปลา กัด
44 IS AM ARE www.fosef.org
45 issue 137 JUNE 2019
3. บ่อน�้ำ ไว้เป็นบ่อน�้ำทิ้ง ใช้พื้นที่ 1 งาน เวลาเปลี่ยน ถ่ายน�้ำปลากัดจะได้ไม่ไปรบกวนเพื่อนบ้าน ในบ่อน�้ำทิ้งก็จะเลี้ยง ปลาไว้บริโภค เช่น ปลาทับทิม ปลานิล ปลาช่อน น�้ำในบ่อก็ยัง สามารถน�ำมารดน�้ำต้นไม้ภายในฟาร์มได้ 4. พื้นที่ว่าง 3 งาน ไว้ส�ำหรับสร้างโรงเรียนปลากัดใน อนาคต และไว้รองรับการขยายงาน บริเวณรอบฟาร์มปลูกเป็นไม้ยืนต้นให้ร่มเงา เช่น พยุง มะฮอกกานี คูณ มะค่าโมง ต้นสักทองและมีการปลูกผัก ผลไม้ไว้ รับประทาน ได้แก่ แก้วมังกร ล�ำไย กล้วย ชะอม ผักบุ้ง ตะไคร้ ต้นแค มะนาว มะกรูด กะเพรา ที่นิยม เพื่อเราจะผลิตได้ตรงตามความต้องการของลูกค้า เช่น ยุโรปชอบสี น�้ำเงิน เขียว ส่วนเอเชีย จีน ญี่ปุ่น สิงคโปร์ อิหร่าน จะชอบสีแดง และศึกษาจากอินเตอร์เน็ต บน website ประมูล ปลากัดในไทย และประมูลปลากัดต่างประเทศ ว่าตอนนี้คนนิยม ประมูลสีไหน เช่น ตอนนี้นิยมสี fancy คือ สามสีในตัวเดียวกัน เราก็จะบอกที่ฟาร์มและเครือข่ายลูกเล้าของเราให้หาพ่อแม่พันธุ์ ปลากัดสี fancy มาเพาะ โดยที่ฟาร์มจะเน้นวางแผนการผลิต โดยเอาตลาดน�ำการผลิต
การวางแผนการผลิต :
ดูจากสถิติในแต่ละปีว่าช่วงเดือนไหนลูกค้าซื้อปลากัด น้อย ช่วงไหนซื้อปลากัดเยอะและเป็นประเทศอะไรบ้าง เพื่อ วางแผนการผลิตในฟาร์มและเครือข่ายลูกเล้าที่เลี้ยงปลากัดไม่ ให้ปลากัดล้นตลาดขายไม่ทัน หรือผลิตปลาน้อยไม่เพียงพอกับ ความต้องการของลูกค้า เช่น ช่วงปีใหม่อิหร่าน (เดือนกุมภาพันธ์ ถึงมีนาคม หรือ มีนาคมถึงเมษายน หรือเมษายนถึงพฤษภาคม ในแต่ละปีจะเปลี่ยนวันและเดือนทางฟาร์มต้องพยายามถาม ลูกค้าว่าปีใหม่บ้านเขาที่อิหร่านเดือนไหน เพื่อวางแผนการผลิต ได้ถูกช่วงเวลา) ลูกค้าอิหร่านจะมีความเชื่อเก่าแก่โบราณที่ชอบ มอบสิ่งมีชีวิตให้กันในวันปีใหม่อิหร่านเพื่อเป็นการต่ออายุ ปลา ที่นิยมให้คือปลากัด เพราะมีราคาไม่แพง ไม่ต้องใช้ออกซิเจน แค่ ใส่ขวดน�้ำ ขวดโหล เขาสามารถอยู่ได้ จึงต้องวางแผนการผลิต ก่อน 4 เดือน เพราะว่าปลากัดมีอายุพร้อมขาย 4 เดือน (ความ ต้องการประมาณ 500,000 ตัวต่อรอบการผลิต) และลูกค้าชอบ สีแดงเป็นสีมงคลเพราะฉะนั้นจะเน้นที่ฟาร์มและเครือข่ายลูก เล้าให้เน้นผลิตปลากัดจ�ำนวนมากและเน้นสีแดง ส่วนยุโรปปลาย เดือนพฤศจิกายนอากาศจะหนาวจัดส่งปลากัดไปจะมีความเสี่ยง สูงในเรื่องการตายและเสียหาย ลูกค้าไม่ค่อยนิยมซื้อปลากัดช่วง ฤดูหนาว เราก็จะวางแผนการผลิตให้น้อยลง ส่วนสีของปลากัด เราต้องศึกษาว่าประเทศไหนชอบสีอะไร และขณะนี้มีสีไหนเป็น
การบริหารจัดการ :
• ตั้งเป้าหมายการผลิตในรอบปีไม่ต�่ำกว่า 300,000 ตัว ต่อปี ให้ทันกับความต้องการของลูกค้า ให้ทุกคนในฟาร์มเข้าใจ และปฏิบัติตรงกัน • อุปกรณ์ที่มีความเสี่ยงและไม่ปลอดภัย เช่น เครื่อง แพ็คปลา ให้ความรู้กับทุกคนในฟาร์มเพื่อใช้เครื่องแพ็คปลาได้ มีประสิทธิภาพและลดปัญหาการเกิดอุบัติเหตุ • ตู ้ แช่ น�้ ำ แข็ ง ส� ำ หรั บ แพ็ ค ปลากั ด มี ก ารติ ด ตั้ ง สายดิ น ป้องกันเรื่องปัญหาไฟฟ้าดูด • มี ก ารติ ด ตั้ ง เครื่ อ งตั ด ไฟฟ้ า ในฟาร์ ม เพราะมี ก าร ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น เครื่องแพ็คปลา แอร์ ตู้แช่น�้ำแข็ง ปั๊ม ออกซิเจน เสี่ยงต่อการโดนน�้ำระหว่างการแพ็คและเลี้ยงปลา กัด เพื่อป้องกันไฟฟ้าดูด • ประสานกับกรมประมงและส�ำนักงานประมงจังหวัด นครปฐม เพื่อให้ความรู้และค�ำแนะน�ำเรื่องปลาป่วย ลดปัญหา เรื่ อ งปลาเป็ น โรค เพื่ อ ผลิ ต ปลากั ด ให้ ไ ด้ ม าตรฐานของกรม ประมง • เลือกพ่อ - แม่พันธุ์ปลากัด ที่เลือดไม่ชิดกันเพราะจะ ท�ำให้ยีนด้อยเสี่ยงกับการได้ลูกปลากัดที่พิการ และป่วยง่าย 46
IS AM ARE www.fosef.org
• อาหารที่ใช้เลี้ยงปลากัดควรเป็นอาหารธรรมชาติและ สดไม่ตาย เช่น ลูกน�้ำ ลูกไร ไรทะเล(Artemia) จะท�ำให้ปลา แข็งแรง (เพราะถ้าอาหารมีชีวิต ปลากัดจะได้ออกก�ำลังกาย ว่ายขึ้นว่ายลงเพื่อกินอาหารที่ว่ายไปมา) สีสวย(โปรตีนที่อยู่ใน พวกอาหารธรรมชาติ จะสูงกว่าอาหารส�ำเร็จรูปท�ำให้ปลากัด มีสีสวย) • ตรวจสอบคุณภาพของน�้ำที่ใช้ในการเลี้ยงปลาทุกครั้ง โดยการดูเบื้องต้น เช่น ดูจากสี กลิ่น เพื่อป้องกันเชื้อโรคที่มา กับน�้ำ • ใช้เครื่องตรวจ pH hydro test kit เป็นการตรวจหา ค่าความเป็นกรด-ด่างของน�้ำ เพื่อไม่ให้เกิดความเสี่ยงต่อปลากัด เป็นการควบคุมคุณภาพน�้ำให้เหมาะสมกับการอยู่อาศัยของปลา กัด ดังนั้นการทดสอบคุณภาพน�้ำ ทุกครั้งจึงปัจจัยส�ำคัญในการ เลี้ยงปลากัดให้ประสบผลส�ำเร็จ (ค่า pH ที่เหมาะส�ำหรับการ เลี้ยงปลากัดอยู่ที่ 6.7 - 7.5) • ใช้เทอร์โมมิเตอร์วัดอุณหภูมิของน�้ำที่จะใช้ส�ำหรับแพ็ค ปลากัดให้อยู่ที่อุณหภูมิ 20 - 23 องศาเซลเซียล ปลากัดจะเย็น สดชื่นลดความเครียดของปลา ลดการตาย การกัดหางของปลา ขณะขนส่ง ท�ำให้ปลากัดเสียหายจากการขนส่งน้อยลง • ใช้เครื่องปั๊มออกซิเจน(Air pump) เพิ่มออกซิเจนใน น�้ำที่ใช้ส�ำหรับแพ็คปลากัด เพื่อลดปัญหาปลาขาดอ๊อกซิเจน สามารถเพิ่มระยะการเดินทางของปลากัดได้นานขึ้น ลดปัญหา การปลาตายขณะขนส่งได้ • ท� ำ บ่ อ พั ก น�้ ำ และพั ก น�้ ำ ก่ อ นน� ำ น�้ ำ มาใช้ ทุ ก ครั้ ง เนื่ อ งจากน�้ ำ ที่ ใช้ ใ นการเพาะเลี้ ย งปลากั ด เป็ น น�้ ำ บาดาล น�้ ำ บาดาลที่สูบขึ้นมาจากใต้ดินน�้ำจะไม่มีออกซิเจนจึงต้องมีการพัก น�้ำในบ่อพักน�้ำอย่างน้อย 24 ชั่วโมง เพื่อเพิ่มออกซิเจนในน�้ำก่อน น�ำมาใช้กับปลากัด เป็นเทคนิคท�ำให้ปลาโตไว แข็งแรง • ก่อนแพ็คปลากัดส่งออกควรงดให้อาหารปลากัดล่วง หน้าหนึ่งวันเพื่อให้ปลาถ่ายสิ่งปฏิกูลออกให้หมด ระหว่างการ ขนส่งปลาจะได้ไม่ถ่ายมูลออกมาท�ำให้น�้ำในถุงปลาเน่าเสียเป็น สาเหตุท�ำให้ปลาตาย • จัดท�ำแผนการตลาด ท�ำโปรโมชั่นให้ลูกค้า ถ้าซื้อมากก็ มีการลดราคาหรือแถมปลากัด มีบริการหลังการขาย เช่น มีคู่มือ การเลี้ยงและการดูแลรักษาปลากัด เพื่อสร้างความพึงพอใจให้ ลูกค้า และรักษาฐานลูกค้าไว้
ช่ ว งแรกๆ ตอนกลั บ มาอยู ่ บ ้ า นก็ ไ ม่ รู ้ จ ะท� ำ อะไร จึ ง ช่ ว ยพ่ อ แม่ ท� ำ ไร่ พ ริ ก ระหว่ า งนี้ ก็ สั ง เกตเห็ น ว่ า คนใน หมู ่ บ ้ า นมี ก ารเพาะเลี้ ย งปลากั ด จี น ขายส่ ง ออก โดย มี พ ่ อ ค้ า คนกลางมารั บ ซื้ อ ถึ ง บ้ า น ก็ คิ ด ว่ า ดี น ะ ไม่ ต้ อ งไปเร่ ข ายก็ มี ค นมาซื้ อ ถึ ง บ้ า น ท� ำ ให้ ส นใจการ เพาะเลี้ ย งปลากั ด สามารถแปรรูปได้ แต่ Sirinut Betta Farm ก็ไม่หยุดนิ่งพยายาม ขยายการตลาดโดยท�ำเป็นเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ท�ำเป็นเสื้อลาย ปลากัด กระเป๋าลายปลากัด เพราะบางทีคนที่ชอบปลากัดก็ ไม่พร้อมที่จะเลี้ยงปลากัด เพื่อให้ลูกค้ามีทางเลือกมากยิ่งขึ้น ซื้อเป็นของฝากได้ โดยศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภค ตัวอย่าง ประเทศออสเตรเลีย เวลาคนไปเที่ยวก็จะซื้อพวกเสื้อ กระเป๋า ลายจิงโจ้ หมีโคอาร่า เป็นของฝาก เป็นการโปรโมทปลากัดของ ไทยเราด้วย โดยจะใช้รูปปลากัดที่ฟาร์มถ่ายเสนอต่อยอดสกรีน เป็นลายเสื้อ กระเป๋า ใส่ค�ำว่า Siamese fighting fish ชี้ให้เห็น ว่าเป็นปลากัดของไทยเรา รูปปลากัดที่ใช้ก็จะดึงความโดดเด่น เรื่องสีของปลากัด ให้เห็นถึงความสวยงามของปลากัด
การตลาด : แบ่งเป็ น 2 ส่วนด้วยกัน คือ ตลาด ล่างและตลาดบน
ตลาดล่าง คือ เป็นการขายส่ง ในลักษณะการขาย การแปรรู ป : ปริมาณมากให้กับบริษัทส่งออกซึ่งก�ำหนดราคาไว้ไม่สูงมาก เพื่อ ด้านการแปรรูปสินค้ามี 2 ชนิดด้วยกัน คือ การท�ำเสื้อ ให้ลูกค้าบริษัทส่งออกน�ำไปขายต่อได้อีกที ราคาขึ้นอยู่กับสาย และกระเป๋าลายปลากัด เนื่องจากปลากัดเป็นปลาสวยงามไม่ พันธุ์ของปลากัด เช่น 47 issue 137 JUNE 2019
บาท
• ปลากัด half moon plakat ขายราคาตัวละ 20 usd. • ปลากัด half moon ขายราคาตัวละ 15 usd. • ปลากัด หม้อ fighter ขายราคาตัวละ 30 usd. • ป่ากัดป่า Wildtype ขายราคาตัวละ 15 usd.
• ปลากัดจีน Veiltail / Longfin ขายราคาตัวละ 3.8
• ปลากัดคราวเทล crown tail ขายราคาตัวละ 6 บาท • ปลากัด สองหาง(Double Tail) ขายราคาตัวละ 8 บาท • ปลากัด super ขายราคาตัวละ 10 บาท • ปลากัด half moon plakat ขายราคาตัวละ 35 บาท • ปลากัด half moon ขายราคาตัวละ 40 บาท • ปลากัด หม้อ fighter ขายราคาตัวละ 50 บาท • ป่ากัดป่า Wildtype ขายราคาตัวละ 100 บาท *ปลากัดป่าส่วนหนึ่งเลี้ยงไว้เพื่อการอนุรักษ์สายพันธุ์ ดั้งเดิมไว้ ตลาดบน คือ เป็นการขายจ�ำนวนน้อยให้กับลูกค้าโดย การถ่ายรูปขายทางอินเตอร์เน็ต ลูกค้าจะนิยมซื้อปลากัดจาก รูปภาพ จะขายให้กับลูกค้าต่างประเทศ ราคาขึ้นอยู่กับสาย พันธุ์ของปลากัด เช่น • ปลากัดจีน Veiltail / Longfin ขายราคาตัวละ 10 usd. • ปลากัดคราวเทล crown tail ขายราคาตัวละ 15 usd. • ปลากัด สองหาง(Double Tail) ขายราคาตัวละ 20 usd. • ปลากัด super ขายราคาตัวละ 10 usd.
การออกแบบสินค้าและบริการ :
ทางฟาร์มจะเน้นการพัฒนาสีของปลากัดและศึกษาว่า แต่ละปีความต้องการและนิยมสีของปลากัดแบบไหนเพื่อให้ ตรงกับความต้องการของลูกค้า เช่น ถ้าเป็นลูกค้าเอเชีย จีน ญี่ปุ่น เกาหลี สิงค์โปรจะชอบสีที่เป็นมงคล สีที่เป็นที่นิยมก็จะ เป็นสีแดงเป็นหลัก ส่วนยุโรป อเมริกา ก็จะชอบสีน�้ำเงิน สีเขียว สีfancy (ตัวเดียวหลายสี) • ประกวดปลาชิงถ้วยรางวัลเพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ ให้กับลูกค้า • การสร้างตราสัญลักษณ์ของฟาร์มจะติดไปที่ขา้ งถุงปลา กัดเพื่อให้ลูกค้าจ�ำฟาร์มของเราได้ ง่ายขึ้น • การจัดการโลจิสติกส์/การกระจายสินค้าไปสู่ผู้บริโภค เนื่องจากปลากัดเป็นปลาที่ส่งออกต่างประเทศจึงต้องดู จากเวลาของเครื่องบิน ทางฟาร์มจะมีการค�ำนวณการบรรจุปลา ใส่ถุงโดยค�ำนวณจากเวลาของเครื่องบินออก เพราะถ้าบรรจุเร็ว 48
IS AM ARE www.fosef.org
ปลาก็จะเสียหาย แต่ถ้าช้าก็จะไปไม่ทันเครื่องบิน ก่อนแพ็คปลา แผนการพัฒนาการเกษตรในอนาคต : undefined มีเวทีแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ ส่งเสริมให้ กัดส่งออกงดให้อาหารปลากัดล่วงหน้าหนึ่งวันเพื่อให้ปลาถ่ายสิ่ง ปฏิกูลออกให้หมด ระหว่างการขนส่งปลาจะได้ไม่ถ่ายมูลออกมา คนได้มีอาชีพเลี้ยงตัวเอง เป็นอาชีพเสริมหรืออาชีพหลัก เพื่อ ให้เกษตรกรสามารถพึ่งพาตัวเองได้ รวมทั้งเป็นศูนย์เรียนรู้ให้ ท�ำให้น�้ำในถุงปลาเน่าเสียเป็นสาเหตุท�ำให้ปลาตาย ข้อมูลด้านการเลี้ยงปลากัดเพื่อให้คนที่สนใจทั้งในประเทศและ ต่างประเทศเข้ามาศึกษาดูงาน อนุรักษ์สายพันธุ์ปลากัดรวมทั้ง การแข่งขันทางการตลาด : • การแข่งขันในประเทศ เนื่องจากปลากัดเป็นปลาที่ ให้คนได้เห็นคุณค่าของปลากัดไทย มีความภาคภูมิใจในปลากัด ต้นทุนในการเลี้ยงไม่สูงคนสามารถเลี้ยงได้ง่าย วิธีการเลี้ยงก็เปิด ปลาของประเทศไทยเรา เผยกันมากขึ้น ท�ำให้มีเกษตรกรเพาะเลี้ยงปลากัดจ�ำนวนมาก ขึ้น ท�ำให้เกิดการลดราคาเพื่อแย่งชิงตลาดกัน ทางฟาร์มต้องหา ข้อมู ลการติดต่อ สิรินุช ฉิมพลี วิธีการแก้ไขโดยการขายปลาทางอินเตอร์เน็ต สร้างเว็บไซต์เพื่อ Sirinut Betta Farm หาตลาดเองโดยไม่พึ่งบริษัทส่งออก บ้านเลขที่ 5 หมู่ 7 ซอยอ้อมพยศ 2 ต�ำบลโพรงมะเดื่อ • การแข่งขันในต่างประเทศ ประเทศเพื่อนบ้านอย่าง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม มาเลเซีย กัมพูชา อินโดนีเซีย เริ่มผลิตปลากัดแต่ยังได้จ�ำนวน โทรศัพท์ 08-6176-1228 และ 08-1515-3818 น้อย ในอนาคตเป็นคู่แข่งที่เราประมาทไม่ได้ แต่โชคดีที่อาหาร FB : Sirinut Betta Farm ปลากัดในประเทศไทยอุดมสมบูรณ์จึงท�ำให้เราสามารถเลี้ยงได้ Web : www.sirinutbettafarm.com ง่ายและดีกว่า เรื่อง/ภาพโดย: ทีมงานรักบ้านเกิด
49 issue 137 JUNE 2019
บทเรียนชี วิตจริง น�้ำ ลัง ตังค์ ร้อย ตอนที่ 21 : ผู้น�ำจิตอาสาครอบครัวพอเพียง Leader Volunteer
สโลแกน “บนผืนฟ้าที่กว้างใหญ่ ไม่มีสิ่งใด ที่ลูกนางฟ้าท�ำไม่ได้” ผอ.ดร.ส.สมบัติ มีสุนทร ให้วลีเพื่อเสริมแรงบันดาลใจ ฝึกศิษย์ลูกนางฟ้ากัลยาณีศรีธรรมราช เป็น “ผู้ให้” เป็น “ผู้น�้ำ” ให้ “ร้อย” ให้ “เวลา” ให้ “ทาดี” ให้ “Knock Door” ร่วมทา “ดี” ให้ “ยิ่งใหญ่” ไม่มีส่วนไหนส�ำคัญเท่าส่วนรวม เมื่อส่วนรวมพ้นทุกข์ เราจะสุขร่วมกัน ผู้นาเยาวชนครอบครัวพอเพียง หลอม รวมเป็นคามั่น น้อมนาศาสตร์กษัตริย์ไปปฏิบัติในสถานศึกษาและชุมชน บทเรียนชีวิตจริง นา ลัง ตังค์ ร้อย Love Care Share Smile ภาพเล่าเรื่อง : Knock Door ขอเวลาทาดี เริ่มง่าย เริ่มที่ใจ มีน�้ำให้กาลังใจ มีลังให้ก�ำลังเสริม มีตังค์ให้กาลังใหม่ มีร้อยให้ เกินร้อย รวมทีม พี่กัลฯปันสุข ขอเวลาทาดี ปันความรู้สู่สังคม เริ่ม IS3_Social Service Activity แล้ว 50 IS AM ARE www.fosef.org
ภาพเล่ า เรื่ อ ง พี่เชน รวมทีมน้องซินดี น้องเกรท และแรงหนุนจากรองผอ.ศักดิ์ชัย คงแก้ว สื่อสารไร้สาย พัฒนาคน เริ่มต้นที่ใจ ชว นพี่กัลฯปันสุข เพื่อนผองน้องมิตรจิตอาสาเครือข่ายครอบครัวพอเพียง ร่วมพันธกิจสิ่งแวดล้อม 7วัน ชวนกัน 7R Love Care Share Smile ร่วมค่ายวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชนด้วยกัน เราทาดีได้ เราทาดีด้วยกัน เราทาดีด้วยหัวใจ เพื่อกัลฯและกัน ขอขอบใจ น้องออม ประธานชุมนุมหนูน้อยตามรอยพ่อ ร่วมทาทันที พี่ปลื้มจัง
Love Care Share Smile ผู้ให้ ผู้รับ มีความสุข สุขที่ให้ สุขที่รับ พี่ ก.ไก่ พี่จ๋า พี่ลินา รวมทีมผู้นาเยาวชนครอบครัว พอเพียง ร่วมสร้างแรงบันดาลใจ ให้น้อง ให้พี่ ได้มีโอกาส ได้เป็นผู้ให้ ให้น้องได้รับ น้องได้มีสุข น้องยิ้ม พี่สุข รอบนี พี่กัลฯมา ปันสุขกัน วันที่ 30 พ.ค.2562 ณ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ร่วมกับมูลนิธิครอบครัวพอเพียง และวันที่ 19 – 21 มิถุนายน 2562 ณ โรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ ต.โมคลาน อ.ท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช ร่วมกับเครือข่ายจรวดขวดน�้ำ ขอขอบคุณ ครูสุจินันท์ ศรีเมือง ครูเกรียงไกร สิทธิพงศ์ ร่วมอาสาดูแล กิจกรรมพี่กัลป์ฯปันสุขในครั้งนี้ ...
51 issue 137 JUNE 2019
วิทยากรอาสานันทนาการ กระบวนการ เราผู้น�ำเยาวชนครอบครัวพอเพียง เราท�ำได้ Oh Yes >>>
Love Care Share Smile : โครงก�ำรน้อมน�ำศาสตร์กษัตริย์สู่การปฏิบัติจริงในสถานศึกษาและชุมชน 5 พันธกิจ เครือข่ายครอบครัวพอเพียงนครศรีธรรมราช สื่อสารทุกพันธกิจ ทุกกิจกรรม พอเพียงอย่างพอดี มีเหตุผล ทา หนึ่งได้ 5 น้อมนาศาสตร์พระราชา 5 คา 5 ข้อที่พ่อสอน พี่กัลป์ฯปันยิ้ม ปันสุข มาปันพร้อมกันนะ Love พันธกิจที่ 1 ด้านศาสนา วัฒนธรรมและสถาบันพระมหากษัตริย์ Care พันธกิจที่ 2 ด้านสิ่งแวดล้อม Share พันธกิจที่ 3 ด้านประชาธิปไตย Smile พันธกิจที่ 4 ด้านสังคม Love care share smile บูรณการสู่พันธกิจที่ 5 ด้านเศรษฐกิจ
52 IS AM ARE www.fosef.org
ผลงานจรวดขวดนากัลยาณีศรีธรรมราชและเครือข่าย รวบรวมไว้ในศูนย์การเรียนรู้โมคลาน บ้านจรวดขวดนา ครูอุ้ม ศิษย์จรวดขวดนาชะอวดวิทยาคาร ปัจจุบันฝึกประสบการณ์ครูที่โรงเรียนเชียรใหญ่ อ.เชียรใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช ภูมิใจผลงานตนสมัยเรียน เป็นสื่อเสริมจรวดขวดนา ให้ศิษย์ได้เรียนรู้..พี่กัลฯปันสุข รอบนี ภูมิใจ ครูศิษย์ได้เจอ แนะศิษย์เป็นครู แนะครูให้สอนศิษย์ ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สองสาวโมคลานอาสาดูแล ปันสุขต่อไป ขอขอบคุณ ครูอ๊อด ครูไก่ ครูสุ และผอ.บี โรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ ผู้ร่วมอุดมการณ์สร้างศิษย์จิตอาสา ฝึกศิษย์ผู้นา เยาวชนครอบครัวพอเพียง เป็น mentor วิทยากรอาสาครบเครื่องทั้งกระบวนการนันทนาการ เรียนรู้จากประสบการณ์เป็นบท เรียนชีวิตจริง บทเรียน 4 ค�ำ “น�้ำ ลัง ตังค์ ร้อย” บูรณาการ 5 พันธกิจ น้อมนาศาสตร์กษัตริย์ ฝึกปฏิบัติจากสถานการณ์จริง ภาพ เล่าเรื่อง สื่อสารต่อยอดแนวคิด ชวนผองมิตรร่วมสานต่อ ขอบคุณป้ามุก เลขาธิการมูลนิธิครอบครัวพอเพียง ให้โอกาสฝึกเล่าเรื่อง เขียนความ ขอบคุณทุกภารกิจที่ได้ร่วมทา ขอบคุณทุกโอกาสที่ได้รับ ขอบคุณผองมิตรสื่อกาลังใจให้แก่กัน ครอบครัวจรวดขวดนา ครอบครัวพอเพียงนครศรีธรรมราช ครอบครัวเดียวกัน #ครอบครัวพอเพียงคือรากแก้วของแผ่นดิน
53 issue 137 JUNE 2019
เชิ ญเที่ยวงาน “เพื่อนพึ่ง(ภาฯ) 2562”
มาร่วม แบ่งปัน พอเพียง ยั่งยืน
มูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย เป็ น องค์ ก รการกุ ศ ลไม่ แ สวงหาผลก� ำ ไร จั ด ตั้ ง ตามพระด� ำ ริ ของ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมื่นสุทธ นารีนาถ โดยทรงด�ำรงต�ำแหน่งเป็น นายกกิตติมศักดิ์ตลอดชีพ และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพย วดี ทรงเป็นประธาน มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนและเชื่อม โยงให้ภาครัฐ เอกชน และชุมชน ร่วมกันเกื้อหนุนช่วยเหลือซึ่ง กันและกันในยามทุกข์ยากจากอุทกภัย และภัยพิบัติที่รุนแรง นอกจากนี้ ยังสนับสนุนให้ผู้ทุกข์ยากน้อยกว่าช่วยเหลือผู้ทุกข์ ยากมากกว่า ผู้ที่แข็งแรงช่วยผู้อ่อนแอ โดยมุ่งเน้นการประทัง ชีวิตและการฟื้นฟูสภาพจิตใจ ในปีนี้มูลนิธิฯ ได้ก�ำหนดจัดงาน “เพื่อนพึ่ง (ภาฯ) 2562” ภายใต้แนวคิด “แบ่งปัน พอเพียง ยั่งยืน” ระหว่างวันที่ 5-14 กรกฎาคม 2562 ตั้งแต่เวลา 11.00 – 21.00 น. (ส�ำหรับวันศุกร์และวันเสาร์ เปิดถึงเวลา 22.00 น.) ณ อาคารกีฬานิมิบุตร สนามกีฬาแห่งชาติ ทั้งนี้รายได้จาก
การจัดงานน�ำเข้าสมทบมูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย เพื่อใช้ในการช่วยเหลือ ฟื้นฟู ผู้ที่ได้รับความ ทุกข์ยากจากอุทกภัย ส�ำหรับปีนี้จัดงานเป็นปีที่ 7 โดยวัตถุประสงค์การจัด งาน เพื่อการประชาสัมพันธ์กิจกรรมและ พันธกิจของมูลนิธิฯ รวมถึงเป็นการระดมทุนส�ำหรับเตรียมความพร้อมในการช่วย เหลือผู้ประสบอุทกภัย คณะกรรมการอ�ำนวยการจัดงานฯ น�ำ โดย ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย รองประธาน กรรมการที่ปรึกษามูลนิธิฯ และคณะกรรมการมูลนิธิฯ ได้กล่าว ถึงการจัดงาน “เพื่อนพึ่ง(ภาฯ) 2562” ภายใต้แนวคิด “แบ่งปัน พอเพียง ยั่งยืน” ภายในงานนอกจากนิทรรศการและการออก ร้านจากหน่วยงานต่างๆ แล้ว ในปีนี้ผู้เข้าร่วมงานจะได้สัมผัส นวัตกรรมภาพยนตร์ 4 มิติ บอกเล่าเรื่องราวการช่วยเหลือผู้ ประสบอุทกภัยเสมือนอยู่ในเหตุการณ์จริง สัมผัสบรรยากาศ และร่วมจัดถุงยังชีพพระราชทาน ร่วมเป็นอาสาสมัครเพื่อน 54
IS AM ARE www.fosef.org
พึ่ง (ภาฯ) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการร่วมแบ่งปันกับมูลนิธิฯ ชมรถ ประกอบอาหารหนึ่งในโรงครัวพระราชทาน ที่อาสาสมัครเรียก กันว่า “รถเพื่อนพึ่ง(ภาฯ) ช่วยด้วยใจ คนไทยไม่ทิ้งกัน” ส�ำหรับ ลงพื้นที่เพื่อปรุงอาหารและแจกจ่ายไปยังชาวบ้านที่ได้รับความ เดื อ ดร้ อ นจากอุ ท กภั ย ในพื้ น ที่ นั้ น ๆ และผู ้ เข้ า ชมงานยั ง ได้ มี โอกาสชิมเมนู “ไก่ทอด” แสนอรอ่ยอีกด้วย ในส่วนของถุงยังชีพ พระราชทาน นอกจากประชาชนจะได้ร่วมจัดถุงยังชีพเพื่อน�ำไป ใช้ในพื้นที่ประสบอุทกภัย ท่านยังได้สัมผัสสิ่งของภายในถุงยังชีพ พระราชทาน ทั้ง 4 ประเภท คือ ถุงยังชีพพระราชทานสีส้ม - สี ม่วง - สีน�้ำเงิน และสีเหลืองส�ำหรับพระภิกษุ ได้รับทราบถึงน�้ำ พระทัย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมื่นสุทธ นารีนาถ นายกกิตติมศักดิ์ตลอดชีพ และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี ประธานกรรมการมูล นิธิฯ ที่ทรงเลือกรายการสิ่งของในถุงยังชีพพระราชทานด้วย พระองค์เองด้วยความใส่พระทัย ในส่ ว นของการออกร้ า นผลิ ต ภั ณ ฑ์ สิ น ค้ า ของที่ ร ะลึ ก จากมูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยากฯ ภายใต้ผลิตภัณฑ์ “พึ่งพา” เพื่อหารายได้สมทบทุนมูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย ในปีนี้ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า โสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถ ได้ประทานภาพวาดฝีพระหัตถ์ฯ รูปดอกกุหลาบ เปรียบเสมือน “น�้ำพระทัยและพระเมตตา” น�ำ
“เพื่ อ นพึ่ ง (ภาฯ) 2562” ภายใต้ แ นวคิ ด “แบ่ ง ปั น พอเพี ย ง ยั่ ง ยื น ” ภายในงานนอกจากนิ ท รรศการ และการออกร้ า นจากหน่ ว ยงานต่ า งๆ แล้ ว ในปี นี้ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มงานจะได้ สั ม ผั ส นวั ต กรรมภาพยนตร์ 4 มิ ติ บอกเล่ า เรื่ อ งราวการช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบอุ ท กภั ย เสมื อ นอยู ่ ใ นเหตุ ก ารณ์ จ ริ ง มาประดับบนแก้วพอร์ซเลนเพิ่มความหรูหราประดับด้วยคริสตัล สวารอฟสกี้ Swarovski บรรจุในกล่องสวยงาม เหมาะแก่การ ซื้อไปเป็นของขวัญ โดยทางมูลนิธิฯ ผลิตขึ้นมาเพียง 1,000 ใบ เท่านั้น นอกจากนี้ยังมีสินค้าที่ระลึกตามความนิยม เช่น เสื้อโปโล เสื้อยืด หมวกพึ่งพาRUN ผ้าบัฟ และกระเป๋าพึ่งพาRUN พลาดไม่ได้กับเมนู “ตับบดเสวย” สูตรประทานจากพระ เจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถ, เมนู น�้ำพริกปลาดุกป่นผัดพริกขิง สูตรประทานจากห้องเครื่อง วัง เทเวศร์ ตลอดจนผลิตภัณฑ์ยั่งยืนจากชุมชนที่ประสบภัยพิบัติ เพื่อการช่วยเหลืออย่างยั่งยืน อาทิ ผ้าคราม จ.สกลนคร, ผ้า ไทยทวน จ.สุโขทัย, ผ้าไทลื้อ จ.น่าน นอกจากนี้ผู้เข้าร่วมงานจะ เพลินเพลินกับการออกร้านค้ารับเชิญต่างๆ เช่น ร้านพระบรม วงศานุวงศ์ ร้านค้าจากสถานทูต ร้านสมาคมภริยาและแม่บ้าน เหล่าทัพ และยังมีการแสดงจากวงดนตรีและศิลปินชื่อดังด้วย หมุนเวียนสลับสับเปลี่ยน ส�ำหรับวันที่ 13 กรกฎาคม 2562 ซึ่งเป็นวันคล้ายวันพระ ราชสมภพพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมื่นสุทธ นารีนาถ ทางมูลนิธิฯ ได้มีจัดการแสดงพิเศษเฉลิมพระเกียรติ จึงขอเชิญประชาชนร่วมถวายพระพร โดยเขียนค�ำถวายพระพร บนการ์ดรูปหัวใจแล้วไปร้อยเรียงกัน เพื่อแสดงถึงความจงรัก ภักดี 55
issue 137 JUNE 2019
56 IS AM ARE www.fosef.org
เผยผิ ว ใสไร้ ริ้ ว รอย ด้ ว ย สบู ่ ว ่ า นหางจระเข้ ภั ท รพั ฒ น์ คุ ณ ค่ า จากว่ า นหางจระเข้ ที่ ช ่ ว ยลดรอยแดงจากการอั ก เสบของผิ ว ที่ โ ดนแดด ลดเลื อ นริ้ ว รอย ฝ้ า กระ จุ ด ด่ า งด� ำ เพิ่ ม ความชุ ่ ม ชื่ น ให้ ผิ ว ไม่ แ ห้ ง กร้ า น เมื่ อ ใช้ เ ป็ น ประจ� ำ ผิ ว หน้ า กระจ่ า งใสขึ้ น อย่ า งเป็ น ธรรมชาติ สามารถหาซื้อได้ที่ร้านภัทรพัฒน์ทุกสาขาหรือสั่งซื้อออนไลน์ได้ทาง Facebook/Patpat9 ภัทรพัฒน์สินค้าจากมูลนิธิชัยพัฒนา และ www.patpat9.com 57 issue 137 JUNE 2019
“ชยพล สุ่ยหล้า ลูกชาวนาดีกรีปริญญาโท ลาออกจากงานประจ�ำ ไปท�ำเพื่อบ้านเกิด ด้วยถั่วลิสง ซูโม่แฟมิลี่”
คุณชยพล สุ่ยหล้า จ.ร้อยเอ็ด
ชยพล สุ่ยหล้า ลูกชาวนา ที่จบปริญญาโทสาขาพืชไร่ จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จากความตั้งใจและความมุ่ง มั่น ที่จะน�ำเอาความรู้ที่มี และเครือข่ายที่มีกลับมาพัฒนาบ้าน เกิดของตนเอง ก่อนที่จะเรียนจบปริญญาโทนั้น ชยพลใช้เวลา เรียนอยู่ทั้งหมด 6 ปี แต่ระหว่างนั้นก็คือท�ำงานไปด้วยเรียนไป ด้วย และถือเป็นโอกาสที่ดีที่ได้ร่วมงานกับองค์กรที่มีผู้บริหาร มองเห็ น ความส� ำ คั ญ ของเกษตรกร ด้ ว ยการจั ด ท� ำ โครงการ CSR เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรนั้นปลูกพืชหลังนา อย่างเช่น ถั่ว ลิสง จึงได้มีโอกาสท�ำงานเป็นผู้จัดการโครงการปลูกถั่วลิสง จุดนี้เองที่ท�ำให้มีโอกาสได้สัมผัส แนวคิด และวิถีชีวิตเกษตร ชุมชน และได้ช่วยเหลือเกษตรกรอย่างเต็มที่ โดยทางบริษัทมี งบสนับสนุนให้จัดตั้ง โรงเรียนถั่วลิสงในกลุ่มเกษตรกรหลาย ๆ จังหวัดในภาคอีสาน และสร้างกองทุนถั่วลิสงขึ้น และระหว่าง ที่ท�ำงานไปเรียนปริญญาโทไปนั้น ก็ท�ำให้ได้รู้จักกับนักวิชาการ หลายท่าน รวมถึงเครือข่ายต่าง ๆ จนเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ท�ำให้เกิดความมั่นใจได้แล้วว่า เรามีองค์ความรู้มากพอที่จะน�ำ กลับไปพัฒนาบ้านเกิด จึงตัดสินใจลาออกจากงานประจ�ำ โดย ในปี 2559 ได้เริ่มก่อตั้งศูนย์บริการด้านการเกษตรขึ้นภายใน ชุมชน ด้วยการลงพื้นที่ ให้ความรู้และจัดอบรมเกษตรกร โดย ไม่คิดค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น และต่อมาได้มีการตั้งกลุ่มถั่วลิสง ซึ่งเป็นพืชที่มีความถนัดและเชี่ยวชาญเป็นพิเศษ และเพื่อให้
เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม จึงได้จดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน จนถึงปัจจุบันนี้ “วิสาหกิจชุมชนกลุ่มการเกษตรทุ่งกุลาสมาร์ทฟาร์ม” กลุ่มมีการส่งเสริมให้เกษตรกร ปลูกพืชฤดูแล้ง เพื่อสร้างราย ได้หลังฤดูการท�ำนาในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ ถั่วลิสงนับเป็นพืชที่ สามารถปรับปรุงบ�ำรุงดินได้ และยังไม่เพียงพอต่อความต้องการ ของผู้บริโภค สิ่งหนึ่งที่ท�ำให้เกิดความไม่เพียงพอ สืบเนื่องมา จากผลผลิตต่อไร่อยู่ในเกณฑ์ต�่ำ ขาดการพัฒนาพันธุ์ที่เหมาะ สมกับพื้นที่ ดังนั้นการส่งเสริมปลูกแบบวิจัยแบบมีส่วนร่วมจะ ช่วยเพิ่มศักยภาพการผลิตของถั่วลิสงได้ อ�ำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด เกษตรกรปลูกข้าว นาปีเป็นอาชีพหลัก ซึ่งมีพ้ืนที่ปลูกกว่า 400,000 ไร่ หลังฤดูท�ำ นาเกษตรกรไม่ได้ใช้พื้นที่ให้เกิดประโยชน์ เพราะน�้ำไม่เพียง พอต่อการเพาะปลูก แต่ส�ำหรับถั่วลิสงนั้น การใช้น�้ำใต้ดินและ ใช้ปอในการกักเก็บน�้ำ สามารถท�ำได้ เพราะถั่วลิสงเป็นพืชที่ ใช้น�้ำน้อย การด�ำเนินงานของกลุ่มคือจะมีการสนับสนุนปัจจัย การผลิตทั้งหมด และท�ำสัญญารับซื้อคืน มีการประกันราคารับ ซื้อ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1.ส�ำรวจพื้นที่ และด�ำเนินการประชาสัมพันธ์โครงการ ให้เกษตรกรรับทราบ 2.แจกจ่ายเมล็ดพันธุ์ และปัจจัยการผลิต พร้อมทั้งจัด 58
IS AM ARE www.fosef.org
บทความพิ เ ศษ
1.เทคโนโลยีระบบน�้ำในพื้นที่ทุ่งกุลา
อบรมขั้นตอนการปลูก การดูแลรักษา และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กับคนในชุมชน 3.จัดท�ำแปลงต้นแบบ และออกตรวจเยี่ยมแปลงของ เกษตรกรตลอดฤดูการปลูก เพื่อบันทึกข้อมูลแปลงและแนวทาง ในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ 4.จัดประชุมวันรับซื้อ ตรวจสอบมาตรฐานผลผลิตก่อน การรับซื้อ 5.รับซื้อผลผลิตคืนจากเกษตรกร 6.ประชุมเพื่อวางแนวทาง และเป้าหมายต่อไปหลัง จากรับซื้อ มีการจัดตั้งศูนย์บริการวิสาหกิจชุมชนกลุ่มในทุกต�ำบล ของอ� ำ เภอเกษตรวิ สั ย เพื่ อ เป็ น แหล่ ง เรี ย นรู ้ แ ละ ถ่ า ยทอด เทคโนโลยี รวมทั้งเป็นศูนย์การบริการกลุ่มครบวงจร โดยให้มี หัวหน้าศูนย์ประสานงานกลุ่ม และจัดท�ำมาตรฐานการรับซื้อ ผลผลิตเกษตรทุกพืชส่งเสริม เช่น ถั่วลิสง มาตรฐานการรับซื้อถั่ว ลิสงเกรด A สิ่งเจือปนไม่เกิน 3% ความชื้นไม่เกิน 9% เปอร์เซ็นต์ การกะเทาะ 65% ความบริสุทธิ์พันธุ์ 95% เป็นต้น “เทคนิค นวัตกรรมเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่น�ำมาปรับใช้ เพื่อ ลดต้นทุนเพิ่มผลผลิต”
ในพื้นที่ทุ่งกุลาโดยเฉพาะอ�ำเภอเกษตรวิสัย ขาดระบบ ชลประทานในการท�ำการเกษตร ท�ำให้ต้นทุนน�้ำ ไม่เพียงพอ ต่อการท�ำเกษตรของเกษตรกร การชลประทานสมัยใหม่ เช่น การใช้ ร ะบบฉี ด ฝอยหรื อ การให้ น�้ ำ แบบน�้ ำ หยดโดยอาศั ย น�้ ำ บาดาล หรือบ่อเก็บกักน�้ำ สามารถเพิ่มพื้นที่ปลูกพืชนอกเขต ชลประทานได้ การปลูกพืชฤดูแล้งจ�ำเป็นต้องมีการวางแผน จัดการน�้ำให้ถูกต้องเหมาะสมเพื่อให้มีน้�ำเพียงพอต่อการผลิต พืช โดยเฉพาะวิธีการแบบน�้ำหยด เป็นวิธีการให้น�้ำซึ่งเป็นที่ ยอมรับว่ามีประสิทธิภาพการให้น�้ำสูงคือ ผันแปรระหว่างร้อย ละ 90-100 การน�ำน�้ำหยดมาใช้ในกลุ่มเป็นการผลิตเพื่องาน วิจัยแบบมีส่วนร่วม โดยทดลองครั้งแรกในถั่วลิสงเขตเกษตรวิสัย ที่ศูนย์บริการกลุ่มต�ำบลเหล่าหลวง นอกจากนี้น�้ำหยดสามารถ ให้ปุ๋ยทางน�้ำได้ด้วย ซึ่งจะมีประสิทธิภาพสูงตรงเขตรากพืช และ ใช้ปริมาณปุ๋ยตามที่พืชต้องการได้ การติดตั้งเทนซิโอมิเตอร์ใน แปลงผลิตพืชจะช่วยให้ทราบถึงระยะเวลาความต้องการของ พืชและระยะเวลาการให้น�้ำในพืช ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ การใช้น�้ำได้
59 issue 137 JUNE 2019
2.ส่งเสริมพืชปรับปรุ งดิน
หยอดพ่วงแทรคเตอร์เป็นจ�ำนวนมากในการปลูกข้าวเพียงอย่าง เดียว ซึ่งเครื่องดังกล่าวสามารถปรับมาใช้หยอดเมล็ดอื่นๆได้ เช่น ถั่วลิสง ถั่วเหลือง ข้าวโพด เป็นต้น ทางกลุ่มได้สนับสนุน เครื่องหยอดเมล็ดกึ่งอัตโนมัติในการปลูกที่ต�ำบลน�้ำอ้อม ซึ่ง เกษตรกรให้ความสนใจและสามารถลดต้นทุนแรงงาน เวลา และ ยังสามารถใช้ส่งเสริมพืชอื่นๆได้
พื้นที่อ�ำเภอเกษตรวิสัยเกษตรกรส่วนใหญ่นิยมทานาปี แต่เพียงอย่างเดียวซึ่งมีพื้นที่นามากกว่า 400,000 ไร่ ซึ่งพื้นที่ ส่วนใหญ่เป็นดินที่ขาดความอุดมสมบูรณ์ทั้งธาตุอาหารและอิน ทรียวัตถุ การส่งเสริมการปลูกพืชตระกูลถั่วจะช่วยให้ดินมีธาตุ อาหารไนโตรเจน ซึ่งได้จากไรโซเบียมที่อาศัยอยู่ในปมรากของ ถั่วลิสง ท�ำให้พืชที่ปลูกหลังการปลูกถั่วลิสงได้รับธาตุตัวนี้ด้วย และกลุ่มยังมีแผนส่งเสริมพืชอื่น ๆ ที่สามารถท�ำให้ดินมีธาตุอา ในพื้ น ที่ ทุ ่ ง กุ ล าโดยเฉพาะอ� ำ เภอเกษตรวิ สั ย ขาด ระบบชลประทานในการท� ำ การเกษตร ท� ำ ให้ ต ้ น ทุ น หารอื่นๆ เช่น งา ถั่วเหลือง เป็นต้น น�้ ำ ไม่ เ พี ย งพอต่ อ การท� ำ เกษตรของเกษตรกร การชลประทานสมั ย ใหม่ เช่ น การใช้ ร ะบบฉี ด ฝอย 3.การผสมปุ๋ ยเคมีใช้ร่วมกับปุ๋ ยอินทรีย์ แนวทางการผลิตพืชที่ใช้เคมีร่วมกับอินทรีย์นับเป็นการ หรื อ การให้ น�้ ำ แบบน�้ ำ หยดโดยอาศั ย น�้ ำ บาดาล หรื อ ท� ำ เกษตรที่ ต อบโจทย์ ใ นพื้ น ที่ ทุ ่ ง กุ ล า เนื่ อ งจากดิ น ขาดธาตุ บ่ อ เก็ บ กั ก น�้ ำ สามารถเพิ่ ม พื้ น ที่ ป ลู ก พื ช นอกเขต อาหารทั้งธาตุหลักและธาตุเสริม ปุ๋ยเคมีที่ผสมโดยอาศัยแม่ปุ๋ย ชลประทานได้ จะสามารถให้ธาตุอาหารตรงกับชนิดพืชที่ปลูก เช่น ถั่วลิสงใน พื้นที่ทุ่งกุลาต้องการธาตุ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพรแตส 5.เทคนิคท�ำแล้งแกล้งถั่วลิสง เซียม ในอัตรา 3:9:12 กิโลกรัมต่อไร่ เราสามารถใช้แม่ปุ๋ยผสม การลดจ�ำนวนการให้น�้ำในช่วงแรก ของการเจริญเติบโต ใช้เอง จะช่วยลดต้นทุนปุ๋ยเคมีมากกว่า 30 เปอร์เซ็นต์ และ ของถั่วลิสง จะท�ำให้ถั่วลิสงมีข้อปล้องถี่ขึ้น สามารถลงเข็มได้มาก ควรใช้ร่วมกับการใช้โดโลไมท์ในการเตรียมดิน ใช้ยิปซั่มในการ ขึ้น ซึ่งถือเป็นเทคนิคที่ได้ทดลองวิจัยและเรียนรู้จากเกษตรกรผู้ เพิ่มผลผลิตในดินทราย และใช้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักให้ธาตุเสริม ปลูกถั่วลิสง และได้ถ่ายทอดให้เกษตรกร เทคนิคนี้สามารถลด สามารถสร้างอินทรียวัตถุในดินได้ การใช้ปุ๋ยร่วมกันทั้งสองอย่าง ต้นทุนน�้ำ และเพิ่มผลผลิตได้ จะส่งเสริมให้ดินอุดมสมบูรณ์และช่วยให้ดินเหมาะสมกับการดูด ใช้ธาตุอาหารในพืชได้ “ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ จากทุ่งกุลาลัล้ ลา” 1.เมล็ดพันธุ์ถั่วลิสง นับเป็นการสร้างรายได้ในชุมชนได้ ่ 4.การใช้เครืองหยอดเมล็ดปลูกพืช เป็นอย่างดี จากปัญหาเรื่องทุนของกลุ่มที่ไม่ สามารถซื้อเครื่อง เกษตรกรในอ�ำเภอเกษตรวิสัย ใช้แรงงานคนและเครื่อง กะเทาะเปลือกถั่วลิสงได้ กลุ่มจึงมีแนวคิดจ้างกะเทาะโดยใช้ 60 IS AM ARE www.fosef.org
แรงงานในชุมชน ให้คนในชุมชน สามารถน�ำกลับไปกะเทาะที่ บ้านและน�ำมาส่งที่กลุ่ม ปัจจุบันกลุ่มมีพันธุ์ถั่วลิสงที่มีศักยภาพ ในพื้ น ที่ ม ากกว่ า 10 พั น ธุ ์ โ ดยการวิ จั ย ร่ ว มกั บ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ทดสอบพันธุ์ 2.ถั่วลิสงคั่วทราย คั่วทั้งฝัก 3.ถั่วลิสงคั่วเกลือ ใช้เมล็ดคั่ว 4.ถั่วกรอบแก้ว “ซูโม่ แฟมิลี่” แบรนด์ที่สร้างความแข็งแกร่งให้กลุ่ม นับเป็นความโชคดีที่เกิดบนผืนแผ่นดินทุ่งกุลาร้องไห้ ที่ มีความพิเศษ ท�ำให้สามารถน�ำความพิเศษดังกล่าวมาใช้ได้ เช่น การเปลี่ยนจากกุลาร้องไห้ มาเป็นทุ่งกุลาลั้ลลา เพียงแค่การร่วม กันสร้างหรือปลูกพืชสีเขียว ปลูกพืชปรับปรุงบ�ำรุงดิน จากการ ลงพื้นที่เรียนรู้แลกเปลี่ยนกับกลุ่มเกษตรกรหลายๆกลุ่มท�ำให้ ทราบถึงปัญหาการสร้างสิ่งที่ท�ำให้คนจดจ�ำหรือสามารถบอก ได้ว่านี่คือผลผลิตเพื่อผลผลิตภัณฑ์ใด การสร้างแบนรนด์จึง ต้องมีชื่ออีกทั้งมีเรื่องราวและรูปลักษณ์ที่สามารถเข้าถึงกลุ่มทุก กลุ่ม รูปการ์ตูนจะสามารถสื่อสารได้ทุกกลุ่ม มากกว่าสัญลักษณ์ อื่นๆ จึงให้เลือกรูป “ซูโม่” ซึ่งสามารถให้ความหมายและเข้าถึง ได้ง่าย กล่าวคือ ซูโม่เป็นนักกีฬาที่มีความแข็งแรง ตัวใหญ่ แต่ สวมใส่ผ้าน้อยชิ้น นั่นคือ เปรียบการรวมกลุ่มจากกลุ่มคนเล็กๆ ที่ต้องมีเป้าหมายชัดเจนร่วมกัน ท�ำให้เข้าใจกันง่าย และมีกลุ่ม ที่เข้มแข็ง นั่นคือชื่อสื่อความหมาย และจดจ�ำง่าย จากนั้นจะท�ำ อย่างไรให้โลโก้เข้าถึงกลุ่มคนทุกกลุ่ม จึงออกแบบให้เป็นซูโม่ เด็กที่มีรอยยิ้ม มีทรงผมที่ทันสมัย จดจ�ำได้ง่ายขึ้นและเพิ่มค�ำ ว่า แฟมิลี่ (ครอบครัว) เข้าไปต่อท้าย จนได้แบรนด์ “ซูโม่ แฟ มิลี่” ดังกล่าว จากการท�ำงานร่วมกับกลุ่มเกษตรกรทางภาคอีสานกว่า 15 ปี ถามถึงบทบาทของคนในชุมชนที่จะสามารถเปลี่ยนแปลง คนและชุมชนได้อย่างยั่งยืนถือเป็นเรื่องที่ต้องใช้ทั้งองค์ความรู้ ภูมิปัญญา และความร่วมมือกันของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง แต่สิ่งที่ ส�ำคัญในบทบาทที่จะช่วยท�ำให้มีระยะเวลาที่สั้นลงและเกิดผลอ ย่างเป็นรูปธรรม คือ “การเปลี่ยนแปลงตัวเองก่อน” การเป็นคน ต้นแบบที่ต้องมานะ อดทน ค�ำถามคือเราต้องการเปลี่ยนไปใน ทิศทางใด การตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่ท�ำอยู่ ณ ปัจจุบัน มีเป้า หมายที่ส�ำคัญที่จะเปลี่ยนทุ่งกุลาร้องไห้ เป็นทุ่งกุลาลั้ลลา โดยมี แค่รอยยิ้มและความภูมิใจในอาชีพเกษตรกรเป็นเป้าหมายสูงสุด เกษตรกรจะภูมิใจก็ต่อเมื่อประสบผลสาเร็จในการปลูกพืชชนิด นั้น ๆ ทางกลุ่มเน้นความส�ำเร็จมากกว่าการเพิ่มพื้นที่ปลูก โดย สร้างแหล่งเรียนรู้ร่วมกันก่อน เน้นการวิจัยแบบมีส่วนร่วม ให้ ความส�ำคัญกับปราชญ์ชาวบ้าน และสร้างยุวเกษตรในชุมชนให้
ทราบและรักในการท�ำเกษตร โดยมีต้นแบบที่เรียกว่า “ทุ่งกุลา สมาร์ทฟาร์มโมเดลดังนี้”
1. สนับสนุนปั จจัยการผลิตที่มีคุณภาพและไม่ สร้างภาระค่าใช้จ่าย
เกษตรในภาคอีสานท�ำการเกษตรเริ่มจากทุนน้อยเกือบ ทุกครัวเรือน ท�ำให้ต้องแบกรับค่าใช้จ่ายในการซื้อปัจจัยการ ผลิต ทางกลุ่มได้ให้ยืมเมล็ดพันธุ์ถั่วลิสง 30 กิโลกรัมต่อไร่ เมื่อ เกษตรกรเก็บเกี่ยวต้องคืนให้กลุ่ม เท่ากับที่ยืมไปคือ 30 กิโลกรัม ผลผลิตที่เหลือทางกลุ่มรับซื้อคืนทั้งหมดในราคาที่ตกลงกันก่อน ปลูก และเกษตรกรสามารถเก็บเมล็ดพันธุ์ถั่วลิสงปลูกต่อได้โดย ไม่ต้องซื้อหรือยืมจากกลุ่มอีกเลย เพราะถั่วลิสงเป็นพืชผสมตัว เองสามารถปลูกขยายพันธุ์ต่อไปได้อีกโดยไม่กลายพันธุ์ อีกทั้ง กลุ่มจัดหาปัจจัยที่ต้องใช้ในการผลิตถั่วลิสงที่มีคุณภาพ และ สร้างเครือข่ายผู้ผลิตปัจจัยผลิตเพื่อแลกเปลี่ยนกันเองโดยไม่ ต้องซื้อจากแหล่งอื่นๆ ส่งเสริมการปลูกโดยยุทธศาสตร์ “ป่า ล้อมเมือง”
2.ร่วมเรียนรู ้แลกเปลี่ยน
กลุ่มจะจัดตั้งศูนย์บริการกลุ่มประจ�ำต�ำบลทุกต�ำบลใน อ�ำเภอเกษตรวิสัยเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้การผลิตถั่วลิสงโดยใช้ เทคโนโลยีสมัยใหม่และเทคนิคการเพิ่มผลผลิตโดยกลุ่มจะเป็น
61 issue 137 JUNE 2019
พี่เลี้ยงคอยให้ค�ำแนะนา ท�ำแปลงต้นแบบทุกศูนย์ และเป็นจุด รวบรวมผลผลิตต่างๆ เพื่อให้สะดวกต่อการติดต่อประสานงาน และเน้นงานวิจัยแบบมีส่วนร่วม สนับสนุนทุนการศึกษาและรับ นิสิตนักศึกษาท�ำวิจัยร่วมกับกลุ่ม โดยสร้างเครือข่ายพันธมิตร ทางธุรกิจเพื่อสนับสนุนงบหรือวัสดุอุปกรณ์ในการท�ำวิจัย
นั บ เป็ น ความโชคดี ที่ เ กิ ด บนผื น แผ่ น ดิ น ทุ ่ ง กุ ล า ร้ อ งไห้ ที่ มี ค วามพิ เ ศษ ท� ำ ให้ ส ามารถน� ำ ความพิ เ ศษ ดั ง กล่ า วมาใช้ ไ ด้ เช่ น การเปลี่ ย นจากกุ ล าร้ อ งไห้ มา เป็ น ทุ ่ ง กุ ล าลั้ ล ลา เพี ย งแค่ ก ารร่ ว มกั น สร้ า งหรื อ ปลู ก พื ช สี เ ขี ย ว ปลู ก พื ช ปรั บ ปรุ ง บ� ำ รุ ง ดิ น
3.การตลาดเพื่อกลุ่ม
รั บ ซื้ อ คื น ผลผลิ ต จากพื ช ส่ ง เสริ ม และจั ด หาตลาดให้ กลุ่มโดยอาศัยพันธมิตรทางธุรกิจ สร้างความหลากหลายของ ได้ ไม่เพิ่มเติม ท�ำให้คนถามหา และจดจ�ำเราได้มากขึ้น ก่อนจะ ผลิตภัณฑ์แล้วจัดจ�ำหน่ายในชุมชนผู้ปลูกถั่วลิสง เพื่อให้เกิด ขยายการผลิต และขายส่วนชุมชนรอบนอก ความภูมิใจและเกิดรายได้หมุนเวียนกลับไปยังชุมชน
5.สร้างรายได้และคืนก�ำไร
4.การตลาดและแปรรู ปผลิตภัณฑ์
ข้อนี้นับเป็นแนวคิดที่จะให้เกษตรกรสามารถมีรายได้ และเกิดความภูมิใจในวัตถุดิบที่ตัวเองเป็นคนปลูก กล่าวคือ เกษตรกรที่ปลูกถั่วลิสงทุกคนถือเป็นเจ้าของกิจการร่วม มีสิทธิ ได้ปันผลกาไรเมื่อทางกลุ่มได้แปรรูปจากวัตถุดิบที่เกษตรกร จ�ำหน่ายให้กลุ่มโดยคิดตามจานวนที่ได้ผลผลิตมาคิดปันผลคืน เกษตรกร และสามารถเป็นตัวแทนจ�ำหน่ายสินค้าจากกลุ่มใน ชุมชน
ท�ำการตลาดที่สวนทางกับงานส่งเสริม คือท�ำตลาดแบบ “ผึ้งแตกรัง” โดยขายในชุนชนเมืองก่อนเพราะก�ำลังซื้อที่สูง และจัดจ�ำหน่ายสินค้าที่ขายง่ายก่อน หรือมีตลาดอยู่แล้ว เช่น ถั่วคั่วทราย แต่กลุ่มต้องท�ำคุณภาพให้ดีกว่าเจ้าตลาดเดิม และ จ�ำหน่ายตรงโดยเดินขายในตลาดสด เพื่อให้คนได้ชิมในรสชาติ และทราบถึงคุณภาพที่แตกต่างจากเจ้าอื่น ๆ และผลิตเท่าที่ผลิต 62
IS AM ARE www.fosef.org
จากโมเดลจะเห็นได้ว่า การขับเคลื่อนกลุ่มอาศัยคนใน ทุกภาคส่วนและอาศัยการเปลี่ยน “ความเชื่อ” ที่เป็นสิ่งที่ยาก ที่สุดในการเปลี่ยนแปลง กลุ่มมีแผนแม่บท (Master plan) 5 ปีไว้ เพื่อให้เดิน ทางได้ง่ายขึ้นและตามเป้าหมายไปทีละอย่าง เพราะเหตุผลเรื่อง “ทุน” แต่กลุ่มยึดถือค่านิยมว่า “ท�ำอะไรเล็กๆ ในทุกๆวัน ที่มี ทิศทางไปในเป้าหมาย” วันนี้อาจจะยังไม่เห็นผล แต่ในระยะยาว หรือตามระยะเวลาที่วางกรอบไว้คงช่วยให้ชุมชนเปลี่ยนแปลง ได้พอสมควร ที่เลือกพืชตระกูลถั่ว เพราะเรามีบุคลากรที่เชียว ชาญและมีประสบการณ์ในพืชตัวนี้ก่อน จึงเริ่มโครงการก่อน โดยในอนาคตกลุ่มมีแผนจะท�ำ พืชอาหารสัตว์ เช่น หญ้าหมัก ในการเลี้ยงโค โรงเรือนปลูกพืชต้นทุนต�่ำโดยใช้วัสดุอุปกรณ์ ในชุนชน ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงจากผลพลอยได้จากการผลิต ถั่วลิสง และเป้าหมายสูงสุดคือผลิตภัณฑ์เพื่อเป็นของฝากจาก ทุ่งกุลา โดยเน้นเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของจังหวัดร้อยเอ็ด เช่น “อัลมอนด์ทุ่งกุลา” (เมล็ดกระบก) ซึ่งกระบกเป็นต้นไม้ ประจ�ำจังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มจะยกระดับเป็นสินค้าพรีเมี่ยมที่มี การผลิตแบบโบราณ แต่มีแพ็คเก็ตที่สามารถสร้างมูลค่าและ เข้าสู่ตลาดโมเดิลเทรดให้ได้ (อยู่ระหว่างทดลองผลิตภัณฑ์) ร่วม กับข้าวหอมมะลิที่ผลิตในพื้นที่ทุ่งกุลาที่ถือว่าเป็นพืช GI และ
ท� ำ การตลาดที่ ส วนทางกั บ งานส่ ง เสริ ม คื อ ท� ำ ตลาด แบบ “ผึ้ ง แตกรั ง ” โดยขายในชุ น ชนเมื อ งก่ อ นเพราะ ก� ำ ลั ง ซื้ อ ที่ สู ง และจั ด จ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า ที่ ข ายง่ า ยก่ อ น หรื อ มี ต ลาดอยู ่ แ ล้ ว เช่ น ถั่ ว คั่ ว ทราย แต่ ก ลุ ่ ม ต้ อ ง ท� ำ คุ ณ ภาพให้ ดี ก ว่ า เจ้ า ตลาดเดิ ม และจ� ำ หน่ า ยตรง โดยเดิ น ขายในตลาดสด เพื่ อ ให้ ค นได้ ชิ ม ในรสชาติ และทราบถึ ง คุ ณ ภาพที่ แ ตกต่ า งจากเจ้ า อื่ น ๆ ถั่วลิสง และพืชส่งเสริมอื่นๆ เป็นสินค้าที่ทุกคนมาเยือนต้อง ซื้อกลับไปเป็นของฝาก ความส�ำคัญดังกล่าวจะช่วยสร้างราย ได้และสร้างความมั่นคงทางวัตถุดิบของกลุ่ม และสร้างความ เป็นเกษตรกรทุ่งกุลายุคใหม่ที่สามารถเกิดความภาคภูมิใจใน แผ่นดินเกิดแห่งนี้
ข้อมู ลการติดต่อ 45150
63 issue 137 JUNE 2019
ชยพล สุ่ยหล้า 54 หมู่ 15 ต.เกษตรวิสัย อ.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด เรื่อง/ภาพโดย: ทีมงานรักบ้านเกิด
“ศิลปิ นภาพเหมือนด้วยสองมือ” อัมพาตเกือบทั้งตัว เหลือเพียงแขนวาดสู้โชคชะตา!!
จาก “ผู ้ ป ่ ว ยติ ด เตี ย ง” สู ่ “นั ก วาดอาชี พ ” หารายได้ ส ร้ า งบ้ า นให้ พ ่ อ -แม่ แม้ ร ่ า งกายพิ ก ารอั ม พาตตั้ ง แต่ หน้ า อกจนถึ ง ปลายเท้ า มี เ พี ย ง “มื อ สองข้ า ง” ที่ ยั ง พอต่ อ เติ ม ความฝั น ได้ อ ยู ่ ล่ า สุ ด เปิ ด ประมู ล ภาพ “พระ สั ง ฆราช” เรี ย นรู ้ เ องผ่ า นยู ทู บ -เฟซบุ ๊ ก สั ง คมชื่ น ชมยกเป็ น ต้ น แบบ “นั ก สู ้ ชี วิ ต ”
64 IS AM ARE www.fosef.org
บทความพิ เ ศษ
ฝึ กฝนเรียนรู้ผ่านยู ทูบ-ไลฟ์ สด
“ตั้งแต่เด็กผมชอบวาดรูป ผมเคยขอแม่เรียนวาดรูป ตอนจบ ม.ต้น อยากเรียนต่อที่ศูนย์ศีลปาชีพบางไทร แต่แม่ไม่มี เงินส่งผมเรียน ความฝันของผมก็เลยหยุดอยู่แค่นั้น จนเมื่ออายุ 23 ที่ประสบอุบัติเหตุกลายเป็นอัมพาต ทั้งความฝัน ทั้งชีวิตผม มันก็ไปต่อไม่ได้เลย” “จอม - วัฒนา จันทร์ชาย” เปิดใจกับทีมข่าว MGR Live ถึงความชื่นชอบด้านการวาดภาพที่มีมาตั้งแต่เด็ก ก่อนที่ ชีวิตจะพลิกผันไปอีกเส้นทาง แม้ปัจจุบันหลายคนจะจดจ�ำเขาใน บทบาทนักวาดภาพผู้พิการที่สร้างรายได้เลี้ยงชีพตัวเองได้อย่าง น่าชื่นชม แต่ชีวิตก่อนหน้านี้ก็ขมขื่นอยู่ไม่น้อย “ผมเคยแต่งงาน มีครอบครัว มีลูกสาว 1 คน ลูกผมอายุ ได้ 4 เดือนเอง ผมออกไปท�ำสวนและโดนต้นไม้ล้มใส่ที่ต้นคอ ท�ำให้กระดูกต้นคอหัก เส้นประสาทไขสันหลังไม่ท�ำงาน ต้อง กลายเป็นอัมพาตตั้งแต่หน้าอกจนถึงปลายเท้า แค่มือสองข้าง เท่านั้นที่พอขยับได้ ตอนที่ป่วยแรกๆ ผมยังอยู่กับแฟน ตอนนั้นยังไม่ได้แยก ทางกัน ผมอยู่บ้านผมเบื่อก็เลยให้แฟนหาอุปกรณ์วาดเขียน มาให้ ผมเริ่มหัดเขียน หัดวาด ภาพแรกที่วาดก็เป็นภาพที่วาด เล่นกับลูกสองคน ตอนนั้นผมยังไม่ใช้โทรศัพท์ เฟซบุ๊กก็เล่นไม่ เป็น (หัวเราะ)
แม้ แ รกเริ่ ม เขาจะเปิ ด ใจว่ า เป็ น คนที่ ช อบการวาดรู ป มาตั้ ง แต่ เ ด็ ก แต่ ทั ก ษะในวั ย เด็ ก ก็ ไ ม่ ส ามารถน� ำ มาส ร้ า งเป็ น อาชี พ ได้ เ ต็ ม ที่ เ ท่ า ที่ ค วร จากตรงนี้ จึ ง ท� ำ ให้ เขาอยากเรี ย นรู ้ เ ทคนิ ค การวาดใหม่ ๆ จนได้ ไ ปเจอ กั บ อาจารย์ ท ่ า นหนึ่ ง ซึ่ ง เป็ น ผู ้ พิ ก ารเหมื อ นกั น จึ ง เกิ ด เป็ น แรงบั น ดาลใจในการสู ้ ชี วิ ต และสร้ า งรายได้ ให้ ต นและครอบครั ว จนถึ ง วั น นี้ วั น หนึ่ ง แฟนผมมาคุ ย กั บ ผมว่ า ลองเปิ ด เฟซบุ ๊ ก ดู ไ หม เพราะแฟนเคยเอารู ป ผมตอนที่ เ กิ ด อุ บั ติ เ หตุ ใ หม่ ๆ ไปลง ในเฟซบุ๊กก็มีคนติดตามเยอะ ผมเลยคุยกับเขาว่าถ้าเปิดเฟซบุ๊ กก็มาวาดรูปขายด้วยเลยดีไหม ผมก็ขอให้พ่อซื้อมือถือให้ เครื่อง ละพันกว่าบาท” แม้แรกเริ่มเขาจะเปิดใจว่าเป็นคนที่ชอบการวาดรูปมา ตั้งแต่เด็ก แต่ทักษะในวัยเด็กก็ไม่สามารถน�ำมาสร้างเป็นอาชีพ ได้เต็มที่เท่าที่ควร จากตรงนี้จึงท�ำให้เขาอยากเรียนรู้เทคนิค การวาดใหม่ๆ จนได้ไปเจอกับอาจารย์ท่านหนึ่ง ซึ่งเป็นผู้พิการ เหมือนกัน จึงเกิดเป็นแรงบันดาลใจในการสู้ชีวิต และสร้างราย ได้ให้ตนและครอบครัวจนถึงวันนี้ “แรกๆ ผมก็วาดไม่เป็นนะครับ ผมจะวาดเป็นแต่พวก ลายเส้น ลายไทยมากกว่า ผมเริ่มจากการดูแบบก่อน ลองวาด นางเงือก วาดกินรี หลังจากนั้น ผมก็เลยเสิร์ชหาตามช่องยูทูบ จนผมได้เจอกับ “อ.ดล จูกระโทก” ท่านเป็นคนพิการเหมือน กัน แต่เสียชีวิตไปแล้วเมื่อ 2 ปีก่อน 65
issue 137 JUNE 2019
ผมพู ด ทุ ก ครั้ ง เวลาใครถาม ผมจะบอกเสมอว่ า ชี วิ ต มั น เป็ น ไปแล้ ว ถ้ า จะให้ ก ลั บ ไปเป็ น เหมื อ นเดิ ม มั น ยากแล้ ว เราต้ อ งอยู ่ กั บ ปั จ จุ บั น ต้ อ งอยู ่ กั บ สิ่ ง ที่ เป็ น ให้ ไ ด้ อยู ่ ไ ม่ ไ ด้ ก็ ต ้ อ งอยู ่ ใ ห้ ไ ด้ อย่ า งบางคนที่ มี ค รบทุ ก สิ่ ง เขาก็ อ าจจะล� ำ บากกว่ า เราก็ ไ ด้ ผมหวั ง ว่ า เรื่ อ งของผมมั น จะเป็ น ประโยชน์ ใ ห้ แ ก่ ค นอื่ น ๆ ที่ ก� ำ ลั ง ท้ อ อยู ่
ผมได้แรงบันดาลใจมาจากอาจารย์คนนี้ แกเปิดแฟนเพจ สอนศิลปะ ทีแรกผมก็ไม่กล้า แต่พอรวบรวมความกล้าได้ก็ทัก อาจารย์ไปทางเฟซบุ๊กขอให้ช่วยสอนผมหน่อย ผมอยากมีงาน ท�ำ อยากหารายได้ เขาสอนผมทุกอย่างเลย ทั้งเทคนิคการวาด การแรเงา การวาดภาพบุคคล ไม่มีกั๊กวิชาเลย ผมเรียนรู้ผ่านไลฟ์สดของอาจารย์ ผมดูทั้งวันเพราะผม ท�ำอะไรไม่ได้ นอกจากนอนบนเตียง พอเริ่มวาดเป็นก็มาหาเงิน ซื้ออุปกรณ์ จนไปพบกับแฟนเพจ “นางฟ้า ซาลอน” ผมเห็นเขา ออกรายการช่วยเหลือคนพิการ ผมก็ติดต่อไปขออุปกรณ์การ วาดรูปจากพี่เขา อีก 3 วันเขาส่งมาให้ผมเลย ผมอยากขอบคุณ ที่ช่วยเหลือผมท�ำให้ผมมีอาชีพในวันนี้”
ก็สะท้อนให้เห็นแล้วว่าจิตใจของเขาเข้มแข็งเพียงใด การเผชิญ หน้าต่อสภาวะเจ็บป่วยทางร่างกายทั้งยังวาดภาพหารายได้ไป ด้วยเป็นสิ่งที่ยาก แต่เขาก็ท�ำมันส�ำเร็จ ซึ่งภาพวาดส่วนใหญ่ เน้นแนวพอตเทรตเป็นหลัก โดยมีราคาภาพเดี่ยวขาว-ด�ำอยู่ที่ 500 บาท และภาพคู่อยู่ที่ 1,000 บาท “ตอนนี้มือผมปลายประสาทนิ้วมันไม่ดีเหมือนเมื่อก่อน แล้ว ความยากของการวาดภาพมันเลยอยู่ที่การบังคับ และการ ลากนิ้ว เพราะประสาทสัมผัสของผมตอนนี้มันชาไปหมดเลย มัน จะไม่รู้สึกเวลาเราจับ มันชาไปหมด แต่เวลาผมวาดให้ลูกค้า ผมจะท�ำเต็มที่ ถ้าลูกค้าคนไหน ยังไม่โอเคกับผลงานที่ผมวาด ผมก็จะวาดให้ใหม่ครับ บางรูปถ้า
ร่างกายพิการ แต่ใจเกินร้อย
“ผมพูดทุกครั้งเวลาใครถาม ผมจะบอกเสมอว่าชีวิต มันเป็นไปแล้ว ถ้าจะให้กลับไปเป็นเหมือนเดิมมันยากแล้ว เรา ต้องอยู่กับปัจจุบัน ต้องอยู่กับสิ่งที่เป็นให้ได้ อยู่ไม่ได้ก็ต้องอยู่ ให้ได้ อย่างบางคนที่มีครบทุกสิ่งเขาก็อาจจะล�ำบากกว่าเรา ก็ได้ ผมหวังว่าเรื่องของผมมันจะเป็นประโยชน์ให้แก่คนอื่นๆ ที่ก�ำลังท้ออยู่” แม้ร่างกายอาจไม่แข็งแรงได้เต็มร้อย แต่สิ่งที่เขาท�ำอยู่ 66
IS AM ARE www.fosef.org
ลูกค้าส่งต้นแบบมาไม่ชัด ผมวาดตามที่เห็นแบบ ถ้าลูกค้ายังไม่ ชอบ ผมก็วาดให้ใหม่แต่อาจจะขอต้นแบบเขาใหม่ครับ แต่ถ้าเขา ไม่มีต้นแบบให้ใหม่ ผมก็จะคืนเงินให้ครับ ที่ผมวาดคือแนวภาพเหมือนบุคคล ตอนนี้ก�ำลังหัดวาด สีน�้ำอยู่เหมือนกัน การวาดมันท�ำให้ผมผ่อนคลายนะครับ ผม พยายามลบล้างความเครียดด้วยการวาดนี่แหละ ส่วนรายได้ที่ เคยท�ำได้สูงสุด คือ หมื่นต้นๆ แต่ก็ไม่ใช่ทุกเดือน อย่างวันไหน ที่อากาศร้อนมากๆ ผมก็จะวาดไม่ได้ เพราะอากาศร้อนท�ำให้ ผมหายใจไม่สะดวก ตอนนี้ผมวาดรูปพระสังฆราชเพื่อประมูลอยู่ครับ ผมหา รายได้มาสร้างบ้านให้พ่อแม่ ที่ประมูลภาพผมจะน�ำเงินมาแบ่ง ออกเป็น 3 ส่วน ส่วนแรกผมเก็บไว้ ส่วนที่เหลือผมก็แบ่งให้กับ พี่-น้องที่พิการแถวบ้าน และก็มีวาดมอบให้จิตอาสาน�ำไปให้น้อง บนดอยสูงด้วยครับ” แน่นอนว่าเรื่องราวการสู้ชีวิตของเขาได้กลายเป็นบุคคล ตัวอย่างที่สร้างแรงบันดาลใจให้แก่หลายคน แม้เจ้าตัวจะเปิดใจ ว่าไม่ได้คิดว่าตัวเองจะเป็นต้นแบบให้แก่ใครได้ แต่ก็ยังกล่าวทิ้ง ท้ายถึงผู้ที่ก�ำลังรู้สึกผิดหวังกับชีวิตด้วยว่าเป็นธรรมดาที่ต้อง รู้สึกท้อใจ แต่สุดท้ายก็ต้องอยู่กับมันให้ได้ “ผมน้อยใจเหมือนกันนะครับ ที่ผมเป็นแบบนี้ ผมไม่
สามารถดูแลลูกได้ ไม่สามารถพาพ่อ-แม่ไปหาหมอได้ มันก็คิด อยู่ตลอด แต่สิ่งที่ผมท�ำคือเราจะไม่พยายามจนเกินไป ผมคิดแค่ ว่าเราท�ำมันให้ดีที่สุด มันก็ส�ำเร็จครับไม่ต้องไปพยายาม เพราะการพยายามคือ หนึ่ง เราจะกดดันตัวเอง สอง เรา คาดหวังผลจากมันก็จะมีแต่ผิดหวังกับเสียใจ แต่ถ้าเราท�ำให้ดี ที่สุด มันก็จะส�ำเร็จได้อย่างมีความสุข จริงๆ ผมไม่ได้ท้อที่ต้อง เป็นแบบนี้ แต่ผมท้อและเครียดเรื่องคนที่ผมรัก พ่อ แม่ ลูกของ ผม บ้านเรายากจน ผมเป็นห่วงเรื่องความเป็นอยู่ ที่วาดภาพทุกวันนี้ก็เพื่อให้ครอบครัวของผมกลับมามี ความสุข ผมพยายามเก็บเงิน หรือถ้ามีคนมาปรึกษาผมเรื่อง วาดรูป ผมก็ยินดีช่วยเหลือนะครับ เรียนมาแบบไหนก็จะบอก ไปแบบนั้น ถ้ามือดีอยู่ ใครอยากวาดรูปทักมาหาผมได้ ผมจะ แนะน�ำเทคนิคที่ผมรู้เกี่ยวกับเรื่องศิลปะหรือการแกะสลัก ผม ช่วยเต็มที่ครับ ส่วนคนที่ก�ำลังท้ออยู่หรือคนที่ต้องเป็นแบบผม ท้อได้นะ ครับ เพราะคนเรามันยังหายใจอยู่ก็มีท้อ มีเสียใจ แต่ถึงเราจะ เสียใจ ถ้ายังไม่ตาย มันก็จะอยู่แบบนั้น ฉะนั้น ต้องอยู่กับมันให้ ได้ครับ ที่ส�ำคัญสิ่งที่เราควรสู้มากที่สุดคือความคิดของตัวเอง” ข่าวโดย MGR Live ภาพ FB : จอม วัฒนา
67 issue 137 JUNE 2019
“ความรู้สึกที่มีต่อลูกศิษย์
กับสิ่งที่ครู ตั้งใจให้เขา”
ในชี วิ ต ของคนเราต้ อ งพบเจอกั บ ผู ้ ค นมากมาย คนที่ รั ก หวั ง ดี คนที่ ค อยอบรมสั่ ง สอน ชี้ แ นะแนวทางทั้ ง ทั ก ษะชี วิ ต ทั ก ษะการคิ ด ทั ก ษะการด� ำ รงชี พ อย่ า งยั่ ง ยื น คงจะเป็ น ใครไปไม่ ไ ด้ น อกเสี ย จาก “ครู ” ไม่ เ คย คิ ด ว่ า ชี วิ ต จะต้ อ งมาเป็ น ครู เพราะรู ้ สึ ก ว่ า ครู ที่ เ คยพบมา จะต้ อ งประพฤติ ป ฏิ บั ติ ต นอยู ่ ใ นกฎระเบี ย บ จะ ต้ อ งคอยจ�้ ำ จี้ จ� ำ ไชเด็ ก นั ก เรี ย นให้ ตั้ ง ใจเรี ย น ด้ ว ยความที่ เ คยเรี ย นห้ อ งเรี ย นท้ า ยๆ จึ ง รู ้ ว ่ า การเป็ น ครู มั น ล� ำ บากหนั ก หนาต่ อ การที่ ต ้ อ งอดทนสอนเมื่ อ เด็ ก ไม่ ตั้ ง ใจเรี ย น ต้ อ งประพฤติ ต นเป็ น แบบอย่ า งแก่ ผู ้ อื่ น ใน ทุ ก ๆ ด้ า น ... แต่ สุ ด ท้ า ยก็ ต ้ อ งมาเลื อ กเส้ น ทางของการเป็ น ครู มั ธ ยมด้ ว ยเหตุ ผ ลที่ ว ่ า “ท� ำ ไปเถอะ สั ก วั น ต้ อ งรั ก อาชี พ ครู เ อง” 68 IS AM ARE www.fosef.org
ความเป็ น คน ความเป็ น ครู ครูเริ่มบรรจุเป็นครูเมื่อปี 2534 ที่โรงเรียนสตรีระนอง เป็ น โรงเรี ย นแรก และคงเป็ น โรงเรี ย นเดี ย วในชี วิ ต ของการ รับราชการ ใจจริงเมื่อรู้ตัวว่าจะได้เป็นครู อยากไปบรรจุตาม โรงเรียนที่อยู่ในถิ่นทุรกันดาร อยากไปพัฒนานักเรียน อยาก ไปมีส่วนร่วมในการพัฒนาหมู่บ้าน อาจเป็นเพราะตอนเรียน มหาวิทยาลัยชอบไปออกค่ายอาสาอยู่เป็นประจ�ำ แต่สิ่งเหล่า นั้นก็เป็นไปได้เพียงความฝัน เพราะในค�ำสั่งการบรรจุเขาระบุให้ ครูลงที่โรงเรียนสตรีระนอง เริ่มต้นการมาเป็นครูได้สอนในระดับ ชั้น ม.1 – ม.3 มีได้สอนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายก็เป็นวิชา เลือกบางวิชา จึงคลุกคลีกับเด็กเล็กๆเสียมากกว่า เด็กในเมือง ค่อนข้างซน ปัญหาการหนีเรียน ขาดเรียน ทะเลาะวิวาทจึงมี มากเป็นธรรมดา หน้าที่ของครูนอกจากจะสอนวิชาการแล้ว ครู ยังต้องท�ำหน้าที่เป็นแม่ในการอบรมสั่งสอนด้านความประพฤติ ด้านการใช้ชีวิตและการสานต่ออนาคต การสอนเด็กมัธยมต้น ครูจะค้นพบว่าเด็กวัยนี้ในสมัยก่อนใส ซื่อ บริสุทธิ์ หากได้รับ การชี้แนะจากครู พวกเขาก็จะพยายามปรับปรุงตัว และกลับ เข้าสู่การเป็นนักเรียนที่ดี เรียนจนจบชั้น ม.3. และ ม.6 ได้ นั่น คือสมดังความคาดหวังและท�ำให้คนเป็นครูอย่างครูภาคภูมิใจ และดีใจเป็นอย่างยิ่ง
ต่อมาเมื่อครูหลายท่านในโรงเรียนได้เข้าร่วมโครงการ เกษียณอายุก่อนก�ำหนด จึงท�ำให้ครูรุ่นก่อนหายไปเกือบหมด เด็ ก ในเมื อ งค่ อ นข้ า งซน ปั ญ หาการหนี เ รี ย น ขาด โรงเรี ย น จากการที่ ค รู เ คยเป็ น ครู น ้ อ ยๆ ก็ ต ้ อ งมารั บ หน้ า ที่ เรี ย น ทะเลาะวิ ว าทจึ ง มี ม ากเป็ น ธรรมดา หน้ า ที่ ข อง เป็นหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน้าที่รับผิดชอบ ครู น อกจากจะสอนวิ ช าการแล้ ว ครู ยั ง ต้ อ งท� ำ หน้ า ที่ จึงเพิ่มขึ้นมาก อีกทั้งจากการสอนและเป็นครูประจ�ำชั้นระดับ เป็ น แม่ ใ นการอบรมสั่ ง สอนด้ า นความประพฤติ ด้ า น มัธยมศึกษาตอนต้นก็ต้องมารับผิดชอบนักเรียนระดับชั้น ม. 6 การใช้ ชี วิ ต และการสานต่ อ อนาคต จากคนที่เคยเป็นแม่ เป็นครู ก็จะต้องเพิ่มการเป็นเพื่อนกับพวก เขาขึ้นมา เพราะเด็กในระดับ ม.6 เป็นช่วงส�ำคัญในการที่จะ สร้างอนาคตของตนให้ส�ำเร็จในภายภาคหน้า ในขณะที่ครูพบว่า เด็กในเมืองของครูไม่ได้เป็นเด็กที่เพียบพร้อมด้วยฐานะทางการ เงิน ภูมิสังคม ภูมิความรู้ทางวิชาการ รวมถึงทักษะในการใช้ชีวิต ก็ยังไม่มี จึงไม่แปลกที่วันดีคืนดีเราจะเห็นภาพเด็กทะเลาะวิวาท ตบตีกัน เห็นภาพท้องก่อนวัยจนต้องออกจากโรงเรียน เห็นภาพ เด็กที่ไม่ได้เรียนต่อ เพราะไม่มีเงิน เห็นภาพเด็กเลือกเรียนคณะที่ ตนเองชอบจนจบมาแล้วหางานท�ำไม่ได้ เห็นภาพเด็กที่ติดเกมส์ แล้วตื่นสาย มาโรงเรียนไม่ได้ เห็นภาพเด็กที่หาระเบียบวินัยใน ชีวิตไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นการกินที่ไหนก็วางทิ้งที่นั่น การซื้อสิ่งของ อย่างฟุ่มเฟือยและไม่รักษา ที่ส�ำคัญพอครูหลายท่านเตือนก็ท�ำ กิริยาอาการที่ไม่พอใจขึ้นมาทันทีทันใด สารพันปัญหาของเด็ก ในเมืองครูจะพบหมด ยิ่งไปเยี่ยมบ้านแล้วกลับมาสรุปเราจะ พบว่า เด็กประมาณ 40% ไม่ได้อยู่กับพ่อแม่ หรืออยู่พ่อแม่ก็ 69 issue 137 JUNE 2019
แยกทางกัน จึงไม่แปลกที่เยาวชนของชาติจะรู้สึกหมดอาลัยตาย อยาก ไม่กระตือรือร้นไม่คาดหวังอะไรในชีวิตนอกจากนั่งเรียน นั่งเล่นไปวันๆ จบมาจะท�ำอะไรก็แล้วแต่ชะตาฟ้าลิขิต “ท�ำไปเถอะ สักวันต้องรักอาชีพครูเอง” เกิดขึ้นกับครู นับตั้งแต่ครูเริ่มปฏิบัติหน้าที่ของความเป็นครู เด็กนักเรียนทุก คนคือศิษย์ของครู ครูจะต้องรักและห่วงใยศิษย์ทุกคน หลาย ครั้งที่ท้อกับพฤติกรรมของเด็ก หลายคราที่รู้สึกว่าท�ำไมเราจะ ต้องทุ่มเทอะไรขนาดนี้ ท�ำไมเราไม่ท�ำงานแบบอยู่ไปวันๆ เด็กจะ เรียนไม่เรียนก็ช่างเด็กไป สอนๆ ไปให้จบวันๆ ก็พอ งานพิเศษก็ ท�ำตามหน้าที่ไป จะได้ไม่ต้องเครียดกับเด็ก แต่เมื่อเข้าห้องสอน ครูก็อดดุเด็กเมื่อไม่ตั้งใจเรียนไม่ได้ อดที่จะบ่นและพร�่ำสอนเวลา ที่เด็กไม่ส่งงาน ไม่ตั้งใจเรียน อดที่จะคิดเทคนิคการสอน หาสื่อ มาใช้เพื่อให้เด็กสนใจเรียนเสียมิได้ กลัวว่าจะสอบไม่เข้าเรียน มหาวิทยาลัยไม่ได้ ครูก็อุตส่าห์หาเทคนิคการติว ท�ำชีทติว คอย สอนเสริมยามมีคาบว่าง คอยแนะน�ำ แนะแนวอาชีพให้เขา คอย ช่วยแก้ปัญหาทั้งจากทางบ้าน และทางโรงเรียน อดที่จะคอย ช่วยเหลือเมื่อพวกเขามีปัญหาไม่ได้ เรียกได้ว่าเมื่อนักเรียนทุกข์ ครูก็รู้สึกทุกข์ และต้องหาทางแก้ปัญหาให้เด็กให้ได้เสมอ เด็ก เมื่ อ เข้ า ห้ อ งสอนครู ก็ อ ดดุ เ ด็ ก เมื่ อ ไม่ ตั้ ง ใจเรี ย นไม่ ได้ อดที่ จ ะบ่ น และพร�่ ำ สอนเวลาที่ เ ด็ ก ไม่ ส ่ ง งาน ไม่ ตั้ ง ใจเรี ย น อดที่ จ ะคิ ด เทคนิ ค การสอน หาสื่ อ มาใช้ เพื่ อ ให้ เ ด็ ก สนใจเรี ย นเสี ย มิ ไ ด้ กลั ว ว่ า จะสอบไม่ เ ข้ า เรี ย นมหาวิ ท ยาลั ย ไม่ ไ ด้ ครู ก็ อุ ต ส่ า ห์ ห าเทคนิ ค การ ติ ว ท� ำ ชี ท ติ ว คอยสอนเสริ ม ยามมี ค าบว่ า ง ไม่มีทุนเรียน ครูก็ต้องหาทุน หรือน�ำเงินของตัวเองช่วยให้เด็กมี เงินใช้จ่ายในการเรียน นี่กระมังที่เขาบอกความเป็นครูมันอยู่ใน สายเลือดทุกขณะ ยิ่งสังคมเปลี่ยนไปเข้าสู่ยุค Social Network ที่เด็กเห็นที่พึ่งคือโทรศัพท์แล้ว ครูยิ่งทุกข์ใจยิ่งพยายามหาทาง ให้เด็กของครูกลับมาสู่โลกแห่งความเป็นจริง และก้าวสู่อนาคต อย่างมั่นใจให้ได้ ครู รู ้ จั ก กั บ มู ล นิ ธิ ค รอบครั ว พอเพี ย งเมื่ อ วั น ที่ 11 กุมภาพันธ์ 2558 โดยก่อนหน้านี้ครูจะเป็นแกนน�ำในการด�ำเนิน งานกิจกรรมของโรงเรียน ไม่ว่าจะเป็นการประเมินโรงเรียน พระราชทาน การประเมิน สมศ. การประเมินสถานศึกษาพอ เพียง ซึ่งจ�ำได้ดีว่าวันนั้นท่านรองมอบหมายให้ครูดูแลการท�ำ กิจกรรมของมูลนิธิ ครูก็ดูและแลจริงๆ ไม่ค่อยได้ใส่ใจ จ�ำได้ ว่าวันนั้นคุณมุกขอตัวกลับก่อนครูเลยเดินมาส่งคุณมุกที่หน้า โรงเรียนยังคิดในใจเลยว่า มันก็เหมือนกับโครงการอื่นๆ แหละ 70 IS AM ARE www.fosef.org
ตอนนั้นครูตระหนักชัดเจนแล้วว่า “เขาเอาจริงแฮะ” ดังนั้นครู จึงขับเคลื่อนศูนย์ครอบครัวพอเพียงอย่างจริงจัง เพราะตอนนั้น ครูมองเห็นปัญหาหลายอย่างในตัวนักเรียนของครูโดยเฉพาะ เรื่องของความพอเพียง ครูจึงคาดหวังเลยว่าเด็กของครูจะต้อง น�ำหลักพอเพียงไปใช้ในชีวิตให้ได้ ปี 2559 ครูเอาเด็ก ม.6 ของครูเข้าอบรมกับทางมูลนิธิ ครอบครัวพอเพียง ตัวครูเองก็เข้าอบรมซุปเปอร์ครูเมื่อวันที่ 25-27 มีนาคม 2559 ตัวเด็กเองก็ได้ไปเข้าค่ายที่ทางมูลนิธิจัด พวกเรามีความสุขกันมากในการท�ำงานท่ามกลางปัญหาและ อุปสรรค ไหนจะมีคนหมั่นไส้ ไหนจะขอเวลาเรียนไม่ได้ ไหนจะ ไม่มีสถานที่ในการด�ำเนินงาน ไหนจะไม่มีงบประมาณ แต่พวก เราก็ทน ทน ทนและท�ำให้ดีที่สุด ครูบอกเด็กของครูว่า ท�ำงาน
มาอบรมให้เด็กเดี๋ยวก็เลือนหายไปไม่ต้องไปใส่ใจ ดังนั้นเมื่อ เด็กๆมาบอกว่าทางมูลนิธิให้ท�ำโน่นท�ำนี่ครูก็ปัดไปให้ครูท่าน อื่น มิหน�ำซ�้ำยังท�ำค�ำสั่งให้ครูท่านๆอื่นๆ รับผิดชอบอีกด้วยนะ แต่ก็ยังจ�ำได้นะว่ามีการเอาเด็กกลุ่มนี้มาร่วมท�ำงานเพื่อเตรียม ประเมินศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา ซึ่งในตอนนั้นครูจะเริ่มศึกษาการน�ำหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในสถานศึกษาอย่างจริงจัง ซึ่งจะ ต้องเริ่มทั้งจากเด็ก ครู ผู้บริหาร และชุมชน จนเกิดฐานการเรียน รู้ที่ใช้ในการประเมินถึง 10 ฐานการเรียนรู้ คือตอนนั้น ครอบครัว พอเพียงของครูจะเกิดแบบมองไม่เห็นภาพ เราจะเห็นแต่ภาพ ฐานการเรียนรู้ของ ศรร. จนกระทั่งเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2562 มูลนิธิกลับมาโรงเรียน มาจัดกิจกรรมให้กับทางโรงเรียนอีกครั้ง 71
issue 137 JUNE 2019
อย่าไปหวังว่าจะได้รับรางวัล แต่ขอให้ท�ำ และท�ำให้ดีที่สุด ผลอ อกมาจะเป็นอย่างไรช่างมัน หากสมหวัง คนอื่นเห็นค่า เราดีใจ หากท�ำไม่สมหวัง ก็ขอให้เสียใจให้พอเมื่อเสียใจพอแล้วขอให้ เข้มแข็งและท�ำต่อไป อย่างน้อยการได้ลงมือกระท�ำก็ถือว่าเรา มีประสบการณ์ที่แสนมีค่า และจะเป็นฐานให้เราเข้มแข็งอดทน มากยิ่งขึ้น งานใดยิ่งมีปัญหามันจะยิ่งสอนให้เรารู้จักหาทางแก้ รู้จักยอมรับอย่างสงบ และรู้จักที่จะแก้ไขให้ดีขึ้น จึงไม่แปลก ที่ศูนย์ครอบครัวพอเพียงของเราจะอยู่แบบเรียบๆ เงียบๆ แต่ พร้อมที่จะเผชิญกับทุกสถานการณ์ของการเปลี่ยนแปลง และ พร้อมที่จะรับทั้งสมหวัง ความผิดหวัง ดีใจและเสียใจ เพราะ สิ่งเหล่านี้แหละจะหล่อหลอมให้ลูกศิษย์ของครูแข็งแกร่ง และ มี ห ลั ก พอเพี ย งอยู ่ ใ นสายเลื อ ด พวกเขาจะออกไปสู ่ โ ลกของ การเป็ น นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาอย่ า งมั่ น คงและจบมาเป็ น หลั ก ให้ กั บ ครอบครัวและประเทศชาติต่อไป นอกจากการสอน การเป็นครูประจ�ำชั้นที่ครูกล้าการัน ตีว่าครูท�ำเกิน 100% แล้ว ด้านการท�ำงานกับลูกศิษย์เราจะ ท�ำงานกันแบบแม่กับลูก มีปัญหาอุปสรรคแม่จะต้องคอยชี้แนะ คอยหาทางแก้ไข คอยช่วยเหลือเพื่อให้ผ่านพ้นเหตุการณ์อันเลว ร้ายไปด้วยกัน จึงไม่แปลกที่ครูจะรักลูกศิษย์ทุกคนเหมือนลูก
ครู อ ยากให้ เ ขาเห็ น ว่ า สิ่ ง ที่ เ ขาท� ำ จะส่ ง ผลให้ พ วกเขา ได้ รั บ ความสมหวั ง และอยู ่ ใ นสั ง คมได้ อ ย่ า งมี ค วาม สุ ข และที่ ส� ำ คั ญ ครู อ ยากให้ พ วกเขาได้ รู ้ ว ่ า ไม่ มี ส ่ ว น ไหนส� ำ คั ญ เท่ า ส่ ว นรวม อยากให้ เ ขาภาคภู มิ ใ จที่ เ ขา ได้ ท� ำ ประโยชน์ ใ ห้ กั บ ประเทศชาติ เพราะทุ ก วั น นี้ ค น เราเห็ น แก่ ตั ว กั น มากขึ้ น
72 IS AM ARE www.fosef.org
ครูให้ความรักและห่วงใยพวกเขายิ่งกว่าลูก เพราะครูอยากให้ เขาเห็นว่าสิ่งที่เขาท�ำจะส่งผลให้พวกเขาได้รับความสมหวัง และ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข และที่ส�ำคัญครูอยากให้พวกเขา ได้รู้ว่า ไม่มีส่วนไหนส�ำคัญเท่าส่วนรวม อยากให้เขาภาคภูมิใจที่ เขาได้ท�ำประโยชน์ให้กับประเทศชาติ เพราะทุกวันนี้คนเราเห็น แก่ตัวกันมากขึ้น ครูรักครอบครัวพอเพียงของครูมาก เพราะ หากครูไม่มีแกนน�ำครอบครัวพอเพียงเหล่านี้ ครูคงไม่มีโอกาส ได้ท�ำประโยชน์ให้แก่สังคมมากมายเช่นทุกวันนี้ ต้องขอบคุณ มูลนิธิครอบครัวพอเพียงที่เป็นเสาหลักคอยหล่อหลอมความ พอเพียงให้แก่ครูและแกนน�ำของครูเสมอมา บางครั้งครูเหนื่อย ล้า ท้อในหลายๆหน ครูก็จะนึกถึงรัชกาลที่ 9 นึกถึงแกนน�ำ ครอบครัวพอเพียงของครูและบอกตนเองเสมอมาว่า ท้อได้แต่ อย่าถอย อย่าเลิกนะ เราต้องท�ำเพื่อเด็กของเรา เพื่อประเทศ ชาติของเราต่อไป
หลายคนบอกว่า ครูใส่ใจลูกศิษย์ ปล�้ำกับลูกศิษย์มากกว่าดูแล ลูกของตัวเองอีก ครูก็พยายามจะลองเฉยเมย จะลองอยู่เฉยๆ บ้าง แต่ก็ท�ำไม่ได้ เพราะความรู้สึกรัก หวังดีและอยากให้ศิษย์ ประสบความส�ำเร็จมันมีอยู่ในจิตวิญญาณของความเป็นครูเสีย แล้ว เด็กคนไหนมีความสามารถครูก็จะส่งเสริม ฝึกซ้อม และ พาเขาไปแข่งขัน โดยบอกเด็กเสมอว่า วันนี้เราไม่ชนะไม่เป็นไร ขยันฝึกซ้อมไป วันหนึ่งชัยชนะก็จะเป็นของเรา เด็กหลายคน จึงมีเงินรางวัลในการเป็นทุนเพื่อเรียนต่อ หลายคนเลือกเรียน สาขาและมหาวิทยาลัยที่สามารถจบมามีงานท� ำ และที่ ภ าค ภูมิใจมากคือ ตั้งแต่ท�ำงานพอเพียงมามีนักเรียนได้ทุนพอเพียง ของส�ำนักงานพระมหากษัตริย์ถึง 2 คน เป็นทุนที่ท�ำให้เด็กได้ เรียนมหาวิทยาลัยจนจบ เป็นทุนที่ต่ออนาคตด้านการศึกษาให้ เด็ก เป็นทุนที่ท�ำให้ครูมีก�ำลังใจในการท�ำงานเพื่อเด็ก ถามว่าสิ่งที่ครูตั้งใจให้ศิษย์คืออะไร ตอบได้เลยว่า ทุก สิ่งทุกอย่างของคนเป็นครูสามารถให้ศิษย์ได้หมด ให้ความรู้ ให้ อนาคต ให้เป็นคนดี ให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข นั่นคือ ความสุขของการเป็นครู ส่วนเด็กที่ท�ำงานพอเพียงครูให้อะไร
ครูพรพิมล ค�ำนวณศิลป์ โรงเรียนสตรีระนอง
73 issue 137 JUNE 2019
ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงปั งค่า จังหวัดพะเยา ศูนย์พัฒนา โครงการหลวงปังค่า จัดตั้งขึ้น เพื่อสืบต่อ การดูแลชาวเขาให้มี ชีวิตความเป็นอยู่ ที่ดีขึ้นอย่างยั่งยืน 74 IS AM ARE www.fosef.org
70 เส้ น ทางตามรอยพระบาท โดย ททท. ชึ้นชื่อว่าเป็นโครงการหลวงหนึ่งเดียวในจังหวัดพะเยา ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงปังค่า เป็นโครงการพระราชด�ำริ ที่รับ ผิดชอบดูแลพื้นที่กว่า 2 หมื่นไร่ ด้วยลักษณะ ภูมิประเทศที่เป็น เนินเขาและภูเขาสูง รูปแบบการเกษตร จึงเป็นแบบเมืองหนาว มีแหล่งน�้ำส�ำคัญคือ ล�ำน�้ำแม่คะ และล�ำน�้ำเงิน เป้าหมายหลัก คือการดูแลชาวบ้านใน บริเวณนี้ ซึ่งมีชาวเขาเผ่าเย้าและม้งเป็น จ�ำนวนมาก คอยสอนการท�ำเกษตรกรรม และจัดหาพันธุ์พืชที่ เหมาะ สมให้ในการท�ำกิน ด้วยทัศนียภาพที่งดงามของบ้านปังค่า ซึ่งตั้งอยู่ภายใน วนอุทยานแห่งชาติภูลังกา ท�ำให้ที่นี่ได้รับการขนานนาม ว่า เป็นกุ้ยหลินเมืองไทย และเป็นจุดที่นักท่องเที่ยวมา เฝ้าชม พระอาทิตย์ตกที่ลานหินล้านปี อีกหนึ่งความโดดเด่นของโครงการหลวงปังค่า ก็คือ วิถี ชีวิตของชาวเขาเผ่าม้งและเผ่าเมี่ยน ทางศูนย์ฯ มีการ จัดแสดง วัฒนธรรม ศิลปะและงานหัตถกรรมชาวเขา อาทิ ศิลปะผ้าปัก ผ้าพิมพ์ลาย ผ้าเขียนลายเทียน งานตัด เย็บเสื้อแบบเย้า การท�ำ เครื่องเงิน มีร้านขายของที่ระลึก ของฝากฝีมือชาวเขา ไม่ว่าจะ เป็น กระเป๋า ของแต่งบ้าน ของใช้ ยิ่งในช่วงเทศกาลปีใหม่ (ช่วง ทริปตัวอย่าง 3 วัน 2 คืน เส้นทางท่องเที่ยว ตรุษจีน) ชาวเขาจะ แต่งกายด้วยชุดประจ�ำเผ่า สร้างสีสันที่น่า จ.เชี ยงราย-พะเยา ประทับใจให้กับ ทริปท่องเที่ยวอีกด้วย วั น แรก : จั ง หวั ด เชี ย งราย ช่วงเช้า • ล่องเรือชมวิวแม่น�้ำโขงของไทย-ลาว ของแก่งผาได • สนุกกับกิจกรรมเก็บองุ่นจากต้น ชิมน�้ำองุ่นที่ ศูนย์ พัฒนาโครงการหลวงห้วยแล้ง ช่วงบ่าย • เยี่ยมชมโครงการหลวงผาตั้ง และทัศนียภาพ ยามเย็น ที่ผาบ่องประตูสยาม วั น ที่ ส อง : จั ง หวั ด พะเยา ช่วงเช้า • ชมทะเลหมอกที่ภูชี้ดาว เที่ยวน�้ำตกภูซาง • ชมความงามธรรมชาติที่โครงการหลวงปังค่า ช่วงบ่าย • ชมวิถีเผ่าม้งที่บ้านสิบสองพัฒนา และเผ่าเย้า • ดื่มด�่ำพระอาทิตย์ตกดินที่ดอยภูนม วั น ที่ ส าม ช่วงเช้า • วัดนันตาราม ชมงานศิลป์แบบไทยใหญ่ • ชมเฮือนไทลื้อกว่า 100 ปี ของแม่แสงดา 75 issue 137 JUNE 2019
76 IS AM ARE www.fosef.org
ช่วงบ่าย • แวะชมศูนย์วิปัสสนาไร่เชิญตะวัน สถานปฏิบัติธรรม ของท่าน ว.วชิรเมธี • บ้านพักรับรองภายในศูนย์ มีจ�ำนวน 5 หลัง เปิดให้ เข้าพักได้ • ที่นี่จัดจ�ำหน่ายลิ้นจี่คุณภาพดี ใน ราคาย่อมเยา เพราะ มีสวนลิ้นจี่ มากกว่า 2,000 ไร่
ที่เที่ยวห้ามพลาด
ภู เ ทวดา ที่ ย อดดอยภู ลั ง กา นอกจากวิ ว ภู เขา วิ ว พระอาทิตย์ขึ้น และตกท่ามกลางดอกไม้ป่าแสน งดงาม ยัง สามารถมองเห็นลาวและ สามเหลี่ยมทองค�ำได้อย่างชัดเจน หมู่บ้านสิบสองพัฒนา และบ้าน ปางค่าเหนือ เยี่ยมชมและ สัมผัส วิถีชีวิตของชนเผ่าม้ง แปลงสาธิตการปลูกผักในโรงเรือน ชมแปลงผักเมืองเหนือ อาทิ มะเขือเทศ โทมัส เสาวรสหวาน อะโวคาโด แมคคาเดเมีย มะม่วงนวลค�ำ และ เคพกูสเบอร์รี
กิจกรรมห้ามพลาด
• ชมทะเลหมอกมีหลากหลายจุด อาทิ บ้านปางมะโอ ดอยภูนม และดอยหัวลิง • ถ่ายภาพคู่กับทุ่งดอกเยอบีร่า และกุหลาบหลายสาย พันธุ์ • กางเต็นท์พักท่ามกลางธรรมชาติ ใจกลางวนอุทยาน ภูลังกา
ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงปั งค่า
249 ม.7 ต.ผาช้างน้อย อ.ปง จังหวัดพะเยา โทร. 088410-9089 www.facebook.com/ศูนย์พัฒนา โครงการ หลวงปังค่า เปิดให้เข้าชม : ทุกวัน 08.00-17.00 น. ฤดูท่อง เที่ยว : กันยายน-กุมภาพันธ์ การเดินทาง จากใจกลางเมือง ผ่าน อ.ดอกค�ำใต้-จุน มุ่งหน้าไป อ.เชียงค�ำ ตามทางหลวง หมายเลข 1179 เลี้ยวขวาที่ กม.8 เข้าทางหลวงสาย 1148 สายเชียงค�ำ - น่าน จากนั้นเลี้ยวซ้ายที่ กม.90 ประมาณ 5 กม. จนถึงวนอุทยาน ภูลังกา 77 issue 137 JUNE 2019
ค่ายส่งเสริมศักยภาพความเป็ นผู ้น�ำ จังหวัดนครราชสีมา
ค่ายขยายเครือข่ายโรงเรียนคู่มิตรในจังหวัดนครราชสีมา ส่งเสริมศักยภาพความเป็นผู้น�ำ และอบรมเรื่องหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงให้กับนักเรียนและคุณครูในจังหวัดนครราชสีมา กว่า ๓๐ โรงเรียน และจังหวัดใกล้เคียง ณ หอประชุม ๙๐ ปี โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย จังหวัดนครราชสีมา ระหว่างวันที่ ๑๔ - ๑๖ มิถุนายน ๒๕๖๒
78 IS AM ARE www.fosef.org
Round About
กิจกรรมศึกษาดูงานพิพิธภัณฑ์ต้านโกง
กิจกรรมศึกษาดูงานพิพิธภัณฑ์ต้านโกง ส�ำนักงาน ปปช. เพื่อให้เยาวชนได้รับรู้ถึงภัยของการทุจริตคอร์รัปชันที่มีผลร้าย ต่อประเทศชาติและประชาชน ซึ่งจะท�ำให้เยาวชนมีความรังเกียจและไม่ยอมรับการทุจริตทุกรูปแบบเพื่อให้เยาวชนตระหนักถึง ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันในสังคมไทย และได้เรียนรู้เรื่องการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชัน เพื่อส่งเสริมสังคมไทยให้ เป็นสังคมแห่งความสุจริตและโปร่งใส โดยมีนักเรียนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จ�ำนวน ๔ โรงเรียน คือ โรงเรียนเบญจม ราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ โรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย โรงเรียนกุนนทีรุทธารามวิทยาคม โรงเรียนสายน�้ำผึ้ง ในพระราชูปถัมภ์ วันที่ ๔-๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๒ ณ พิพิธภัณฑ์ต้านโกง ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ถนนพิษณุโลก กรุงเทพมหานคร
79 issue 137 JUNE 2019
กิจกรรม Do for D. เพราะเรามีพ่อคนเดียวกัน
โครงการ Do for D. เพราะเรามีพ่อคนเดียวกัน โครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชนร่วมกับ ซ.โซ่ อาสา วันที่ 1 มิถุนายน 2562 ณ ชุมชนหัวรถจักรตึกแดง บางซื่อ มีแกนน�ำเยาวชนครอบครัวพอเพียง ประกอบไปด้วย ศูนย์ครอบครัว พอเพียงโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนสตรีนนทบุรี ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรง เรียนทวีธาภิเศก ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนสตรีนนทบุรี ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี ศูนย์ครอบครัว พอเพียงโรงเรียนบดินทรเดชา(สิงห์ สิงหเสนี) 2 ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภช บางเขน ศูนย์ครอบครัวพอ เพียงโรงเรียนกุนนทีรุทธาวิทยาคม ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนบางปะกอกวิทยาคม ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนปทุม คงคา ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรีย นรัตนาธิเบศร์ ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนสตรีวัดระฆัง ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียน รัตนโกสินทร์สมโภชบางขุนเทียน ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนมัธยมประชานิเวศน์ ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนไตรมิตร วิทยาลัย ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนสายน�้ำผึ้งในพระอุปถัมภ์ฯ ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา แกนน�ำ ศูนย์ครอบครัวพอเพียงระดับอุดมศึกษา จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนานาชาติสแสตมฟอร์ด
80 IS AM ARE www.fosef.org
กิจกรรม Do for D. เพราะเรามีพ่อคนเดียวกัน
โครงการ Do for D. เพราะเรามีพ่อคนเดียวกัน โครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชนร่วมกับ ซ.โซ่ อาสา วันที่ 2 มิถุนายน 2562 ณ วัดบุรณศิริมาตยาราม มีแกนน�ำเยาวชนครอบครัวพอเพียง ประกอบไปด้วย ศูนย์ครอบครัวพอเพียง โรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนสงวนหญิง ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนวัด สุทธิวราราม ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนรัตนาธิเบศร์ ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนสตรีนนทบุรี แกนน�ำศูนย์ครอบครัวพอ เพียงระดับอุดมศึกษา จาก มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยนานาชาติสแสตมฟอร์ด
81 issue 137 JUNE 2019
82 IS AM ARE www.fosef.org
เว็ปไซต์ของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง ท่านสามารถเข้ามาอ่านบทความ นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง หรือข่าวสารดีๆ ได้แล้ววันนี้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และท่านยังสามารถสมัครเป็นสมาชิ กของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง เพื่อรับข่าวสารจากทางมู ลนิธิครอบครัวพอเพียงได้ก่อนใคร โดยท่านสามารถสมัครเพื่อเป็นสมาชิ กได้ท่ี
www.fosef.org 83
issue 137 JUNE 2019
นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง พร้อมเสริพ์ให้ทุกท่านได้อ่านแล้ว!! เพี ย งแค่ ค ลิ ก เข้ า ไปที่ www.fosef.org ท่ า นก็ ส ามารถอ่ า นนิ ต ยสาร IS AM ARE ครอบครั ว พอเพี ย ง ได้ โ ดยไม่ มี ค ่ า ใช้ จ ่ า ย เรื่ อ งราว สาระดี ๆ มากมายรอท่ า นอยู ่ หากอ่ า นแล้ ว ถู ก ใจอย่ า ลื ม บอกต่ อ นะครั บ 84 IS AM ARE www.fosef.org