IS AM ARE June 2561_3

Page 1

IS AM ARE

โรงเรียนมวยไทย รังสิต

รับรองโดย กระทรวงศึกษาธิการและสภามวยไทยโลก แนวทางการบริหารและการสร้างนักศึกษา ให้ออกไปเป็นพลเมืองที่เข็มแข็งของชาติ

ดร.อาทิตย์ อุ ไรรัตน์​์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต

ฉบั ฉบับบทีที่ 126 ่ 125กรกฎาคม มิถุนายน 2561 www.fosef.org


2 IS AM ARE www.fosef.org


“ความเจริ ญ ของคนทั้ ง หลาย ย่ อ มเกิ ด มาจากประพฤติ ช อบและการหาเลี้ ย งชี พ ชอบ เป็ น หลั ก ส� ำ คั ญ ผู ้ ที่ จ ะสามารถประพฤติ ช อบและหาเลี้ ย งชี พ ชอบได้ ด ้ ว ยนั้ น ย่ อ มจะมี ทั้ ง วิ ช าความรู ้ ทั้ ง หลั ก ธรรมทางศาสนา เพราะสิ่ ง แรกเป็ น ปั จ จั ย ส� ำ หรั บ ใช้ ก ระท� ำ การท� ำ งาน สิ่ ง หลั ง เป็ น ปั จ จั ย ส� ำ หรั บ ส่ ง เสริ ม ความประพฤติ และการปฏิ บั ติ ง านให้ ช อบคื อ ให้ ถู ก ต้ อ งและเป็ น ธรรม”

พระราชด� ำ รั ส ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ ๙ พระราชทานแก่ ค รู โ รงเรี ย นราษฎร์ ส อนศาสนาอิ ส ลาม ๔ จั ง หวั ด ภาคใต้ จั ง หวั ด ปั ต ตานี ๒๔ สิ ง หาคม ๒๕๑๙

3 issue 125 june 2018


Editorial

พบกันในฉบับเดือนมิถุนายน ซึ่งเป็นเดือนเกิดของครอบครัวพอเพียง และเป็นเดือนที่นักเรียนทุกโรงเรียนเริ่มต้นปี การศึกษา บก.ได้เดินทางไปทางภาคใต้ โดยจังหวัดแรกที่ไปคือ จังหวัดนราธิวาส ได้พบกับครอบครัวพอเพียง โรงเรียนนราธิวาส และโรงเรียนนราสิกขาลัย เมื่อไปถึงโรงเรียนนราธิวาสอารมณ์ที่เกิดขึ้นเหมือนกับว่าได้กลับมาบ้านอีกครั้ง บ้านที่มีญาติ พี่ น้อง และหลาน ๆ อยู่กันจ�ำนวนมาก พบกันได้กอดกันให้หายคิดถึงทั้ง ครู และนักเรียน ซึ่งรวมไปถึงรุ่นพี่ที่เรียนจบกันไปแล้ว และ สอบติดมหาวิทยาลัยกันหมดแล้ว และเมื่อได้เห็นห้องศูนย์ครอบครัวพอเพียง_โรงเรียนนราธิวาส ที่มีภาพวาดที่สวยงามโดย นักเรียนเป็นคนวาด คือภาพของครอบครัวพอเพียง เห็นแล้วอดที่จะดีใจจนน�้ำตาไหลด้วยความปิติ ไม่นึกเลยว่าจะได้เห็นภาพ ที่สวยงามเช่นนี้ ตลอดจนภายในห้องศูนย์ที่มีผลงาน และเป็นแหล่งรวบรวมความรู้ และความดี ต่าง ๆ มากมาย พร้อมทั้งการ แสดงออกของนักเรียนรุ่นพี่ มัธยม ๕ และ ๖ ที่ใส่ใจในการร่วมกิจกรรมอย่างเข้มแข็ง นักเรียนท�ำกิจกรรมอย่างเข้มแข็ง หลายคนอาจจะอยากรู้ว่า กิจกรรมอะไรที่นักเรียนท�ำ ก็ต้องบอกก่อนว่า โครงการ ครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชน ไม่ใช่แค่การบรรยาย ๑ วันแล้วจบกัน แต่หลังจากที่เราบรรยายให้ความรู้ ความ เข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจนนักเรียนเข้าใจว่าเกี่ยวข้องอะไรกับตนเอง กับครอบครัว สังคมและประเทศชาติ หรือแม้แต่เกี่ยวข้องอย่างไรกับการเรียนที่นักเรียนก�ำลังเรียนอยู่ในระดับมัธยมปลาย ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่ พ่อสอน เกี่ยวข้องกับหลักคิดในการเรียนโดยตรงเลยทีเดียว เริ่มตั้งแต่หากนักเรียนไม่รู้จักตนเอง ไม่รู้ว่า จริง ๆ แล้วตนเองถนัดการเรียนด้านไหน และชอบอะไรที่จะส่งผลไปถึงการเลือกที่จะเรียนในระดับมหาวิทยาลัย ซึ่งแน่นอนว่า จะส่งผลต่อ อาชีพในอนาคตอันใกล้ ไม่รู้จักตนเอง ไม่รู้จักครอบครัวอันนี้เรื่องใหญ่ เมื่อการศึกษาไทย ในทุกระดับทั้งอาชีวะ หรืออุดมศึกษานั้น ถ้าไม่มีเงินจ่ายค่าหน่วยกิตไม่มีสิทธิ์เรียน แน่นอนหลายคนบอกก็ถูกต้องแล้วนี่ ใช่ค่ะ ว่าถูกต้อง แต่ถามต่อ เลยว่า นักเรียนกี่คน พ่อแม่กี่คน ที่จะรู้และเตรียมตัวล่วงหน้า คือ เก็บออมเงินเพื่อการศึกษาหรือวางแผนการศึกษาไว้แต่เนิ่น ๆ หลายครอบครัวมักปลอบใจตนเองว่า ไม่ตายต้องหาได้ แต่ชีวิตมันมีหนทางที่ยาวกว่าที่เราคิดเพราะ ถ้าคิดแค่ว่าวันนี้มี เงินจ่ายค่าหน่วยกิต ค่าเทอม ค่าอาหาร ค่าเดินทาง ค่าหอพัก ค่าน�้ำค่าไฟ และค่าอะไรอีกมากมายที่ต้องใช้จ่ายช่วงเวลาเรียน แล้วในเทอมหน้า ปีการศึกษาหน้า มีเงินจ่ายหรือไม่ และเงินที่ต้องจ่ายเป็นจ�ำนวนเท่าไรในครั้งแรก เดือนแรกหรือปีแรก มีใคร บ้าง กี่ครอบครัวที่จะรู้ล่วงหน้าก่อนที่จะถึงปีการศึกษานั้น รู้ล่วงหน้าสัก ๕ ถึง ๑๐ ปี มีไหมและสถานการณ์ของครอบครัวไทย ในปัจจุบัน บก.กล้าพูดได้เลยว่า ล่อแหลมในทุกเรื่อง เพราะคนไทยขาดความรู้ ขาดความ รอบคอบ ขาดความระมัดระวังในทุก ๆ เรื่อง ฉบับนี้คงเขียนได้เพียงส่วนหนึ่งของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในค�ำแรก คือ ความรู้ ที่ต้องมีความรอบคอบ ระมัดระวังกับบริบทของ นักเรียน ซึ่งมีครอบครัวเป็น ส่วนร่วม และยังไม่จบนะคะ บทความในค�ำสอนของ พ่อ ค�ำแรกนี้ เพราะเพิ่งจะเริ่มต้น กับบริบท ของนักเรียน แล้วอีกตั้งหลายคน หลายอาชีพ หลายภูมิภาค หลายศาสนา จะมีเรื่องอีกมากมาย เอาเป็นว่าจะค่อย ๆ เขียนไปทีละนิดให้ผู้อ่านได้ติดตามอย่างมีส่วนร่วม เพราะ เรื่องที่เขียนเกี่ยวข้องกับคนทุกคน ที่ยังต้องด�ำเนินไป ด�ำรงชีวิตให้รอดต่อไป พบกันใหม่ ฉบับหน้า รับรองว่าสนุกเมื่อได้อ่าน

4 IS AM ARE www.fosef.org


Contributors

มู ลนิธิครอบครัวพอเพียง

พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี ประธานโครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชน คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์ นายธนพร เทียนชัยกุล นายณัฐเสกข์ น้อยสมบูรณ์ นายมนตรี เหมือนแม้น นายภูวนาถ เผ่าจินดา นายวรจักร ณ เชียงตุง นางชวนชื่น พีระพัฒน์ดิษฐ์ นายไพรัช มณฑาพันธุ์ นางอริยสิริ พิพัฒน์นรา นางสาวเอื้อมพร นาวี ผศ.ดร.ปรีชาพร สุวัฒโนดม นายเอกรัตน์ คงรอด นายอภีม คู่พิทักษ์ นายกมลเศรษฐ์ เก่งการเรือ นางสาวเยาวมาลย์ จ้อยจุฬี นางสุมาลี โฆษิตนิธิกุล นางสาวกันยาวีร์ พ้องพงษ์ศรี นายธงชัย วรไพจิตร นายภูริวิทย์ จงนิรักษ์ นายชวลิต ใจภักดี นางสาวหนึ่งฤทัย คมข�ำ นายภิญโญ ทองไชย นายพิชัยยุทธ ชัยไธสง นางศิรินทร์ เผ่าจินดา

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ดร.เชิดศักดิ์ ดร.กัมปนาท ดร.นฤมล ดร.อ�ำนาจ ดร.ชลพร ดร.กาญจนา ดร.ปิยฉัตร ดร.คุณานันท์

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการและเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและเหรัญญิก กรรมการและผู้ช่วยเหรัญญิก กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ and Enjoy! กรรมการ กรรมการ กรรมการ บรรณาธิการ : กรรมการ กองบรรณาธิการ : ผู้จัดการมูลนิธิ ศิลปกรรม :

Let’s

Start

ส�ำนักงาน :

ศุภโสภณ บริบูรณ์ พระใหญ่ วัดจินดา กองค�ำ สุทธิเนียม กลิ่นสุวรรณ ทยายุทธ

โทรศัพท์ : โทรสาร : เว็ปไซต์ : 5 issue 125 june 2018

กรวิก อุนะพ�ำนัก ภูวรุต บุนนาค ชนกเนตร แจ่มจ�ำรัส ศตวรรษ เจือหนองแวง นิตยสารครอบครัวพอเพียง 663 ซอยพหลโยธิน 35 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 0-2939-5995 0-2939-5996 www.fosef.org


Hot Topic

8

ตามรอยยุ วกษัตริย์

46

14

โรงเรียนมวยไทย รังสิต รับรองโดย กระทรวง ศึกษาธิการและสภามวยไทย โลก

แนวทางการบริหารและการสร้าง นักศึกษาให้ออกไปเป็ นพลเมืองที่ เข็มแข็งของชาติ ดร.อาทิตย์ อุ ไร

รัตน์​์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต

Don’t miss

72

54 58

64

76 6 IS AM ARE www.fosef.org


Table Of Contents

ดร.อาทิตย์ อุ ไรรัตน์​์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต

7 issue 125 june 2018

ตามรอยยุวกษัตริย์ cover story แนวทางการบริหารและการสร้างนักศึกษา ให้ออกไปเป็นพลเมืองที่เข็มแข็งของชาติ ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์​์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต Cartoon มูลนิธิชัยพัฒนา เปิดบ้านชมโครงการ ณ แดนอีสานพัฒนา ความเป็นคนความเป็นครู ครูดอย Let’s Talks โรงเรียนมวยไทย รังสิต รับรองโดย กระทรวงศึกษาธิการ และสภามวยไทยโลก บนเส้นทางพุทธฉือจี้ ไต้หวัน 1 ใน 4 เสือ สัจธรรมแห่งแนวพระราชด�ำริ เรียนรู้จากธรรมชาติ แนวทางพระราชด�ำริ จากในหลวงรัชกาลที่ 9 พ่อแม่ยุคใหม่ ขั้นตอนการสร้างความทรงจ�ำ ความจริงของชีวิต จากรอยเท้าถึงรอยใจคน เยาวชนของแผ่นดิน แบ่งเวลาให้ชีวิตบ้างอย่าเรียนอย่างเดียว ธีรพล ปานคง 70 เส้นทางตามรอยพระบาท โดย ททท. จังหวัดจันทบุรี ข่าวสารครอบครัวพอเพียง

8

14 24 32 42

46 54 58 64 68 72 76 80


่สิงแวดล้อม ่​่

กับการพัฒนาทียังยืน ในบรรดาบ้ า นเมื อ งที่ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม สวิ ต เซอร์ แ ลนด์ ถื อ ว่ า เป็ น ประเทศแนวหน้ า ประเทศหนึ่ ง ของโลก เขารั ก ษาดู แ ลธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มเอาไว้ อ ย่ า งดี เ ยี่ ย ม น�้ ำ ในแม่ น�้ ำ ทุ ก สายใสสะอาด แม่ น�้ ำ บางสายสี เ ขี ย วอมฟ้ า ราวน�้ ำ ทะเล อาจจะเป็ น ด้ ว ยต้ น น�้ ำ ที่ ไ หลจากป่ า และหิ ม ะบนยอดเขาสู ง นั้ น สะอาด อี ก ทั้ ง ใต้ พื้ น น�้ ำ เป็ น หิ น มากกว่ า ดิ น โคลน น�้ ำ จึ ง ใสแจ๋ ว ...ใสจนแลเห็ น ก้ อ นหิ น และหมู ่ ป ลาแหวกว่ า ยกั น อย่ า ง ส� ำ ราญ ทุ ก เมื อ งของสวิ ต เซอร์ แ ลนด์ ทั้ ง ทะเลสาบและแม่ น�้ ำ มั ก มี ฝู ง นกน�้ ำ เป็ ด หงส์ แหวกว่ า ยเล่ น น�้ ำ อย่ า งสบายใจ บ้ า งก็ ไ ซ้ ข น บ้ า งด� ำ น�้ ำ หาอาหารบ้ า งก็ ค ลอเคลี ย เคล้ า คู ่ กั น อย่ า งมี ค วามสุ ข เป็ ด และหงส์ ดู จ ะ เชื่ อ งมาก มั น ไม่ ก ลั ว คนเลย ยิ่ ง คนที่ มี อ าหารมาให้ กิ น มั น ถึ ง กั บ ไซ้ ป ากกิ น อาหารในมื อ ผู ้ ใ ห้ เ ลยที เ ดี ย ว

8 IS AM ARE www.fosef.org


ตามรอยยุ ว กษั ต ริ ย ์ ท้องทุ่งไร่นาป่าเขายังเขียวขจี ชนิดที่ใครจะเอ่ยปากชม ภูเขาที่ไหนสวย มักต่อท้ายด้วยค�ำว่า สวยเหมือนสวิตเซอร์แลนด์ ลักษณะภูเขาที่เป็นเนินทุ่งหญ้าสลับป่าสนแนวสวยเป็นระเบียบ บ้ า นช่ อ งตั้ ง เรี ย งรายทั้ ง โดดเดี่ ย ว และเป็ น ชุ ม ชนซ้ อ นเป็ น เชิงชั้นตามเนินเขาสลับซับซ้อน กลายเป็นภาพวิวที่สวยสะดุด ตาชวนมองยิ่งนัก ที่ น ่ า ชื่ น ชมที่ สุ ด เห็ น จะเป็ น ดอกไม้ ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์นั้นเต็มไปด้วยดอกไม้ ในชนบทดอกไม้นับไม่ ถ้ ว นจะบานสะพรั่ ง ตามเนิ น ทุ ่ ง ในขณะที่ เ มื อ งก็ เ ต็ ม ไปด้ ว ย ดอกไม้นานาพันธุ์ ที่ชาวสวิสน�ำมาปลูกตกแต่งตามสวนสวย ระเบียง-หน้าต่าง-หน้าบ้าน อีกทั้งที่นั่งพักแทบทุกจุดของเมือง จนเมืองหลายแห่งได้ชื่อว่าเป็นเมืองดอกไม้เลยทีเดียว ว่ า ไปแล้ ว ...เราอดคิ ด ต่ อ ไม่ ไ ด้ ว ่ า ปรั ช ญาความคิ ด ของคนตะวั น ออกที่ ส ะท้ อ นผ่ า นลั ท ธิ เ ต๋ า สอนให้ ค นสั น โดษ ปลีกวิเวกจากสังคมไปอยู่กับธรรมชาติ ปรับตัวเองให้เข้ากับ ธรรมชาติ โดยไม่ท�ำร้ายท�ำลายธรรมชาติ ถือธรรมชาติเป็น เอกอุของการอยู่ร่วมกันระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ ส่วนโลก ตะวั น ตกในยุ ค ปฏิ วั ติ อุ ต สาหกรรม มนุ ษ ย์ เชื่ อ มั่ น ว่ า ตนเอง มี ค วามสามารถในการเอาชนะและดั ด แปลงธรรมชาติ ม าใช้ ประโยชน์เพียงเพื่อผลก�ำไร จึงมีผลต่อการท�ำร้ายธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมจนระบบนิเวศของสิ่งแวดล้อมโลกเสียหายยับ เยิน

ชาวสวิ ส ใช้ พ าหนะเดิ น ทางหลายหลากรู ป แบบ ทั้ ง รถไฟธรรมดาที่ วิ่ ง บนดิ น รถไฟใต้ ดิ น รถเมล์ ไ ฟฟ้ า สเก็ ต บอร์ ด และรองเท้ า สเก็ ต บางคนท� ำ ตั ว เป็ น นั ก กายกรรม ถึ ง ขนาดขี่ ร ถจั ก รยานล้ อ เดี ย วเดิ น ทาง ไปยั ง จุ ด หมายปลายทาง วั น นี้ โ ลกอุ ส าหกรรมของชาวตะวั น ตก จึ ง ตกใจและ ตื่นตัวต่อการรักษาสิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์ธรรมชาติ ทฤษฎี ผลประโยชน์มนุษย์ในยุคนี้ กับทรัพยากรเพื่อการอยู่และเพื่อ ผลผลิตจากธรรมชาติ สามารถอยู่ด้วยกันได้เป็นอย่างดี จึงถูก ผลักดันขึ้นอย่างมากมาย สุดท้าย มนุษย์กับธรรมชาติจะอยู่กันได้ด้วยดีหรือไม่? ก็ ขึ้นกับกิเลสแห่งความละโมบของค�ำว่าก�ำไรแห่งระบอบทุนนิยม ที่รู้จักค�ำว่าพอเพียง-พอดีแค่ไหนมากกว่า สวิตเซอร์แลนด์นั้น นอกจากธรรมชาติจะถูกท�ำลายด้วยน�้ำมือมนุษย์น้อยนิดแล้ว ตรงกั น ข้ า มมนุ ษ ย์ ที่ นี่ โ ดยภาพรวมกลั บ ท� ำ หน้ า ที่ ดู แ ลรั ก ษา ธรรมชาติเป็นอย่างดี โรงงานอุตสาหกรรมที่พวกเราได้มีโอกาสเยี่ยมชม มี กิจกรรมหลายอย่างน่าสนใจยิ่งนัก โฮลซิม กรุ๊ป ผู้ผลิตปูนซีเมนต์ รายใหญ่ที่สุดรายหนึ่งของโลก มีส�ำนักงานใหญ่ที่ซูริค มีการ ลงทุนในประเทศต่างๆ กว่า 70 ประเทศทั่วโลก รวมประเทศไทย ซึ่งโฮลซิมเข้ามาถือหุ้นในบริษัทปูนซีเมนต์นครหลวง

9 issue 125 june 2018


โ ด ย เ ฉ พ า ะ ธุ ร กิ จ ด ้ า น บ ริ ก า ร จั ด ก า ร ก า ก ข อ ง เสี ย อุ ต สาหกรรม รวมทั้ ง กากอุ ต สาหกรรมอั น ตรายด้ ว ย วิ ธี Co-processing ทั่ ว โลก ในกว่ า 36 ประเทศ โดยน� ำ ทรั พ ยากรกลั บ มาใช้ ใ หม่ เพื่ อ ทดแทนเชื้ อ เพลิ ง และวั ตุ ดิ บ ทรัพยากรธรรมชาติ กากอุ ต สาหกรรมที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมที่ จ ะใช้ เ ป็ น เชื้อเพลิง และวัตถุดิบทดแทนเตาเผาปูนซีเมนต์ ล้วนเป็นสินค้าที่ ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน เช่น ยางรถยนต์เก่า น�้ำมันที่ใช้แล้ว เศษผ้า เศษพลาสติก กากตะกอนจากน�้ำเสีย ถูกน�ำมาใช้เป็นเชื้อเพลิง ด้วยหลักการนิเวศวิทยาอุตสาหกรรมล�้ำสมัยตามมาตรฐานที่ ประเทศยุโรปก�ำหนดไว้ ควันและความร้อนจากการเผาผลาญกากอุตสาหกรรม ทั้งที่ไม่มีพิษและมีพิษ จะได้ไม่ท�ำร้ายหรือมีผลร้ายต่อมลภาวะ ดีๆ ของประเทศและโลก และต้องมีผลเสียน้อยที่สุดเท่าที่จะ ท�ำได้ไงล่ะ อุตสาหกรรมของ โฮลซิมเป็นตัวอย่างของประเทศ ทุ น นิ ย มอุ ต สาหกรรม ที่ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ ทรั พ ยากรและสิ่ ง แวดล้อม ซึ่งเห็นได้ชัดว่าประเด็นนี้แทรกซึมอยู่ในวัฒนธรรม

ต ้ อ ง ถื อ ว ่ า จั ก ร ย า น คื อ แ ฟ ชั่ น ย อ ด นิ ย ม ของชาวสวิ ส เลยที เ ดี ย ว ที่ น ่ า ทึ่ ง ยิ่ ง นั ก เห็ น จะเป็ น สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ที่ เ รี ย กกั น ว่ า จั ก รยานพ่ อ และแม่ ลู ก อ่ อ น เพราะมี ตู ้ พ ่ ว งให้ คุ ณ ลู ก ตั ว น้ อ ยๆ นั่ ง ไปกั บ คุ ณ พ่ อ หรื อ คุ ณ แม่ ไ ด้ อ ย่ า งสบายอารมณ์ ความคิ ด และวิ ถี ชี วิ ต ของผู ้ ค นและองค์ ก ร โดยไม่ ล ะเลยต่ อ เรื่องเล็กๆ ไปจนถึงเรื่องใหญ่ อย่างเช่นสวนสาธารณะ ส�ำหรับ ชาวสวิสแล้วถือเป็นอีกหนึ่งของจิตวิญญาณ ผู้คนจะใช้ชีวิตอยู่ กับสวนเป็นพิเศษ ตามมุมสวนบางจุด เราจะเห็นตู้เหล็กคล้าย ตู้จดหมายบรรจุถุงส�ำหรับใส่อุจจาระสุนัข ยามน้องหมาท�ำเลอะเทอะในที่สาธารณะ เจ้าของต้อง รับผิดชอบจัดเก็บใส่ถุงไปทิ้ง มิฉะนั้นจะถูกลงโทษตามกฎหมาย บ้านเมืองเขาจึงสะอาด ผู้คนเดินเล่นได้อย่างสบายใจ ไม่ต้องเดิน หลบหรือคอยระวังจะเหยียบขี้หมาอย่างบ้านเรา ในขณะที่บ้าน 10

IS AM ARE www.fosef.org


เราแออัดยัดเยียดไปด้วยรถเต็มถนน แต่ในสวิตเซอร์แลนด์ถนน ส่วนใหญ่บางตา ด้วยชาวสวิสใช้พาหนะเดินทางหลายหลาก รูปแบบ ทั้งรถไฟธรรมดาที่วิ่งบนดิน รถไฟใต้ดิน รถเมล์ไฟฟ้า สเก็ตบอร์ดและรองเท้าสเก็ต บางคนท�ำตัวเป็นนักกายกรรม ถึ ง ขนาดขี่ ร ถจั ก รยานล้ อ เดี ย วเดิ น ทางไปยั ง จุ ด หมายปลาย ทาง อย่างไรก็ตาม ดูเหมือนชาวสวิสจะนิยมไปไหนมาไหน ด้วยรถจักรยาน ซึ่งออกแบบหลากหลายส�ำหรับการใช้สอย ถนน บางสายยังมีเลนทาสีแดงแจ๊ดสะดุดตาเห็นแต่ไกล ส�ำหรับรถ จักรยานขับขี่โดยเฉพาะ คนทุกวัยทั้งเด็ก หนุ่มสาว คนวัยท�ำงาน จนถึงผู้สูงอายุ ใช้จักรยานเป็นพาหนะหลักว่าไปแล้ว...ต้องถือว่า จักรยานคือแฟชัน่ ยอดนิยมของชาวสวิสเลยทีเดียว ทีน่ า่ ทึง่ ยิง่ นัก เห็นจะเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่เรียกกันว่า จักรยานพ่อและแม่ลูกอ่อน เพราะมีตู้พ่วงให้คุณลูกตัวน้อยๆ นั่งไปกับคุณพ่อหรือคุณแม่ได้ อย่างสบายอารมณ์ สถานที่จอดรถจักรยานก็กว้างใหญ่ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่ ง หน้ า สถานี ร ถไฟ เราจะเห็ น จั ก รยานจอดอยู ่ เ ต็ ม ไปหมด ภาพแบบนี้ท�ำให้มองไกลไปถึงสุขภาพ การออกก�ำลังกายของ ผู ้ ค น และการดู แ ลควบคุ ม มลภาวะอากาศตามท้ อ งถนนใน เมือง

ในขณะเดี ย วกั น สิ่ ง แวดล้ อ มและบรรยากาศดี ๆ ที่ สวยงามในเมืองต่างๆ ทั่วโลกย่อมมีสองด้านมีสถานที่สวยแล้ว ย่อมมีสถานที่เลอะเทอะปะปนเช่นกัน ในสวิตเซอร์แลนด์ก็หนี ไม่พ้นความเป็นจริงนี้ บางมุมของเมือง..โดยเฉพาะแถบริมทะเลสาบเจนีวา มักมีเศษขยะที่ผู้คนทิ้งตามริมถนนให้เห็น ผนังตึกมักมีมือดีมา พ่นสี วาดภาพหรือเขียนตัวหนังสืออะไรต่อมิอะไรเปรอะไปหมด ทว่า...ในแง่มุมของศิลปะ ภาพวาดและตัวหนังสือตามผนังตึก หรือก�ำแพง ดูไปดูมากลับกลายเป็นว่าศิลปินนิรนามเหล่านั้น ได้ ฝากผลงานสวยๆ ไว้ให้...ชนิดนึกไม่ถึง ช่างน่าทึ่งยิ่งนัก ต้องยอมรับว่า ภาพการใช้ชีวิตของผู้คนชาวสวิส-น�้ำ ใส-ดอกไม้สวย-ทิวทุ่งบนเนินเขาสลับซับซ้อน ฯลฯ ของประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ที่ท่านเคยได้เห็นตามหน้าปฏิทิน ล้วนเป็นสิ่งที่ ผู้คนทั้งโลกอยากมาเยี่ยมเยือนและชื่นชมของจริง อย่างน้อย... ก็สักครั้งในชีวิต ต้องถือว่าพวกเราโชคดีที่ได้ให้รางวัลครั้งหนึ่งกับ ชีวิตแล้ว สวิตเซอร์แลนด์เป็นดินแดนในฝัน เป็นสวรรค์บนดิน ที่เทพบรรจงสรรค์สร้าง จนสวย...สวยสุดจะบรรยาย... 11 issue 125 june 2018


12 IS AM ARE www.fosef.org


ครอบครัวของฉัน ครอบครัวพอเพียง “เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง” เป็ น แนวพระราชด� ำ ริ ใ นพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ที่ พ ระราชทานมานานกว่ า 30 ปี เป็ น แนวคิ ด ที่ ตั้ ง อยู ่ บ นรากฐานของวั ฒ นธรรมไทย เป็ น แนวทางการพั ฒ นาที่ ตั้ ง บนพื้ น ฐานของทาง สายกลาง และความไม่ ป ระมาท ค� ำ นึ ง ถึ ง ความพอประมาณ ความมี เ หตุ ผ ล การสร้ า งภู มิ คุ ้ ม กั น ในตั ว เอง ตลอดจนใช้ ค วามรู ้ แ ละคุ ณ ธรรม เป็ น พื้ น ฐานในการด� ำ รงชี วิ ต ที่ ส� ำ คั ญ จะต้ อ งมี “สติ ปั ญ ญา และความ เพี ย ร” ซึ่ ง จะน� ำ ไปสู ่ “ความสุ ข ” ในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต อย่ า งแท้ จ ริ ง “ ครอบครัวของฉันประกอบด้วยสมาชิก 6 คน โดยมี คุณพ่อ คุณแม่ คุณปู่ คุณป้า พี่ชายและฉัน คุณปู่ของฉันท่านมักจะปลูก ต้นไม้หรือพืชผักสวนครัวอยู่เสมอ เวลาคุณแม่จะท�ำอาหารคุณแม่ของฉันไม่ต้องไปซื้อวัตถุดิบในการท�ำอาหารที่ไหนเลยเพราะว่าคุณ ปู่ได้ปลูกไว้ที่หลังบ้านหมดแล้ว ส่วนคุณพ่อท่านมีอาชีพเกษตรกร ท่านจะแบ่งที่ดินไว้ส�ำหรับปลูกข้าว ปลูกกล้วย และปลูกผักชนิด อื่นๆ อีกโดยมีพี่ของฉันช่วยดูแลด้วย เมื่อบางครั้งเกิดเพลี้ยระบาด หรือตัวแมลงมากัดกินท�ำให้พืชผักเสียหาย คุณปู่ก็มักจะน�ำน�้ำปุ๋ย หมักที่ท่านท�ำไว้มาฉีดเพื่อไล่เพลี้ยหรือตัวแมลงต่างๆ ซึ่งปุ๋ยหมักที่คุณปู่ท�ำขึ้นก็เกิดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งนั้น และพี่ชายของฉัน เขาได้ท�ำบ่อเลี้ยงปลาชนิดต่างๆ ไว้อีกด้วยเมื่อถึงวันที่ต้องเก็บเกี่ยวพืชผักผลไม้ ฉันก็จะมาช่วยเก็บอยู่เสมอ แล้วน�ำไปขายที่ตลาดนัด ฉันได้เงินจากการขายพืชผักนี้ทุกครั้งแล้วฉันก็น�ำไปฝากธนาคารตลอดเพื่อไว้เป็นทุนการศึกษาในระดับที่สูงขึ้นและบางครั้งมีคนใน หมู่บ้านขาดแคลนพืชผักพวกเขาจะมาที่บ้านฉัน ครอบครัวของฉันก็ให้พวกเขาโดยไม่คิดเงินเลย จนคนในหมู่บ้านรักครอบครัวของ ฉัน ทุกคนพร้อมที่จะช่วยเหลือกันตลอดเวลา เมื่อพวกเขาได้รับพืชผักผลไม้นั้นพวกเขาก็จะยิ้มและมีความสุข และครอบครัวของฉัน ก็มีความสุขไปด้วย ครอบครัวของฉันรักในความพอเพียง ความเพียงพอ ความพอดี และทางสายกลาง เพราะจะท�ำให้ครอบครัวเรา ไม่เดือดร้อนและไม่เป็นหนี้สินคนอื่นด้วย ฉันคิดว่าเมื่อฉันเติบโตขึ้นไป ฉันจะยึดหลักค�ำสอนของพ่อมาใช้ในชีวิต ครอบครัวของฉันมี ความสุขในสิ่งที่พวกเรามี พอใจในสิ่งที่เป็นอยู่ และครอบครัวของฉันก็ยังคงท�ำตาม “หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ต่อไป ส�ำหรับครอบครัวฉันทุกคนไม่จ�ำเป็นต้องพึ่งพาแต่คนอื่น ทุกคนไม่ จ�ำเป็นที่จะต้องการสิ่งที่แพงเกินความจ�ำเป็น ขอแค่ทุกคนอยู่ในความพอดี ไม่มากไม่น้อยจนเกินไป ทุกคนก็สามารถมีความสุขได้ แค่เดินตามค�ำที่พ่อ เราสอนไว้ นางสาว ปานทิพย์ ดอกไม้เทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอินทร์บุรี อ�ำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี เรียงความชนะเลิศในหัวข้อ ครอบครัวของฉัน ครอบครัวพอเพียง

13 issue 125 june 2018


แนวทางการบริหารและการสร้างนักศึกษา ให้ออกไปเป็นพลเมืองที่เข็มแข็งของชาติ

ดร.อาทิตย์ อุ ไรรัตน์​์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต

14 IS AM ARE www.fosef.org


cover story

15 issue 125 june 2018


เป็นที่ทราบกันอยู่แล้วว่า การจะพัฒนาประเทศได้นั้น จ�ำเป็นจะต้องพัฒนาที่ “คน” หรือที่เรียกว่าทรัพยากรมนุษย์ ดังค�ำกล่าวที่ว่า “หน่วยที่ส�ำคัญที่สุดของสังคม คือบุคคล ถ้า บุคคลได้รับการพัฒนาที่ดี สังคมก็จะพัฒนาตามไปด้วย” ดังนั้น การศึกษาจึงถือเป็นปัจจัยที่ 5 แห่งการด�ำรงชีวิต บุคคลต้องการ การศึ ก ษาเพื่ อ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพของชี วิ ต ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ นโยบายของ ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดี มหาวิทยาลัย รังสิต ซึ่งท่านชูธงว่า การศึกษายุคใหม่ต้องสามารถผลิตบัณฑิต ที่สามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของโลกปัจจุบันและอนาคต ได้อย่างอิสระ เพื่อเท่าทันยุค Digital tech transformation อธิการบดี ม.รังสิต ได้กล่าวว่า ทุกครั้งที่เกิดวิกฤต เรา ชาวมหาวิ ท ยาลั ย รั งสิต จะรวมตัว กัน ส�ำหรับ การจัด เวที เ พื่ อ ระดมความคิดเพื่อการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งวิกฤตการศึกษาใน ครั้งนี้เกิดเนื่องมาจาก จ�ำนวนนักศึกษาที่ลดลง เพราะจ�ำนวน ประชากรของประเทศลดลง จ�ำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น เด็กไม่ เรียนหนังสือมากขึ้น เหล่านี้คือส่วนหนึ่งของปัญหา แต่เรื่อง ที่มีความน่ากังวลมากกว่านั้นคือ เรียนแล้วได้อะไร เพราะที่ ผ่านมาเรามีค่านิยมที่ผิดมาตลอด เช่น เรื่องการแบ่งชั้นวรรณะ สร้างความเหลื่อมล�้ำต�่ำสูง ใช้ระบบแพ้คัดออก สิ่งเหล่านี้ท�ำให้ การศึกษาไม่เจริญ เพราะการศึกษาต้องสร้างศักยภาพให้เต็ม ที่ สามารถท�ำอะไรได้ไม่สิ้นสุด สร้างความเข้มแข็งให้คน และ เราต้องมาดูกันว่าวิกฤตที่เกิดขึ้นจะมีเหตุการณ์อะไรที่เรียกว่า คลื่นลูกที่ 4 คือ โลกจะเปลี่ยนแปลงเร็วเป็นปกติ อัจฉริยะของ คนท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น เช่น โทรศัพท์เป็นอภิสิทธิ์ชน ปรากฏการณ์สื่อสิ่งพิมพ์เริ่มล่มสลาย ธนาคารเริ่มปิดสาขาและ ลดพนักงาน เป็นต้น ทั้งหมดนี้ชี้ให้เห็นถึงวิกฤตที่เกิดขึ้น ถึงแม้ว่าจะดูรุนแรง แต่ ทั้ ง นี้ ก็ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงมาโดยตลอดในทางเทคโนโลยี

การจะพั ฒ นาประเทศได้ นั้ น จ� ำ เป็ น จะต้ อ งพั ฒ นาที่ “คน” หรื อ ที่ เ รี ย กว่ า ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ดั ง ค� ำ กล่ า ว ที่ ว ่ า “หน่ ว ยที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ของสั ง คม คื อ บุ ค คล ถ้ า บุ ค คลได้ รั บ การพั ฒ นาที่ ดี สั ง คมก็ จ ะพั ฒ นาตามไป ด้ ว ย” ดั ง นั้ น การศึ ก ษาจึ ง ถื อ เป็ น ปั จ จั ย ที่ 5 แห่ ง การด� ำ รงชี วิ ต “คน” จึงเป็นสิ่งส�ำคัญที่สุดเท่าที่โลกสร้างมา เมื่อเป็นเช่นนี้ สิ่งที่จ�ำเป็นต้องท�ำคือ การสร้างคนรุ่นใหม่ ดังนั้นการศึกษาใน ระดับอุดมศึกษาของไทยนั้นตอบโจทย์ความต้องการของชีวิต หรือไม่ จบแล้วไปสร้างคุณค่าและสร้างประโยชน์อย่างไร หมด ยุคที่เราจะก�ำหนดว่าเรียนจบแล้วต้องท�ำงานตรงสาขาที่เรียนมา “เพราะการศึกษาแบบใหม่สิ่งส�ำคัญคือผู้เรียนต้องเรียน ด้วยความเข้าใจจนเชี่ยวชาญทักษะในความหมายกว้าง มีวิธีคิด ไม่ใช่เรียนรู้เพียงแค่ท่องจ�ำเนื้อหาในหนังสือ หรือเรียนจบตาม หลักสูตรการวัดผล แต่เราต้องดูว่าเรียนแล้วประสบความส�ำเร็จ และมีทักษะชีวิต Personalized, Perfect and Free การ ศึกษาทุกอย่างต้องมีทางเลือก (Regenerative) หรือใช้แนวทาง การศึกษาแบบ Innovation startup entrepreneurship” โดยมี “ฝ่ายกิจการนักศึกษา” เป็นหัวใจส�ำคัญในการ ส่งเสริมสนับสนุนการศึกษาสู่การพัฒนาประเทศ ซึ่งบทบาท

16 IS AM ARE www.fosef.org


สถาปนาเมื่อ วันที่ 29 พฤศจิกายน 2533 มหาวิทยาลัยรังสิต เติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงเวลาเกือบ 2 ทศวรรษที่ผ่านมา จนเป็ น มหาวิ ท ยาลั ย เอกชนระดั บ แนวหน้ า ที่ มี คุ ณ ภาพและ มาตรฐานเป็นที่ยอมรับทั้งในประเทศและระดับนานาชาติ โดยตระหนักว่า มหาวิทยาลัยมีบทบาทหน้าที่ส�ำคัญ ยิ่ง ในการพัฒนาก�ำลังคนของประเทศ เพื่อสร้างศักยภาพที่ เข้มแข็งทางเศรษฐกิจสังคม และความสามารถในการแข่งขัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในยุคที่ความรู้ และภูมิปัญญาเป็นรากฐาน ส�ำคัญ ที่จะน�ำไปสู่ความรุ่งเรืองไพบูลย์ มหาวิทยาลัยรังสิต จึง ด�ำเนินมาตรการปรับปรุงก�ำลังคน และโครงสร้างพื้นฐาน ที่ จ�ำเป็นต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปรับปรุงหลักสูตร และ วิธีการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งพัฒนาหลักสูตร ใหม่ ๆ ที่ ต อบรั บความท้ า ทาย และความเปลี่ ย นแปลงทาง เศรษฐกิจสังคม ตลอดจนความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี โดยมี ความมุ่งมั่น ที่จะก้าวไปสู่การเป็นสถาบันอุดมศึกษาที่มีชื่อเสียง ทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี วิทยาการจัดการและ การออกแบบ รวมทั้งการบูรณาการศาสตร์ต่าง ๆ เพื่อส่งเสริม การศึกษาในองค์รวม ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ที่ส�ำเร็จการศึกษาไม่เพียง แต่มีความช�ำนาญในสาขาวิชาชีพที่เลือกสรร หากมีรากแก้วที่ แน่นเหนียวในศาสตร์ต่าง ๆ ที่จ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีวิตรวมทั้ง พื้นฐานทางจริยธรรม และความมั่นคงทางอารมณ์ ที่จะโน้ม น�ำไปสู่ความก้าวหน้าทางสังคม และวิชาชีพ ตลอดจนความสุข และความส�ำเร็จในอนาคต

มหาวิ ท ยาลั ย มี บ ทบาทหน้ า ที่ ส� ำ คั ญ ยิ่ ง ในการพั ฒ นา ก� ำ ลั ง คนของประเทศ เพื่ อ สร้ า งศั ก ยภาพที่ เ ข้ ม แข็ ง ทางเศรษฐกิ จ สั ง คม และความสามารถในการแข่ ง ขั น โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในยุ ค ที่ ค วามรู ้ และภู มิ ป ั ญ ญา เป็ น รากฐานส� ำ คั ญ ส�ำคัญของฝ่ายกิจการนักศึกษา ก็คือ การพัฒนานักศึกษา ซึ่ง เป็นทรัพยากรบุคคล ที่จะเป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนาประเทศ ดังนี้ 1. เสริมสร้างสวัสดิการ และการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของนักศึกษา 2. พัฒนาระบบอาจารย์ที่ปรึกษา (การให้ค�ำปรึกษาโดย ทีมผู้ช�ำนาญการ) 3. สนับสนุนทุนการศึกษานักศึกษาที่ขาดแคลน 4. จัดกิจกรรมสร้างเสริม คุณธรรม จริยธรรม และการ ท�ำงานเป็นทีม 5. ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมนานาชาติ และกิจกรรมที่ เป็นประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา มหาวิ ท ยาลั ย รั ง สิ ต มุ ่ ง เน้ น การพั ฒ นาไปในทิ ศ ทาง ใด เพื่ อ ตอบโจทย์ ค วามเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ้ น ใน ปั จ จุ บั น ? หลั ง จากการจั ด ตั้ ง เมื่ อ ปี พ.ศ.2532 และสมเด็ จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชด�ำเนินทรงเป็นองค์ประธานในพิธี

17 issue 125 june 2018


18 IS AM ARE www.fosef.org


ผมพร้อมด้วยคณะผู้บริหาร คณาจารย์ และพนักงาน ทุกคน มุ่งผนึกก�ำลังกันสร้างสรรค์ให้มหาวิทยาลัยรังสิต เป็น มหาวิทยาลัยในสวน มหาวิทยาลัยที่พร้อมมวลด้วยศาสตร์และ ศิลป์ มหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้ต่อเนื่องตลอดชีวิต ที่ศิษย์ ทุกคนจะได้เข้าไปเรียนรู้ถึงศักยภาพของตนเอง เรียนรู้ถึงความ ก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยี อีกทั้งการบูรณาการความ รู้ที่ได้รับ เพื่อเป็นพื้นฐานของการประกอบอาชีพ และการด�ำรง ชีวิตที่รุ่งเรือง มีความสุข อันจะส่งผลไปถึงความเจริญก้าวหน้า ของประเทศชาติและสังคมโดยรวมในอนาคต อาจารย์ ม องการศึ ก ษา และความเป็ น ไปในอนาคต ไว้ อ ย่ า งไร ?

นวัตกรรมการศึกษาของ ม.รังสิต

การสร้ า งให้ นั ก ศึ ก ษาเป็ น พลเมื อ งที่ ดี ตั้ ง แต่ ร ะดั บ ครอบครั ว ชุ ม ชน ประเทศ กระทั่ ง การเป็ น พลเมื อ งโลก มีจิตส�ำนึกของความเป็นธรรมาธิปไตย โดยเน้นการสร้างทักษะ ชี วิ ต ให้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษามากกว่ า การเรี ย นในห้ อ งเรี ย น โดยเปิ ด โอกาสให้นักศึกษาลงพื้นที่ศึกษาในมหาวิทยาลัยและชุมชน ซึ่ง ไม่จ�ำเป็นต้องเป็นชุมชนที่มีปัญหาเท่านั้น แต่อาจจะเป็นชุมชน ตนแบบที่ดีก็ได้ตามแต่เรื่องที่นักศึกษาสนใจ เพื่อน�ำมาถ่ายทอด และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน มีทักษะของการสื่อสารและมี ทักษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ไม่เฉพาะในชั่วโมงเรียน เท่านั้น นักศึกษายังสามารถใช้เทคโนโลยีสื่อสารเพื่อการศึกษา ได้ตลอดเวลา สิ่ ง ที่ อ ยากจะฝากถึ ง นั ก ศึ ก ษา และเยาวชน ? มี นั ก วิ ช าการเคยพู ด ว่ า การเรี ย นในมหาวิ ท ยาลั ย นักศึกษาชั้นปีที่ 1-2 ถือว่าเป็นการเตรียมตัวเปลี่ยนจากนักเรียน มาเป็นนักศึกษา เพราะพวกเขาเหล่านั้นเคยมีครูเป็นศูนย์กลาง ของการเรียนรู้ ส่วนปี 3-4 เป็นการเตรียมตัวนักศึกษาให้เป็น บัณฑิตมีความพร้อมในการเป็นพลเมืองดีของสังคมเนื่องจาก เมื่อศึกษาจบนักศึกษาต้อง / ท�ำงานกับผู้อื่น / ท�ำงานเป็นทีม / ต้องเรียนรู้ด้วยตัวเอง / ต้องสื่อสารเป็น / ใช้เทคโนโลยีได้ / ต้องมีความรับผิดชอบต่อตนเอง / ตระหนักถึงบทบาท และ ภาระหน้าที่ในการเป็นพลเมืองที่ดีของสังคมต่อไป

19 issue 125 june 2018


มารู้จักมหาวิทยาลัยรังสิตกันเถอะ จังหวัด อดีตผู้ว่าการการทางพิเศษ และอดีตรองผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานคร) ตั้งแต่เมื่อครั้งยังอยู่ในราชการว่า จะรวบรวม บุคคลที่รักใคร่ชอบพอ สร้างกิจกรรมขึ้นอย่างหนึ่งที่จะอ�ำนวย ประโยชน์แก่สังคมส่วนรวมได้เต็มที่ โดยได้ตั้งปณิธานไว้ว่า "เรา จะสร้างเยาวชนและคนรุ่นใหม่ให้เป็นบัณฑิตที่เพียบพร้อมด้วย วิทยาการและเพียบพร้อมด้วยจริยธรรม"

มหาวิ ท ยาลั ย รั ง สิ ต ตั้ ง อยู ่ บ นเนื้ อ ที่ 292 ไร่ ต� ำ บล หลักหก ถนนพหลโยธิน อ�ำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี ห่าง จากท่าอากาศยานดอนเมืองเพียง 3 กิโลเมตร บริเวณรอบ ข้ า งมหาวิ ท ยาลั ย เป็ น ชุ ม ชน "เมื อ งเอก" เนื้ อ ที่ 4,000 ไร่ มหาวิทยาลัยอยู่ในท�ำเลที่มีสภาพแวดล้อมดีเยี่ยม ประกอบด้วย สิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน เช่น สนามกอล์ฟ สระว่ายน�้ำ สนามเทนนิส เป็นต้น มีอากาศบริสุทธิ์แจ่มใส เหมาะส�ำหรับ เป็นที่ตั้งของสถาบันการศึกษาขั้นสูง มหาวิ ท ยาลั ย รั ง สิ ต เป็ น สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาเอกชนที่ มี จุ ด มุ ่ ง หมายส� ำ คั ญ คื อ การผลิ ต บั ณ ฑิ ต ในสาขาวิ ช าที่ ต รง กับความต้องการในการพัฒนาประเทศ โดยมุ่งเน้นทางด้าน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การออกแบบ และการจัดการเป็น ส� ำ คั ญ รวมถึ ง วิ ช าชี พ อิ ส ระ ที่ ส ามารถสร้ า งงานของตนเอง ได้ ความคิดที่จะด�ำเนินการจัดตั้งมหาวิทยาลัยรังสิตมีมานาน แล้ว โดยนายประสิทธิ์ อุไรรัตน์ (อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดหลาย 20

IS AM ARE www.fosef.org


คณะผู้ก่อตั้งโครงการมหาวิทยาลัยรังสิต ประกอบด้วย นักการศึกษา นักวิชาการ และผู้ช�ำนาญการจากรัฐวิสาหกิจ ต่างๆ ที่มีความเห็นตรงกันว่า การศึกษาระดับอุดมศึกษาของ ประเทศยั ง ไม่ เ พี ย งพอกั บ ความต้ อ งการ โดยเฉพาะในด้ า น วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การออกแบบ และการจัดการเพื่อ ให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว มหาวิทยาลัยรังสิตจึงได้ก�ำหนด แนวทางการจัดการศึกษาไว้อย่างชัดเจน ดังนี้ มุ่งเน้นในเรื่อง ของมาตรฐานการศึกษาและความเป็นเลิศทางวิชาการ ส่งเสริม พัฒนาหลักสูตร และสาขาวิชาให้สอดคล้อง และทันต่อความ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และสังคมส่งเสริมให้มีการศึกษาภาค ทฤษฎีควบคู่และสัมพันธ์ไปกับภาคปฏิบัติ ซึ่งนอกเหนือจากการ ฝึกฝนปฏิบัติงาน หรือการเรียนรู้โดยตรงจากธุรกิจ อุตสาหกรรม หรือสถานประกอบการในสาขาที่ตนศึกษาแล้ว ยังมุ่งส่งเสริม ให้คณะและสาขาวิชา ต่างๆ ของมหาวิทยาลัยเป็นองค์กรหรือ สถานปฏิบัติงานในตัวเอง ทั้งนี้ โดยมีจุดมุ่งหมายให้องค์กร เหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา และยังเป็นการให้บริการ ชุมชน อีกส่วนหนึ่งด้วย มหาวิทยาลัยตระหนักดีว่า บัณฑิตทุกคนจ�ำเป็นต้อง มี ทั ก ษะ หรื อ ความรู ้ พื้ น ฐานที่ จ� ำ เป็ น ในการประกอบอาชี พ โดยเฉพาะ ส�ำหรับระบบธุรกิจสมัยใหม่ อันได้แก่ ความรู้ภาษา อังกฤษ และเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยจึงก�ำหนด ให้นักศึกษาทุกคน ทุกคณะต้องเรียนวิชาคอมพิวเตอร์พ้ืนฐาน และเน้นความรู้ภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษใน การเรียนการสอน ในด้านการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยมุ่งสร้างเสริม ทั ศ นคติ ที่ ถู ก ต้ อ งต่ อ การศึ ก ษาคื อ ส่ ง เสริ ม ให้ นั ก ศึ ก ษามี ความตัง้ ใจ ใฝ่รู้ และมีความกระตือรือร้นในการศึกษา ด้วยตนเอง อย่างจริงจัง ซึ่งจะเป็นพื้นฐานส�ำคัญของชีวิต นอกจากการจัด สภาพแวดล้อมโดยทั่ว ไปของมหาวิทยาลัยให้ มีบรรยากาศที่ เอื้ออ�ำนวยต่อการศึกษาแล้ว มหาวิทยาลัยยังได้ให้ความส�ำคัญ และจัดเตรียมสื่อการเรียนการสอน เทคนิคการสอนที่ทันสมัย การจัดเตรียมห้องสมุดที่ได้มาตรฐาน มีหนังสือ วารสาร สื่อ ผสมต่างๆ รวมทั้งซีดีรอม วีดิทัศน์ และบริการอินเทอร์เน็ต ซึ่ง นักศึกษาสามารถเข้าศึกษาค้นคว้า เป็นรายบุคคล การจัดให้ มีอาจารย์ประจ�ำที่มีคุณภาพ จ�ำนวนมากพอส�ำหรับการเรียน การสอน และการดูแลนักศึกษาอย่างใกล้ชิด นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังจัดให้มีทุนการศึกษาประเภท ต่างๆ จ�ำนวนมาก รวมทั้งทุนกู้ยืม เพื่อการศึกษาของรัฐบาล เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษา เกิดความมุ่งมั่นในการศึกษามากยิ่ง ขึ้น

เพื่อเป็นการส่งเสริมให้นักศึกษามีความพร้อมที่จะออก ไปเผชิญกับชีวิตการท�ำงาน และมีพื้นฐานในการพัฒนาตนเอง มหาวิ ท ยาลั ย ได้ สนั บ สนุ น ให้ นั ก ศึ ก ษามี ส ่ ว นร่ ว มในการท� ำ กิจกรรม ร่วมกัน ทั้งด้านดนตรี กีฬา สันทนาการและการ บริการ ชุมชน ตลอดจนการมีส่วนร่วมในการบริหาร กิจการนักศึกษา ทั้งนี้โดยอยู่ บนพื้นฐานความเชื่อที่ว่า มหาวิทยาลัยสมบูรณ์ แบบจะต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบ และให้ ค วาม ส� ำ คั ญ ต่ อ การเสริ ม สร้ า งและ พั ฒ นาศั ก ยภาพทุ ก ด้ า นของ ชี วิ ต นั ก ศึ ก ษาทั้ ง ใน เชิงวิชาการ คุณธรรม บุคลิกภาพพลานามัย และศิลปวัฒนธรรม มหาวิ ท ยาลั ย ได้ จั ด ตั้ ง โรงเรี ย นสอนดนตรี มี ส นาม ฟุ ต บอล บาสเกตบอล กรีฑาลู่และลาน ฯลฯ เพื่อให้นักศึกษาได้เลือก ตามความถนัด และความสนใจ อนึ่ ง มหาวิ ท ยาลั ย ได้ จั ด สร้ า งหอพั ก นั ก ศึ ก ษาเพื่ อ เป็นแหล่งหล่อหลอม พัฒนาบุคลิกภาพของนักศึกษา ให้ได้ มีโอกาสฝึกฝนการใช้ชีวิต และท�ำงานร่วมกับผู้อื่น การร่วม กิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เป็นระบบ และต่อเนื่อง รวมทั้งการ ปลูกฝังคุณลักษณะ และคุณธรรมต่างๆ ตามแนวปรัชญาของ มหาวิทยาลัย หาวิ ท ยาลั ย ตระหนั ก ดี ว ่ า บั ณ ฑิ ต ทุ ก คนจ� ำ เป็ น ต้ อ งมี ทั ก ษะ หรื อ ความรู ้ พื้ น ฐานที่ จ� ำ เป็ น ในการ ประกอบอาชี พ โดยเฉพาะ ส� ำ หรั บ ระบบธุ ร กิ จ สมั ย ใหม่ อั น ได้ แ ก่ ความรู ้ ภ าษาอั ง กฤษ และเทคโนโลยี สารสนเทศ

21 issue 125 june 2018


มหาวิทยาลัยรังสิต ได้เริ่มด�ำเนินการเปิดรับนักศึกษารุ่น แรกตั้งแต่ปีการศึกษา 2529 ในนามของวิทยาลัยรังสิต ต่อมาได้ รับการเปลี่ยนประเภทเป็นมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2533 โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ เป็นองค์ประธานในพิธี สถาปนามหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2533 นับเป็น สิริมงคลแก่มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นอย่างยิ่ง นอกจากนี้ มหาวิ ท ยาลั ย รั ง สิ ต ยั ง ได้ เ ปิ ด ด� ำ เนิ น การ หลักสูตรนานาชาติ โดยจัดสอนเป็นภาษาอังกฤษ ซึ่งปัจจุบัน เปิดสอนระดับปริญญาตรี คือ สาขาวิชาปรัชญา การเมืองและ เศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาธุรกิจระหว่างประเทศ สาขาวิชาการ จั ด การท่ อ งเที่ ย วและอุ ต สาหกรรมการบริ ก าร สาขาวิ ช า เศรษฐศาสตร์ สาขาวิชานิเทศศาสตร์ สาขาวิชาระบบและการ จัดการสารสนเทศ และเตรียมการส�ำหรับหลักสูตรใหม่ที่จะ เปิดสอนเพิ่มเติม ทั้งระดับปริญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษา นอกจากนี้มหาวิทยลัยรังสิตยังได้เข้าร่วมโครงการ University Studies Aboard Consortium (USAC) ซึ่งมีมหาวิทยาลัยชั้น น�ำจากทั่วโลกเข้าร่วมโครงการกว่า 400 แห่งและมหาวิทยาลัย รังสิตได้รับเลือก ให้เป็นผู้แทนในภูมิภาคเอเซีย เพื่อมุ่งสู่การเป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่มีมาตรฐาน ระดั บ นานาชาติ มหาวิ ท ยาลั ย รั ง สิ ต ได้ ด� ำ เนิ น การปรั บ ปรุ ง หลักสูตรให้ทนั สมัย และสอดคล้องกับสภาพสังคมทีเ่ ปลีย่ นแปลง โดยมุ่งสู่ความเป็นสากลมากขึ้น มหาวิทยาลัยได้ร่วมมือทาง วิ ช าการกั บ สถาบั น และมหาวิ ท ยาลั ย ชั้ น น� ำ นานาประเทศ อาทิ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ เนเธอร์แลนด์ เยอรมัน นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย สวิสเซอร์แลนด์ เบลเยี่ยม ฯลฯ ครอบคลุมสาขา

วิชาต่างๆ ที่มหาวิทยาลัยเปิดสอน ความร่วมมือกระท�ำในรูป แบบ ต่างๆ ทั้งในด้านการพัฒนาหลักสูตร การท�ำวิจัย การแลก เปลี่ยนคณาจารย์และนักศึกษา การส่งบุคลากรและนักศึกษาไป ฝึกอบรม นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยยังเปิด ส�ำนักงานศึกษาต่าง ประเทศ เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่นักศึกษาที่ต้องการไป ศึกษา และหาประสบการณ์เพิ่มเติมยังต่างประเทศในบางภาค การศึกษา โดยสามารถโอนหน่วยกิตทั้งหมดมายังมหาวิทยาลัย รังสิตได้ 22 IS AM ARE www.fosef.org


มหาวิทยาลัยรังสิต

มหาวิทยาลัยรังสิตเป็นสถาบันอุดมศึกษา ที่ได้รับการ ประเมินจากส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา (สมศ.) ให้เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนเพียงแห่งเดียวที่ ได้รับการจัดให้อยู่ในระดับ “ดีมาก” ในกลุ่มสถาบันที่เน้นการ ผลิตบัณฑิต จัดการเรียนการสอนโดยแบ่งกลุ่มคณะวิชาออก เป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ 1.กลุ ่ ม คณะวิ ช าแพทยศาสตร์ แ ละวิ ท ยาศาสตร์ สุ ข ภาพ • วิทยาลัยแพทยศาสตร์ • คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ • คณะเทคนิคการแพทย์ • คณะพยาบาลศาสตร์ • คณะกายภาพบ�ำบัด • คณะวิทยาศาสตร์ • คณะทัศนมาตรศาสตร์ • วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก

• คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ • วิทยาลัยนวัตกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยี ชีวภาพ • สถาบันการบิน

3.กลุ ่ ม คณะวิ ช ามนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์ • วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม • วิทยาลัยนานาชาติ • สถาบันการทูตและการต่างประเทศ • คณะศิลปศาสตร์ • คณะนิเทศศาสตร์ • คณะนิติศาสตร์ • คณะศึกษาศาสตร์ • บัณฑิตวิทยาลัย

2.กลุ ่ ม คณะวิ ช าวิ ศ วกรรมศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี • วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์

4.กลุ ่ ม คณะวิ ช าศิ ล ปะและการออกแบบ • วิทยาลัยดนตรี • คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ • คณะศิลปะและการออกแบบ • คณะดิจิทัลอาร์ต 5.กลุ ่ ม คณะวิ ช าเศรษฐกิ จ และธุ ร กิ จ • วิทยาลัยรัฐกิจ • คณะบริหารธุรกิจ • คณะบัญชี • วิทยาลัยการท่องเที่ยวและการบริการ • คณะเศรษฐศาสตร์ ปัจจุบันเปิดสอนในระดับปริญญาตรี 94 หลักสูตร ระดั บ ปริ ญ ญาโท 37 หลั ก สู ต ร ประกาศนี ย บั ต รบั ณ ฑิ ต 1 หลักสูตร และระดับปริญญาเอก 9 หลักสูตร รวม 141 หลักสูตร 23 issue 125 june 2018


24 IS AM ARE www.fosef.org


Cartoon

25 issue 125 june 2018


26 IS AM ARE www.fosef.org


27 issue 125 june 2018


ไขข้อข้องใจ TCAS

ระบบสอบเข้ามหาวิทยาลัยแบบใหม่ TCAS เป็ น ระบบการคั ด เลื อ กเข้ า มหาวิ ท ยาลั ย รู ป แบบใหม่ ซึ่ ง ย่ อ มาจาก Thai University Central Admission System ระบบนี้ การสอบข้ อ สอบกลางได้ เ ลื่ อ นไปสอบหลั ง จากเด็ ก ม.6 เรี ย นจบการ ศึ ก ษาแล้ ว และ ยั ง มี ก ารเพิ่ ม ภาษาเกาหลี เป็ น ภาษาเพิ่ ม เติ ม ในการสอบ PAT7 ความถนั ด ทางภาษาต่ า ง ประเทศด้ ว ย ระบบนี้ จ ะแบ่ ง เป็ น 5 รอบ ทุ ก รอบจะมี ก ารยื น ยั น สิ ท ธิ์ ( ระบบ Clearinghouse) ส� ำ หรั บ ผู ้ ได้ รั บ คั ด เลื อ ก และเมื่ อ ยื น ยั น สิ ท ธิ์ เ รี ย บร้ อ ยแล้ ว จะไม่ ส ามารถสอบรอบต่ อ ไปได้ 28 IS AM ARE www.fosef.org


ความน่าสนใจคือระบบ TCAS ให้ความเท่าเทียมในการ เข้ามหาวิทยาลัยมากขึ้น และช่วยลดปัญหาการกันสิทธิ์คนอื่น (กั๊กที่นั่นแหละ) ลดปัญหาความได้เปรียบเสียเปรียบระหว่าง คนจนคนรวย ช่วยแก้ปัญหาการวิ่งรอกสอบ เพราะระบบใหม่ จะจัดช่วงเวลาสอบหลังจากเด็ก ม.6 จบการศึกษาเรียบร้อย แล้ว มาดูกันว่าระบบสอบ TCAS แต่ละรอบมีอะไรบ้างส�ำหรับ คนที่ยังงงๆ อยู่ รอบที่ 1 Portfolio เป็ น การรั บ ด้ ว ยแฟ้ ม สะสมผลงาน(Portfolio) จะ เป็นรอบเดียวที่ไม่มีการใช้คะแนน GAT/PAT O-NET หรือ 9 วิ ช าสามั ญ แต่ บ างคณะอาจก� ำ หนด GPAX(เกรดเฉลี่ ย ) หรื อ ก� ำ หนดคะแนน TOEIC TOEFL IELTS(แบบทดสอบ วัดระดับความรู้ความสามารถทางภาษาอังกฤษ) และที่ส�ำคัญ น้องๆ ม.6 ต้องมีพอร์ต(Portfolio) ปังๆ เด็ดๆ เป็นของตัวเอง เพื่อไปยื่นให้มหาวิทยาลัย รอบนี้จะเปิด 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 จะเปิด ช่วงเดือน ต.ค.- พ.ย. และ จะประกาศผลเดือน ธ.ค. ความน่ า สนใจคื อ ระบบ TCAS ให้ ค วามเท่ า เที ย ม ในการเข้ า มหาวิ ท ยาลั ย มากขึ้ น และช่ ว ยลดปั ญ หา การกั น สิ ท ธิ์ ค นอื่ น (กั๊ ก ที่ นั่ น แหละ) ลดปั ญ หาความ ได้ เ ปรี ย บเสี ย เปรี ย บระหว่ า งคนจนคนรวย ช่ ว ยแก้ ปั ญ หาการวิ่ ง รอกสอบ หากไม่ติดครั้งที่ 2 จะเปิดช่วงเดือน ธ.ค. - ก.พ. และจะ ประกาศเดือน มี.ค.หากติดรอบพอร์ตก็จะเข้าสู่ระบบClearinghouse(ระบบการยืนยันสิทธิ์) เพื่อที่จะยืนยันว่าน้องจะเข้าคณะ นี้ และจะไม่มีสิทธิ์ยื่นสอบรอบต่อไปได้เลย รอบนี้เป็นรอบที่ สบายที่สุดเพราะไม่มีการสอบ และถ้าหากติด น้องๆ ม.6 ก็รอ เปิดเทอมเลย ได้หยุดยาว ชิวๆ แต่ถ้าไม่ติดก็ต้องสอบ GAT/PAT O-NET 9 วิชาสามัญ เพื่อใช้คะแนนในรอบต่อๆ ไป รอบที่ 2 โควตา รอบที่ 2 เป็นการรับแบบโควตา ซึ่งมีโควตาหลายอย่าง เช่น โควตาเรียนดี โควตานักเรียนในพื้นที่ โควตานักกีฬา และ อื่นๆ อีกมากมาย แล้วแต่มหาวิทยาลัยจะเปิดรับสมัคร รอบนี้ จะต้องยื่นคะแนน GAT/PAT O-NET 9 วิชาสามัญด้วย และ

29 issue 125 june 2018


เลือกมหาวิทยาลัยที่ต้องการศึกษาต่อในเคลียริ่งเฮาส์ของรอบที่ 3 อีกครั้ง) ซึ่งจะมีการจัดสอบร่วมกันในเวลาเดียวกัน โดยแต่ละ มหาวิทยาลัยเป็นคนก�ำหนดเกณฑ์การคัดเลือกเอง ถ้าหากได้ คณะที่ต้องการแล้วอย่าลืมยืนยันสิทธิ์ด้วยนะ! รอบที่ 4 แอดมิ ช ชั่ น แล้วถ้ายังไม่ได้คณะอีก ยังมีรอบที่ 4 รอบแอดมิชชั่น (Admission) ส�ำหรับนักเรียนทั่วไป เปิดรับสมัครช่วงเดือน มิ.ย.และจะประกาศผลช่วงเดือน ก.ค. การสอบ น้องๆ สามารถ เลือกได้ 4 อันดับแบบมีล�ำดับคะแนน ซึ่งจะใช้คะแนน GPAX 20% O-NET 30% GAT/PAT 50%(แล้วแต่มหาวิทยาลัย ก�ำหนด) และจะติดได้เพียง 1 อันดับ(เหมือนปีที่ผ่านมา) รอบที่ 5 รั บ ตรงอิ ส ระ ถ้าทั้ง 4 รอบที่ผ่านมายังไม่ได้ที่ไหนเลย รอบนี้เป็น โอกาสสุดท้าย รอบที่ 5 รอบรับตรงอิสระ น้องๆ จะต้องหา มหาวิทยาลัยให้ได้ในรอบนี้ ไม่งั้นน้องๆ ก็จะไม่มีที่เรียน รอบ สุดท้ายนี้วันเปิดรับสมัคร และวันคัดเลือกจะต้องให้เสร็จสิ้น ภายในเดื อ น ก.ค.มหาวิ ท ยาลั ย จะเปิ ด รั บสมั ค รเอง และจะ รั บ ตรงด้ ว ยวิ ธี ก ารของมหาวิ ท ยาลั ย เอง ทั้ ง 5 รอบ น้ อ งๆ จะต้ อ งเตรี ย มตั ว ให้ ดี และคอยติ ด ตามข่ า วสารจากทั้ ง ทาง มหาวิทยาลัย และ ทปอ.ตามเว็บนี้เลย http://tcas.cupt.net/ ที่มา : www.mangozero.com

มหาวิทยาลัยสามารถจัดสอบข้อเขียนหรือสอบปฏิบัติได้ จะเปิด รับสมัครช่วงเดือน ธ.ค. – เม.ย. และ ประกาศผลเดือน พ.ค. ที่ ส�ำคัญ รอบนี้เป็นรอบที่มหาวิทยาลัยเปิดรับสมัครนักศึกษามาก ถึง 68,050 คน ซึ่งมากที่สุดในทั้ง 5 รอบ รอบที่ 3 รอบรั บ ตรงร่ ว มกั น ต่อไปจะเป็นรอบที่ 3 การรับตรงร่วมกันจะเป็นรอบของ นักเรียนทั่วไป และนักเรียนที่อยู่ในโครงการ กสพท.(กลุ่มสถาบัน แพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย) รวมถึงโครงการอื่นๆ ตามที่ มหาวิทยาลัยก�ำหนด เปิดรับสมัครช่วงเดือน พ.ค. และ ประกาศ ผลเดือน มิ.ย. รอบนี้สามารถสมัครสอบและเลือกได้ 4 สาขาวิชา โดยไม่มีล�ำดับ หมายความว่า 4 สาขาวิชา หรือ 4 มหาวิทยาลัย ที่สมัครไปนั้น น้องๆ มีโอกาสผ่านการคัดเลือกทั้งหมด(แล้วค่อย 30 IS AM ARE www.fosef.org


31 issue 125 june 2018


32 IS AM ARE www.fosef.org


33 issue 125 june 2018


34 IS AM ARE www.fosef.org


35 issue 125 june 2018


36 IS AM ARE www.fosef.org


37 issue 125 june 2018


38 IS AM ARE www.fosef.org


39 issue 125 june 2018


40 IS AM ARE www.fosef.org


ประโยชน์ จ ากน�้ ำ มั น เมล็ ด ชา • มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูง และมีกรดไขมันอิ่มตัวต�่ำ • ช่วยลดระดับ LDL (คอเรสเตอรอลชนิดไม่ดี) และเพิ่ม ระดับ HDL (คอเรสเตอรอลชนิดดี) • ลดความเสี่ยงในการเกิดหลอดเลือดตีบตัน ความดัน เบาหวาน และโรคหัวใจ • ดีต่อผู้รักสุขภาพ ผู้สูงอายุ และผู้มีภาวะน�้ำหนักเกิน

ร่ า งกายของเราจ� ำ เป็ น ต้ อ งใช้ ไขมั น เพื่ อ เป็ น แหล่ ง พลังงานของร่ายกาย ดังนั้นการเลือกบริโภคไขมันจึงเป็นการ เลือกแหล่งพลังงานของร่างกาย ไขมันมีทั้งไขมันชนิดดี และ ไขมันชนิดร้าย น�้ำมันพืชที่มีไขมันไม่อิ่มตัวแบบเดี่ยวสูง จัดเป็นน�้ำมัน ชนิด “ดีพิเศษ” น�้ำมันเหล่านี้ช่วยลดคอเลสเตอรอลชนิดร้าย (LDL) และเพิ่มคอเลสเตอรอลชนิดดี (HDL) ซึ่งช่วยท�ำความ สะอาด หรือเก็บขยะ (คราบไขมัน) จากผนังเส้นเลือด

41 issue 125 june 2018


“ครู บนดอย”

สละสุขส่วนตนเพื่อ “เด็กพื้นที่พิเศษ” “ท� ำ ไมครู ที่ นี่ มี น ้ อ ยนั ก เด็ ก ๆ มั ก ถามถึ ง ครู อ ยู ่ เ สมอ ครู ค นใหม่ อ ยู ่ ไ หนกั น เล่ า เออ เด็ ก ชะเง้ อ คอยครู อ ยู ่ ทุ ก วั น ...” เพลง “ที่ นี่ ไ ม่ มี ค รู ” ของวงแฮมเมอร์ ยั ง คงสะท้ อ นสถานการณ์ โ รงเรี ย นในถิ่ น ทุ ร กั น ดารได้ เ ป็ น อย่ า งดี แม้ จ ะผ่ า นมากี่ ยุ ค สมั ย แล้ ว ก็ ต าม ยั ง คงมี ค รู น ้ อ ยคนที่ ย อมเสี ย สละเพื่ อ เด็ ก ในพื้ น ที่ ห ่ า งไกลอย่ า ง แท้ จ ริ ง ราชการแล้ว นึกแล้วเจ็บร้าวที่หัวใจ ด้วยความเป็นห่วงเด็กที่ เป็นมากกว่านักเรียน แต่พวกเขาคือ ลูก หลาน ดังนั้น ในฐานะ ครูเก่าครูแก่ จึงอยากที่จะถ่ายทอดประสบการณ์ ความรู้ ความ สามารถทั้งหมดที่มีให้กับครูรุ่นใหม่ โดยเฉพาะครูที่มาบรรจุใหม่ ในพื้นที่ทุรกันดาร ถึงแม้จะเป็นความจริงอยู่ว่าโรงเรียนอยู่ใน พื้นที่ห่างไกล การคมนาคมไม่สะดวกทุกฤดูกาล แต่ด้วยหน้าที่ ความรับผิดชอบ ไม่ว่าจะอยู่ในพื้นที่ไหนของประเทศไทย ครูก็

93 กิโลเมตร 5 ชั่วโมง จากตัวอ�ำเภอแม่สะเรียง มุ่งหน้า สู่ “โรงเรียนเพียงหลวง 11” หมู่บ้านสล่าเจียงตอง ต.เสาธงหิน อ.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน หลายช่วงเรียกว่าไม่ใช่ถนน เพราะ รถต้องวิ่งในล�ำธาร ข้ามล�ำห้วยมากกว่า 40 แห่ง ซึ่งโรงเรียนห่าง ไกลแห่งนี้ยังคงมี “ครู” ที่เป็น “ครูนักพัฒนา” ประจ�ำอยู่และ ได้รับรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี “เป็นครูมากว่าครึ่งชีวิต อีกเพียง 4 ปี ก็จะเกษียณอายุ 42

IS AM ARE www.fosef.org


ความเป็ น คนความเป็ น ครู ต้องท�ำหน้าที่ด้วยความเข้าใจ ด้วยความรู้ ความสามารถอย่าง เต็มภาคภูมิของความเป็นครู และลงลึกว่า ปัญหาของเด็กแต่ละ คนที่มาอยู่กับเราไม่เหมือนกัน จึงอยากให้รักเด็กให้เหมือนลูก เหมือนหลานขออย่าได้คิดว่าเป็นคนอื่น ขอให้เสียสละ อุทิศตัว และเวลาด้ ว ยจิ ต วิ ญ ญาณของความเป็ น ครู เพราะครู คื อ คน ส�ำคัญส�ำหรับเด็กในการให้วิชาความรู้” ผอ.สุพิทยา เตมียกะลิน ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนเพียงหลวง 11 เผยด้วยน�้ำตาแห่งความ ห่วงใยเด็กและชาวบ้านในชุมชน ผอ.สุพิทยา กล่าวว่า พื้นเพเป็นคนจังหวัดล�ำปาง แต่มา อยู่ที่โรงเรียนเพียงหลวง ตั้งแต่ปี 2539 กว่า 21 ปีแล้ว ก็คงจะ เกษียณที่นี่ไม่ไปไหน ตอนนี้โรงเรียนมีครู 13 คน เด็ก 138 คน เป็นโรงเรียนขยายโอกาสอนุบาล - ม.3 ซึ่งปีนี้เป็นรุ่นแรกที่เด็ก จบ ม.3 มีเด็ก 7 คน แต่ทุกคนมีที่เรียนต่อกันหมดแล้ว เป็นเรื่อง ที่น่ายินดีมาก เป็นความภาคภูมิใจของครูทุกคน ฉะนั้น สิ่งที่ครู วิตกและกังวลมากด้วยเหตุที่สังคมเปลี่ยนแปลงไป ท�ำให้สังคม ที่หล่อหลอมตัวของครู โดยเฉพาะครูที่บรรจุใหม่ในแต่ละยุค แต่ละช่วงพบว่าครูติดโซเชียลมาก ขณะที่สอนหนังสือเด็ก เมื่อมี สัญญาณโทรศัพท์ครูกดดูทันที ซึ่งไม่น่าเกิดขึ้นเมื่อเราท�ำหน้าที่ ครูอยู่ จึงเป็นภาพที่ไม่ดีเด็กมองพฤติกรรมครูตลอดเวลา เพราะ เด็กและครูอยู่ในโรงเรียนร่วมกันตลอด 24 ชั่วโมง เด็กจะมอง ภาพครูเป็นต้นแบบ และซึมซับในภาพที่ไม่ดี หากเด็กท�ำบ้าง จะมองว่าไม่ใช่เรื่องที่ผิด

“ค�ำว่าครูค�้ำคออยู่ ต้องมีจิตส�ำนึก ที่ไหนครูขาด เรา ควรไปอยู่ที่นั่น จะล�ำบากแค่ไหน หากชาวบ้านอยู่ได้ เราก็ต้อง อยู่ได้ อย่าลืมว่าครูมีเงินเดือน สามารถท�ำหน้าที่ได้เต็มที่เต็ม ความสามารถ เป็นพ่อพิมพ์ แม่พิมพ์ ที่สังคมคาดหวังสูงมาก ไม่ว่าจะท�ำอะไรต้องคิดว่า ชาวบ้าน ชุมชน นักเรียน มองเรา อยู่ ต้องตระหนักให้มากอย่างยิ่งด้วย ขอให้เสียสละเวลาเอาใจ ใส่ดูแลเกื้อหนุนจุนเจืออย่างเต็มที่ เช่น การขึ้นมาสอนเด็กวัน จันทร์เช้าก็อยากให้เปลี่ยนขึ้นมาวันอาทิตย์ เพราะเราใช้ปฏิทิน ดอย คือสอนวันจันทร์ถึงวันเสาร์ ใน 1 เดือน จะหยุดทุกวันที่ 26 - 3 ของทุกเดือน เพื่อให้ครูและเด็กได้มีเวลากลับไปอยู่กับ ครอบครัว การจะได้หยุดเสาร์ อาทิตย์ และวันหยุดราชการ เหมือนโรงเรียนปกติไม่ได้ ด้วยการเดินทางที่ล�ำบากใช้เวลา นานไม่สามารถกลับไปถึงครอบครัวและมีเวลาให้ครอบครัวได้ จุดสะท้อน และตระหนักในการที่ตนอยู่โรงเรียนแห่งนี้ได้อย่าง ยาวนาน เพราะความใสซื่อของชุมชนและเด็ก เมื่ออยู่ที่ไหน สบายใจ ชุมชนดี ช่วยเหลือจริงใจ ไม่ใส่หน้ากาก ไม่มีใครกักขัง ท�ำงานได้เต็มหน้าที่เต็มความภาคภูมิ เพื่อประโยชน์ที่จะเกิดขึ้น กับเด็ก ดังนั้น สามารถถ่ายทอดประสบการณ์ ความรู้ การสอน ให้ครูคิด ซึมซับ ให้เข้าถึงจิตวิญญาณ จิตส�ำนึกของความเป็น ครู รู้หน้าที่รับผิดชอบ จะท�ำให้ครูอยากอยู่กับเด็กด้วยหัวใจ” ผอ.สุพิทยา กล่าว 43

issue 125 june 2018


ก็ต้องฝึกให้มีน�้ำใจมาช่วยเพื่อน เด็กที่เรียนไม่ดีก็ฝึกเรื่องความ ขยันก็สามารถท�ำให้สังคมนั้นน่าอยู่ได้ ซึ่งทุกด้านจะมีส่วนส่ง ผลต่อการเรียนของเด็กให้ดีขึ้นได้ เราไม่ได้มองเห็นจุดเด่นของ เด็ก แต่เรามองเห็นจุดที่ควรพัฒนาและให้โอกาส โดยจะให้ เด็กเขียนความฝัน 20 ข้อที่จะท�ำในปีนี้ เด็กเขียนมามากมาย อยากเรียนต่อ อยากมีเงิน ปลูกบ้านให้พ่อแม่ อยากมีชีวิตที่ดี ขึ้น สุดท้ายเด็กก็สรุปความฝันตนเองว่า “แต่ก็คงเป็นได้เพียง ความฝัน เพราะผมไม่มีเงิน และพ่อแม่อยากให้ผมช่วยงานที่ บ้าน” ในฐานะครูเราก็ต้องเป็นครูแนะแนวที่เปิดทางให้เห็นว่า ความฝันนั้นจะเป็นจริงได้อย่างไร “ผมสอบบรรจุไปเป็นครูโรงเรียนขนาดใหญ่อยู่ในเมือง โดยถูกเรียกให้ไปปฏิบัติหน้าที่ทันที ในวันที่ 13 กุมภาพันธ์ ซึ่ ง เป็ น วั น ที่ โรงเรี ย นจั ด กิ จ กรรมวั น เด็ ก ผมถื อ กล้ อ งถ่ า ยรู ป เด็กๆ ที่ก�ำลังหัวเราะสนุกสนานมีความสุข รอยยิ้มของเด็กที่ ผ่านเลนส์กล้อง คือ สิ่งที่ดึงผมไว้ ผมไม่อยากให้วันเด็กเป็น วันแห่งความเศร้า เด็กอยากอยู่กับครูที่เขารัก เราถูกเลี้ยงสุข สบายมาตั้งแต่เกิดที่บ้านมีพร้อมทุกอย่าง แต่เด็กที่นี่ลูกอมเม็ด เดียว ขนม 1 ชิ้น แบ่งกันกินตั้งหลายคน หรือการที่ผมปลูก ผัก 1 แปลง ไม่รู้ว่าเมล็ดพันธุ์ที่ปลูกลงไปนั้น จะเจริญเติบโต ด้ า นครู ยุ ค ใหม่ ไ ฟแรง “ครู แ ม็ ค ” นายกิ ต ติ ภั ท ร ออกดอกออกผลหรือจะตาย เช่นเดียวกันเด็กเหล่านี้ ไม่มีผลก บารมี รั ต นชั ย ครู ผู ้ ส อนวิ ช าสุ ข ศึ ก ษาและพลศึ ก ษา ชั้ น ป. ระทบโดยตรง ไม่ใช่ลูกใช่หลาน ผมจะปล่อยปละละเลยก็ได้ 1 - ม.3 เล่าว่า มาเป็นครูที่เพียงหลวงได้ 1 ปี 9 เดือน เมื่อ แต่ด้วยค�ำว่าครู และจากพระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จ ครั้งถูกบรรจุใหม่ ไม่เคยรู้เลยว่าที่นี่คือประเทศไทยและไม่รู้ว่า พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่ทรงฝากถึงครู “ฉันฝากเด็ก ประเทศไทยจะมีโรงเรียนที่มีเส้นทางการเดินทางที่ทุรกันดาร ชาวเขาเหล่านี้ด้วย ตัวฉันอยู่ไกล ครูดูแลด้วยนะ” ผมคือครูที่จะ แบบนี้ จากเด็กที่เติบโตและเรียนในเมืองมาโดยตลอด การ ขอท�ำหน้าที่ในวิชาชีพที่ได้เลือกแล้ว” ครูแม็ค กล่าว เดินทางระยะไกลก็ว่าหนักแล้ว แต่ปัญหาที่หนักกว่าคือเด็กพูด ภาษากะเหรี่ยงสื่อสารกันไม่รู้เรื่อง การปรับตัวกับเพื่อนร่วมงาน สภาพความเป็นอยู่ การกิน ไม่มีไฟฟ้า พอหมดแสงอาทิตย์ก็ต้อง จุดเทียนหรือตะเกียง ดังนั้น การสอนที่นี่เป็นมากกว่าครู ต้อง เป็นพ่อและแม่ ท�ำหน้าที่ตั้งแต่เช้าจนส่งเด็กเข้านอน เมื่อเด็ก เจ็บป่วย ครูก็ต้องดูแล ครูแม็ค เผยต่อไปว่า เด็กที่นี่ขาดโอกาส เทคโนโลยี และขาดสื่อ การจะคาดหวังให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีเหมือน เด็กในเมืองคงเป็นไปได้ยาก ดังนั้น โรงเรียนจึงท�ำโครงการร่วม สร้างเสริมการเรียนรู้ เพื่อสุขภาวะที่สามารถจะพัฒนาเด็กให้มี ภาวะแห่งความสุขอันสมบูรณ์ใน 4 มิติ ได้แก่ กาย จิต สังคม และ สติปัญญา โดยเริ่มด้านไหนก่อนก็ได้ เช่น ด้านร่างกาย ให้ เด็กออกก�ำลังกาย ทานอาหารที่มีคุณภาพ ด้านจิตใจ อารมณ์ ท�ำให้เด็กมีความสุข หัวเราะได้ ด้านสังคม การสร้างความรัก สามัคคีความใกล้ชิดระหว่างเพื่อน คนที่เรียนเก่งแต่ขาดน�้ำใจ 44 IS AM ARE www.fosef.org


ส่วน ครูเจมส์ นายสุรชัย ปิ่นตาค�ำ ครูอัตราจ้าง ศิษย์ เก่าของโรงเรียนเพียงหลวง 11 ด้วยความมุ่งมั่นตั้งใจจะกลับ มาเป็นครูที่โรงเรียนแห่งนี้ กล่าวว่า เติบโตและอยู่ในชุมชน สล่าเจียงตองมาตั้งแต่เกิด จึงได้เล่าเรียนหนังสือที่โรงเรียนเพียง หลวงตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล - ป.6 ขณะนั้น ยังไม่ได้เปิดขยาย โอกาส เด็กนักเรียนหลายคนมีความฝันที่จะเป็นครู เพราะชีวิต มีความผูกพันกับครูตลอดเวลา จึงเห็นครูเป็นต้นแบบที่ชัดเจน ที่สุดกว่าอาชีพอื่นๆ ดังนั้น การท�ำให้ครูมีจิตส�ำนึกเสียสละอุทิศ เวลาให้กับการเรียนการสอน โดยการท�ำให้ครูอยู่กับโรงเรียนได้ นานๆ นั้น เป็นความส�ำคัญและจ�ำเป็นอย่างยิ่งในบริบทพื้นที่ พิเศษ เพราะหากไม่ใช่คนในพื้นที่อย่างตนเอง ซึ่งการอยู่ตั้งแต่ เกิดก็คุ้นชิน หากจะลงไปในเมืองก็อาศัยรถพ่อค้าแม่ค้าที่เอาของ ขึ้นมาขายทุกวันเสาร์ โดยเฉพาะครูผู้หญิงบางครั้งต้องอาศัยรถ ขนวัว ควาย ลงไปจะยากล�ำบากมากกว่าครูผู้ชายที่ยังสามารถ ขับรถมอเตอร์ไซค์ได้ ปัจจุบันนี้โรงเรียนยังมีจ�ำนวนเด็กเข้าเรียน นายอาคม สาริธร นักเรียนชั้น ม.3 อายุ 17 ปี เปิดเผย ต่อเนื่องหากเปรียบเทียบกับบริบทโรงเรียนในลักษณะเดียวกัน ด้วยความดีใจว่า ก�ำลังจะจบชั้น ม.3 รุ่นแรก โดยวางแผนจะ ถือว่ายังมีจ�ำนวนมากอยู่ ไปเรียนต่อระดับชั้น ม.4 สายวิทย์ - คณิต ที่โรงเรียนบ้านกาด วิทยาคม อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่ เนื่องจากมีความฝันและ ตั้งเป้าหมายอย่างมุ่งมั่นจะเป็นต�ำรวจ จะได้กลับมาช่วยเหลือ ประชาชน คนในหมู่บ้าน “ตัวผมเกิดและเติบโตที่นี่ มีพี่น้อง 7 คน ผมเป็นคนที่ 6 พี่น้อง 4 คน เรียนที่โรงเรียนเพียงหลวง 11 นี้ จบไปแล้ว 2 คน และลงไปเรียนต่อที่จังหวัดเชียงใหม่เช่นกัน ทุกคนเรียนที่โรงเรียนแห่งนี้ด้วยความสุข ผู้อ�ำนวยการและครู ใจดี ผมได้เรียนและเป็นนักเรียนกินนอนที่โรงเรียน หากมีโอกาส จะกลับมาช่วยเหลือโรงเรียนอย่างแน่นอน ดังที่คุณครูทุกคนได้ ให้โอกาสให้ความรู้ชี้แนะแนวทางให้กับเด็กที่มีโอกาสไม่มากนัก ได้สร้างฝันของตนเองให้เป็นจริงได้” นักเรียนชั้น ม.3 โรงเรียน เพียงหลวง 11 กล่าว ขอบคุณข้อมูล : นสพ.ผู้จัดการ, นสพ.สยามรัฐ 45 issue 125 june 2018


46 IS AM ARE www.fosef.org


สั ม ภาษณ์ พิ เ ศษ

โรงเรียนมวยไทย รังสิต รับรองโดย กระทรวงศึกษาธิการและสภามวยไทยโลก

“มวยไทย” ได้ รั บ การยอมรั บ จากทั่ ว โลกว่ า เป็ น ทั้ ง กี ฬ า และเป็ น ทั้ ง ศิ ล ปะป้ อ งกั น ตั ว ด้ ว ยมื อ เปล่ า ที่ อั น ตราย ที่ สุ ด เท่ า ที่ โ ลกเคยมี ม า จึ ง ได้ รั บ ความสนใจจากชาวต่ า งชาติ ไ ม่ น ้ อ ย แต่ ก ว่ า จะสร้ า งมวยไทยให้ เ ป็ น รู ป เป็ น ร่ า งและได้ ม าตรฐานสากลจนกลายเป็ น โรงเรี ย นที่ ผ ่ า นการรั บ รองจากกระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารได้ ต ้ อ งผ่ า นเวลา และประสบการณ์ ไ ม่ น ้ อ ย ภายใต้ ก ารด� ำ เนิ น งานของ อ� ำ นวย เกษบ� ำ รุ ง ผู ้ อ� ำ นวยการโรงเรี ย นมวยไทย รั ง สิ ต และเจ้ า ของเวที ม วย รั ง สิ ต ซึ่ ง ได้ เ ล่ า ความเป็ น มาของการจั ด ตั้ ง โรงเรี ย นมวยและเวที ม วยดั ง กล่ า ว ให้ เ ป็ น ที่ รู ้ จั ก และสนใจจากแฟนมวยชาวไทยและต่ า งชาติ ทั่ ว โลก เพื่ อ ให้ ผู ้ ท่ี ต ้ อ งการเรี ย นรู ้ วิ ถี ม วยไทยได้ เข้ า ใจศิ ล ปะการต่ อ สู ้ ช นิ ด นี้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งแท้ จ ริ ง

47 issue 125 june 2018


ก� ำ เนิ ด เวที ม วยรั ง สิ ต เริ่ ม แรกเมื่ อ ปี พ.ศ.2505 โดยผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ปทุ ม ธานี ใ นสมั ย นั้ น คื อ นายประสิ ท ธิ์ อุ ไรรั ต น์ ต้ อ งการส่ ง เสริมกีฬามวยไทยในจังหวัดปทุมธานี ได้จัดตั้งสนามมวยขึ้น เพื่อเป็นการอนุรักษ์กีฬามวยไทย ซึ่งได้จัดการแข่งขันมวยไป ได้สักพักแต่ไม่ได้การยอมรับจากชาวบ้านประชาชนในจังหวัด สักเท่าไรเนื่องจากจัดมวยไม่สนุก ขณะเดียวกันนั้น นายอ�ำนวย เกษบ�ำรุง ได้เปิดค่าย มวยสิ ง ห์ เ มื อ งสุ พ รรณ, ค่ายมวยศิษย์สยาม, ค่ายมวยลู ก รั ง สิต ซึ่งมีนักมวยในค่ายอยู่จ�ำนวนหนึ่งท�ำให้เกิดความคิดอยาก จัดการแข่งขันมวย โดยมาขอเช่าสนามมวยเพื่อจัดการแข่งขัน ซึ่งมีไอเดียน�ำเอานักมวยจากแต่ละโรงงานในจังหวัดปทุมธานี มาแข่งขันกัน เพื่อที่จะท�ำให้มีกองเชียร์เข้ามาในสนามฯ มาก ยิ่ งขึ้ น ท� ำ ให้ ก ารจั ด แข่งขัน มวยครั้งแรกสามารถเก็บ ค่ า ผ่ า น ประตูได้กว่า 6,400 บาท ซึ่งมีต้นทุนการจัดไม่ถึง 3,000 บาท ท�ำให้มีก�ำไรได้มากพอสมควร จากนั้นก็ได้จัดการแข่งขันเรื่อย มาและก็มีคนดูเข้ามาชมเยอะขึ้นทุกนัด จึงท�ำให้ผู้จัดคนอื่นๆ เลิกการจัดไป เมื่อปี พ.ศ.2505 มีการเปิดประมูลสนามมวยขึ้น โดย แต่ ส นามมวยรั ง สิ ต นี้ มี ก ารย้ า ยไปหลายที่ ด ้ ว ยกั น นายอ�ำนวย เกษบ�ำรุง ชนะการประมูลด้วยเงินประมาณ 20,000 บาท จากนั้นได้มีการปรับปรุงสนามมวยให้ดียิ่งขึ้นจากเดิม และ เพราะว่าเป็นที่เช่าทั้งหมด จ�ำนวน 5 ครั้ง คือ เวทีแรกอยู่ใน ตลาดรังสิต อยู่ริมคลองรังสิต, ในปี 2509 เวทีมวยรังสิตได้ย้าย ได้ท�ำการจัดแข่งขันมวยเป็นประจ�ำทุกสัปดาห์ ไปตั้งอยู่ที่โรงงานกระสอบ (ปัจจุบันเป็นที่ตั้งตรงข้ามโรงงาน ทั น ที ที่ ป รากฏข่ า วทางเอกสาร ประชาสั ม พั น ธ์ ข อง กษาปณ์) ด้วยเงินลงทุน 160,000 บาท ตั้งอยู่ที่นั่นเป็นเวลา 3 สภามวยไทยโลกว่ า จะมี ก ารตั้ ง โรงเรี ย นมวยไทย ปี ระหว่างปี 2509-2512 จากนั้นได้ย้ายเวทีเป็นครั้งที่สาม ตั้งอยู่ มาตรฐานระดั บ โลกขึ้ น มา ท� ำ ให้ เ กิ ด การตื่ น ตั ว เป็ น ที่บริเวณประปารังสิต (ตรงหน้าตลาดรัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน) อย่ า งมากในหมู ่ ช าวยุ โ รป โดยเฉพาะที่ ฝ รั่ ง เศส และในปีที่ 2513-2523 เวทีมวยรังสิตได้ย้ายไปตั้งอยู่ที่ตลาด นั้ น ได้ ติ ด ต่ อ ขอเดิ น ทางเข้ า มาเรี ย นอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง รังสิต (ตลาดดอกไม้ในปัจจุบัน) ซึ่งมีอายุสัญญา 10 ปี เมื่อหมด ตลอดปี สัญญาเช่า ท�ำให้นายอ�ำนวย เกษบ�ำรุงได้ตัดสินใจท�ำการซื้อ ที่ดินติดถนนพหลโยธิน ตรงข้ามด่านชั่ง จ�ำนวน 7 ไร่เศษ นั่น คือ ต�ำแหน่งที่ตั้งสนามมวยรังสิตในปัจจุบันนั่นเอง โดยก่อสร้าง อย่างมาตรฐานด้วยอาคารคอนกรีตโครงสร้างเหล็กขนาดใหญ่ และได้เปิดสนามมวยรังสิต หรือ สนามส่งเสริมกีฬาจังหวัด ปทุมธานีอย่างเป็นทางการ ในวันพฤหัสบดีที่ 26 ธันวาคม 2528 เวลา 16.15 น. โดยมีนายพิศาล มูลศาสตรสาทร ปลัดกระทรวง มหาดไทย ในสมัยนั้นให้เกียรติเป็นประธานเปิด สนามมวยรังสิต ได้มีการจัดการแข่งขันเรื่อยมา และ ได้การตอบรับจากแฟนมวยและผู้ชมอย่างล้นหลามในทุกนัด ตลอดหลายสิบปี และได้มีการจัดการแข่งขันมวยไทยมาราธอน ขึ้นด้วยในสมัยนั้น นักมวยที่แข่งขันคือ “โคบาล ลูกเจ้าแม่ 48 IS AM ARE www.fosef.org


ในปี พ.ศ.2560 ถึงปัจจุบัน สนามมวยนานาชาติรังสิต ได้ มี ก ารจั ด แข่ ง ขั น มวยไทยเป็ น ประจ� ำ ทุ ก สั ป ดาห์ ๆ ละ 3 รายการ - รายการ “มวยมันส์ วันศุกร์” ทุกวันศุกร์ ถ่ายทอดสด ทางช่อง 24 TRUE4U ตั้งแต่เวลา 18.00-20.00 น. - รายการ “มวยดีวิถีไทย” ทุกวันอาทิตย์ ถ่ายทอดสด ทางช่อง 11 NBT ตั้งแต่เวลา 15.00-17.00 น. - รายการ “มวยไทย ททบ.5” ทุกวันอาทิตย์ ถ่ายทอด สดทางช่อง ททบ.5 ตั้งแต่เวลา 16.05-18.00 น. นอกจากนี้ ยังส่งเสริมมวยเด็กเยาวชนที่มีความแข็งแรง ทางร่างกาย ฝึกฝนมวยมานานแต่ไม่มีสังเวียนให้ขึ้นทดสอบฝีมือ โดยจัดแข่งขันเป็นประจ�ำทุกบ่ายวันเสาร์และวันอาทิตย์ ทั้งนี้ สนามมวยรังสิตตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันได้จัดการแข่งขันมวยไทยมวยสากลมามากกว่า 2,300 รายการ มีนักมวยเคยขึ้นประลอง ศึกคนชนคนมาไม่น้อยกว่า 46,000 ชีวิต.... ก� ำ เนิ ด “โรงเรี ย นมวยไทย รั ง สิ ต ” ในปี พ.ศ. 2537 พลเอกวิมล วงศ์วานิช ผู้บัญชาการ ทหารบก และ พลเอกเชษฐา ฐานะจาโร ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหาร ทรายทอง” VS “พญาผึ้ง” ท�ำให้มีผู้เข้าชมในสนามกว่า 7,000 บก มีความเห็นว่า “มวยไทย” เป็นที่นิยมอย่างกว้างขวางไป คน จนแน่ น ขนั ด ทุ ก ตารางนิ้ ว ท� ำ ให้ ย อดเก็ บ ตั๋ ว ได้ ม ากถึ ง ทั่วโลก อาจท�ำให้ชาวต่างชาติที่ขาดความรู้ ความเข้าใจเรื่อง 450,000 บาท ด้วยราคาค่าตั๋วเพียง 40-60 บาท หากเปรียบ “มวยไทย” อย่างแท้จริง น�ำไปเผยแพร่ในลักษณะการเรียน เทียบในสมัยนี้ยอดตั๋วเกินสามล้านบาทอย่างแน่นอน การสอนที่ ไ ม่ มี ร ะบบ ท� ำ ให้ คุ ณ ค่ า และศิ ล ปวั ฒ นธรรมไทย จากนั้นสนามมวยรังสิต โดยนายอ�ำนวย เกษบ�ำรุง ได้ แปรเปลี่ ย นไป ในขณะเดี ย วกั น ก็ เ ป็ น ห่ ว งถึ ง คนไทย และ ด�ำเนินการจัดการแข่งขันมวยตลอดมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2509 ถึง นักมวยไทยบางคนที่ขาดความรู้ ความเข้าใจ และขาดจริยธรรม ปัจจุบัน เป็นเวลาเกือบ 50 ปีเต็ม ด้วยวิสัยทัศน์และความคิด ของครูผู้สอนจะน�ำเอาศิลปะการต่อสู้ของชาติไปท�ำให้เสียหาย ริเริ่มในการจัดแข่งขันมวยในรูปแบบที่แตกต่างจากสนามมวย ด้วยการด�ำเนินงานนอกระบบในการไปเผยแพร่ในต่างประเทศ อื่นๆ ทั้งประเทศ ผนวกด้วยเทคโนโลยีแสงสีและเสียงตระการ โดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์เพียงอย่างเดียว อันจะท�ำให้ชื่อเสียง ตา สร้างความเร้าใจด้วยมิติใหม่ให้แฟนมวยทั้งรุ่นใหม่-รุ่นเก่า ของ “มวยไทย” ตกต�่ำ เหมือนชกมวยอยู่ใน Las Vegas เมืองไทยอย่างไรอย่างนั้น โดยเริ่มการแข่งขันนัดแรก เมื่อวันที่ 18 ม.ค.2554 โดยท�ำการ ถ่ายทอดสดทางช่อง True Visions ช่อง 102 ทุกๆ วันอังคาร เป็นเวลายาวนานกว่า 3 ปีเต็ม จากนั้น ทางสนามมวยรังสิต หรือ สนามมวยนานาชาติ รังสิต ได้ร่วมมือกับ “สภามวยไทยโลก” ให้มีการถ่ายทอดเพิ่ม อีกหนึ่งช่อง คือช่อง TGN (Thai Global Network) โดยเริ่มนัด แรกเมื่อวันอาทิตย์ที่ 10 ก.ค.2554 เป็นเวลาต่อเนื่อง 3 เดือน และรายการมวยไทย “ซุปเปอร์เชง” โดยถ่ายทอดสดทางช่อง เคเบิ้ล “ซุปเปอร์เชง” ตั้งแต่ มิ.ย 2555 ถึง พ.ค.2556 49 issue 125 june 2018


50 IS AM ARE www.fosef.org


1. เพื่อรักษาไว้ซึ่งศิลปะการต่อสู่ป้องกันตัวด้วยมือเปล่า อันยอดเยี่ยมที่เรียกว่า “มวยไทย” ให้เป็นศิลปะวัฒนธรรมของ ไทย และของโลกสืบไป 2. เพื่อส่งเสริม, เผยแพร่ และสนับสนุนเยาวชน และ ประชาชนทุกประเทศทั่วโลกให้ได้รับการฝึกอบรม และเรียนรู้ มวยไทยอย่างมีระบบ และถูกต้องเป็นแนวทางเดียวกัน 3. เพื่อส่งเสริมสุขภาพพลานามัยของผู้เข้ารับการอบรม และเรียนรู้วิชามวยไทย เพื่อป้องกันตัวเอง และป้องกันบุคคล อื่น 4. เพื่อส่งเสริมมวยไทยให้เป็นกีฬาสากล ทั้งในสาย สมัครเล่น และอาชีพ

โดยแนวคิดดังกล่าวนี้ จึงได้เชิญผู้ที่เกี่ยวข้องในวงการ มวยไทยทุกฝ่ายมาร่วมประชุมกัน ในที่สุดที่ประชุมก็มีมติให้ จัดตั้ง “สภามวยไทยโลก” ขึ้นมาเป็นองค์กรหลักเพื่อควบคุม ดูแล และเผยแพร่กีฬามวยไทย หลั ง จากผ่ า นการด� ำ เนิ น งานโดยการสนั บ สนุ น จาก การกีฬาแห่งประเทศไทยแล้ว คณะรัฐมนตรีก็มีมติเห็นชอบ ในการจั ด ตั้ ง เมื่ อ วั น ที่ 30 พฤษภาคม 2538 และได้ มี พิ ธี ประกาศสถาปนาสภามวยไทยโลกต่อหน้าสมาชิกและผู้แทน สมาชิกประเทศต่างๆ ทั่วโลก เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2538 ณ หอประชุมองค์การสหประชาชาติ (United Nations Conference Center) หลังจากผ่านพิธีการประกาศสถาปนาแล้ว สมาชิกจาก ทุกประเทศได้เรียกร้องต่อที่ประชุมว่า ให้ประเทศไทยจัดตั้ง โรงเรียนมวยไทย ขึ้นมา โดย นายอ�ำนวย เกษบ�ำรุง ได้ด�ำเนิน การจดทะเบียนอนุญาตจากกระทรวงศึกษาธิการ และให้ด�ำเนิน การจัดท�ำหลักสูตรมวยไทยเช่นเดียวกับหลักสูตรมาตรฐานใน วิชาด้านอื่นๆ เพื่อให้การเรียน การสอนมวยไทยอยู่ในมาตรฐาน ตามระบบสากลที่เป็นที่ยอมรับทั่วโลก โดยได้รับใบอนุญาตจัด ตั้งโรงเรียนฯ อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2540 โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือ

หลั ก สู ต รมวยไทยที่ ไ ด้ รั บ ความสนใจจากทั่ ว โลก โรงเรี ย นมวยไทย ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ริ เวณเวที ม วยรั ง สิ ต บน เนื้อที่ 7 ไร่ ติดถนนพหลโยธิน ได้ฤกษ์เปิดรับนักเรียนนานาชาติ รุ ่ น ที่ 1 เมื่ อ วั น ที่ 5 กรกฎาคม 2540 โดย พลเอกเชษฐา ฐานะจาโร ผู ้ บั ญ ชาการทหารบก ประธานคณะกรรมการ โอลิมปิคแห่งประเทศไทย และประธานสภามวยไทยโลก เป็น ผู ้ ก ล่ า วต้ อ นรั บ นั ก เรี ย น รุ ่ น ที่ 1 ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย ผู ้ เข้ า รั บ

51 issue 125 june 2018


กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารแล้ ว หลั ก สู ต รมวยไทยที่ จ ะใช้ เรี ย นใช้ สอนยังได้รับการพัฒนาขึ้นมาใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบ การศึกษาของชาติในสาขาวิชาอื่นๆ ด้วย ทั้งนี้โดยความช่วย เหลือด�ำเนินการจากคณาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิจากสถาบันราชภัฎ วิทยาลัยพลศึกษา กรมพลศึกษา การกีฬาแห่งประเทศไทย และส�ำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ภายใต้การ สนับสนุนของสภามวยไทยโลก หลักสูตรมวยไทยที่ได้รับการ พัฒนาจัดท�ำขึ้นมานี้ประกอบด้วย 1.หลักสูตรมวยไทยระดับต้น ระดับกลาง ระดับก้าวหน้า และระดั บ อาชี พ ซึ่ ง จะใช้ เวลาเรี ย นทั้ ง หมดอย่ า งน้ อ ย 120 วัน 2.หลักสูตรผู้ฝึกสอน 3 ระดับ รวมเวลาเรียนอย่างน้อย 60 วัน 3.หลักสูตรกรรมการตัดสิน 3 ระดับ รวมเวลาเรียนอย่าง น้อย 50 วัน นายอ�ำนวย เกษบ�ำรุง ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนมวยไทย กล่าวถึงแนวทางการบริหารโรงเรียนว่า จะเน้นให้ไปในด้านของ การอนุรักษ์ และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมของชาติ ไปพร้อมๆ กับการท�ำให้โรงเรียนมวยไทยเป็นแหล่งข้อมูลทางด้านวิชาการ มวยไทย และเป็นศูนย์กลางการศึกษามวยไทยของนานาชาติ ทั่วโลกด้วย โรงเรียนมวยไทยแห่งนี้ประกอบด้วยเวทีซ้อมซึ่งสามารถ ใช้ท�ำการแข่งขันได้ จ�ำนวน 2 เวที ซึ่งแบ่งออกเป็นเวทีมวยชาย และเวทีมวยหญิง, ห้องออกก�ำลังกาย, ห้องสมุด, ห้องเรียนภาค ทฤษฎี และห้องเรียนภาคปฏิบัติ นอกจากนี้ยังมีห้องนิทรรศการ แสดงถึ ง การแข่ ง ขั น มวยไทยตั้ ง แต่ ยุ ค คาดเชื อ กมาจนถึ ง ยุ ค ปัจจุบันนี้ด้วย

การอบรม และนักเรียนมวยไทยจากประเทศไทย 150 คน ร่วม กับนักเรียนมวยไทย จากอเมริกา รวมทั้งสิ้น 160 คน พลเอกเชษฐา ฐานะจาโร กล่าวว่า การใช้อาวุธมวยไทย มีความสลับซับซ้อนในทุกจังหวะที่เข้าท�ำ และไม่ซ�้ำซ้อนในรูป แบบ ซึ่งดูเหมือนจะเป็นการยากที่จะศึกษาเล่าเรียนให้แตกฉาน ได้ แต่มวยไทยก็สามารถถ่ายทอดจากครูสู่ลูกศิษย์ได้เป็นอย่าง ดี ภายใต้หลักวิชาการทางด้านพลศึกษาที่สามารถจัดท�ำเป็น หลักสูตรขึ้นมารองรับได้ตั้งแต่ระดับต้นไปจนถึงระดับสูงสุด และภายใต้หลักการทางวิทยาศาสตร์ที่สามารถพิสูจน์ได้ทั้งใน ด้านของการเสริมสร้างสมรรถภาพของร่างกาย และในด้านของ ประสิทธิภาพ พลังอ�ำนาจของอาวุธ นอกจากนี้ อดีตผู้บัญชาการ ทหารบกและประธานคณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทย ยั ง ได้ แ สดงถึ ง ความรั ก และหวงแหนในศิ ล ปะการต่ อ สู ้ แ บบ มวยไทยไว้ด้วยว่า มวยไทยได้ถือก�ำเนินขึ้นจากแผ่นดินไทย และ มาจากจิตวิญญาณ และภูมิปัญญาของบรรพบุรุษไทย จึงไม่อาจ เรียกชื่อศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวประเภทนี้ เป็นอย่างอื่นไปได้ นอกจากค�ำว่า “มวยไทย” โรงเรียนมวยไทยแห่งนี้นอกจากจะได้รับการจดทะเบียน อนุ ญ าตจากส� ำ นั ก งานศึ ก ษาธิ ก ารจั ง หวั ด ปทุ ม ธานี ในนาม 52

IS AM ARE www.fosef.org


ผู้ฝึกสอนมวยไทยที่ได้น�ำชาวฝรั่งเศสมาเรียนมวยไทย ที่ โรงเรี ย นแห่ ง นี้ กล่ า วว่ า ทั น ที ที่ ป รากฏข่ า วทางเอกสาร ประชาสัมพันธ์ของสภามวยไทยโลกว่า จะมีการตั้งโรงเรียน มวยไทย มาตรฐานระดับโลกขึ้นมา ท�ำให้เกิดการตื่นตัวเป็น อย่างมากในหมู่ชาวยุโรป โดยเฉพาะที่ฝรั่งเศสนั้นได้ติดต่อขอ เดินทางเข้ามาเรียนอย่างต่อเนื่องตลอดปี เพราะอัตราค่าเรียน และค่าที่พักถูกมาก ส่วนนักมวยประเทศอื่นๆ ที่จะเดินทางเข้า มาเรียนประกอบด้วย อเมริกา อังกฤษ อิตาลี สเปน เยอรมัน สวีเดน โปรตุเกส สวิตเซอร์แลนด์ ฟินแลนด์ เดนมาร์ก ไอร์แลนด์ ลิกเกนสไตส์ รัสเซีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น เกาหลี ฮ่องกง ไตหวัน จีน มาเลเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปินส์ บราซิล อาเจน ติน่า โคลัมเบีย ชิลี แม็กซิโก เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันมีนักเรียนชาว ต่างชาติมาเรียนแล้วกว่า 108 ประเทศจากทั่วโลก ผู้สนใจเรียนรู้ศิลปะป้องกันตัวโรงเรียนมวยไทย รังสิต โทร : 02-9920096-99, 082-9851115

โรงเรี ย นมวยไทยแห่ ง นี้ น อกจากจะได้ รั บ การจด ทะเบี ย นอนุ ญ าตจากส� ำ นั ก งานศึ ก ษาธิ ก ารจั ง หวั ด ปทุ ม ธานี ในนามกระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารแล้ ว หลั ก สู ต ร มวยไทยที่ จ ะใช้ เ รี ย นใช้ ส อนยั ง ได้ รั บ การพั ฒ นาขึ้ น มาใหม่ เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ระบบการศึ ก ษาของ ชาติ ใ นสาขาวิ ช าอื่ น ๆ ด้ ว ย

ประวั ติ ข องนายอ� ำ นวย เกษบ� ำ รุ ง สถานที่เกิด : ที่อ�ำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี เมื่อ ปี พ.ศ. 2478 วุฒิการศึกษา : จบการศึกษา สาขาวิชาช่างยนต์ จาก โรงเรียนช่างกลปทุมวัน เข้าสู่วงการมวย: เมื่อปี พ.ศ. 2499 เป็นนักมวยสังกัด “ลูกมาตุลี” ในชื่อนักมวย “อวยชัย ลูกมาตุลี”

เลขาธิ ก ารสภามวยไทยโลก, สภามวยไทยโลกก่ อ ตั้ ง โดยได้ รับความเห็นชอบจากสภาผู้แทนราษฎร ต่อมา พลเอกวิมล วงศ์วานิชย์ เกษียรราชการ พลเอกเชษฐา ฐานะจาโร ก็ขึ้นด�ำรง ต�ำแหน่งประธานสภามวยไทยโลกจนถึงปัจจุบัน - ปี 2540 ได้รับอนุญาตจากกระทรวงศึกษาธิการ ให้เปิด การเรียนการสอนมวยไทย ในนาม “โรงเรียนมวยไทย รังสิต” - ปี พ.ศ. 2542 ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นประธานชมรม นักมวยเก่า - ปี พ.ศ. 2545 ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นประธานมูลนิธิ เก่า และได้รับเลือกให้เป็นพ่อตัวอย่างแห่งชาติ และครอบครัว ดีเด่น ประจ�ำปี พ.ศ. 2545 ณ สวนอ�ำพร - ปี พ.ศ. 2547 ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นนายกสมาคมนัก มวยเก่า ปัจจุบันมีสมาชิกเกือบ 2,000 คน

ประวั ติ ด ้ า นวงการมวย : มาชกมวยที่กองทัพบก ได้รางวัลชนะเลิศจากกรม ขนส่งทหารบก และได้รางวัลรองชนะเลิศมวยสากลสมัครเล่น ปี พ.ศ.2500 กีฬาเอเชี่ยนเกมส์ที่ประเทศญี่ปุ่น (แพ้คะแนน สม ศักดิ์ แหลมฟ้าฝ่า) - ปี พ.ศ. 2505 เปิดค่ายมวยรับสอนมวย ใช้ชื่อค่ายมวย “ศิษย์สยาม สิงห์เมืองสุพรรณ ลูกรังสิต ส.สุกัญญา” - ปี พ.ศ. 2507 เป็นโปรโมเตอร์จัดมวยที่สนามมวยรังสิต - ปี พ.ศ. 2508 เป็นนายสนามมวยเวทีมวยรังสิต - เป็นนายสนามมวยมาแล้วเกือบ 50 ปี - ปัจจุบันเป็นนายสนามมวยนานาชาติ รังสิต, เป็น ประธานมูลนิธิและนายกสมาคมนักมวยเก่า -ปี พ.ศ. 2538 ได้เป็นกรรมการก่อตั้งสภามวยไทย โลก โดยมี พลเอกวิมล วงศ์วานิชย์ เป็นประธานสภามวยไทย โลก (ผบ.ทบ.ในขณะนั้น) มี พลเอกเชษฐา ฐานะจาโร เป็น รองประธานสภามวยไทยโลก มี พลเอกวรยุทธ มีสมมนต์ เป็น 53

issue 125 june 2018


ไต้หวัน 1 ใน 4 เสือ ใครจะเป็นเสือตัวต่อไป

ประเทศไต้ ห วั น เป็ น เกาะขนาดใหญ่ อยู ่ ร ะหว่ า งทะเลจี น ตะวั น ออกและทะเลจี น ใต้ ประกอบด้ ว ยเกาะหลั ก ๆ ได้ แ ก่ เกาะไต้ ห วั น , หมู ่ เ กาะเผิ ง หู (Penghu), จิ น เหมิ น (Kinmen), หมาจู ่ (Matsu) และเกาะเล็ ก อื่ น ๆ อี ก จ� ำ นวนหนึ่ ง มี พื้ น ที่ ทั้ ง หมดประมาณ 36,000 ตารางกิ โ ลเมตร อากาศที่ นี่ มี ค วามผั น ผวนสู ง บางวั น มี ทั้ ง ฝน ร้ อ น หนาว ครบทุ ก ฤดู คณะอาจารย์ จ ากมู ล นิ ธิ ค รอบครั ว พอเพี ย งต่ า งพกร่ ม เป็ น อาวุ ธ ประจ� ำ กายตามค� ำ แนะน� ำ ของไกด์

54 IS AM ARE www.fosef.org


บนเส้ น ทางธรรมพุ ท ธฉื อ จี้

หลายคนเข้าใจว่าประเทศไต้หวันมีฐานะเป็นประเทศ แต่อันที่จริงแล้วไต้หวันยังคงเป็นส่วนหนึ่งของประเทศจีน เป็นเขต การปกครองพิเศษ แต่มีสิทธิ์จัดการบริหารตนเองโดยไม่ขึ้นกับจีนแผ่นดินใหญ่ โดยมีรัฐบาลเป็นของตัวเอง อย่างไรก็ตาม คนไทย ยังรู้จักประเทศไต้หวันในฐานะ 1 ใน 4 เสือแห่งเอเชีย (นิกส์) ที่เราเองอยากจะก้าวไปอย่างเขาเพื่อจะเป็นเสือตัวที่ 5 ให้ได้ โดยลืม ค�ำนึงถึง “ภูมิสังคมแห่งตนเอง” จนมีพระราชด�ำรัสจากในหลวงรัชกาลที่ 9 ซึ่งให้แก่คณะบุคคลต่างๆ ที่เข้าเฝ้าฯ ถวายชัยมงคล เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ.2540 ว่า 55 issue 125 june 2018


หากเทียบกับเกาหลีใต้ สิงคโปร์ ญี่ปุ่น ฮ่องกง และจีน คนไทยยังรู้จักประเทศไต้หวันน้อยมาก แม้จะอยู่ห่างกันเพียงนั่ง เครื่องบิน 3 ชั่วโมง เหตุผลเพราะประเทศไต้หวันอาจไม่มีสถาน ที่ชอปปิ้งที่ฟู่ฟ่าเท่าสิงคโปร์หรือฮ่องกง ทั้งไม่มีสื่อภาพยนตร์ และละครรวมถึงเพลงที่เข้ามามีอิทธิพลในประเทศไทยเหมือน อย่างประเทศเกาหลีใต้ จีน และญี่ปุ่น แต่อย่างไรก็ตาม ไต้หวัน ก็ยังเป็นหมุดหมายของคนในหลายวงการของไทย เช่น วงการ แพทย์และสาธารณสุข วงการการศึกษาและการพัฒนา รวมถึง วงการศาสนาและสิ่งแวดล้อม หากถามว่าอะไรที่ดึงดูดคนเหล่า นั้นเข้ามาประเทศไต้หวัน ค� ำ ตอบคื อ “ฉื อ จี้ ” (ติดตามตอนต่อไป)

“การจะเป็นเสือนั้นมันไม่ส�ำคัญ ส�ำคัญอยู่ที่เราพออยู่ พอกิน และมีเศรษฐกิจการเป็นอยู่แบบพออยู่พอกิน แบบพอมี พอกินหมายความว่า อุ้มชูตัวเองไว้ให้มีความพอเพียงกับตัวเอง” มีพระราชด�ำริว่า “ถ้าสามารถที่จะเปลี่ยนให้กลับเป็นเศรษฐกิจ แบบพอเพียง ไม่ต้องทั้งหมด แม้จะไม่ถึงครึ่ง อาจจะแค่หนึ่งส่วน สี่ ก็สามารถที่จะอยู่ได้” นั่นจึงถือเป็นการเตือนสติครั้งส�ำคัญในการก้าวไปข้าง หน้าของประเทศไทย เพราะประเทศไต้หวันยังมีสิ่งดีๆ มากมาย ที่พร้อมหยิบยื่นให้กับนานาประเทศน�ำไปปรับใช้ เช่น การคัด แยกขยะอย่างเป็นรูปธรรมและเป็นระบบดังที่กล่าวมาข้างต้น ก็จะช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้กับประเทศไทยในหลากหลาย ด้าน โดยไม่จ�ำเป็นต้องก้าวไปเป็นเสือตัวต่อไป

56 IS AM ARE www.fosef.org


57 issue 125 june 2018


เรียนรู้จากธรรมชาติ แนวทางพระราชด�ำริ

จากในหลวง รัชกาลที่ 9 58 IS AM ARE www.fosef.org


สั จ ธรรมแห่ ง แนวพระราชด� ำ ริ

เรียนรู้จากหลักธรรมชาติ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงยึดธรรมะเป็นที่ตั้ง ในการหาวิธีการแก้ปัญหาหรือแนวทาง การพัฒนา ไม่ว่าจะเป็น เรื่องดิน น�้ำ อาชีพ และสิ่งแวดล้อม ซึ่งค�ำว่า “ธรรมะ” ในที่นี้ คือ “ธรรมชาติ” พระองค์ทรงศึกษา เรียนรู้หลัก “ธรรมชาติ ช่ ว ยธรรมชาติ” เพื่อน�ำมาใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่ า งยั่ ง ยื น ทรงมองปัญหาธรรมชาติอย่างละเอียด โดยหากต้องการแก้ไข ธรรมชาติจะต้องใช้ธรรมชาติเข้าช่วยเหลือ อาทิ การแก้ไขน�้ำ เน่าเสีย แทนที่จะทรงพิจารณาถึงโรงงานบ�ำบัดน�้ำเสีย กลับทรง มองว่าในธรรมชาติ จะมีขบวนการอะไรที่สามารถแก้ไขปัญหา นี้ได้ เช่น การใช้บ่อตกตะกอน เพื่อให้เกิดการตกตะกอนขึ้น โดยกระบวนการทางธรรมชาติ การใช้วัสดุที่มีอยู่ในป่าเช่น หิน ต้นไม้ที่ตายแล้ว น�ำมาท�ำเป็นฝายชะลอน�้ำ เพื่อให้ป่ามีความ ชุ่มชื้น แทนการสร้างด้วยซีเมนต์ เป็นการป้องกันไฟป่าและ เพิ่มปริมาณป่าให้มากยิ่งขึ้น โดยไม่ต้องปลูก ทรงใช้หญ้าแฝก เพื่อการอนุรักษ์ดินและน�้ำ เนื่องจากแนวล�ำต้นของหญ้าแฝก ช่วยชะลอ ความเร็วของน�้ำที่ไหลผ่านหน้าดิน และรากของหญ้า แฝกช่วยยึดดินป้องกันการพังทลายได้ พระองค์ทรงใช้หลัก “การใช้อธรรมปราบอธรรม” ใน การบ�ำบัดน�้ำเสีย โดยพิจารณาหาพืช บางชนิดที่สามารถกรอง น�้ำเน่าเสีย น�ำมาใช้เป็นเครื่องกรองน�้ำธรรมชาติที่ไม่ต้องเสีย ค่าใช้จ่ายมาก ไม่ท�ำลายสิ่งแวดล้อม การน�ำน�้ำดีขับไล่น�้ำเสีย เพื่อเจือจางน�้ำเสียให้กลับเป็นน�้ำดี โดยใช้หลักของน�้ำขึ้น น�้ำลง ตามธรรมชาติ การใช้ขยะและมูลโคซึ่งเป็นของเสียมาหมักจน ได้แก๊สชีวภาพที่น�ำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ ตลอดจนทรงอนุรักษ์ ทรัพยากรป่าไม้ให้คนอยู่ร่วมกับป่าได้อย่างยั่งยืนโดยใช้วิธีการ “ปลูกป่าในใจคน” เป็นต้น โดยมีแนวพระราชด�ำริและตัวอย่าง พระราชกรณียกิจ รวมทั้งโครงการต่างๆ ดังนี้

ในการอนุ รั ก ษ์ แ ละพั ฒ นาดิ น พระองค์ มี พ ระราชด� ำ ริ ให้ ป ลู ก หญ้ า แฝกเพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หาการพั ง ทลาย ของ หน้ า ดิ น เป็ น การอนุ รั ก ษ์ ดิ น และน�้ ำ โดยใช้ ห ลั ก ธรรมชาติ ช ่ ว ยธรรมชาติ เนื่ อ งจากแนวล� ำ ต้ น ของ หญ้ า แฝกช่ ว ยชะลอความเร็ ว ของน�้ ำ ที่ ไ หลผ่ า นและ ป้ อ งกั น การพั ง ทลายของหน้ า ดิ น

แนวพระราชด�ำริ

ใช้ ธ รรมชาติ ช ่ ว ยธรรมชาติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีแนวทางการแก้ไข ปัญหาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน โดยทรงท�ำความ เข้ า ใจธรรมชาติ อ ย่ า งลึ ก ซึ้ ง ส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชนเข้ า มามี ส่วนร่วมแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม และใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาที่ประหยัด และไม่ก่อให้เกิดปัญหาการ ท�ำลาย ทรัพยากรธรรมชาติในอนาคต โดยมีแนวพระราชด�ำริ ดังต่อไปนี้ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงท� ำ ความเข้ า ใจ ธรรมชาติ อ ย่ า งลึ ก ซึ้ ง โดยทรงสนพระราชหฤทั ย และศึ ก ษา ปรากฏการณ์ ข องธรรมชาติ เพื่ อ เข้ า ถึ ง ความจริ ง ในทฤษฎี ความสมดุลของ ธรรมชาติ อันได้แก่ ป่าไม้ น�้ำ ดิน และสิ่งมี ชีวิต ซึ่งพึ่งพิงกันอย่างมีปฏิสัมพันธ์และเชื่อมโยงกัน ด้วยวิถีทาง ธรรมชาติอย่างเป็นวัฏจักร ดังพระบรมราโชวาท พระราชทาน แก่คณะกรรมการสโมสรไลออนส์ สากล ภาค 310 (ประเทศไทย และประเทศลาว) เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2512 ความตอน หนึ่งว่า “...อาจมีบางคนเข้าใจว่าท�ำไมจึงสนใจเรื่อง ชลประทาน หรือเรื่องป่าไม้จ�ำได้ว่าเมื่ออายุ 10 ขวบ ที่โรงเรียนมีครูคนหนึ่ง ซึ่งเดี๋ยวนี้ตายไป แล้ว สอนเรื่องวิทยาศาสตร์ เรื่องการอนุรักษ์ ดิน แล้วให้เขียนว่าภูเขาต้องมีป่าไม้อย่างนั้น เม็ดฝน ลงมาแล้ว 59

issue 125 june 2018


สมกับสภาพพื้นที่ก็จะส่งเสริมให้คนปลูกต่อไป ทั้งนี้โครงการฯ จะช่ ว ยเหลื อ แนะน� ำ ในด้ า นหลั ก วิ ช าการเกษตรและระบบ ชลประทาน…” พระราชด�ำรัส ณ ส�ำนักงานเกษตรภาคเหนือ จังหวัด เชี ย งใหม่ เมื่ อ วั น ที่ 26 กุ ม ภาพั น ธ์ 2524 ความตอนหนึ่ ง ว่า “...ถ้าหากเราท�ำป่า 3 อย่างให้ชาวบ้านเห็นประโยชน์ และได้ใช้ประโยชน์เขาก็จะ รักษาประโยชน์ เขาจะไม่ท�ำลาย และใครมาท�ำลาย เขาก็ป้องกัน หมายความว่า ชาวบ้านนั้น ถ้า เราให้โอกาสให้เขามีอยู่มีกินพอสมควร ก็จะเป็นเจ้าหน้าที่ป่าไม้ ให้เรา เป็นจ�ำนวนมากอย่างในร่องหุบเขาเล็กๆ ที่มีเพียง 50 ไร่ ก็จะท�ำเป็นหมู่บ้านให้ชาวบ้าน มาอยู่ค�ำว่าชาวบ้านนี้จะเรียก ว่าชาวบ้านก็ได้ชาวเขาก็ได้ก็เป็นชาวบ้านทั้งนั้นเคยไปถาม ชาว เขาพูดถึงเรื่องว่าจะท�ำโครงการอะไรๆ “เราก็ต้องช่วยกันรักษา นะ” เขาบอกว่า “หมู่เฮาก็เป็นคนไทยเหมือนกัน” ก็หมายความ ว่าเป็นชาวบ้านเหมือนกัน ช่วยกันท�ำ เขาก็อยากอยู่ใต้กฎหมาย ท�ำงานที่สุจริต ถ้าเราท�ำอะไรที่ดีมีเหตุผล เขาก็จะรักษาป่า 3 อย่างให้เรา ถ้าจะถือว่าป่า 3 อย่างนี้ ไม่ใช่รักษาต้นน�้ำล�ำธาร แล้ว ก็เป็น ความคิดที่ผิดเพราะว่าต้นไม้ จะเป็นต้นอะไรก็ตาม มีประโยชน์ทั้งนั้น ใช้ประโยชน์จาก ต้นไม้นั้น และมีประโยชน์ ที่ 4 คือ อนุรักษ์ดินและอนุรักษ์ต้นน�้ำล�ำธาร...” จะชะดินลงมาเร็วท�ำให้ไหลตามน�้ำไป ท�ำให้เสียหาย ดินหมด จากภูเขาเพราะไหล ตามสายน�้ำไป ก็เป็นหลักของป่าไม้เรื่องการ อนุรักษ์ดินและเป็นหลักของชลประทานที่ว่า ถ้าเราไม่รักษาป่า ไม้ข้างบน จะท�ำให้เดือดร้อน ตลอดตั้งแต่ดินบนภูเขาจะหมดไป กระทั่งการที่จะมีตะกอนลงมาในเขื่อน มีตะกอน ลงมาในแม่น�้ำ ท�ำให้เกิดน�้ำท่วม นี่นะ เรียนมาตั้งแต่อายุ 10 ขวบ...” พระองค์ มี พ ระราชประสงค์ ใ ห้ ป ระชาชนใกล้ ชิ ด กั บ ธรรมชาติ โดยเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ปลู ก จิ ต ส� ำ นึ ก ให้ ร าษฎรรั ก หวงแหน และร่ ว มกั น อนุ รั ก ษ์ ทรั พ ยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อ ม ดั ง พระราชด� ำ รั ส เมื่ อ ครั้งเสด็จพระราชด�ำเนินทรงเยี่ยมโครงการหลวงพัฒนาต้นน�้ำ หน่วยที่ 18 แม่ตะละ อ�ำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2521 ความตอนหนึ่งว่า “…ทุกคนจะต้องช่วยกันดูแลรักษาป่าไม้ซึ่งเป็นของส่วน รวมและร่วมมือกับ เจ้าหน้าที่ป่าไม้ในงานปลูกป่าทดแทนจะ ได้มีน�้ำเพียงพอส�ำหรับการเพาะปลูก ส�ำหรับ พันธุ์พืชที่เหมาะ 60 IS AM ARE www.fosef.org


61 issue 125 june 2018


พระองค์ ท รงใช้ ห ลั ก “การใช้ อ ธรรมปราบอธรรม” ในการบ� ำ บั ด น�้ ำ เสี ย โดยพิ จ ารณาหาพื ช บางชนิ ด ที่ สามารถกรองน�้ ำ เน่ า เสี ย น� ำ มาใช้ เ ป็ น เครื่ อ งกรอง น�้ ำ ธรรมชาติ ที่ ไ ม่ ต ้ อ งเสี ย ค่ า ใช้ จ ่ า ยมาก ไม่ ท� ำ ลาย สิ่ ง แวดล้ อ ม การน� ำ น�้ ำ ดี ขั บ ไล่ น�้ ำ เสี ย เพื่ อ เจื อ จาง น�้ ำ เสี ย ให้ ก ลั บ เป็ น น�้ ำ ดี โดยใช้ ห ลั ก ของน�้ ำ ขึ้ น น�้ ำ ลง ตามธรรมชาติ พระราชด�ำรัสเมื่อครั้งเสด็จพระราชด�ำเนินทรงเยี่ยม โครงการหลวงพัฒนาต้นน�้ำหน่วยที่ 26 ห้วยขุนคอง อ�ำเภอ เชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2530 ความ ตอนหนึ่งว่า “…ควรขยายการปลูกป่าเหนือฝายทดน�้ำ โดยให้ราษฎร ร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ ในการปลูกพันธุ์ไม้ต่างๆ เพื่อเพิ่มความ ชุ ่ ม ชื้ น ของดิ น นอกจากนั้น อาจฝึก ให้ราษฎร ช่ว ยท�ำ หน้ า ที่ พนั ก งานดู แ ลรั ก ษาเพราะต่ า งฝ่ า ยต่ า งก็ มี ป ระโยชน์ ร ่ ว มกั น ดูแลพื้นที่ราบ ในหุบเขาก็ต้องพัฒนาให้เป็นนาปลูกข้าวส�ำหรับ ราษฎรท�ำกิน โดยจัดท�ำระบบ ชลประทานให้ราษฎรสามารถท�ำ กินได้บริบูรณ์แล้วจะเลิกปลูกฝิ่นโดยสิ้นเชิง…” และพระราชด�ำรัสที่เขาชะงุ้ม อ�ำเภอโพธาราม จังหวัด ราชบุรี เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2539 ความตอนหนึ่งว่า “...ให้ช่วยดูแลรักษาป่าอย่าไปรังแกป่า ถ้าปล่อยทิ้งไว้ไม่ ให้ใครไปรบกวน ระยะเวลา 30-40 ปี ป่าแห่งนี้จะฟื้นคืนสภาพ จากป่าเต็งรัง เป็นป่าเบญจพรรณ...” ทรงมองอย่างละเอียดถึงปัญหา ธรรมชาติ หากต้องการ แก้ไขธรรมชาติ จะต้องใช้ธรรมชาติเข้าช่วยเหลือ เพื่อไม่ให้ เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม อาทิ การจัดการน�้ำเสียตามแนว พระราชด�ำริ ใช้หลักการ “น�้ำดีไล่น�้ำเสีย” หลักการ บ�ำบัดน�้ำ เสียด้วยผักตบชวา ทฤษฎีการ บ�ำบัดน�้ำเสียด้วยการผสมผสาน ระหว่าง พืชน�้ำกับระบบการเติมอากาศ ระบบปรับปรุงคุณภาพ

น�้ำด้วยรางพืชร่วมกับเครื่องกลเติมอากาศ ทฤษฎีการบ�ำบัดน�้ำ เสียด้วยระบบบ่อบ�ำบัดและวัชพืชบ�ำบัด “กังหันน�้ำชัยพัฒนา” ดังพระราชด�ำรัส เกี่ยวกับการจัดการน�้ำเสียที่จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2528 ความตอนหนึ่งว่า “...กรรมวิ ธี ท ดลองก� ำ จั ด ปั ญ หาน�้ ำ เน่ า เสี ย ในเขต กรุ ง เทพมหานคร มี ห ลายวิ ธี ด ้ ว ยกั น ทั้ ง นี้ แ ล้ ว แต่ พื้ น ที่ แ ละ สภาพแวดล้อมของแต่ละเขต และจะ สังเกตให้ได้ว่าแต่ละวิธี ล้วนมุ่งใช้ประโยชน์จากธรรมชาติไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง เพราะจะ สามารถประหยัดค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานลงได้เป็นจ�ำนวน มาก...” ในการอนุรักษ์และพัฒนาดิน พระองค์มีพระราชด�ำริ ให้ ปลู ก หญ้ า แฝกเพื่ อ แก้ ไขปั ญหาการพั ง ทลาย ของหน้ า ดิน เป็นการอนุรักษ์ดินและน�้ำ โดยใช้หลักธรรมชาติช่วยธรรมชาติ เนื่ อ งจากแนวล� ำ ต้ น ของ หญ้ า แฝกช่ ว ยชะลอความเร็ ว ของ น�้ำที่ไหลผ่านและป้องกันการพังทลายของหน้าดิน โดยได้มี พระราชด�ำริ ให้ศึกษาพันธุ์หญ้าแฝกที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ต่างๆ และทรงให้ทดลองปลูกที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนา อันเนื่อง มาจากพระราชด�ำริและพื้นที่อื่นๆ ที่เหมาะสมอย่างกว้างขวาง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานแนวพระราชด�ำริ ระหว่าง เสด็จพระราชด�ำเนินทอดพระเนตรงาน โครงการศูนย์ ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริเมื่อวัน ที่ 22 กรกฎาคม 2535 ความตอนหนึ่งว่า 62

IS AM ARE www.fosef.org


“...ดินแข็งอย่างนี้ใช้การไม่ได้ แต่ถ้าเราท�ำแนวหญ้าแฝก ที่เหมาะสมมีฝนลงมาความชื้นก็ จะอยู่ในดิน รากแฝกมันลึกมาก ถึงให้เป็นเขื่อนกั้นแทนที่จะขุด พืชจะเป็นเขื่อนที่มีชีวิต แล้วใน ที่สุดเนื้อที่ตรงนั้นก็จะเกิดเป็นผิวดิน เราจะปลูกอะไรก็ได้ ปลูก ต้นไม้ก็ได้ ปลูกผัก ปลูกหญ้าอะไรก็ได้ทั้งนั้น...” และพระบรมราโชวาทพระราชทานแก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษา จากมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ เมื่อวันที่ 25 กรกฎคม 2540 ความตอนหนึ่งว่า “...ปลูกหญ้าแฝกจะต้องปลูกให้ชิดกันเป็นแผง และวาง แนวให้เหมาะสมกับลักษณะ ภูมิประเทศ เป็นต้นว่า บนพื้นที่สูง จะต้องปลูกตามแนวขวางของความลาดชันของร่องน�้ำ บนพื้นที่ ราบจะต้องปลูกรอบแปลงหรือปลูกตามร่องสลับกับพืชไร่ ใน พื้นที่เก็บกักน�้ำ จะต้องปลูกเป็นแนวเหนือแหล่งน�้ำ หญ้าแฝกมี หลักวิธีดังนี้จะช่วยป้องกันการพังทลาย ของหน้าดิน รักษาความ ชุ่มชื้นในดิน เก็บกักตะกอนดินและสารพิษต่างๆ ไม่ให้ไหลลง แหล่งน�้ำ ซึ่งจะอ�ำนวยผลประโยชน์อย่างยิ่งแก่การอนุรักษ์และ น�้ำ ตลอดจนการฟื้นฟูดิน และป่าไม้ให้สมบูรณ์ขึ้น...” และพระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ของหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2540 ความตอนหนึ่งว่า “...หญ้าที่มีคุณอย่างหญ้าแฝก ซึ่งเป็นประโยชน์อย่าง ยิ่งแก่การอนุรักษ์ดินและน�้ำ เพราะมีรากที่หยั่งลึกแผ่กระจาย

ลงไปตรงๆ ท�ำให้อุ้มน�้ำและยึดเหนี่ยวดินได้มั่นคง และมีล�ำต้น ชิดติดกันแน่นหนาท�ำให้กักตะกอนดิน และรักษาหน้าดินได้ดี...” นอกจากนี้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี ได้พระราชทานสัมภาษณ์เกี่ยวกับ คุณสมบัติของหญ้าแฝก ไว้ในหนังสือ “พระมหากษัตริย์นักพัฒนา เพื่อประโยชน์สุขสู่ปวง ประชา” ความตอนหนึ่งว่า “...พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงแนะน�ำให้ใช้“หญ้า แฝก”ในการพัฒนาดิน เพราะรากของหญ้าแฝกขึ้นหนางอก ตรงไม่แผ่ไปไกลสามารถยึดและป้องกันดินพังทลาย รักษาน�้ำ และความชื้นได้เหมือนมีเขื่อนอยู่ใต้ดิน สามารถท�ำให้ดินที่แข็ง เช่น ดินลูกรังร่วนซุยได้ หญ้าแฝกมีหลายพันธุ์ที่ใช้ได้ตามความ เหมาะสม ใบของหญ้าแฝก ยังสามารถน�ำมาผลิตเป็นสินค้า หัตถกรรมได้อีกด้วย เป็นแรงจูงใจท�ำให้เกษตรกรสนใจ ปลูก หญ้าแฝกกัน...” 63 issue 125 june 2018


คอลัมน์ พ่อแม่ยุคใหม่ โดย พญ.จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ

ขัน้ ตอนการสร้างความทรงจ�ำ

ฝึกหัดขับรถได้อย่างคล่องแคล่ว) แม้แต่ทักษะการคิด ก่อนเรา จะคิดได้ซับซ้อน เข้าใจเรื่องยาก ๆ ได้ ก็จะต้องเริ่มต้นจากทักษะ การคิดตั้งแต่เด็กเล็ก ขั้นตอนที่คุณแม่ คุณพ่อ จะช่วยลูก ๆ ในการสร้างความ ทรงจ�ำในเรื่องจ�ำเป็นต่าง ๆ โดยเฉพาะความสามารถในการคิด อย่าลืมว่าโลกของเราเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมายแตกต่างจาก ช่วงที่เราเป็นเด็ก และเด็ก ๆ ที่จะด�ำเนินชีวิตได้ดีในอนาคต จะ ต้องมีความสามารถในการคิด โดยเฉพาะการคิดอย่างมีเหตุผล การค้นหาทางเลือกในการตัดสินใจเรื่องต่าง ๆ การชั่งน�้ำหนัก จัดล�ำดับความส�ำคัญของสิ่งที่ประสบอยู่ เพื่อจัดการวางแผน ชีวิตของตนเองได้อย่างมีทุกข์น้อย การคิดและปฏิบัติในทางที่ ไม่ก่อทุกข์ให้ตนเองและผู้อื่น ซึ่งก็คือการเดินสายกลาง ถ้าตึง เกินไปก็เป็นทุกข์กับตัวเอง ย่อหย่อนเกินไปก็ก่อทุกข์กับคนอื่น และแม้ในมาตรฐานการด�ำเนินชีวิตในสถานการณ์ต่าง ๆ กัน

เมื่อทราบว่า ความทรงจ�ำเป็นสิ่งส�ำคัญอย่างยิ่งที่เรา ใช้ด�ำเนินชีวิตในปัจจุบัน จะว่าไปแล้ว คนเราใช้ความทรงจ�ำ ในอดี ต เพื่ อ ด� ำ เนิ น ชี วิ ต ในปั จ จุ บั น ถ้ า คุ ณ พ่ อ คุ ณ แม่ ที่ ศึ ก ษา พุทธศาสนาอยู่บ้าง อาจเคยได้ยินค�ำว่า “สัญญา” ตั้งแต่เด็ก เราใช้ประสาทสัมผัสทุกส่วนของเราในการเก็บข้อมูล เรียนรู้ เรื่องต่าง ๆ รอบตัว สะสมเป็นความทรงจ�ำระยะยาว โดยเฉพาะ เรื่องที่เรามีประสบการณ์ ฝึกฝนประจ�ำ สิ่งที่เราจ�ำได้ และ ท�ำได้ ตั้งแต่เด็ก ๆ ก็คือ กิจวัตรประจ�ำวันที่คุณพ่อคุณแม่ และผู้ใหญ่ ในบ้านสอนเรา ส่วนอื่นที่เราเรียนในโรงเรียนคงเหลือในความ ทรงจ�ำของเราไม่มาก เหลือไว้เพียงสิ่งที่เราจะใช้ร่วมกับทักษะที่ มีดั้งเดิมจากครอบครัว นอกเสียจาก เราฝึกฝนด้านความรู้เพิ่ม เติมเพื่อประกอบอาชีพเท่านั้น ส่วนที่เราด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน ของเรา ตั้งแต่ตื่นนอน นั่ง ยืน เดิน แปรงฟัน ทานข้าว ขับรถ (ซึ่งก็จะต้องมีพื้นฐานในการฝึกใช้กล้ามเนื้อทั้งร่างกาย จึงจะ

64 IS AM ARE www.fosef.org


พ่ อ แม่ ยุ ค ใหม่ ก็จะต้องฝึกยืดหยุ่นปรับเปลี่ยนได้อย่างเหมาะสม ที่ส�ำคัญโลก เรามีวิกฤตมากมายอยู่แล้ว เราก็ต้องให้ลูกเข้าใจสถานการณ์ พอสมควรเพื่อที่จะปรับตัวได้ดีในอนาคต และเป็นส่วนหนึ่งที่ จะช่วยแก้ไข หรืออย่างน้อยชะลอสถานการณ์วิกฤตรอบ ๆ ตัว เช่น ปลูกฝังนิสัยที่จะไม่ยุ่งเกี่ยวกับบุหรี่ เหล้า ยาเสพติด มีความ สามารถในการเลือกบริโภคซื้อสิ่งของ ประหยัด ไม่ฟุ่มเฟือย รู้จัก ใช้จ่ายอย่างเห็นคุณค่าของสิ่งที่หามาได้ หากท�ำได้โลกเราก็ยังมี ความหวังอยู่บ้าง เข้าเรื่องที่จะขอแนะน�ำวันนี้ ขั้นตอนการสร้างความทรง จ�ำอย่างค่อยเป็นค่อยไปให้ลูก ๆ ของเรา 7 ขั้น แบบค่อยเป็น ค่อยไป เพื่อให้เกิดการฝึกฝนซ�้ำ ๆ จนลูกจ�ำได้ ขั้นที่ 1 เข้าถึงระบบความทรงจ�ำในสมองของลูก พูด ยากแต่ท�ำง่ายค่ะ ส�ำหรับคุณแม่ คุณพ่อ เพราะลูกใกล้ชิดกับ เรามากที่สุดอยู่แล้ว เรื่องนี้เป็นข้อได้เปรียบของคุณพ่อคุณแม่ ค่ะ อย่าปล่อยให้หลุดมือไป เพราะฉะนั้น การใช้เวลากับลูก อย่างมีคุณค่าจึงเป็นสิ่งส�ำคัญที่สุดระหว่างคุณกับลูก เมื่อใกล้ ชิดลูก คุณก็จะสังเกตเห็นลักษณะเด่น อะไรที่ลูกชอบ อะไรที่ ลูกท�ำได้ดี อะไรที่ท�ำได้ช้า หรือต้องค่อยเป็นค่อยไป จ�ำให้ขึ้นใจ ไว้ตลอดเวลาว่า ประสบการณ์ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 6 คือ ตา (เห็นภาพ) หู(ได้ยินเสียง) จมูก(รับกลิ่น) ลิ้น(รับรส) ผิวหนัง(รับ ความรู้สึกต่าง ๆ รอบตัว) และความรู้สึกภายใน ต้องจัดให้ลูก ครบถ้วน เวลาอยากให้ลูกรู้จักอะไรอย่างจริงจังลึกซึ้ง เช่น อยาก ให้ลูกรู้จักผลไม้ เพื่อปลูกนิสัยชอบทานผลไม้เป็นประจ�ำ เลือก ผลไม้ที่มีกลิ่นหอมจัด รสไม่หวานมาก (เพื่อไม่เพาะนิสัยการกิน หวานให้ลูกตั้งแต่เล็ก) สีสวยสักหน่อยเพื่อเรียกความสนใจของ ลูก (อาจจะเป็นกล้วยหอม ส้ม) ให้ลูกได้รู้จัก ลูกคล�ำเล่น ลอง ดมกลิ่น แล้วปอกเปลือกให้ทาน โดยคุณแม่ทานให้ดูเป็นตัวอย่าง

เห็ น บ่ อ ย ๆ ที่ พ ่ อ แม่ ช อบเปรี ย บเที ย บลู ก กั บ คนอื่ น โดยหวั ง ว่ า จะท� ำ ให้ ลู ก อยากเอาชนะ ส� ำ หรั บ เด็ ก เล็ ก นอกจากไม่ ไ ด้ ผ ลแล้ ว ยั ง สร้ า งรอยแผลในใจ ลู ก ท� ำ ให้ ลู ก หมดก� ำ ลั ง ใจ บางที ถึ ง ขั้ น รู ้ สึ ก ตั ว เอง ล้ ม เหลว สู ้ ใ ครไม่ ไ ด้ ค่อย ๆ ให้ลูกทดลองลิ้มรส ไม่ต้องใจร้อน ค่อยเป็นค่อยไป เมื่อ ลูกคุ้นชินกับผลไม้แล้ว ก็มาแนะน�ำให้ลูกรู้จักผัก เลือกผักที่อ่อน นิ่มก่อน ทานง่าย ๆ ให้รู้จักตั้งแต่ยังไม่ได้ปรุง แล้วปรุงให้ลูกทาน โดยให้ลูกช่วยอยู่ข้าง ๆ ท�ำเสร็จแล้วทานด้วยกัน สนุกจริง ๆ ส�ำหรับเด็ก ๆที่ได้เฝ้าสังเกตคุณพ่อหรือคุณแม่ท�ำกับข้าว และ มีส่วนร่วม พร้อมกับทานไปด้วยกัน ขั้นที่ 2 ตอบสนอง ทบทวน เมื่อลูกค่อย ๆ ซึมซับสิ่งที่ ได้สัมผัสผ่าน ตา หู จมูก ลิ้น ผิวหนัง และ ความรู้สึกของตนแล้ว สมองจะท�ำวงจรเก็บความทรงจ�ำเหล่านั้นไว้ หากลูกสามารถพูด ได้มากพอควรแล้ว ลูกจะจดจ�ำผลไม้ ในคุณลักษณะที่เป็นผลไม้ จริง ๆ ไม่ใช่ผลไม้จากรูปภาพหรือจากค�ำบอกเล่า ยิ่งลูกเข้าใจ สิ่งต่าง ๆ ได้มากและลึกซึ้งเท่าไรก็ยิ่งดีมาก เมื่อลูกสามารถ อธิบายหรือพูดให้เราฟังถึงสิ่งที่เขาเรียนรู้ได้ คุณแม่คุณพ่อต้อง สังเกตและตอบสนอง ส่วนใดที่ลูกบอกเล่าได้ถูกต้อง หรือ ชี้ได้ ถูกต้อง ก็ช่วยพูดย�้ำหรืออธิบายเพิ่มเติมเล็กน้อย เพื่อค่อยเสริม ความทรงจ�ำของลูก ให้ก�ำลังใจลูกด้วยการแสดงสีหน้า ยิ้ม ไม่ จ�ำเป็นต้องชมเชยด้วยค�ำพูดมากนัก ถ้าลูกบอกไม่ได้หรือไม่ถูก 65

issue 125 june 2018


ที่ ส� ำ คั ญ ต้ อ งฝึ ก ให้ ลู ก หั ด ท� ำ งานตั้ ง แต่ เ ล็ ก ๆ ตั้ ง แต่ งานเล็ ก ๆ ไปจนถึ ง งานบ้ า นเท่ า ที่ ลู ก จะสามารถ ท� ำ ได้ การที่ พ ่ อ แม่ ช ่ ว ยเหลื อ ลู ก มากเกิ น ไป (หรื อ เลี้ ย งแบบคุ ณ หนู ) นั่ น คื อ การท� ำ ร้ า ยลู ก ทางอ้ อ ม เพราะเท่ า กั บ ตั ด โอกาสที่ ลู ก จะเรี ย นรู ้ ไ ด้ ต ามวั ย

ต้อง อย่าต�ำหนิ (เห็นบ่อย ๆ ที่พ่อแม่ชอบเปรียบเทียบลูกกับ คนอื่น โดยหวังว่า จะท�ำให้ลูกอยากเอาชนะ ส�ำหรับเด็กเล็ก นอกจากไม่ได้ผลแล้ว ยังสร้างรอยแผลในใจลูก ท�ำให้ลูกหมด ก�ำลังใจ บางทีถึงขั้นรู้สึกตัวเองล้มเหลว สู้ใครไม่ได้) ช่วยแก้ไข ด้วยความนุ่มนวล หรืออธิบายเพิ่มเติม ถ้าลูกไม่เข้าใจ อย่า หงุดหงิดหัวเสีย แสดงว่า สิ่งที่เราอธิบายไม่อาจเข้าไปถึงความ คิดของเด็กได้ ลองหาวิธีใหม่ที่จะตอบสนองและท�ำให้ลูกเข้าใจ ได้ถูกต้องและลึกซึ้ง ขั้นที่ 3 ต่อยอดจากสิ่งที่ลูกรู้อยู่แล้ว ไปสู่สิ่งใหม่ ต้อง ไม่ลืมว่า สมองของเราจะจดจ�ำหรือเรียนรู้สิ่งใหม่ก็โดยพยายาม เชื่อมโยงกับความรู้เดิมที่มีอยู่มากบ้างน้อยบ้าง ทุกครั้งที่จะสอน สิ่งใหม่ เช่น ลูกรู้จักกล้วยหรือส้มแล้ว (ใกล้ตัวลูกมาก เพราะคุณ แม่ท�ำกล้วยครูด หรือ คั้นน�้ำส้มให้ลูกได้ทานเป็นอาหารเสริมทุก วัน) ต่อไปอยากให้ลูกรู้จักมะนาว ทบทวนกับลูกสักหน่อย หยิบ ส้มถามว่า นี่อะไรลูก ๆ ก็ตอบได้แล้ว อธิบายนิดหน่อย ส้มกลม ๆ กลิ่นหอม ๆ รสหวานเปรี้ยว อร่อยจริง หยิบมะนามมาเปรียบ เทียบให้ลูกดู กลม ๆ เหมือนกัน ผิวคล้าย ๆ กัน ให้ดมกลิ่นสัก หน่อย กลิ่นต่างออกไปหน่อย ถ้าลูกอยากชิม คั้นแล้วถ้าเปรี้ยว

มาก ใส่เกลือน�้ำตาลท�ำน�้ำมะนาวให้ลูกชิมเล็กน้อย แต่คุณแม่ ดี่มให้ดูอึกใหญ่ ๆ บอกว่า อาจจะไม่อร่อยเท่าส้ม แต่แม่ก็ชอบ เหมือนกัน น�ำมะนาวมาคั้นท�ำอาหาร เพื่อขยายความเข้าใจของ ลูกว่า มะนาวคั้นน�้ำดื่มได้ แล้วคุณแม่ก็ยังเอามาท�ำอาหารได้ด้วย คุณก�ำลังขยายให้ลูกรับรู้และเข้าใจว่า ประโยชน์ของสิ่งที่ลูกรู้จัก ไม่ได้มีอย่างเดียว มีประโยชน์ได้หลายอย่าง คุณให้ลูกนับมะนาว ไปด้วยเพื่อปลูกฝังความเข้าใจเรื่องจ�ำนวนนับ เป็นการวางฐาน การเข้าใจคณิตศาสตร์ไปด้วย ขั้นที่ 4 ท�ำความทรงจ�ำให้แข็งแรงยิ่งขึ้น จากขั้นที่ 3 ซึ่ง เราได้ช่วยเด็กเพิ่มความทรงจ�ำเชื่อมโยงจากของที่รู้อยู่เก่า ไปสู่ สิ่งใหม่ คุณแม่คุณพ่อก็คงจะพอประเมินได้แล้วว่า ลูก ๆ มีความ 66

IS AM ARE www.fosef.org


ก้าวหน้าไปถึงไหน เรียนรู้ได้ตามที่เราคาดหวังมากน้อยเพียงไร ตอนนี้เป็นหน้าที่ที่จะช่วยจัดกระบวนการให้ความทรงจ�ำของลูก แข็งแรงขึ้น ด้วยการ “ประเมินค่า/ตอบสนอง” เพื่อช่วยเสริม แก้ไข ก่อนที่ความทรงจ�ำของลูกจะฝังแน่นไปนาน และจะแก้ไข ยากเมื่อโตขึ้น เช่น ถ้าลูกพูดค�ำไทยไม่ชัด “กล้วย” เป็น “ก้วย” สิ่งที่คุณควรท�ำก็คือ ลูกจ๋าเขาเรียกว่า “กล้วยจ๊ะ ไหนออกเสียง ตามแม่สิจ๊ะคนดี” ถ้าลูกพูดได้ชัดขึ้น (อาจไม่ชัดมากที่สุด ก็ให้ ก�ำลังใจ “นั่นลูกท�ำได้ เห็นไหม เอาเรามาร้องเพลงเล่นกัน..” คุณ อาจช่วยลูกแต่งเพลงเกี่ยวกับกล้วย ไม่จ�ำเป็นต้องมีค�ำคล้องจอง ตามไวยากรณ์ ท�ำให้ง่ายส�ำหรับลูกและสนุกไปด้วย นี่เป็นวิธีที่ จะช่วยปลุกฝังความทรงจ�ำระยะยาวแบบถูกต้อง

ขั้นที่ 5 ฝึกซ้อมกับลูกให้บ่อยที่สุด เป็นวิธีง่าย ๆ ที่จะ ช่วยลูกสร้างความทรงจ�ำระยะยาวไปนานแสนนาน ลองนึกถึง ตัวเราเอง พวกเราเรียนรู้วิธีแปรงฟันจากคุณพ่อคุณแม่ได้อย่างไร และทักษะในการแปรงฟันติดตัวเรามาตั้งแต่เด็กจนโตไม่เคยลืม เพราะอะไร ก็เพราะคนที่เลี้ยงดูเราได้ช่วยสอนและให้เราแปรง ฟันทุกวัน ๆ เป็นเวลายาวนาน ความทรงจ�ำเกี่ยวกับการแปรง ฟันและนิสัยในการดูแลตัวเองอื่น ๆ เช่น อาบน�้ำ แต่งตัว ทาน อาหาร บางคนก็ปรุงอาหารเองได้ ก็เพราะพ่อแม่ให้เราฝึกฝน จนฝังรากลึกในสมองของเราไม่หายไปไหนเลย แม้ว่าบางทีเรา อาจตกระก�ำล�ำบาก สมมติว่า ไปอยู่เกาะห่างไกลไม่มีแปรงสีฟัน หลายปีผ่านไป เรากลับมาบ้านก็ยังแปรงฟันได้ ขั้นที่ 6 ทบทวนให้บ่อยที่สุด คุณต้องก�ำหนดให้ได้ จะว่ า ไปแล้ ว คนเราใช้ ค วามทรงจ� ำ ในอดี ต เพื่ อ ด� ำ เนิ น ว่า ความรู้ ทักษะ หรือพฤติกรรมอะไรที่คุณอยากให้ลูกจดจ�ำ ชี วิ ต ในปั จ จุ บั น ถ้ า คุ ณ พ่ อ คุ ณ แม่ ที่ ศึ ก ษาพุ ท ธศาสนา ไปได้นานแสนนาน อะไรที่คุณเห็นว่าเป็นสิ่งจ�ำเป็นในชีวิตของ อยู ่ บ ้ า ง อาจเคยได้ ยิ น ค� ำ ว่ า “สั ญ ญา” ตั้ ง แต่ เ ด็ ก เรา ลูกต่อไปในอนาคต เช่น เมื่อลูกเข้าขวบที่ 3 ควรมีความเข้าใจ ใช้ ป ระสาทสั ม ผั ส ทุ ก ส่ ว นของเราในการเก็ บ ข้ อ มู ล และความสามารถในการดูแลตนเองในกิจวัตรประจ�ำวัน เพราะ เรี ย นรู ้ เ รื่ อ งต่ า ง ๆ รอบตั ว สะสมเป็ น ความทรงจ� ำ ฉะนั้นพ่อแม่ต้องปล่อยและฝึกให้ลูกดูแลตนเองให้มากที่สุด ระยะยาว โดยเฉพาะเรื่ อ งที่ เ รามี ป ระสบการณ์ ไม่ใช่ต้องมีคนรับใช้หรือช่วยเหลือตลอดเวลา ถ้ามีคนช่วยมาก ลูกก็จะเรียนรู้ช้า เพราะการเรียนรู้ของสมองลูกจะได้จากการ ลงมือท�ำจริง ๆ เท่านั้น ยิ่งท�ำมากวงจรในสมองก็ยิ่งหนาแน่น และมีความสามารถมาก ที่ส�ำคัญต้องฝึกให้ลูกหัดท�ำงานตั้งแต่ เล็ก ๆ ตั้งแต่งานเล็ก ๆ ไปจนถึงงานบ้านเท่าที่ลูกจะสามารถ ท�ำได้ การที่พ่อแม่ช่วยเหลือลูกมากเกินไป (หรือเลี้ยงแบบคุณ หนู) นั่นคือการท�ำร้ายลูกทางอ้อม เพราะเท่ากับตัดโอกาสที่ลูก จะเรียนรู้ได้ตามวัย มีผลให้ลูกมีพัฒนาการช้ากว่าที่ควร อันจะ ส่งผลไปถึงการเรียนรู้เรื่องอื่น ๆ เมื่อเข้าโรงเรียน ขั้นที่ 7 ฝึกให้ลูกดึงความทรงจ�ำออกมาใช้บ่อย ๆ และ ยากขึ้นเป็นล�ำดับตามอายุและความสามารถ ขั้นนี้ส�ำคัญมาก เพราะคุณจะทราบว่าลูกเรียนรู้ได้ดีมากขนาดไหน เช่น ถ้าเราฝึก ลูกแปรงฟัน เราก็เฝ้าสังเกตว่าลูกท�ำอย่างไรบ้าง จับแปรงสีฟัน ถูกต้องไหม แปรงฟันสะอาดไหม นั่นหมายถึงเราก�ำลังกระตุ้น และเปิดโอกาสให้ลูกได้ดึงความรู้จากความทรงจ�ำออกมาใช้ ประโยชน์จริง ๆ ได้แล้ว ถ้าลูกยังท�ำไม่ถูกต้อง เรามีหน้าที่ช่วย ให้ลูกทบทวน อย่าเพิ่งช่วยหรือจับมือ ถามลูกก่อนว่า จ�ำที่แม่ สอนได้ไหมว่า เวลาจับแปรงสีฟันอย่างไร เปิดโอกาสให้ลูกลอง ดึงความทรงจ�ำออกมาอีกครั้ง บางทีการที่ลูกท�ำไม่ถูกต้องอาจ เป็นเพราะว่า ลูกรีบร้อนให้เสร็จ การที่เราช่วยทันทีหรือแก้ไข ทันที อาจท�ำให้เราประเมินลูกต�่ำเกินไป ลูกอาจจ�ำได้แต่ยังดึง ความทรงจ�ำออกมาได้ไม่หมด ความอดทนและเฝ้าสังเกตอย่าง ตั้งใจ ไม่ผลีผลามช่วยเหลือจึงจะช่วยลูกได้อย่างจริง ๆ 67 issue 125 june 2018


เรื่องโดย : ศ.ระพี สาคริก

จากรอยเท้าถึงรอยใจคน รอยเท้าซึ่งเกิดจากทางเดิน อันเป็นธรรมชาติของมนุษย์ เท่ า ที่ ป รากฏอยู ่ บ นพื้ น ดิ น นั้ น แท้ จ ริ ง แล้ ว ก็ คื อ สั ญ ญาณซึ่ ง บ่งบอกถึง “ความรัก” อันเป็นธรรมชาติอยู่ในจิตวิญญาณมนุษย์ ที่มอบให้ไว้กับพื้นดินเป็นสัจธรรม เพื่อความมั่นคงยั่งยืนในการ ด�ำรงชีวิตอยู่ต่อไปของมนุษย์เอง เช่ น เดี ย วกั บ รอยจู บ ซึ่ ง เกิ ด จากความรู ้ สึ ก ทางใจที่ ฝังลึกลงในหัวใจระหว่างมนุษย์ด้วยกันเอง หากเกิดจากวิญญาณ ที่ให้ความรักพื้นดินร่วมกันย่อมบ่งบอกถึงสายสัมพันธ์ อันเกิด จากการใช้คุณธรรมเป็นพื้นฐานการด�ำเนินชีวิตร่วมกันทั้งสอง ฝ่าย

เราควรถือได้ว่า ความสัมพันธ์ดังกล่าว เกิดจากความ รักอันใสสะอาด จึงมีผลช่วยให้เกิดสันติสุขในการอยู่ร่วมกัน บนพื้นฐานธรรมชาติที่อยู่ในรากฐานของแต่ละคน ช่วยให้รู้สึก อย่างลึกซึ้งว่า เราอยู่บนผืนแผ่นดินเดียวกัน เมื่ อ ใดพบความจริ ง ว่ า สายสั ม พั น ธ์ ดั ง กล่ า ว เกิ ด จากความรั ก อั น ใสสะอาด จึ ง มี ผ ลช่ ว ยให้ เ กิ ด สั น ติ สุ ข ใน การอยู่ร่วมกัน บนพื้นฐานธรรมชาติที่อยู่ในรากฐานของแต่ละ คน ช่วยให้รู้สึกอย่างลึกซึ้งว่า เราอยู่บนผืนแผ่นดินเดียวกัน เมื่ อ ใดที่ พ บความจริ ง ว่ า วิ ญ ญาณความรั ก พื้ น ดิ น อันถือเป็นธรรมชาติที่ควรมีอยู่ในรากฐานจิตใจมนุษย์ก�ำลังจะ สูญสิ้นไป เมื่อนั้นจากสัญชาตญาณอันเป็นธรรมชาติของส่วนที่ 68

IS AM ARE www.fosef.org


ความจริ ง ของชี วิ ต ยังเหลืออยู่ ย่อมบอกได้ว่า มวลมนุษย์ก�ำลังจะถึงจุดดับสูญไป จากโลกนี้ในที่สุด นับตั้งแต่ฉันมีโอกาสพบรอยจากสิ่งที่มนุษย์ประดิษฐ์ คิดค้นขึ้นมา เพื่อใช้สนองความสะดวกสบายในการเดินทางไป ไหนมาไหน ปรากฏอยู่บนพื้นดิน มันก็เริ่มสะท้อนให้ฉันเห็น ความจริงได้ว่า วิญญาณมนุษย์อันควรหยั่งรากฐานความรักลง สู่พื้นดินร่วมกันอย่างลึกซึ้งดังเช่นแต่ก่อน คงจะเริ่มสูญสิ้นไป ทีละน้อย เช่ น เดี ย วกั น แม้ ม นุ ษ ย์ จ ะสั ม ผั ส กั น ด้ ว ยรอยจู บ จาก ความรัก หากทั้งคู่หรือฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งสูญเสียวิญญาณซึ่งควร จะฝังรากลงสู่พื้นดินอย่างลึกซึ้ง การแสดงออกก็คงจะเกิดจาก อารมณ์เพียงชั่วครู่ โดยที่ขาดความจริงใจ แล้วในที่สุดก็ผ่านพ้น ไปอย่างไร้ความหมาย ไม่ว่าจะคบกันไปนานแค่ไหน รอยเท้ า ซึ่ ง เกิ ด จากทางเดิ น อั น เป็ น ธรรมชาติ ข อง มนุ ษ ย์ เท่ า ที่ ป รากฏอยู ่ บ นพื้ น ดิ น นั้ น แท้ จ ริ ง แล้ ว ก็ คื อ สั ญ ญาณซึ่ ง บ่ ง บอกถึ ง “ความรั ก ” อั น เป็ น ธรรมชาติ อ ยู ่ ใ นจิ ต วิ ญ ญาณมนุ ษ ย์ ที่ ม อบให้ ไ ว้ กั บ พื้ น ดิ น เป็ น สั จ ธรรม เพื่ อ ความมั่ น คงยั่ ง ยื น ใน การด� ำ รงชี วิ ต อยู ่ ต ่ อ ไปของมนุ ษ ย์ เ อง

แม้ ผ ลจากการจั ด การศึ ก ษาซึ่ ง ช่ ว งหลั ง ๆ สะท้อนให้ รู ้ สึ ก ชั ด เจนยิ่ ง ขึ้ น ว่ า ยิ่ ง เรี ย นสู ง รากฐานจิ ต ใจก็ ยิ่ ง ห่ า งจาก ความรักซึ่งควรจะหยั่งรากฐานลงสู่พื้นดิน หากแปรสภาพไป เป็นความรู้สึกรังเกียจพื้นดินรวมถึงชีวิตและสิ่งซึ่งอยู่ด้านล่าง ชัดเจนยิ่งขึ้น ทั้งนี้และทั้งนั้น เนื่องจากวิญญาณความเป็นคน ซึ่งควร เริ่มต้นจากความรักธรรมชาติที่มีอยู่ในจิตใจตนเอง และมีเหตุผล สานถึงความรักธรรมชาติของชีวิตอื่นสิ่งอื่น ถูกกระแสอิทธิพล จากรูปวัตถุนานารูปแบบ ซึ่งอยู่ภายในระบบการจัดการท�ำลาย ลึกซึ้งยิ่งขึ้น จากผลดั ง กล่ า วท� ำ ให้ ม นุ ษ ย์ แ ต่ ล ะคนจ� ำ ต้ อ งสู ญ สิ้ น วิญญาณอันควรท�ำหน้าที่คุ้มครองปกป้อง ให้ความปลอดภัยและ อบอุ่นแก่เพื่อนมนุษย์ เริ่มจากผู้ซึ่งมีรากฐานความรักธรรมชาติ ในจิ ต ใจชนรุ ่ น หลั ง ที่ ใ กล้ ชิ ด ตนมากที่ สุ ด อี ก ทั้ ง สานต่ อ ไปสู ่ มุมกว้างมากขึ้น หากส่งผลท�ำลายสรรพชีวิตและสิ่งทั้งหลายซึ่ง ท�ำหน้าที่ช่วยเสริมสร้างรากฐานให้กับตน

69 issue 125 june 2018


แม้ ม นุ ษ ย์ จ ะสั ม ผั ส กั น ด้ ว ยรอยจู บ จากความรั ก หาก ทั้ ง คู ่ ห รื อ ฝ่ า ยใดฝ่ า ยหนึ่ ง สู ญ เสี ย วิ ญ ญาณซึ่ ง ควร จะฝั ง รากลงสู ่ พื้ น ดิ น อย่ า งลึ ก ซึ้ ง การแสดงออก ก็ ค งจะเกิ ด จากอารมณ์ เ พี ย งชั่ ว ครู ่ โดยที่ ข าด ความจริ ง ใจ แล้ ว ในที่ สุ ด ก็ ผ ่ า นพ้ น ไปอย่ า งไร้ ความหมาย ไม่ ว ่ า จะคบกั น ไปนานแค่ ไ หน

มนุษย์จึงต้องตกอยู่ในสภาพท�ำลายทุกสิ่งทุกอย่างโดย ไม่อาจหยุดยั้งได้ จนมาถึงจุดหนึ่ง กระแสซึ่งเริ่มต้นสร้างไว้ ย่อมหวนกลับมาท�ำลายตัวเอง ดังเช่นที่คนแต่ก่อนเคยกล่าวไว้ ให้คิดว่า ขว้างงูไม่พ้นคอตัวเอง อนึ่ ง เมื่ อ สั จ ธรรมของวิ ถี ก ารเปลี่ ย นแปลงมี ทิ ศ ทาง หมุนวนเป็นวัฏจักรมาถึงช่วงนี้ การที่มนุษย์มีความโลภอยาก ได้ทุกสิ่งทุกอย่าง ธรรมชาติจึงก�ำหนดวิถีการเปลี่ยนแปลงให้ สิ่งที่มนุษย์สร้างไว้เอง หวนกลับมาท�ำลายตัวเองอย่างไม่อาจ หลีกเลี่ยงพ้น จนกระทั่งมาถึงช่วงนี้ บุคคลผู้ใฝ่หาความจริงย่อมพบได้ เองว่า มนุษย์ก�ำลังใกล้จะถึงจุดดับสูญยิ่งขึ้นทุกขณะ อนึ่ ง สภาพอั น เป็ น การเปลี่ ย นแปลงดั ง กล่ า ว ย่ อ ม สะท้ อ นกลั บ มาสอนให้ พ บความจริ ง ได้ จ ากวิ ถี ชี วิ ต คนและ สังคมเขตร้อนของโลก ซึ่งครั้งหนึ่งในอดีตเคยอุดมสมบูรณ์ด้วย สรรพชีวิตและสิ่งทั้งหลาย อันเป็นความต้องการของมนุษย์โลก ก�ำลังสูญสิ้นไป หลั ง จากนั้ น จึ ง ขยายขอบข่ า ยหวนกลั บ มาสู ่ เ ขต อบอุ่นของโลกอันเป็นต้นเหตุส�ำคัญ โดยที่มีการแย่งชิงกันเอง

จนกระทั่งในที่สุด ย่อมไม่มีชีวิตใดหลงเหลือให้บังเกิดประโยชน์ แก่ใคร หรือกลุ่มไหนอีกต่อไป คงเหลืออยู่แต่สัจธรรม ซึ่งมีเพียงความว่างเปล่า อันเป็น ที่ประจักษ์ชัดซึ่งในที่สุด คงไม่มีผลสนองตอบให้เป็นบทเรียนแก่ ใครอีกต่อไป มนุษย์โลกคือ ชีวิตที่วิวัฒนาการตัวเองมาถึงจุดสุดๆ แล้ว จากทุกสิ่งทุกอย่าง เมื่อมนุษย์โลกท�ำลายล้างกันเองได้ลงคอ แล้วจะมีอะไรเหลืออยู่ในโลกนี้อีกต่อไป ขอจงเป็ น สุ ข ๆ เถิ ด ทุ ก ชี วิ ต อั น เป็ น ที่ รั ก ของฉั น อนุ ส รณ์ สั จ ธรรมในโอกาสวั น สงกรานต์ 70

IS AM ARE www.fosef.org


เผยผิ ว ใสไร้ ริ้ ว รอย ด้ ว ย สบู ่ ว ่ า นหางจระเข้ ภั ท รพั ฒ น์ คุ ณ ค่ า จากว่ า นหางจระเข้ ที่ ช ่ ว ยลดรอยแดงจากการอั ก เสบของผิ ว ที่ โ ดนแดด ลดเลื อ นริ้ ว รอย ฝ้ า กระ จุ ด ด่ า งด� ำ เพิ่ ม ความชุ ่ ม ชื่ น ให้ ผิ ว ไม่ แ ห้ ง กร้ า น เมื่ อ ใช้ เ ป็ น ประจ� ำ ผิ ว หน้ า กระจ่ า งใสขึ้ น อย่ า งเป็ น ธรรมชาติ สามารถหาซื้อได้ที่ร้านภัทรพัฒน์ทุกสาขาหรือสั่งซื้อออนไลน์ได้ทาง Facebook/Patpat9 ภัทรพัฒน์สินค้าจากมูลนิธิชัยพัฒนา และ www.patpat9.com


แบ่งเวลาให้ชีวิตบ้าง อย่าเรียนอย่างเดียว ธี ร พล ปานคง หรื อ “สมยี น ” นั ก ศึ ก ษาคณะสาธารณสุ ข ชั้ น ปี ที่ 3 มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ อดี ต นั ก เรี ย น หลั ก สู ต รห้ อ งเรี ย น IEP (INTENSIVE ENGLISH PROGRAM) โรงเรี ย นปทุ ม คงคา คื อ ผู ้ ห นึ่ ง ที่ ผ่ า นการเรี ย นหนั ง สื อ ในชั้ น มั ธ ยมต้ น มาอย่ า งหนั ก ก่ อ นจะย้ า ยออกมาเรี ย นห้ อ งธรรมดาและใช้ เ วลาว่ า ง เพื่ อ ท� ำ กิ จ กรรมที่ ต นเองสนใจ มากกว่ า จะตั้ ง หน้ า ตั้ ง ตาเรี ย นอย่ า งเดี ย ว

72 IS AM ARE www.fosef.org


เยาวชนของแผ่ น ดิ น หลั ก สู ต ร IEP คื อ ห้ อ งเรี ย นที่ เ น้ น การเรี ย นวิ ช า วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ร่วมถึงวิชาอื่นๆ เป็นภาษาอังกฤษ ยกเว้นวิชาสังคมและภาษาไทย ซึ่งเรียนกับครูคนไทยและเรียน เป็นภาษาไทย สมยีนอธิบายว่าสาเหตุที่ต้องย้ายจากห้องเรียน พิเศษก็เพราะตนเองมองว่าการเรียนควรมีการฝึกทักษะชีวิต ในด้านอื่นบ้าง ได้ท�ำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกับผู้อื่นเพื่อเรียนรู้การ อยู่ร่วมในสังคม และที่ส�ำคัญ ลดค่าใช้จ่ายจากเทอมละ 15,000 บาท เหลือเพียงเทอมละ 4,000 บาทเท่านั้น “พ่อผมท�ำงานในเรือนานๆ จะกลับมาสักที แม่เป็น พนักงานต้อนรับในโรงแรม พอน้องทั้งสองคนเติบโตและเรียน สูงขึ้นเรื่อยๆ เราคิดว่าค่าเทอมเราสูงเกินไป ควรจะช่วยแบ่งเบา รายจ่ายของครอบครัวเพื่อสนับสนุนการเรียนของน้องๆ บ้าง ส่วนเราก็มีเวลาไปท�ำกิจกรรมอื่นๆ บ้างที่อยากท�ำ” สมยีนสอบเข้าห้องเรียนพิเศษ IEP โรงเรียนปทุมคงคา ตั้งแต่ชั้น ม.1 ด้วยเกรดเฉลี่ยชั้นประถมศึกษา 3.5 เขามีการ เรียนที่ดีตลอด 3 ปี จนกระทั่งขึ้นชั้น ม.4 เขาตัดสินใจย้ายมา เรียนห้องธรรมดากับเพื่อนส่วนใหญ่ในโรงเรียน และเข้าร่วม ท�ำงานจิตอาสากับมูลนิธิครอบครัวพอเพียงจนกระทั่งจบชั้น ม.6 กิ จ กรรมท� ำ ให้ เ รามี มุ ม มองกว้ า งขึ้ น ใจกว้ า งขึ้ น เพื่ อ นเยอะขึ้ น รู ้ จั ก รั บ ผิ ด ชอบมากขึ้ น ได้ เ รี ย นรู ้ ว่ า ผู ้ ค นในสั ง คมเป็ น อย่ า งไร ซึ่ ง ต่ า งจากสั ง คมใน ห้ อ งเรี ย นโดยสิ้ น เชิ ง บางที เ ราเหนื่ อ ยมาก การไป ท� ำ งานจิ ต อาสาแต่ ล ะครั้ ง แต่ พ อเราเห็ น เพื่ อ นๆ เขา ท� ำ ได้ เขาก็ เ หนื่ อ ยเหมื อ นกั น เราก็ ต ้ อ งท� ำ ได้ มั น ฝึ ก ให้ เ รามี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ

“เราเป็นคนที่อยากหากิจกรรมท�ำเวลาว่างเสาร์อาทิตย์ ไม่อยากอยู่เฉยๆ พอดีมารู้จักครอบครัวพอเพียงจึงมีโอกาสได้ท�ำ กิจกรรมจิตอาสาต่างๆ เช่น สอนหนังสือเด็กในชุมชน ร่วมค่าย พัฒนาโรงเรียน และร่วมเป็นแกนน�ำจัดค่ายต่างๆ เพื่อฝึกความ เป็นผู้น�ำให้กับน้องเยาวชนคนอื่นๆ อีกหลายคน” สมยีนเกิดและเติบโตที่จังหวัดสุโขทัย อาศัยอยู่กับคุณย่า ตั้งแต่เด็ก ในครอบครัวที่ต้องดิ้นรนไม่ต่างจากครอบครัวอื่นๆ ซึ่งพ่อแม่ออกไปท�ำงานในกรุงเทพฯ เพื่อหาเงินส่งเสียเลี้ยงดู สมยีนยอมรับว่า แม้จะย้ายมาอยู่กับพ่อแม่ที่กรุงเทพฯ ตั้งแต่ ชั้น ป.1-ป.6 ที่โรงเรียนศรีเอี่ยมอนุสรณ์ เขาพบว่าพ่อแม่ต้อง ใช้เวลาส่วนใหญ่เพื่อไปท�ำงาน ไม่มีเวลาให้มากนัก จนกระทั่ง ตนเรียนถึงชั้น ป.4 จึงนั่งรถเมล์ไปเรียนเอง และต้องไปอาศัย อยู่กับญาติฝ่ายแม่เพราะไม่มีคนดูแล “ผมเรียนมาตามปกติไม่ได้เรียนพิเศษอะไร ตอนสอบ เข้าชั้น ม.1 ที่ปทุมคงคาในห้องเรียนพิเศษได้ก็ดีใจ แต่พอเรียน ไปรู้สึกว่าค่าเรียนเราสูงเกินไป คือสูงกว่าน้องๆ ที่ก�ำลังเรียนอยู่ มาก ท�ำให้เราคิดว่าถ้าเราตั้งใจเรียนจริงๆ ไม่ว่าจะเรียนห้องไหน เราก็สามารถเรียนให้ดีได้ ถึงแม้พ่อแม่จะไม่มีเวลาก็ตาม ไม่ใช่ข้อ อ้างในการเรียนหนังสือ” 73

issue 125 june 2018


74 IS AM ARE www.fosef.org


สมยีน กล่าวว่า หลังจากย้ายออกมาเรียนห้องธรรมดา ตนเองก็ มี เวลาท� ำ กิ จ กรรมมากขึ้ น จนปั จ จุ บั น เขามี เ พื่ อ น มากมายจากต่ า งโรงเรี ย น เพราะได้ มี โ อกาสไปท� ำ กิ จ กรรม จิตอาสากับมูลนิธิครอบครัวพอเพียงด้วยกัน “กิจกรรมท�ำให้ เรามีมุมมองกว้างขึ้น ใจกว้างขึ้น เพื่อนเยอะขึ้น รู้จักรับผิดชอบ มากขึ้น ได้เรียนรู้ว่าผู้คนในสังคมเป็นอย่างไร ซึ่งต่างจากสังคม ในห้องเรียนโดยสิ้นเชิง บางทีเราเหนื่อยมาก การไปท�ำงานจิต อาสาแต่ละครั้ง แต่พอเราเห็นเพื่อนๆ เขาท�ำได้ เขาก็เหนื่อย เหมือนกัน เราก็ต้องท�ำได้ มันฝึกให้เรามีความรับผิดชอบ” สมยีนจบชั้น ม.6 ด้วยเกรดเฉลี่ย 3.7 และเข้าเรียนต่อที่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะสาธารณสุข เขาอธิบายว่า การ ท�ำกิจกรรมต่างๆ ที่ได้ท�ำมา ส่งผลให้เขาปรับตัวเข้ากับชีวิต ในมหาวิทยาลัยได้ไม่ยาก สามารถเข้ากับผู้อื่นได้ง่าย ยิ่งงาน จิตอาสาของคณะสาธารณสุข ซึ่งต้องออกไปช่วยเหลือผู้อื่น ตามชุมชนห่างไกล ก็เป็นสิ่งที่เขามีพื้นฐานมาตั้งแต่ชั้นมัธยม ปลาย เพราะแบ่งเวลาให้กิจกรรมต่างๆ มากมาย ไม่เลือกที่จะ เรียนอย่างเดียว

เราเป็ น คนที่ อ ยากหากิ จ กรรมท� ำ เวลาว่ า งเสาร์ อาทิ ต ย์ ไม่ อ ยากอยู ่ เ ฉยๆ พอดี ม ารู ้ จั ก ครอบครั ว พอ เพี ย งจึ ง มี โ อกาสได้ ท� ำ กิ จ กรรมจิ ต อาสาต่ า งๆ เช่ น สอนหนั ง สื อ เด็ ก ในชุ ม ชน ร่ ว มค่ า ยพั ฒ นาโรงเรี ย น และร่ ว มเป็ น แกนน� ำ จั ด ค่ า ยต่ า งๆ เพื่ อ ฝึ ก ความเป็ น ผู ้ น� ำ ให้ กั บ น้ อ งเยาวชนคนอื่ น ๆ อี ก หลายคน

“บางคนอาจคิดว่าผมเรียนห้องเรียนพิเศษไม่ไหว เพราะ เรียนไม่ทันเพื่อนจึงย้ายออกมาเรียนห้องธรรมดา แต่ไม่ใช่เลย เราไม่อยากทุ่มเวลาทั้งหมดไปกับการเรียนอย่างเดียว มันจะ รู้จักโลกเพียงด้านเดียว เรายังมีอะไรที่อยากท�ำมากมายในช่วง เสาร์อาทิตย์ ต้องขอบคุณมูลนิธิครอบครัวพอเพียงที่เปิดโอกาส ให้รู้จักเพื่อนๆ มากมาย ปัจจุบันผมเรียนชั้นปี 3 แล้ว แต่ถ้าว่าง เมื่อไหร่ผมก็จะไปท�ำงานจิตอาสากับครอบครัวพอเพียงเสมอ ยัง อยากเห็นกิจกรรมต่างๆ ที่พี่น้องผองเพื่อนเราท�ำอยู่ ยังติดตาม อยู่เสมอ ปัจจุบันผมสนิทกับเพื่อนครอบครัวพอเพียงมากกว่า เพื่อนในมหาวิทยาลัยเสียอีก” สมยีนกล่าวทิ้งท้าย 75 issue 125 june 2018


จุ ดชมวิวเนินนางพญา

ถนนเฉลิมบู รพาชลทิต จังหวัดจันทบุ รี โครงการถนนเลี ย บชายฝั ่ ง ทะเลภาคตะวั น ออก หรื อ ถนนเฉลิ ม บู ร พาชลทิ ต ที่ เ ชื่ อ มโยงจั ง หวั ด ระยอง จั น ทบุ รี ต ราด ซึ่ ง มี ร ะยะทางรวมกว่ า ร้ อ ยกิ โ ลเมตร มี จุ ด ชมวิ ว ขึ้ น ชื่ อ ส� ำ หรั บ ใครที่ ชื่ น ชอบการถ่ า ยรู ป กั บ วิ ว ทะเลที่ ข นาบข้ า งด้ ว ยทิ ว ทั ศ น์ ข องภู เ ขาสี เ ขี ย ว กั บ ถนนที่ ค ดเคี้ ย วสวยงาม

76 IS AM ARE www.fosef.org


70 เส้ น ทางตามรอยพระบาท โดย ททท. นั่นคือจุดชมวิวเนินนางพญา ที่ตั้งอยู่บนถนนเฉลิมบูรพา ชลทิต ถนนเลียบชายทะเลที่ยาวที่สุดในเมืองไทย ที่สามารถขับ รถชมวิวทะเล หรือปั่นจักรยานทางไกลมาเรื่อยๆ จากปากน�้ำ ประแส จั ง หวั ด ระยอง มาจรดเนิ น นางพญาที่ มี จุ ด ชมวิ ว ขึ้ น ชื่อแห่งนี้ ซึ่งอยู่ระหว่างอ่าวคุ้งวิมานและอ่าวคุ้งกระเบนของ จังหวัดจันทบุรี ที่จุดชมวิวเนินนางพญาแห่งนี้ จะมองเห็นวิวทะเลกับ ถนนที่คดเคี้ยวสวยงาม รวมทั้งเป็นจุดชมพระอาทิตย์ตกที่สวย ที่สุดแห่งหนึ่งเลยทีเดียว ความสวยงามของจุดชมวิวและถนน เส้นนี้ จึงกลายเป็นจุดหมายส�ำคัญของนักท่องเที่ยวทั้งหลาย รวมทั้งนักปั่นที่พร้อมจะพาจักรยานคู่ใจลุยไปจนสุดทาง “จุดชมวิวที่ตั้งอยู่บนถนนเลียบทะเล ที่ยาวและสวยงาม ที่สุด ในเมืองไทย”

ทริปตัวอย่าง

2 วั น 1 คื น เส้ น ทางท่ อ งเที่ ย ว จ.จั น ทบุ รี - สระแก้ ว วันแรก : จันทบุรี ช่วงเช้า • เที่ ย วชมปากน�้ ำ ประแส เรื อ รบประแส สะพาน ประแสสิน ทุ่งโปรงทอง ท่องเที่ยวชุมชม 100 ปี นมัสการ กรมหลวงชุมพร ช่วงบ่าย • แวะจุดชมวิวเนินนางพญา ใช้เส้นทางเฉลิมบูรพาชลทิต • เรียนรู้ระบบนิเวศพร้อมท�ำกิจกรรม ณ ศูนย์ศึกษาการ พัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน วันที่สอง : สระแก้ว ช่วงเช้า • มุ่งสู่สระแก้วแล้วไปเรียนรู้วิถีพอเพียง และการเกษตร แบบดั้งเดิมที่โรงเรียนกาสรกสิวิทย์ ช่วงบ่าย • เยี่ยมชมปราสาทสด๊กก๊อกธม ที่บรูณะด้วยวิธี คืนสภาพ ยากล�ำบากและอลังการ 77 issue 125 june 2018


78 IS AM ARE www.fosef.org


• ช็อปปิ้งที่ตลาดโรงเกลือ ตลาดสินค้าชายแดน ที่ใหญ่ ที่สุดในเมืองไทย

ห้ามพลาด

ที่ เ ที่ ย วห้ า มพลาด • ชุมชม 100 ปี จุดชมวิวที่ขนาบไปด้วยฝั่งชุมชนและฝั่ง ป่าชายเลนบริเวณปากน�้ำประแส • จุดชมวิวเนินนางพญา จุดชมวิวที่มองเห็นถนนคดเคี้ยว เลาะชายฝั่งทะเลอย่างสวยงาม

กิจกรรมห้ามพลาด

• ปั่นจักรยาน ท่องถนนเลียบชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก • แวะอ่าวคุ้งกระเบน เดินศึกษาธรรมชาติที่ป่าชายเลน • แวะหาดเจ้าหลาว พักเหนื่อย ดื่มน�้ำ ฟังเสียงคลื่น กระทบฝั่ง ที่ชายหาดเงียบสงบ

จุ ดชมวิวเนินนางพญา ถนนเฉลิมบู รพาชลทิต ฤดูท่องเที่ยว: ตลอดปี

การเดินทาง

จาก อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี ตรงไปยังแยกทางหลวงหมายเลข 3161 (สุขุมวิท–อ่าวไข่) จ.ระยอง วิ่งเลียบชายฝั่งทะเลตะวันออก ไปจนสุด ที่บ้านแหลมสิงห์ จ.จันทบุรี

79 issue 125 june 2018


ครอบครัวพอเพียง คือรากแก้วของแผ่นดิน

ตลอด 12 ปี ที่ มู ล นิ ธิ ค รอบครั ว พอเพี ย งขั บ เคลื่ อ นเรื่ อ งปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งสู ่ ส ถานศึ ก ษา และชุ ม ชน ด้ ว ยความตั้ ง ใจที่ ว ่ า “ไม่ มี ส ่ ว นไหนส� ำ คั ญ เท่ า ส่ ว นรวม เมื่ อ ส่ ว นรวมพ้ น ทุ ก ข์ เ ราจะสุ ข ร่ ว มกั น ” ซึ่ ง ได้ รั บ การตอบรั บ จากสถานศึ ก ษาทั่ ว ประเทศเป็ น อย่ า งดี ภายใต้ โ ครงการ ‘ครอบครั ว พอเพี ย งสู ่ ส ถาน ศึ ก ษาและชุ ม ชน’ สาธารณประโยชน์อย่างต่อเนื่องจากช่วงชั้นมัธยมศึกษา จากการเดินทางไปให้ความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนต่างๆ ทั้ง 76 จังหวัดรวมทั้งใน กรุงเทพมหานคร ตลอด 12 ปีที่ผ่านมา ก่อก�ำเนิดศูนย์ครอบครัว พอเพียงทั่วประเทศทั้งสิ้น 246 ศูนย์กระจายอยู่ทั่วประเทศ ส่งผลให้มูลนิธิครอบครัวพอเพียงมีเครือข่ายเยาวชนที่เข้มแข็ง มากที่สุดในประเทศไทย หลากหลายกิ จ กรรมที่ ผ ่ า นมา มู ล นิ ธิ ค รอบครั ว พอเพียงมุ่งหวังให้เยาวชนของชาติสร้างเครือข่ายซึ่งกันและ กันโดยไม่แบ่งแยกรั้วสถาบันใด เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ตัวเอง ในอนาคต เช่น ค่ายเฟรนด์แคมป์ กิจกรรมจิตอาสาสอนหนังสือ

ในปี 2560 มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการฯ จ�ำนวนกว่า 246 โรงเรียน มีนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมจ�ำนวน 98,400 คน ภายใต้ วิสัยทัศน์ “ปลูกจิตส�ำนึกความซื่อสัตย์ รับผิดชอบ มีจิตอาสา” ผ่านพันธกิจทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ศาสนาวัฒนธรรมและสถาบัน พระมหากษัตริย์ สิง่ แวดล้อม ประชาธิปไตย สังคม และเศรษฐกิจ ภายใต้หลักคิด 5 ค�ำ 5 ข้อที่พ่อสอน ได้แก่ มีความรู้ มีคุณธรรม มีความพอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกัน นอกจากนี้ ยังมีมหาวิทยาลัยกว่า 20 แห่ง ที่เข้าร่วม สนั บ สนุ น แนวทางปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งโดยการจั ด ตั้ง “ชมรมศูนย์ครอบครัวพอเพียง” ขึ้นภายในมหาวิทยาลัย เพื่อให้นักศึกษาที่เป็นสมาชิกครอบครัวพอเพียงได้ท�ำกิจกรรม 80 IS AM ARE www.fosef.org


ข่ า วสารครอบครั ว พอเพี ย ง

ให้เด็กด้อยโอกาส กิจกรรมดูแลผู้ป่วยในโรงพยาบาล กิจกรรมเล่านิทานในสวน กิจกรรมดูแลผู้สูงอายุและเด็กตามสถานสงเคราะห์ และอีกหลากหลายกิจกรรมที่ส่งเสริมให้เยาวชนเห็นคุณค่าในการท�ำเพื่อผู้อื่นและรู้จักค้นหาตัวเอง นอกจากเยาวชนจะได้ท�ำกิจกรรมสาธารณประโยชน์ที่ตนเองสนใจแล้ว ยังสามารถเก็บเป็นผลงานในการเรียนต่อในระดับ มหาวิทยาลัยได้ ดังตัวอย่างเยาวชนหลายคนที่ได้ยื่นผลงานเพื่อรับทุนเรียนฟรีในมหาวิทยาลัยต่างๆ จากการท�ำประโยชน์เพื่อส่วน รวมในช่วงมัธยมปลาย และในปัจจุบัน ปี 2561 มูลนิธิครอบครัวพอเพียงยังคงเดินทางไปทั่วประเทศเพื่อขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงต่อไป ด้วยความหวังว่า เยาวชนและคนทั่วไปจะสามารถพึ่งพาตนเองได้ รู้และเข้าใจในการปรับใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในชีวิตประจ�ำวันได้อย่างถูกต้อง เพื่อเป็นก�ำลังในการพัฒนาประเทศชาติต่อไป ภายใต้นิยาม “ครอบครัวพอเพียง คือ รากแก้วของแผ่นดิน”

81 issue 125 june 2018


เว็ปไซต์ของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง ท่านสามารถเข้ามาอ่านบทความ นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง หรือข่าวสารดี ๆ ได้แล้ววันนี้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และท่านยังสามารถสมัครเป็นสมาชิ กของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง เพื่อรับข่าวสารจากทางมู ลนิธิครอบครัวพอเพียงได้ก่อนใคร โดยท่านสามารถสมัครเพื่อเป็นสมาชิ กได้ท่ี

www.fosef.org 82

IS AM ARE www.fosef.org


83 issue 125 june 2018


นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง พร้อมเสริพ์ให้ทุกท่านได้อ่านแล้ว!! เพี ย งแค่ ค ลิ ก เข้ า ไปที่ www.fosef.org ท่ า นก็ ส ามารถอ่ า นนิ ต ยสาร IS AM ARE ครอบครั ว พอเพี ย ง ได้ โ ดยไม่ มี ค ่ า ใช้ จ ่ า ย เรื่ อ งราว สาระดี ๆ มากมายรอท่ า นอยู ่ หากอ่ า นแล้ ว ถู ก ใจอย่ า ลื ม บอกต่ อ นะครั บ 84 IS AM ARE www.fosef.org


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.