IS AM ARE_JULY61_1

Page 1

IS AM ARE

จิตอาสาพาไป

รัชตะ อธิคมเสรณี เป็นพยาบาล เป็นที่ใจ

ผศ.ดร.วรุ ณยุ ภา รอยกุลเจริญ

อธิการบดีสถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย 1

issue 126 juLY 2018

ฉบับที่ 126 กรกฎาคม 2561 www.fosef.org


2 IS AM ARE www.fosef.org


“ความเจริ ญ ของคนทั้ ง หลาย ย่ อ มเกิ ด มาจากประพฤติ ช อบและการหาเลี้ ย งชี พ ชอบ เป็ น หลั ก ส� ำ คั ญ ผู ้ ที่ จ ะสามารถประพฤติ ช อบและหาเลี้ ย งชี พ ชอบได้ ด ้ ว ยนั้ น ย่ อ มจะมี ทั้ ง วิ ช าความรู ้ ทั้ ง หลั ก ธรรมทางศาสนา เพราะสิ่ ง แรกเป็ น ปั จ จั ย ส� ำ หรั บ ใช้ ก ระท� ำ การท� ำ งาน สิ่ ง หลั ง เป็ น ปั จ จั ย ส� ำ หรั บ ส่ ง เสริ ม ความประพฤติ และการปฏิ บั ติ ง านให้ ช อบคื อ ให้ ถู ก ต้ อ งและเป็ น ธรรม”

พระราชด� ำ รั ส ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ ๙ พระราชทานแก่ ค รู โ รงเรี ย นราษฎร์ ส อนศาสนาอิ ส ลาม ๔ จั ง หวั ด ภาคใต้ จั ง หวั ด ปั ต ตานี ๒๔ สิ ง หาคม ๒๕๑๙

3 issue 126 juLY 2018


Editorial

ในเดือนกรกฎาคม มีวันที่เป็นมหามงคลยิ่งของปวงชนชาวไทย คือ วันที่ ๒๘ กรกฎาคม วันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพวรางกูร พระมหากษัตริย์ ล�ำดับที่ ๑๐ แห่งบรมราชจักรีวงศ์ เฉลิมพระชนมพรรษา ๖๖ พรรษาในปีนี้และฉบับพิเศษนี้ บก.จึงขอน�ำเนื้อบทเพลง สดุดีจอมราชา บทเพลงเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษา สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพวรางกูร

ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน

ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้า นาง อริยสิริ พิพัฒน์นรา กรรมการและเลขาธิการ มูลนิธิครอบครัวพอเพียง เจ้าของและบรรณาธิการบริหาร

สดุดีจอมราชา บทเพลงเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเจ้าอยู ่หัวมหาวชิ ราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ( ความยาว ๒.๓๕ นาที ) ถวายบังคมจอมราชา พระบุญญาเกริกฟ้าไกล ธ ทรงเป็นร่มโพธิ์ร่มไทร ศูนย์รวมใจชาวไทยสมัครสมาน ถวายพระพรจอมราชัน ธ อนันต์ปรีชาชาญ ขอพระองค์ทรงเกษมส�ำราญ งามตระการสมขัตติยะไทย อุ่นไอรักจากฟ้าเรืองรอง แสงทองส่องมา ไพร่ฟ้าต่างสดใส มหาวชิราลงกรณ มิ่งขวัญปวงชนชาวไทย เทิดไท้พระภูวไนย ถวายใจสดุดี ผู้แต่งเนื้อร้อง : วิเชียร ตันติพิมลพันธ์ ผู้แต่งท�ำนอง : วิรัช อยู่ถาวร ศิลปินแห่งชาติ เรียบเรียงเสียงประสาน : วิรัช อยู่ถาวร ศิลปินแห่งชาติ วงดนตรี : เฉลิมราชย์, ห้องบันทึกเสียง : จาตุรงค์ นักร้อง : ภาสกรณ์ รุ่งเรืองเดชาภัทธ์, กตธิป อัครวิกรัย ภัทรานิษฐ์ เพฑูริยาเวทย์, กนกวรรณ อินทรพัฒน์

4 IS AM ARE www.fosef.org


Contributors

มู ลนิธิครอบครัวพอเพียง

พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี ประธานโครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชน คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์ นายธนพร เทียนชัยกุล นายณัฐเสกข์ น้อยสมบูรณ์ นายมนตรี เหมือนแม้น นายภูวนาถ เผ่าจินดา นายวรจักร ณ เชียงตุง นางชวนชื่น พีระพัฒน์ดิษฐ์ นายไพรัช มณฑาพันธุ์ นางอริยสิริ พิพัฒน์นรา นางสาวเอื้อมพร นาวี ผศ.ดร.ปรีชาพร สุวัฒโนดม นายเอกรัตน์ คงรอด นายอภีม คู่พิทักษ์ นายกมลเศรษฐ์ เก่งการเรือ นางสาวเยาวมาลย์ จ้อยจุฬี นางสุมาลี โฆษิตนิธิกุล นางสาวกันยาวีร์ พ้องพงษ์ศรี นายธงชัย วรไพจิตร นายภูริวิทย์ จงนิรักษ์ นายชวลิต ใจภักดี นางสาวหนึ่งฤทัย คมข�ำ นายภิญโญ ทองไชย นายพิชัยยุทธ ชัยไธสง นางศิรินทร์ เผ่าจินดา

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการและเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและเหรัญญิก กรรมการและผู้ช่วยเหรัญญิก กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ผู้จัดการมูลนิธิ

Let’s

Start and Enjoy!

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ดร.เชิดศักดิ์ ดร.กัมปนาท ดร.นฤมล ดร.อ�ำนาจ ดร.ชลพร ดร.กาญจนา ดร.ปิยฉัตร ดร.คุณานันท์

ศุภโสภณ บริบูรณ์ พระใหญ่ วัดจินดา กองค�ำ สุทธิเนียม กลิ่นสุวรรณ ทยายุทธ 5 issue 126 juLY 2018


Hot Topic

8

ตามรอยยุ วกษัตริย์

12

จิตอาสาพาไป รัชตะ อธิคมเสรณี

16

เป็ นพยาบาล เป็ นที่ใจ ผศ.ดร.วรุ ณยุ ภา รอยกุลเจริญ อธิการบดีสถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย

Don’t miss

34

60 62

66

76 6 IS AM ARE www.fosef.org


Table Of Contents

ผศ.ดร.วรุ ณยุ ภา รอยกุลเจริญ

อธิการบดีสถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย

7 issue 126 juLY 2018

ตามรอยยุวกษัตริย์ เยาวชนของแผ่นดิน จิตอาสาพาไป รัชตะ อธิคมเสรณี cover story เป็นพยาบาล เป็นที่ใจ ผศ.ดร.วรุณยุภา รอยกุลเจริฐ อธิการบดีสถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย Cartoon บนเส้นทางพุทธฉือจี้ ก�ำเนิดแห่ง ฉือจี้ ความเป็นคนความเป็นครู อนุบาลไม่ง่าย ขนิษฐา เปรมพงษ์ สัจธรรมแห่งแนวพระราชด�ำริ เรียนรู้จากธรรมชาติ แนวทางพระราชด�ำริ จากในหลวงรัชกาลที่ 9 มูลนิธิชัยพัฒนา โครงการสกัดปาล์มน�้ำมัน บทความพิเศษ จิตอาสา พ่อแม่ยุคใหม่ ความทรงจ�ำระยะสั้น ความจริงของชีวิต สมดุลแห่งชีวิต 70 เส้นทางตามรอยพระบาท โดย ททท. จังหวัดกระบี่

8 12

16 26 30 34 44 48 62 66 72 76


โบกมือลาสวิตฯ

ที่สะพานไม้โบราณ Chapel Bridge

สวิ ต เซอร์ แ ลนด์ ดิ น แดนในฝั น ที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ยภู เ ขาอั น สลั บ ซั บ ซ้ อ นของเทื อ กเขาแอลป์ ใ จกลางทวี ป ยุ โ รป ในบรรดาเมื อ งน่ า เที่ ย วทั้ ง หลายของสวิ ต ฯ ลู เ ซิ ร ์ น นั บ เป็ น เมื อ งที่ มี เ สน่ ห ์ โดยเฉพาะคนที่ ช อบเมื อ ง โบราณ หนึ่งในหกเมืองส�ำคัญของโลก ที่ผู้คนนิยมไปเที่ยวเยี่ยมเยือน มากที่สุด ลูเซิร์นเป็นเมืองที่เปรียบเสมือนหัวใจของสวิตฯ ภาค กลาง มีต�ำนาน Wilhelm Tell ที่เขียนโดย Schiller บรรยาย ถึงท้องทุ่งที่ชาวนาหัวใจอิสระจากแคว้นต่างๆ ในภาคกลาง รวม ตัวกันประกาศอิสรภาพจากการปกครองของราชวงศ์แฮบสบูร์ก แห่งออสเตรีย แล้วก่อตั้งสมาพันธรัฐสวิตฯ ขึ้น

ลูเซิร์นเมืองแห่งแสงสวรรค์ สร้างขึ้นตั้งแต่ ค.ศ.840 (พ.ศ.1383) เดิมชื่อ Luciaria เป็นภาษาละติน แปลว่าแสงสว่าง เชื่อว่าเป็นแสงสว่างจากนางฟ้าทูตสวรรค์ ที่สาดส่องน�ำทางให้ ชาวเมืองสร้างโบสถ์และบ้านเมืองขึ้น ปัจจุบันเมืองลูเซิร์นจึงได้ฉายาว่า City of light มี ประชากรในเมืองราว 600,000 คน ลูเซิร์นเป็นทั้งชื่อเมืองหลวง และชื่อแคว้น (Canton) เป็นเมืองใจกลางทวีปยุโรป และเป็น 8

IS AM ARE www.fosef.org


ตามรอยยุ ว กษั ต ริ ย ์ ใครไปเมืองลูเซิร์น (Luzern) แล้วไม่ไปเดินบนสะพาน ไม้โบราณถือว่ายังไปไม่ถึงลูเซิร์นเพราะเป็นสะพานที่มีชื่อเสียง เป็นสัญลักษณ์คู่เมือง สะพานไม้ Kapellbrucke หรือที่เรียกออกเสียงเป็น ภาษาอังกฤษว่า Chapel Bridge เป็นสะพานเก่าแก่มีอายุถึง 660 ปี สร้างขึ้นเมื่อ ค.ศ.1333 (พ.ศ.1876) ทอดข้ามแม่น�้ำ รอยส์จากสถานีรถไฟไปยังฝั่งเมืองเก่า ตลอดความยาวของสะพานไม้ บริเวณหน้าจั่วหลังคา ไม้ ป ระดั บ ด้ ว ยภาพเขี ย นอั น วิ จิ ต รบอกเล่ า ความเป็ น มาทาง ประวัติศาสตร์ของประเทศสวิตฯ สะพานนี้เคยถูกไฟไหม้เสีย หายอย่างหนักในปี 1993 (พ.ศ.2536) มีการซ่อมแซมใหม่ให้ ใกล้เคียงเหมือนเดิมโดยใช้เวลาเพียง 8 เดือน ติดกับสะพานมีหอคอยกลางน�้ำทรงแปดเหลี่ยม เป็นหอ สังเกตการณ์ส�ำหรับคอยป้องกันข้าศึกที่จะเข้ามารุกรานโจมตี เมือง สร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 13 (ราวพุทธศตวรรษที่ 18) ในสมัยที่ยุโรปยุคกลางอยู่ภายใต้ระบบศักดินาสวามิภักดิ์ ภาย หลังยังเป็นป้อมส�ำหรับคุมขังนักโทษและเป็นคุกส�ำหรับทรมาน นักโทษอุกฉกรรจ์ ผังของเมืองมีก�ำแพงโบราณและมีป้อมปราการเรียกว่า Musegg Wall เรียงเป็นวงแหวนโค้งจากริมแม่น�้ำรอยส์ โอบ ล้อมเป็นก�ำแพงป้องกันตัวเมืองไว้จนจรดทะเลสาบลูเซิร์นใน

การช็ อ ปปิ ้ ง ที่ ส วิ ต เซอร์ แ ลนด์ ถื อ ว่ า ง่ า ยและใช้ เ วลา ไม่ ม าก วิ ธี ก ารคื อ ถลาเข้ า ไปในร้ า น Coop ซึ่ ง ใน เมื อ งไหนๆ Coop ก็ จ ะมี สิ น ค้ า เหมื อ นๆ กั น ถื อ เป็ น แหล่ ง ซื้ อ ที่ มี ข องเกื อ บทุ ก อย่ า งและราคาไม่ แพง หน้าร้อนทุกปีบริเวณนี้จะมีเทศกาลให้นักท่องเที่ยวมาเยี่ยมชม จ�ำนวนมาก ลู เซิ ร ์ น เป็ น เมื อ งท่ อ งเที่ ย วที่ มี ธ รรมชาติ ส วยงามมี ชื่ อ เสียงมากเมืองหนึ่ง เพราะตั้งอยู่ริมทะเลบลูเซิร์นตรงปากแม่ น�้ำรอยส์ (Reuss) ทางตะวันออกมองเห็นยอดเขาริกิ และที่ ปลายขอบฟ้าทางทิศใต้เป็นยอดเขาพิลาทุส (Pilatus) เป็นเมือง ที่มีทัศนียภาพอันวิจิตรในทุกทิศทุกทางนักท่องเที่ยวสามารถ นั่งกระเช้าขึ้นไปชมยอดเขาได้ ยามเย็นแสงจะสาดหน้าผาเป็น สีน�้ำตาลอมส้มเห็นแต่ไกล ทั้ ง สองฟากฝั ่ ง แม่ น�้ ำ จะเห็ น โบสถ์ ง ามตระหง่ า น ทางตะวั น ออกเมื อ งเก่ า มี โ บสถ์ Hof Kirche ศิ ล ปะแบบ เรอเนซองส์สร้างเมื่อปี ค.ศ.1634 (พ.ศ.2177) ใกล้สะพานไม้ เป็นโบสถ์ Jesuit Church สถาปัตยกรรมแบบบาโร้คขนาด ใหญ่ สร้างขึ้นในปี ค.ศ.1666 (พ.ศ.2209) ที่ยอดโบสถ์เป็น ทรงโดมแบบมัสยิดขนาดใหญ่สองโดมมองเห็นเด่นชัด นอกจาก นี้ในเขตเมืองเก่ายังมีโบสถ์ที่สวยงามเช่นโบสถ์ที่สวยงามเช่น โบสถ์ St.Oswald และหอนาฬิกาเก่าแก่ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษ ที่ 15 สัญลักษณ์ของลูเซิร์นที่ผู้คนมักจะต้องมาเยี่ยมเยือนคือ รูปสลักหินสิงโต สูง 9 เมตร แกะจากหินธรรมชาติ เป็นสิงโต 9

issue 126 juLY 2018


ที่นอนอยู่ในอาการหงอยเหงาแววตาเศร้าโศก สร้างขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1820-21 (พ.ศ.2363-2364) เพื่อเป็นเกียรติแด่ทหารรับ จ้างชาวสวิสที่เสียชีวิตในระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส เนือ่ งจากในอดีตสวิตฯ เป็นประเทศทีย่ ากจน ภูมปิ ระเทศ เต็มไปด้วยภูเขา ผืนดินส�ำหรับเกษตรกรรม มีน้อยนิด เพียงแค่ หนึ่ ง ในสามของพื้ น ที่ แ ถมยั ง ไม่ อุ ด มสมบู ร ณ์ พ อ บรรดาชาย หนุ่มของสวิสจึงยากแค้น จึงมุ่งหน้าไปเป็นทหารรับจ้างในราช ส�ำนักกษัตริย์ยุโรป รวมทั้งพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสที่ถูก ประชาชนปฏิวัติยึดอ�ำนาจในปี ค.ศ.1789 (พ.ศ.2332) การสู้รบที่ตุยเลอรี ในกรุงปารีสเมื่อปี 1792 (พ.ศ.2335) ยังส่งผลให้ทหารรับจ้างสวิสทั้งหมด 1,000 คนเสียชีวิต ยกเว้น ทหารคนเดียวที่รอดชีวิตชื่อ Karl Plyffer ซึ่งลากลับบ้านที่สวิตฯ ในปี 1801 (พ.ศ.2344) เขาได้เป็นนายทหารชั้นสูงประจ�ำเมืองลู เซิร์น จึงริเริ่มสร้างอนุสรณ์สถานแห่งนี้ขึ้น เพื่อเชิดชูเกียรติและ ไว้อาลัยเพื่อนทหาร ศิลปินชาว Solothum ซึ่งเป็นคนแรกที่เริ่มแกะสลัก แต่ ท�ำได้ไม่กี่วันก็เสียชีวิตเพราะพลัดตกลงมาขณะท�ำงาน ศิลปิน ชาวเยอรมันมารับช่วงต่อ ใช้เวลาอีกราว 14 เดือนจึงแล้วเสร็จ และเปิดให้ผู้คนเข้าชมได้ เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 1821 (พ.ศ.

2364) อันเป็นวันครบรอบ 29 ปีของเหตุการณ์ในปารีส ด้วย ความเป็นมาอันแสนจะเศร้า เจ้าสิงโตหินตัวนี้จึงนอนโศกสลด น่าสงสารเสียจริงๆ เรามีโอกาสนั่งเรือล่องทะเลสาบลูเซิร์น ชมบ้านเรือน รอบทะเลสาบ ทิ ว ทั ศ น์ ข องภู เขาพร้ อ มกั บ การรั บ ประทาน อาหารอินเดียในเรือ ที่มีข้าวเป็นอาหารหลัก ซึ่งแน่ละเป็นข้าว มัสปาตีเม็ดยาวร่วนกับแกงหลายชนิด คล้ายแกงกะหรี่ และ มัสมั่น มีผัดมะเขือยาวกับเครื่องเทศ ต้องบอกว่าไม่ถูกปากคน ไทยเลยนายจ๋า อีนี้เลยสนใจชมวิวดีกว่า และสนใจดนตรีพื้น เมืองที่เป่าจากเครื่องเป่าหน้าตาคล้ายไปพ์ยาวเกือบสองเมตร ที่ เรียกว่า Alphorn ซึ่งเราได้ลองออกไปเป่ากันพอหอมปากหอม คอ นักดนตรีใช้อุปกรณ์ดนตรีง่ายๆ เก่งมาก ขนาดไม้กวาดยัง เอามาเป็นเครื่องตีเครื่องเคาะ เข้ากับเครื่องดนตรีสากลอย่าง แอคคอร์เดียนได้เป็นอย่างดีเชียว 10

IS AM ARE www.fosef.org


เวลาที่เหลือบนเรือส่วนใหญ่ของพวกเรา จึงเลือกขึ้นไป ยังดาดฟ้าเรือกินลมหนาวสั่น กับชมวิวทะเลสาบพอหอมปาก หอมคอ ก่อนจะสั่นแหง็กๆ ลงมากินกาแฟร้อนๆ จนเรือเทียบ ท่าเรียกว่าได้ภาพมาพอสมควร วันรุ่งขึ้น เรามีโอกาสเดินช็อปเพื่อซื้อหาของฝากกลับ บ้าน เลยถือโอกาสเดินชมสะพานไม้โบราณอีกรอบหนึ่ง เดินจน เมื่อยขาแล้ว จึงชวนกันมานั่งพักริมแม่น�้ำ มีหงส์และเป็ดว่ายมา กินขนมปังที่คนโปรยให้อย่างรู้งาน พอหายเหนื่ อ ยก็ เ ดิ น เล่ น ริ ม ทะเลสาบที่ มี เรื อ จอดอยู ่ มากมาย ทั้งเรือให้เช่าและเรือส่วนตัวที่จอดไว้ มีร้านกาแฟที่ ดูบรรยากาศคึกคักด้วยเสียงดนตรีและเพลง มีคู่เต้นร�ำออก มายืดเส้นยืดสายดูร่าเริงสนุกสนานดี จนอดคิดไม่ได้ว่า...อืม... คนสวิสนี่เขาอารมณ์ดีจังนะ ต่างกับคนบ้านเราที่ดูเครียดยัง ไงๆ พิกล...น่าเสียดายที่เรามีเวลาไม่มากนัก จึงอดเยี่ยมชม พิพิธภัณฑ์อีกหลายแห่ง แต่จ�ำต้องตัดใจแบ่งเวลาอีกเล็กน้อย ส�ำหรับซื้อของฝาก การช็อปปิ้งที่สวิตเซอร์แลนด์ถือว่าง่ายและใช้เวลาไม่ มาก วิธีการคือถลาเข้าไปในร้าน Coop ซึ่งในเมืองไหนๆ Coop

สะพานไม้ Kapellbrucke หรื อ ที่ เ รี ย กออกเสี ย ง เป็ น ภาษาอั ง กฤษว่ า Chapel Bridge เป็ น สะพาน เก่ า แก่ มี อ ายุ ถึ ง 660 ปี สร้ า งขึ้ น เมื่ อ ค.ศ.1333 (พ.ศ.1876) ทอดข้ า มแม่ น�้ ำ รอยส์ จ ากสถานี ร ถไฟ ไปยั ง ฝั ่ ง เมื อ งเก่ า ก็จะมีสินค้าเหมือนๆ กัน ถือเป็นแหล่งซื้อที่มีของเกือบทุกอย่าง และราคาไม่แพง โดยเฉพาะอย่างยิ่งช็อกโกแลตไม่ควรพลาด เพราะราคาไม่แพงถ้าเทียบกับราคาในเมืองไทยแถมอร่อยได้ มาตรฐานเกือบทุกยี่ห้อ ถ้าซื้อน้อยไปไม่พอแจกลูกหลานหรือ เพื่อนฝูง อาจจะต้องคิดเสียใจทีหลัง นอกจากช็อกโกแลตแล้ว หากใครชอบเนยแข็ง ชี้ส ขนม ก็ไม่ควรลังเลใจ เพราะราคาถูกกว่าบ้านเรามาก มีดของสวิสก็ มีชื่อเสียงและมีหลายขนาดให้เลือก เป็นของฝากที่ถูกใจผู้รับ ที่ ท�ำเป็นของที่ระลึก เช่น พวงกุญแจมีด ไฟฉาย หรือกระดิ่งห้อย คอสัตว์เลี้ยง ก็สวยงามเป็นสัญลักษณ์ของสวิส รวมทั้งนาฬิกา นี่ก็แทบไม่ต้องเสียเวลาไปเสาะหา เดินตรงไป Bucherer เพียง ห้างเดียวก็เรียกว่ามีของครบทุกอย่างให้ซื้อ ส�ำหรับพวกเราบางคน การดูวิถีชีวิตผู้คนและทิวทัศน์ เป็นเรื่องเดินได้ทั้งวัน ส่วนซื้อของให้เวลาสักชั่วโมงเข้าสู่ห้างเป้า หมาย เดี๋ยวเดียวก็จัดการได้หมดครบตามต้องการ เวลาในการ แพ็คของกลับบ้านก่อนโบกมือลาสวิตเซอร์แลนด์ก็ใช้ไม่มาก... เพราะเลือกใช้สูตรเอารูปมาฝากให้มากที่สุด ส่วนของฝากซื้อ เท่าที่จ�ำเป็นเท่านั้น

11 issue 126 juLY 2018


12 IS AM ARE www.fosef.org


เยาวชนของแผ่ น ดิ น

จิตอาสาพาไป รัชตะ อธิคมเสรณี

เพราะช่ ว ยท� ำ กิ จ กรรมของคณะรั ฐ ศาสตร์ แ ละมหาวิ ท ยาลั ย ธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต ย์ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งควบคู ่ ไ ปกั บ การ เรี ย นมาโดยตลอดตั้ ง แต่ อ ยู ่ ชั้ น ปี ที่ 1 ท� ำ ให้ รุ ่ น พี่ แ ละอาจารย์ เ ห็ น แวว ผลั ก ดั น ให้ เ ขาเข้ า ประกวดรางวั ล นพรั ต น์ ท องค� ำ จนคว้ า รางวั ล มาได้ ด ้ ว ยผลงานเรี ย นดี แ ละกิ จ กรรมเด่ น ทั้ ง ในและนอกมหาวิ ท ยาลั ย ส่ ง ผลให้ รั ช ตะ อธิ ค มเสรณี หรื อ น้ อ งยี น ส์ เป็ น เจ้ า ของรางวั ล นั ก ศึ ก ษานพรั ต น์ ท องค� ำ ประจ� ำ ปี ก ารศึ ก ษา 2558 และรางวั ล เยาวชนดี เ ด่ น กรุ ง เทพมหานคร(ประกายเพชร) ด้ า นคุ ณ ธรรมและจริ ย ธรรม ครั้ ง ที่ 12 ประจ� ำ ปี 2560 จั ด โดย ส� ำ นั ก งานกรุ ง เทพมหานคร ยีนส์เกิดและเติบโตในกรุงเทพมหานคร บิดามีอาชีพ วิศวกร มารดาประกอบธุรกิจโรงเหล็กของตนเอง ยีนส์เป็น ศิษย์เก่าจากโรงเรียนหอวัง เขาย้อนความเป็นมาของตนเองว่า เริ่มรู้จักการท�ำกิจกรรมเพื่อสังคมหรือการท�ำจิตอาสา ตั้งแต่อยู่ ชั้น ม.4 จากการที่มูลนิธิครอบครัวพอเพียงเข้าไปให้ความรู้เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสนับสนุนการท�ำจิตอาสาให้ แก่เยาวชนที่สนใจ ยีนส์เป็นคนหนึ่งที่ลุกขึ้นสมัครตัวเข้าร่วมท�ำ กิจกรรมจิตอาสากับมูลนิธิครอบครัวพอเพียงตั้งแต่นั้น “ตอนนั้นแค่อยากลองอะไรใหม่ๆ เฉยๆ แต่พอไปร่วม กิจกรรมจริงๆ แล้วได้ทุกอย่างเลย ได้มิตรภาพ ได้เห็นโลกอีก มุมหนึ่งที่ไม่มีในโรงเรียน” หากจะมองในแง่ของฐานะครอบครัว ยี น ส์ เ ป็ น ผู ้ ห นึ่ ง ที่ มี พ ร้ อ มทุ ก อย่ า งในชี วิ ต สามารถเลื อ กท� ำ กิจกรรมต่างๆ ได้มากมายที่มีประโยชน์ต่อตนเอง ไม่จ�ำเป็นต้อง เป็นจิตอาสาให้เหนื่อยและล�ำบาก เขาสามารถเลือกที่จะมุ่งมั่น เรียนหนังสือโดยไม่สนใจท�ำประโยชน์เพื่อผู้อื่นก็ได้ แต่ด้วยความ ที่ไม่รู้จักการท�ำจิตอาสามาก่อนท�ำให้เขาตัดสินใจลองท�ำ

ยีนส์กล่าวว่า ครั้งแรกที่ตัดสินใจเข้าร่วมท�ำกิจกรรม จิตอาสากับมูลนิธิครอบครัวพอเพียง เขาเป็นคนเดียวที่ลงสมัคร โดยไม่มีเพื่อนในห้องเดียวกันเข้าร่วมด้วยแม้แต่คนเดียว แต่เมื่อ ได้ไปท�ำจิตอาสาจริงๆ ก็พบว่า เขามีเพื่อนมากกว่าในโรงเรียน เสียอีก แต่เป็นเพื่อนจากโรงเรียนต่างๆ หลังจากนั้นเขาก็สนิท กับเพื่อนจิตอาสามาโดยตลอดและคบกันมาจนปัจจุบัน “ผมว่าคนท�ำจิตอาสาได้ต้องมีพื้นฐานจิตใจที่ดี ต้อง อยากช่วยเหลือผู้อื่น แล้วเราไปเจอกันมันเหมือนแม่เหล็กที่ดึง กัน ลักษณะนิสัยก็คล้ายกัน ท�ำให้เราคบกันนาน เรากล้าที่จะ คุยกับเพื่อนในชมรมมากกว่าเพื่อนที่เรียนด้วยกันอีก อย่างเช่น เพื่อนจิตอาสาที่คบมาตั้งแต่ ม.4 ปัจจุบัน 7-8 ปีแล้ว ก็ยังสนิท กัน เพื่อนหลายคนที่มาเจอกันในงานจิตอาสา ไม่ใช่เพื่อนที่เรียน มาด้วยกัน แต่ไปกินไปนอนด้วยกัน ไปท�ำกิจกรรม ไปช่วยคน อื่นด้วยกัน มันท�ำให้เรารู้จักกันและคบกันมาถึงทุกวันนี้ เหมือน เป็นเครือข่ายเพราะเรารู้จักเพื่อนหลายโรงเรียน ตั้งแต่โรงเรียน ราชินีบนจนถึงศรีอยุธยา” 13

issue 126 juLY 2018


เมื่อยีนส์เข้าเรียนต่อในระดับอุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัย ธุรกิจบัณฑิตย์ พร้อมพกพาจิตใจของคนท�ำจิตอาสาที่ถูกหล่อ หลอมมาตั้งแต่ ม.4 เข้าไปด้วย มันจึงเปล่งประกายในตัวเอง จนรุ่นพี่และอาจารย์มองเห็นความสามารถและพื้นฐานจิตใจ ที่พร้อมจะเข้าร่วมกิจกรรมทุกอย่างที่มหาวิทยาลัยหรือคณะ ต้องการให้ช่วยด้วยความเต็มใจ “เราท� ำ จิ ต อาสามาตลอดตั้ ง แต่ ม.4-ม.6 พอเข้ า มหาวิทยาลัยเราก็ท�ำ อาจารย์ท่านถามว่าท�ำอะไรมาบ้างเพราะ เขาเห็นแววว่าเราช่วยกิจกรรมในมหาวิทยาลัยมาตลอด เรา เล่าให้ฟังว่าเราเคยอยู่โครงการจิตอาสาของมูลนิธิครอบครัว พอเพียง เขาก็สนใจ เขาก็ให้เอาแฟ้มมาดูว่าเราเคยท�ำอะไรมา บ้าง อาจารย์เลยสนับสนุนเราให้เข้าประกวดรางวัลนพรัตน์ของ

จากความรู้สึกเพียงอยากลองท�ำจิตอาสาเพราะความ สนุก เพราะอยากหาอะไรท�ำ กลายเป็นว่ายีนส์มีเพื่อนสนิทหลาย คน จากการท�ำอะไรเพื่อผู้อื่น เปรียบเสมือนแหล่งรวมคนดีให้ มาเจอกัน นั่นคือสิ่งที่ยีนส์ได้รับโดยไม่เคยคิดว่าท�ำจิตอาสาแล้ว จะได้มากถึงขนาดนี้ “บางคนมองว่าไม่รู้จะท�ำกิจกรรมจิตอาสา ไปท�ำไม ท�ำไปแล้วได้อะไร ค�ำถามนี้มักฉุดรั้งให้พลาดโอกาส ดีๆ หลายอย่างในชีวิตไป คนท�ำจิตอาสาพื้นฐานจิตใจต้องดี ก่อน แล้วพอเวลามารวมกันมันท�ำให้ไปด้วยกันได้ ซึ่งบางที เพื่อนในโรงเรียนมันหลากหลายที่มาต่างคนต่างมามันก็เข้ากัน ได้ไม่ดีเท่าเพื่อนในชมรมซึ่งลักษณะนิสัยคล้ายกัน บอกได้เลย ว่า 100 เปอร์เซ็นต์เป็นเพื่อนที่ดี 8 ปี ที่ผ่านมาเรานัดเจอกัน ตลอด ตั้งแต่ ม.4 ถึงวันนี้” 14

IS AM ARE www.fosef.org


มหาวิทยาลัย เพราะผ่านเกณฑ์ครบทุกอย่างรวมถึงการท�ำจิต อาสาด้วย มันเป็นผลพลอยได้ที่เราไม่เคยคิดว่าจะได้ ตอนเรา ท�ำจิตอาสาเราก็ท�ำเพราะอยากท�ำเท่านั้น กลายเป็นว่าพอเรา ผ่านโครงการครอบครัวพอเพียงมากลายเป็นเรามีเครดิตดีกว่า คนอื่น อาจารย์ท่านจึงสนับสนุนเราเข้าประกวดรางวัลและทุน การศึกษาต่างๆ ทุกๆ ปี” เมื่อมองย้อนไป ยีนส์พบว่า การท�ำจิตอาสาที่ผ่านมาได้ ให้อะไรกับเขามากมาย เป็นเหมือนสังคมดีๆ ที่หล่อหลอมเขาให้ กล้าแสดงออก กล้าที่จะน�ำเสนอในสิ่งดี จนคนรอบข้างมองเห็น และให้โอกาสทั้งที่เขาไม่เคยคิดจะได้อะไรกลับมาทั้งนั้นนอกจาก ใช้เวลาว่างท�ำกิจกรรมกับเพื่อนๆ จิตอาสาด้วยกัน

ผมว่ า คนท� ำ จิ ต อาสาได้ ต ้ อ งมี พื้ น ฐานจิ ต ใจที่ ดี ต้ อ ง อยากช่ ว ยเหลื อ ผู ้ อื่ น แล้ ว เราไปเจอกั น มั น เหมื อ นแม่ เหล็ ก ที่ ดึ ง กั น ลั ก ษณะนิ สั ย ก็ ค ล้ า ยกั น ท� ำ ให้ เ ราคบ กั น นาน เรากล้ า ที่ จ ะคุ ย กั บ เพื่ อ นในชมรมมากกว่ า เพื่ อ นที่ เ รี ย นด้ ว ยกั น อี ก “ทั้งหมดมันมาจากจุดเล็กๆ ครับ แค่เราอยากจะลอง เข้าชมรมจิตอาสาของครอบครัวพอเพียงแค่นั้น มันท�ำให้เรา ไปได้ไกลเหมือนกันนะ พอเราเรียนจบก็ท�ำงานที่มหาวิทยาลัย เพราะเขารู้อยู่แล้วว่าเราเคยท�ำกิจกรรมต่างๆ มา เขาชวนท�ำงาน เพราะเราช่ ว ยเหลื อ ร่ ว มกิ จ กรรมของมหาวิ ท ยาลั ย มาตลอด ท�ำงานมา 1 ปีแล้วครับ ตอนนี้ก�ำลังเรียนปริญญาโทอยู่ครับ ทั้งหมดที่เราท�ำมามันเป็นเครดิต ถ้ามี 10 คน มหาวิทยาลัยเลือก เราแน่ๆ จากผลงาน เรามีเครดิตมากกว่าคนอื่นตรงนี้” ปัจจุบัน ยีนส์อายุ 23 ปี เป็นเจ้าหน้าที่ฝ่ายทรัพยากร บุคคล มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ก�ำลังเรียนปริญญาโท ภาค วิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เขามองว่า ถึงวันนี้ จิตอาสาก็ยังเป็นสิ่งที่สังคมต้องการอยู่เสมอ และเขาก็ยังสนใจที่ จะท�ำจิตอาสาอยู่ เป็นความเคยชิน เพราะเพื่อนสนิททั้งหมดของ เขาล้วนเป็นคนจิตอาสาทั้งสิ้น ซึ่งมีลักษณะจิตใจที่คล้ายกันจน สามารถคบกันมาได้ถึง 8 ปี โดยที่ไม่เคยเรียนด้วยกันเลย “จิตอาสาคือสิ่งที่เราควรต้องท�ำอยู่แล้ว เป็นพื้นฐาน จิ ต ใจของคนอยู ่ แ ล้ ว ที่ จ ะช่ ว ยเหลื อ คนอื่ น เพราะว่ า เราเป็ น มนุษย์ที่อยู่ในสังคม เราก็ต้องช่วยเหลือกัน แล้วการเริ่มต้นท�ำ จิตอาสามันให้อะไรหลายอย่าง มันมีอะไรหลายอย่างมากๆ ที่ หาไม่ได้ในโรงเรียน นอกจากมิตรภาพก็ยังมีรางวัลอื่นๆ ที่ตาม มาภายหลังเหมือนเราสะสมไว้โดยไม่รู้ตัว และไม่ได้คาดหวังไว้ เลย จากความรู้สึกเริ่มต้นที่เราอยากจะช่วยเหลือคนอื่นแค่นั้น เอง ถ้าใครที่ลองท�ำ จะรู้ว่ามันมีอะไรตามมามากมาย” ยีนส์ กล่าวทิ้งท้าย 15

issue 126 juLY 2018


cover story

เป็ นพยาบาล เป็ นที่ใจ ผศ.ดร.วรุ ณยุ พา รอยกุลเจริญ

อธิการบดีสถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย

16 IS AM ARE www.fosef.org


17 issue 126 juLY 2018


รอยกุ ล เจริ ญ ย้ อ นกลั บ ไปเมื่ อ ประมาณ 40 ปี ที่ แ ล้ ว โรงเรี ย น ทวี วั ฒ นาในช่ ว งวั น ไหว้ ค รู ห รื อ วั น ส� ำ คั ญ ที่ จั ด กิ จ กรรมขึ้ น นักเรียนนามสกุล “รอยกุลเจริญ” มักถูกประกาศให้ขึ้นรับรางวัล และเกียรติบัตรประเภทเรียนดีประพฤติดีอยู่เสมอ จนเป็นที่คุ้น ชินของครูและนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน ทั้งยังได้รับทุนการ ศึกษาโดยผู้ปกครองไม่ต้องจ่ายค่าเทอมเองตั้งแต่ชั้นประถม ศึกษา นักเรียนคนนั้นคือ เด็กหญิงวรุณยุพา รอยกุลเจริญ ซึ่ง ปัจจุบันคือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรุณยุพา รอยกุลเจริญ อธิการบดีสถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย ผู้บอกกับตัวเองตั้งแต่เด็กว่า “ฉันจะเป็นพยาบาล” ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรุณยุพา เกิดและเติบโตใน กรุงเทพมหานคร มีพี่น้องทั้งหมด 5 คน ซึ่งเธอเป็นบุตรคนกลาง ในครอบครั ว ที่ ไ ม่ ร�่ ำ รวย ทว่ า กลั บ เติ ม เต็ ม บุ ต รให้ ไ ด้ รั บ การ ศึกษาอย่างเต็มที่ “คุณพ่อจะบอกเสมอว่าสิ่งที่ให้ลูกได้คือการ ศึกษา ถึงแม้จะมีขัดสนบ้างก็ไม่เป็นไร คุณพ่อส่งเสริมให้ลูกทุก คนได้เรียนทั้งหมด” คุณวรุณยุพาย้อนค�ำพูดของพ่อซึ่งเธอจ�ำ ได้เสมอมา

เมือ่ จบชัน้ ประถมศึกษาทีโ่ รงเรียนทวีวฒ ั นา คุณวรุณยุพา เข้าเรียนต่อระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์ จนจบชั้น ม.6 ช่วงเวลาขณะเรียน มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลายนี้ เ อง ท� ำ ให้ เ ธอพบเห็ น สภาวะทุ ก ข์ ทรมานของผู ้ ค นในตึ ก รั ก ษาพยาบาลขณะไปเฝ้ า น้ อ งชายซึ่ง รักษาตัว ท�ำให้เธอมีโอกาสได้เห็น “บทบาทของพยาบาล” ซึ่งถือว่าคนไข้คือบุคคลส�ำคัญต้องดูแล ต้องใส่ใจรายละเอียด ก่อเกิดเป็นความประทับใจในอาชีพที่มีคุณค่าและมีเกียรติ นั่น คือความรู้สึกของนักเรียนชั้น ม.4 ในขณะนั้น ไม่มีใครทราบได้ ว่าจะส่งผลให้เกิดขึ้นจริงในปัจจุบัน จากความชอบ กลายเป็นความสนใจ และกลายเป็น อุดมการณ์เล็กๆ โดยไม่รู้ตัว แม้เธอจะเป็นคนเรียนหนังสือเก่ง ตั้งแต่เด็ก สามารถเลือกอาชีพหรือคณะที่อยากเรียนได้มากมาย แต่เธอกลับฝังใจอยู่กับการเป็นพยาบาลเท่านั้น ไม่คิดจะเป็น แพทย์อย่างที่คนรอบข้างแนะน�ำ และไม่สนใจว่าอาชีพอื่นจะ สบายกว่าหรือมีรายได้มากกว่าอย่างไร เพราะเธอได้ประทับ ความรู้สึกของพยาบาลไว้ในใจอย่างเต็มเปี่ยมแล้ว “สมัยก่อนเวลานั่งรถสองแถวแล้วได้นั่งข้างๆ พยาบาล เราจะรู้สึกว่าได้ซึมซับเข้ามาในตัวเอง นั่นคือความรู้สึกในวัยเด็ก จริงๆ แล้วเราเรียนดีแต่ไม่คิดจะเป็นหมอ เพราะชอบตรงนี้ มัน เกิดความประทับใจ มีความรู้สึกว่าถ้าเราเรียนจะได้เอาความรู้ มาช่วยเหลือบุคคลที่เรารัก และช่วยผู้อื่นได้ด้วย”

จ ะ เ ห็ น ว ่ า แ น ว ท า ง ก า ร ท� ำ ง า น ข อ ง พ ย า บ า ล นั้ น สอดคล้ อ งกั บ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง โดยตรง เพราะมี ก ารวางแผนเพื่ อ สร้ า งภู มิ คุ ้ ม กั น ลดความเสี่ ย งให้ ม ากที่ สุ ด และยึ ด มั่ น ในคุ ณ ธรรม เพื่ อ ท� ำ หน้ า ที่ ใ ห้ ส� ำ เร็ จ ลุ ล ่ ว ง โดยใช้ ค วามรู ้ ค วาม สามารถที่ เ รี ย นมาเพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ คนไข้ อ ย่ า งเต็ ม ที่

18 IS AM ARE www.fosef.org


เดิ น ตามฝั น เมื่อตัดสินใจเลือกเรียนตามความฝัน ในเทอมแรกของ ชั้นปีที่ 1 คุณวรุณยุพาตั้งใจเรียนอย่างเต็มที่จนได้เป็นที่ 2 ของ รุ่น กระทั่งเทอม 2 เธอก้าวขึ้นเป็นที่ 1 อย่างรวดเร็วจากความ สามารถในการเรียนติดตัวมาตั้งแต่วัยเด็ก คุณวรุณยุพาสะท้อน มุมมองในฐานะผู้ที่เรียนเป็นอันดับหนึ่งว่า “การเป็นล�ำดับ 1 ไม่ ได้หมายความว่าเรามุ่งแต่การเรียน เราเผื่อแผ่ให้กับเพื่อน จน เพื่อนปัจจุบันที่เจอกันบอกว่าฉันจบได้เพราะเธอ สมัยเรียนเรา มีชอร์ทโน้ตของเราเป็นพิเศษ เราอาศัยอยู่หอพักเราทบทวนให้ เพื่อนรูมเมท ตื่นแต่เช้ามาติวหนังสือกัน เราบอกเพื่อนว่าเราทวน ให้เพื่อนเราก็ทวนให้ตัวเองด้วย” วิธีการเรียนของคุณวรุณยุพาไม่ใช่การจดทุกค�ำพูดของ อาจารย์ แต่ให้ความส�ำคัญจดเฉพาะ “สิ่งที่อาจารย์ยกตัวอย่าง” เพราะท�ำให้เห็นภาพจริง และสมุดโน้ตของเธอไม่ใช่ของหวง ห้ามแต่อย่างใด เพื่อนๆ สามารถขอยืมได้ สามารถปรึกษาได้ อีกวิธีหนึ่งคือ เวลามีกิจกรรมหรือชมรมต่างๆ ให้เลือก เธอจะ เลือกชมรมที่ตัวเองถนัดมากที่สุด สามารถสร้างประโยชน์ให้ กับตนเองและคนรอบข้างได้ ดังที่เธอเลือกเข้าชมรมวิชาการ ซึ่งสามารถทบทวนให้เพื่อนในวงกว้างได้มากขึ้น ไม่ใช่เฉพาะ รูมเมท ขณะเดียวกันเธอได้ทบทวนให้ตัวเองมีความแม่นย�ำด้าน วิชาเรียนต่างๆ มากขึ้นด้วย เมื่อจบชั้น ม.6 เธอสอบเอนทรานซ์เข้ามหาวิทยาลัย ที่ ต ้ อ งการได้ ห ลายแห่ ง หนึ่ ง ในนั้ น คื อ วิ ท ยาลั ย พยาบาล สภากาชาดไทย ซึ่ ง ณ เวลานั้ น ยั ง ไม่ ถู ก บรรจุ อ ยู ่ ใ นระบบ เอนทรานซ์ จึงต้องสอบแยกต่างหาก แต่ความจริงแล้วแม้เธอจะ สอบได้ แต่ก็ไม่ได้อยู่ในตัวเลือกที่จะเรียนจริงๆ เพราะเธอเตรียม ตัวตัดชุดเพื่อเตรียมเข้ามหาวิทยาลัยที่เลือกไว้แล้วเพื่อจะเรียน พยาบาลอย่างมุ่งมั่นตั้งใจ ทว่าบางสิ่งบางอย่างในชีวิตไม่ได้รอให้ เธอเลือกเสมอไป หากเธอนั่นเองอาจเป็นคนที่ถูกเลือก “ตอนสอบเอนทรานซ์ได้ที่เรียนอยู่แล้ว เตรียมตัดชุด เรียบร้อย แต่พอดีว่ามาสมัครติดที่วิทยาลัยการพยาบาลฯ ด้วย แต่ว่ายังไม่ได้เสียค่าใช้จ่ายเบื้องต้น เพราะมุ่งว่าจะไปเรียนตาม ที่ตัดสินใจไว้ แต่พอดีฝันเสียก่อน(หัวเราะ) ฝันว่าขึ้นรถสองแถว ไปทางลานพระบรมรูปทรงม้า แล้วรถก็หยุดเพราะมีขบวนเสด็จ แล้วสมเด็จพระเทพฯ พระองค์ท่านเสด็จขึ้นมาบนรถสองแถว พอตื่นเช้าก็เล่าให้คุณพ่อฟังว่าฝันอย่างนี้ คุณพ่อก็เลยบอกไม่ ต้องไปเรียนแล้วที่เลือกไว้ ให้ไปเรียนตามที่ฝัน เราก็เลยตัดสิน ใจเรียนที่วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย”

คุ ณ วรุ ณ ยุ พ า อธิ บ ายว่ า ผู ้ ที่ คิ ด จะเรี ย นวิ ช าชี พ การ พยาบาล ต้องเข้าใจว่าวิชาชีพนี้อาจต่างจากวิชาชีพอื่น เพราะ ต้ อ งเข้ า ไปดูแลคนไข้ใ นสถานการณ์จ ริ ง ฉะนั้น จ�ำเป็นต้อง “พร้อมทั้งด้านทฤษฎีและการฝึกปฏิบัติ” ก่อนจะขึ้นไปดูแล คนไข้จริงๆ ได้ “ก่ อ นจะขึ้ น ฝึ ก ปฏิ บั ติ จ ริ ง กั บ คนไข้ อาจารย์ จ ะมอบ หมายว่าเราได้ดูแลคนไข้รายไหน ฉะนั้น ตอนเย็นก่อนวันขึ้น 19

issue 126 juLY 2018


จากนั้นแต่ละคนต้องรายงานการท�ำงานของตนเองว่าจะให้การ พยาบาลอย่างไร ก่อนจะถึงขั้นตอนสุดท้ายคือลงมือปฏิบัติจริง กับคนไข้ตามแผนที่วางไว้ จะเห็นว่าแนวทางการท�ำงานของพยาบาลนั้นสอดคล้อง กั บ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งโดยตรง เพราะมี ก าร วางแผนเพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน ลดความเสี่ยงให้มากที่สุด และยึด มั่นในคุณธรรมเพื่อท�ำหน้าที่ให้ส�ำเร็จลุล่วง โดยใช้ความรู้ความ สามารถที่เรียนมาเพื่อช่วยเหลือคนไข้อย่างเต็มที่ นอกจากนี้ นักศึกษาพยาบาลจะถูกส่งตัวไปปฏิบัติหน้าที่ตามชุมชนในต่าง จังหวัด เพื่อสร้างความรู้ความมั่นใจ และพบเจอผู้คนที่แตกต่าง กันไป เสริมสร้างประสบการณ์อันหลากหลาย “เราไปฝึกตามโรงพยาบาลชุมชนในต่างจังหวัด กรณีที่ หมอให้บันทึกเรื่องน�้ำดื่มและการปัสสาวะ การขับถ่ายต่างๆ ของ คนไข้ เราต้องปรับประยุกต์เรื่องภาษา เวลาเราอยู่ในกรุงเทพฯ เราใช้ค�ำว่าคนไข้ปัสสาวะกี่ครั้งแล้วคะวันนี้ แต่บางครั้งคนไข้ บางพื้นที่เราใช้ค�ำนี้เขาไม่เข้าใจ รุ่นพี่พยาบาลจึงแนะน�ำว่าให้ ใช้ภาษาอีกระดับหนึ่ง ก็เลยใช้ค�ำว่าฉี่กี่ครั้ง เราก็เรียนรู้จาก เหตุการณ์จริงตรงนั้น”

ฝึกปฏิบัติ เราต้องไปศึกษาคนไข้ ไปสัมภาษณ์คนไข้ ไปตรวจ ร่างกายคนไข้ ด้วยวิชาและลักษณะการเรียนการสอนเป็นแบบ นั้น เราจะรู้ว่าโรคคนไข้เป็นยังไง เราต้องมาเก็บข้อมูลแล้ว วิเคราะห์ว่าปัญหาทางการพยาบาลคนไข้มีอะไรบ้าง เช่น มีภาวะ อาการปวดเนื่องจากผ่าตัด หรือมีภาวะควบคุมระดับน�้ำตาลไม่ ได้ บทบาทพยาบาลเวลาจะท�ำอะไร ต้องเขียนแผนการพยาบาล ก่อน ตามแบบฟอร์มที่มีให้ ทั้งช่องข้อมูลคนไข้ ช่องปัญหาคนไข้ กิจกรรมที่จะท�ำและวิธีประเมินผลหลังจากที่ท�ำกิจกรรมแล้ว ตรงนี้ต้องร่างขึ้นมาก่อน ตอนเย็นเราถึงต้องไปคุยกับคนไข้เพื่อ กลับลงมาท�ำแผนการพยาบาล” คุณวรุณยุพา อธิบายถึงแนวทางช่วงที่เรียนการพยาบาล ต่อว่า พอเช้าวันรุ่งขึ้นจะมีการส่งต่อเวรของพยาบาลเวรดึกให้ พยาบาลเวรเช้า สิ่งที่พยาบาลต้องท�ำต่อไปคือสอบถามและนั่ง ฟังคนไข้รายอื่นๆ โดยไม่ลืมเจาะจงคนไข้รายที่ตนเองรับผิดชอบ จากนั้นจะมีการประชุมย่อย รุ่นพี่พยาบาลจะถามน้องนักศึกษา ว่ า คนไข้ เ มื่ อ วานเป็ น อย่ า งไรบ้ า ง มี ป ั ญ หาอะไร แล้ ว วั น นี้ จะมีการวางแผนให้การดูแลคนไข้ยังไง เป็นการแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ ก่อเกิดเป็นความผูกพันระหว่างรุ่นพี่กับรุ่นน้อง ที่ร่วมทีมเดียวกัน ภายใต้การแนะน�ำตักเตือนของครูอาจารย์

คุณวรุณยุพา แนะน�ำว่า การเรียนพยาบาลควรเสริม สร้างประสบการณ์ความรู้ในการท�ำงานให้หลากหลาย ไม่ใช่ แค่เรื่องภาษา หากเป็นวัฒนธรรมพื้นที่ถิ่นอาศัย หรือภูมิสังคม ของพื้นที่นั้นๆ ซึ่งมีความแตกต่างหลากหลาย แม้แต่ค�ำว่าฉี่กับ ปัสสาวะยังต้องเลือกใช้ให้ถูกที่จึงจะเกิดประโยชน์ ลาก่ อ นอเมริ ก า บุ ญ คุ ณ ต้ อ งทดแทน คุณวรุณยุพาเข้าศึกษาวิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย รุ่น 78 เมื่อปี พ.ศ.2536 และส�ำเร็จปริญญาตรีด้วยเกียรตินิยม อันดับ 1 เหรียญทอง ท�ำให้เธอพร้อมที่จะช่วยเหลือคนไข้อย่าง 20

IS AM ARE www.fosef.org


21 issue 126 juLY 2018


เคสเวสเทิร์นรีเสิร์ฟ(Case Western Reserve University) ในเมืองคลีฟแลนด์ รัฐโอไฮโอ ประเทศสหรัฐอเมริกา ในระดับ ปริญญาโท เป็นระยะเวลา 2 ปี และเธอก็ไม่ท�ำให้อาจารย์และ ต้นสังกัดผิดหวัง ด้วยผลการเรียนที่ดีเยี่ยมจนได้รับโอกาสให้ ศึกษาระดับปริญญาเอกต่อเนื่องโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการ เรียนแต่อย่างใด “โดยปกติการได้รับทุนสภากาชาดไม่สามารถจะรับทุน จาก ป.โท ไป ป.เอก ได้ทันที ต้องให้อาจารย์ที่ประเทศไทย พิจารณาผลการเรียนตอน ป.โท ก่อน เสร็จแล้วต้องให้โปร เฟสเซอร์ซึ่งเป็นศาสตราจารย์ที่อเมริกาพิจารณา 2 คน ถึง จะสมัคร ป.เอก ได้ แล้วจึงส่งเอกสารทั้งหมดมาที่เมืองไทย สภากาชาดไทยต้องเข้าประชุมก่อนอนุมัติ ตัวเราเองจึงจะกลับ

เต็มก�ำลังตามประสบการณ์ที่ได้เรียนรู้มา แต่ทันทีที่เธอเรียนจบ ก็ถูกทาบทามจากอาจารย์ว่า อยากให้เธอมาเป็นอาจารย์ต่อไป ซึ่งไม่ตรงกับเป้าหมายที่เธอตั้งไว้ว่าอยากเป็นพยาบาลเพื่อช่วย เหลือผู้อื่น แต่ค�ำพูดของอาจารย์ท�ำให้เธอฉุกคิดได้ว่า “การ เป็นพยาบาลสามารถช่วยเหลือผู้อื่นได้ เป็นสิ่งที่ดี แต่การเป็น อาจารย์สามารถช่วยคนและสร้างคนได้ในเวลาเดียวกัน” “เราตั้งเป้าไว้ 1 อย่าง แต่ถ้าเราไปเป็นอาจารย์เราได้ ถึง 2 อย่าง ก็เลยตัดสินใจเป็นอาจารย์ในวิทยาลัยพยาบาล สภากาชาดไทย แต่ต้องเลือกสาขา เพราะอาจารย์แต่ละสาขาก็ มาทาบทาม เราจึงเลือกสาขาภาควิชาการศัลยศาสตร์ ซึ่งเกี่ยว กับการผ่าตัด เช่น ผ่าตัดช่องท้อง ผ่าตัดล�ำไส้ ผ่าตัดกระดูก ฯลฯ พอผ่าตัดเสร็จก็ต้องมาเตรียมตัว คือมีทั้งก่อน ขณะ และ หลัง ที่เลือกเพราะเราอยากเห็นสภาพของคนไข้ที่ว่า พอเรา ให้การพยาบาลแล้วเขามีพัฒนาการ คือศัลยศาสตร์ถ้าเราท�ำดี พอ คนไข้ฟื้นตัวแล้วกลับบ้านได้ เราจะเห็นการฟื้นสภาพของ คนไข้ค่อนข้างเร็ว” ขณะเดียวกัน คุณวรุณยุพาเติมเต็มตัวเองด้วยการไป เรียนภาษาอังกฤษเพิ่ม ซึ่งสมัยนั้นยังไม่ได้รับความนิยมอย่าง ทุกวันนี้ เธอใช้เวลาหลังเลิกงานไปเรียนด้วยจุดประสงค์เพื่อ การพัฒนาตนเองโดยเฉพาะ ไม่ได้มุ่งเป้าเพื่อหน้าที่การงาน ใดๆ แต่โชคชะตาของเธอเหมือนถูกขีดไว้แล้ว เมื่อ 2-3 ปีต่อ มา อาจารย์แนะน�ำให้เธอไปสอบชิงทุนเรียนต่อที่มหาวิทยาลัย

มาเซ็นสัญญา แต่ใช้เงินตัวเองบินกลับ เพราะเป็นเรื่องของตัว เอง ถึงจะได้เรียนปริญญาเอกต่อ ตามหลักสูตรที่นั่น 4 ปี เรา เรียนโดยไม่ได้ขอขยายระยะเวลาการศึกษา ช่วงสองปีที่เรียน ปริญญาโทไม่เคยกลับเมืองไทยเลย เราประหยัดมาก เราเป็น คนแรกของทุนดอกผลสภากาชาดไทย อาจารย์ท่านปราบปลื้ม มาก ขณะเดียวกันเรามีปฏิสัมพันธ์กับผู้คน เราไม่เรียนอย่าง เดียว เมื่อมีโอกาสปิดเทอมเราจะไปเรียนรู้ ไปพิพิธภัณฑ์ต่างๆ ไปสถานที่ท่องเที่ยวเพื่อเรียนรู้วัฒนธรรม เพราะเราไม่มีโอกาส แบบนี้บ่อยๆ” เมื่ อ ส� ำ เร็ จ ปริ ญ ญาเอก คุ ณ วรุ ณ ยุ พ าถู ก ทาบทาม จากอาจารย์ ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เคสเวสเทิ ร ์ น รี เ สิ ร ์ ฟ ให้ ท� ำ งาน ต่ อ ที่ อ เมริ ก าอย่ า งถาวร และยิ น ดี ช ดใช้ ทุ น การศึ ก ษาที่ ท าง ประเทศไทยออกให้ทั้งหมดโดยไม่ต้องใช้คืน ซึ่งเป็นข้อเสนอที่ ยากต่อการปฏิเสธ แต่คุณวรุณยุพาก็จ�ำเป็นต้องปฏิเสธไป เพราะ ส�ำนึกถึงบุญคุณที่สภากาชาดมอบโอกาสให้ตลอดมา “เราขอบคุ ณ อาจารย์ ที่ ป รึ ก ษาที่ อ เมริ ก า แต่ เราได้ โอกาสจากต้นสังกัดที่เมืองไทย ฉะนั้น เราต้องไปตอบแทนบุญ คุณ เพราะทุกคนท�ำงานแทนเราอยู่ที่เมืองไทย แล้วเราก็ได้ รับเงิน ถ้าเกิดเรามาอยู่อเมริกาก็เหมือนกับเราเห็นแก่ตัวมาก 22

IS AM ARE www.fosef.org


ในแง่ ข องการผลิ ต เราต้ อ งผลิ ต คนให้ มี คุ ณ ภาพ เกณฑ์ ข อง สภาวิชาชีพระบุว่า อัตราส่วนของอาจารย์กับนักศึกษาต้องเป็น 1 ต่อ 8 ถ้าขึ้นตึก ครู 1 คน นักศึกษา 8 คน ถ้าเกิดมีนักศึกษา มากแต่ครูไม่พอ ก็ไม่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ จึงท�ำให้เราเกิด ข้อจ�ำกัดในการรับสมัคร หมายถึงว่าเราผลิตได้เท่านี้ แต่ถ้า ได้ รั บ ทุ น เพิ่ ม เราจะผลิ ต ได้ เ พิ่ ม บวกกั บ ปั จ จั ย เรื่ อ งกายภาพ เรื่องหอพักและอื่นๆ ฉะนั้น ทางกรรมการวิทยาลัยพยาบาล สภากาชาดไทยในขณะนั้น ซึ่งเป็นชุดสูงสุดถ้าเทียบกับสภา มหาวิ ท ยาลั ย ท่ า นแนะน� ำ ให้ อ ธิ บ ายว่ า ปั ญ หาเกิ ด จากอะไร การผลิตพยาบาลไม่เหมือนการปั้มกระดุม ถ้าเราผลิตแบบไม่มี คุณภาพเราท�ำไม่ได้” ปลายปี 2557 คุณวรุณยุพาเป็นก�ำลังส�ำคัญในการน�ำ ทีมเพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ด�ำเนินการร่างพระราช บัญญัติสถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย จาก เดิมคือ วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย ซึ่งเป็นเรื่องที่เธอเอง ยอมรับว่าไม่เคยท�ำมาก่อน “เราและทีมเริ่มสร้างโดยที่ไม่มีความรู้เรื่องร่าง พรบ. เลย เรามีทีมกฤษฎีกาซึ่งผู้ใหญ่แนะน�ำให้ แต่มีข้อแม้ว่าเราต้อง คุยเอง คือทุกอย่างผู้ใหญ่แนะน�ำ แต่เราต้องคุยเอง ถ้าคุยกับ เขารู้เรื่องเขาก็ช่วย ถ้าไม่รู้เรื่องเขาก็ไม่ช่วย โชคดีที่มีหลายคน ช่วยกันจนส�ำเร็จขึ้นมา”

ก่อนกลับมาเมืองไทยเราขอบคุณเขามากๆ ที่มองเห็นความ สามารถ เขาก็เข้าใจ” พยาบาลไม่ เ พี ย งพอ จุ ด เปลี่ ย นวิ ท ยาลั ย พยาบาล สภากาชาดไทย เมื่ อ กลั บ มาเมื อ งไทย คุ ณ วรุ ณ ยุ พ าตั้ ง ใจจะสร้ า ง คนสร้ า งลู ก ศิ ษ ย์ ที่ ดี อ ย่ า งเต็ ม ที่ ขณะเดี ย วกั น ก็ ป ฏิ ญ าณกั บ ตนเองว่ าจะตั้งใจถวายงานต่างๆ ถ้ามีโอกาส ด้ ว ยส� ำ นึ ก ใน พระมหากรุณาธิคุณแห่งสถาบันกษัตริย์ไทยทุกพระองค์ โดย เริ่มจากเป็นอาจารย์ประจ�ำวิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย(ชื่อ เดิม) ก่อนจะขึ้นเป็นหัวหน้าสาขา และก้าวสู่ต�ำแหน่งผู้อ�ำนวย การวิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย ถึง 6 ปี ใน 2 วาระ ในช่วงเวลาไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้เอง ประเทศไทยเกิดปัญหา พยาบาลไม่เพียงพอต่อความต้องการ จึงเป็นที่มาของการปรับ เปลี่ยนวิทยาลัยสภากาชาดไทยครั้งยิ่งใหญ่ เพื่อให้เป็นสถาบัน อุดมศึกษาด้านการพยาบาล อันจะช่วยขับเคลื่อนและมุ่งผลิต พยาบาลตามมาตรฐานให้เพียงพอกับความต้องการของประเทศ มากขึ้น “เรามั ก จะพบค� ำ ถามว่ า ท� ำ ไมถึ ง ผลิ ต พยาบาลไม่ พ อ

24 มิถุนายน 2560 คือวันที่ พรบ.มีผลบังคับใช้อย่างเป็น ทางการ จากวิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย เปลี่ยนชื่อเป็น “สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย” เพื่อให้ สมพระเกียรติสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัส สาอัยยิกาเจ้า ซึ่งมีคุณูปการมากมายต่อวงการสภากาชาดไทย ตั้งแต่ก�ำเนิดครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 5 และได้รับการประกาศ ยกย่องให้เป็นบุคคลส�ำคัญของโลก จากองค์การศึกษาวิทยา ศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ(ยูเนสโก) ในฐานะที่ ทรงมีผลงานดีเด่นด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์สุขภาพและการ อนุรักษ์พัฒนาด้านวัฒนธรรม 23

issue 126 juLY 2018


คุ ณ วรุ ณ ยุ พ ากล่ า วเสมอว่ า ที่ เ ลื อ กเรี ย นพยาบาล เพราะอยากช่ ว ยเหลื อ คน นั่ น คื อ จุ ด ประสงค์ ห ลั ก ที่ แ ท้ จ ริ ง จึ ง ท� ำ ให้ เ ธอเดิ น มาถึ ง วั น นี้ ไ ด้ น้ อ งๆ เยาวชนจะเห็ น ได้ ว ่ า สิ่ ง ที่ คุ ณ วรุ ณ ยุ พ าเลื อ กให้ กั บ ตั ว เองนั้ น เกิ ด จากความชอบและความรั ก ที่ จ ะเป็ น ในสิ่ ง ที่ ต นเองสนใจ

ป ั จ จุ บั น ส ถ า บั น ก า ร พ ย า บ า ล ศ รี ส ว ริ น ทิ ร า สภากาชาดไทย จึงเป็นสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ซึ่งเป็น หน่ ว ยงานในก� ำ กั บ ของรั ฐ และอยู ่ ภ ายใต้ ก ารดู แ ลอุ ป ถั ม ภ์ ของสภากาชาดไทย ขณะเดียวกัน คุณวรุณยุพายังรับหน้าที่ น� ำ ที ม สานต่ อโครงการก่อสร้างอาคารการเรียนรู้แ ละหอพั ก มูลค่า 1,400,000,000 บาท จนส�ำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี อาคาร ดั ง กล่ า วปั จ จุ บั น ใช้ ชื่ อ ว่ า “อาคารเฉลิ ม พระเกี ย รติ 6 รอบ พระชนมพรรษา” เพื่ อ เทิ ด พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระเทพรั ต น ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เจริญพระชนมายุครบ 60 พรรษา ในฐานะอุปนายิกาผู้อ�ำนวยการสภากาชาดไทย

เป็นจังหวะที่เราต้องไปรักษาตัว พอผ่าตัดเสร็จกลับมาก็พอดี ว่าต้องไปด�ำเนินการเอง มีบางช่วงต้องแอดมิด ต้องขอให้หมอ ถอดสายน�้ำเกลือ เพราะวันนี้ต้องไปด�ำเนินการเอง หมอถามว่า ไหวนะครับ เราบอกไหว ไม่ไหวก็ต้องไหว หน้าที่บางอย่างต้อง ด�ำเนินการเอง จะมอบหมายให้ใครไปแทนทุกเรื่องไม่ได้ มันไม่ โรคร้ า ยระหว่ า งงาน บทเรี ย นชี วิ ต ระหว่างที่ก�ำลังด�ำเนินการเรื่องร่าง พรบ.สถาบันการ เหมือนกัน” “เวลาเรามาแอดมิดเราจะเอาเอกสารเกี่ยวกับ พรบ.ไป พยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย สิ่งที่คุณวรุณยุพาเก็บ ซ่อนมาตลอดก็คืออาการป่วยโรคมะเร็งที่ปอด ซึ่ง ณ เวลานั้น ด้วย ผู้ใหญ่ไม่ทราบเรื่องป่วย ท่านโทรมาถามมาตรานี้หมาย เธอไม่ได้บอกให้ใครทราบ เพราะเป็นห่วงเรื่องการด�ำเนินงานซึ่ง ถึงอะไร เราสามารถตอบได้เลย เพราะเราเอาเอกสารต่างๆ ไป ยังไม่แล้วเสร็จ เธอพักรักษาตัว ผ่าตัด และให้เคมีบ�ำบัด ท�ำการ แอดมิดด้วย ภายหลังผู้ใหญ่ท่านนั้นท่านโทรมาบอกว่าได้ข่าว ว่าคุณแอดมิด จริงๆ ผมไม่อยากโทรมานะ แต่ผมอยากจะช่วย รักษาอย่างเงียบๆ “หมอตรวจพบมะเร็งพอดี ก็เลยรีบรักษา ให้ยาอย่าง แล้วท�ำไมตอบผมได้เร็วอย่างนี้เรื่องมาตรา อ๋อ หนูเอามาด้วย ครอบคลุม ช่วงนั้นเป็นช่วงที่ก�ำลังอยู่ในช่วงเสนอและรอตอบ เขาบอกโอ้โห ป่วยแล้วยังท�ำงานได้อีก เราก็เลยคิดว่าเราไปไหว รับ ก็เลยมาพักรักษาตัว เพราะผ่านหลายชุดก่อนถึงกฤษฎีกา ถ้าเราโอเคหมอก็โอเค ก็เลยไปด้วยหน้าซีดๆ อย่างนั้น” 24 IS AM ARE www.fosef.org


คุณวรุณยุพา อธิบายว่า เธอเป็นมะเร็งที่ปอด แม้จะดูแล ร่างกายและตรวจสุขภาพเป็นประจ�ำ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า จะปลอดภัยจากมะเร็ง เพราะยังมีสารเคมีที่ปะปนมากับอาหาร และน�้ำซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่ก่อให้เกิดโรคได้โดยไม่รู้ตัว โดยเฉพาะ การรับประทานอาหารอย่างใดอย่างหนึ่งติดต่อซ�้ำกันเป็นเวลา นานโดยไม่ครบ 5 หมู่ ก็สามารถก่อให้เกิดมะเร็งได้ อย่างไร ก็ตาม บทเรียนครั้งนี้เป็นเครื่องเตือนใจถึงคุณค่าของชีวิตคุณ วรุณยุพาเป็นอย่างดี “สาเหตุเดี๋ยวนี้มันง่าย สารเคมี อาหาร เดี๋ยวนี้มะเร็ง ไม่มีจ�ำกัดอายุ เราไม่สูบบุหรี่ คนในครอบครัวเราก็ไม่มีใครสูบ บุหรี่ โชคดีว่าเราไปตรวจสุขภาพแล้วเจอพอดี ก็เลยรีบปรึกษา หมอท�ำการผ่าตัดเลย ให้เคมีบ�ำบัด เราตกใจเหมือนกันในตอน แรก คิดว่านี่คือชะตาชีวิตหรือความฝัน เพราะตอนนั้นทานอะไร ไม่ได้เลย อาเจียน บอกพ่อแม่แล้วว่า สงสัยอยู่ดูแลไม่ได้แล้ว แต่ ก็โชคดีที่รอดมาได้” ปัจจุบัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรุณยุพา รอยกุลเจริญ ในวั ย 47 ปี ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง อธิ ก ารบดี ส ถาบั น การพยาบาล ศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย ท�ำหน้าที่หัวเรือใหญ่น�ำทีมใน การผลิตพยาบาลที่มีมาตรฐานตามความต้องการของประเทศ ด้วยประสบการณ์มากมายที่เธอสั่งสมมายาวนาน พร้อมผ่าน อุปสรรคต่างๆ มาด้วยความอดทน อดกลั้น ไม่ยอมแพ้ ท�ำให้ เธอเป็นที่ยอมรับทั้งจากอาจารย์ผู้สอน ลูกศิษย์ และผู้ร่วมงาน ทุกคน

“พอผ่านจุดที่ตัวเองเป็นมะเร็งมาท�ำให้เราเข้มแข็งขึ้น มาก จากที่คิดว่าตัวเองต้องไปแน่ๆ แต่ก็ไม่ไป เพราะมีช่วงที่เกิด การอักเสบจากยาพอสมควร ต้องให้ยา 8 ครั้ง แอดมิด 4 ครั้ง มาแบบเดย์แคร์อีก 4 ครั้ง สมเด็จพระเทพฯ ท่านพระราชทาน แจกันดอกไม้เยี่ยม 2 ครั้ง ท�ำให้เราปลาบปลื้มและมีก�ำลังใจขึ้น มาก ตอนนั้นต้องผ่าตัด 10 วัน ต้องใช้ท่อระบาย 2 สาย ผ่าตัด เอาเนื้อปอดออกไป 2 กิโลกรัม” ฝากถึ ง เยาวชน เดิ น ให้ สุ ด ความฝั น คุณวรุณยุพากล่าวเสมอว่า ที่เลือกเรียนพยาบาลเพราะ อยากช่วยเหลือคน นั่นคือจุดประสงค์หลักที่แท้จริง จึงท�ำให้เธอ เดินมาถึงวันนี้ได้ น้องๆ เยาวชนจะเห็นได้ว่า สิ่งที่คุณวรุณยุพา เลือกให้กับตัวเองนั้นเกิดจากความชอบและความรักที่จะเป็น ในสิ่งที่ตนเองสนใจ นั่นคือหัวใจส�ำคัญในการเลือกเรียน โดยไม่ ได้ค�ำนึงว่าสิ่งที่ตนสนใจนั้นจะหนักเหนื่อยอย่างไร ขอให้มีความ รักที่จะเป็นก็พอ “ตอนที่ รั บ ปริ ญ ญาบั ต รกั บ ในหลวงรั ช กาลที่ 9 เรา ออกไปรับ 2 รอบ คือรับปริญญาบัตรแล้วก็รับเหรียญทองอีก รอบ ตอนนั้นวิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทยยังเป็นสถาบัน สมทบกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปริญญาบัตรนั้นสมเด็จ พระเทพฯ ลงพระนามาภิไธยว่า สิรินธร ให้กับบัณฑิตที่จบจาก สภากาชาดไทย ส่วนในใบปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์นั้นไม่มี จะมีที่เดียวของประเทศไทยที่พระองค์ท่านลงพระนามาภิไธย ในฐานะองค์ อุ ป นายิ ก า แล้ ว พระองค์ ท ่ า นเสด็ จ งานวั น พระ ราชทานปริญญาบัตรด้วย ตอนนั้นเรามีความรู้สึกว่า นี่แหละ คงเป็นสัญลักษณ์ที่เราฝันถึงเมื่อสมัยเด็ก” อธิการบดีสถาบัน การพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย กล่าวทิ้งท้ายด้วย รอยยิ้มและความภาคภูมิใจ 25

issue 126 juLY 2018


26 IS AM ARE www.fosef.org


27 issue 126 juLY 2018


28 IS AM ARE www.fosef.org


29 issue 126 juLY 2018


ก�ำเนิดแห่ง ฉือจี้

“เพื่อพุทธศาสนา เพื่อมวลชีวัน”

ถ้ อ ยค� ำ สั้ น ๆ นี้ เ อง เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น แห่ ง ปฐมบท “มู ล นิ ธิ พุ ท ธฉื อ จี้ ” องค์ ก รการกุ ศ ลใหญ่ ที่ สุ ด ในประเทศ ไต้ ห วั น มี ส มาชิ ก กว่ า 5 ล้ า นคน หรื อ 1 ใน 4 ของประชากรทั้ ง หมดในประเทศภายใต้ ศู น ย์ ร วมจิ ต ใจ หรื อ ผู ้ ก ่ อ ตั้ ง นามกระฉ่ อ น “ท่ า นธรรมาจารย์ เ จิ้ ง เอี๋ ย น” ฉื อ จี้ ป ระกอบด้ ว ยโรงพยาบาลที่ ไ ด้ ม าตรฐานระดั บ นานาชาติถึง 6 แห่ง และมีมหาวิทยาลัยของตนเอง สามารถ ผลิตแพทย์และพยาบาลที่เน้นความรู้ความสามารถเทียบเท่ากับ การมี “หัวใจแห่งความเป็นมนุษย์” รวมถึงโรงเรียนทั้งระดับ ประถมและมัธยมของฉือจี้ซึ่งเน้นการผสานความรู้กับคุณธรรม อย่างกลมกลืน นอกจากนี้ ยังมีสถานีโทรทัศน์ “ต้าอ้าย” ซึ่งเป็นสถานี โทรทัศน์ที่ได้ชื่อว่าปลอดพิษภัย(ส่งเสริมคุณธรรม)ได้รับการ 30 IS AM ARE www.fosef.org


บนเส้ น ทางธรรมพุ ท ธฉื อ จี้ โหวตจากชาวไต้ ห วั น ว่ า เป็ น สถานี โ ทรทั ศ น์ ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ชีวิตของเขามากที่สุด ทั้งหมดนี้อาศัยพลังขับเคลื่อนของอาสา สมัครซึ่งมีร่วม 2 แสนคนและมากขึ้นทุกปีกระจายทั่วประเทศ พวกเขามีงานประจ�ำอีกอย่างหนึ่งคือ การแยกขยะ เพื่อลด ปัญหาสิ่งแวดล้อมและแปรสภาพเป็นเงินตราหมุนเวียน ทั้งหมดที่กล่าวมามีจุดเริ่มต้นในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506 ท่านธรรมาจารย์ผู้ก่อตั้งได้เดินทางไปยังวัดหลินจี้ในเมือง ไทเป เพื่อลงทะเบียนเข้าร่วมพิธีสมาทานศีล ทว่าเนื่องจากท่าน ปลงผมบวชเองโดยไม่มีพระอุปัชฌาย์ จึงไม่สามารถเข้าร่วมพิธี ได้ ต่อมาในขณะที่ท่านธรรมาจารย์ก�ำลังคิดจะหาหนังสือ “สรรพนิพนธ์ของท่านธรรมาจารย์ไท่ซวี” เพื่อน�ำกลับไปศึกษา ต่อ ณ เมืองฮวาเหลียนนั้น จึงได้พบกับมหาเถระอิ้นซุ่น และได้ รับการอุปสมบทอย่างเป็นทางการ โดยมีฉายาว่า “เจิ้งเอี๋ยน” โดยมหาเถระอิ้นซุ่นได้ให้ค�ำก�ำชับว่า “จงท�ำเพื่อพุทธศาสนา เพื่อมวลชีวัน” ท่ านธรรมาจารย์เจิ้งเอี๋ยนยึด มั่น ในค�ำ ก� ำ ชั บของพระ อุปัชฌาย์มหาเถระอิ้นซุ่นเรื่อยมา เป็นมูลเหตุของการรังสรรค์ สร้างโลกแห่งความรักของฉือจี้ ดังเช่นปัจจุบัน

“พระพุ ท ธองค์ ต รั ส ถึ ง ความเมตตาและความกรุ ณ า ว่ า คื อ การยึ ด ถื อ ความรั ก และคุ ณ ธรรมเป็ น หลั ก ยึ ด ความเป็ น ธรรมและความปรองดองเป็ น แนวทาง ปฏิ บั ติ ” ธรรมาจารย์เจิ้งเอี๋ยน

31 issue 126 juLY 2018


32 IS AM ARE www.fosef.org


ประโยชน์ จ ากน�้ ำ มั น เมล็ ด ชา • มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูง และมีกรดไขมันอิ่มตัวต�่ำ • ช่วยลดระดับ LDL (คอเรสเตอรอลชนิดไม่ดี) และเพิ่ม ระดับ HDL (คอเรสเตอรอลชนิดดี) • ลดความเสี่ยงในการเกิดหลอดเลือดตีบตัน ความดัน เบาหวาน และโรคหัวใจ • ดีต่อผู้รักสุขภาพ ผู้สูงอายุ และผู้มีภาวะน�้ำหนักเกิน

ร่ า งกายของเราจ� ำ เป็ น ต้ อ งใช้ ไขมั น เพื่ อ เป็ น แหล่ ง พลังงานของร่ายกาย ดังนั้นการเลือกบริโภคไขมันจึงเป็นการ เลือกแหล่งพลังงานของร่างกาย ไขมันมีทั้งไขมันชนิดดี และ ไขมันชนิดร้าย น�้ำมันพืชที่มีไขมันไม่อิ่มตัวแบบเดี่ยวสูง จัดเป็นน�้ำมัน ชนิด “ดีพิเศษ” น�้ำมันเหล่านี้ช่วยลดคอเลสเตอรอลชนิดร้าย (LDL) และเพิ่มคอเลสเตอรอลชนิดดี (HDL) ซึ่งช่วยท�ำความ สะอาด หรือเก็บขยะ (คราบไขมัน) จากผนังเส้นเลือด

33 issue 126 juLY 2018


34 IS AM ARE www.fosef.org


ความเป็ น คนความเป็ น ครู

อนุบาลไม่ง่าย ขนิษฐา เปรมพงษ์

หัวหน้าฝ่ายปฐมวัยโรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี ท� ำ ไมไม่ ไ ปสอนชั้ น อื่ น ? ขนิษฐา เปรมพงษ์ เหล่าเด็กอนุบาลเรียกเธอว่าครูแจ๋ว หัวหน้าฝ่ายปฐมวัยโรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี เจ้าของรางวัล ครูดีศรีพระหฤทัย ครูในยุคแรกตั้งแต่โรงเรียนเริ่มเปิดท�ำการ สอนในปี 2539 ปัจจุบันเธอท�ำงานมา 21 ปีแล้ว โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี เป็นโรงเรียนประเภทสามัญ ศึกษา สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน เป็น โรงเรียนแห่งที่ 5 ในเครือโรงเรียนคณะพระหฤทัย ตั้งอยู่เลขที่ 59/25 ถ.ติวานนท์ ต.บ้านใหม่ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี แบ่ง การศึกษาออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับก่อนประถมศึกษา ระดับ ประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา ครูแจ๋วไม่คิดย้ายไปไหน แม้เพื่อนรุ่นเดียวกันจะเติบโต เป็นผู้อ�ำนวยการกันหมด เธอเล่าถึงความรู้สึกในงานเลี้ยงรุ่น ซึ่งพบแต่ค�ำถามว่าท�ำไมเธอไม่รุดหน้าเจริญเติบโตตามเพื่อนๆ ท� ำ ไมยั ง สอนเด็ ก อนุ บ าล ท� ำ ไมไม่ ไ ปโรงเรี ย นรั ฐ บาลซึ่ ง ค่ า ตอบแทนดีกว่า กับค�ำถามต่างๆ เธอได้แค่ยิ้มตอบ เพราะทุกอย่างที่ เพื่อนแนะน�ำนั้นดีและถูกต้อง ติดอยู่ตรงที่ว่า ซิสเตอร์หรือผู้ อ�ำนวยการในขณะนั้นมีน�้ำใจกับเธอมาก รับเธอและสามีเป็นครู ทั้งคู่ เมื่อครั้งเธอย้ายมาจากโรงเรียนแห่งหนึ่งซึ่งถูกปิดไป รวม ถึงซิสเตอร์ยังรับลูกเธอเข้าเรียนจนจบชั้น ม.6 อีกด้วย ความผูกพันระหว่างครอบครัวเธอกับโรงเรียนนี้เปรียบ เสมือนบ้านไปแล้ว “ถ้าคิดจะย้ายต้องท�ำก่อนหน้านี้นานแล้ว ไม่ อยู่มาถึงวันนี้” คือค�ำตอบที่ว่า ท�ำไมไม่ย้ายไปที่ที่ค่าตอบแทน สูงกว่า

การศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร เธอเป็นพี่สาวคนโตมีน้องชาย 3 คน ในครอบครัวที่ประกอบ อาชีพครูเป็นส่วนใหญ่ ทั้งพี่ป้าน้าอาล้วนอยู่ในแวดวงการศึกษา ตั้งแต่อาจารย์ประจ�ำไปจนถึงรองผู้อ�ำนวยการโรงเรียน เธอพบ ว่าสิ่งเหล่านี้เป็นแบบอย่างที่ส่งต่อกันได้ ท�ำให้เธอสนใจเลือก เรียนทางนี้ “มันฝังอยู่ในจิตใจ ร่างกายเราด้วย เพราะเราอยู่ใน ครอบครัวที่เป็นครู เราเลือกเอกปฐมวัยเพราะให้ความส�ำคัญ กับเด็กวัยพื้นฐาน เด็กวัยนี้ถ้าเขาได้แบบอย่างที่ดี เราจะปลูก ฝังเขาต่อไปได้”

ความเป็ น คน ความเป็ น ครู ครูแจ๋วเป็นคนอ�ำเภอบัวขาว จังหวัดกาฬสินธุ์ ส�ำเร็จ การศึกษาปริญญาตรี (คบ.) วิชาเอก การศึกษาปฐมวัย สถาบัน ราชภัฏจันทรเกษม และการศึกษามหาบัณฑิต (กศม.) วิชาเอก 35

issue 126 juLY 2018


”ห้ า ม ไม่ อย่ า หยุ ด ” อย่ า ใช้ กั บ เด็ ก อนุ บ าล เด็กอนุบาลจะฟัง “ค�ำหลัง” หมายความว่าถ้าบอกอย่า วิ่ง จะเกิดปรากฏการณ์เด็กวิ่งทันที ครูอนุบาลจึงไม่สามารถติด ต�ำราได้ เพราะก�ำลังท�ำงานกับสิ่งที่ควบคุมไม่ได้ จึงต้องอาศัย เทคนิคและประสบการณ์เฉพาะตัวค่อนข้างสูงในการสังเกต พฤติกรรมของเด็กตลอดเวลา “การพูดกับเขาก็เหมือนกัน อยากพูดอยากสอนอะไรให้ บอกเขาเลย แต่เด็กวัยนี้เขาจะฟังค�ำหลัง เหมือนครูพูดว่าอย่า วิ่งลูก แต่เขาก็จะวิ่ง เพราะเขาฟังค�ำเดียว แต่ถ้าเราจะสอนเขา เราต้องบอกว่า เดินเบาๆ ลูก เดินช้าๆ เขาก็จะฟัง เหมือนบอก ว่าอย่าเสียงดัง เขาก็จะดัง ห้าม ไม่ อย่า หยุด อย่าใช้กับเด็ก อนุบาล คืออยากให้สื่อสารให้ชัดเจน เขาก็จะเริ่มจ�ำ โลกของ อนุบาลจะต่างไป” ครูแจ๋วอธิบายว่าเด็กแต่ละวัยไม่เหมือนกัน เช่น เด็ก อนุบาลจะมีโลกของเขา ชื่นชอบซูเปอร์ฮีโร่เป็นพิเศษ บางทีครู ต้องเข้าใจและเข้าไปอยู่ในโลกของเขาด้วย แต่ถ้าถามถึงเรื่อง วิ ช าการเด็ ก จะนิ่ ง ทั น ที สิ่ ง ส� ำ คั ญ ที่ ค รู อ นุ บ าลต้ อ งค� ำ นึ ง มี 3 ประการ คือ ความรัก วาจา ความเอาใจใส่ “เราไม่จ�ำเป็นต้องตีเขาเลย เพียงบอกเขาว่าครูไม่รัก ละ ไม่เข้าใกล้ ก็เหมือนโลกทั้งโลกของเขาไม่มีความสุข เขาก็ จะไม่ท�ำละ แต่ถ้าเป็นช่วงวัยเด็กประถมชอบเลยครูบอกไม่รัก มั น ฝั ง อยู ่ ใ นจิ ต ใจ ร่ า งกายเราด้ ว ย เพราะเราอยู ่ ในครอบครั ว ที่ เ ป็ น ครู เราเลื อ กเอกปฐมวั ย เพราะ ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ เด็ ก วั ย พื้ น ฐาน เด็ ก วั ย นี้ ถ ้ า เขาได้ แบบอย่ า งที่ ดี เราจะปลู ก ฝั ง เขาต่ อ ไปได้

เด็กปฐมวัย จ�ำเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่มากกว่า วัยอื่น ครูแจ๋วอธิบายว่า พวกเขาต้องการความรักเป็นอันดับ หนึ่ง ไม่ใช่ความรู้ ครูอนุบาลจึงไม่จ�ำเป็นต้องเด่นด้านวิชาการ แต่ต้องท�ำงานด้วยใจ รู้จักควบคุมอารมณ์เป็นอันดับแรก ดูแล เรื่องสุขลักษณะ การกินและความเป็นอยู่ “เราเริ่มงานตั้งแต่หกโมงเช้า มารับเด็กที่ผู้ปกครองมา ส่ง บางทีกว่าเขาจะมารับกลับก็เกือบสองทุ่มแล้ว เราต้องอยู่รอ ส่งทุกคน เขาเลือกที่จะฝากลูกไว้กับเราเพราะเขาต้องไปท�ำงาน ถ้าโรงเรียนเข้าแปดโมงเขาก็ไปท�ำงานไม่ทัน เราต้องใส่ใจราย ละเอียดของเด็กทุกอาการ เช่น เขาเหม่อลอยนิ่งเงียบเพราะ อะไร เพราะเพื่อนทุกคนได้ปากกากันหมด แต่เขาไม่ได้เพราะ มันหมดพอดี เราเห็นแล้วต้องเข้าไปพูดคุยกับเขาเลย เอาพวง กุญแจให้ ให้เขารู้สึกเหมือนเพื่อน ไม่ได้แปลกอยู่คนเดียว ดูแล เหมือนลูก ให้สมกับที่ผู้ปกครองเขาเลือกเรา”

36 IS AM ARE www.fosef.org


37 issue 126 juLY 2018


ให้ออกนอกห้อง ชอบใจเลย แต่ถ้าเป็นเด็กอนุบาลเราบอก ไม่รัก ให้ออกนอกห้อง ร้องไห้ ไม่เอาไม่อยากออก นี่คือสิ่งที่ เราสัมผัสได้ในเด็กเล็ก คือความผูกพัน ครูอนุบาลก็เลยจะเป็น อีกรูปแบบหนึ่ง เป็นเหมือนแม่ ต้องเอาใจใส่ ต้องดูแลทุกอย่าง สังเกตพฤติกรรม” ชาวคริ ส ต์ คื อ แบบอย่ า งที่ ดี ครูแจ๋ว เป็นชาวพุทธที่ด�ำรงตนอยู่ในโรงเรียนคริศต์มา 21 ปี เธอเข้าใจดีถึง ความรัก การรับใช้ และการเป็นแบบอย่าง อันเป็นหัวใจของโรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี ตลอดเวลาที่ผ่านมา เธอพบว่า ชาวคริสต์มีระเบียบ ในการปฏิบัติตามศาสนกิจของตนอย่างยิ่ง เช่น ไม่ว่าจะไปอยู่ เด็ ก ปฐมวั ย จ� ำ เป็ น ต้ อ งได้ รั บ การดู แ ลเอาใจใส่ มากกว่ า วั ย อื่ น ครู แ จ๋ ว อธิ บ ายว่ า พวกเขาต้ อ งการ ความรั ก เป็ น อั น ดั บ หนึ่ ง ไม่ ใ ช่ ค วามรู ้ ครู อ นุ บ าลจึ ง ไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งเด่ น ด้ า นวิ ช าการ แต่ ต ้ อ งท� ำ งานด้ ว ย ใจ รู ้ จั ก ควบคุ ม อารมณ์ เ ป็ น อั น ดั บ แรก ดู แ ลเรื่ อ ง สุ ข ลั ก ษณะ การกิ น และความเป็ น อยู ่

38 IS AM ARE www.fosef.org


ที่ไหนพวกเขาจะค�ำนึงถึงโบสถ์ด้วย เพื่อวันอาทิตย์คริสตชนจะได้ไปชุมนุมพร้อมประกอบพิธีกรรมนมัสการพระเจ้า นอกจากโบสถ์ (church) จะหมายถึงศาสนสถานใช้ประกอบพิธีกรรมของชาวคริสต์แล้ว ยังหมายถึงบ้านของพระเจ้าอีกด้วย “ไม่ว่าไปอยู่ที่ไหน ทุกวันอาทิตย์เขาจะเข้าโบสถ์ ถ้าเขาไปวันอาทิตย์ไม่ได้เขาก็ต้องไปคืนวันเสาร์ หรืออยู่ที่ไหนเขาก็ต้อง ไปหาโบสถ์เข้า เวลาที่เราไปงานศพ เวลาที่เขาสวดเขาร้องเพลงพิธีกรรม มันคือสงบนิ่ง ไม่มีคุยกัน แต่ของพุทธเราเข้าวัดเฉพาะ วันส�ำคัญที่หยุด” ปัจจุบัน ครูแจ๋วในวัย 52 ปี จึงมองว่าชาวคริสต์คือแบบอย่างเรื่องวินัยให้กับเธอ รวมถึงการท�ำงานด้วยความรัก การรับใช้ ผู้อื่นหรือการท�ำหน้าที่ครูอนุบาลเป็นสิ่งที่มีเกียรติ เพราะได้ให้ความรักและความเอาใจใส่ต่อเด็กๆ ทุกวัน ท�ำให้เธอไม่เคยคิดย้าย ไปที่อื่น ดังค�ำสอนของประธานศาสนจักร: สเป็นเซอร์ ดับเบิลยู. คิมบัลล์ “เมื่อเรารับใช้ผู้อื่นโดยไม่นึกถึงตนเอง เราจะมีความเข้มแข็งทางวิญญาณ และความสุขมากขึ้น” 39 issue 126 juLY 2018


40 IS AM ARE www.fosef.org


สั จ ธรรมแห่ ง แนวพระราชด� ำ ริ

เรียนรู้จากธรรมชาติ แนวทางพระราชดำ�ริ

จากในหลวง รัชกาลที่ 9

2.2 ใช้อธรรมปราบอธรรม

แนวพระราชด� ำ ริ ก ารแก้ ไขปั ญ หาธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้อมอย่างยั่งยืนของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ส�ำคัญ อี ก ประการหนึ่ ง คื อ การใช้ ค วามเป็ น ไปและกฎเกณฑ์ ข อง ธรรมชาติ และทรงใช้สิ่งที่ไม่มีประโยชน์ให้เกิดประโยชน์ในการ แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ไม่ต้องใช้เงินลงทุนมากแต่มีประสิทธิภาพ สูง โดยมีแนวพระราชด�ำริดังต่อไปนี้ ใช้ความเป็นไปและกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ แก้ปัญหา และเปลี่ยนแปลงสภาวะที่ไม่ปกติให้เป็นปกติ อาทิ ปรากฏการณ์ น�้ำขึ้นน�้ำลง ดังพระราชด�ำรัส เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2538 ความ ตอนหนึ่งว่า “...การจัดการควบคุมระดับน�้ำในคลองสายต่างๆ โดย เฉพาะอย่ า งยิ่ ง การจั ด ระบบระบายน�้ ำ ในกรุ ง เทพมหานคร นั้น สมควรวางระบบให้ถูกต้องตามสภาพการณ์และลักษณะ ภูมิประเทศ ซึ่งควรแบ่งออกเป็น 2 แผนด้วยกันคือ แผนส�ำหรับ ใช้กับในฤดูฝนหรือฤดูน้�ำมากนี้ ก็เพื่อประโยชน์ในการป้องกันน�้ำ ท่วม และเพื่อบรรเทาอุทกภัยเป็นส�ำคัญแต่แผนการระบายน�้ำ ในฤดูแล้งนั้น ก็ต้องจัดอีกแบบหนึ่งต่างกันออกไป เพื่อการก�ำจัด หรือไล่น�้ำเน่าเสียออกจากคลองดังกล่าวเป็นหลัก...” ใช้สิ่งที่ไม่มีประโยชน์ให้เกิดประโยชน์ อาทิ การใช้ผัก ตบชวาซึ่งเป็นวัชพืชในการบ�ำบัดน�้ำเสียดังพระราชด�ำรัสเมื่อ ครั้งเสด็จพระราชด�ำเนินหนองสนม จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน2532 ความตอนหนึ่งว่า

“...ผักตบชวาที่ใช้ประโยชน์ในการเพิ่มปริมาณออกซิเจน ให้กับน�้ำเสีย กับดูดสิ่งโสโครกออกจากน�้ำเสียนั้น ต้องหมั่น เปลี่ยนออกจากบ่อน�้ำเสียเป็นระยะๆ ก่อนที่จะเน่าและเริ่ม ลดประสิทธิภาพในการบ�ำบัดน�้ำเสีย ทั้งนี้ ควรทดลองหาวิธี สับเปลี่ยนแพผักตบชวาที่ง่ายที่สุด นอกจากนั้นต้องเตรียมสถาน ที่สร้างโรงงานบริเวณขอบหนองเพื่อแปรสภาพผักตบชวาที่ใช้ งานแล้ว ให้เป็นปุ๋ยหมัก เชื้อเพลิง...” นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชด�ำริ ให้น�ำขยะและมูลสัตว์ซึ่งเป็นของเสียมาผลิตแก๊สชีวภาพเพื่อ ใช้เป็นเชื้อเพลิง โดยทรงเริ่มต้นจากการผลิตแก๊สชีวภาพจาก มู ล โคนมในการด� ำ เนิ น งานโรงโคนมสวนจิ ต รลดา เพื่อไม่ให้ มู ล โคที่ เ ป็ น ของเสี ย เหล่ า นั้ น ต้ อ งทิ้ ง ไปอย่ า งเปล่ า ประโยชน์ โดยน� ำ มาเก็ บ ใส่ ถั ง หมั ก ผลิ ต เป็ น แก๊ ส ชี ว ภาพใช้ ใ นโรงโคนม ซึ่งได้ก๊าซมีแทนกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ และก๊าซอื่นๆที่ใช้เป็น เชื้อเพลิงได้ ดังพระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในงานนิทรรศการอุทยานวิจัยและงานเกษตรแห่งชาติ ประจ�ำปี 2538 ที่พระราชทานพระราชด�ำริในการผลิตแก๊สจากขยะ ความ ตอนหนึ่งว่า “ดูดแก๊สมาท�ำไฟฟ้าเราเห็นด้วย แต่ว่าขอ อีกขั้นหนึ่ง มี เวลาอีกประมาณสัก 5 ปีที่จะมาท�ำไฟฟ้าด้วยขยะที่สลายไบโอ แก๊สออกไปแล้ว เอาออกไปและก็มาเผาด้วยเครื่องส�ำหรับกรอง 41

issue 126 juLY 2018


ทั้งนี้ การปลูกป่าในใจคนมีหลักการส�ำคัญ คือ • สร้ า งความเข้ า ใจกั บ ราษฎรให้ รู ้ ถึ ง ประโยชน์ ข อง ป่า และการอยู่ร่วมกับป่าอย่างพึ่งพาอาศัยกันซึ่ง ดร.สุเมธ ตันติเวชสกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา ได้ขยายความถึงแนว พระราชด�ำริปลูกป่าในใจคนในบทความเรื่องสวนพฤษศาสตร์ กับบทบาทการอนุรักษ์พรรณไม้ หนังสือพิมพ์แนวหน้า วันจันทร์ ที่ 6 ธันวาคม 2533 ว่า “...ค�ำว่าปลูกต้นไม้ในใจคนหมายถึง ประการที่ 1 ต้องเข้าใจว่าเราปลูกต้นไม้ท�ำไมไม่ใช่แค่เอาต้นไม้ ลงหลุม ถ่ายรูปกันเสร็จแล้วก็ทิ้งๆ ขว้างๆจริงๆ คือต้องให้เห็น ประโยชน์ ว่าประโยชน์คืออะไรจ�ำเป็นต่อชีวิตอย่างไร ประการที่ 2 ปลูกต้นไม้เป็นการปลูกจิตส�ำนึกเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมดินน�้ำลมไฟที่อยู่รอบตัวเรา...” • ให้ราษฎรเข้ามามีส่วนร่วมใน การปลูกป่าเพื่อให้เกิด ความรู้สึกรัก และหวงแหนต้นไม้รวมถึงป่าที่ตนเองได้ปลูกไว้ • เกิดการจัดตั้งกลุ่มอนุรักษ์ป่า ช่วยกัน ดูแลรักษาป่า การสร้างฝายชะลอ ความชุ่มชื้นป้องกันการตัดไม้การเกิดไฟป่า ตลอดจนรู้จักน�ำพืชป่ามาบริโภคใช้สอย

ตัวอย่างพระราชกรณียกิจ

จากแนวพระราชด� ำ ริ ข ้ า งต้ น พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงน� ำ ไปใช้ ใ นการฟื ้ น ฟู ท รั พ ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ทีใช่ธรรมชาติในการดูแลธรรมชาติ ก่อให้เกิด ความสมดุลอย่างยั่งยืน ดังโครงการตามแนวพระราชด�ำริหลาย มลพิษที่ออกมาจากการเผาตั้งแต่ต้นก็มาฝัง แล้วเราก็ดูดแก๊ส โครงการ อาทิ การใช้เครื่องกรองน�้ำธรรมชาติ แก๊สชีวภาพ ออกมาใช้แล้วขุดหลังจากนั้นน�ำมาเผาได้ขี้เถ้าแล้วน�ำไปอัด หมด จากมูลโคในโครงการส่วนพระองค์ตามแนวพระราชด�ำริการ บ�ำบัด น�้ำเสียด้วยระบบบ่อบ�ำบัดและพืชน�้ำ สระเติมอากาศ จากหลุมนี้ก็เอาขยะมากลบก็ผลิต 10 ปีครบวงจรแล้ว” ชีวภาพบ�ำบัด การเติมอากาศโดยใช้กังหันน�้ำชัยพัฒนา การ ผสมผสานระหว่างพืชน�้ำกับระบบเติมอากาศ ระบบปรับปรุง 2.3 ปลูกป่ าในใจคน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเล็งเห็นถึงการแก้ไข คุณภาพน�้ำด้วยรางพืชร่วมกับเครื่องกลเติมอากาศ การใช้น�้ำดี ปัญหาการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติด้วยการปลูกจิตส�ำนึกใน ไล่น�้ำเสียการจัดการลุ่มน�้ำบางนรา การทดลองปลูกหญ้าแฝก การรักผืนป่าให้แก่คนเสียก่อน เพื่อให้พวกเขารักและดูแลผืนป่า ภายในศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ และ ของตนเองด้วยตนเอง ด้วยการสร้างความเข้าใจกับราษฎรให้รู้ พื้นที่ต่างๆ การปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก การปลูกป่า 3 อย่าง ถึงประโยชน์ของป่า และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ จนสามารถ ประโยชน์ 4 อย่าง การสร้ า งฝายอนุ รั ก ษ์ ต ้ น น�้ ำ การฟื ้ น ฟู ป ่ า ชายเลน จั ด ตั้ ง กลุ ่ ม อนุ รั ก ษ์ ป ่ า เพื่ อ ช่ ว ยกั น ดู แ ลรั ก ษาป่ า ให้ ก ลั บ มามี ความอุดมสมบูรณ์ ดังพระราชด�ำรัสพระราชทานแก่เจ้าหน้าที่ โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน�้ำแม่อาวอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ป่าไม้ ณ หน่วยงานพัฒนาต้นน�้ำทุ่งจ๊อ เมื่อปี 2519 ความตอน โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน�้ำห้วยบางทราย ตอนบนอันเนื่องมา จากพระราชด�ำริโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ และโครงการป่า หนึ่งว่า “...เจ้าหน้าที่ป่าไม้ควรจะปลูกต้นไม้ลงในใจคนเสียก่อน รักน�้ำ ดังนี้ แล้วคนเหล่านั้นก็จะพร้อมกันปลูกต้นไม้ลงบนแผ่นดิน และ รักษาต้นไม้ด้วยตนเอง...” 42 IS AM ARE www.fosef.org


• เครื่องกรองน�้ำธรรมชาติ โดยการน�ำผักตบชวามาท�ำหน้าที่ดูดซับความสกปรก และโลหะหนัก รวมทั้งสารพิษจากน�้ำเน่าเสีย หรือที่พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเรียกว่า “ใช้อธรรมปราบอธรรม” ใน โครงการปรับปรุงบึกมักกะสันที่ทรงศึกษาด้วยพระองค์เอง ซึ่ง จากการทดสอบคุณภาพน�้ำในบึงพบว่ามีค่าออกซิเจนที่ละลาย ในน�้ำตามจุดต่างๆ มีปริมาณเพิ่มขึ้น แสดงว่าน�้ำในบึงเมื่อได้รับ การปรับปรุงโดยทั่วไปมีคุณภาพดีขึ้นดังพระราชด�ำรัส เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2528 ความตอนหนึ่งว่า “...บึงมักกะสันนี้ ท�ำโครงการ ที่เรียกว่าแบบคนจน โดย ใช้หลักว่าผักตบชวาที่มีอยู่ทั่วไปนั้น เป็นพืชดูดความโสโครก ออกมาแล้วก็ท�ำให้น�้ำสะอาดขึ้นได้ เป็นเครื่องกรองธรรมชาติ ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ และธรรมชาติของการเติบโตของพืช...” พระราชด�ำรัส เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2530 ความตอน หนึ่งว่า “...ภารกิจหลักของโครงการฯ นี้ในฤดูแล้งคือ การก�ำจัด น�้ำโสโครกด้วยผักตบชวาส่วนในฤดูฝนให้ท�ำหน้าที่เก็บกักน�้ำ และระบายน�้ำส่วนเกิน ส�ำหรับภารกิจรอง ได้แก่การใช้ผักตบ ชวาท�ำปุ๋ยหมัก เชื้อเพลิง เยื่อสาร ตลอดจนการส่งเสริมการปลูก

พืชผัก น�้ำชนิดต่างๆ เช่น ผักบุ้ง และการปรับปรุงคุณภาพน�้ำให้ สามารถเพาะเลี้ยงปลาน�้ำจืดได้...” และพระราชด�ำรัส เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2532 ความ ตอนหนึ่งว่า “...อย่างที่ท�ำบึงมักกะสัน เราท�ำอย่างนี้เพราะเหตุใด เพราะว่าถ้าใส่เครื่องมันเพิ่มสิ่งโสโครกที่เป็นอันตราย แต่ถ้าท�ำ แบบธรรมชาติมันจะลด อย่างเช่นปลูกหรือส่งเสริมผักตบชวา ผักตบขวานี่จะกินคาร์บอนไดออกไซด์แล้วก็กินสิ่งโสโครก เรา เอาออกมาแล้วก็มาท�ำเป็นปุ๋ย ก็ให้คาร์บอนไดออกไซด์เหมือน กันแต่ก็น้อยกว่า เราสามารถที่จะเอาไปใส่ปุ๋ยให้ต้นไม้ ให้มัน กินคาร์บอนไดออกไซด์อีกที คือว่าต้องดูในวิธีการอันใดที่ไม่ เพิ่มคาร์บอนไดออกไซด์คือไม่เพิ่มสิ่งที่กลัว ส่วนเกี่ยวข้องกับ เรื่องที่จะขยายแล้วก็ท�ำให้มีคาร์บอนไดออกไซด์มากขึ้น ก็ต้อง พยายามหาเทคโนโลยีในการที่จะปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ ให้น้อยลง หรือปล่อยในที่ที่จะมีการดูดซึมคาร์บอนไดออกไซด์ ไม่ปล่อยขึ้นไปในส่วนบนที่จะไปท�ำลายการป้องกันไม่ให้ความ ร้อนหลุดออกไป...” • แก๊สชีวภาพจากมูลโคในโครงการส่วนพระองค์ตาม แนวพระราชด� ำ ริ พ ระองค์ ท รงมี ส ายพระเนตรอั น กว้ า งไกล 43

issue 126 juLY 2018


44 IS AM ARE www.fosef.org


และทรงเข้าใจถึงกลไกทางธรรมชาติพระองค์ทอดพระเนตร ผลพลอยได้จากโรงโคนมซึ่งก็คือมูลโค เพื่อไม่ให้มูลโคเหล่านั้น ถูกขนไปทิ้งเปล่าประโยชน์ จึงมีพระราชด�ำริให้ทดลองผลิต ก๊าซชีวภาพ จากมูลโค โดยใช้กระบวนการน�ำมูลโคมาหมักซึ่งจะได้ “แก๊สชีวภาพ” ส�ำหรับใช้เป็นเชื้อเพลิงในโครงการส่วนพระองค์ และโรงโคนม สวนจิตรลดานอกจากนี้พระองค์ยังมีพระราชด�ำริ ให้น�ำกากที่เหลือจากบ่อหมักแก๊สชีวภาพไปท�ำเป็นปุ๋ยโดยมูลโค ที่เป็นสารละลายหรือกากที่เหลือจากการผลิตแก๊สชีวภาพที่อยู่ ในถังหมัก ส่วนหนึ่งจะถูกน�ำไปใช้ส�ำหรับเพาะเลี้ยงสาหร่าย เกลี ย วทอง ซึ่ ง สาหร่ า ยชนิ ด นี้ ส ามารถน� ำ ไปท� ำ เป็ น อาหาร ส�ำเร็จรูปเพื่อใช้เลี้ยงปลา กากที่เหลืออีก ส่วนหนึ่ง น�ำไปท�ำเป็น ปุ๋ย ใส่แปลงเพาะปลูก พืช เพื่อน�ำไปท�ำเป็น อาหารสัตว์และกาก บางส่วนน�ำไปใช้ส�ำหรับบ�ำรุงบ่อเพาะพันธุ์ปลานิลอีกด้วย ซึ่ง พระองค์ได้ทอดพระเนตรถึงคุณประโยชน์ของเหลืออย่างมูลโค อย่างคุ้มค่ารวมถึงการน�ำกลับมาใช้ใหม่ในทุกๆ ด้าน • การบ� ำ บั ด น�้ ำ เสี ย ด้ ว ยระบบบ่ อ บ� ำ บั ด และพื ช น�้ ำ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงน�ำวิธีการ ทางธรรมชาติประกอบด้วย 4 ระบบ คือ ระบบบ่อบ�ำบัด น�้ำเสีย ระบบบ่อชีวภาพ ระบบหญ้ากรองและระบบบ�ำบัดน�้ำ เสียโดยใช้ป่าชายเลน มาใช้บ�ำบัดน�้ำเสียชุมชน โดยมีพระราช ด�ำรัสพระราชทานวิธีการ เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2533 ความ ตอนหนึ่งว่า “...โครงการที่จะท�ำนี้ไม่ยากนัก คือว่าก็มาเอาสิ่งที่เป็น พิษออก พวกโลหะหนักต่างๆ เอาออก ซึ่งมีวิธีท�ำ ต่อจากนั้น ก็ มาฟอกใส่อากาศบางทีก็อาจไม่ต้องใส่อากาศ แล้วก็มาเฉลี่ยใส่ ในบึง หรือเอาน�้ำไปใส่ในทุ่งหญ้า...

ทางใต้ออสเตรเลียมีโครงการเอาน�้ำเสียนี้ไปใส่คลอง แล้วใส่ท่อไปใกล้ทะเลแล้วท�ำเป็นสระ เป็นบ่อใหญ่มากเป็นพื้นที่ ตั้งเป็นร้อยไร่ หลายร้อยไร่ เขาก็ไปท�ำให้น�้ำนั้นหายสกปรกแล้ว ก็เทลงทะเล...” ตัวอย่างที่เห็นผลชัดเจนคือ โครงการศึกษาวิจัยและ พั ฒ นาสิ่ ง แวดล้ อ มแหลมผั ก เบี้ ย อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด�ำริ อ� ำ เภอบ้ า นแหลม จั ง หวั ด เพชรบุ รี เป็ น พื้ น ที่ ศึ ก ษาทดลอง การบ� ำ บั ด น�้ ำ เสี ย ด้ ว ยระบบบ่ อ บ� ำ บั ด และวั ช พื ช ตามแนว พระราชด�ำริ โดยน�ำน�้ำเสียมาจากเทศบาลเมืองเพชรบุรี แล้ว ส่งต่อด้วยระบบท่อมายังพื้นที่โครงการฯ การบ�ำบัดแบ่งเป็น 4 ระบบ คือ ระบบบ่อบ�ำบัดน�้ำเสีย (LagoonTreatment) กักพักน�้ำเสียไว้ในระยะเวลาที่เหมาะสม เติมออกซิเจนด้วย กระบวนการสังเคราะห์แสงของแพลงค์ตอนและสาหร่ายอาศัย แรงลมช่วยเติมอากาศ การย่อยสลายสารอินทรีย์ เป็นต้นระบบ พืชและหญ้ากรองน�้ำเสีย (Plant and Grass Filtration) ใช้พืช ช่วยบ�ำบัด ระบบพื้นที่ชุ่มน�้ำเทียม(Constructed Wetland) ท�ำ 45

issue 126 juLY 2018


ให้แบคทีเรียย่อยสลายสารอินทรีย์ในน�้ำเสียโดยปฏิกิริยาแบบ การให้ออกซิเจนอย่างต่อเนื่อง จากนั้นจะไหลไปยังบ่อกึ่งไร้ อากาศเพื่อบ�ำบัดสารอินทรีย์ที่หลงเหลือในบ่อน�้ำ ก่อนปล่อย ทิ้งในคลองลาดพร้าวเดิม ผลปรากฏว่าคุณภาพน�้ำในคลองดี ขึ้น • การเติมอากาศโดยใช้กังหันน�้ำชัยพัฒนา พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชด�ำเนิน ทอดพระเนตรสภาพน�้ำเสียในพื้นที่หลายแห่งหลายครั้ง ทั้งในเขตกรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และต่างจังหวัดพร้อมทั้ง พระราชทานพระราชด�ำริเกี่ยวกับการแก้ไขน�้ำเน่าเสียในระยะ แรกระหว่างปี 2527 - 2530 ทรงแนะน�ำให้ใช้น�้ำที่มีคุณภาพดี

แปลงหรือบ่อน�้ำเพื่อบ�ำบัดน�้ำเสียโดยปลูกพืชน�้ำ 2 ชนิดคือ กก กลม(กกจันทรบูร) และธูปฤษี ช่วยในการบ�ำบัดน�้ำเสีย ระบบ แปลงพืชป่าชายเลน (Mangrove ForestFiltration) ใช้หลักการ เจือจางระหว่างน�้ำเสียกับน�้ำทะเล ซึ่งสามารถพิสูจน์ได้ว่าระบบ บ�ำบัดน�้ำเสียด้วยบ่อบ�ำบัดและพืชทั้ง 4 ระบบ สามารถบ�ำบัดน�้ำ เสียได้เป็นอย่างดีนอกจากนี้ ยังมีโครงการตามพระราชด�ำริเพื่อ บ�ำบัดน�้ำเสียบริเวณหนองหาร อ�ำเภอเมืองจังหวัดสกลนคร โดย น�้ำเสียจากตัวเมืองสกลนครจะถูกรวบรวมโดยระบบท่อ ส่งผ่าน การบ�ำบัดให้ดีในระดับหนึ่งก่อนส่งต่อไปยังแปลงพืชน�้ำบ�ำบัด แล้วระบายลงสู่หนองหารต่อไป • สระเติมอากาศชีวภาพบ�ำบัด เป็นพระราชด�ำริการ จัดการน�้ำเสียโดยใช้เครื่องจักรกลเติมอากาศ มาช่ ว ยเพิ่ ม ออกซิ เจนให้ ล ะลายในน�้ ำ ของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโดยพระราชทานพระราชด�ำริว่า “การใช้ วิ ธี ท างธรรมชาติ แ ต่ เ พี ย งอย่ า งเดี ย วไม่ เ พี ย ง พอในการบ�ำบัดน�้ำเสียให้ดีขึ้นจ�ำเป็นต้องใช้เครื่องเติมอากาศ ลงไปในน�้ำ โดยท�ำเป็นระบบสระเติมอากาศ (AeratedLagoon)” ซึ่งการด�ำเนินการดังกล่าวจะใช้ออกซิเจนตามธรรมชาติ จากพืชน�้ำและสาหร่ายโดยได้น�ำมาทดลองใช้ที่บึงพระราม 9 ด้วยการสูบน�้ำจากคลองลาดพร้าวเข้าในบ่อเติมอากาศ เพื่อ

46 IS AM ARE www.fosef.org


พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงเล็ ง เห็ น ถึ ง การ แก้ ไ ขปั ญ หาการฟื ้ น ฟู ท รั พ ยากรธรรมชาติ ด ้ ว ย การปลู ก จิ ต ส� ำ นึ ก ในการรั ก ผื น ป่ า ให้ แ ก่ ค นเสี ย ก่ อ น เพื่ อ ให้ พ วกเขารั ก และดู แ ลผื น ป่ า ของตนเอง ด้ ว ยตนเอง

ช่วยบรรเทาน�้ำเสีย และวิธีกรองน�้ำเสียด้วยผักตบชวาและพืช น�้ำต่างๆ ซึ่งก็สามารถช่วยแก้ไขปัญหาได้ผลในระดับหนึ่งต่อ มาตั้งแต่ปี 2531 เป็นต้นมา สภาพความเน่าเสียของน�้ำบริเวณ ต่างๆ มีอัตราแนวโน้มรุนแรงมากยิ่งขึ้น การใช้วิธีธรรมชาติไม่ อาจบรรเทาความเน่าเสียของน�้ำอย่างมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงพระราชทานพระราชด�ำริให้ ประดิษฐ์เครื่องกลเติมอากาศแบบประหยัดค่าใช้จ่าย สามารถ ผลิตได้เองในประเทศ ซึ่งมีรูปแบบ “ไทยท�ำ ไทยใช้” โดยทรง ได้แนวทางจาก “หลุก” ซึ่งเป็นอุปกรณ์วิดน�้ำเข้านาอันเป็น ภูมิปัญญาชาวบ้านเป็นจุดคิดค้นเบื้องต้น จนสามารถพัฒนาเป็น “กังหันน�้ำชัยพัฒนา” สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี ได้พระราชทานสัมภาษณ์ในหนังสือ“พระมหากษัตริย์ นักพัฒนา เพื่อประโยชน์สุขสู่ปวงประชา” เกี่ยวกับกังหันน�้ำชัย พัฒนาความตอนหนึ่งว่า

“พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงคิดค้น “กังหันน�้ำ ชัยพัฒนา” มีทั้งหมด7 โมเดล เป็นเครื่องช่วยเติมออกซิเจน ในน�้ำ เพื่อแก้ปัญหาน�้ำเน่า โดยทรงจดสิทธิบัตรเมื่อปี 2545 นั บ เป็ น เครื่ อ งเติ ม อากาศเครื่ อ งที่ 9 ในโลกที่ จ ดสิ ท ธิ บั ต ร กั ง หั น น�้ ำ ชั ย พั ฒ นาได้ รั บ รางวั ล ระดั บ นานาชาติ ห ลายรางวั ล และได้น�ำไปใช้ไกลที่สุดในสวนสาธารณะกรุงบรัสเซลส์ ประเทศ เบลเยี่ยม”

47 issue 126 juLY 2018


48 IS AM ARE www.fosef.org


49 issue 126 juLY 2018


50 IS AM ARE www.fosef.org


51 issue 126 juLY 2018


52 IS AM ARE www.fosef.org


53 issue 126 juLY 2018


54 IS AM ARE www.fosef.org


55 issue 126 juLY 2018


56 IS AM ARE www.fosef.org


57 issue 126 juLY 2018


58 IS AM ARE www.fosef.org


59 issue 126 juLY 2018


มุมมองการประชุม ของ CEO รุ ่นใหม่ 60 IS AM ARE www.fosef.org


ตัดสินใจ เพราะเขาต้องการจะรู้แน่ก่อนว่าประชุมไปท�ำไม ถ้า เป็นการประชุมเพื่อตัดสินใจประชุมเสร็จยังไงข้อสรุปก็ต้องได้ ออกมา.

“เดินออกจากห้องประชุมไปเลย ถ้าเห็นอยู่แล้วว่านั่ง ไปก็ไม่ได้เพิ่มมูลค่าอะไร มันไม่ได้หยาบคายหรอกครับถ้าคุณ จะเดินออก การที่ผมจะให้คุณนั่งเสียเวลาอยู่ต่างหากที่หยาบ คาย” Elon Musk - CEO ของ Tesla. การประชุมเป็นกิจกรรมที่พนักงานออฟฟิศต้องพบเจอ ตลอด จนหลายๆ ทีเราก็อาจรู้สึกว่ามันมากเกินไปกระทั่งกิน เวลางาน แต่หลายๆ บริษัทก็ยังเห็นว่าการประชุมเป็นกิจวัตร เป็นสิ่งจ�ำเป็น. เหล่า CEO รุ่นใหม่ๆ ก็เห็นว่าภาวะแบบนั้นเป็นปัญหา ต่อผลิตภาพของบริษัท หลายๆ คนก็เลยมีแนวคิดการประชุมที่ แหวกแนวกว่า CEO รุ่นเก่า. Elon Musk แห่ง Tesla แจ้งพนักงานในจดหมายเวียน ว่าถ้าใครไม่ได้มีประโยชน์ต่อการประชุม ก็ไม่ควรจะต้องมานั่ง อยู่ในห้องประชุม เพราะงานอื่นเขาก็มีท�ำ ดังนั้นจะเดินออกจาก ห้องประชุมไปดื้อๆ เลยเขาก็ไม่ว่า ซึ่งเป็นการมองที่แหวกแนว มาก เพราะด้วยมารยาทในโลกธุรกิจปกติ การที่จู่ๆ คนเดินออก จากการประชุมถือเป็นเรื่องไม่สุภาพ.

ซึ่งวิธีคิดแบบนี้คล้ายๆ Bill Gates อดีต CEO ของ Microsoft ซึ่งเคยกล่าวไว้อย่างโด่งดังว่า “เราประชุมเพื่อตกลง ว่าเราจะเอายังไงกับปัญหา ไม่ใช่ประชุมเพื่อตกลงกันว่าอะไร คือปัญหา”. นอกจากนี้ ถ ้ า จะพู ด ถึ ง องค์ ป ระกอบการประชุ ม ของ บริษัท ทุกวันนี้หลายๆ ครั้งมันก็จะเป็นการพรีเซนต์ PowerPoint ยาวยืดไปไม่น้อย และนี่ท�ำให้คนอย่าง Steve Jobs แห่ง Apple ผู้ล่วงลับก็เป็นคนที่เกลียดการใช้ PowerPoint ในห้องประชุมมาก เพราะสิ่งที่เขาเจอคือสไลด์ยืดยาว แต่ไม่ เข้าประเด็นซะที และการบังคับให้คนพูดประเด็นออกมาตรงๆ ชัดๆ เลยผ่านการห้ามใช้ PowerPoint ก็เวิร์กดี ดังที่เขาบอก ว่า “คนที่เขารู้ว่าตัวเองจะพูดอะไร เขาไม่ต้องใช้ PowerPoint หรอกครับ”. ซึ่งถ้าเป็นกรณีของ Amazon ทาง Jeff Bezos เคยออก มาแบนการใช้ PowerPoint ชัดๆ เลย และให้การ “น�ำเสนอ” ในการประชุมนั้นผ่านการเขียนบันทึกสั้นๆ ที่ผู้เข้าประชุมจะ นั่งอ่านกันก่อนช่วงแรกของการประชุมก่อนจะคุยกัน ซึ่งเขาก็ กล่าวว่า. “ข้อเขียนที่มีโครงสร้างที่ดีคือสิ่งที่เราต้องการ มันไม่ควร จะเป็นแค่ข้อเขียนเฉยๆ อะไรก็ได้เพราะ ถ้าใครเขียนออกมาชื่อ ประเด็นต่างๆ มาเป็น bullet points มันก็คงจะเลวร้ายพอๆ กับการท�ำ PowerPoint. ทั้งนี้การเขียนบันทึกเป็นข้อเขียนยาว 4 หน้ามันยาก กว่าการท�ำ PowerPoint 20 หน้าก็เพราะ การเขียนบันทึก โครงสร้างมันจะบังคับให้คนเขียนคิดถึงประเด็นอย่างละเอียด ว่าประเด็นมันเกี่ยวกันอย่างไร อะไรส�ำคัญกว่าอะไร”. เราจะเห็นได้ว่าคนเหล่านี้ซีเรียสกับประสิทธิภาพของ การประชุมมากๆ เพราะเวลาเขาเป็นเงินเป็นทองทั้งนั้น cc: @Brandthinkbiz

Jeff Bezos แห่ง Amazon มองว่าการประชุมควรจะ คุยกันวงเล็กๆ คุยวงใหญ่ๆ ไม่เวิร์ก เพราะเสียเวลา และกฎของ เขาคือที่ประชุมต้องไม่เกินจ�ำนวนคนที่กินพิซซ่าสองถาดได้อิ่ม มากกว่านั้นถือว่าคนเยอะเกินไป. Mark Zuckerberg แห่ ง Facebook ถ้ า ถู ก เรี ย ก ประชุ ม เขาจะถามเลยว่ า นี่ คื อ การประชุ ม เพื่ อ อภิ ป รายหรื อ 61

issue 126 juLY 2018


จิตอาสา

“หนทางอยู่ร่วมกันในสังคม” เริ่มที่คุณ..

การร่ ว มมื อ กั น รณรงค์ ส ่ ง เสริ ม “จิ ต อาสา” ให้ เ กิ ด ขึ้ น ในประเทศไทย เป็ น การเรี ย ก “น�้ ำ ใจงาม”ของคนไทย ให้ ก ลั บ มาอี ก ครั้ ง หนึ่ ง และควรจะต้ อ งดี ขึ้ น กว่ า เดิ ม เพราะ จะไม่ จ� ำ กั ด อยู ่ เ ฉพาะญาติ มิ ต ร เพื่ อ น หรื อ คน รู ้ จั ก เท่ า นั้ น แต่ ค วรต้ อ งเผื่ อ แผ่ ดู แ ลสั ง คมไทย ดู แ ลสิ่ ง แวดล้ อ ม ชุ ม ชน ตลอดจนปั ญ หาต่ า งๆรอบๆตั ว ร่ ว มกั น ร่ ว มกั น สร้ า งสรรค์ สิ่ ง ดี ๆ ท� ำ ดี ใ ห้ เ ป็ น รู ป ธรรมกั น มากขึ้ น ใน ไม่ เ พี ย งแต่ รอดู ว ่ า ใครจะรั บ ผิ ด ชอบเรื่ อ งอะไร แต่ ค วรต้ อ งออกมา มี ส ่ ว นร่ ว มรั บ ผิ ด ชอบด้ ว ยกั น 62 IS AM ARE www.fosef.org


บทความพิ เ ศษ ในยุโรป หรืออเมริกา ค่านิยมในการเป็นอาสาสมัครมี มานานแล้ว อันเนื่องมาจากแรงผลักดันของศาสนาคริสต์ และ ความคิดเรื่องประชาสังคมในสังคมตะวันตกที่มีส่วนผลักดันให้ เกิดอาสาสมัครอย่างต่อเนื่อง ยุคแรกของจิตอาสาในไทยมา จากการรวมตัวช่วยเหลือกันในหมู่ชาวจีนโพ้นทะเล ต่อมาเกิด กิจกรรมค่ายอาสาพัฒนาตามสถาบันการศึกษา และโดยเฉพาะ การเกิดขึ้นของเอ็นจีโอ ท�ำให้ความคิดเรื่องการท�ำงานอาสา สมัครช่วยเหลือสังคมแพร่หลาย มื่อกล่าวถึง “จิตอาสา” อาจจะเป็นค�ำใหม่ที่เริ่มเป็นที่ รู้จักกันในวงกว้างไม่ถึง 10 ปี ผู้น�ำค�ำนี้มาใช้ครั้งแรกในน่าจะ เป็นเครือข่ายพุทธิกา ในโครงการ “ฉลาดท�ำบุญด้วยจิตอาสา” ต่อมาค�ำนี้ได้ถูกน�ำไปใช้อย่างแพร่หลาย พระไพศาล วิสาโล ได้ ให้ความหมาย.. ที่ ผ ่ า น ม า ค น ไ ท ย อ า จ เ ค ย ชิ น กั บ ก า ร ท� ำ ค ว า ม ดี ด้ ว ยการใช้ เ งิ น ลงทุ น ในการท� ำ บุ ญ ไม่ ค ่ อ ยอยาก ออกแรงช่ ว ยเหลื อ เพราะถื อ ว่ า การท� ำ บุ ญ กั บ สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ หรื อ ผู ้ มี บุ ญ บารมี จ ะท� ำ ให้ ค น ๆ นั้ น ได้ บุ ญ มากขึ้ น “จิตอาสา” ว่า คือจิตที่ไม่นิ่งดูดายต่อสังคม หรือความ ทุ ก ข์ ย ากของผู ้ ค น และปรารถนาเข้ า ไปช่ ว ย ไม่ ใช่ ด ้ ว ยการ ให้ทาน ให้เงิน แต่ด้วยการสละเวลา ลงแรงเข้าไปช่วย ด้วย จิตที่เป็นสุขที่ได้ช่วยผู้อื่น จะเน้นว่า ไม่ใช่แค่ท�ำประโยชน์เพื่อ ผู้อื่นอย่างเดียว แต่เป็นการพัฒนา “จิตวิญญาณ” ของเราด้วย “จิตอาสา” คือ ผู้ที่มีจิตใจที่เป็นผู้ให้ เช่น ให้สิ่งของ ให้ เ งิ น ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ด้ ว ยก� ำลั ง แรงกาย แรงสมอง ซึ่ ง เป็นการเสียสละ สิ่งที่ตนเองมี แม้กระทั่งเวลา เพื่อเผื่อแผ่ ให้ กับส่วนรวม…อีกทั้งยังช่วยลด “อัตตา” หรือความเป็นตัว เป็น ตนของตนเองลงได้บ้าง “อาสาสมัคร” เป็นงานที่เกิดจากผู้ที่มี จิตอาสา ซึ่ง มี ค วามหมายอย่ า งมาก กั บ สั ง คมส่ ว นรวม เป็ น ผู ้ ที่ เ อื้ อ เฟื ้ อ เสียสละ เวลา แรงกาย แรงใจ เพื่อช่วยเหลือผู้อื่น หรือ สังคม ให้เกิด ประโยชน์และความสุขมากขึ้น การเป็น “อาสาสมัคร” ไม่ว่าจะเป็นงานใดๆ ก็แล้วแต่ที่ ท�ำให้เกิดประโยชน์ในทางบวก ล้วนแต่เป็นสิ่งที่เราควรท�ำทั้งสิ้น คนที่จะเป็นอาสาสมัครได้นั้น ไม่ได้จ�ำกัดที่ วัย การศึกษา เพศ อาชีพ ฐานะ หรือ ข้อจ�ำกัด ใดๆ ทั้งสิ้น หากแต่ต้องมีจิตใจ เป็น “จิตอาสา” ที่อยากจะช่วยเหลือผู้อื่น หรือสังคม เท่านั้น 63 issue 126 juLY 2018


กิ จ กรรมอาสาสมั ค ร เป็ น กระบวนการของการฝึ ก “การให้” ที่ดีเพื่อขัดเกลาละวางตัวตน และบ่มเพาะความรัก ความเมตตาผูอ้ นื่ โดยไม่มเี งือ่ นไข ทัง้ นี้ กระบวนการของกิจกรรม ซึ่งเป็นการยอมสละตน เพื่อรับใช้และช่วยเหลือแก้ไขวิกฤติ ปัญหาของสังคม อาสาสมัครจะได้เรียนรู้ละเอียดอ่อนต่อสิ่งที่ เกิดขึ้นรอบตัวมากขึ้น สัมผัสความจริง เชื่อมโยงเหตุและปัจจัย ความสุขและความทุกข์ เจริญสติในการปฏิบัติงาน ที่ศาสนาพุทธ เรียกว่า พรหมวิหาร 4 คือ เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา เพื่อให้เกิด “การให้” ที่ดี กิจกรรมอาสาสมัคร จึงเป็นกระบวน การที่ช่วยให้บุคคลได้ขัดเกลาตนเอง เรียนรู้ภายใน และเกิด ปัญญาได้ ที่ผ่านมาคนไทยอาจเคยชินกับการท�ำความดีด้วยการใช้ เงินลงทุนในการท�ำบุญ ไม่ค่อยอยากออกแรงช่วยเหลือ เพราะ ถือว่า การท�ำบุญกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือผู้มีบุญบารมีจะท�ำให้

คน ๆ นั้นได้บุญมากขึ้น คนไทยจึงมักท�ำบุญกับพระ บริจาคเงิน สร้างโบสถ์ แต่ละเลยการ “ช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์” ไม่ง่ายนักที่จะท�ำดี ให้ได้ดีกับผู้รับจริง ๆ “ประชาสังคม” หมายถึง สภาพสังคมที่มีองค์ประกอบ อันหลากหลาย มีฐานมาจากประชาชนทั่วไป ไม่ว่าจะเป็นก ลุ่ม องค์กร ชมรม สมาคม มูลนิธิ มาสร้างเป็นเครือข่าย เพื่อ ท�ำกิจกรรมต่าง ๆ ผลักดันให้สังคมเกิดความเปลี่ยนแปลงใน ทางที่ดีขึ้น ความส�ำนึกในเรื่อง “ประชาสังคม” มีมานานแล้วใน สังคมตะวันตก คือ ความรู้สึกว่าเราไม่สามารถจะมีความสุขได้ ถ้าเราปล่อยปละละเลยสังคมความรู้สึกว่าเราต้องรับผิดชอบต่อ สังคม ตรงนี้เป็นคุณธรรมของประชาสังคม และเป็นวัฒนธรรม ของสั ง คมอเมริ กั น คนจ� ำ นวนมากไม่ ศ รั ท ธาในศาสนา แต่ ถือเป็นหน้าที่ที่ต้องเสียสละเพื่อส่วนรวม อย่างน้อยต้องอุทิศ 64

IS AM ARE www.fosef.org


เงินเพื่อกิจการสาธารณะ เขามีส�ำนึกเรื่อง”จิตสาธารณะ” และ ฝรั่งเขาถือว่าถ้ารวยต้องช่วยสาธารณะ หรือถ้าว่างเสาร์ อาทิตย์ ก็ไปเป็นอาสาสมัครในโรงพยาบาล พิพิธภัณฑ์ เรื่องสิ่งแวดล้อม ฯลฯ ในญี่ปุ่น มีคนประเภทนี้เยอะเราไปเที่ยวก็ขอไกด์ฟรีได้ คน เหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นแม่บ้านมาเป็นอาสาสมัครทั้งวันบางทีเขายัง จ่ายค่าอาหารให้ด้วยเขามีความสุขเพราะรู้สึกว่าเป็นเมืองของ เขา เขาอยากช่วยเหลือสังคม ซึ่งตรงข้ามกับเมืองไทยที่รู้สึกว่า สังคมไม่ใช่ของเรา ความรู้สึกว่าป่าต้นน�้ำ ภูเขา หรือโทรศัพท์ สาธารณะเป็นของเรามีน้อยมาก คนไทยจะเน้นเรื่องรัฐมากกว่า สังคมท�ำให้รู้สึกว่าทรัพย์สินส่วนรวมเป็นของรัฐไม่ใช่ของส่วน รวม เขาถึงบอกว่ารัฐบาล”คอร์รัปชั่น”ก็ไม่เป็นไร ขอให้เอา เงินมาลงในหมู่บ้านก็แล้วกัน เหมือนดั่งนโนบายประชานิยม ของรัฐบาลก่อน ๆ ที่สร้างนิสัยการใช้เงินในสิ่งที่ไม่จ�ำเป็นให้ กับประชาชนจากเงินที่หว่านลงไปทุกหมู่บ้าน เพราะเขาคิดว่า งบประมาณแผ่นดินไม่ใช่ของเราเป็นของรัฐบาล จึงเห็นได้ว่า ความคิดเรื่องประชาสังคมในเมืองไทยยังไม่มี การท� ำ กิ จ กรรมกั บ ชมรมฯ ไม่ ว ่ า ด้ ว ยแรงจู ง ใจใด ๆ ในช่วงเริ่มต้น หากต่อมาขาดซึ่งความรักในสิ่งที่ท�ำด้วย “จิต อาสา” ในเวลาต่อมาแล้วไซ้ร์ ผลงานที่ออกมาก็เป็นเพียงสิ่ง

ที่เราท�ำสนุก ๆ เพื่อฆ่าเวลาที่ไม่รู้ว่าจะท�ำอะไรเท่านั้น ไม่มี คุ ณ ค่ า อั น ใด เพื่ อ สร้ า งจิ ต วิ ญ ญาณและพั ฒ นาจิ ต ส� ำ นึ ก เพื่ อ สังคมในตัวเรา สิ่ ง ที่ เราได้ จ ากการท� ำ กิ จ กรรมนั้ น มี ม ากมายเหลื อ คณานับ อยู่ที่คน ๆ นั้นที่จะไขว้คว้าเอง เพื่อให้ได้มาตามที่ใจ ปรารถนาเท่านั้น บทความ “จิตอาสา: ที่มาและความหมาย” โดย โครงการฉลาดท�ำบุญด้วยจิตอาสา เครือข่ายพุทธิกา

65 issue 126 juLY 2018


66 IS AM ARE www.fosef.org


พ่ อ แม่ ยุ ค ใหม่

รู้จักความทรงจ�ำระยะสัน้ เรามาท� ำ ความรู ้ จั ก “ความทรงจ� ำ ” ของเราว่ า มี กี่ประเภท เพื่อเราจะได้เข้าใจมากขึ้นเวลาที่เราดูแลกระตุ้นให้ เกิดความทรงจ�ำต่อสิ่งต่าง ๆรอบตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทบทวนกันสักนิดว่า ข้อมูลต่าง ๆ จะเข้าสู่สมองของเราผ่าน ประสาทสัมผัสทัง้ 6 นัน่ คือ รับภาพผ่านดวงตา รับเสียงผ่านหู รับ กลิ่นผ่านจมูก รับรสผ่านลิ้น รับความรู้สึกต่าง ๆผ่านผิวหนัง และ มีระบบรับสัมผัสภายในร่างกายและความรู้สึกของเราเอง ข้อมูล เหล่านี้จะน�ำไปเก็บตามส่วนต่างๆ ในสมองของเรา โดยล�ำดับ ขั้นการเก็บความทรงจ�ำ จะเริ่มบริเวณสมองส่วนกลาง (ฮิปโป แคมปัส รู้ชื่อไว้สักหน่อยเผื่อจะอ่านพบที่ไหน) มันจะท�ำหน้าที่ คล้ายพนักงานจัดระบบสายโทรศัพท์ในองค์กรคือ ช่วงแรก ๆ จะส่งข้อมูลไปเก็บไว้ที่ความทรงจ�ำระยะสั้น เช่น เมื่อเรามอง เห็นภาพบางอย่างที่น่าสนใจ (ขอย�้ำว่าต้องน่าสนใจ ไม่เช่นนั้น สมองจะไม่ไปจัดเก็บไว้เลย) ก็จะเก็บข้อมูลได้สัก 20 วินาที โดย เราจะมีระบบความจ�ำระยะสั้น 2 แบบคือ การจดจ�ำทันที กับ การจดจ�ำเพื่อใช้งาน ยกตัวอย่างเช่น เราจะพาลูกไปทานอาหาร ที่ร้านสักแห่ง ก็เปิดสมุดโทรศัพท์ เมื่อตาเรามองเห็นหมายเลข สมองจะจดจ�ำหมายเลขไว้นานพอที่เราจะหมุนโทรศัพท์ไปได้ แต่ระหว่างที่เราก�ำลังหมุนโทรศัพท์เกิดมีใครชวนเราคุย นั่นคือ ขัดขวางกิจกรรมที่จะท�ำให้สมาธิเสียไปพัก เราจะลืมหมายเลข ไป ต้องกลับมามองหาหมายเลขใหม่อีกครั้ง ตัวอย่างนี้คือ ความ ทรงจ�ำเพื่อใช้งานเป็นเวลาประมาณครึ่งนาทีเท่านั้น

ส่วนความจ�ำเพื่อใช้งานที่ซับซ้อนมากขึ้นนั้น ต้องการ กระบวนการมากกว่าที่กล่าวมา โดยเฉพาะเด็ก ๆ จะต้องได้รับ การฝึกฝนในการดึงข้อมูลที่มีในสมองออกมาใช้ให้เหมาะสม และมีประสิทธิภาพสูง ซึ่งเมื่อเป็นผู้ใหญ่จะเป็นตัวตัดสินว่า ลูก ของเรามีความสามารถในการคิด ตัดสินใจ และแสดงออกต่อสิ่ง ต่าง ๆ ได้ดีมากน้อยเพียงไร ก่อนที่ข้อมูลต่าง ๆจะถูกจัดเก็บไว้ ในความทรงจ�ำระยะยาว สมองเราจะเก็บข้อมูลส�ำคัญ ๆ ไว้ที่ ความทรงจ�ำส่วนที่ต้องใช้งาน อาจเป็นเวลาหลายชั่วโมง เป็น วัน สัปดาห์ หรือเดือน ความทรงจ�ำส่วนใช้งานนี้หากได้ใช้เป็น ประจ�ำ จนกระทั่งสมองตระหนักว่าเป็นข้อมูลที่ส�ำคัญต่อชีวิต ของเรา ข้อมูลส่วนนี้ก็จะถูกน�ำไปเก็บไว้ที่ความทรงจ�ำระยะยาว แล้วข้อมูลใหม่ ๆ ที่เข้าสู่สมองของเราจะถูกเชื่อมโยงกับข้อมูลที่ มีอยู่แล้ว ในสมองของเราเปรียบได้กับเครื่องประมวลผลข้อมูล ขนาดใหญ่มาก ๆ สมมติว่า เด็กจะต้องท�ำโจทย์คณิตศาสตร์ที่ โรงเรียน เมื่อคุณครูให้โจทย์บนกระดาน เด็กเห็นภาพโจทย์ส่ง ไปที่สมอง สมองของเด็กจะค่อย ๆ น�ำโจทย์นี้ไปเปรียบเทียบ กับข้อมูลที่มีอยู่แล้ว ถ้าเด็กมีความจ�ำเกี่ยวกับตัวเลขและวิธี ท�ำอยู่แล้ว และสามารถดึงข้อมูลออกมาได้ทันทีก็จะท�ำโจทย์ ได้อย่างรวดเร็ว แต่ถ้าหากว่ามีปัญหาเช่น เป็นตัวเลขที่ไม่เคย เห็นมาก่อน สมองเด็กจะพยายามเทียบเคียงดูว่า พอจะเข้ากับ อะไรได้บ้าง ถ้าหากพอจะเทียบเคียงกับสิ่งที่มีอยู่ได้ ก็จะค่อย ๆ ลองท�ำดู ลองผิดลองถูกจนกระทั่งท�ำได้ หากเด็กมีความอดทน

67 issue 126 juLY 2018


ก็จะลองพยายามท�ำเอง เพราะเป็นเรื่องท้าทาย (และขอย�้ำตรง นี้ว่าความสามารถของลูกในการใช้สมองแก้ไขปัญหาไม่ว่าเล็ก หรือใหญ่ มากหรือน้อย จะขึ้นกับคุณพ่อคุณแม่สอนด้วยค่ะ ที่ จะฝึกให้เด็กมีความอดทนในการแก้ปัญหาด้วยตนเอง โดยไม่ เข้าไปช่วยเหลือเร็วหรือมากเกินไป อย่าลืมว่า ถ้าเด็กได้รับการ ช่วยเหลือมาก ก็เท่ากับเราไปขัดขวางการท�ำงานของสมองเด็ก จะท�ำให้เด็กไม่อดทนที่จะแก้ปัญหา และความสามารถในการ ดึงข้อมูลมาใช้ก็จะมีน้อย โตขึ้นก็จะล�ำบากทีเดียว) คุณพ่อคุณ แม่จะต้องพยายามกระตุ้นและฝึกให้ลูกมีความอดทนที่จะดูแล แก้ไขปัญหาในชีวิตประจ�ำวันด้วยตนเอง ซึ่งจะเป็นการฝึกฝน ให้ลูกสามารถแก้ปัญหายากๆขึ้นได้ในอนาคต ลองมาท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับความทรงจ�ำระยะยาว ของเราบ้าง ข้อมูลเกี่ยวกับสมองในปัจจุบัน มีค�ำถามมากมาย ว่า ข้อมูลใหม่ ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับความทรงจ�ำเดิม ๆ ของเรา จะถูกจัดเก็บเข้าไปในความทรงจ�ำระยะยาวได้หรือไม่ และจะ ท�ำอย่างไร เป็นปัญหาที่คุณครูทั้งหลายคงอยากได้ค�ำตอบ เพื่อ ที่ว่า จะได้ช่วยลูกศิษย์ส�ำหรับวิชาใหม่ ๆ ที่ไม่เคยเห็น และครู ก็ไม่แน่ใจว่าจะสามารถเชื่อมโยงความรู้ใหม่ไปกับความทรงจ�ำ เก่าของเด็กได้หรือไม่ เพราะเด็กแต่ละคนก็ได้รับการเลี้ยงดูไม่ เหมือนกัน ถ้าเรามีข้อมูลเกี่ยวกับการสร้างความทรงจ�ำระยะ ยาวหลาย ๆ วิธีก็คงจะช่วยลูกศิษย์เราได้ง่ายขึ้น สิ่งที่จะช่วยได้

ชัดเจนก็คือ การใช้ดนตรี ศิลปะ การเคลื่อนไหวเป็นฐานในการ สร้างบทเรียนใหม่ ๆ ให้เด็ก เช่น ถ้าต้องการเพิ่มค�ำศัพท์ต่าง ๆ ให้มากขึ้นทั้งวลี ประโยคยาวขึ้น แทนที่จะสอนให้อ่านหนังสือ ที่น่าเบื่อ คุณครูหรือพ่อแม่ควรหาเพลง ค�ำกลอน (ไม่ต้องเป็น เพลงฮิตติดตลาดก็ได้ แม้แต่เพลงที่แต่งขึ้นเองก็ได้ เพลงอาจไม่ เพราะด้วยหูของเรา แต่ถ้าเด็กสนุกและชอบมัน ก็ถือว่าเราท�ำได้ ถูกต้องและเด็กจะจดจ�ำได้ง่ายและรวดเร็วด้วย) เพราะว่า ดนตรี เพลง ศิลปะ และการเคลื่อนไหวจะกระตุ้นส่วนของอารมณ์ ความรู้สึกเด็กให้สนใจ ชอบ ตื่นเต้น ท้าทาย และเข้าสู่บทเรียน ใหม่ได้ง่ายขึ้นมาก และยังช่วยกระตุ้นเสริมความทรงจ�ำอีกด้วย ขณะเดียวกันอย่าลืมให้เด็กเปรียบเทียบสิ่งที่เหมือน แตกต่าง กับสิ่งที่ก�ำลังเรียนรู้อยู่ ซึ่งจะช่วยท�ำให้เด็กเข้าใจเรื่องที่เรียนอยู่ อย่างลึกซึ้งมากขึ้นด้วย

สมองเด็ ก จะซึ ม ซั บ จากทุ ก วาระที่ ม องเห็ น (อาจมี ค น อธิ บ ายหรื อ ไม่ มี ) ว่ า ใบไม้ กิ่ ง ไม้ และสิ่ ง ต่ า ง ๆ จะ ตกลงจากที่ สู ง ลงสู ่ พื้ น ดิ น เสมอ อาจตกช้ า หรื อ เร็ ว ก็ คื อ ตก แน่ น อนเด็ ก ไม่ เ ข้ า ใจว่ า ท� ำ ไมสิ่ ง ต่ า ง ๆ จึ ง ตกลงมาสู ่ ดิ น หรื อ สู ่ ที่ ต�่ ำ กว่ า เสมอ ก็ ค งตั้ ง ค� ำ ถาม กั บ คุ ณ พ่ อ คุ ณ แม่ หรื อ คุ ณ ครู ผู ้ ใ หญ่ อ ย่ า เบื่ อ นะคะ

รู ้ จั ก ความทรงจ� ำ ระยะยาว ต่ อ ไป มาท� ำ ความเข้ า ใจเรื่ อ งความทรงจ� ำ ระยะยาว ซึ่งจะเป็นฐานส�ำคัญส�ำหรับเด็ก ๆ ในการด�ำเนินชีวิตเมื่อเขา เป็นผู้ใหญ่ต่อไป ส�ำคัญมากก็คือ ความทรงจ�ำที่จะอยู่นานไป จนถึงผู้ใหญ่อยู่บนฐานของการที่วงจรในสมองของเราหนาแน่น เพราะใช้บ่อย ๆ คงจ�ำได้ว่า ในแต่ละเรื่องราวที่เราเก็บไว้ใน ความทรงจ�ำ จะประกอบด้วยข่ายใยของเซลล์ประสาทเชื่อมโยง ทั่วไปหมด นั่นคือต้องมีความเชื่อมโยงกับเซลล์รับสัมผัสทุกส่วน ไปกับส่วนที่ท�ำหน้าที่จัดระบบความจ�ำ และไปถึงสมองส่วนบน เปลือกสมอง และสมองส่วนหน้า เพื่อจะสามารถใช้สมองส่วน หน้าของเราพิจารณาใช้ข้อมูลเมื่อถึงวาระที่จ�ำเป็น ดังนั้นไม่ต้อง กลัวเสียเปล่า ถ้าคุณพ่อคุณแม่จะขยันและให้เวลากับลูกในการ จัดบทเรียนประสบการณ์ในชีวิตจริง ๆ ฝึกให้ลูกใช้มือ นิ้วมือ 68

IS AM ARE www.fosef.org


ไม่รู้จักดึงออกมาใช้ก็จะกลายเป็นเสียเปล่า เพราะฉะนั้นการ ฝึกฝนลูกจึงต้องท�ำอย่างน้อย 2 กระบวนการคือ กระบวนการ รับจัดเก็บข้อมูลที่ส�ำคัญเข้าไปในความทรงจ�ำระยะยาว กับ กระบวนการดึงข้อมูลออกมาใช้ได้เร็ว และมีประสิทธิภาพ ขอ ยกตัวอย่างง่าย ๆ เพื่อให้เห็นความแตกต่างของคนแต่ละคน ทุกท่านคงเคยได้ยินเรื่องเล่าตลกร้ายบ่อย ๆ ที่ว่า เวลาที่ไฟ ไหม้ใกล้บ้าน คนบางคนตกใจแล้วแบกตุ่มน�้ำหรือตู้เย็นที่มีขนาด ใหญ่มาก ๆ ได้ โดยทิ้งก�ำปั่นทองหรือของมีค่าอื่น ๆ ให้ไหม้ไฟ ไป เราคงอยากรู้ว่า มีอะไรเกิดขึ้นในสมองของเขาที่ท�ำให้เขา ตัดสินใจเช่นนั้น ถ้าเข้าใจเรื่องส่วนต่าง ๆ ของสมอง ก็จะเข้าใจ ได้ไม่ยากนัก หวังว่าคงจ�ำได้ว่า เรามีสมองส�ำคัญ ๆ 3 ส่วนคือ ก้านสมอง (มรดกสมองจากสัตว์เลื้อยคลาน) ท�ำหน้าที่ดูแล เรื่องการอยู่รอด และจะท�ำงานอย่างหนักหากเกิดเหตุการณ์ที่ ท�ำให้ตกใจ เกรงกลัวอันตรายที่มาคุกคาม หรือความเจ็บปวด สมองส่วนกลาง (ตกทอดจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม) ท�ำหน้าที่ เรื่องความสัมพันธ์ระหว่างคนในครอบครัวและสังคม ควบคุม เรื่องอารมณ์ และเป็นส่วนจัดระบบความทรงจ�ำ และสมอง ส่วนบน (เปลือกสมองและสมองส่วนหน้า) เป็นสมองมนุษย์ จริง ๆ ท�ำหน้าที่ด้านเก็บข้อมูล ประสบการณ์ความทรงจ�ำ การ คิดวิเคราะห์ จินตนาการ สั่งการในเรื่องที่ต้องการข้อมูลและ การคิดที่ซับซ้อน เวลาที่เราตกใจสมองส่วนดึกด�ำบรรพ์ของ เรา คือ ก้านสมองจะท�ำงานเป็นแนวหน้า เพราะสมองรับรู้ว่า ต้องหาทางเอาตัวรอดเห็นไฟมาใกล้บ้านแล้ว ก้านสมองจะตัด

ใบหน้า ในการจัดการกับปัญหาที่พบในชีวิตประจ�ำวัน แม้แต่ การยิ้ม ฝึกพูด นั่นก็คือการฝึกใช้กล้ามเนื้อรอบริมฝีปาก ลิ้น ฟัน เหงือก และส่วนอื่น ๆของใบหน้า ซึ่งเรามักจะละเลย เรา คงเคยแปลกใจว่า ท�ำไมบางคนยิ้มสวย บางคนหน้าตาบูดบึ้ง ดุตลอดเวลา เหตุผลหนึ่งก็คือ คนเหล่านั้นไม่ได้รับการฝึกฝน ในเรื่องการใช้กล้ามเนื้อใบหน้าอย่างใส่ใจมากพอ ถ้าในวัยเด็ก ชีวิตเคร่งเครียด ถูกตี ถูกว่าบ่อย ๆ หรือพื้นอารมณ์เดิมของ เด็กค่อนข้างโกรธง่าย โกรธแรง และไม่ได้รับการช่วยเหลือประ คับประคองและฝีกสอนให้ยิ้ม ก็จะพัฒนาบุคลิกภาพตอนโตใน แบบที่เราอาจไม่ชอบเท่าไร .. เพราะฉะนั้นเราฝึกลูกเราได้ค่ะ กลั บ มาเรื่ อ งการช่ ว ยพั ฒ นาลู ก ให้ มี ค วามสามารถ ในการใช้ความทรงจ�ำระยะยาว จากประสบการณ์ตั้งแต่เด็กเพื่อ วิเคราะห์แยกแยะสภาพที่ปรากฏหรือปัญหา แล้วสังเคราะห์ ร่วมกับข้อมูลที่มีอยู่ในสมองออกมาเป็นทางเลือกในการแก้ไข ปั ญ หาหรื อ ตั ด สิ น ใจในการจั ด การสิ่ ง รอบตั ว ในวั ย ผู ้ ใ หญ่ ประเด็นส�ำคัญที่คุณคงจับหลักได้แล้วก็คือ หากเด็กมีจ�ำนวน ข้อมูลในสมองมากเท่าไร ก็จะมีโอกาสมากกว่าเด็กที่มีข้อมูล หรือความทรงจ�ำน้อย นั่นคือเบื้องต้น ถ้ามีข้อมูลมาก ๆ แต่ 69

issue 126 juLY 2018


สมองเมื่อถึงเวลาเหตุวิกฤต จวนตัว ดังที่ยกตัวอย่างมาแล้ว ซึ่ง เราจะต้องฝึกลูกตั้งแต่เด็ก อีกสักตัวอย่างหนึ่ง ถ้าลูกของเราจะ อ่านบทความยากสักบทหนึ่ง เขาต้องการข้อมูลบางส่วนที่มีอยู่ ในสมองที่เชื่อมโยงกับเรื่องที่เขาอ่าน จึงจะท�ำความเข้าใจส่วน ที่ยากขึ้นได้ หากว่าอ่านแล้วไม่รู้เรื่องอะไรเลย สมองว่างเปล่า เช่น คุณที่ไม่เคยเรียนเกี่ยวกับกฎหมาย ไปอ่านต�ำรากฎหมาย ศัพท์บางค�ำที่เราไม่เคยเห็นเราไม่เข้าใจ ก็อาจท�ำให้เราไม่เข้าใจ ข้อความในตัวกฎหมายนั้นเลย หรือ กฎด้านเศรษฐศาสตร์การ เงิน การธนาคาร ถ้าเราไม่เคยรู้จักศัพท์ที่เขาใช้ในต�ำรานี้เลย ความรับรู้ของประสาทสัมผัสเกือบทั้งหมด และสั่งการให้กล้าม ก็เป็นการยากที่จะเข้าใจทฤษฎีเหล่านั้นได้ง่าย ๆ ถ้าเราฝึก เนื้อคว้าของใกล้ตัว (หรือบางทีก็เป็นสิ่งของที่เราก�ำลังด�ำเนิน ให้ลูกอดทนที่จะฝ่าฟันเรื่องยาก ที่แม้ว่าตอนแรกจะไม่เข้าใจ กิจกรรมอยู่ด้วย เช่นก�ำลังเปิดตู้เย็น หรือ ก�ำลังอาบน�้ำ) และ เลย แต่ค่อยๆ เรียนรู้ไปทีละนิด ลูกก็จะสะสมความอดทน สติ จะหลั่งสารเคมีไปตัดการคิดของเราทันที เพื่อตอบสนองได้ทัน และสามารถท�ำความเข้าใจเรื่องยาก ๆ ได้ทีละเล็กละน้อยจน ควันไม่ต้องคิดมาก พูดง่าย ๆคือ ท�ำตามสัญชาตญาณนั่นเอง สามารถประสบความส�ำเร็จได้ จากเรื่องเล็ก ก็จะก้าวไปสู่เรื่อง ถ้าเช่นนั้นท�ำไมบางคนจึงสามารถรวบรวมสติไตร่ตรองว่า ใน ใหญ่ต่อไป เพราะฉะนั้นก้าวแรกในบ้านและในโรงเรียนเด็กเล็ก เวลาคับขันไฟไหม้ใกล้บ้านแล้วจึงเข้าไปค้นเอาของมีค่าแทนที่ จนถึงประถมศึกษาเป็นก้าวส�ำคัญอย่างยิ่งที่จะช่วยลูก ๆ ให้ จะแบกโทรทัศน์หรือตุ่มน�้ำออกมา นั่นก็เพราะ เขาได้รับการ ประสบความส�ำเร็จและด�ำเนินชีวิตได้ดีตามควรเมื่อเป็นผู้ใหญ่ ฝึกฝนให้มีสติก่อนจะถูกก้านสมองควบคุมให้ท�ำอะไรรีบด่วน อย่าลืมว่า ก้าวใหญ่เริ่มจากก้าวเล็ก ๆ ในวัยเด็กเสมอ เมื่อเราใช้ความทรงจ�ำระยะยาว เพื่อเผชิญปัญหาวิกฤต ตามสัญชาตญาณ นั่นหมายถึง เราจะต้องฝึกฝนเด็กของเราให้มี สติคิดใคร่ครวญก่อนจะผลีผลามลงมือท�ำ เพื่อฝึกให้เกิดวงจรสติ หรือ เรื่องยาก ๆ ที่ไม่คุ้นเคย ไปแล้ว ที่ส�ำคัญคือการฝึกวงจรสติ ในสมองส่วนหน้าที่จะมีความเข้มแข็งมากพอที่จะเอาชนะก้าน ให้เท่าทัน เพื่อมิให้ตกเป็นรองสมองส่วนสัญชาตญาณมากเกิน 70 IS AM ARE www.fosef.org


ไป จนท�ำอะไรที่ไม่สมเหตุสมผลอย่างที่ได้เกริ่นในฉบับที่แล้ว จัดแบ่งความทรงจ�ำระยะยาวเป็น 2 ประเภทคือ ความทรงจ�ำ ที่ชัดเจนเห็นได้ง่าย กับ ความทรงจ�ำที่แสดงเป็นนัย จับต้องเป็น รูปธรรมไม่ชัดเจน มาท�ำความเข้าใจความทรงจ�ำแต่ละแบบเพื่อจะเข้าใจ และคิดกิจกรรมหรือวิธีที่จะช่วยลูก ๆ ของเราสร้างความทรง จ�ำ แต่ต้องไม่ลืมว่า ความทรงจ�ำทุกระบบจะท�ำงานร่วมกันเมื่อ เราเป็นผู้ใหญ่ ความทรงจ�ำที่ชัดเจน ปรากฏเป็นรูปธรรมในสมองของ เรา เราใช้ความทรงจ�ำส่วนนี้เมื่อเราต้องดึงข้อมูลจากสิ่งที่ตั้งใจ เรียนรู้ในอดีต โดยแบ่งได้เป็น 2 ระบบย่อยคือ ชุดความทรง จ�ำที่เกี่ยวเนื่องด้วยสัญลักษณ์ เช่น ค�ำ ประโยค ความคิด ซึ่ง เราจะสะสมจากข้อมูลทั้งผ่านการมองเห็น ได้ยินเสียง ทั้งที่ เป็นตัวหนังสือ ภาพ ฯลฯ ซึ่งเด็ก ๆ จะค่อย ๆ สะสมและสร้าง เป็นแนวคิดจากง่าย ๆ มาสู่สิ่งที่ยากขึ้น เช่น ก่อนเด็กจะเข้าใจ เรื่อง “แรงโน้มถ่วงของโลก” สมองเด็กจะซึมซับจากทุกวาระ ที่มองเห็น (อาจมีคนอธิบายหรือไม่มี) ว่า ใบไม้ กิ่งไม้ และสิ่ง ต่าง ๆ จะตกลงจากที่สูงลงสู่พื้นดินเสมอ อาจตกช้าหรือเร็ว ก็คือตก แน่นอนเด็กไม่เข้าใจว่าท�ำไมสิ่งต่าง ๆ จึงตกลงมาสู่ ดินหรือสู่ที่ต�่ำกว่าเสมอ ก็คงตั้งค�ำถามกับคุณพ่อคุณแม่ หรือ คุณครู ผู้ใหญ่อย่าเบื่อนะคะ หากลูก ๆ เฝ้าแต่ถามเรา แม้เรา จะพยายามอธิบาย (ส่วนมากเราอธิบายด้วยภาษาผู้ใหญ่ เพราะ เราเข้าใจเรื่องแรงโน้มถ่วงของโลกมาแล้ว) ยิ่งลูกเล็กเท่าไร ก็ ต้องพยายามหาค�ำพูดที่ง่าย และเป็นรูปธรรมให้มากที่สุด โดย ให้ลูกได้ทดลองด้วยตนเอง ในตอนแรกลองให้ลูกโยนลูกบอล เล็ก ๆ ขึ้นฟ้า แล้วก็ให้สังเกตโดยเราคอยตั้งค�ำถามว่า ลูกเห็น อะไรบ้าง ลูกบอลขนาดเล็ก กับลูกบอลขนาดใหญ่แตกต่างกัน อย่างไร ตกลงเร็วหรือช้า ตกลงในลักษณะแนวดิ่ง หรือ แนวโค้ง

ความทรงจ� ำ ระยะยาวซึ่ ง จะเป็ น ฐานส� ำ คั ญ ส� ำ หรั บ เด็ ก ๆ ในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต เมื่ อ เขาเป็ น ผู ้ ใ หญ่ ต ่ อ ไป ส� ำ คั ญ มากก็ คื อ ความทรงจ� ำ ที่ จ ะอยู ่ น านไปจนถึ ง ผู ้ ใ หญ่ อ ยู ่ บ นฐานของการที่ ว งจรในสมองของเรา หนาแน่ น เพราะใช้ บ ่ อ ย ๆ ถ้าให้ดี ก็เตรียมเครื่องชั่งน�้ำหนักไว้ ให้ลูกลองชั่งดูว่า ลูกบอล หรือสิ่งของอื่น ๆ (โดยเราคอยช่วยเหลือ กระตุ้น และระมัดระวัง ด้านความปลอดภัย) หาสิ่งที่เป็นสัญลักษณ์แทนน�้ำหนักหากลูก ยังขีดเขียนบันทึกน�้ำหนักไม่ได้ โดยให้ลูกชั่งน�้ำหนักแล้วลองยก ด้วยตัวเอง อันไหนหนักกว่ากัน อันที่หนักกว่า ตกลงมาเร็วกว่า ไหม ก็เป็นตัวอย่างที่เราจะท�ำให้เด็กเริ่มเข้าใจกฎเรื่องแรงโน้ม ถ่วง ยังไม่ต้องอธิบายว่า แรงโน้มถ่วงมาจากไหน ถ้าลูกถามก็ เอาสาระนุกรมเกี่ยวกับเรื่องนี้มาเปิดดูด้วยกันก่อน แล้วค่อย ๆ บอกว่าตอนนี้ลูกอาจยังไม่เข้าใจ แต่ให้ทดลองไปเรื่อย ๆ สมอง ของลูกจะบันทึกความรู้ ผลการทดลองด้วยตนเอง (ร่วมกับคุณ พ่อคุณแม่) ค่อย ๆ เข้าใจเรื่อง แรง น�้ำหนัก ความเร็ว โดยไม่ ต้องให้ท่องจ�ำ และนี่คือการปลูกฝังให้ลูกเข้าใจ รู้จัก และชอบ กระบวนการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ท�ำกับเรื่องต่าง ๆ รอบตัว แบบนี้ เราก�ำลังสร้างนักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ นักหาความจริง ตัวเล็ก ๆ แน่นอนโตขึ้นย่อมมีความสามารถมากกว่าเด็กที่ไม่มี โอกาสเรียนรู้เช่นนี้อย่างแน่นอน และถ้าเราร่วมมือกันตั้งแต่ ครอบครัวเมื่อลูกยังเล็ก ๆ ๆ ๆ แล้วมาส่งต่อให้คุณครูใน โรงเรียนตั้งแต่ระดับอนุบาล ไปถึงประถมศึกษาอย่างเป็นระบบ ความฉลาดทั้งด้านสติปัญญา อารมณ์ สังคม และจริยธรรม ก็ไม่ใช่เรื่องยากส�ำหรับเด็กอีกต่อไป โดย พญ.จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ

71 issue 126 juLY 2018


สมดุลแห่งชี วิต เรื่องโดย : ศ.ระพี สาคริก

72 IS AM ARE www.fosef.org


ความจริ ง ของชี วิ ต ฉั น มี อ ายุ ผ ่ า นพ้ น มานานพอสมควร ถ้ า จะว่ า ถึ ง สี่ แผ่นดิน ก็ไม่น่าจะผิด เมื่อกล่าวถึงค�ำว่า สี่แผ่นดิน เท่าที่เข้าใจกันมาแล้วคง หมายถึง ช่วงการปกครองประเทศซึ่งผ่านพระมหากษัตริย์มา 4 พระองค์ เมื่ อ กล่ า วถึ ง ประเด็ น นี้ ท� ำ ให้ นึ ก ถึ ง ค� ำ ว่ า พระเจ้ า แผ่นดิน มาถึงช่วงนี้ บ้านเมืองก�ำลังเกิดปัญหาวิกฤตหนัก การพูดย�้ำค�ำว่า วิกฤตหนัก ชัดๆเช่นนี้ ถ้าไม่ใช่ผู้ที่มีวิญญาณ ลงถึงพื้นดินอย่างลึกซึ้งคงมองเห็นได้ยากท�ำให้แต่ละคนใช้ชีวิต อยู่กันอย่างสบายๆ หากถามคนเหล่านี้ก็คงตอบว่า ไม่เห็นมี ปัญหาอะไรน่าเป็นห่วง ผู ้ ที่ มีวิญ ญาณมองเห็น คุณค่าพื้น ดิน อี ก ทั้ ง เห็ น ความ ส� ำ คั ญ ของการปฏิ บั ติ ซ่ึ ง มุ ่ ง ทิ ศ ทางลงสู ่ ด ้ า นล่ า งจากรากฐาน จิตใจที่เป็นธรรมชาติ ย่อมให้ความสนใจหวนกลับมามองขึ้นสู่ ด้านบน จึงสามารถเห็นปัญหาที่เกิดขึ้นจากสิ่งซึ่งแฝงอยู่ในใจ คนระดับสูงได้อย่างลึกซึ้ง ดังนั้น ความหมายของค�ำว่า แผ่นดิน จึงมีความลึกซึ้ง อี ก ทั้ ง มี เ หตุ ผ ลเชื่ อ มโยงระหว่ า งผู ้ ที่ มี โ อกาสขึ้ น ไปสู ่ ร ะดั บ สู ง หวนกลับมาถึงพื้นแผ่นดิน อันเป็นถิ่นฐาน ซึ่งนิยมกล่าวอย่างรู้ ความหมายของชุมชนที่ตนอยู่อย่างเห็นได้ชัด ดังที่พบได้ในยุค ก่อนว่า สี่แผ่นดิน หากมองได้ ก ว้ า งถึ ง ภาพรวมของสิ่ ง ที่ ก ล่ า วมาแล้ ว ได้ลึกซึ้งถึงระดับหนึ่ง น่าจะรู้ความหมายของค�ำว่า แผ่นดิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากคิดจากรากฐานซึ่งรู้ความจริงจากใจโดย ไม่ลืมตัว คงจะให้ความสนใจค้นหาความจริงถึงความหมายของ ค�ำว่า แผ่นดิน ซึ่ง ณ จุดนี้ย่อมพบได้ว่า การมองลงไปยังพื้นดินซึ่ง ทุกคนยืนร่วมกันอยู่ ยังไม่ลึกซึ้งถึงแก่นแท้ จนกว่าจะเห็นและ เข้าใจได้ว่า พื้นดินที่แท้จริงอยู่ในจิตวิญญาณตนเองของแต่ละ คนอย่างเป็นธรรมชาติ ห า ก ค น ส ่ ว น ใ ห ญ ่ ที่ มี โ อ ก า ส เ ติ บ โ ต ขึ้ น ม า จ า ก ความจริ ง ซึ่ ง อยู ่ ใ นจิ ต วิ ญ ญาณ ตนเองและส� ำ นึ ก ได้ ว ่ า ชีวิตเราเกิดมาโดยมีร่างกายที่เปลือยเปล่า หรืออีกนัยหนึ่งซึ่ง กล่าวกันว่า ชีวิตแต่ละคนเกิดมาจากพื้นดิน แม้บางคนอาจมี บรรพบุรุษเก็บรวบรวมทรัพย์สินเงินทองไว้ให้มากมายแค่ไหน หากมีสติพอที่จะพิจารณาตัวเอง น่าจะท�ำให้เห็นความ จริงได้ว่าสิ่งต่างๆซึ่งตนได้รับหลังจากเกิดมาแล้ว หาใช่ได้จาก จิตวิญญาณตัวเองจึงไม่น�ำมาใส่ใจให้เกิดความทุกข์

รากฐานจิ ต ใจคนท้ อ งถิ่ น ในปั จ จุ บั น นี้ สู ญ สิ้ น ความ เป็ น ตั ว ของตั ว เองไปแล้ ว อย่ า งกว้ า งขวาง หากมอง ในด้ า นเศรษฐกิ จ ย่ อ มไม่ น ่ า สงสั ย เลยว่ า ท� ำ ไมคนใน บ้ า นเมื อ งจึ ง จ� ำ ต้ อ งตกเป็ น ทาสชนชาติ อื่ น จนกระทั่ ง มี สิ่ ง ของเหลื อ ไว้ เ ป็ น พื้ น ฐานความรั ก ความภู มิ ใ จใน ตนเอง ลดน้ อ ยลงไปเป็ น ล� ำ ดั บ ย่ อ มท� ำ ให้ รู ้ ไ ด้ เ องว่ า คุ ณ ค่ า ของพื้ น ดิ น ซึ่ ง ตนควร เรียนรู้บนพื้นฐานความรัก ย่อมมีผลช่วยให้เข้าใจความจริงได้ ว่า ความรักพื้นดินซึ่งอยู่ในจิตวิญญาณของแต่ละคน ย่อม มีเหตุผลสัมพันธ์ถึงพื้นดินของโลกภายนอกอย่างสานถึงกัน หมด จึงไม่ควรมีการแบ่งแยกชาติภาษา ท�ำให้มีการรบฆ่าฟัน กันรุนแรงยิ่งขึ้น ดังนั้น การมุ่งมั่นท�ำงานลงสู่พื้นดินจากความรักซึ่งมีอยู่ ในรากฐานจิตใจตนเอง ย่อมมีผลสานถึงความรักเพื่อนมนุษย์ทุก คนอย่างเป็นธรรมชาติ ไม่ว่ายากดีมีจนหรือคนชาติไหนภาษา ไหน รวมถึงแต่ละชีวิตซึ่งรวมอยู่ในมวลมนุษยชาติที่มีแนวคิด ความเชื่ออย่างหลากหลาย หรื อ อาจกล่ า วว่ า แต่ ล ะบุ ค คลซึ่ ง มี วิ ญญาณความรัก หยั่งลงถึงพื้นดินอย่างลึกซึ้ง ย่อมมีความรักที่สานถึงซึ่งกันและ กันอย่างรู้เหตุและผล จึงควรถือว่า พื้นดินคือสื่อธรรมชาติ ที่ สานความรักระหว่างมนุษย์ให้ถึงกันให้มีความมั่นคงอย่าง เป็นธรรมชาติร่วมด้วย อย่างไรก็ตาม ชีวิตแต่ละคนย่อมเกิดมาจากจุดใดจุดหนึ่ง ดังนั้นการเจริญเติบโตบนพื้นฐานความรู้สึกนึกคิดที่ถือความ 73

issue 126 juLY 2018


รักไว้ในรากฐานตนเองควรจะผ่านพฤติกรรมการน�ำปฏิบัติของ ร่างกาย โดยมุ่งไปยังผู้ซึ่งแต่ละคนเชื่อว่ามีจิตใจใกล้ชิดตนก่อน อื่น แต่ทุกคนก็ควรเรียนรู้ความจริงจากความผิดพลาดเพื่อปรับ จิตใจตนเอง ให้เข้าไปถึงจุดซึ่งใกล้ชิดกันที่สุด อนึ่ง ผู้ซึ่งมีความรักความจริงใจใกล้ชิดพื้นดินจริง ย่อม มีรากฐานจิตใจอิสระท�ำให้เปิดกว้าง ช่วยให้รู้ว่าผู้ที่มีจิตใจซึ่ง ตนให้ความรักใกล้ชิดที่สุดย่อมมีรากฐานจิตใจเปิดกว้างอย่าง สอดคล้องกัน ดังนั้น สิ่งที่มอบให้ไปแล้วย่อมมีผลกระจายสู่วงกว้าง ออกไปได้เองอย่างเป็นธรรมชาติ แม้อาจสร้างความรู้สึกให้กับ เพื่อนมนุษย์หลายคนว่าผลการปฏิบัติไปถึงระดับโลก จนเป็นที่ ยอมรับเป็นคนระดับโลก แต่ตนเองควรรู้สึกว่า ความรักมุ่งมั่นใน การน�ำปฏิบัติจากใจตนเอง มีความส�ำคัญเหนือกว่าผลที่ปรากฏ ไม่ว่าจะแพร่กระจายออกไปสู่มุมกว้างมากแค่ไหน หากสนใจหวนกลับมาพิจารณาเงื่อนไขที่เป็นความจริง อยู่ในรากฐานจิตใจของผู้น�ำปฏิบัติได้ น่าจะเห็นว่า สภาพภายใน ศูนย์รวมของพลังย่อมมีสองด้าน ด้านหนึ่งคือ บทเรียนเท่าที่ สั่งสมมาแล้วในอดีตสู่อนาคต อันท�ำหน้าที่เป็นพื้นฐานของ อีกด้านหนึ่ง ซึ่งจ�ำเป็นต้องก้าวต่อไป แม้ช่วงหลังๆ เราน�ำเอา ประเด็น เกษตรพอเพียง สานถึง เศรษฐกิจพอเพียง มากล่าวย�้ำ ความส�ำคัญกว้างขวางมากขึ้น หากมองได้ถึงความจริงซึ่งอยู่ใน รากฐานตนเองได้ชัดเจน ย่อมไม่จ�ำเป็นต้องอธิบายอะไรมากนัก แท้จริงแล้วเป็นสิ่งซึ่งแต่ละคนมีเป็นธรรมชาติอยู่แล้ว ณ จุดที่ชี้แนะให้สนใจพิจารณา ซึ่งช่วงหลังๆ เรามักได้ ยินคนพูดกันว่า สมดุลแห่งชีวิต ในโอกาสที่ฉันมีอายุผ่านพ้น มายาวนานพอสมควรแล้ว ตนจึงสามารถกล่าวได้ว่า ค�ำว่า สมดุล เป็นสิ่งซึ่งในยุคก่อนยังไม่มีคนไทยคนไหนรู้จัก แต่ชน รุ่นก่อนมักสอนลูกหลานโดยใช้ค�ำกล่าวว่า ท�ำอะไรก็ตามให้ รู้จักยับยั้งชั่งใจให้ดี

ค�ำว่า สมดุล จึงน่าจะได้รับการแปลความหมายโดยคน ไทยที่ไปเรียน มาจากเมืองนอก ซึ่งแปลมาจากค�ำว่า BALANCE คงไม่ผิด แม้เพียงค�ำพูดค�ำเดียวหรือประโยคเดียว หากผู้พูดมี รากฐานจิตใจที่อิสระ ย่อมสามารถสานเหตุผลไปถึงความจริง ซึ่งอยู่ในเรื่องใหญ่ได้ไม่ยาก ท�ำให้สรุปได้ว่า รากฐานจิตใจคนท้องถิ่นในปัจจุบันนี้ สูญสิ้นความเป็นตัวของตัวเองไปแล้วอย่างกว้างขวาง หากมอง ในด้านเศรษฐกิจย่อมไม่น่าสงสัยเลยว่า ท�ำไมคนในบ้านเมือง จึ ง จ� ำ ต้ อ งตกเป็ น ทาสชนชาติ อื่ น จนกระทั่ ง มี สิ่ ง ของเหลื อ ไว้ เป็นพื้นฐานความรักความภูมิใจในตนเอง ลดน้อยลงไปเป็น ล�ำดับ รู้ที่มาของชีวิต รู้ความจริงจากใจตนเอง ย่อมรู้เท่าทันสรรพชีวิตและสิ่งต่างๆได้ทุกเรื่อง หากไม่สนใจส�ำรวจตนเองอยู่เสมอ ชีวิตย่อมพบทางตัน อีกทั้งอาจน�ำ สังคมไปพบกับความหายนะ โดยน�ำ ไปขายให้ชนต่างชาติ ทั้งในด้าน วัฒนธรรม การศึกษา ทรัพยากร ท้องถิ่น ตลอดจนจิตวิญญาณ ความรักแผ่นดินของคนไทยเพราะ ความไม่รู้ จึงควรถูกปรามาสว่า เป็น “คนขายตัว” ระพี สาคริก 74

IS AM ARE www.fosef.org


75 issue 126 juLY 2018


ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งกระบี่ (ศูนย์ปลานีโม) จ.กระบี่ อี ก หนึ่ ง สถานที่ ที่ เ ต็ ม เปี ่ ย มด้ ว ยสาระประโยชน์ แบบผู ้ ใ หญ่ ก็ ช อบ เด็ ก ๆ ก็ ห ลงรั ก ศู น ย์ วิ จั ย และพั ฒ นา ประมงชายฝั ่ ง ทะเล หรื อ ที่ เ รี ย กกั น ติ ด ปากว่ า ศู น ย์ ป ลานี โ ม คื อ ศู น ย์ ก ลางการศึ ก ษา วิ จั ย และพั ฒ นาทั้ ง เรื่ อ งของ แหล่ ง เพาะพั น ธุ ์ ขยายพั น ธุ ์ สั ต ว์ น�้ ำ รวมไปถึ ง การปลู ก ถ่ า ยเซลล์ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ ป ลาสายพั น ธุ ์ ใ หม่ ผล งานวิ จั ย มากมายสร้ า งความฮื อ ฮาในวงการประมงไทย และได้ น� ำ มาปรั บ ใช้ เพื่ อ ดู แ ลทะเลไทยให้ เ หล่ า สั ต ว์ น�้ ำ ได้ อ ยู ่ อ ย่ า งสมบู ร ณ์ แม้เป้าหมายของศูนย์ฯ จะเน้นเรื่องของการวิจัย แต่ ศูนย์ฯ ก็ท�ำหน้าที่แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญของเมืองกระบี่ ได้เป็น อย่างดี จุดเด่นในการจัดแสดงปลานีโม หรือ ปลาการ์ตูน ท�ำให้ นักท่องเที่ยวทุกเพศทุกวัย ล้วนจัดให้ ที่นี่ติดอันดับต้นๆ ของ สถานที่ห้ามพลาด ปลาการ์ตูนพระเอกของศูนย์ฯ ได้รับการเพาะเลี้ยง มาก ถึง 13 สายพันธุ์ นอกจากนี้ยังมีสัตว์ทะเลอีกนับไม่ถ้วนทั้ง ปลา กัดทะเล ปลาปักเป้าทะเล ปลานกแก้ว ดาวทะเล กุ้งมังกร ปลิง ทะเล ฯลฯ ให้คนที่สนใจเข้าชมอย่างใกล้ชิด นับเป็นศูนย์การ เรียนรู้ที่สนุกสนานมากมายเลยทีเดียว

76 IS AM ARE www.fosef.org


“เป็นศูนย์กลางความรู้ ในการวิจัยพันธุ์ ปลาทะเลในแถบน่านน�้ำของภาคใต้” ทริปตัวอย่าง 3 วัน 2 คืน

เส้ น ทางท่ อ งเที่ ย ว(ศู น ย์ ป ลานี โ ม) จ.กระบี่ วันแรก ช่วงเช้า • เดินทางสู่บ้านหนองจิก ชมป่าพรุ ท่าปอม คลองสอง น�้ำ (Unseen in Thailand ) ช่วงบ่าย • เดินทางสู่บ้านแหลมโพธิ์ เพื่อเยี่ยมชมศูนย์วิจัย และ พัฒนาประมงชายฝั่ง (ศูนย์ปลานีโม) แหล่งเพาะปลาการ์ตูนขึ้น ชื่อของเมืองไทย วันที่สอง ช่วงเช้า • ไปดูสุสานหอยล้านปีที่อุทยานแห่งชาติ นพรัตน์ธาราหมู่เกาะพีพี ช่วงบ่าย • แช่น�้ำตกร้อนธรรมชาติ (Unseen in Thailand ) • เที่ยวสระมรกต (Unseen in Thailand) เล่นน�้ำใส สี เขียวมรกตใจกลางป่า

วันที่สาม ช่วงเช้า • เข้ า ชมศู น ย์ ส ่ ง เสริ ม และพั ฒ นาอาชี พ การเกษตร จังหวัดกระบี่ (พืชสวน) ชมพันธุ์ไม้หายากได้ที่นี่ ช่วงบ่าย • สัมผัสวิถีชีวิตเรียบง่ายของชุมชนเกาะกลาง ชุมชน อิสลามที่ส่วนใหญ่ท�ำอาชีพชาวประมง

ห้ามพลาด

ที่ เ ที่ ย วห้ า มพลาด • จุดชมปลาสวยงาม จัดแสดงปลาสีสันสวยงามในตู้ กระจก ให้ส่องดูกันชัดๆ • บ่อเพาะเลี้ยงกลางแจ้ง เฝ้าดูสัตว์ทะเลใช้ชีวิตอยู่ใน บ้านอันแสนอบอุ่น กิ จ กรรมห้ า มพลาด • เล่นกับปลากระเบนในบ่อดินบริเวณทางไปอาคาร • เดินบนสะพานที่ทอดยาว ผ่านบ่อเพาะเลี้ยงกลางแจ้ง เพื่อชมปลาที่แหวกว่ายอย่าง เป็นธรรมชาติ 77 issue 126 juLY 2018


ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมง ชายฝั่งกระบี่ (ศูนย์ปลานีโม) 141 ม. 6 บ้านแหลมโพธิ์ ต.ไสไทย อ.เมือง จ.กระบี่ โทร. 0-7566-2059-62 www.fisheries.go.th/cf-krabi เปิดให้เข้าชม : ทุกวัน เวลา 08.00-20.00 น. ฤดูท่องเที่ยว : ตลอดทั้งปี การเดินทาง จากตัวเมืองกระบี่ ใช้ถนนหมายเลข 4034 ประมาณ 5 กม.เลี้ยวซ้าย เข้าสู่ถนนหมายเลข 4204 ไปตามทางอีก 7.5 กม. จะถึงริมชายทะเล ให้เลี้ยวซ้ายเลียบหาด ศูนย์ปลานีโมจะ ตั้งอยู่ทางขวามือ 78 IS AM ARE www.fosef.org


79 issue 126 juLY 2018


เปิ ดตัวบทเพลง “สยามินทร์วชิ ราลงกรณ์” เมื่ อ วั น ที่ 26 มิ ถุ น ายน เวลา 18.30 น. หม่ อ มหลวงปนั ด ดา ดิ ศ กุ ล ผู ้ ช ่ ว ยรั ฐ มนตรี ป ระจ� ำ ส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี เป็ น ประธาน ในพิ ธี เ ปิ ด ตั ว บทเพลง “สยามิ น ทร์ ว ชิ ร าลงกรณ์ ” โดยมี คุ ณ หญิ ง อั ง กาบ บุ ณ ยั ษ ฐิ ติ ที่ ป รึ ก ษากิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ โ ครงการ เป็ น ตั ว แทนใน การส่ ง มอบบทเพลง เพื่ อ เผยแพร่ บ ทเพลงเฉลิ ม พระเกี ย รติ แ ก่ พสกนิ ก รทุ ก หมู ่ เ หล่ า โดยมี นางภราไดย สุ ว รรณรั ฐ เป็ น ประธาน โครงการ ณ หอประชุ ม ชั้ น 3 กรมประชาสั ม พั น ธ์ ซึ่ ง จั ด โดย ประธานคณะกรรมการจั ด งาน “จิ ต รลดาสวามิ ภั ก ดิ์ ” บทเพลงดังกล่าวประพันธ์ค�ำร้องโดย นายดลชัย บุณยะรัตเวช ประธาน บริษัท เดนท์สุ วัน (กรุงเทพฯ) จ�ำกัด ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจมาจากความส�ำนึก รักภักดีและกตัญญู ในฐานะศิษย์จิตรลดา รุ่น 6 ก่อนจะมาเป็นค�ำร้องเพลง สยามินทร์วชิราลงกรณ์ เกิดขึ้นจากเพลง สยามมกุฎเกริกไกร ซึ่งประพันธ์ขึ้นใน 80 IS AM ARE www.fosef.org


เกิ ด จากการประสมประสานท่ ว งท� ำ นองที่ กระฉั บ กระเฉงกล้ า หาญเข้ า กั บ ความภาคภู มิ สง่ า งาม ดุ จ ดั่ ง พระอั จ ฉริ ย ภาพ บทเพลงนี้ ได้ ถู ก ออกแบบให้ มี ค วามไพเราะยิ่ ง ใหญ่ แต่ เรี ย บง่ า ยไม่ ซั บ ซ้ อ น ปี พ.ศ.2557 เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร และบรรจุในอัลบั้ม ดั่งดวงใจ จิตรลดา 60 ปี ภายหลั ง ได้ เ ปลี่ ย นชื่ อ เป็ น สยามิ น ทร์ ว ชิ ร าลงกรณ์ และเปลี่ยนค�ำร้องบางท่อน เมื่อพระองค์เสด็จขึ้นเป็นสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ด้วย ความส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณแห่งสถาบันพระมหากษัตริย์ ที่พระราชทานความร่มเย็นเป็นสุขแก่คนไทยเสมอมา ส�ำหรับผู้ประพันธ์ท�ำนอง คือ คุณหญิงมาลัยวัลย์ บุณยะ รัตเวช ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีสากล) นัก เปียโนระดับชาติ และผู้อ�ำนวยการเพลงคณะนักร้องประสาน เสียงที่มีชื่อเสียงหลายคณะ เปิดเผยถึงแรงบันดาลใจเพื่อมาเป็น เพลงสยามินทร์วชิราลงกรณ์ว่า เกิดจากการประสมประสาน ท่ ว งท� ำ นองที่ ก ระฉั บ กระเฉงกล้ า หาญเข้ า กั บ ความภาคภู มิ สง่างาม ดุจดั่งพระอัจฉริยภาพ บทเพลงนี้ได้ถูกออกแบบให้มี ความไพเราะยิ่งใหญ่ แต่เรียบง่ายไม่ซับซ้อน เพื่อคนไทยทุกคน สามารถร้องตามได้

81 issue 126 juLY 2018


เว็ปไซต์ของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง ท่านสามารถเข้ามาอ่านบทความ นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง หรือข่าวสารดี ๆ ได้แล้ววันนี้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และท่านยังสามารถสมัครเป็นสมาชิ กของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง เพื่อรับข่าวสารจากทางมู ลนิธิครอบครัวพอเพียงได้ก่อนใคร โดยท่านสามารถสมัครเพื่อเป็นสมาชิ กได้ท่ี

www.fosef.org 82

IS AM ARE www.fosef.org


83 issue 126 juLY 2018


นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง พร้อมเสริพ์ให้ทุกท่านได้อ่านแล้ว!! เพี ย งแค่ ค ลิ ก เข้ า ไปที่ www.fosef.org ท่ า นก็ ส ามารถอ่ า นนิ ต ยสาร IS AM ARE ครอบครั ว พอเพี ย ง ได้ โ ดยไม่ มี ค ่ า ใช้ จ ่ า ย เรื่ อ งราว สาระดี ๆ มากมายรอท่ า นอยู ่ หากอ่ า นแล้ ว ถู ก ใจอย่ า ลื ม บอกต่ อ นะครั บ 84 IS AM ARE www.fosef.org


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.