IS AM ARE
“...ทักษะความเก่งใช้แค่วันเดียวในการสอบ นอกนั้นใช้ทักษะชี วิต...”
ครู ชลลดา ซั ววงษ์
อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย “...เรามุ ่งเน้นผลิตนักปฏิบัติ เด็กจบแล้วต้องท�ำงานได้...”
รศ.สุภัทรา โกไศยกานนท์
ฉบับที่ 122 มีนาคม 2561 www.fosef.org
2 IS AM ARE www.fosef.org
“...ความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต นั้ น วิ เ คราะห์ ศั พ ท์ ว ่ า ความตรงไปตรงมาต่ อ สิ่ ง ทั้ ง หมดน้ อ ยใหญ่ ส่ ว นงานของ ราชการ ส่ ว นงานของตั ว เองเป็ น ส่ ว นตั ว ทั้ ง หมดคื อ ความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต และค� ำ ว่ า สุ จ ริ ต นี้ ก็ ไ ด้ ม าจาก ค� ำ ว่ า การท่ อ งเที่ ย วของจิ ต ในทางที่ ดี หรื อ คิ ด ให้ ดี คิ ด ให้ สุ จ ริ ต ทั้ ง ฉลาดด้ ว ย ทั้ ง ไม่ เ บี ย ดเบี ย นผู ้ อื่ น หรื อ การท� ำ งานของตั ว ทั้ ง ไม่ เ บี ย ดเบี ย นส่ ว นรวมด้ ว ย จึ ง จะเป็ น ผู ้ สุ จ ริ ต ...”
พระราชด� ำ รั ส พระราชทานแก่ ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชา อาจารย์ และนายทหารนั ก เรี ย น โรงเรี ย นเสนาธิ ก ารทหารบก ชุ ด ๕๗ ซึ่ ง เดิ น ทางมาศึ ก ษาภู มิ ป ระเทศทั่ ว ๆไปทางภาคใต้ ในโอกาสเข้ า เฝ้ า ทู ล ละอองธุ ลี พ ระบาท ณ ศาลาบุ ห ลั น ทั ก ษิ ณ ราชนิ เ วศน์ วั น อั ง คารที่ ๒๘ สิ ง หาคม ๒๕๒๒ 3 issue 122 march 2018
Editorial
ดิฉันมักจะพูดกับผู้ให้สัมภาษณ์เสมอว่า “ชีวิตคนเราเลือกเกิดไม่ได้ แต่เลือกที่จะเป็นได้” ฉบับนี้ก็เช่นกันค่ะ คุณสุรพงษ์ เตชะหรูวิจิตร ทายาทโรงแรมเอเชีย ได้เปิดเผยเรื่องราวความเป็นมาของธุรกิจโรงแรมตั้งแต่รุ่นคุณปู่ กว่าจะมาถึงวันนี้ได้ต้องผ่าน วิกฤตการณ์มากมาย ใช่ว่าจะเกิดมาบนกองเงินกองทอง ทุกอย่างต้องใช้เวลาความสามารถจากรุ่นสู่รุ่น โดยเฉพาะที่ขาดไม่ได้เลย คือ การน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการด�ำเนินชีวิตและด�ำเนินธุรกิจจนประสบความส�ำเร็จอย่างยั่งยืนไม่ว่า จะผ่านมากี่รุ่นก็ตาม โรงแรมเอเชียก็ยังคงอยู่คู่เมืองไทยไม่เสื่อมคลาย และสิ่งหนึ่งที่เราน�ำเสนออยู่ทุกฉบับก็คือคอลัมน์ “ความเป็นคน ความเป็นครู” ซึ่งสะท้อนแนวทางในการปรับตัวของครู และนักเรียนสมัยใหม่ ในยุค 4.0 ซึ่งมีโทรศัพท์มือถือและโซเชียลฯ เข้ามามีบทบาทในการเรียนการสอนมากขึ้น ครูชลลดา ซัววงษ์ จากโรงเรียนอิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ก็เป็นอีกหนึ่งคนที่ต้องปรับตัวท่ามกลางนักเรียนหลากหลายศาสนา แต่มีจุดหมาย เดียวกันคือ “เพื่อสร้างเมล็ดพันธุ์แห่งสันติภาพ” ในการอยู่ร่วมกันด้วยความเข้าใจ นอกจากนี้มูลนิธิครอบครัวพอเพียงยังพบว่า เยาวชนที่เราได้ไปสร้างเขาไว้ในรั้วโรงเรียน ปัจจุบันพวกเขาเติบโตเป็นคนที่มี คุณภาพ มีการศึกษา และมีอาชีพที่สุจริตมั่นคง เขาและเธอเหล่านั้นได้ย้อนกลับมาถ่ายทอดประสบการณ์ให้น้องๆ เยาวชนรุ่นหลัง ได้หยิบน�ำไปปรับใช้ในคอลัมน์ “เยาวชนแห่งแผ่นดิน” และที่ขาดไม่ได้เลยคือ บทความภาษาไทยและภาษาอังกฤษโดยมูลนิธิชัยพัฒนา ซึ่งให้สาระความรู้มากมายในวงกว้างทั้ง เยาวชนและคนทั่วไปสามารถอ่านได้อย่างสนุกสนาน รวมถึงคอลัมน์ “พ่อแม่ยุคใหม่” โดย พ.ญ.จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ ซึ่งท่าน ได้ให้แนวทางการเลี้ยงลูกให้เติบโตอย่างเต็มศักยภาพ โดยไม่หลงไปกับกระแสทีวีโฆษณาหรืออินเทอร์เน็ตซึ่งมีผลต่อพัฒนาการ ของลูกโดยตรง อย่างไรก็ตาม ดิฉันหวังว่า ฉบับเดือนมีนาคมนี้ จะมีประโยชน์กับผู้อ่านบ้างในแง่การเสริมสร้างหรือเติมเต็มคุณภาพชีวิตให้ ดีขึ้น หากผิดพลาดประการใดต้องขออภัยท่านผู้อ่านมา ณ ที่นี้ด้วยค่ะ
4 IS AM ARE www.fosef.org
Contributors
มู ลนิธิครอบครัวพอเพียง
พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี ประธานโครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชน คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์ นายธนพร เทียนชัยกุล นายณัฐเสกข์ น้อยสมบูรณ์ นายภูวนาถ เผ่าจินดา นายวรจักร ณ เชียงตุง นางชวนชื่น พีระพัฒน์ดิษฐ์ นายไพรัช มณฑาพันธุ์ นางอริยสิริ พิพัฒน์นรา นางสาวเอื้อมพร นาวี ผศ.ดร.ปรีชาพร สุวัฒโนดม นายเอกรัตน์ คงรอด นายอภีม คู่พิทักษ์ นายกมลเศรษฐ์ เก่งการเรือ นางสาวเยาวมาลย์ จ้อยจุฬี นางสุมาลี โฆษิตนิธิกุล นางสาวกันยาวีร์ พ้องพงษ์ศรี นายธงชัย วรไพจิตร นายภูริวิทย์ จงนิรักษ์ นายชวลิต ใจภักดี นางสาวหนึ่งฤทัย คมข�ำ นายภิญโญ ทองไชย นายพิชัยยุทธ ชัยไธสง นางศิรินทร์ เผ่าจินดา
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ดร.เชิดศักดิ์ ดร.กัมปนาท ดร.นฤมล ดร.อ�ำนาจ ดร.ชลพร ดร.กาญจนา ดร.ปิยฉัตร ดร.คุณานันท์
ศุภโสภณ บริบูรณ์ พระใหญ่ วัดจินดา กองค�ำ สุทธิเนียม กลิ่นสุวรรณ ทยายุทธ
ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการและเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและเหรัญญิก กรรมการและผู้ช่วยเหรัญญิก กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ and Enjoy! กรรมการ กรรมการ กรรมการ บรรณาธิการ : ผู้จัดการมูลนิธิ กองบรรณาธิการ : ศิลปกรรม :
Let’s
Start
ส�ำนักงาน :
โทรศัพท์ : โทรสาร : เว็ปไซต์ : 5 issue 122 march 2018
กรวิก อุนะพ�ำนัก ภูวรุต บุนนาค ชนกเนตร แจ่มจ�ำรัส ศตวรรษ เจือหนองแวง นิตยสารครอบครัวพอเพียง 663 ซอยพหลโยธิน 35 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 0-2939-5995 0-2939-5996 www.fosef.org
Hot Topic
8
ตามรอยยุ วกษัตริย์
26
ทักษะความเก่งใช้แค่ วันเดียวในการสอบ นอกนัน้ ใช้ทักษะชี วิต ครู ชลลดา ซั ววงษ์
12
“...เรามุ่งเน้นผลิตนักปฏิบัติ เด็กจบแล้วต้องท�ำงานได้...” รศ.สุภัทรา โกไศยกานนท์
Don’t miss
60 26 66
54 76
6 IS AM ARE www.fosef.org
Table Of Contents
รศ.สุภัทรา โกไศยกานนท์
7 issue 122 march 2018
ตามรอยยุวกษัตริย์ สัมภาษณ์พิเศษ “...เรามุ่งเน้นผลิตนักปฏิบัติเด็กจบ แล้วต้องท�ำงานได้...” รศ.สุภัทรา โกไศยกานนท์ บทความพิเศษ ศาสตร์ของพระราชา จากการพัฒนาประเทศไทยถ่ายทอดสู่สากล Cartoon บทความพิเศษ ทักษะความเก่งใช้แค่วันเดียวในการสอบ นอกนั้นใช้ทักษะชีวิต ครูชลลดา ซัววงษ์ มูลนิธิชัยพัฒนา ปฎิวัติความคิด เรื่องการผลิตข้าว สารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชน สิ่งที่จัดว่าเป็นศาสนสถานและที่เกี่ยวข้องกับ ศาสนสถาน สัจธรรมแห่งแนวพระราชด�ำริ พระมหากษัตริย์นักพัฒนาทรงน�ำสัจธรรม พัฒนาไทยอย่างยั่งยืน หลักธรรมแห่งความพอเพียง ค�ำสั่งสอน “ไม่พอเพียง” และค�ำสั่งสอน “เพียงพอ” พ่อแม่ยุคใหม่ พัฒนาความทรงจ�ำด้วยการเล่านิทาน อ่านหนังสือ สอนพูด เยาวชนของแผ่นดิน อย่าปล่อยให้เวลากลืนกินตัวตนของเรา อดิรุจ พีรวัฒน์ 70 เส้นทางตามรอยพระบาท โดย ททท. ศูนย์วิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม่ (ขุนวาง) Round About
8 12 22 24
28 42 50 54 60 66 70 76 78
ซูริค เมืองสามโบสถ์ ซู ริ ค เป็ น เมื อ งใหญ่ ที่ สุ ด ของสวิ ต เซอร์ แ ลนด์ มี ป ระชากรราว 360,000 คน เป็ น ศู น ย์ ก ลางทางเศรษฐกิ จ ของประเทศ และเป็ น เมื อ งที่ มี ท ่ า อากาศยานใหญ่ ที่ สุ ด ของประเทศ ตั้ ง อยู ่ ท างภาคเหนื อ ที่ มี พื้ น ที่ ต�่ ำ สุ ด ปั จ จุ บั น เป็ น ที่ ตั้ ง ของศู น ย์ ก ลางการซื้ อ ขายแลกเปลี่ ย นทองค� ำ และศู น ย์ ก ลางทางการเงิ น และธนาคารของ ประเทศ 8 IS AM ARE www.fosef.org
ตามรอยยุ ว กษั ต ริ ย ์ ซู ริ ค มี เขตเมื อ งเก่ า ที่ ก ่ อ ตั้ ง มาตั้ ง แต่ ค ริ ส ต์ ศ ตวรรษ ที่ 10 (ราวพุ ท ธศตวรรษที่ 15) ก่ อ นที่ จ ะเข้ า ร่ ว มใน สมาพันธรัฐสวิตเซอร์แลนด์ เมื่อ พ.ศ.1894 (ค.ศ.1351) การ ชมเขตเมืองเก่าท�ำได้ไม่ยาก เนื่องจากเป็นเมืองเล็ก มีแม่น�้ำ Limmat ไหลผ่ากลางเมืองไปลงทะเลสาบซูริค แยกซูริคออก เป็นเมืองอกแตก ซึ่งมีผลท�ำให้เกิดสะพานใหญ่ๆ อยู่มากมาย ยิ่งเพิ่มบรรยากาศการเดินเล่นชมวิวของเมืองให้มีเสน่ห์ยิ่งขึ้น ซูริคเป็นเมืองแห่งความคิดอิสระเสรีและการต่อสู้ ทั้ง ด้านศาสนาและการเมือง ที่นี่คือศูนย์กลางการปฏิรูปศาสนา ของ Zwingli ผู้น�ำการปฏิรูปศาสนาคนส�ำคัญของสวิตฯ และ เป็นที่ลี้ภัยทางการเมืองของนักปฏิวัติอย่างเลนิน ผู้น�ำพรรค บอลเชวิคจากโซเวียต การเดินชมเมืองเก่าของซูวิค ที่พลาดไม่ได้ คือ การชม โบสถ์ เพราะมีโบสถ์สวยงามสูงเด่นเป็นสง่าอยู่หลายโบสถ์ เรา สามารถจ�ำแนกความแตกต่างระหว่างโบสถ์นิกายโรมันคาทอลิก กับนิกายโปรเตสแตนต์ เพราะโบสถ์ของโปรเตสแตนต์ จะไม่มี การประดับประดารูปปั้นหรือภาพวาด ส่วนใหญ่จะมีแต่กระจก สีหรือ Stain glass ที่บอกเล่าเรื่องราวส�ำคัญๆ ส่วนโบสถ์ของ โรมันคาทอลิกจะตกแต่งด้วยรูปปั้นพระเยซูหรือพระแม่มารี รวม ทั้งภาพวาดนักบุญต่างๆ ซูริคได้ชื่อว่าเป็นเมืองสามโบสถ์ ที่ส�ำคัญคือ มหาวิหาร Grossmunster เป็นศูนย์กลางการปฏิรูปศาสนาคริสต์ ในสวิต เซอร์แลนด์ ซึ่งน�ำโดย Hulfrych Zwingli ในยุโรปต้นยุคใหม่ช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 16 (ราวพุทธศตวรรษที่ 21) มีการปฏิรูปศาสนา เกิดขึ้นในประเทศต่างๆ ทั่วยุโรป ยังผลให้ศาสนาคริสต์ซึ่งเดิม เป็นคาทอลิก เกิดนิกายใหม่ขึ้นคือโปรเตสแตนต์ ภายในวิหาร นี้จึงมีนิทรรศการแสดงภาพและค�ำบรรยายเกี่ยวกับการปฏิรูป ศาสนา ประวัติและบทบาทของ Zwingli และคณะ จากวิหาร Grossmunster ฝั่งตรงข้ามแม่น�้ำจะเห็น โบสถ์ Fraumunster ซึ่งก่อตั้งขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 สร้างขึ้น โดยกษัตริย์ Ludwig แห่งเยอรมนี ปี ค.ศ.583 เพื่อเป็นของขวัญ แก่ธิดาองค์โต โบสถ์นี้มีชื่อเสียงทางด้านศาสนศิลป์จากหน้าต่าง กระจกสีอันมลังเมลือง ฝีมือของศิลปินชาวฝรั่งเศสเชื้อสายยิว ชื่อ Marc Chagall ใกล้กันนั้นมีโบสถ์ St.Peter ที่มีหอคอย นาฬิกาใหญ่ที่สุดในยุโรป หน้าปัดนาฬิกามีเส้นผ่าศูนย์กลาง ถึง 8.7 เมตร นอกจากนี้ยังมีเขตเมืองเก่าที่เรียกว่า Linderhof เป็นด่านอากรที่โรมันมาก่อตั้งไว้ ในครั้งที่จักรวรรดิโรมันได้ขยาย อ�ำนาจมาครอบครองดินแดนแถบนี้ 9 issue 122 march 2018
คนสวิ ส นิ ย มข้ า วร่ ว นๆ แบบมั ส ปาตี ข องอิ น เดี ย มากกว่ า ข้ า วหอมมะลิ ข องไทยซึ่ ง ยั ง ไม่ เ ป็ น ที่ คุ ้ น เคย โจทย์ นี้ ส ่ ง ออกข้ า วไปขายแถวยุ โ รปต้ อ งแก้ ใ ห้ ต ก ลู ่ ท างการแข่ ง ขั น จึ ง เดิ น ไปได้
ส่วนเขตที่มีการจับจ่ายสินค้ามีชื่อราคาแพงทั้งหลาย อยู่ บนถนน Banhofstrasse ตั้งแต่หน้าสถานีรถไฟไปถึงทะเลสาบ การชมเมืองซูริคเราสามารถเลือกได้หลายทางด้วยกัน เช่น การ นั่งรถราง หรือการนั่งเรือเมล์ล่องตามแม่น�้ำ Limmat การนั่งเรือชมวิวทิวทัศน์ในทะเลสาบซูริค ซึ่งมีเรือบริการ ล่องทะเลสาบและบริการอาหารเย็นในเรือ มองเห็นบ้านเรือง หลังงามๆ ริมน�้ำ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นบ้านผู้มีฐานะดี ไกลออกไป เป็นทิวเขาทาบท้องฟ้าสีคราม ช่วงฤดูที่พวกเราได้ล่องเรือที่นี่ พระอาทิตย์ตกราวสาม ทุ่มไปแล้ว ฉะนั้นจึงนั่งรับประทานอาหารในเรือล่องทะเลสาบ ได้หลายรอบ เพราะแดดยังแจ๋อยู่แม้จะเลยสองทุ่มไปแล้ว และ ดึกโขแล้วหากเทียบเวลาเมืองไทย นั่งเพลินๆ อิ่มท้องอิ่มตาอิ่มใจ ประเดี๋ยวเดียวก็ชักง่วงตาปรือกันเป็นแถว วันที่เราเดินทางมาถึงซูริค เนื่องจากต้องมาลงเครื่องที่
ท่าอากาศยานซูริค ก่อนจะเดินทางไปเมืองอื่น พวกเราเดินชม วิวถ่ายรูปกันไปในเขตเมืองเก่า เพื่อไปรับประทานอาหารพื้น เมืองแบบสวิสเป็นมื้อแรก ร้านอาหารตกแต่งแบบพื้นเมือง อาหารจานแรกเสิร์ฟ ทั้งซุป และ Roesti เป็นอาหารประจ�ำชาติที่ท�ำจากมันฝรั่ง ซอยละเอียดผสมกับแฮมและชีส แล้วเอาไปทอดให้ด้านนอก หอมเกรียมเป็นสีเหลืองออกน�้ำตาลนิดๆ หน้าตาคล้ายไข่เจียว รับประทานกับไส้กรอกเป็นเครื่องเคียง หรือจะใช้ไข่ดาวแทน ก็ได้ เป็นอาหารที่อร่อย ยังติดใจถามหาสูตรจากพี่แอ๊ด เพื่อจะ น�ำกลับมาลองท�ำกินที่เมืองไทย 10
IS AM ARE www.fosef.org
ของอาจารย์อนัญญา เราต้องละลายเนยแข็งแผ่นบางๆ ในจาน ร้อนเล็กๆ ที่ใส่เข้าไปย่างในเตาไฟฟ้าแล้วรับประทานกับมัน ฝรั่งต้มหัวกลมๆ เล็กๆ และอาจมีผัดดองเป็นเครื่องเคียง จาน นี้ก็อร่อยไม่แพ้ฟองดู รวมความแล้วก็เป็นอาหารที่ท�ำให้ร่างกาย อบอุ่นสู้กับความหนาวเย็นนั่นเอง นอกจากอาหารพื้นเมืองแล้ว ผักผลไม้ก็น่าลิ้มชิมลอง ไม่น้อยเลย ขากลับจากการรับประทานอาหารพื้นเมือง เราเดิน กลับมาทางสถานีรถไฟซูริคซึ่งเป็นสถานีขนาดใหญ่ มีรถเข้าออก เกือบตลอดเวลา หน้าสถานีมีรถจักรยานจอดเป็นแถว เราเดิน ผ่านย่านช็อปปิ้งของเมือง เนื่องจากยังเดินอีกหลายเมืองจึงยังไม่ คิดถึงของฝาก แต่อดที่จะแวะเข้าไปดูร้านขายผลไม้และดอกไม้ ไม่ได้รวมทั้งซื้อเชอร์รี่สดมาชิมเสียหนึ่งกิโล ราคาถูกกว่าที่บ้าน เรามาก ความใหม่สดกรอบนั้นกินขาดและมีให้เลือกหลายเกรด ส่วนใหญ่ถือว่ารสชาติดีใกล้เคียงกัน
อาหารจานหลั ก เป็ น ข้ า วเสิ ร ์ ฟ มากั บ ปลา เพื่ อ นที่ รู ้ เรื่ อ งข้ า วและรสนิ ย มการรั บ ประทานของชาวสวิ ส บอกว่ า คนสวิสนิยมข้าวร่วนๆ แบบมัสปาตีของอินเดีย มากกว่าข้าวหอม มะลิของไทยซึ่งยังไม่เป็นที่คุ้นเคย โจทย์นี้ส่งออกข้าวไปขายแถว ยุโรปต้องแก้ให้ตก ลู่ทางการแข่งขันจึงเดินไปได้ อาหารพื้นเมืองสวิสที่ไม่ควรพลาดการชิม โดยเฉพาะ อย่ า งยิ่ ง คนชอบทานชี ส คื อ ชี ส ฟองดู ซึ่ ง เป็ น ขนมปั ง หั่ น เป็ น ชิ้ น พอค� ำ จุ ่ ม ลงไปในหม้ อ ชี ส ร้ อ นๆ ที่ ป รุ ง จากชี ส ผสมด้ ว ย สมุนไพรและไวน์ขาว แล้วทานกับเครื่องเคียงเป็นผักดองเพื่อ แก้เลี่ยน ชิมแล้วก็เอร็ดอร่อย เสียแต่ว่าต้องติดเบรกเพราะกลัว คลอเรสเตอรอลจะพุ่งกระฉูดจนขวัญกระเจิงในภายหลัง อีกจานหนึ่งที่ขาดไม่ได้ คือ Raclette เราได้มีโอกาสลิ้ม ลองอาหารจานนี้ที่บ้าน ดร.อนัญญา กับคุณปิเตอร์ อึ๊งภากรณ์ ที่เจนีวา และแนะน�ำวิธีรับประทานโดยน้องพิม ลูกสาวคนเดียว
11 issue 122 march 2018
สั ม ภาษณ์ พิ เ ศษ
“...เรามุ่งเน้นผลิตนักปฏิบัติ เด็กจบแล้วต้องท�ำงานได้...”
รศ.สุภัทรา โกไศยกานนท์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ปั จ จุ บั น การศึ ก ษาในระดั บ มหาวิ ท ยาลั ย เน้ น การปฏิ บั ติ ม ากขึ้ น เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการของ ภาคอุ ต สาหกรรมและองค์ ก รต่ า ง ๆ ที่ เ น้ น คนท� ำ งานเป็ น มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลพระนคร เป็ น อี ก หนึ่ ง สถาบั น การศึ ก ษาที่ ป รั บ ตั ว ตามยุ ค สมั ย อยู ่ ต ลอดเวลา ภายใต้ ก ารน� ำ ของอธิ ก ารบดี รศ.สุ ภั ท รา โกไศยกานนท์ ผู ้ เ ปิ ด โอกาสให้ นั ก ศึ ก ษาได้ ฝ ึ ก ปฏิ บั ติ จ ริ ง กั บ องค์ ก รต่ า ง ๆ ในสายวิ ช าที่ นั ก ศึ ก ษาสนใจ เพื่ อ แสดงฝี มื อ ที่ ต นเองถนั ด อย่ า งเต็ ม ที่ พร้ อ มการั น ตี จ ากหลายหน่ ว ยงานซึ่ ง “พร้ อ มรั บ เข้ า ท� ำ งาน” เรี ย กว่ า “จองตั ว ” ตั้ ง แต่ ยั ง เรี ย นไม่ จ บ โดยเฉพาะการบั ญ ชี ลู ก มทร.พระนคร พากั น ตบเท้ า เข้ า ท� ำ งานในองค์ ก ร หลายแห่ ง ด้ ว ยผลงานและค� ำ ชื่ น ชมว่ า “ลู ก มทร.พระนครเก่ ง และอึ ด ” เพราะหลังจากที่เรียนโรงเรียนปริญญาทิพย์จนถึง ม.ศ.3 เป็นปี สุดท้ายที่ไม่มี ม.ศ.4 – ม.ศ.5 เขาเลิกรับพอดี ก็ต้องออกไปสอบที่ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และเรียนที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 2 ปีค่ะ เรียนสายศิลป์ – เยอรมัน หลังจากจบโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาก็เข้าเรียนต่อที่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะอักษรศาสตร์ จบปริญญาตรีที่ จุฬาฯ คุณน้าเป็นอาจารย์ที่พณิชยการพระนคร (มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพณิชยการพระนคร) ท่านจบมาจากคณะพณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ท่านสอนบัญชีอยู่จึงชักชวนว่าระหว่างรอยังไม่ได้ งานท�ำลองมาเป็นอาจารย์ไหม พอดีเขาขาดครูสอนภาษาไทย ตัวดิฉันเรียนเอกภาษาอังกฤษ โทภาษาไทย เขาบอกว่าหัวหน้า สาขาต้องการระบุเลยอยากได้อักษรศาสตร์จุฬาฯ ดิฉันเลยตอบ ตกลง ระหว่างนั้นยังไม่มีงานท�ำ ก็ลองไปสอนเป็นครูอัตราจ้าง สอนได้หนึ่งปี พอปีที่สองเขาบอกว่าตอนนี้มีอัตราบรรจุไหม เราก็ตอบตกลง เพราะว่าตอนนั้นยังไม่มีใครเรียกท�ำงาน แต่ใจ จริงแล้วอยากท�ำงานธนาคารเพราะมีความรู้สึกว่ามันโก้มันดูดี เลยลองสอบบรรจุ และสอบได้ ได้สอนที่พณิชยการพระนคร จนกระทั่งเกษียณ สอนมาจนกระทั่งปี 48 เขาเปลี่ยนสภาพ เป็นมหาวิทยาลัย ตั้งแต่อาจารย์ธรรมดา แล้วก็ได้เป็นหัวหน้า แผนกวิชาภาษาไทย เป็นหัวหน้าคณะวิชาสามัญและสัมพันธ์ แล้วก็เป็นรองผู้อ�ำนวยการฝ่ายวิชาการ แล้วพอเปลี่ยนมาเป็น
นอกจากนี้ รศ.สุภัทรา โกไศยกานนท์ ยังส่งเสริมให้ นักศึกษาได้มีโอกาสไปแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม แลกเปลี่ยนความรู้ กับหน่วยงานในต่างประเทศ เปิดโลกทัศน์ให้นักศึกษาได้ปฏิบัติ จริงมากกว่าจะติดต�ำราอย่างเดียว พร้อมกันนี้ยังส่งเสริมควบคู่ กับการฝึกจิตใจฝึกสมาธิให้พร้อมออกไปรับมือกับโลกภายนอก มหาวิทยาลัย ซึ่งท่านเองใช้ประสบการณ์ที่มีทั้งหมดมาปรับใช้ให้ ร่วมสมัยมากที่สุด บทสัมภาษณ์ชิ้นนี้จะสะท้อนให้เห็น “ตัวตน” และ “จุดยืน” ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ผ่านมุมมองท่านอธิการบดี รศ.สุภัทรา โกไศยกานนท์ ซึ่งจะเป็น ประโยชน์กับเยาวชนที่ก�ำลังมองหาสถาบันการศึกษาที่จบออก ไปแล้วสามารถ “ท�ำงานเป็น” และ “เลี้ยงตัวได้” เป็นอย่างดี พื้ น ฐานครอบครั ว มาจากไหนคะ ? ตอนที่เกิดคุณพ่อเป็นนายอ�ำเภออยู่ที่อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา คุณพ่อรับราชการองค์การปกครองค่ะ ต้องย้าย ไปเรื่อย ๆ ต�ำแหน่งสุดท้ายเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดที่จังหวัดตรัง ล�ำพูน และที่สุดท้ายคือจังหวัดราชบุรีค่ะ แต่ส่วนตัวคุณพ่อมี วิสัยทัศน์คือส่งลูกเรียนที่กรุงเทพมหานคร เพราะว่าถ้าย้ายตาม ก็กลัวจะมีปัญหาเรื่องการเรียนและการย้ายโรงเรียน เพราะว่า ต้องย้ายไปเรื่อย ๆ ตอนเล็ก ๆ เรียนที่อ�ำเภอควนขนุน จังหวัด พัทลุง แล้วเข้ามาเรียนที่กรุงเทพฯ ตอน ป.2 ที่โรงเรียนปริญญา ทิพย์ ซอยรางน�้ำ จบมัธยมปลายที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาค่ะ 12
IS AM ARE www.fosef.org
13 issue 122 march 2018
ทั้งที่ 1 และที่ 2 เรามีการมอบทุนการศึกษา ทุนที่ให้นอกจาก จะให้ทุนการศึกษาแล้วยังมีทุนแลกเปลี่ยนไปต่างประเทศ เรา จะมีโครงการที่เรียกว่าโครงการ “เพชรราชมงคล” ทุก ๆ ปีเรา จะคัดเด็กที่มีผลการเรียนอย่างน้อย 2.00 ขึ้นไป เป็นเด็กที่ท�ำ กิจกรรมแล้วเก่งภาษาอังกฤษ จะมีหลักสูตรฝึกอบรมในประเทศ แล้วส่งไปแลกเปลี่ยนกับต่างมหาวิทยาลัยที่เราท�ำ MOU เช่น Nanning College Vocational และ Bali State Polytechnic ที่ประเทศอินโดนีเซีย เด็กก็จะมีโอกาสได้ไปเปิดโลกทัศน์ในต่าง ประเทศ นอกจากนี้ยังมีทุนจากต่างประเทศ อย่างเช่น เรามีความ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยกว่างสีของจีน เขาให้ทุนเด็ก ค่าที่พัก ค่าฝึกอบรม ให้เราออกเฉพาะค่าเครื่องบินให้เด็กก็จะได้เข้า โครงการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ส่งไปครั้งหนึ่งประมาณ 30 คน
มหาวิทยาลัยก็มาเป็นผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ ก่อน เป็นรองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์แล้วก็เป็นอธิการบดี
ในการท� ำ งานตลอดระยะเวลาที่ ผ ่ า นมา แสดงว่ า ท่ า น มี ค วามภาคภู มิ ใ จในสถาบั น แห่ ง นี้ เ ป็ น อย่ า งมาก ? สิ่งที่ภาคภูมิใจคือนามที่ได้พระราชทาน “เทคโนโลยีราช สถาบั น แห่ ง นี้ มี ค วามเป็ น มาอย่ า งไรคะ ? เริ่มจัดตั้งขึ้นเมื่อปี 2518 ชื่อว่า วิทยาลัยเทคโนโลยี มงคล” จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 แปลว่า และอาชีวศึกษา 15 กันยายน 2531 ได้รับพระมหากรุณาธิคุณ “มงคลแห่งพระราชา” มีอยู่ 9 มหาวิทยาลัย เรามุ่งเน้นผลิตนัก จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชการที่ 9 พระราชทาน ปฏิบัติ เด็กจบแล้วต้องท�ำงานได้ เนื่องจากเราถือก�ำเนิดมาจาก นามว่าสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล 18 มกราคม 2548 ได้รับ อาชีวะ เพราะฉะนั้น อาชีวะจะเก่งปฏิบัติอยู่แล้ว เรายังยึดจุด การสถาปนาขึ้นในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช แข็งของเราอยู่ ถ้าเป็นมหาวิทยาลัยอื่น ๆ อาจะเน้นไปทางงาน มงคลพระนครนั้น เริ่มมาจาก 5 วิทยาเขตมารวมตัวกันค่ะ คือ วิจัย แต่เราเก่งด้านปฏิบัติ ที่พณิชยการพระนคร ติดกับชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ส่วนราชมงคล แห่งนี้เป็นวิทยาเขตเทเวศร์แล้วก็โชติเวชอยู่ที่วัดเทวราชกุญชร การรั บ น้ อ งที่ นี่ มี จุ ด ประสงค์ ไ ปทางใดคะ ? หลังจากเด็ก ๆ เข้ามาในทุก ๆ ปี เขาจะพบกับรุ่นพี่และ แล้วก็ที่พระนครเหนือแต่ละวิทยาเขตขณะนี้เปลี่ยนสถานภาพ เป็นคณะ เช่น ที่พณิชยการพระนคร เป็น คณะบริหารธุรกิจ การต้อนรับที่อบอุ่น เราจะเน้นมากเรื่องการับน้องสร้างสรรค์ และคณะศิ ล ปะศาสตร์ ที่ ชุ ม พรเขตอุ ด มศั ก ดิ์ จะเป็ น คณะ ให้รุ่นพี่ดูแลรุ่นน้อง เขาจะมีความผูกพันกัน นอกจากรุ่นพี่จะ อุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มีเรื่องโชคดีนะคะ อย่างเช่น ที่พณิชยการพระนครชื่อ เสียงของเขาเป็นโรงเรียนพณิชยการแห่งแรกในประเทศไทย สมัยก่อนจะเข้ายาก จะมี ปวช. ปวส. สมัยนั้นเวลาที่เด็กจะ สอบต้องแบ่งเป็น 2 ผลัด แล้วต้องกั้นเพราะว่ามีข้อสอบชุด เดียว พอเอาชุด 1 ออก ชุดที่ 2 ก็จะวิ่งกรูเข้าห้องสอบ เดี๋ยวนี้ ทางพณิชยการพระนครเปลี่ยนเป็นคณะบริหารธุรกิจ อย่างโชติ เวชก็มีชื่อเสียงด้านคหกรรม ก็ท�ำให้นักศึกษามีโอกาสได้งาน ท�ำ อย่างเช่น บริษัทต่าง ๆ ขอเข้ามาทางมหาวิทยาลัยน�ำเด็ก ไปท�ำงานเป็นเชฟ มาชมว่าเด็กเก่ง เด็กเรานอกจากเก่งก็ยังอึด และอดทน และเมื่อปีที่แล้วก็ชนะเลิศการประกวดแกงฉู่ฉี่ปลา ทับทิม จาก CP คนเข้าประกวดทั้งหมด 2,000 กว่าคน เราได้ 14 IS AM ARE www.fosef.org
บัญชี เช้าขึ้นมาท่านจะเรียกเด็กที่อ่อนวิชาบัญชีมาติว มาสอน เพิ่ม เด็ก ๆ ก็เลยมีความรักความผูกพัน
เราคิ ด ว่ า เด็ ก ที่ ย ากจน โอกาสที่ จ ะเรี ย นดี ค ่ อ นข้ า ง ยาก เพราะต้ อ งช่ ว ยคุ ณ พ่ อ คุ ณ แม่ ท� ำ งาน เราไม่ ได้ เ น้ น ทุ น เรี ย นดี แต่ เ ราเน้ น ทุ น ยากจน
จริ ง หรื อ ไม่ ปั จ จุ บั น มหาวิ ท ยาลั ย ส่ ว นใหญ่ อ อกนอก ระบบ ใครไม่ มี เ งิ น ไม่ มี สิ ท ธิ์ เ รี ย น ? เรื่ อ งการศึ ก ษาไทยไม่ มีเ งิ น ไม่ มีสิ ท ธิ์ เรี ย น ดิฉันว่า ไม่ แบ่งปันให้ค�ำแนะน�ำรุ่นน้องแล้วเขาจะดูแลซึ่งกันและกัน เป็น จริงค่ะ เพราะว่าอย่างเช่นมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างราชมงคล บัดดี้กันตัวต่อตัว พอรุ่นน้องจบไปเจอรุ่นพี่ รุ่นพี่ก็จะรับน้อง พระนคร ถ้าเทียบกับเอกชนหรือเทียบกับโรงเรียนนานาชาติแล้ว เข้าท�ำงานไปเลย ดิฉันคิดว่าเรื่องแบบนี้เป็นสายสัมพันธ์ที่แนบ ไม่แพงเลย ถึงท่านไม่มีเงิน ทางมหาวิทยาลัยยังมีทุนการศึกษา แน่น ศิษย์เก่าพณิชยการพระนครเขาจะตั้งกองทุนสวัสดิการ โดยที่สอบติดแล้วก็ลงทะเบียนเข้ามาเป็นนักศึกษาของเราก่อน อาจารย์ เป็นกองทุนที่เขาตั้งกันเอง นักศึกษาเขาจะมาดูแล แต่เราก็อนุโลมกับนักศึกษาที่ถ้าไม่มีเงินจริง ๆ ก็สามารถผ่อน อาจารย์ที่เจ็บป่วย อาจารย์ที่เกษียณไม่มีคนดูแล ศิษย์เก่าจะ ผันได้ แต่ยังไงก็ต้องลงทะเบียนเป็นค่าลงทะเบียนไว้ก่อนเพื่อ ตระเวนไปตามบ้านไปดูแ ลทุก ข์สุขอาจารย์ที่ เ กษี ย ณอายุ ถ ้ า ให้ทราบว่าเป็นนักศึกษาแล้วก็ผ่อนผันได้จนถึงกระทั่งก่อนสอบ อาจารย์จ�ำเป็นต้องไปหาหมอ แต่ไม่มีญาติลูกศิษย์เหล่านี้ก็จะ แล้วพอท่านเข้ามาเป็นนักศึกษาของเราก็มีทุน ซึ่งไม่จ�ำเป็นต้อง เรียนดี เพราะเราคิดว่าเด็กที่ยากจน โอกาสที่จะเรียนดีค่อนข้าง เป็นคนพาไปหาหมอ ทุก ๆ ปี ศิษย์เก่าจะจัดงานเหมือนกับการไหว้ครูก่อน ยาก เพราะต้องช่วยคุณพ่อคุณแม่ท�ำงาน เราไม่ได้เน้นทุนเรียนดี วันครูและจะมีการเชิญชวนบริจาคเงินตามศรัทธาแล้วน�ำเงินไป แต่เราเน้นทุนยากจน คือว่า ถ้าคุณเข้ามาเป็นนักศึกษาแล้วคุณ ช่วยอาจารย์ มันเป็นอะไรที่น่าภาคภูมิใจ มีความรู้สึกว่าศิษย์เก่า สามารถเข้ามาขอแบบฟอร์มมากรอก ปีหนึ่งประมาณ 1-2 ร้อย เขารักอาจารย์มาก และจะดูแลอาจารย์ ศิษย์เก่าจะมาเลี้ยงรุ่น กว่าทุน โดยเฉพาะดิฉันเป็นประธานทุนการศึกษาพณิชยการ มาชุมนุมกันบ่อย ๆ ดิฉันวิเคราะห์เป็นเพราะอาจารย์สมัยก่อน พระนคร ซึ่งเราให้อยู่ 3 คณะ เราให้คณะบริหารธุรกิจ คณะ เป็นอาจารย์ที่มีวิญญาณครู ดิฉันเห็นคุณน้าของตัวเองท่านสอน ศิลปศาสตร์ และคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน เพราะว่าเป็นต้น 15 issue 122 march 2018
16 IS AM ARE www.fosef.org
ก�ำเนิดมาจากพณิชยการพระนคร ดิฉันท�ำมาตั้งแต่สมัยเป็น วิทยาเขต ปีหนึ่งร้อยกว่าทุน รวมแล้วล้านกว่าบาท เฉพาะที่นี่ที่ เดียว และที่อื่นแต่ละแห่งเขาจะมีทุนของเขา และส่วนกลางของ มหาวิทยาลัยเราให้ทุนปีหนึ่งประมาณ 1-2 ล้านบาท ในปีนี้ เราครบรอบ 13 ปีมหาวิทยาลัยมีโครงการเรียก ว่า “ทุนราชมงคลพระนคร” คือเราเอาคนที่เรียนหนังสือเก่ง มีความประพฤติดีเราจะให้ทุนเรียนจบ 4 ปี แล้วถ้าคุณอยาก เรียนต่อปริญญาโท ถึงปริญญาเอก เรายินดีจะส่งเสริม แต่ใน ขณะเดียวกันทุนทั่ว ๆ ไปของเราเน้นไปทางเด็กยากจน คณะ ที่นี่มีทั้งหมด 9 คณะค่ะ เราเป็นมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพราะฉะนั้ น เราจะเน้ น วิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี ในการเรี ย นต่ อ ในระดั บ มหาวิ ท ยาลั ย สิ่ ง ที่ ท ่ า นอยาก แนะน� ำ ต่ อ ผู ้ เ รี ย นคื อ อะไรคะ ? ส่วนตัวนะคะ เรื่องการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ดิฉันมี ความรู้สึกว่า “ก่อนอื่นเด็กต้องค้นหาตนเองให้เจอก่อนว่าเขา ชอบอะไร” หรือว่าเขามีเป้าหมายในชีวิตว่าอยากจะท�ำงาน อะไร เพราะว่าเด็กไทยส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีเป้าหมาย บางทีไป เรียนเพราะเพื่อน หรือบางทีพ่อแม่บอกให้เรียน ถ้าเราไม่รู้จัก ตัวเราเอง แล้วเราไม่ได้เรียนสิ่งที่เราชอบ บางทีมันไม่ประสบ ความส�ำเร็จ เรียนไม่มีความสุข ต้องเริ่มต้นจากว่าเราชอบอะไร อยากให้หันมองเรื่องวิชาชีพเพราะจริง ๆ แล้วการที่คุณจะเข้า มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง มันไม่ได้การันตีว่าจบแล้วจะมีงานท�ำ ตัวดิฉันเองมาจากโรงเรียนเตรียมฯ และเรียนอักษรศาสตร์ แต่ เรามาท�ำงานอยู่ที่พณิชยการพระนคร เราก็ได้เห็นสัจธรรมว่า จริง ๆ แล้ววิชาชีพส�ำคัญ เพราะว่าเห็นตั้งแต่ที่ตัวเองเริ่มเป็น ครูสอนใหม่ ๆ ว่าพณิชยการพระนคร วันสุดท้ายของการสอบ สมัยก่อน ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกสิกร ไทย มารอรับสมัครนักศึกษาและรับเข้าท�ำงานไปเลย จึงมีความ รู้สึกว่านี่ไงจบแล้วมีงานท�ำ ในขณะที่พวกเราจบมหาวิทยาลัยเรายังต้องไปหางาน จนปั จ จุ บั น แม้ ว ่ า เขาไม่ ม าตั้ ง โต๊ ะ แต่ อ ย่ า งเพื่ อ นดิ ฉั น หรื อ คน รู้จักเขาจะขอนักศึกษาเข้าไปท�ำงานโดยเฉพาะบัญชีมีเท่าไหร่ รับหมด คือมีความรู้สึกว่าบางทีเด็กอาจจะเข้าใจผิด แล้วมอง ว่าตนเองเหมือนเป็นพลเมืองชั้นสองอะไรอย่างนี้ พวกวิชาชีพ แต่จริง ๆ แล้วไม่ใช่ แล้วดิฉันก็เห็น อย่างเช่น ที่คณะคหกรรม เด็กจบแล้วไปท�ำงานบริษัท IT Square ซึ่งเขาจะมีร้านอาหาร อยู่ที่อเมริกา ที่ลาสเวกัส ที่เมืองทาโฮ เขาเปิดร้านแล้วเขาก็รับ เด็กเราไปท�ำงานแค่ 3 ปี ทุกวันนี้เด็กมีบ้าน มีรถ ชีวิตประสบ
นักศึกษา รับทุนสมเด็จพระเทพฯ ศึกษาต่อ ณ ประเทศฝรั่งเศส
ความส�ำเร็จแล้วเงินเดือนเกือบแสน เพราะฉะนั้นเด็ก ๆ ก็ควร ดูก่อนว่าตนเองชอบอะไร คือการปูพื้นฐานแล้วเราก็เลือกเรียน ในสิ่งที่เราชอบ การเรียนสมัยนี้ไม่เหมือนสมัยก่อน เราไม่เน้น การเรียนในชั้นเรียน ยกตัวอย่างเช่น ของมหาวิทยาลัยแห่งนี้ เรารู้ว่าเราเน้นวิชาชีพ เพราะฉะนั้น แทบจะทุกหลักสูตรของ มหาวิทยาลัยของเรา เราจะร่วมมือกับสถานประกอบการ เรา จะมีหลักสูตรที่เรียกว่า “การเรียนรู้คู่การท�ำงาน” หรือ work integrated learning (WIL) อย่างเช่น ของคณะคหกรรม เราท�ำความร่วมมือกับ บริษัทการบินไทย เริ่มตั้งแต่ดีไซน์หลักสูตรร่วมกัน ตั้งแต่ปีหนึ่ง เด็กจะเรียนกับเรา 4 ปี คือเรียนทฤษฎีต่าง ๆ อีก 1 เทอมไปเรียน ปฏิบัติกับการบินไทยที่สนามบินสุวรรณภูมิ อย่างเช่น หลักสูตร ตอนแรกเขาจะเริ่มจากการเลือกสรรวัสดุ เขาจะได้เห็นของจริง ว่าการท�ำอาหารใช้วัสดุอะไร ยังไง แล้วพอปี 2 อาจจะไปอยู่ที่ สุวรรณภูมิ 2 วัน มันดีทั้งเด็กและดีทั้งตัวสถานประกอบการ พอ จบแล้วเขาก็จะได้เด็กที่ตรงกับที่เขาต้องการ ซึ่งแบบนี้เราจะท�ำ ทุกคณะ แล้วก็ทุกหลักสูตรอาจจะปี 3 เทอมสุดท้าย หรือปี 4 เทอม 1 เรามีวิชาที่เราเรียกว่า สหกิจศึกษา จะต่างจากฝึกงาน ตรงที่ว่า เด็กเขาจะไปเลย 1 เทอม ประมาณ 4 เดือน แล้วก็ไป ท�ำงานเหมือนกับเป็นพนักงานคนหนึ่งของบริษัท เขาก็จะมอบ หมายงานให้ แล้วส่วนใหญ่บริษัทเขาจะติดใจรับเด็กเราเข้าไป ท�ำงาน หลังจากจบการฝึกสหกิจ 17
issue 122 march 2018
เวลาที่เราแก่ลง ซึ่งเด็กของมหาวิทยาลัยแห่งนี้ ดิฉันกล้าพูดได้ว่า ทุกปีเราจะมีการสอบถามความพึงพอใจจากสถานประกอบการ เขาจะพอใจนักศึกษาเราอยู่อย่างน้อย 80% หรือบางที 90% ใน ทุกปี ซึ่งปีหนึ่งจบประมา 3,000 คน ส่วนที่เขาพูดฟีดแบคกลับมาคือ “เด็กเราเป็นเด็กอึด มีความอดทน” สิ่งเหล่านี้เราพยายามปลูกฝังเด็กเราว่าให้มี ความอดทน ให้มีน�้ำใจ เพราะว่าตอนนี้เราไม่ได้เรียนอย่างเดียว ระหว่างเรียนเราจะมีให้เด็กเขาท�ำกิจกรรม 5 อย่าง ให้เขาเลือก เราเรียกว่าเป็น Transcript กิจกรรมเราจะมีการแจกชั่วโมง กิจกรรมให้เด็กไปเข้าในส่วนต่าง ๆ ตอนนี้ก็จะใช้เป็นระบบ สแกนบัตรนักศึกษา จะเก็บชั่วโมงกิจกรรมแล้วเราก็จะฝึก ไม่ว่า จะเป็นเรื่องของวิชาการ เรื่องของคุณธรรม จริยธรรม จิตอาสา ศิลปวัฒนธรรม กีฬา ดนตรี เป็นต้น เพราะฉะนั้นเวลาเด็กเรา จบเขาก็จะได้ transcript วิชาการแล้วเขาก็จะได้ transcript กิจกรรมด้วย
คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ ได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวด ส�ำรับอาหารไทย ข้าวไรซ์เบอร์รี่
สิ่ ง ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ซึ่ ง อยากจะฝากไว้ ใ ห้ เ ด็ ก ๆ ก็ คื อ ว่ า เขาต้ อ งสร้ า งความพร้ อ มของตั ว เองถ้ า เขาเป็ น คนที่ พ ร้ อ มที่ จ ะพั ฒ นาตั ว เองให้ ไ ปถึ ง จุ ด ที่ เ ขาเป็ น ที่ ต ้ อ งการของหน่ ว ยงานต่ า งๆ พร้ อ มที่ พั ฒ นาตั ว เองขึ้ น ไปเป็ น ผู ้ ป ระกอบการของตั ว เองได้ ตรงนั้ น เป็ น โอกาสที่ ดี ที่ สุ ด ของเด็ ก รุ ่ น ใหม่ ซึ่ ง เด็ ก รุ ่ น เก่ า ๆ หาไม่ ไ ด้
รัฐมนตรีประจ�ำส�ำนักนายกรัฐมนตรี มล.ปนัดดา ดิศกุล บรรยายพิเศษ กิจกรรมปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ 2558 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ดิฉันมีความรู้สึกว่าเด็กของมหาวิทยาลัยเรา เขามาจาก ชั้นกลาง รายได้ปานกลางถึงรายได้ต�่ำ เพราะฉะนั้น ดิฉันรู้สึก สงสารเด็กเรามาก เพราะบางคนเขาไม่มีพ่อไม่มีแม่ เขาท�ำงาน เลี้ยงตัวเองมาตั้งแต่เด็ก ท�ำงานเซเว่น บางคนได้นอนตอนตี 2 นอนได้ไม่กี่ชั่วโมงก็ต้องมาเรียน แต่ในที่สุดเขาก็ประสบความ ส�ำเร็จแล้วเขาก็ได้ไปท�ำงานเมืองนอก คืออยากจะบอกว่าให้ สู้งาน
ท่ า นมองว่ า การเรี ย นอย่ า งเดี ย วไม่ เ พี ย งพอ ต้ อ งมี ทั ก ษะวิ ช าชี พ ด้ ว ย ? เราไม่ได้เน้นเรียนอย่างเดียว จะต้องมีทักษะชีวิตหรือ เท่ า ที่ ท ่ า นสั ม ผั ส มา ระหว่ า งเด็ ก ที่ เ รี ย นอย่ า งเดี ย ว Soft skill ด้านต่าง ๆ ถึงจะประสบความส�ำเร็จ ส่วนทาง กั บ เด็ ก ที่ เ รี ย นด้ ว ยท� ำ กิ จ กรรมด้ ว ย แบบไหนที่ ท ่ า น มหาวิทยาลัย เราค่อนข้างจะชัดเจน เช่น คณะบัญชีของเรา จากเดิมเราฝึกสหกิจกับบริษัทบัญชีธรรมดาทั่วไป แต่เดี๋ยวนี้ มองว่ า มี โ อกาสประสบผลส� ำ เร็ จ มากกว่ า กั น ? การเรียนอย่างเดียวไม่ท�ำให้ประสบผลส�ำเร็จ ควรจะ บริษัทบัญชีที่มีชื่อเสียงเขารู้จักเรา เพราะว่าเริ่มจากเขาลอง ต้องเรียนไปด้วยท�ำกิจกรรมไปด้วย เท่าที่ดิฉันดูเด็กที่เรียนแล้ว รับนักศึกษาเราไปฝึกงานสหกิจ แต่เดิมเขาจะรับนักกีฬาจาก ท�ำกิจกรรมไปด้วยจะเป็นเด็กที่พอจบออกไปแล้วจะประสบ มหาวิทยาลัย จุฬาหรือธรรมศาสตร์ แต่พอตอนหลัง พอดีดิฉัน ความส�ำเร็จมากกว่าเด็กที่เรียนเก่ง หรือเอาแต่เรื่องเรียนอย่าง มีหลานอยู่ ก็บอกว่าลองรับเด็กเราไปสิ เด็กเราเก่งนะ เด็กเรา เดียว เท่าที่สังเกต เด็กที่เรียนหนังสืออย่างเดียว สังเกตจาก บัญชีเก่งมากเขาก็ลองรับไปแล้วเขาก็ติดใจ พอตอนหลังเขาก็ เพื่อน ๆ ที่เขาเลี้ยงลูกแบบประคบประหงมไม่ให้ลูกท�ำอะไร มาท�ำหลักสูตรร่วมกับเรา แล้วก็ส่งเด็กไปฝึกสหกิจเขาก็รับเข้า แล้วพอตัวเองแก่ตัวก็ล�ำบาก คือลูกไม่ช่วยงานบ้านไม่ท�ำอะไร ท�ำงาน ยิ่งธนาคารแห่งประเทศไทยมีเด็กเราเข้าไปอยู่เยอะ เลย แม่ต้องมาท�ำงานบ้าน เพราะลูกเอาแต่เรียน เลยคิดว่ามัน เหมือนกับสมัยก่อนไทยพาณิชย์หรือปูนซิเมนต์ก็จะต้องเป็น เป็นวิธีการที่ไม่ถูกต้อง คือถ้าเราสอนลูกดี เราก็จะไม่เหนื่อย จุฬาฯ แต่ปัจจุบันเขาให้พื้นที่กับเด็กของเราเพิ่มขึ้น 18 IS AM ARE www.fosef.org
เข้ามามีส่วนร่วมในแทบทุกสาขา แทบทุกวิชา เราจะร่วมมือกับ สถานประกอบการ โดยเราจะพัฒนามหาวิทยาลัยตามแนวคิดที่ ว่า “นักศึกษาคือหัวใจของมหาวิทยาลัย” ไม่ว่าจะท�ำอะไรต้อง คิดถึงนักศึกษาก่อนเสมอ
ทราบว่ า ที่ นี่ มี ส ถาบั น พลั ง จิ ต ตานุ ภ าพด้ ว ย มี ค วาม เป็ น มาอย่ า งไรคะ ? ดิฉันคิดว่าการจะท�ำให้เรามีภูมิคุ้มกันนอกจากจะยึด หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งเรามีหนึ่งวิชาที่สอนตรง นี้ด้วยแล้ว ดิฉันให้ความส�ำคัญกับเรื่องการฝึกสมาธิ สติปัญญา เพราะฉะนั้น ดิฉันจึงตั้ง “สถาบันจิตตานุภาพ” ใช้หลักสูตของ “หลวงพ่อวิยังค์” ตัวดิฉันก็เรียนเองด้วย เราสร้างวิชานี้ขึ้นมา เป็นวิชาสมาธิโดยมีอดีตพระเลขาของหลวงพ่อวิริยังค์มาเป็น อาจารย์ ส อนที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เราเป็ น หลั ก สู ต รในหมวดศึ ก ษา ทั่วไป นักศึกษาเข้ามาเรียนได้ คนเราถ้ามีสมาธิก็จะมีสติและ จะมีปัญญาตามมา ซึ่งมีอาจารย์บางท่าน เข่น อาจารย์ที่สอน บัญชี ก่อนที่จะสอนก็จะให้เด็กนั่งสมาธิ เด็กจะได้มีสมาธิใน การเรียน
ท่ า นสอดแทรกแนวทางปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอ เพี ย งสู ่ นั ก ศึ ก ษาอย่ า งไร ? ตัวดิฉันเองเป็นคนรักในหลวง เราจะปลูกฝังเรื่องปรัชญา ของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง หรื อ ว่ า เรื่ อ งการใช้ ชี วิ ต มี ห ลาย ๆ โครงการที่เราพาเด็กไปดูแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ว่าเป็น โครงการเขาหินซ้อน หรือที่ไหน ๆ ของในหลวง ให้เขาเห็น ปีที่แล้วส�ำนักนายกฯ เขามีโครงการท�ำละคร 9 เรื่อง เรียกว่า โครงการ Sound of Love หรือ “เสียงแห่งความจงรักภักดี” จริง ๆ เราตั้งใจจะท�ำเพื่อจะฉลองในโอกาสที่ในหลวงครอง ราชย์ครบ 70 ปี แต่บังเอิญท่านสวรรคตก่อน แต่เขาก็ยังให้เรา ท�ำโครงการต่อโดยให้มหาวิทยาลัยเราเป็นแกนน�ำในการคัด
อาจารย์ ม องการศึ ก ษาและความเป็ น ไปในอนาคต ไว้ อ ย่ า งไร ? วันนี้โลกเปลี่ยนไปมาก จากหน้ามือเป็นหลังมือ เพราะ เรื่องของดิจิตอล ฉะนั้นต้องปรับ ดิฉันบอกเด็ก ผู้บริหารและ ครูบาอาจารย์ว่า “ถ้าคุณไม่เปลี่ยนเดี๋ยวก็จะมีคนมาบังคับให้คุณ เปลี่ยน” ถึงเวลาแล้วที่เราจะต้องปรับทุกอย่างไม่ว่าจะอาจารย์ ที่ต้องปรับเรื่องการเรียนการสอน และท�ำความเข้าใจว่าเด็ก gen Z เขามีสมาธิสั้นและเป้าหมายที่ชัดเจน อาจารย์ไม่ใช่ว่าจะ เข้ามาแล้วมาสั่งโน่นนี่นั่นลอย ๆ เรื่องการเรียนการสอนดิฉันได้ ส่งอาจารย์ไปฝึกอบรมไม่ว่าจะในประเทศหรือต่างประเทศ ทั้ง ที่สิงคโปร์ ฟินแลนด์ นิวซีแลนด์ ก็พยายามส่งอาจารย์ไปอบรม เพื่อพัฒนาศักยภาพ เพราะคิดว่าเด็กจะเก่งขึ้นได้มันต้องเริ่ม จากอาจารย์ที่เราส่งไปอบรมเพราะเราวางเป้าไว้ว่าอีก 4 ปี เรา จะเป็น digital university ก็คือเราจะใช้เรื่อง IT กับการเรียน การสอนการบริหารจัดการ เพราะฉะนั้นจึงมีการอบรมเรื่อง Google classroom ว่าเวลาอาจารย์สอนไม่ใช่ว่ายืนยันสอน อย่างเดียว อาจารย์จะต้องมีปฏิสัมพันธ์กับเด็ก อย่างเช่น อาจ จะมีเป็น You Tube มาให้เด็ก ๆ ดู หรือการติดต่อกับเด็กอาจ จะติดต่อทาง social media เราจะต้องมีช่องทางการเรียนรู้ที่หลากหลาย เด็กเขา จะได้ ไ ม่ เ บื่ อ การเรี ย น เราจะเน้ น สอนวิ ช าใหม่ ๆ เช่ น เรื่ อ ง Big data เพราะเราต้องเปลี่ยน เรื่องแรกคือ เรื่องการเรียนการ สอน และเรื่องที่สอง เปลี่ยนเรื่องหลักสูตรที่เด็กจบไปแล้วต้อง ไปเจอในการท�ำงานจริง ๆ เช่น การเงิน เขาร่วมมือกับธนาคาร กรุงศรีอยุธยา ก่อนเด็กจะจบไปเขาจะมาสอนวิชาใหม่ ๆ เช่น Block chain, Bitcoin ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้ภาคเอกชน
รางวัลชนะเลิศ โครงการ Thailand Creative Tourism Contest 2014 19
issue 122 march 2018
เลือก คือให้มหาวิทยาลัยทั่วประเทศส่งโครงการเข้าร่วมแล้วจะ มีคณะกรรมการคัดเลือก เราก็ได้เป็น 1 ใน 9 ที่ได้ท�ำละครเวที เรื่อง “1:70 พระราชา กาลเวลา ประชาชน” แล้วเวลาแต่ละ มหาวิทยาลัยจัด อีก 8 แห่งต้องเข้าไปดูไปมีส่วนร่วม ดิ ฉั น คิ ด ว่ า เขาคิ ด ดี ต รงที่ ว ่ า ละครเวที ที่ ใ ห้ นั ก ศึ ก ษามี ส่วนร่วมตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการ ไม่ว่าจะเขียนบท ก�ำกับ ออกแบบเสื้อผ้ารวมทั้งนักแสดงเป็นนักศึกษาทั้งหมด ดิฉันได้ ไปดูครบหมดทุกมหาวิทยาลัย ก็ชื่นชมจริงๆ ว่าได้ผล เพราะว่า เด็กรุ่นใหม่ที่เขาพูดว่าไม่รู้ว่าในหลวงท�ำอะไรบ้าง ตอนนี้ทุกคน มีความรู้สึกว่ารักในหลวงและจะเดินตามรอยพระองค์ท่าน เป็น โครงการหนึ่งที่เกิดความภาคภูมิใจ เมื่อเราท�ำเสร็จก็ท�ำการถอด บทเรียน ท�ำเป็นหนังสือเก็บเอาไว้เป็นหลักฐาน
นศ.ราชมงคลพระนครเผยอุปกรณ์ ช่วยผู้บกพร่องทางร่างกายในสังคม
สิ่ ง ที่ อ ยากจะฝากถึ ง นั ก ศึ ก ษาและเยาวชน ? ดิ ฉั น คิ ดว ่ า นั ก เรี ย น แ ล ะ นั ก ศึ ก ษ า ทุ ก คนควร มี หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ไว้ ใช้ ใ นการด� ำ รงชี วิ ต เพราะว่าถ้าเราไม่มีหลักในศาสตร์ของพระองค์ท่าน ไม่มีความ พอประมาณ ไม่มีเหตุผล ไม่มีภูมิคุ้มกันเกี่ยวกับเรื่องการบริหาร ความเสี่ยงคือ ถ้าคนเราไม่มีความคิดไม่ได้ตระหนักในสามเรื่อง นี้ ชีวิตก็ไปไม่รอด ถ้าไม่มีภูมิคุ้มกันเข้ามาในรั้วมหาวิทยาลัยใน ช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อซึ่งมีเวลาว่างเยอะ และมีสิ่งอบายมุขเยอะ ถ้า เราไม่สามารถที่จะบังคับตนเองได้เราก็จะไม่ประสบความส�ำเร็จ เด็กส่วนใหญ่ในมหาวิทยาลัยจริง ๆ แล้วเป็นเด็กต่างจังหวัดโดย
การประกวดการแกะสลักผักผลไม้ และการร้อยมาลัย
เฉพาะเด็กทางภาคใต้อยู่หอพักก็จะเห็นได้ว่าเดี๋ยวนี้เด็กจะเสี่ยง ต่อการไปมั่วสุม ทั้งเด็กผู้หญิงและผู้ชาย เรื่องเพศเรื่องอะไร ต่าง ๆ เยอะแยะไปหมด เพราะฉะนั้นถ้าเรายึดหลักเหล่านี้ก็จะ ท�ำให้เกิดภูมิคุ้มกัน ดิฉันไม่ถึงกับบังคับ แต่ให้จัดเป็นวิชาศึกษา ทั่วไปเป็นวิชาเลือก
รองศาสตราจารย์ สุภัทรา โกไศยกานนท์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
การด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ปี พ.ศ. ต�ำแหน่ง 10 ส.ค. 2557 – 30 พ.ย. 2557 1 ธ.ค. 2557 – ปัจจุบัน
รักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คนที่ 3 อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คนที่ 2
ประวั ติ ก ารศึ ก ษา ปี พ.ศ. คุณวุฒิ/สถาบัน 2518 อักษรศาสตร์บัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2525 สังคมสงเคราะห์ศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2550 พัฒนาผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษา (นบม.)รุ่นที่ 17 2553 การบริหารจัดการมหาวิทยาลัยในศตวรรษที่ 21 University of Cambridge ประเทศอังกฤษ 2555 Executive Management : Senior Officials Nan yang Polytechnic International (NYP) ประเทศสิงคโปร์ 2556 ธรรมาภิบาลเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษา รุ่นที่ 14 สถาบันคลังสมองแห่งชาติ 20 IS AM ARE www.fosef.org
หลักสูตรปริญญาตรี
ที่เปิ ดรับนักศึกษาของ มทร.พระนคร 1.คณะครุ ศาสตร์อุตสาหกรรม
• หลั ก สู ต รเทคโนโลยี บั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าเทคโนโลยี มัลติมีเดีย
• หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชา วิศวกรรมเครื่องกล • หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชา วิศวกรรมไฟฟ้า • หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (ต่อเนื่อง) สาขา วิชาวิศวกรรมอุตสาหการ • หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (ต่อเนื่อง) สาขา วิชาวิศวกรรมไฟฟ้า • หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาวิชาชีพครู
4.คณะบริ ห ารธุ ร กิ จ • หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต • หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต • หลักสูตรบัญชีบัณฑิต • หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ • หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด • หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการเงิน • หลั ก สู ต รบริ ห ารธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าระบบ สารสนเทศ • หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ธุรกิจ • หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจระหว่าง ประเทศ(หลักสูตรภาษาอังกฤษ)
2.คณะเทคโนโลยี ค หกรรมศาสตร์ • หลั ก สู ต รคหกรรมศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช า คหกรรมศาสตร์ • หลักสูตรคหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบ แฟชั่นผ้าและเครื่องแต่งกาย • หลักสูตรคหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาหารและ โภชนาการ • หลักสูตรคหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอุตสาหกรรม การบริการอาหาร • หลักสูตรคหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุ จกิจคหกรรมศาสตร์ • หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการ จัดการสินค้าแฟชั่น • หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการอาหาร
5.คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี • หลั ก สู ต รวิ ท ยาศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าวิ ท ยาการ คอมพิวเตอร์ • หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการสิ่ง แวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ • หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวัสดุศาสตร์ อุตสาหกรรม
3.คณะเทคโนโลยี สื่ อ สารมวลชน • หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสาร การตลาด • หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการ โฆษณาและประชาสัมพันธ์ • หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการ โทรทัศน์และวิทยุกระจายเสียง
คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ รับรางวัลชนะเลิศ ในการประกวดแข่งขันปรุงอาหาร 21
issue 122 march 2018
• หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรม การผลิตเครื่องมือและแม่พิมพ์ • หลั ก สู ต รอุ ต สาหกรรมศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช า เทคโนโลยีแม่พิมพ์เครื่องประดับ 7.คณะศิ ล ปศาสตร์ • หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยว • หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการโรงแรม • หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารสากล • หลั ก สู ต รศิ ล ปศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าภาษาไทย ประยุกต์
คณะสื่อสารฯ รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การประกวดภาพยนตร์ โฆษณา โครงการ True Young Producer Award 2014
6.คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ •หลั ก สู ต รวิ ศ วกรรมศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช า วิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรมเพื่อความยั่งยืน • สมอ.08 เพิ่มเติมคุณสมบัติผู้เข้าศึกษา • หลั ก สู ต รวิ ศ วกรรมศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช า วิศวกรรมไฟฟ้า • หลั ก สู ต รวิ ศ วกรรมศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช า วิศวกรรมเครื่องกล • หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรม เครื่องกล • สมอ.08 เพิ่มเติมคุณสมบัติผู้เข้าศึกษา • หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรม อุตสาหการ • หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรม ไฟฟ้า • หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรม อิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม • หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรม คอมพิวเตอร์ • หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรม แมคคาทรอนิกส์ • หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรม โยธา • สมอ.08 เปลี่ ย นประธานหลั ก สู ต ร และปรั บ ปรุ ง แผนการเรียน • สมอ.08 ปรับปรุงแผนรับนักศึกษา • สมอ.08 แก้ไขรายวิชาที่ต้องเรียนควบคู่ • หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรม การบ�ำรุงรักษา
8.คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ แ ละการออกแบบ • หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม • หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ บรรจุภัณฑ์ • หลั ก สู ต รสถาปั ต ยกรรมศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช า สถาปัตยกรรม 9.คณะอุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอและออกแบบแฟชั่ น • หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเสื้อผ้า • หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเคมี สิ่งทอ • หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบแฟชั่น และสิ่งทอ • หลั ก สู ต รเทคโนโลยี บั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าออกแบบ ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ • หลั ก สู ต รเทคโนโลยี บั ณ ฑิ ต (ต่ อ เนื่ อ ง) สาขาวิ ช า เทคโนโลยีเสื้อผ้า
นักศึกษา รับรางวัลพระราชทานระดับอุดมศึกษา ประจ�ำปี 2556 22
IS AM ARE www.fosef.org
ประโยชน์ จ ากน�้ ำ มั น เมล็ ด ชา • มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูง และมีกรดไขมันอิ่มตัวต�่ำ • ช่วยลดระดับ LDL (คอเรสเตอรอลชนิดไม่ดี) และเพิ่ม ระดับ HDL (คอเรสเตอรอลชนิดดี) • ลดความเสี่ยงในการเกิดหลอดเลือดตีบตัน ความดัน เบาหวาน และโรคหัวใจ • ดีต่อผู้รักสุขภาพ ผู้สูงอายุ และผู้มีภาวะน�้ำหนักเกิน
ร่ า งกายของเราจ� ำ เป็ น ต้ อ งใช้ ไขมั น เพื่ อ เป็ น แหล่ ง พลังงานของร่ายกาย ดังนั้นการเลือกบริโภคไขมันจึงเป็นการ เลือกแหล่งพลังงานของร่างกาย ไขมันมีทั้งไขมันชนิดดี และ ไขมันชนิดร้าย น�้ำมันพืชที่มีไขมันไม่อิ่มตัวแบบเดี่ยวสูง จัดเป็นน�้ำมัน ชนิด “ดีพิเศษ” น�้ำมันเหล่านี้ช่วยลดคอเลสเตอรอลชนิดร้าย (LDL) และเพิ่มคอเลสเตอรอลชนิดดี (HDL) ซึ่งช่วยท�ำความ สะอาด หรือเก็บขยะ (คราบไขมัน) จากผนังเส้นเลือด
23 issue 122 march 2018
24 IS AM ARE www.fosef.org
Cartoon
25 issue 122 march 2018
26 IS AM ARE www.fosef.org
27 issue 122 march 2018
“...ทักษะความเก่งใช้แค่วันเดียวในการสอบ นอกนั้นใช้ทักษะชีวิต...”
ครู ชลลดา ซั ววงษ์
อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย 28 IS AM ARE www.fosef.org
ความเป็ น คน ความเป็ น ครู โดยภาพรวม อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย สอนวิชา ความรู้ให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาเหมือนกับโรงเรียนแห่งอื่นๆ หากสิ่งที่ต่างกันคือ สถานศึกษาแห่งนี้ปลูกฝังให้เยาวชนทุก ศาสนาได้เรียนรู้วิธีอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข มีสันติภาพ ซึ่งเป็น จุดมุ่งหมายเดียวกับโลก ครูชลลดา ซัววงษ์ ครูวิทยฐานะ ครูช�ำนาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ อิสลามวิทยาลัยแห่ง ประเทศไทย สะท้อนมุมมองผ่านประสบการณ์ 30 กว่าปีใน ความเป็นครูว่า นักเรียนที่นี่มีที่มาและความบอบช�้ำอันหลาก หลาย ทั้งจากความไม่สงบทางภาคใต้ซึ่งเป็นบ้านของพวกเขา เอง ทั้งจากปัญหาเรื่องฐานะการเงิน หลายคนได้ทุนมาเรียนที่นี่ เพราะสูญเสียผู้ปกครองในเหตุการณ์สึนามิ “ที่นี่เหมือนนักเรียน แลกเปลี่ยน มีทุกศาสนา และเปิดโอกาสให้สวดมนต์หรือท�ำพิธี ตามศาสนาของตนอย่างเท่าเทียม เราพยายามสร้างเมล็ดพันธุ์ ให้เขาอยู่ร่วมกันตั้งแต่เด็กในกรุงเทพฯ พอจบออกไปแล้วเขาจะ อิ ส ลามวิ ท ยาลั ย แห่ ง ประเทศไทยมี ลั ก ษณะความเป็ น ได้อยู่ร่วมกันในสังคมด้วยความเข้าใจซึ่งกันและกัน” มาอย่ า งไร ? โรงเรียนเราเป็น ‘อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย’ ตั้ง ขึ้นตามพระราชกฤษฎีกา 2488 เพื่อให้เด็กนักเรียนทุกศาสนามา เรียน แต่ถ้าเป็นมุสลิมทางใต้เราจะให้เขาอยู่หอพัก ส่วนใหญ่เป็น เด็กสามจังหวัดชายแดนภาคใต้มาพักฟรี มีอาหาร 3 มื้อ ตั้งแต่ ชั้นมัธยมปีที่ 4-6 พอเขาเรียนจบในระดับมหาวิทยาลัยแล้วเขา ก็กลับไปท�ำงานที่บ้าน บางคนเป็นข้าราชการ อบต.บางคนไป เป็นนักการเมือง เป็นเจ้าของรีสอร์ท แต่พวกนี้จะมีปัญหาทาง ใต้ที่รู้กัน จึงเกิดทุนนี้ขึ้นมา รัฐบาลให้ทุนช่วยเพื่อให้มาเรียน ในกรุงเทพฯ แล้วเป็นเพื่อนกับเด็กกรุงเทพฯ เป็นเพื่อนกับเด็ก ศาสนาพุทธ ทางเด็กพุทธก็รู้จักมุสลิมว่าเป็นยังไง กินหมูไม่ได้ เพราะอะไร เอาหมูไปแกล้งเขาไม่ได้นะ จะได้อยู่ทางใต้อย่าง สงบสันติสุข นี่คือ อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย เด็ ก ๆ ที่ นี่ ส ่ ว นมากฐานะเป็ น อย่ า งไร ? ระดับกลางจนถึงยากจน จึงได้ทุนมาเยอะ ส่วนใหญ่ หอพั ก นอนกั น เฉพาะเด็ ก ที่ ม าจากจั ง หวั ด ไกลๆ เช่ น ยะลา นราธิวาส สงขลา ปัตตานี บางคนขึ้นมากรุงเทพฯ เพราะพ่อ ถูกยิงเสียชีวิต โดนระเบิด โดนสึนามิ ที่นี่มีตึกชื่อ ‘สึนามิ’ ได้งบ จากเหตุการณ์สึนามิ ตอนที่สึนามิเข้าพ่อแม่เด็กเสียชีวิตหลาย คน เด็กจึงถูกส่งมาเรียนที่นี่ เพราะเสียพ่อแม่ไปจากเหตุการณ์ นั้น เขาจะอยู่อย่างไร เด็กๆ จบ ม.3 แม่ไม่อยู่แล้ว เขาเล่า ให้ฟัง พลัดกับแม่ตอนที่สึนามิมา จับมือแม่แล้วเขาก็คว้ายอด มะพร้าวไว้ แต่แม่หมดแรงหลุดมือไปเสียชีวิต ตัวลูกค้างอยู่บน 29 issue 122 march 2018
บางทีก็ไม่คบเพื่อน คนมีเกรดสูง ต้องมีความมั่นคงในอารมณ์ ต้องมีวิจารณญาณ ต้องรู้จักแก้ปัญหาเป็น จึงจะมีชีวิตอยู่ได้ หมายความว่ า ถ้ า สั น ติ ภ าพไม่ เ กิ ด การเรี ย นการ ศึ ก ษาก็ ไ ปไม่ ร อด ? ใช่ คนก็ไม่มีงานท�ำกันอยู่ดี รบกันอยู่คุณจะเป็นอะไร คุณจะเป็นที่ 1 ของประเทศหรือ ต้องดีก่อน แล้วจึงจะเก่ง แข่ง โอเน็ตกันท�ำไม สอบโอเน็ตแล้วยังไง เป็นที่ 1 แล้วเป็นยังไง คน เก่งแล้วเป็นยังไง เราก็คนไม่เก่งแต่เราก็อยู่รอดแบบนี้ได้ เรา ได้รับความนับหน้าถือตาจากชาวโลกด้วยซ�้ำไม่ใช่แค่ชาวไทย เป็นชาวโลก ในมุ ม มองของครู ก็ คื อ เน้ น ความดี น� ำ ความเก่ ง ? ใช่ค่ะ ดีน�ำเก่ง ไม่จ�ำเป็นต้องเก่งเราก็อยู่ได้ คนเก่งมีกัน ยอดมะพร้าวกลางน�้ำ เด็กรุ่นนี้ที่ประสบเหตุการณ์สึนามิเรา จึงดูแลเขาจนเรียนจบมหาวิทยาลัย รุ่นนี้เรียนจบธรรมศาสตร์ กี่คนในประเทศ บางทีเก่งมาแล้วเห็นแก่ตัวด้วย ถ้าเก่งแล้วเสีย สละก็จะเป็นคนดี อย่างน้อยเขาก็เป็นคนดีที่เสียสละ เขาเอื้อเฟื้อ หลายคน รับปริญญาไปหมดแล้ว ช่วยเหลือเพื่อน แต่ไม่ใช่ไปบอกข้อสอบนะ ช่วยเหลืออธิบายให้ อิ ส ลามวิ ท ยาลั ย แห่ ง ประเทศไทยมุ ่ ง เน้ น เกี่ ย วกั บ เพื่อนเข้าใจ ของมันไม่ได้ยาก เราเน้นเด็กให้ดีน�ำเก่งด้วย ไม่งั้น ไม่มีละหมาด ไม่มีสวดมนต์ อะไร ? ถ้าหากดีน�ำเก่ง จะท�ำให้สังคมสงบสุขราบรื่น แต่ถ้า จะสอนให้ เ ด็ ก ไปอยู ่ ร ่ ว มกั น ในสั ง คมได้ อ ย่ า งสั น ติ สุ ข แม้จะแตกต่างแต่ไม่แตกแยก อยู่ร่วมกันได้ รักกันได้ แต่งงาน เก่งน�ำดี คนเก่งอาจจะไม่ดีก็จะมีการฉ้อโกงเกิดขึ้น เพราะคน กันได้ เรียนรู้ศาสนาซึ่งกันและกันเพื่อจรรโลงสังคมแล้วท�ำให้ เก่งก็อาจจะซุกความไม่ดีไว้แล้ววางแผน 80 ตลบ คนอื่นตาม ชายแดนใต้สงบสุขขึ้น เหมือนกับสร้างเมล็ดพันธุ์ใหม่ที่รู้จักกัน ไม่ทันเขาเพราะเขาเป็นคนเก่ง เอาความเก่งมาใช้ในทางที่ผิด มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน โดยใช้แนวทางของ ‘มูลนิธิครอบครัว เราก็ต้องสมควรสร้างความดีให้กับเด็กๆ เยาวชนรุ่นใหม่ สั่งสม พอเพียง’ เป็นสื่อให้เด็กได้ท�ำ ‘กิจกรรมจิตอาสา’ ร่วมกันโดย เข้าไป ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ ดูแลสังคม จิตอาสา คน ไม่แบ่งแยกศาสนา ที่นี่มีทั้งพุทธและมุสลิม ให้เขาอยู่ร่วมกันตั้ง เก่งเคยไปป้อนข้าวที่บ้านบางแคไหม คนเก่งเคยไปดูแลน้องๆ แต่เด็กๆ ก่อนไปใช้ชีวิตร่วมกันในสังคม คล้ายๆ นักเรียนแลก คนพิการไหม เคยเห็นไหม ไม่เคย อ่านหนังสือของตัวเองอย่าง เปลี่ยนระดับจังหวัด ตอนนี้จากเชียงใหม่ก็มีมา ชาวม้งที่เป็น เดียว ก็เก่งสิอ่านทั้งวัน ไม่ท�ำอะไรเพื่อใครเลย คนนั้นล้างจาน ช่ ว ยพ่ อ แม่ แทบแย่ ไม่ มีเวลาแล้ ว จะไปเก่ ง ได้ ยั ง ไง แต่ มันก็ มุสลิมก็มาแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกัน เป้ า หมายของที่ นี่ คื อ สร้ า งเมล็ ด พั น ธุ ์ ที่ ดี เ พื่ อ ลดความ ไม่ ส งบที่ เ กิ ด ขึ้ น ทางภาคใต้ ? ที่นี่มีวิสัยทัศน์ว่า สมานฉันท์ สันติสุข ไม่ให้ตีกัน ไม่ให้ ทะเลาะกัน ไม่ให้วางระเบิดใคร ให้รู้จักรักพวกพ้องเหมือนพี่ น้องกันทุกคน เราสร้างเมล็ดพันธ์ุรุ่นใหม่จริงๆ ท่านมุข สุไลมาน ต้องการแก้ปัญหาความไม่สงบด้วย อันนี้เป็นจุดประสงค์ของ อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย จุดประสงค์หลักของโรงเรียน เด็กก็รับทราบ เขาเรียนรู้ว่าจะอยู่ด้วยกันยังไง จะรับมือยังไง ด้านวิชาการเขาก็อยากได้เกรดสูงเหมือนกัน แต่เราบอกว่าเกรด สูงแล้วเอาไปท�ำอะไร ท�ำงานก็ไม่ได้ บางทีเก่งจนเพื่อนไม่คบ 30 IS AM ARE www.fosef.org
เราเน้ น อะไรส� ำ หรั บ เรื่ อ งภาษาในโรงเรี ย นอิ ส ลามฯ ? เน้นความหลากหลายทางภาษา นอกจากภาษาอังกฤษ แล้ว ยังมีภาษาอาหรับ มีมารยู มีเรียนภาษาอียิปต์บ้าง เพราะ ว่าเด็กครึ่งหนึ่งเป็นมุสลิม ครึ่งหนึ่งเป็นพุทธ แล้วก็ 10% เป็น คริสเตียน ตอนกลางวันเขาละหมาดอยู่ที่ห้องๆ หนึ่งของอิสลาม ส่วนอีกห้องหนึ่งสวดมนต์ทางพุทธศาสนา พุทธก็สวดมนต์ทุกวัน ท� ำ ไมถึ ง เลื อ กอาชี พ ครู ? ชอบท�ำกิจกรรมกับเด็กค่ะ ตอน ม.ปลายคุณครูชอบพา อิสลามก็ละหมาดทุกวัน คริสเตียนก็ไปอยู่ห้องคริส ไปท�ำพิธีของ ไปตัดเล็บมือน้องๆ อนุบาล ก็เลยชอบเด็ก เรียนจบจากวิทยาลัย เขา ที่ผ่านมายังไม่พบปัญหาระหว่างศาสนา เพราะเขาจะเรียน ครูเจ้าพระยา เป็นอาชีพเดียวจนถึงปัจจุบันนี้ เกือบ 32 ปีแล้ว ในหลักสูตรว่าศาสนานี้เป็นแบบนี้ ศาสนานี้เป็นแบบนี้ เคยไปสอนที่บุรีรัมย์มา 4 ปี โรงเรียนบ้านบุวิทยาสรรค์ ติดกับ พนมรุ้ง แล้วก็ย้ายมาที่นี่ ปัจจุบันอายุ 53 ปี ตอนนี้รับหน้าที่ หลักๆ คืองานของมูลนิธิครอบครัวพอเพียงดูแลให้นักเรียนท�ำ กิจกรรมจิตอาสาต่างๆ ที่เด็กคิดในพันธกิจต่างๆ แล้วก็เป็นครู ประจ�ำวิชาภาษาอังกฤษระดับชั้น ม.6 ล้างจานได้ มันก็ได้ค่าจ้างล้างจานไปกินข้าว ก็พอเอาตัวรอดได้ แล้วคนเก่งล่ะ พ่อแม่ล้มละลายล้างจานก็ไม่เป็นอีก ไปท�ำงานก็ ไม่เป็นอีก เอาไงทีนี้ ทักษะชีวิตไม่มี เอาชีวิตตัวเองไม่รอด แก้ ปัญหาไม่ได้
ปั จ จุ บั น ในด้ า นของภาษาอั ง กฤษครู มี แ นวทางแนะน� ำ เด็ ก ยั ง ไง ? ต้องให้เด็กพูดได้ แล้วเราก็ไม่พูดภาษาไทยกับเขา เขาพูด ภาษาไทยมาเราพูดภาษาอังกฤษกลับ เขาก็พยามฟัง ฟังให้เข้าใจ ค�ำถามแต่จะตอบเป็นภาษาไทยก็ได้ ถือว่ายังฟังรู้เรื่อง พยายาม ให้เขาพูดให้เขาเขียน อย่างไปเที่ยวก็ให้ถ่ายรูปแล้วบรรยายเป็น ภาษาอังกฤษมาส่ง เรื่องภาษาอังกฤษเด็กสมัยนี้จะไวกว่าเมื่อ ก่อน แต่เด็กสมัยก่อนจะสนใจเรียนมากกว่าเด็กสมัยนี้
เวลาสอน ครู มี เ ทคนิ ค ส่ ว นตั ว ยั ง ไงให้ เ ด็ ก หั น มา ฟั ง ? ให้เด็กปฏิบัติมากที่สุดเท่าที่จะมากได้ เราจะไม่ให้ฟังเรา อย่างเดียว สมมุติว่าเป็นคลาสการอ่านก็ช่วยกันอ่าน พอช่วยกัน อ่านเสร็จก็ท�ำงานเลย ท�ำให้เสร็จในคาบเลย ไม่ต้องมีการบ้าน เดี๋ยวเด็กขี้เกียจอีก เพราะเดี๋ยวให้การบ้านไปท�ำบ้างไม่ท�ำบ้าง ลอกกันบ้าง ท�ำในห้องเสร็จจบไปเลย ให้คะแนนเลย แต่ละ งานใครส่งก่อนให้คะแนนมากกว่า ก็ตัดกันไปเลย ตัดความขยัน แล้วก็มีสแตม์ปให้ ใครส่งก่อน ส่งหลัง ให้คะแนนเป็น ดีมาก ดี พอใช้ ลดหลั่นกันไป นักเรียนจะมีกลุ่มในเฟสของแต่ละห้อง สร้างกลุ่มเฟส หรือกลุ่มไลน์ ทุกคนต้องเข้าในห้องนี้ สั่งงานผ่านตรงนี้เลย ใคร ไม่มาเรียนก็แชทเฟสเลย มันก็ดีเพราะเห็นว่าใครอ่าน พอเปิด ปุ๊บเราก็จะเห็นว่าอ่านแล้ว แล้วก็เป็นหลักฐานว่าอ่านแล้ว แล้ว งานอยู่ไหน ถือว่ารับทราบแล้วอยู่ไหนส่งมาเร็ว ถ้าส่งแล้วมันก็ จะค้างอยู่ในนั้น ยืนยันได้ ใครส่งแล้ว สั ง คมภายนอกเปลี่ ย นแปลงไปเร็ ว มาก ครู มี ก ารปรั บ ตั ว และแนะน� ำ เด็ ก ยั ง ไง ? ต้ อ งให้ เ ด็ ก รู ้ ทั น ว่ า ใครจะมาหลอกเรา สมมุ ติ ใ น โซเชี ย ลมี เ ดี ย มี ค นมาจี บ เรา ผู ้ ห ญิ ง ก็ ต ้ อ งรั ก นวลสงวนตั ว 31
issue 122 march 2018
พันธกิจด้านสังคมของครอบครัวพอเพียงที่ให้ดูแลตัวเอง สอนให้ เด็กรักนวลสงวนตัว ผู้ชายก็ต้องรู้จักรับผิดชอบไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับ ผู้หญิงก่อนเพราะว่าสังคมเป็นแบบนี้ เราอ่านในสื่อโซเซียลฯ ดู ว่าเขาใช้อะไรกัน เล่นเกมอะไรกัน บางทีเราต้องลงไปเล่นกับเขา เลย ไม่งั้นไม่ทันเขา เรามีกรุ๊ปไลน์ เฟสบุ๊ค มีเพจห้อง เวลาเขา อยู่ในเฟสฯ เราก็บอกมาท�ำการบ้าน งานครูส่งรึยัง เด้งเข้าไป ในเฟสที่เขาก�ำลังดูอยู่ เป็นการปรับตัวเราให้เข้ากับเขาได้ แต่ สายตาเราจะแย่ เหมือนงานเราจะหนักขึ้น ของเก่าเราก็ต้องคง อยู่ให้อนุรักษ์ประเพณีต่างๆ ไว้ ของใหม่เราก็ต้องไปเรียนรู้เพิ่ม อีกเป็น 2 เท่า เท่ า ที่ สั ม ผั ส มาจากอาชี พ ครู สิ่ ง ที่ น ่ า ห่ ว งส� ำ หรั บ เด็ ก สมั ย นี้ คื อ อะไร ? เรื่องสื่อโชเชียลฯ ซึ่งเด็กติดมาก บางทีก็โดนหลอกโดยที่ รู้เท่าไม่ถึงการณ์ ท�ำโน้นให้ดูสิ ท�ำนี่ให้ดูสิอะไรแบบนี้ แล้วก็ถูก แบล็กเมล์เหมือนอย่างที่ข่าวออก เหมือนกับค�ำขวัญของท่าน นายกฯ ยังมีเลย รู้เท่าทันเทคโนโลยี ต้องใช้ให้เป็น บางคนจม อยู่แต่ในโลกนี้เป็นอะไรก็จะบ้าเพ้อฝันไปเรื่อย แล้วก็ฆ่าตัวตาย ตามไปอีก คือต้องให้เขาฉลาด มีความฉลาดวิเคราะห์ปัญหาของ ตนเอง มีความฉลาดทางอารมณ์ไม่เป็นทาสของอารมณ์ เวลามี ป ั ญ หามาครู ก็ ห ลอกถามคุ ย เล่ น ไปเรื่ อ ยๆ เขา มีอะไรก็บอกหมด ถ้าไม่บอกเราช่วยเขาไม่ได้ หายไปไม่มา โรงเรียนเราก็ต้องตาม เหมือนแม่คนหนึ่ง ยิ่งกว่าแม่อีก ลูก เยอะด้วย เพราะสภาพครอบครัวและสังคมค่อนข้างแตกแยก ก็พยายามสอนให้เขาดูคู่ครอง ต้องหาที่จะไปกันได้ แล้วถ้าอยู่ ด้วยกันก็ต้องอยู่ด้วยกันให้ยืดไม่ใช่จะเลิกกันไปมีใหม่ ยิ่งมีลูก แล้วทิ้งไว้ไปมีใหม่แบบนี้ไม่ได้ สอนชีวิตถึงแม้จะเป็นมุสลิมเขา จะมีภรรยาได้ 4 คนใช่ไหม แล้วความจริงมันท�ำได้ไหม ดูแล้ว
มันโอเคไหม ถ้าคุณท�ำได้เลี้ยงดูให้มันเท่ากันเหมือนที่เขาท�ำกัน ได้ก็โอเค แต่ถ้าท�ำไม่ได้ก็อย่ามี ก็ยังมีข้อแม้เรื่องความพร้อมอยู่ ด้วย ไม่ใช่ฉันมีได้ฉันจะมี 4 คนอย่างนั้นไม่ได้ ตามหลักศาสนา ก็ต้องมีความพร้อมด้วย ความเป็นจริงสามารถดูแลให้ความ อบอุ่นกับภรรยาได้เท่ากันไหม ไม่มีทาง อยู่บ้านนี้วัน อยู่บ้าน โน้นวัน เงินให้เท่ากันหรือ มันไม่ได้ มันเปลี่ยนแล้ว สังคมก็ต้อง เปลี่ยน วัฒนธรรมก็ต้องเปลี่ยน เราต้องบอกให้เขาเปลี่ยน ต้อง ท�ำให้ถึงแก่น ไม่ใช่เอามานิดหนึ่งเห็นเขาสบายแค่นี้เอาแล้ว ไม่ ได้ เห็นฝรั่งเขาฟรีสไตล์จะเอาแบบเขาบ้าง จะไม่แต่งเครื่อง แบบแล้ว ไม่ใช่ บ้านเขาหนาวจะหาเสื้อหนาวที่ไหนมาเหมือน กัน ของเราไม่หนาว ค รู เ ห็ น ป ั ญ ห า อ ะ ไ ร ใ น เ ด็ ก ที่ ม า กั บ มื อ ถื อ แ ล ะ โซเซี ย ลฯ ? ไม่สนใจเรียนเลย อยากให้โรงเรียนเก็บด้วยซ�้ำ เมืองนอก เขาไม่ปล่อยให้ใช้อย่างนี้นะ นี่พ่อแม่ซื้อ 2-3 หมื่นให้ลูก ไอโฟน 8 ที่นี่ไม่ได้ห้ามใช้ แต่ส่วนตัวครูให้หยุดใช้ในเวลาเรียน เก็บ-ปิด เอามาวาง ข้อระวังคือมันก็จะหายอีก ปัญหามันยุ่งตรงที่มันหาย ถ้าผู้ปกครองไม่ซื้อให้ก็จบ พ่อแม่ตามใจลูก สมัยนี้ตัวเล็กๆ ก็ถือ ไอโฟนแล้วใช่ไหม แล้วก็เล่นไม่สนใจฟังเรา เราก็จะให้เก็บใน เวลาเรียน ถ้าจ�ำเป็นต้องใช้ก็ให้ใช้ เพราะท�ำให้มันหายไปไม่ได้ เลยต้องเน้นให้เขารู้เท่าทันเทคโนโลยี แก้ปัญหาด้วยการส่งงานทางไลน์ ไปอัดวีดีโอแล้วส่งไลน์ มา อ่านภาษาอังกฤษอัดเสียงด้วยอัดตัวเองด้วย ถ่ายกล้องหน้า แล้วแล้วส่งมา อยากใช้ก็ต้องเป็นประโยชน์ บางทีให้เขาเล่น 32
IS AM ARE www.fosef.org
“ครู ไ ด้ รั บ เชิ ญ ไปพู ด เรื่ อ งนี้ ที่ อ เมริ ก า เกาหลี ก็ บ อก เขาว่ า ในหลวงเราเป็ น ยั ง ไง ทุ ก คนน�้ ำ ตาคลอ อยาก ให้ ใ นหลวงไปเป็ น ในหลวงของเขา”
33 issue 122 march 2018
รวมกันอยู่ในสังคมเดียวกัน มันก็ชวนกันไปท�ำอย่างอื่นที่มัน สะใจกับชีวิต บางทีก็ท้าทาย บางทีก็ประชดครอบครัว เพราะ ฉะนั้น ตัวกิจกรรมจะดูแลเด็กได้ดีไม่ให้ว่าง ไม่ให้ฟุ้งเฟ้อ บางคน ปัญหาของตนเองมีมากอยู่แล้ว ให้เพื่อนมาช่วยกันแก้ไปในทาง ที่ผิดอีก ก็ไปกันใหญ่ ต้องอยู่กับครู ต้องอยู่กับผู้ใหญ่ ถึงต้องมี อาจารย์ที่ปรึกษา สมัยก่อนเป็นอาจารย์ประจ�ำชั้น เดี๋ยวนี้เป็น อาจารย์ที่ปรึกษาประจ�ำห้อง ป ั จ จุ บั น มี ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น เ กี่ ย ว กั บ ป รั ช ญ า ข อ ง เศรษฐกิ จ พอเพี ย งเยอะมาก ครู แ นะน� ำ เรื่ อ งนี้ กั บ นั ก เรี ย นยั ง ไง ? เราเอาไปแทรกในบทเรียนด้วย เด็กก็จะไปหาข้อมูล หรือไม่ก็มาดูที่สวนเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน แล้วก็ท�ำรายงาน ส่ง ส่วนใหญ่เด็กจะมานั่งเล่นในสวนนี้ เขาก็สนใจถามว่าท�ำได้ จริงหรือ ก็บอกว่า ดูสิ ไข่เก็บทุกวัน กินได้ทุกวัน ไข่สดด้วย ผัก ก็มี มะนาวเต็มต้นต้องซื้อไหมล่ะ ต้องท�ำให้เขาเห็น อยากกิน น�้ำปลาพริกสักถ้วยหนึ่งก็เดินไปเก็บพริกมาสิ แล้วก็มะนาวลูก หนึ่งไม่ต้องไปตลาดเลย ถ้าเธอซื้อมะนาว 10 บาท 3 ลูก ได้ใช้ ลูกหนึ่งอีกสองลูกแช่ตู้เย็นก็เน่า พริกก็ซื้อ 10 บาท แล้วก็ใช้ 3-4 เม็ด แล้วนี่เก็บไว้ในต้นมันไม่เน่าด้วยจะกินก็เก็บมา สอนให้เห็น คือชีวิตจริงแล้วเขาก็อยากท�ำ ที่ไหนก็ท�ำได้ ขนาดกรุงเทพฯ ตึก เยอะๆ ยังท�ำได้เลย ที่บ้านของเด็กๆ ก็ท�ำได้เช่นกัน
ละครแล้วถ่ายมา ตัดต่อคลิปวิดีโอส่งครูมาทางโซเชียลฯ หนาม ยอกเอาหนามบ่ง ให้คะแนนอยู่ในเฟสเลย เหมาะกับยุคนี้ ให้ส่ง งานทางนี้เลย เปิดดิกเชอร์นารี่เปิดเดี๋ยวนี้เลย เขียนเรียงความ เป็นภาษาอังกฤษส่งงานผ่านโซเชียลฯ ปั ญ หาส่ ว นใหญ่ ที่ เ ด็ ก ๆ มาปรึ ก ษาครู คื อ เรื่ อ ง อะไร ? ส่วนมากปรึกษามาทางไลน์ เงินไม่มีเราก็พาไปหาทุน หรือว่ามีปัญหาทางครอบครัว พ่อมีแฟนใหม่แม่ก็มีครอบครัว ใหม่เขาจะดูแลตัวเองยังไง เขาจะอยู่ยังไง ก็ให้ทางออกว่าอย่า ไปมองว่าเป็นปัญหาของเรา อันนี้เป็นปัญหาของผู้ใหญ่เขา เรา ก็โตของเราได้ ส่วนมากจะเป็นครอบครัวที่แยกกัน อาจไปอยู่ กับยาย ยายเป็นคนเลี้ยง ย่าเป็นคนเลี้ยง แต่เด็กต้องการความ อบอุ่นจากพ่อแม่ ส่วนมากครูจะให้ความเป็นกันเองกับเขา ท�ำ กิจกรรมร่วมกัน เพื่อให้เขากล้าพูดปัญหาของตัวเองออกมาเรา จะได้ช่วยแก้ไข ไม่ใช่ตีหรือดุอย่างเดียว แต่ต้องอยู่ในระเบียบ ถ้าไม่ตีต้องคุยกันรู้เรื่อง ใช้คะแนนพฤติกรรมกับเขา มี ค วามสั ม พั น ธ์ เ หมื อ นเป็ น เพื่ อ น มี ค วามเป็ น กั น เอง เด็กก็สามารถเข้าถึงเราได้ แตกต่างกับสมัยก่อนที่ครูเรียน เรา ไม่อยากให้เด็กมองแบบที่เรามองครูเรา เอื้อมไม่ถึง แต่นี่วิ่งเข้า มากอดได้ เขาจะเรียกเรา “มะ” แปลว่า แม่ เป็นลูกทั้งโรงเรียน แต่เด็กจะเรียกมะทั้งเด็กพุทธและมุสลิม ปั ญ หาครอบครั ว แตกแยกในปั จ จุ บั น ครู คิ ด ว่ า เป็ น ภาระมั น กลั บ มาที่ ค รู ไ หม ? ใช่ ภาระมันกลับมาที่ครูเพราะว่า พอแตกแยกแล้วเวลา ส่วนใหญ่ในกลางวันเด็กไม่ได้อยู่กับพ่อแม่ เด็กมาอยู่กับโรงเรียน เด็กมาอยู่กับครู คนแตกแยก ครอบครัวแตกแยก แต่ละคนมา 34
IS AM ARE www.fosef.org
เมืองไทย ให้ทุนมาท�ำค่าย แล้วหาฝรั่งมาให้ความรู้เด็กๆ ท่าน ทูตอเมริกาก็มาที่นี่ มาปลูกข้าว ท่านชอบใจมาก ให้ไข่ ให้กล้วย ของเราตัดให้สดๆ เลย
สมเด็จพระเทพฯ เสด็จ 2 ครั้งที่สวนนี้ เราพัฒนาท�ำเป็น แปลงเพาะ ไม่มีน�้ำก็ต้องมีน�้ำก่อน เราก็ไปอ่านใหม่ ในหลวงบอก ว่าต้องมีน�้ำก่อน ไปหาน�้ำเลย ก็เขียนแปลนขุดล่องน�้ำ บางทีน�้ำ แห้งฝนตกไม่ทัน ก็ต้องใส่น�้ำประปาลงไป เลี้ยงปลากระชังเห็น เด็กในหอพักมาขอเอาไปย่างกิน ปลาดุก ไก่ก็เลี้ยงบนบ่อปลา มันก็ขี้ลงไปเป็นอาหารปลา
เ ท ่ า ที่ ค รู ไ ด ้ รั บ เ ชิ ญ ใ ห ้ ไ ป พู ด เ รื่ อ ง ป รั ช ญ า ข อ ง เศรษฐกิ จ พอเพี ย งในเวที น านาชาติ ส่ ว นใหญ่ เ ขา มี ค วามสนใจหรื อ สงสั ย อะไรในปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งไหม ? เขาสงสัยว่าท�ำไมในหลวงต้องมาท�ำนา ท�ำไมในหลวง ต้องลงไปที่ล�ำบากล�ำบน ท�ำไมต้องไปช่วยเหลือคน ท�ำไมไม่ อยู ่ ส บายๆ เหมื อ นกษั ต ริ ย ์ ทั่ ว ไป เขาไม่ เ คยเจอ และอยาก จะมีกษัตริย์แบบนี้ที่ประเทศเขาบ้าง เขามีแต่ฆ่ากันเอง แย่ง อ�ำนาจกัน เช่น กลัวเกาหลีเหนือจะปีนมาเกาหลีใต้อะไรแบบ นี้ ก็เข้าหลักประชาธิปไตยได้ ถ้าคนแสวงหาประชาธิปไตย แต่ ประชาธิปไตยก็ต้องรู้ว่าประชาธิปไตยแค่ไหนถึงจะพอดี ไม่ใช่ ฉันอยากจะท�ำอะไรตามใจ อยากจอดรถก็จอด ขาวแดงก็จอด จะกินก๋วยเตี๋ยวก็จอด แป๊ปนึง มันก็ไม่ใช่
ความพอเพี ย งในมุ ม มองของครู เ ป็ น อย่ า งไร ? ความพอเพียงจริงๆ มันไม่ใช่มาเป็นชาวนานะ ถ้าเรา มีตังค์พอเราสามารถซื้อสิ่งของที่เราอยากใช้ได้ ให้มันอยู่ในงบ ประมาณที่มันพอประมาณ มันจะไปสู่ความพอเพียงได้ ถ้าเรา ไม่รู้จักพอ อันโน้นเราก็อยากได้ อันนี้เราก็อยากได้ มันก็เป็น หนี้ รู้จักเก็บรู้จักออมถึงค�ำว่าพอ ก่อนจะเก็บออมก็ต้องรู้จัก ประหยัดก่อน ทุกอย่างมันก็อยู่ในนี้ มันคือศาสตร์ของชีวิต ฝรั่ง ก็ศรัทธานะ ครูได้รับเชิญไปพูดเรื่องนี้ที่อเมริกา เกาหลี ก็บอก เขาว่าในหลวงเราเป็นยังไง ทุกคนน�้ำตาคลอ อยากให้ในหลวง ไปเป็นในหลวงของเขา ขนลุก ครูเหมือนเป็นคนส่งสาร ชาว ต่างชาติเขาก็ชอบ น�ำมาซึ่งทุนให้เด็กไปเรียนภาษาอังกฤษที่ 35
issue 122 march 2018
วางเป้ า หมายตอนเกษี ย ณอายุ ไ ว้ อ ย่ า งไร ? มีที่อยู่โคราช ตอนแรกว่าจะย้ายไปโคราชแล้ว ไปหา ท�ำเลเปิดศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง เหมือนสวนเกษตรที่โรงเรียน แต่เป็นบ้านของเราเอง ให้คนเข้ามาดูงานได้ ให้เรียนรู้ฟรี เป็น ประโยชน์แก่ผู้อื่นต่อไป ใครจะเข้ามาดูก็ได้ ชงกาแฟกินเอง ใคร จะมากินก็หยอดสตางค์ไว้ อยากหยอดเท่าไหร่ก็หยอด แล้วเราก็ ชงกาแฟไป ท�ำบุญไป ใครจะให้ค่าไฟต้มน�้ำหน่อยก็ยินดี
มาแล้ว ควรฟังค�ำแนะน�ำก็ดี เช่น บางโรงเรียนยังยึดครูรุ่นเก่าๆ ไว้อยู่ บางโรงเรียนก็ไม่มีแล้วมีแต่ครูรุ่นใหม่ ครูรุ่นเก่าก็เก็บเข้า กรุไป มันก็จะเสื่อมไป ของโบราณมีค่านะ ล�้ำค่ามาก ไม่ใช่ของ เก่ากะโหลกกะลา ซึ่งถ้าเราเป็นคนรุ่นใหม่ที่ยึดแก่นของความ โบราณไว้ชีวิตรับราชการจะสมูท ครองคน ครองตน ครองงาน เป็นครูก็จะเจริญก้าวหน้า ท�ำงานอะไรก็จะเจริญก้าวหน้า เคารพ ผู้หลักผู้ใหญ่ บางคนคิดว่าฉันเก่ง ฉันสอบได้ ฉันเรียนด็อกเตอร์ ฉันเรียนปริญญาโท เธอจบปริญญาตรี เธอจะมาแนะน�ำอะไรฉัน จะท�ำให้หลงทางไปกันใหญ่ ท�ำดีจะได้ดี ท�ำไม่ดีก็ต้องได้ไม่ดี ถ้า ยึดไว้ก็จะเป็นคนดีกันทั้งหมด
30 กว่ า ปี ที่ รั บ ราชการครู ม า มองตั ว เองยั ง ไง ? ไม่เคยมองตัวเองเลย ผ่านมาก็เยอะ ปัญหาก็เยอะ แต่ ว่าไม่เอาปัญหามาเป็นปัญหา เรายึดหลักว่าพรุ่งนี้มันก็ผ่านไป แล้ว ทุกเหตุการณ์แหละ พรุ่งนี้มันก็ผ่านไป รอวันพรุ่งนี้มัน ก็จะผ่านไปได้ ปัญหาบางเรื่องมันพูดไม่ได้ แต่ผ่านมาได้ด้วย ความอดทน อดกลั้นดีที่สุด โมโหก็กลั้นไว้ ท้อก็กลั้นไว้ ใช้ได้ หมด ใช้ได้กับชีวิตจริง
ครู ม องว่ า ทั ก ษะชี วิ ต ส� ำ คั ญ กว่ า วิ ช าการ ? ใช่ค่ะ ครูมองว่าส�ำคัญกว่าการสอบได้คะแนนเยอะๆ เพราะมันจะได้ใช้ชีวิตต่อไป มันไม่ได้ใช้การเรียนต่อไปนะ เพราะ ว่าถ้าเราเข้าไปท�ำงานได้แล้ว เราใช้ทักษะชีวิต ทักษะความเก่ง ใช้วันเดียวในการสอบ นอกนั้นใช้ทักษะชีวิต ไปท�ำงานมีปัญหา กับเพื่อนร่วมงานคุณท�ำยังไง คนนั้นไม่ชอบขี้หน้าคุณคุณจะท�ำ ยังไง เขาบอกไอ้นี่ไม่เคยให้ฉันเลย เขาชวนไปงานแต่งงานก็ไม่ ไป ไม่อยากไป ไม่มีความส�ำคัญ แล้วพอถึงเวลาเราก็ไม่มีใคร มา เหมือนมันเป็นเรื่องง่ายๆ ที่เด็กเองก็ไม่รู้ว่าตรงนี้ไม่ควรเถียง คุณครูนะ ควรนั่งฟังเฉยๆ เด็กบอกไม่ได้เถียงนะหนูพูดเฉยๆ นั่น แหละแบบนี้เรียกเถียง เพราะเราไม่มีทักษะชีวิต เพราะเราไป เน้นการเรียนมากกว่า เด็กเขาก็ไม่รู้ อายุ ข ้ า ราชการที่ เ หลื อ อยู ่ อ ยากเห็ น อะไรในโรงเรี ย น ในประเทศ หรื อ ในครู ด ้ ว ยกั น เอง ? ในโรงเรี ย นนี้ ก็ อ ยากเห็ น เด็ ก มาเรี ย นที่ นี่ เ ยอะๆ ครู ก็ อยากเห็นครูรับผิดชอบในการสอนมากขึ้น ใครที่ทิ้งคาบสอนก็ เข้าสอนซะ ใครที่สอนอยู่ก็ท�ำสื่อการสอนให้มันดีขึ้น ท�ำแผนการ สอนให้ดีขึ้นแล้วก็เขียนผลงานส่ง คส.3 คส.4 จะได้มีเงินประจ�ำ ต�ำแหน่ง พอมีเงินประจ�ำต�ำแหน่งแล้ว คุณก็ไม่ต้องไปสอนพิเศษ คุณก็สอนเด็กของคุณให้เก่ง เพราะคุณมีเงินตรงนี้แล้ว คุณท�ำ โรงเรียนนี้ให้ดีขึ้น ส่วนเด็กก็อยากให้มีความดีเพิ่มขึ้น ให้มีความ พอเพียงมากขึ้น ให้รักในหลวงมากขึ้น รักชาติมากขึ้น ครูในฝัน ของเราก็คือ ครูที่รับฟังความคิดเด็กอย่างมีเหตุผล สามารถโต้ กลับให้เขายอมรับเหตุผลที่ถูกต้องได้
เดี๋ ย วนี้ มี ค รู รุ ่ น ใหม่ ก ้ า วขึ้ น มาท� ำ หน้ า ที่ เ ยอะ แนะน� ำ เขายั ง ไงดี ? ครูสมัยนี้ต้องอดทนนะ ขยัน ซื่อสัตย์ แล้วก็ใส่ใจในงาน เพราะว่ามันไม่ใช่ง่ายๆ ที่จะเป็นครู ต้องดูตัวอย่างจากรุ่นเก่าๆ ไม่ใช่ว่าฉันจบนั่นจบนี่มาไม่ได้หรอก เพราะว่าการเรียนรู้อยู่ใน ประสบการณ์ ปัญหาที่เราเจอก็อาจจะเป็นสิ่งที่คนอื่นเคยเจอ 36
IS AM ARE www.fosef.org
37 issue 122 march 2018
“องคมนตรี ” ยกพระราชด� ำ รั ส ร.10 ห่ ว งการศึ ก ษา เน้ น สร้ า ง “คนดี ” น� ำ “คนเก่ ง ” เชื่ อ กระบวน ทั ศ น์ 5 ข้ อ “พอเพี ย ง-วิ นั ย -สุ จ ริ ต -จิ ต สาธารณะ-รั บ ผิ ด ชอบ” สร้ า งจุ ด เปลี่ ย นสั ง คมไทยใน 5-10 ปี “ดร.เที ย นฉาย” หวั่ น คนไทย ขาดดุ ล พิ นิ จ หลงเชื่ อ โดยไม่ ไ ตร่ ต รอง เร่ ง เตรี ย มพร้ อ มคนไทย 4.0 คุณธรรม ต้นทุนเหล่านี้ลดต�่ำลงจากกระแสความเปลี่ยนแปลง ทั้งภายในและภายนอกประเทศที่กระทบเข้ามา ท�ำให้ถึงเวลา ที่ เราจะต้ อ งคิ ด ว่ า จะปล่ อ ยให้ ก ระแสไหลบ่ า จนพาตกเหว หรือ ลุกขึ้นมาสู้กับมัน ซึ่งปัจจุบันจ�ำเป็นต้องท�ำให้ต้นทุนที่ เรามีอยู่มีคุณค่าขึ้นมา โดยสถาบันหลักของไทย คือ สถาบัน พระมหากษัตริย์ สถาบันศาสนา สถาบันครอบครัวและชุมชน ซึ่งการปรับกระบวนทัศน์ทั้ง 5 ข้อ คือ 1 พอเพียง 2 วินัย 3 สุจริต 4 จิตสาธารณะ 5 รับผิดชอบ จ�ำเป็นต้องท�ำให้เกิดขึ้น จริง ไม่ใช่เพียงให้สอนกันในโรงเรียนและให้เด็กท่องจ�ำเพื่อหวัง คะแนนอย่างเดียว แต่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องน�ำไปปฏิบัติ ต่อให้เกิดผล ซึ่งโครงการโรงเรียนคุณธรรม ที่พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงริเริ่มไว้เป็นต้นแบบ ส�ำคัญของการปรับใช้เป็นกระบวนทัศน์ 5 ข้อ ซึ่งทรงตรัสว่า “การสร้างคนดี ให้แก่บ้านเมืองเป็นเรื่องที่ยากและยาวแต่ก็
เมื่อวันที่ 1 มีนาคม ที่ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย คณะอนุกรรมการเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 ร่วมกับองค์กร เครือข่ายสร้างกระบวนทัศน์และหลักคิดที่เหมาะสมส�ำหรับ คนไทย ส�ำนักงานสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ส�ำนักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) ศูนย์คุณธรรม (องค์การ มหาชน)ภาครัฐ ภาคประชาสังคม และภาคเอกชน จัดงาน“การ สร้ า งกระบวนทั ศ น์ แ ละหลั ก คิ ด ที่ เ หมาะสมส� ำ หรั บ คนไทย” พร้อมประกาศเจตนารมณ์พันธะสัญญาร่วมกันขององค์กรภาคี เครือข่าย 275 เครือข่าย กว่า 500 คน เพื่อร่วมสร้างกระบวน ทัศน์และหลักคิดส�ำหรับคนไทย โดย ศ.เกี ย รติ คุ ณ นพ.เกษม วั ฒ นชั ย องคมนตรี ปาฐกถาพิเศษ หัวข้อ “หลักคิดที่เหมาะสมส�ำหรับคนไทย” ว่า สังคมไทยในอดีตได้รับการยกย่องจากต่างชาติในเรื่องความ อ่อนโยน มนุษยธรรม กตัญญู แต่ปัจจุบันเราเผชิญกับวิกฤติ 38
IS AM ARE www.fosef.org
ต้องท�ำ” ดังนั้น การเรียนการสอนจะไม่ได้เน้นให้เด็กเก่ง แต่ ท�ำให้เด็กมีน�้ำใจ มีจิตอาสา สามัคคี หันมาช่วยเหลือกัน ซึ่งพบ ว่าการที่เด็กมีน�้ำใจ มีคุณธรรม ส่งผลให้เด็กเรียนดีขึ้นกว่าเดิม วัดได้จากสถิติการสอบโอเน็ตอยู่ในล�ำดับที่ดีขึ้นเรื่อยๆ “หากจะสร้ า งให้ เ ด็ ก มี วิ นั ย ได้ ต ้ อ งเริ่ ม ตั้ ง แต่ วั ย เด็ ก ซึ่ ง ปั จจุ บั น เด็ก อยู่ในระบบการศึก ษา จึงต้องให้ ค วามส� ำ คั ญ ในประเด็นการสร้างคน โดยเน้นคนดี มากกว่าคนเรียนเก่ง ไม่ ใช่ แข่ ง กั น เรี ย น แข่ ง กั น กวดวิ ช า แต่ ต ้ อ งปรั บ ความคิ ด มี จิตอาสา เด็กช่วยกันติว ให้ค�ำแนะน�ำกันเรื่องการเรียน เน้น เรื่องระบบธรรมาภิบาล ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ท�ำให้ องค์กรหรือโรงเรียนมีคุณภาพ คุณธรรม จัดสิ่งแวดล้อม เชื่อ ว่า 5-10 ปีนี้ ประเทศจะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีขึ้น” ศ.เกียรติคุณ นพ.เกษม กล่าว ศ.เกียรติคุณ นพ.เกษม กล่าวว่า สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงเห็นความส�ำคัญ ด้านการศึกษา และพระราชทานราโชบายด้านการศึกษา ซึ่งทรง อยากให้การศึกษาต้องมุ่งสร้างพื้นฐานให้แก่ผู้เรียน คือ 1.ทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง เข้าใจในพื้นฐานของ บ้านเมือง ยึดมั่นในศาสนา มั่นคงในสถาบันพระมหากษัตริย์ และเอื้ออาทรต่อครอบครัวชุมชน 2.พื้นฐานชีวิตที่มั่นคงเข้มแข็ง รู้จักแยกแยะผิดชอบชั่วดี ปฏิบัติแต่สิ่งที่ชอบ สิ่งที่ดี ปฏิเสธสิ่งที่ผิด สิ่งที่ชั่ว ช่วยกันสร้าง คนดีแก่บ้านเมือง 3.มีอาชีพ มีงานท�ำ ไม่ใช่เรียนอย่างเดียวแต่ไม่สามารถ น�ำมาปฏิบัติใช้ได้ 4.เป็นพลเมืองดี ไม่ว่าครอบครัว สถานศึกษา สถาน ประกอบการ ต้องส่งเสริมให้โอกาสท�ำหน้าที่พลเมืองดี โดยเห็น อะไรที่ดีต่อชาติบ้านเมืองก็ต้องท�ำ เช่นงานจิตอาสาเป็นต้น โดย สิ่งส�ำคัญที่เน้นย�้ำคือ การท�ำเพื่อชาติบ้านเมือง
เป้ า หมายของการพั ฒ นาคนไทยตามยุ ท ธศาสตร์ ชาติ 20 ปี คนไทยต้ อ งเป็ น คนที่ ส มบู ร ณ์ มี สมรรถนะทางกาย มี จิ ต ใจและจิ ต ส� ำ นึ ก ที่ ดี ง าม และ มี ส ติ ป ั ญ ญามี ก ารเรี ย นรู ้ ต ลอดชี วิ ต
ศ.กิตติคณ ุ ดร.เทียนฉาย กีระนันทน์ กรรมการขับเคลื่อน การปฎิรูปเพื่อรองรับการปรับเปลี่ยนตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 และประธานคณะอนุกรรมการเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 กล่าวว่า เป้าหมายของการพัฒนาคนไทยตามยุทธศาสตร์ ชาติ 20 ปี คนไทยต้องเป็นคนที่สมบูรณ์ มีสมรรถนะทางกาย มีจิตใจและจิตส�ำนึกที่ดีงาม และมีสติปัญญามีการเรียนรู้ตลอด ชีวิต หัวใจของการเตรียมคน คือ สร้างกระบวนทัศน์และหลัก คิดที่เหมาะสม พร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงเป็นพลังขับเคลื่อนการ พัฒนาประเทศ และการปรับกระบวนทัศน์และหลักคิดคนไทย ให้เหมาะสม มีความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 เป็นหนึ่งในภารกิจ หลักในการปฏิรูปประเทศ เพื่อเปลี่ยนผ่านประเทศไทยไปสู่ ศตวรรษที่ 21 โดยใช้โมเดลประเทศไทย 4.0 (Thailand 4.0) 39
issue 122 march 2018
การสร้างคนให้มีความพร้อมอย่างสมดุลทั้งในด้านการเรียนรู้ การมีหลักคิด และมีค่านิยมที่ถูกต้อง “สถานการณ์ปัญหาคนไทยยุคปัจจุบัน มีแนวโน้มการ ใช้พฤติกรรมเสี่ยงมากขึ้น ขาดคุณธรรม วินัย ความซื่อสัตย์ มี ปัญหาด้านคุณภาพเกือบทุกช่วงวัย ดูแลลูกหลานพ่อแม่ไม่ดี พอ สิ่งที่หนักที่สุด คือ ขาดดุลพินิจเปราะบางอ่อนไหว ในการ เลือกใช้ชีวิต ทั้งพฤติกรรม เทคโนโลยี ท�ำให้เราหลงเชื่อเร็วโดย ไม่ไตร่ตรอง เป้าหมายจริงๆ ที่เราอยากเห็นคือ การที่คนไทยมี จิตส�ำนึก เห็นแก่ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน กว่าที่จะไปถึงเป้า หมายยาวไกลนี้มีหลายวิธีด้วยกัน แต่ 5 กระบวนทัศน์ส�ำคัญนี้ จะเป็นกุญแจไขไปถึงการแก้ปัญหาได้ ซึ่งหลักการทั้งหมดเราได้ รับใส่เกล้ามาจาก รัชการที่ 9 แล้วทั้งสิ้น”ศ.กิตติคุณ ดร.เทียน ฉาย กล่าว ด้าน นายสุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี กล่ า วว่ า นโยบายส� ำ คั ญ ของ กระทรวงวิทย์ฯ ที่ก�ำลังด�ำเนินการอยู่ในขณะนี้ คือ การเตรียม คนไทยเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ผ่านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ นวัตกรรม (วทน.) หรือ “วิทย์สร้างคน” ซึ่งเน้นทุกช่วงวัย โดย เฉพาะเด็กและเยาวชน ให้มีกระบวนการความคิดที่เป็นเหตุ เป็นผล เป็นเชิงวิทยาศาสตร์ ที่มีหลักฐานอ้างอิงได้ (Scientific
Thinking) มีความตระหนักในหลักธรรมาภิบาล เสริมสร้างให้ เกิดวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์อย่างทั่วถึง โจทย์สาคัญที่พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีฝากไว้คือ ท�ำให้คนไทยมี ความคิดความอ่าน แบบมีเหตุผล เป็นพลเมืองดีท่ีต่ืนรู้ เชื่อม โยงกับความดีงามตามแนวทางไทยนิยมยั่งยืน มีจิตวิญญาณ และสปิริตที่หวังประโยชน์ส่วนรวมและประเทศชาติเป็นส�ำคัญ อันเป็นรากฐานสาคัญของระบอบประชาธิปไตย 40
IS AM ARE www.fosef.org
41 issue 122 march 2018
42 IS AM ARE www.fosef.org
ปฏิวัติความคิด เรื่องการผลิตข้าว
ข้ า วของไทย เป็ น พื ช อาหารประจ� ำ ชาติ ม าอย่ า งช้ า นาน เป็ น อาหารหลั ก ที่ ใ ช้ ใ นการบริ โ ภค อี ก ทั้ ง อาชี พ ต่ า งๆ ของคนไทยส่ ว นใหญ่ ป ระกอบอาชี พ ทางการเกษตร การท� ำ นาจึ ง เป็ น อาชี พ ของคนไทยมาตั้ ง แต่ อ ดี ต เพราะคนไทยกิ น ข้ า วเป็ น อาหารหลั ก ผู ้ ที่ ป ระกอบอาชี พ ท� ำ นา เรี ย กว่ า ชาวนา อาชี พ ชาวนาจึ ง เป็ น อาชี พ ที่ ส� ำ คั ญ เป็ น อาชี พ ที่ ผ ลิ ต ข้ า วเลี้ ย งคนในประเทศ จะเห็ น ได้ จ ากที่ พ วกเราทุ ก คนจะได้ ยิ น ค� ำ ว่ า “ชาวนาคื อ กระดู ก สั น หลั ง ของชาติ ” อยู ่ เ สมอ ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น การยกย่ อ งชาวนา พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ทรงมีพระเมตตาต่อชาวนาไทย ทรงทุ่มเทพระวรกายบ�ำเพ็ญ พระราชกรณียกิจในการการพัฒนาข้าวไทย รวมทั้งชีวิตความ เป็นอยู่ของชาวนา ทรงเปลี่ยนความทุกข์ยากล�ำบากแปรเปลี่ยน เป็นความสุขและอยู่แบบพอเพียงตลอดระยะเวลาที่ทรงครอง สิริราชสมบัติ ซึ่งเราจะเห็นได้จากที่พระองค์ทรงปฏิบัติพระราช กรณียกิจต่างๆ เกี่ยวกับข้าวและชาวนามากมาย จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ข้าวไทยได้ถูกวิกฤตการณ์ต่างๆ เข้ามาส่งผลกระทบอย่างมากมาย ไม่ว่าจะเป็นราคาน�้ำมันเชื้อ เพลิงที่ปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เกษตรกรจึงหันมาปลูกพืช พลังงานทดแทน ข้าวซึ่งเป็นอาหารหลักและส�ำคัญของประเทศ จึงมีราคาแพงขึ้นและเริ่มขาดแคลน อีกทั้งปัจจัยที่ส่งผลไม่ว่าจะ เป็นความต้องการบริโภคข้าวมีมากขึ้น รวมทั้งสภาวะโลกร้อน ชาวนาต้ อ งเผชิ ญ กั บ ความแปรปรวนของสภาพอากาศอย่ า ง รุนแรง ปัญหาจากภัยธรรมชาติภาวะความแห้งแล้ง รวมถึงภาวะ น�้ำท่วม และการผูกขาดของพ่อค้าคนกลางผู้ประกอบการค้าเคมี การเกษตร และปัจจัยในด้านอื่นๆอีกมากมาย จากวิก ฤตต่างๆเหล่านี้ ส่งผลให้ก�ำลังการผลิ ต เมล็ ด พันธุ์ข้าวที่มีคุณภาพของประเทศลดลงอย่างต่อเนื่อง ชาวนา ขาดแคลนเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดีในการน�ำมาเพาะปลูก เมล็ดพันธุ์ ข้าวที่น�ำมาปลูกไม่ได้มาตรฐาน สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ทรงห่วงใยพสกนิกรที่ประกอบอาชีพการท�ำนา และมีพระราช กระแสให้ส�ำนักงานมูลนิธิชัยพัฒนาช่วยเหลือเกษตรกรผู้ผลิต เมล็ดพันธุ์ข้าวทั่วประเทศ ซึ่งส�ำนักงานมูลนิธิชัยพัฒนาได้เริ่ม ให้การสนับสนุนกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดพิจิตร พิษณุโลก
การผลิ ต เมล็ ด พั น ธุ ์ ข ้ า วก็ ต ้ อ งค� ำ นึ ง ถึ ง คุ ณ ภาพ เป็ น ส� ำ คั ญ ไม่ ใ ช่ ผ ลิ ต ให้ ไ ด้ จ� ำ นวนมากๆ แต่ ไ ม่ มี คุ ณ ภาพ สิ่ ง เหล่ า นี้ ก็ จ ะส่ ง ผลให้ เ ห็ น ดั ง เช่ น ทุ ก วั น นี้ ต้ อ งมี ก ารศึ ก ษาวิ จั ย เรื่ อ งความต้ อ งการเมล็ ด พั น ธุ ์ ข้ า วของเกษตรกรว่ า มี ค วามต้ อ งการมากน้ อ ย เพี ย งใด เพื่ อ น� ำ ไปใช้ ใ นการวางแผนการผลิ ต ให้ เหมาะสม พะเยา สุโขทัย ลพบุรี สุรินทร์ สงขลา และเพชรบุรี ให้ด�ำเนิน การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี เพื่อให้เกษตรกรมีเมล็ดพันธุ์ข้าว พันธุ์ดีไว้ใช้ในการเพาะปลูกของตนเองเป็นล�ำดับแรก จากนั้น จึงขยายไปสู่กลุ่มเกษตรกรใกล้เคียง แล้วค่อยพัฒนาไปสู่การ ผลิตเชิงพาณิชย์ การด�ำเนินงานที่ผ่านมาส�ำนักงานมูลนิธิชัยพัฒนาได้ สนับสนุนและเน้นในเรื่อง “ร่วมกันคิด ร่วมกันท�ำ เมล็ดข้าว 43
issue 122 march 2018
พันธุ์ดี มีมาตรฐาน” เป็นแนวทางในการด�ำเนินงานของกลุ่ม เกษตรกรผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวของมูลนิธิชัยพัฒนา จากนั้น ในปี 2556 จึงได้จัดการเสวนากลุ่มเกษตรกรฯ ดังกล่าว ซึ่งการเสวนา กลุ่มในครั้งนี้ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากกลุ่มเกษตรกร ผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวของมูลนิธิชัยพัฒนา ท�ำให้เกษตรกรจาก แต่ละพื้นที่ได้มีโอกาสรวมตัวกันและส่วนราชการที่เกี่ยวข้องได้ สนับสนุนข้อมูลวิชาการ รวมทั้งเปิดเวทีให้ผู้เข้าร่วมเสวนาได้ซัก ถามข้อสงสัย ทั้งจากผู้แทนกลุ่มเกษตรกร เจ้าหน้าที่ มีการน�ำ เสนอประสบการณ์ และแลกเปลี่ยนความรู้ ข้อมูลข่าวสารอัน จะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาแนวทางการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ของมูลนิธิชัยพัฒนาให้ไปในทิศทางเดียวกัน มีคุณภาพ และได้ มาตรฐานตามความเหมาะสมของแต่ละภูมิสังคม ในปี 2559 ชาวนาได้ ป ระสบกั บ วิ ก ฤตภั ย แล้ ง อย่ า ง รุนแรง ได้มีการประกาศจากรัฐบาลเพื่อขอความร่วมมือในการ งดการท�ำนาเนื่องจากทรัพยากรน�้ำมีไม่เพียงพอ ส�ำนักงานมูล นิชัยพัฒนาจึงได้จัดเสวนาในหัวข้อ “ปฏิวัติความคิด เรื่องการ ผลิตข้าว” เพื่อน�ำกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี ของมูลนิธิชัยพัฒนา และกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตข้าวรายใหม่ๆ ที่มีความสนใจมาต่อยอด แลกเปลี่ยนความรู้ ข้อมูลข่าวสาร ประสบการณ์ในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ความส�ำเร็จที่เกิดขึ้น
และขยายกลุ่มเกษตรกรเพิ่มมากขึ้น ซึ่งผลส�ำเร็จที่ได้จากการ เสวนานั้น ท�ำให้รู้ถึงปัจจัยต่างๆ ทั้งภายนอกและภายในที่ส่ง ผลกระทบต่อการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว อันจะน�ำไปสู่แนวทาง แก้ไข วิธีการหรือกระบวนการในการจัดการการผลิตการพัฒนา ปรับปรุงให้ได้เมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี มีมาตรฐาน และการขยาย กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตของมูลนิธิชัยพัฒนา ต่อไป นายสุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา ได้ ให้แนวทางในการพัฒนาการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดีไว้ ดังนี้ 44
IS AM ARE www.fosef.org
“ปัจจุบันเป็นยุคสมัยที่ต้องเปลี่ยนแนวคิดจากเชิงปริมาณมาสู่ เชิงคุณภาพ ดังนั้น การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวก็ต้องค�ำนึงถึงคุณภาพ เป็นส�ำคัญ ไม่ใช่ผลิตให้ได้จ�ำนวนมากๆ แต่ไม่มีคุณภาพ สิ่งเหล่า นี้ก็จะส่งผลให้เห็นดังเช่นทุกวันนี้ ต้องมีการศึกษาวิจัยเรื่องความ ต้องการเมล็ดพันธุ์ข้าวของเกษตรกรว่ามีความต้องการมากน้อย เพียงใด เพื่อน�ำไปใช้ในการวางแผนการผลิตให้เหมาะสม รวม ทั้งเป็นการป้องกันราคาเมล็ดพันธุ์ข้าวตกต�่ำอันเป็นผลเนื่อง มาจากมีปริมาณมากเกินความต้องการตามหลักเศรษฐศาสตร์ การเริ่มต้นของกลุ่มเกษตรกรแต่ละกลุ่มเป็นการเริ่มต้นจาก จุดเดียวกัน คือ ความทุกข์ของตัวเอง ทุกข์ของเพื่อนพ้องที่อยู่ ร่วมกันในชุมชน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องข้าวดีด ข้าวเด้ง เมล็ดพันธุ์ไม่ ได้มาตรฐาน หรือแม้กระทั่งผลจากการเกิดน�้ำท่วม มีการรวม กลุ่มกันท�ำงานจนกลายมาเป็นกลุ่มเกษตรกรที่มีความเข้มแข็ง จนประสบความส�ำเร็จ เป็นตัวอย่างให้แก่เกษตรกรกลุ่มอื่นๆ ได้จนทุกวันนี้ ก็คงจะเป็นด้วยการที่พวกเราได้น้อมน�ำเอาพระ ราชด�ำริของพระบาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว “รู้ รัก สามัคคี” มา ใช้เป็นพื้นฐานในการด�ำเนินงาน ซึ่งการด�ำเนินงานในระยะต่อ ไปหากได้น้อมน�ำเอาแนวพระราชด�ำรินี้มาใช้ ก็จะท�ำให้กลุ่ม เกษตรกรได้พัฒนาดียิ่งขึ้นเป็นล�ำดับได้ และในการด�ำเนินงาน ของมูลนิธิชัยพัฒนาจะเป็นการเสนอทางเลือกในสิ่งต่างๆ ที่น่า จะเกิดประโยชน์และให้ผลดีแก่เกษตรกร ส่วนการที่จะน�ำเอา สิ่งที่มูลนิธิชัยพัฒนาเสนอไปปฏิบัติให้เกิดประโยชน์นั้น ต้องเป็น เกษตรกรที่ต้องเป็นคนเลือกเอง”
พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ย เดช ทรงมี พ ระเมตตาต่ อ ชาวนาไทย ทรงทุ ่ ม เทพระ วรกายบ� ำ เพ็ ญ พระราชกรณี ย กิ จ ในการการพั ฒ นา ข้ า วไทย รวมทั้ ง ชี วิ ต ความเป็ น อยู ่ ข องชาวนา อี ก ไม่ น าน ชาวนาไทยจะมี เ มล็ ด พั น ธุ ์ ข ้ า วพั น ธุ ์ ดี มี มาตรฐานไว้ปลูกและขยายผลออกไปให้กว้างขวางยิ่งขึ้น โดยมี มูลนิธิชัยพัฒนาร่วมเป็นหนึ่งก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนาการผลิต เมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี ข้าวของคนไทย เพื่อให้คนไทยได้มีข้าว ดีๆ ไว้บริโภคชั่วลูกชั่วหลาน สมดังพระราชประสงค์ในพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เรื่อง สรรศุภร วิชพันธุ์
45 issue 122 march 2018
46 IS AM ARE www.fosef.org
Rice is a long-time national pride and staple of Thailand. We do not only eat rice but rice farming is also a source of livelihoods for most people. This has been ongoing since ancient times because Thais eat rice as a main dish. We call farmers “Chao Na” and Chao Na are the hearts and soul of the country because they produce food for the citizens. All of us are all familiar with the saying, “farmers are the backbones of the country”, and indeed, they should be honoured. Foundation to assist rice seed producers around the country. Thus, we began to support farmer groups in Phichit, Phitsanulok, Sukothai, Lopburi, Surin, Songkhla and Phetchaburi, in producing high-quality rice seeds. The first objective was to ensure that farmers have high-quality rice seeds for their own farming. When this is achieved, support can be extended to nearby farmer groups and ultimately, commercial production. In 2013, the Chaipattana Foundation organized His Majesty King Bhumibol Adulyadej cared a a seminar for rice seed producing farmers under the great deal about Thai farmers. His Majesty’s life was Foundation’s support, titled “Think Together & Work devoted to developing and improving not only Thai Together for High Quality Rice Seeds”. The seminar rice but also the lives of Thai farmers. During His was very well received and each farmer group sent Majesty’s reign, their hardship was transformed into their representatives to participate in the event. well-being on the concept of sufficiency. We witnessed Technical information was supported by concerned this through numerous royal activities related to rice government agencies. A Q&A session was also arranged for both farmers and officials to resolve their queries. and farmers. Over the years, Thai rice has undergone many There was also a knowledge and experience exchange crises. For instance, because of a sustained increase in session where useful information and tips on rice seed oil price, farmers switched to grow alternative energy production was shared to ensure that rice seed procrops. As a result, rice became more expensive and duction under the Chaipattana Foundation’s support scarce. Demand for rice also increased. Meanwhile, was aligned, standardized, high-quality and appropriglobal warming resulted in severe weather conditions, ate to each region’s socio-economic contexts. natural disasters, drought and flood. Furthermore, monopoly was at play, whether concerning middle men or the agricultural chemical industry. These crises are causing a constant decline in high-quality rice seeds. With a lack of high-quality rice seeds, farmers resort to under-standard ones. Gravely concerned for the farmers, Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn requested the Chaipattana 47 issue 122 march 2018
Today, there is an idea shift to focus on qualitative instead of quantitative. Therefore, rice seed production must emphasize on quality. We cannot have quantity without quality or a negative impact will result. We need to conduct research to find out how much the demand for rice seeds is, so that we can adjust our planning appropriately. This will, in turn, prevent a fall in price that result of an oversupply according to economic principles. “Each farmer group had the same starting point – our own hardship and the hardship of people in our community. Causes of such hardship can be numerous, for instance, low-standard seeds or a drought. This hardship brought us together to form strong and successful farmer groups. Today, we are role models for other farmer groups. This is probably because we have applied His Majesty’s teaching on “knowledge, love and unity” (roo rak samakki) as a founding principle of our efforts. If we continue on, we can improve further. When the Chaipattana Foundation conducts our activities, we present farmers with alternatives that we believe are beneficial to them. Whether the farmers apply our recommendations or not, they have to decide for themselves.” Translated by Vararat Khemangkorn
In 2016, farmers encountered a severe drought and the government requested cooperation from farmers to take a break from farming due to inadequate water supply. In this connection, the Chaipattana Foundation arranged a seminar, titled “Rethinking Rice Farming”, to bring together rice seed producers under the Chaipattana Foundation and new farmer groups to share knowledge, news and experience in rice seed production. The seminar allowed all parties to better understand different internal and external factors that affect rice seed production, leading to recommendations on potential solutions to improve production method and process. This would ensure a sustained availability of high-quality rice seeds and expansion in farmer groups. In this connection, Dr. Sumet Tantivejkul, Secretary General of the Chaipattana Foundation, gave the following guidelines on rice seed quality improvement. 48
IS AM ARE www.fosef.org
49 issue 122 march 2018
สิ่งที่จัดว่าเป็ นศาสนสถาน และที่เกี่ยวข้องกับศาสนสถาน 50 IS AM ARE www.fosef.org
สารานุ ก รมไทยส� ำ หรั บ เยาวชน ศาลาบาตร เป็นศาลาที่มีลักษณะเป็นโรงยาว มีโต๊ะไม้ ส�ำหรับวางบาตรเรียงกันได้หลายลูกเป็นแนวยาว เมื่อพระมา เจริญพระพุทธมนต์จะตั้งบาตรบนศาลาบาตร เพื่อให้ประชาชน ตักบาตรก่อนที่ศิษย์วัดจะน�ำไปประเคนถวายพระภายหลัง ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล ปัจจุบันอาจเป็นศาลาอเนกประสงค์ ใช้เป็นทั้งที่แสดงธรรม ฟังธรรม สวดพุทธมนต์ ท�ำบุญเลี้ยงพระ และอื่นๆ นอกจากนี้มีสถานที่ตั้งสิ่งบอกเวลาให้สัญญาณในการ ท�ำสังฆกรรมหรือกิจกรรมภายในวัดอย่างพร้อมเพรียงกันได้แก่ หอกลองหอระฆัง
สิ่ ง ที่ จั ด ว่ า เป็ น ศาสนสถานและที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ศาสนสถานซึ่งมีอยู่ในวัดนั้นมีจ�ำนวนมาก อาจจัดเป็นหมวด หมู่ได้ ดังนี้ ๑. หมวดสถานที่ อาจจัดแบ่งเป็นประเภทต่างๆ ได้ หลายประเภท ดังนี้ ปู ช นี ย สถาน เป็ น สถานที่ บู ช ากราบไหว้ มี ค วาม ส� ำ คั ญ สู ง ส่ ง และศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ มี สิ่ ง ปลู ก สร้ า งที่ ส ร้ า งขึ้ น เพื่ อ เป็ น ที่ประดิษฐานสิ่งที่เกี่ยวเนื่องกับพระพุทธเจ้า เช่น พระเจดีย์ พระปรางค์ ซึ่งประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ปูชนียสถาน ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุนี้ บางครั้งเรียกว่าพระสถูปเจดีย์ มณฑปพระพุ ท ธบาทการบู ช าปู ช นี ย สถานอาจในธู ป เที ย น ดอกไม้ การเวียนประทักษิณา (เดินเวียนขวา) การสวดมนต์ ภาวนา ปูชนยสถานซึ่งพบเห็นได้เสมอตามวัดทั้งในกรุงเทพฯ หรือตามจังหวัดเกือบทุกภาค มักสร้างให้มีรูปทรงแตกต่างกัน หลายแบบ เช่น เจดีย์ทรงกรวยกลม ทรงกรวยเหลี่ยม ทรง ดอกบัวตูม หรือทรงพุ่มข้าวบิณฑ์
สถานที่ ส� ำ หรั บ สงฆ์ เช่ น กุฏิ เป็นเรือนหรือตึกส�ำหรับพระภิกษุสามเณรอยู่ บาง วัดอาจมีเว็จกุฏิ (ส้วม) แยกต่างหากจากกุฏิ หอฉัน เป็นอาคารส�ำหรับพระภิกษุสามเณรนัง่ ฉันอาหาร และท�ำวัตรสวดมนต์ เป็นต้น ในวัดใหญ่ๆ บางวัดมีโรงเรียนพระปริยัติธรรมส�ำหรับ สอนพระและสามเณร
ศาสนสถานที่ ส� ำ คั ญ ที่ มี เ กื อ บทุ ก วั ด คื อ โบสถ์ มีชื่อเต็มว่า โรงอุโบสถและเรียกสั้นๆ ว่าอุโบสถ เป็นสถานที่ส�ำหรับพระสงฆ์ใช้ประชุมท�ำสังฆกรรม เช่น สวด ปาติโมกข์ อุปสมบท และศาสนพิธีต่างๆ วิหาร เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปและอาจมีสิ่งศักดิ์ สิทธิ์อื่นๆ เพื่อให้ประชาชนเข้าไปเคารพบูชา นอกจากนี้วัดหลายๆ วัด มี หอไตร เป็นหอ (อาคารหรือเรือน) ส�ำหรับเก็บพระ ไตรปิฎก ระเบียง เป็นโรงแถวที่ล้อมรอบโบสถ์หรือวิหาร อาจใช้ เป็นทางเดิน บางแห่งใช้เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูป หรือใช้ จัดกิจกรรมอื่น เช่น ถวายภัตตาหารแด่พระสงฆ์ มีรูปแบบต่างๆ กัน เช่น ระเบียงเหลี่ยม ระเบียงกลม ก�ำแพงแก้ว เป็นก�ำแพงเตี้ยๆ ที่ล้อมโบสถ์ วิหาร หรือ เจดีย์ เป็นต้น ศาลา มี ห ลายประเภท เช่ น ศาลาราย เป็นศาลาที่สร้างเป็นหลังๆ เรียงเป็นแนวรอบ โบสถ์ หรือวิหาร เป็นที่ให้ประชาชนนั่ง อาจใช้เป็นที่นั่งฟังธรรม สวดมนต์ หรือพักผ่อน ศาลาการเปรียญ เป็นศาลาส�ำหรับพระสงฆ์แสดงธรรม 51
issue 122 march 2018
นอกจากนี้วัดหลายแห่งมีฌาปนสถาน (เมรุ) ซึ่งเป็นที่ เผาศพพระและฆราวาส รวมทั้งมีศาลาส�ำหรับตั้งศพและสวด อภิธรรม ๒. หมวดวั ต ถุ คื อ สิ่ ง ที่ บู ช ากราบไหว้ ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น สิ่งส�ำคัญสูงส่ง และศักดิ์สิทธิ์เช่นเดียวกับปูชนียสถาน ได้แก่ พระพุ ท ธรู ป ปางต่ า งๆ ภาพพระบฏ พระพุ ท ธบาทจ� ำ ลอง พระธรรมจักร จารึกพระธรรม พระไตรปิฎก คัมภีร์พระธรรม ศาสนวัตถุอื่นๆ ซึ่งได้แก่ สิ่งที่มีค่าประจ�ำวัด เช่น หนังสือ นนักธรรม หนังสือบาลี ตู้พระไตรปิฎก ตู้พระธรรม องค์ประกอบเหล่านี้เป็นภาพรวมของวัดโดยเฉพาะวัด ไทยแต่มิได้หมายความว่าทุกวัดจะมีองค์ประกอบเหล่านี้ครบ ถ้วนสมบูรณ์ทั้งหมด แต่ละวัดจะมีมากน้อยต่างกัน และที่มีอยู่ ก็มีขนาดรูปทรงตลอดถึงความงดงามต่างกัน ตามสถานะของวัด และตามท้องถิ่นที่วัดนั้นๆ ตั้งอยู่ แต่องค์ประกอบหลักที่จะมีด้วย กันทุกวัดก็คือ กุฏิกับศาลา เพราะเป็นที่จ�ำเป็นส�ำหรับพระสงฆ์ พ�ำนักและเป็นที่บ�ำเพ็ญบุญของชาวบ้าน ดังนั้นจึงปรากฏว่าวัด จ�ำนวนไม่น้อยที่มีเพียงกุฏิกับศาลาเท่านั้นอยู่ในบริเวณวัด
ศิ ล ปกรรมภายในวั ด วั ด ไทยนั้ น เป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ ชั ด กั น มานานแล้ ว ว่ า เป็ น ที่ รวมของศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ เป็นแหล่งให้ก�ำเนิดและ เป็นแหล่งอาศัยของศิลปะและวัฒนธรรมที่สามารถอวดชาว โลกได้อย่างสง่าผ่าเผย และอย่างมีศักดิ์ศรีไม้แพ้ชาติใดๆ ใน โลก เคียงคู่อยู่กับวัดซึ่งเด่นตระหง่านอยู่ท่ามกลางพระมหานคร และต่างจังหวัดหลายแห่ง ดึงดูดให้ชาวโลกมาท่องเที่ยว มา สัมผัสกับความหลากหลายของศิลปะที่มีความโดดเด่นเฉพาะ ตัวของวัด กลายเป็นมรดกที่บรรพบุรุษรังสรรค์ไว้ให้ลูกหลาน ได้ “ขาย” โดยไม่ต้องเสียของคือได้แต่ภาพและความประทับ ใจกลับไป ส่วน “ของ” คือศิลปะนั้นยังเป็น “จุดขาย” ให้แก่ผู้ อื่นได้ต่อไปโดยไม่มีขีดจ�ำกัด หากปราศจากวัดแล้วประเทศไทย คงลดความส�ำคัญและความโดดเด่นด้านการท่องเที่ยวไปไม่ น้อยเลย 52 IS AM ARE www.fosef.org
สถาปัตยกรรม เป็นส่วนหนึ่งของศิลปะ คือ เป็นศิลปะและวิทยาเกี่ยวกับงานก่อสร้างที่ประกอบด้วยศิลปะลักษณะ วัด ไทยมีเอกลักษณ์ด้านสถาปัตยกรรมเฉพาะตัว เพียงได้เห็นอาคารหรือถาวรวัตถุในบริเวณนั้นก็ทราบได้ทันทีว่าเป็นวัดไทย แม้จะมี ศิลปะด้านสถาปัตยกรรมแตกต่างกันไปในแต่ละวัดแต่ละท้องที่ก็ตาม แต่โบราณมาถือเป็นประเพณีนิยมว่า สิ่งปลูกสร้างในวัดจะ ต้องมีสถาปัตยกรรมอย่างนั้นอย่างนี้ เช่น โบสถ์จะต้องมีช่อฟ้า มีใบระกาแบบนี้ พระสถูปเจดีย์จะต้องมีรูปทรงแบบนี้ ศาลาจะต้อง เป็นอย่างนี้ ส่วนความงดงามทางด้านวิจิตรศิลป์นั้น เป็นองค์ประกอบให้สถาปัตยกรรมโดดเด่นขึ้น ด้านประติมากรรม เป็นศิลปกรรมซึ่งโดดเด่นไม่ด้อยกว่าด้านสถาปัตยกรรม คือ ศิลปะด้านการแกะสลักไม้ การแกะสลัก หิน การหล่อโลหะเป็นรูปต่างๆ เช่น พระพุทธรูป โดยเฉพาะพระพุทธรูปนั้นเป็นที่ยอมรับกันทั่วโลกว่า พระพุทธรูปในประเทศไทย มีความงดงามเป็นเยี่ยมและแฝงด้วยอ�ำนาจศักดิ์สิทธิ์ ดึงดูดตาดึงดูดใจให้ศรัทธาเลื่อมใส ให้เยือกเย็น และให้เกิดปีติอิ่มเอิบเมื่อได้ สัมผัสด้วยตา เช่น พระพุทธชินราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก ทั้งพระพุทธรูปนั้นก็ยังมีรูปแบบที่เรียกว่า ปาง อีกหลายสิบแบบ และยังมีรูปแบบที่เป็นศิลปะเฉพาะแบ่งไปตามยุคสมัยอีก เช่น เป็นพระพุทธรูปสมัยทวาราวดี สมัยเชียงแสน สมัยสุโขทัย สมัยอู่ทอง สมัยรัตนโกสินทร์ ซึ่งแสดงถึงภูมิปัญญาด้านประติมากรของคนไทยแต่ละยุคสมัยได้เป็นอย่างดี (ติดตามตอนต่อไป)
53 issue 122 march 2018
พระมหากษัตริยนักพัฒนา
่ น ทรงน�ำสัจธรรมพัฒนาไทยอย่างยังยื ความส� ำ เร็ จ ของการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น ตามแนวพระราชด� ำ ริ ใ นพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว เกิ ด ขึ้ น จาก หลั ก และวิ ธี ก ารทรงงานของพระองค์ ที่ ท รงยึ ด มั่ น ปฏิ บั ติ ต ลอดมา เห็ น ได้ จ ากพระราชจริ ย าวั ต รในการ ทรงงานของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงเป็ น แบบอย่ า งของนั ก วางแผนโครงการที่ ท รงใช้ วิ ธี ก าร หาข้ อ มู ล และข้ อ เท็ จ จริ ง ต่ า งๆ ด้ ว ยการศึ ก ษาวิ จั ย เบื้ อ งต้ น ดั ง มี แ นวทางปฏิ บั ติ ที่ เ ริ่ ม จากทรงศึ ก ษาข้ อ มู ล ต่ า งๆ เป็ น ขั้ น ตอนอย่ า งละเอี ย ดในการวางแผนโครงการใดโครงการหนึ่ ง ก่ อ นจะพระราชทานพระราชด� ำ ริ นั้ น ๆ ซึ่ ง มี ขั้ น ตอนโดยสรุ ป คื อ 54 IS AM ARE www.fosef.org
สั จ ธรรมแห่ ง แนวพระราชด� ำ ริ • การศึ ก ษาข้ อ มู ล ก่ อ นเสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น ไปยั ง พื้นทีใดๆ จะทรงศึกษาเอกสาร ข้อมูลแผนที่ต่างๆ เพื่อให้ทราบ ถึงสภาพในท้องถิ่นนั้นๆ อย่างละเอียดก่อนเสมอ • การหาข้อมูลในพื้นที่ เมื่อเสด็จฯ ถึงพื้นที่นั้นๆ จะทรง หาข้อมูล รายละเอียดเพิ่มเติมอีกครั้งหนึ่ง เพื่อให้ได้ข้อเท็จจริง และข้อมูลล่าสุด เช่น สอบถามประชาชนถึงการประกอบอาชีพ สภาพหมู่บ้าน ภูมิประเทศ ดินฟ้าอากาศ สภาพแหล่งน�้ำ ฯลฯ ส�ำรวจพื้นที่ที่เสด็จฯ โดยทอดพระเนตรพื้นที่จริงที่ทรงคาดว่า ควรด�ำเนินการพัฒนาได้ หรือสอบถามเจ้าหน้าที่ฝ่ายต่างๆ ถึง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้พร้อมทั้งทรงค�ำนวณวิเคราะห์ ด้วยว่า เมื่อด�ำเนินการแล้วจะได้ประโยชน์อย่างไร คุ้มค่ากับ การลงทุนหรือไม่ เพียงใด และอย่างไร แล้วจึงพระราชทานพระ ราชด�ำริให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องไปพิจราณาในรายละเอียดตาม ขั้นตอนต่อไป นอกจากนั้น เมื่อได้จัดท�ำเป็นโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริแล้ว จะเสด็จฯ กลับไปยังพื้นที่โครงการนั้นๆ ทุก ครั้งที่มีพระราชวโรกาส เพื่อทอดพระเนตรความก้าวหน้าของ โครงการ และทรงติ ด ตามผล หากเกิ ด ปั ญ หาและอุ ป สรรค ต่างๆ พระองค์จะทรงแนะน�ำแนวทางในการแก้ไขปัญหานั้นๆ ให้ส�ำเร็จลุล่วงด้วย โครงการอันเนื่องมากจากพระราชด�ำริที่พระราชทานแก่ ประชาชนทั่วทั้งประเทศนั้น เป็นจุดเริ่มต้นของความพยายาม ในการด�ำเนินการ ทุกวิถีทางเพื่อที่จะให้พสกนิกรของพระองค์ มี ค วามเป็ น อยู ่ ที่ ดี ขึ้ น ด้ ว ยเหตุ นี้ พระองค์ จึ ง ทรงมี พ ระราช ปรารถนาที่จะเสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรทุกแห่ง ไม่ว่าจะเป็นป่าลึก หรือขุนเขาทุรกันดาร เพื่อทรงสัมผัสชีวิต ความเป็นอยู่ของพสกนิกรอย่างใกล้ชิด และทรงทราบถึงความ เดือดร้อนตลอดจนความต้องการของราษฎร เพื่อที่จะทรงช่วย เหลือปัดเป่าหรือสนองความต้องการของเขาเหล่านั้น ดังปรากฏชัดในพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวที่ทรงมุ่งมั่นพัฒนาประชาชนและประเทศมาเป็น เวลายาวนาน โดยมีสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ทรงงานเคียงข้างพระองค์ ด้วยพระราชหฤทัยเปี่ยมล้นด้วยพระเมตตา ซี่งเป็นที่ประจักษ์ แก่ชาวไทยและชาวโลกว่า พระองค์ทรง“พระมหากษัตริย์นัก พัฒนา” อย่างแท้จริง ด้วยแนวพระราชด�ำริการทรงงานนัก พัฒนาที่ล้วนเป็นสัจธรรม โดยมีเป้าหมายหลักคือพัฒนาและ ยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนชาวไทย พร้อมทั้งอนุรักษ์และ ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้คงอยู่อย่างยั่งยืน
การทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ก่อให้ เกิดโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริมากมายถึง 4,350 โครงการ ซึ่งล้วนสะท้อนให้เห็นถึงสัจธรรมแห่งแนวพระราชด�ำริ ที่ได้น�ำประโยชน์สุขสู่ประชาชนและความเจริญก้าวหน้าของ ประเทศอย่ า งยั่ ง ยื น เมื่ อ ประมวลโดยสั ง เขปแล้ ว มี ห ลั ก กา รส�ำคัญๆ ที่พระองค์ทรงยึดหลักในการด�ำริและพระราชทาน แนวพระราชด�ำริ โดยแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆ รวม ๕ สัจธรรม ได้แก่ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา... เพื่อตอบสนองความต้องการของ ประชาชนเรียนรู้จากหลักธรรมชาติ บริหารแบบบูรณาการ มุ่ง ผลสัมฤทธิ์ และชัยชนะแห่งการพัฒนา โดยแต่ละหลักการมีแนว พระราชด�ำริ ดังนี้ 1. “เข้ า ใจ เข้ า ถึ ง พั ฒ นา” เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงทุ ่ ม เทเวลาเกื อ บ ทั้งหมดให้กับการปฏิบัติพระราชกรณียกิจเพื่อราษฎร ดังที่ได้ พระราชทานสัมภาษณ์แก่หนังสือพิมพ์ต่างประเทศว่า “การเป็นพระเจ้าแผ่นดินนั้น ต้องเป็นตลอด 24 ชั่วโมง ไม่มีเวลาหยุดได้” 55
issue 122 march 2018
พัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ให้พ้นจากความ ทุกข์ยาก โดยทรงใช้หลัก “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” ในการทรง งานมาโดยตลอด หลักการของ “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” นี้จะต้องด�ำเนิน ในลักษณะของสามห่วงคล้องกัน ถ้าห่วงหนึ่งห่วงใดขาดออกไป การพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาก็จะไม่มีประสิทธิภาพโดย ดร.สุเมธ ตั น ติ เวชกุ ล เลขาธิ ก ารมู ล นิ ธิ ชั ย พั ฒ นา ผู ้ ถ วายงานใกล้ ชิ ด เบื้องพระยุคลบาทตั้งแต่ปี 2524 ได้กล่าวไว้ในบทความเรื่อง “ประสบการณ์สนองพระราชด�ำริ เรียนรู้หลักการทรงงานใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” ในหนังสือ “การทรงงานพัฒนา ประเทศของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” ความว่า “ทรงใช้หลัก ‘เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา’ นั่นคือก่อนจะ ท�ำอะไร ต้องมีความเข้าใจเสียก่อนเข้าใจภูมิประเทศ เข้าใจ คนในหลักหลายปัญหา ทั้งด้ายกายภาพ ด้านจารีตประเพณี และวัฒนธรรมเป็นต้น และระหว่างการด�ำเนินการนั้น จะต้อง ท�ำให้ผู้ที่เราจะไปท�ำงานกับเขา หรือท�ำงานให้นั้น ‘เข้าใจ’ เรา ด้วย เพราะถ้าเราเข้าใจแต่เข้าฝ่ายเดียวโดยที่เขาไม่เข้าใจเรา
มิ ใ ช่ เ พี ย งเท่ า นั้ น พระองค์ ยั ง ทรงค� ำ นึ ง ถึ ง ความ ต้ อ งการของประชาชนเป็ น ส� ำ คั ญ ดั ง ค� ำ ตอบข้ อ ซั ก ถามของ ม.ร.ว.ทองน้อย ทองใหญ่ รองราชเลขาธิการและวิทยากรพิเศษ ส� ำ นั ก ราชเลขาธิ ก ารในช่ ว งที่ เ ดิ น ทางไปบรรยายพิ เ ศษเรื่ อ ง เกี่ยวกับประเทศไทย โดยเฉพาะสถาบันพระมหากษัตริย์และ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันกับประเทศไทย ที่ นครลอสแองเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อ เดือนพฤศจิกายน 2530 ความตอนหนึ่งว่า “...ระบอบพระมหากษัตริย์ของไทยนั้นก็คือ ระบอบ ความต้องการของประชาชนประชาชนจะต้องการให้พระมหา กษัตริย์ไปทางไหน ระบอบพระมหากษัตริย์ก็จะตามไปทาง นั้น...” “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” หัวใจของหลักการทรงงาน พระราชกรณียกิจทัง้ ปวงทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงปฏิบัติมาตลอดกว่า 67 ปีนั้นจึงเป็นการทรงงานเพื่อตอบ สนองความต้องการของประชาชน โดยเฉพาะหมู่มวลพสกนิกร ยากไร้และด้อยโอกาสที่ยังขาดปัจจัยสี่ในการด�ำรงชีวิต ทั้งนี้เพื่อ 56
IS AM ARE www.fosef.org
57 issue 122 march 2018
ประโยชน์คงจะไม่เกิดขึ้นตามที่เรามุ่งหวังไว้ ‘เข้าถึง’ ก็เช่น กัน เมื่อรู้ปัญหาแล้ว เข้าใจแล้ว ก็ต้องเข้าถึงเพื่อให้น�ำไปสู่การ ปฏิบัติให้ได้” ดังนั้น ผู้ที่จะปฏิบัติงานพัฒนาจึงต้องศึกษาอย่างลึก ซึ้งเพื่อให้เข้าใจความหมายของค�ำว่า “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” เพื่อให้สามารถปฏิบัติภารกิจการพัฒนาในขั้นต่อไปได้อย่างถูก ต้อง ดังนี้ “เข้ า ใจ” คื อ การท� ำ อะไรต้ อ งมี ค วามเข้ า ใจหรื อ เกิ ด ปัญญารู้ข้อมูลพื้นฐานหรือความจริงทั้งหมดก่อน ในทุกมิติทั้ง ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ สภาพสังคม วัฒนธรรม วิถีชีวิต การ ค้นหารากของปัญหาและความต้องการที่แท้จริงของชุมชน ซึ่ง ต้องอาศัยการแสวงหาความรู้ เช่น การเข้าไปพูดคุยสร้างความ คุ้นเคย คลุกคลีกับคนในพื้นที่การวิจัย เก็บรวบรวมข้อมูลอย่าง รอบด้านจากคนในพื้นที่ที่ประสบปัญหาจริง และไม่ได้หมาย เพียงถึงการที่ข้าราชการต้องเข้าใจชาวบ้านในพื้นที่เท่านั้น แต่ หมายรวมถึงข้าราชการผู้ปฏิบัติต้องท�ำให้บรรดาชาวบ้านใน พื้นที่เข้าใจข้าราชการผู้ปฏิบัติเข้าใจการท�ำงาน เข้าใจประโยชน์ “เข้าถึง” เป็นเรื่องการสื่อสาร และสร้างการมีส่วนร่วม โภคผล ข้อดีข้อเสียในฐานะผู้รับผลกระทบ ผู้รับบริการและผู้มี โดยมุ่งสื่อสารสร้างความเข้าใจและความมั่นใจกับชุมชน ร่วม ส่วนได้ส่วนเสียด้วย กันวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของชุมชน และให้ชุมชน มีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนามากที่สุด โดยผู้พัฒนาจะต้องมี จิตใจหรือรู้สึกถึงปัญหาความทุกข์ความเจ็บปวดของคนในพื้นที่ และเกิดส�ำนึกร่วมฝ่าฟันปัญหาต่างๆ ไปด้วยกัน โดยยึดมั่นใน ความจริงที่ว่าไม่ว่ามนุษย์จะแตกต่างทางเชื้อชาติ สีผิว ภาษา ศาสนา วัฒนธรรม แต่เราทุกคนเป็นมนุษย์เหมือนกัน นอกจาก นี้ผู้ปฏิบัติต้องเข้าถึง “ใจ” คืออยู่ในใจของชาวบ้านในพื้นที่ อย่างประทับใจในความถูกต้องดีงามปฏิสัมพันธ์เป็นไปอย่าง เหมาะสม ถูกต้องตามขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม และจารีต ประเพณี บนพื้นฐานของการให้เกียรติและให้อภัยซึ่งกันและ กัน เป็นขั้นตอนที่ต้องใช้เทคนิควิธีที่แยบยล ผู้น�ำองค์กรต้องเข้า ร่วมกิจกรรมกับผู้ร่วมงานในลักษณะ “คุณเอื้อ” “คุณอ�ำนวย” หากมีปัญหาอุปสรรคก็พร้อมที่จะร่วมมือแก้ไข ไม่ใช่หลีกหนี หรือปล่อยให้เป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ร่วมงาน “พัฒนา” คือการใช้ทักษะการบริหารจัดการที่สามารถ รวมปัจจัยต่างๆ เช่น ทุน คน องค์ความรู้ เทคโนโลยี ศาสนา วัฒนธรรม มาช่วยพัฒนาคน สังคม และประเทศให้ดีขึ้นเจริญ ขึ้น การพัฒนาที่ถูกต้องจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีความเข้าใจที่ถูก ต้องเป็นพื้นฐาน และมีการเข้าถึงเป็นพลังขับเคลื่อนท�ำให้เกิด การพัฒนาแบบมีส่วนร่วม ตอบสนองความต้องการที่แท้จริง ของชุมชน และไม่ได้จ�ำกัดเพียงการพัฒนาวัตถุหรือการท�ำให้ เกิดบริโภคนิยม แต่ต้องเป็นการพัฒนาให้เหมาะสมกับบริบท 58 IS AM ARE www.fosef.org
และความต้องการอย่างแท้จริง ด้วยการด�ำเนินการอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อเสริมสร้างท�ำให้เจริญ หรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขไปในทาง ที่ดีขึ้น ด้วยมาตรการที่ถูกต้องตามหลักวิชา ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อให้ผลของการพัฒนาที่ท�ำนั้นเกิดประโยชน์สูงสุด และจะ ละเลยสิ่งที่ส�ำคัญที่สุดคือ การพัฒนา “จิตใจ” ของทั้งข้าราชการและชาวบ้านไม่ได้ การตอบสนองความต้องการของประชาชนตามหลักการ “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” ดังกล่าว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงให้ค�ำนึงถึงสภาพภูมิประเทศและสังคมวิทยา หรือที่ทรงเรียกว่า “ภูมิสังคม” พร้อมกับ “มุ่งพัฒนาคน” เพื่อให้การพัฒนา เป็นการ “ระเบิดจากข้างใน” โดยการสร้างความเข้มแข็งให้คนในชุมชนมีสภาพพร้อมที่จะรับการพัฒนา หรือปรับตัวได้ทันกับการ เปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ ทรงให้ยึดหลัก “การมีส่วนร่วม” ด้วยการเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้ ร่วมกันแสดงความคิดเห็นโดยทรงให้ถือ “ประโยชน์ส่วนรวม” เป็นสิ่งส�ำคัญในการด�ำเนินงานต่างๆ เพื่อตอบสนองความต้องการ ของประชาชนโดยรวมและพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้นต่อไป (ติดตามตอนต่อไป)
59 issue 122 march 2018
ค�ำสั่งสอน “ไม่เพียงพอ” และ ค�ำสั่งสอน “เพียงพอ” พระนิพนธ์ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก 60 IS AM ARE www.fosef.org
หลั ก ธรรมแห่ ง ความพอเพี ย ง
ค� ำ ว่ า ศาสนาค� ำ นี้ เ ป็ น ค� ำ ดึ ก ด� ำ บรรพ์ ที่ ยั ง มี ชี วิ ต อยู่ เพราะตามหลักฐานปรากฏว่า ได้พูดกันมาตั้งแต่ก่อน พระพุทธศาสนาเกิดขึ้นนานไกลและยังใช้พูดกันต่อๆ มาอยู่ จนถึงบัดนี้ บุ พ พศานา ในภาษามคธว่า สาสนะ ในภาษาสันสกฤตว่า ศาสนะ ใน ภาษาไทยน�ำมาใช้ว่า ศาสนา แปลว่า ค�ำสั่งสอน การสั่งสอน ค�ำ แปลนี้ถึงยังไม่หมดความหมาย ก็ได้ความหมายที่ส�ำคัญ ซึ่งอาจ อธิบายให้กว้างครอบคลุมความหมายทั้งหมดได้ ฉะนั้น ลองยกค�ำแปลนี้ขึ้นพิจารณาว่า คนเราเริ่มสั่ง สอนกันมาตั้งแต่เมื่อไร? จึ ง อาจตอบตามเหตุ ผ ลว่ า คนเราเริ่ ม สั่ ง สอนกั น มา ตั้ ง แต่ ไ ด้ เริ่ ม รวมกั น อยู ่ ใ นโลกตั้ ง แต่ ค รอบครั ว หนึ่ ง ขึ้ น ไป คือ ตั้งแต่เริ่มมีบิดา มารดา มีบุตรธิดาขึ้นในโลก หรือพูดตาม สมัยว่า ตั้งแต่มีสังคมมนุษย์หน่วยแรกขึ้น เพราะในเบื้องต้น พ่อแม่ก็ต้องสั่งสอนลูก อย่าว่าแต่ในหมู่มนุษย์ แม้ในหมูสัตว์ ดิรัจฉานก็มีสั่งสอนกันตามวิธีของสัตว์ เช่น แม่นกมีการสอน ลูก พระพุทธเจ้าเองก็ได้ทรงยกย่องมารดา บิดา ว่า เป็นอาจารย์ คนแรก เรียกว่า บุรพาจารย์ของบุตรธิดา เป็นอันว่าอาจารย์อื่นๆ เป็นอาจารย์ในภายหลัง ฉะนั้น ค�ำสั่งสอนของพ่อแม่ผู้เป็น บุรพาจารย์จึงเป็นบุพพศาสนา (ศาสนาแรก) ของลูก.
ปวง แม้จะมีอาจารย์อยู่ในประเทศ ก็โปรดที่จะส่งพระราชโอรส ไปศึกษาในสถานที่ไกล พรหมทัตตกุมารได้เดินทางไปศึกษาอยู่กับอาจารย์ ทิศาปาโมกข์ท่านหนึ่งในเมืองตักกศิลานั้น วันหนึ่ง ได้ไปอาบน�้ำกับอาจารย์ เห็นหญิงชราคนหนึ่ง ก�ำลังนั่งร่อนงา เห็นงาเป็นมันย่อง ก็อยากเสวย จึงหยิบมา เสวยก�ำมือหนึ่ง หญิงชราก็มิได้ว่ากระไร เพราะติดว่าคงหิว อาจริ ย ศาสนา แต่ค�ำสั่งสอนของพ่อแม่ที่ให้แก่ลูกโดยมาก เพียงพอแก่ วันรุ่งขึ้นพรหมทัตตกุมารได้ท�ำอย่างนั้นอีก หญิงชราก็คงไม่ว่า ลูกในวัยเล็ก เมื่อโตขึ้นแล้วก็ต้องส่งเข้าโรงเรียน มอบภาระให้ กระไร ในวันที่ 3 พรหมทัตตกุมารได้ท�ำอย่างนั้นอีก หญิงชรา แก่ครูอาจารย์สั่งสอนศิลปวิทยาสืบต่อไป ครูอาจารย์ที่ดีย่อม เป็นทั้งผู้ประสานธน์ศิลปวิทยาดี เป็นทั้งผู้ปกครองศิษย์ดี ค�ำสั่ง จึงร้องขึ้นว่า อาจารย์ทิศาปาโมกข์ปล่อยให้ลูกศิษย์ยื้อแย่งของ สอนหรือการสั่งสอนของครูอาจารย์เพื่อผลดังกล่าวนี้ แม้มีการ ของตน อาจารย์ได้ยินจึงหยุดสอบถาม ได้ทราบเรื่องตลอดแล้ว ลงโทษเพื่อให้ศิษย์เป็นคนดี ท่านก็เรียกว่าเป็นศาสนาอย่าง ก็รับปากจะใช้มูลค่าให้ หญิงชราบอกว่าไม่ประสงค์มูลค่า แต่ ขอให้อาจารย์สั่งสอนกุมารนี้ว่าจะไม่ท�ำอย่างนั้นอีก อาจารย์ หนึ่งของอาจารย์ พูดว่า ถ้าอย่างนั้นจงคอยดู สั่งให้ศิษย์หนุ่ม 2 คน จับกุมาร ดังในชาดกเรื่องหนึ่งในติกนิบาต เล่าไว้มีความว่า ในอดีตกาลล่วงมานานนั้น พระเจ้ากรุงพาราณสีได้ทรง ที่แขนทั้ง 2 ไว้ แล้วหยิบเรียวไม้ไผ่เฆี่ยนหลัง 3 ครั้ง สั่งสอน ส่งพรหมทัตตกุมาร พระราชโอรส ให้ไปเรียนศิลปวิทยาที่เมือง ว่าอย่าท�ำอย่างนั้นอีก พรหมทัตตกุมารถูกเฆี่ยนจนมีเนตรแดง ตักกศิลาเพราะตามนิยมของโบราณพระราชาทั้งหลาย ย่อมทรง ก�่ำด้วยความโกรธ มองดูอาจารย์ทั่วตัว ผูกอาฆาตว่า ได้ราช ปรารถนาให้พระราชโอกาสได้รับอบรม ให้ละมานะ ให้อดทน สมบัติแล้วจะให้ตามจับอาจารย์ไปฆ่าเสียให้จงได้ ครั้นเรียน ให้เปรื่องปราดสามารถในศิลปวิทยา ให้รอบรู้ในโลกจารีตทั้ง ส�ำเร็จแล้วก็เข้าไปลาอาจารย์ แสดงอาการอย่างมีความเคารพ 61 issue 122 march 2018
ค� ำ สั่ ง สอนของพ่ อ แม่ ที่ ใ ห้ แ ก่ ลู ก โดยมาก เพี ย ง พอแก่ ลู ก ในวั ย เล็ ก เมื่ อ โตขึ้ น แล้ ว ก็ ต ้ อ งส่ ง เข้ า โรงเรี ย น มอบภาระให้ แ ก่ ค รู อ าจารย์ สั่ ง สอน ศิ ล ปวิ ท ยาสื บ ต่ อ ไป ครู อ าจารย์ ที่ ดี ย ่ อ มเป็ น ทั้ ง ผู ้ ประสานธน์ ศิ ล ปวิ ท ยาดี เป็ น ทั้ ง ผู ้ ป กครองศิ ษ ย์ ดี ค� ำ สั่ ง สอนหรื อ การสั่ ง สอนของครู อ าจารย์ เ พื่ อ ผล ดั ง กล่ า วนี้ แม้ มี ก ารลงโทษเพื่ อ ให้ ศิ ษ ย์ เ ป็ น คนดี
รัก ขอให้อาจารย์รับว่าจะไปกรุงพาราณสีเมื่อให้มาเชิญ แล้ว ลาอาจารย์กลับกรุงพาราณสี พระเจ้ากรุงพาราณสีทอดพระเนตรเห็นพระโอรสเรียน ส�ำเร็จกลับมา ก็มีพระราชหฤทัยโสมนัสยินดี ทรงปรารถนาจะ ทอดพระเนตรเห็นพระโอรสเป็นพระราชาตั้งแต่พระองค์ยังมี พระชนม์ชีพอยู่ จึงมอบราชสมบัติพระราชทาน พอเมื่อครั้งพรหมทัตตกุมารได้รับราชสมบัติแล้ว จึง ทรงส่งทูตให้ไปเชิญอาจารย์ให้มา ฝ่ายอาจารย์นั้นคิดว่าพระ ราชายังหนุ่มตนยังไม่อาจจะพูดให้ยินยอมได้จึงยังไม่ไป แต่ ครั้นกาลล่วงไป พระราชาเจริญพระชนม์ขึ้นจนถึงมัชฌิมวัยแล้ว อาจารย์จึงเดินทางไปยังกรุงพาราณสี ให้กราบทูลให้ทรงทราบ พระราชาทรงยินดี และโปรดให้อาจารย์เข้าเฝ้า ครั้นทอดพระเนตรเห็นอาจารย์ ก็ทรงรู้สึกเหมือนก�ำลัง ถูกเฆี่ยน มีพระเนตรแดงก�่ำขึ้นด้วยโทสัคคะ (ไฟโทสะ) ทันที ตรัสว่า วันนี้อาจารย์ของเรามาถึงที่ตายแล้ว น�ำมัจจุราชติดมา กับหน้าผากของตนแล้ว ตรัสแก่อาจารย์ว่า ท่านระลึกได้ไหม ถึง วันที่นั้นท่านได้เฆี่ยนเราด้วยเรียวไผ่ ท่านไม่ยินดีในชีวิตแล้ว หรือจึงมา ในวันนั้นท่านเฆี่ยนเรา วันนี้เราจะฆ่าท่าน ฝ่ายอาจารย์นั้นไม่แสดงความครั่นคร้าม กล่าวตอบด้วย ท่วงท่าของอาจารย์ว่า อารยชน (คนเจริญ) ย่อมห้ามปราม
คนที่ท�ำอนารยกรรม (กรรมไม่ดี) คือ ด้วยการลงโทษให้ เข็ดหลาบได้นั้นเป็นศาสนา (การสั่งสอน) มิใช่เป็นเวร ปวง บัณฑิตย่อมเข้าใจกันอย่างนี้มหาราช ถ้าข้าพเจ้าไม่ท�ำให้ พระองค์ศึกษาอย่างนั้นต่อไปพระองค์ประพฤติผิดยิ่งขึ้น ทรง ประสบมหันตภัยเสียแล้วจักทรงได้ราชสมบัติปานฉะนี้จาก ที่ไหนเล่า? พวกอ� ำ มาตย์ ที่ เ ฝ้ า ได้ ส ดั บ เรื่ อ งนั้ น ก็ พ ากั น กราบทู ล สนับสนุนค�ำของอาจารย์ พระราชาทรงพิจารณาทบทวนแล้ว ทรงเห็นจริงตามค�ำของอาจารย์ ทรงหายพิโรธ สิ้นอาฆาต กลับ ทรงระลึกถึงคุณของอาจารย์ จึงพระราชทานสิ่งปฏิบัติการต่างๆ และทรงตั้งไว้ในที่เป็นปุโรหิตผู้ถวายอนุสาสน์ 62
IS AM ARE www.fosef.org
ธรรมศาสนา แต่ค�ำสั่งสอนของผู้ปกครองให้ส�ำเร็จประโยชน์ เป็น เครื่องปกครองทางกายเป็นพื้น และประกอบด้วยการลงโทษ ผู้ละเมิดต่างๆ ยังไม่เป็นเครื่องปกครองจิตใจได้อย่างเพียงพอ จึงมีผู้แสดงค�ำสั่งขึ้นอีกประเภทหนึ่ง มุ่งส�ำหรับปกครองจิตใจ ดังที่เรียกกันในบัดนี้ว่า ศีลธรรม หรือ ศาสนา การยกศัพท์ว่า ศาสนา ขึ้นสันนิษฐานในทางว่าคือค�ำสั่ง สอนที่มีในสังคมมนุษย์ตั้งแต่เดิมมา และในหมู่ชนทั่วไปนี้ เมื่อ ก�ำหนดใจไว้ว่า ศาสนา คือ ค�ำสั่งสอนหรือการสั่งสอนอย่าง ธรรมดาๆ นี้เอง เท่านั้น ก็เข้าใจตามที่แสดงมาโดยตลอดว่า ค�ำ สั่งสอนได้ขยายตัวกว้างออกไป เพื่อเป็นเครื่องปกครองคนอย่าง เพียงพอโดยล�ำดับอย่างไร สรุปค�ำสั่งสอนทั้งหมดลงได้เป็น ๒ ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. ค�ำสั่งสอนที่ยังไม่เพียงพอ ยังไม่จบ 2. ค�ำสั่งสอนที่เพียงพอแล้ว จบลงแล้ว ประเภทที่ 1 ค�ำสั่งสอนที่ยังไม่เพียงพอ ยังไม่จบนั้น เช่นค�ำสั่งสอนของบิดามารดาในชั้นต้น เช่น บิดามารดาสอน ให้ลูกหัดพูด หัดนั่ง ยืน เดิน วิ่งและหัดในกิจอื่นๆ แต่ยังไม่พอ
การยกศั พ ท์ ว ่ า ศาสนา ขึ้ น สั น นิ ษ ฐานในทางว่ า คื อ ค� ำ สั่ ง สอนที่ มี ใ นสั ง คมมนุ ษ ย์ ตั้ ง แต่ เ ดิ ม มา และใน หมู ่ ช นทั่ ว ไปนี้ เมื่ อ ก� ำ หนดใจไว้ ว ่ า ศาสนา คื อ ค� ำ สั่ ง สอนหรื อ การสั่ ง สอนอย่ า งธรรมดาๆ นี้ เ อง เท่ า นั้ น ก็ เ ข้ า ใจตามที่ แ สดงมาโดยตลอดว่ า ค� ำ สั่ ง สอนได้ ข ยายตั ว กว้ า งออกไป เรื่องนี้มีคติอยู่มากแต่โดยเฉพาะการแสดงว่า... การสั่งห้ามปรามมิให้ท�ำผิด แม้ของอาจารย์ ก็ถือว่าเป็นศาสนาอย่างหนึ่งๆ มาตั้งแต่ก่อนสมัยพุทธกาล รั ฐ ศาสนา แต่ค�ำสั่งสอนของอาจารย์ ก็เพียงพอส�ำหรับการศึกษา เล่าเรียน และเป็นไปในวงการเรียนหรือภายในโรงเรียน ยังไม่ เพียงพอส�ำหรับคนทั่วไปที่รวมกันอยู่เป็นประเทศชาติ จึงต้อง มีค�ำสั่งสอนของประมุขผู้ปกครองหมู่ชน ค�ำสั่งสอนของผู้ปกครองนี้ เรียกในคัมภีร์เก่าก่อนว่า ศาสนาเหมือนกัน ดังมีค�ำเรียกธุรการฝ่ายปกครองว่า ปสาสน ธุระ สาสนะในค�ำนี้ก็คือศาสนานั้นเอง ท่านเล่าว่า พระเจ้าจักรพรรดิซึ่งเป็นเจ้าโลกแต่พระองค์ เดียวทรงปกครองชาวโลกทั้งสิ้น ด้วยทรงสั่งสอนให้ปฏิบัติในศีล ห้า ศีลห้าจึงเป็นจักรวรรดิศาสนา พระราชามหากษัตริย์หรือ ท่านผู้ปกครองผู้ตั้งอยู่ในราชธรรมหรือในธรรมของผู้ปกครอง ย่อมที่จะสั่งสอนประชาชนด้วยวิธีต่างๆ แม้ในประเทศไทยสยามนี้เอง ก็มีเล่าไว้ในศิลาจารึกใน รัชสมัยพระเจ้าขุนรามค�ำแหงกรุงสุโขทัยว่า... ถ้าไม่ใช่วันอุโบสถ พ่อขุนรามค�ำแหงเจ้าเมืองศรีสัชนาลัยสุโขทัย ขึ้นนั่งเหนือขดาร หิน พระราชทานราโชวาทแก่ประชาราษฎรทั่วไป 63
issue 122 march 2018
เมื่อลูกโตขึ้นจึงต้องส่งไปโรงเรียน แม้ค�ำสั่งสอนศิลปวิทยาต่างๆ ในโรงเรียนก็ไม่มีจบ ศิลปวิทยาแต่ละอย่างก็ยังค้นคว้าแก้ไข เพิ่มเติมกันเรื่อยไป และมีมากมายจึงต้องจัดหลักสูตรก�ำหนด ว่าให้เรียน เพียงไหนในชั้นไหน และเมื่อถึงชั้นไหนก็ให้ส�ำเร็จ เสร็จการเรียนกันเสียที แม้วิชาที่เรียกว่าปรัชญาก็เป็นเรื่องไม่ จบเหมือนกัน ยังค้นคว้าแก้ไขเพิ่มเติมกันต่อไป ค�ำสั่งสอนของ ท่านผู้ปกครองที่เรียกในปัจจุบันว่ากฎหมายเป็นต้น ก็คงไม่จบ สิ้นไม่เพียงพอดังกล่าวเหมือนกัน น่าจะเป็นเพราะเหตุนี้ ค�ำสั่ง สอนประเภทนี้จึงไม่นิยมเรียกว่าศาสนา ประเภทที่ 2 ค�ำสั่งสอนที่เพียงพอแล้ว จบลงแล้ว ได้แก่ ค�ำสั่งสอนที่เรียกว่าศาสนาในบัดนี้ เพราะทุกศาสนา ต่างก็แสดงค�ำสั่งสอนถึงที่สุดตามลัทธิของตน เช่น บางศาสนา นับถือเทวดาประจ�ำธรรมชาติต่างๆ ก็แสดงว่ามีที่สุดเพียงเทวดา เหล่านี้เท่านั้น บางศาสนานับถือเทพเจ้าผู้สร้างมากองค์บ้าง องค์เดียวบ้าง ก็แสดงว่ามีที่สุดเพียงเทพเจ้าเท่านั้น บางศาสนา นับถือธรรม ก็แสดงธรรมที่สูงสุดที่บุคคลพึงเข้าถึงได้ด้วยปัญญา ของตน ค�ำสั่งสอนประเภทที่ 1 เช่นค�ำสั่งสอนของมารดาบิดา ดังกล่าวแล้ว สั่งสอนอยู่ในเหตุผลใกล้ๆ ตัว แม้ที่ไกลออกไปดัง ค� ำ ว่ า ศาสนาค� ำ นี้ เ ป็ น ค� ำ ดึ ก ด� ำ บรรพ์ ที่ ยั ง มี ชี วิ ต อยู ่ เพราะตามหลั ก ฐานปรากฏว่ า ได้ พู ด กั น มาตั้ ง แต่ ก่ อ นพระพุ ท ธศาสนาเกิ ด ขึ้ น นานไกลและยั ง ใช้ พู ด กั น ต่ อ ๆ มาอยู ่ จ นถึ ง บั ด นี้ เช่นศิลปวิทยาต่างๆ ตลอดจนถึงปรัชญาต่างๆ ผู้แสดงที่เป็นต้น เดิมเองก็ไม่ปรากฏว่าใครปริญญาตนเองว่าเป็นผู้รู้จบแล้ว ส่วน ในค�ำสั่งสอนประเภทที่ 2 อันเรียกว่า ศาสนา สั่งสอนในเหตุผล ที่กว้างที่ไกลตัวออกไปจนถึงที่สุดดังเช่นเมื่อสอนเรื่องโลก ที่สุด โลก ในด้านอดีตก็คือการสร้างโลก หรือก�ำเนิดโลก และผู้แสดง ก็ปริญญาว่าเป็นผู้รู้จบแล้ว ค�ำสั่งสอนประเภทที่ 1 ไม่มีปัญหาต่อไป ส่วนประเภท ที่ 2 อันเรียกว่าศานานั้น มีปัญหาต่อไปว่า ผู้แสดงเป็นผู้รู้จบ จริงหรือไม่ ค�ำสั่งสอนนั้นเพียงพอแล้ว จบลงแล้วจริงหรือไม่ ปัญหานี้ภูมิปัญญาของคนเรานี้เองเป็นผู้ตอบได้ คือ ถ้าถูกต้อง กับความจริงอย่างบริบูรณ์บริสุทธิ์แล้ว ก็เป็นศาสนาที่บริบูรณ์ บริสุทธิ์ คือ เพียงพอแล้ว จบลงแล้ว มีลักษณะดังที่แสดงมา แล้วในเรื่องพระธรรม 64 IS AM ARE www.fosef.org
ถึงอย่างไรก็ตามเมื่อเว้นส่วนที่เป็นปรมัตถะ หรือส่วนที่สูงสุดของแต่ละศาสนาเสีย กล่าวเฉพาะส่วนที่เป็นประโยชน์แก่ ชีวิตปัจจุบัน ศาสนาที่ดีทุกศาสนานั้น ย่อมสั่งสอนให้คนทุกคนประกอบด้วยศีลธรรม มีศีลธรรมเป็นเครื่องปกครองจิตใจและความประพฤติ ไม่มีศาสนาที่ดีศาสนาไหนที่สั่งสอนให้คนทอดทิ้งศีลธรรม ฉะนั้น ศาสนิกชนคนที่นับถือศาสนา แม้ว่าศานาใดศาสนาหนึ่ง ล้วนเป็นผู้ที่นับถือหลักศีลธรรมในโลก มีศีลธรรมเป็นหลักปกครองใจและความประพฤติ แม้นับถือศาสนาต่างกัน... แต่ต่างเคารพอยู่หลักศีลธรรมด้วยกัน จึงอยู่รวมกันได้โดยสงบสุข
65 issue 122 march 2018
ขณะนี้ น ่ า เป็ น ห่ ว งว่ า การพู ด ไม่ ชั ด กลายเป็ น เรื่ อ ง ปกติ ไ ปเสี ย แล้ ว แม้ จ ะมี ก ารรณรงค์ เ รื่ อ งนี้ แต่ ดู เหมื อ นวั ย รุ ่ น โดยเฉพาะดารา นั ก ร้ อ ง ของบ้ า น เราจะไม่ เ ห็ น เป็ น เรื่ อ งส� ำ คั ญ ที่ จ ะต้ อ งแก้ ไ ข
พัฒนาความทรงจ�ำ
ด้วยการเล่านิทาน อ่านหนังสือ สอนพู ด (1) พญ.จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ 66 IS AM ARE www.fosef.org
พ่ อ แม่ ยุ ค ใหม่ คุณพ่อ คุณแม่ คุณครู ฯ เมื่อตระหนักถึงโทษของการ ดูทีวี โดยเฉพาะในเด็กเล็กก่อน 6 ขวบ ข้อเสียอีกอย่างส�ำหรับ การที่ลูก ๆ ดูทีวีบ่อย ๆ ก็คือ จะเลียนแบบสิ่งไม่ดีหลายอย่าง เช่น จากผู้ประกาศ หรือ ดารา นักร้องที่พูดภาษาไทยไม่ชัด (ขณะนี้น่าเป็นห่วงว่า การพูดไม่ชัดกลายเป็นเรื่องปกติไปเสีย แล้ว แม้จะมีการรณรงค์เรื่องนี้ แต่ดูเหมือนวัยรุ่น โดยเฉพาะ ดารา นักร้อง ของบ้านเราจะไม่เห็นเป็นเรื่องส�ำคัญที่จะต้อง แก้ไข) ทั้งที่ภาษาไทยเป็นภาษาที่ไพเราะ มีลักษณะเด่นที่ค�ำควบ กล�้ำ วรรณยุกต์ ฯ ท�ำให้มีเสียงแตกต่างกันมากมาย จนเหมือน ท่วงท�ำนองดนตรี เมื่อเด็กพูดไม่ชัดตั้งแต่เล็กๆ และไม่ได้รับการ แก้ไข เวลาเข้าโรงเรียนก็จะแก้ไขยาก หรือหากไม่ได้รับการแก้ไข ก็จะติดเป็นลักษณะประจ�ำตัว แม้ดูเป็นเรื่องเล็ก แต่คนโบราณมี สุภาษิตเตือนใจว่า “ส�ำเนียงส่อภาษา กิริยาส่อสกุล” คุณพ่อคุณ แม่ คงไม่อยากให้ลูกของเรามีบุคลิกภาพไม่ดี กลายเป็นที่ขบขัน ของคนอื่น ๆ นอกจากนี้ ผู้เชี่ยวชาญทั่วโลกต่างมีความเห็นตรง กันว่า “พัฒนาการทางภาษา” มีส่วนส�ำคัญต่อพัฒนาการด้าน สติปัญญาอย่างชัดเจน ดังนั้น หลายประเทศจึงให้ความส�ำคัญ กับการส่งเสริมพัฒนาการภาษา โดยส่งเสริมให้คุณแม่เล่านิทาน อ่านหนังสือให้ลูกฟังตั้งแต่ตั้งท้อง ท�ำให้ความเข้าใจภาษาลุ่มลึกอันเป็นการกล่อมเกลาพัฒนาการ การพู ด ของลู ก ในขวบปี แ รก จะช้ า หรื อ เร็ ว อยู ่ ที่ ทางอารมณ์ควบคู่ไปด้วย “การพูด” เป็นสัญลักษณ์หนึ่งของภาษา หมายถึง ความ เราจะช่ ว ยฝึ ก ลู ก หรื อ ไม่ อ ย่ า งไร นอกเหนื อ จากลู ก จะต้ อ งท� ำ ความคุ ้ น เคยกั บ เสี ย ง ความหมายของ สามารถในการสื่อสารกับผู้อื่นด้วยการออกเสียง ทั้งการพูดและ เสี ย งที่ ไ ด้ ยิ น แล้ ว ลู ก จะต้ อ งฝึ ก ใช้ ก ล้ า มเนื้ อ รอบริ ม การใช้ภาษาจึงถือเป็นกระบวนการเรียนรู้ของมนุษย์ตั้งแต่(ก่อน ฝี ป าก ฟั น ลิ้ น และกล่ อ งเสี ย ง ในการเปล่ ง ค� ำ พู ด เกิด) แรกเกิด ค่อย ๆเติบโตไปจนเป็นผู้ใหญ่ ท�ำให้มนุษย์เรา สามารถท�ำความเข้าใจทั้งในเรื่อง “สาระความรู้” เกี่ยวกับโลก เลี ย นแบบที่ ไ ด้ สั ง เกตเห็ น จากคุ ณ แม่ คุ ณ พ่ อ และสิ่งรอบตัว ตลอดจนท�ำความเข้าใจผู้อื่นด้านอารมณ์ ความ รู้สึก และบุคลิกภาพ พร้อมกันไปด้วย และลองนึกภาพความ “ภาษา” เป็นระบบสัญลักษณ์ที่มนุษย์ใช้ติดต่อสื่อสาร รู้สึกปิติสุขของเราเวลาที่เราได้ยินเสียงพูดของลูกเล็ก ๆ ในเรื่อง กัน สัญลักษณ์ภาษาประกอบด้วย การพูด การเขียน การวาด ที่สนใจ ตอบค�ำถาม ถามค�ำถาม อธิบาย บอกความรู้สึก ความ ภาพ และการใช้สัญลักษณ์ซึ่งมีความหมายเฉพาะในเรื่องต่าง ๆ ต้องการต่าง ๆ แม้ว่าชุดของภาษาที่เด็กใช้จะไม่มาก แต่ก็ได้ก่อ (เช่น ป้ายจราจรที่เป็นภาพลูกศร เป็นภาษาที่ผู้ใช้รถใช้ถนนจะ ความสุขอันยิ่งใหญ่ขึ้นในใจของเรา ยิ่งเราได้ตระหนักถึงความ ต้องเรียนรู้และปฏิบัติตามเพื่อให้ปลอดภัย) ภาษาปรากฏใน เจริญเติบโตทางภาษา ในการที่ลูก ๆ ถามค�ำถามที่ยากขึ้น หรือ หลายรูปแบบ เช่น ในหนังสือ การพูด การแสดงละคร ดนตรี ตอบค�ำถามของเราได้ยาวมากขึ้น ใช้ค�ำที่ซับซ้อนมากขึ้น บางที วิทยุ ทีวี ภาพยนตร์ ฯ ส�ำหรับเด็กเล็ก การเรียนรู้ภาษาที่ดีที่สุด ก็พูดภาษาปรัชญาออกมาจนเราตื่นตะลึงไปก็มี ถ้าหากเราฝึก คือ การฝึกมอง ฟัง พูด คุย ซักถาม ตอบ ระหว่างผู้เลี้ยงดูกับ สังเกตและบันทึกความก้าวหน้าเหล่านี้ไว้ เราก็จะตระหนักถึง เด็ก เพราะภาษาที่มาจากผู้เลี้ยงดูมีองค์ประกอบของอารมณ์ ความมหัศจรรย์แห่งสมองของลูกน้อยของเรา ที่มีพัฒนาการ ความรู้สึกอยู่ด้วย เด็กจึงไม่เพียงได้ฝึกฝนภาษาเท่านั้น แต่ยัง ก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วอย่างคาดไม่ถึงทีเดียว 67 issue 122 march 2018
ก่อนที่ลูกจะรู้จักความหมายของค�ำต่าง ๆ ที่คุณพ่อคุณ แม่ใช้ในบ้าน ลูกได้ฝึกท�ำความคุ้นเคยกับลักษณะของเสียง คลื่น เสียง อารมณ์ที่มากับเสียง เช่น เมื่อลูกยังอยู่ในท้องคุณแม่ ก็จะ รับรู้อารมณ์ความรู้สึกของคุณแม่ผ่านเสียงหัวใจเต้น คลื่นเสียง ฯ จนคุ้นเคย เมื่อคลอดแล้ว คุณแม่ให้นม ดูแล ก็ค่อย ๆ สะสม ความคุ้นเคย และสร้างความทรงจ�ำเกี่ยวกับภาพ เสียง กลิ่น รส สัมผัส และความรู้สึกของคุณแม่ จนเกิดวงจรความทรงจ�ำที่ใช้ แยกแยะว่า คุณแม่แตกต่างจากคนอื่น ๆ ในบ้านอย่างไร เมื่อ “หู และประสาทรับเสียง” พัฒนามากขึ้น ก็จะเริ่มแยกแยะ ท�ำความ เข้าใจกับเสียงที่ประกอบกันขึ้นเป็นค�ำพูด ตลอดจนพยายามจับ “ความหมาย” ของค�ำต่าง ๆ โดยในช่วงแรก ๆ เพียงเข้าใจ “ค�ำ เดี่ยว” ต่อมาจึงค่อย ๆ สะสมความรู้ ความทรงจ�ำ ออกมาเป็น ค�ำผสม วลี แล้วจึงเข้าใจประโยค แต่ความเข้าใจเหล่านี้จะเกิด ขึ้นได้ดีก็ต่อเมื่อ คุณพ่อคุณแม่ขยันฝึกสอนลูกตั้งแต่เล็ก ๆ จน โต ภาระการฝึกลูกนี้ไม่ควรมอบให้คนอื่น ๆ(เช่นคนเลี้ยงเด็ก) เพราะความแตกต่างระหว่างการสื่อสารกับลูกด้วยความรักของ พ่อแม่ กับคนอื่น ๆ ส่งผลต่อพัฒนาการทางภาษาของลูกอย่าง ที่เราอาจคาดไม่ถึง โดยเฉพาะหากคนเลี้ยงเด็กขาดความเข้าใจ คุ ณ พ่ อ คุ ณ แม่ คงไม่ อ ยากให้ ลู ก ของเรามี บุ ค ลิ ก ภาพ ไม่ ดี กลายเป็ น ที่ ข บขั น ของคนอื่ น ๆ นอกจาก นี้ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญทั่ ว โลกต่ า งมี ค วามเห็ น ตรงกั น ว่ า “พั ฒ นาการทางภาษา” มี ส ่ ว นส� ำ คั ญ ต่ อ พั ฒ นาการ ด้ า นสติ ป ั ญ ญาอย่ า งชั ด เจน ดั ง นั้ น หลายประเทศ จึ ง ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การส่ ง เสริ ม พั ฒ นาการภาษา
เป็นคนต่างชาติต่างภาษา ฯ ไม่ระมัดระวังในการสื่อสารกับเด็ก (ทั้งด้วยภาษาพูด ภาษาท่าทาง อารมณ์ฯ) เคล็ ด ลั บ ฝึ ก ลู ก ให้ พู ด ได้ ต ามวั ย การพูดของลูกในขวบปีแรก จะช้าหรือเร็ว อยู่ที่เราจะ ช่วยฝึกลูกหรือไม่อย่างไร นอกเหนือจากลูกจะต้องท�ำความคุ้น เคยกับเสียง ความหมายของเสียงที่ได้ยินแล้ว ลูกจะต้องฝึกใช้ กล้ามเนื้อรอบริมฝีปาก ฟัน ลิ้น และกล่องเสียง ในการเปล่งค�ำ พูดเลียนแบบที่ได้สังเกตเห็นจากคุณแม่ คุณพ่อ เพราะฉะนั้น ตั้งแต่แรกเกิด ควรให้ลูกได้มองเห็นวิธีการพูดของคุณแม่ คุณ พ่อบ่อย ๆ เวลาอุ้มและคุยกับลูก ควรมองหน้าลูก และเปล่ง ค�ำพูดช้าๆ เช่น อยากสอนลูกพูดค�ำว่า “แม่” หรือ “พ่อ” ท�ำ บ่อย ๆ ลูกจะเริ่มหัดเลียนแบบห่อปาก แบะปาก และเปล่งเสียง เลียนแบบเรา เช่นนี้ ลูกจะได้มีพัฒนาการพูดไม่ช้ากว่าวัย แต่ ไม่ต้องเร่งรัด ให้เวลากับลูกมาก ๆ เด็กที่พูดช้า เป็นสัญญาณ ว่า พัฒนาการภาษาอาจล่าช้า อันจะส่งผลถึงสติปัญญาของ เด็กในอนาคต 68
IS AM ARE www.fosef.org
69 issue 122 march 2018
อย่าปล่อยให้เวลา กลืนกินตัวตนของเรา อดิรุจ พีรวัฒน์
อดิ รุ จ พี ร วั ฒ น์ หรื อ น้ อ งรุ จ ผู ้ ช ่ ว ยนั ก วิ จั ย หลั ก สู ต รอั ญ มณี แ ละเครื่ อ งประดั บ มหาวิ ท ยาลั ย ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒ เป็ น อี ก หนึ่ ง คนที่ ผ ่ า นการปลู ก ฝั ง แนวทางปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งผ่ า นกิ จ กรรม จิ ต อาสาตั้ ง แต่ ชั้ น มั ธ ยมปลาย ในฐานะแกนน� ำ ครอบครั ว พอเพี ย ง รุ ่ น ที่ 1 70 IS AM ARE www.fosef.org
เยาวชนของแผ่ น ดิ น รุจเล่าให้ฟังว่า การท�ำงานด้านนี้ต้องรู้จักพอประมาณ เป็ น อย่ า งยิ่ ง เพราะอยู ่ กั บ เครื่ อ งประดั บ ที่ มี ร าคา หากขาด คุณธรรมก็อาจหลงผิดเผลอหยิบของที่ไม่ใช่ของตัวเองได้ เพราะ จะว่าไปแล้ว อัญมณีชิ้นเล็กชิ้นน้อยนั้นง่ายต่อการแอบซ่อนลัก เล็กขโมยน้อยได้เหมือนกัน “ตอนนี้ผมท�ำงานอยู่ที่มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ครับ เป็นนักวิจัยเกี่ยวกับทางด้านอัญมณีและเครื่องประดับ ตรงกับสายที่จบมาพอดี งานหลักที่ผมท�ำคือ วิจัยงานนวัตกรรม ใหม่ๆ ส�ำหรับด้านเครื่องประดับ คอยแก้ปัญหางานตามโรงงาน ผลิตเครื่องประดับต่างๆ และบางครั้งก็เป็นผู้ช่วยฝึกสอนภาค ปฏิบัติส�ำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี” “การน� ำ ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาใช้ ใ นการ ท�ำงานถือว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้องเลยครับ เนื่องจากสายอาชีพผม เน้นงานวิจัย แน่นอนว่างานวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์จะต้องใช้หลัก การเหตุและผลเข้ามาอธิบาย เช่น การทดลองหรือการแก้ปัญหา ต้องอธิบายได้ตามเหตุและผลซึ่งบางครั้งก็มีเรื่องของความรู้เข้า มาผูกด้วย สายอาชีพนี้ดูเป็นสายอาชีพที่ดูดี ร�่ำรวย เนื่องจาก ต้องอยู่กับสิ่งของสวยๆ งามๆ มีมูลค่า ดังนั้น เราก็จะต้องรู้จัก กับความพอดี ไม่หวังผลหรือโลภมากเกินไป ให้อยู่บนพื้นฐาน ของเศรษฐกิจพอเพียง มีจริยธรรมต่ออาชีพของตนเองได้ ซึ่ง วงการนี้ถือเป็นวงการที่มีขนาดเล็กมาก ถ้าเราพลาดไปแค่ครั้ง เดียวก็อาจจะท�ำลายชีวิตเราได้เลยครับ”
กิ จ กรรมกั บ การเรี ย นสามารถไปด้ ว ยกั น ได้ ค รั บ เพี ย งแค่ เ ราควรรู ้ จั ก จั ด การเวลาของตั ว เอง ในเรื่ อ ง การเรี ย นหรื อ การท� ำ กิ จ กรรมให้ มั น ลงตั ว แบ่ ง ให้ เท่ า ๆ กั น ครั บ ขึ้ น อยู ่ กั บ ช่ ว งเวลานั้ น ถ้ า ช่ ว งใกล้ สอบก็ ค วรแบ่ ง กั บ การเรี ย นมาก รุจ เกิดและเติบโตในกรุงเทพมหานคร ในครอบครัว ระดับปานกลาง เรียนจบชั้นมัธยมที่โรงเรียนวัดบวรนิเวศ สาย วิ ท ย์ – คณิ ต และหลั ก สู ต รอั ญ มณี แ ละเครื่ อ งประดั บ คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รุจเล่าว่า สมัยเรียน เป็นเรื่องส�ำคัญ โดยเฉพาะในระดับมัธยมซึ่งถือว่ายังเป็นเยาวชน การถูกหล่อหลอมด้วยประสบการณ์ต่างๆ โดยเฉพาะการท�ำ กิจกรรมค่ายอาสาพัฒนาต่างๆ ช่วยเปิดโลกกว้างให้เยาวชน เป็ น อย่ า งดี ไม่ ใช่ เ พี ย งผู ้ อื่ น ได้ รั บประโยชน์ จ ากการลงพื้นที่ ของจิตอาสาเท่านั้น แต่ตัวจิตอาสาเองก็ได้ประสบการณ์ที่เป็น ประโยชน์สามารถเก็บน�ำไปใช้ในอนาคตได้เช่นกัน “ตอนสมัยเรียนผมชอบท�ำกิจกรรมครับ ชอบไปเข้าร่วม กิจกรรมนอกโรงเรียน การออกค่ายอาสา สนุกดีครับ ได้เจอ เพื่อนต่างโรงเรียนมากมาย แลกเปลี่ยนประสบการณ์กัน ซึ่งตัว ผมเองเป็นคนกรุงเทพฯ การไปออกค่ายต่างจังหวัดบ่อยๆ ก็ตื่น เต้นทุกครั้งที่ได้ไป ได้ท�ำสิ่งที่คนในกรุงเทพฯ ไม่ค่อยได้ท�ำ หรือ สัมผัสธรรมชาติได้ยากมากครับ เรื่องการเรียนของผมถือว่าอยู่ ในระดับพอใช้ครับ ตั้งใจเรียนบ้างในบางวิชา เล่นก็เยอะครับ แต่ที่ได้ติดตัวมาตลอดก็คือ กิจกรรมที่เราออกไปท�ำร่วมกับผู้ อื่นท�ำให้เราได้รู้จักปรับตัวเป็น ซึ่งน�ำมาใช้ได้จนถึงชีวิตในการ ท�ำงานเลยครับ” “กิจกรรมจิตอาสาของครอบครัวพอเพียงเป็นกิจกรรม แรกๆ เลยครับที่ท�ำให้ผมได้ออกค่ายต่างจังหวัด ต่างโรงเรียน ผมคิดไม่ผิดจริงๆ ที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมของครอบครัวพอเพียง 71
issue 122 march 2018
72 IS AM ARE www.fosef.org
ร่วมกับผู้อื่นบ้าง ส�ำหรับการใช้ชีวิตจริงหลังจากจบการศึกษา แล้วจะไม่สามารถท�ำคนเดียวหรืออยู่คนเดียวได้ครับ ความเป็น ธรรมชาติของคนคือจะต้องอยู่ร่วมกับผู้อื่นหรือท�ำงานร่วมกับ ผู้อื่น การที่เราท�ำกิจกรรมตั้งแต่เนิ่นจะส่งผลถึงอนาคตข้างหน้า อย่างมาก คือเพื่อนๆ ของพวกคุณนั่นล่ะจะเป็น Connection ที่ ดีในการท�ำงาน จะท�ำให้เราท�ำงานได้ง่ายยิ่งขึ้น การท�ำกิจกรรม ร่ ว มกั บ ผู ้ อื่ น ท� ำ ให้ เราได้ เรี ย นรู ้ ชี วิ ต ของเพื่ อ นในกลุ ่ ม ถื อ ว่ า เป็นประสบการณ์ที่ดีในการใช้ชีวิตของเรา ท�ำให้เราได้เรียนรู้ บทเรียนที่แต่ละคนเจอมาไม่เหมือนกัน ท�ำให้เราสามารถรับ สิ่งเหล่านี้มาปรับใช้ในชีวิตการท�ำงานของเราได้อีกเยอะครับ” “กิจกรรมกับการเรียนสามารถไปด้วยกันได้ครับ เพียง แค่เราควรรู้จักจัดการเวลาของตัวเอง ในเรื่องการเรียนหรือ การท�ำกิจกรรมให้มันลงตัว แบ่งให้เท่าๆ กันครับ ขึ้นอยู่กับช่วง เวลานั้น ถ้าช่วงใกล้สอบก็ควรแบ่งกับการเรียนมาก ซึ่งแน่นอน ว่าการจัดการนั้นแค่เราจัดสรรมันได้ดี ชีวิตของเราจะท�ำอะไร ได้อีกมากมายเลยครับ” ปัจจุบัน รุจยังคงท�ำงานเป็นผู้ช่วยนักวิจัย หลักสูตร อัญมณีและเครื่องประดับ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดย เจ้าตัวย�้ำว่าการท�ำงานด้านนี้จะทิ้งคุณธรรมไปไม่ได้ หากกล่าว ในภาพรวมก็คือ เศรษฐกิจพอเพียงยังคงเป็นหลักในการด�ำเนิน ชี วิ ต ที่ ดี ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย ความรู ้ คุ ณ ธรรม ภู มิ คุ ้ ม กั น พอ ประมาณ และเหตุผล เหล่านี้ถือเป็นหลักแห่งความส�ำเร็จที่คน ธรรมดาทั่วไปสามารถท�ำได้ทุกคน
ในแต่ละครั้ง ได้รู้การอยู่ร่วมกับเพื่อนต่างโรงเรียน ต่างวิถีชีวิต ของแต่ละโรงเรียน ซึ่งแต่ละโรงเรียนก็จะมีความแตกต่างกันออก ไป หรือวัฒนธรรมต่างกัน แต่มีเป้าหมายเดียวกันคือการเป็น จิตอาสาที่มีความตั้งใจที่จะช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส หรือมีความ ขาดแคลน ซึ่งสิ่งเหล่านี้ท�ำให้เรารู้ว่าการให้เป็นสิ่งที่ส�ำคัญมาก ครับ ไม่ว่าเราจะมีมากหรือมีน้อย ถ้าเรารู้จักให้อย่างพอดีไม่ เดือดร้อนเรามากเกินไป เราก็ควรที่จะแบ่งปันความสุขให้ ซึ่ง ผมคิดว่าผู้รับก็มีความสุขไม่ต่างกับเราครับ โดยการที่เราให้นั้น ไม่ได้หวังผลตอบแทนกลับมา ซึ่งบางทีมันยังมีค่ามากกว่าเงิน ทองอีกนะครับ กิจกรรมที่ผมชอบมากส�ำหรับในการออกค่าย ก็คือการแสดงดนตรีให้กับผู้ที่ด้อยโอกาส เนื่องจากผมได้ท�ำใน สิ่งที่เรารักคือการเล่นดนตรีและยังได้ช่วยเหลือหรือบ�ำบัดให้กับ ผู้คนที่ด้อยโอกาสด้วยครับ” “การน� ำ ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาใช้ ใ นการ ท� ำ งานถื อ ว่ า เป็ น สิ่ ง ที่ ถู ก ต้ อ งเลยครั บ เนื่ อ งจาก สายอาชี พ ผมเน้ น งานวิ จั ย แน่ น อนว่ า งานวิ จั ย เชิ ง วิ ท ยาศาสตร์ จ ะต้ อ งใช้ ห ลั ก การเหตุ แ ละผลเข้ า มา อธิ บ าย เช่ น การทดลองหรื อ การแก้ ป ั ญ หา ต้ อ ง อธิ บ ายได้ ต ามเหตุ แ ละผลซึ่ ง บางครั้ ง ก็ มี เ รื่ อ งของ ความรู ้ เ ข้ า มาผู ก ด้ ว ย “ในการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย ผมก็ได้ใช้ประสบการณ์ จากการเข้าร่วมกิจกรรมกับครอบครัวพอเพียง ให้เรามีความ กล้าแสดงออกมากยิ่งขึ้น มีความเป็นผู้น�ำ เกิดเครือข่ายรุ่นพี่ รุ่นน้องกัน เวลามีปัญหาเรื่องราวต่างๆ ก็คอยปรึกษากันได้ ช่วย กันแก้ปัญหา ท�ำให้เราได้เรียนรู้เรื่องราวและน�ำมาปรับใช้ในการ ด�ำเนินชีวิตของเราได้ต่อไป ทั้งชีวิตในช่วงมหาวิทยาลัยและช่วง วัยท�ำงาน ถือว่าการเข้าร่วมกิจกรรมในช่วงมัธยมปลายนั้นเป็น ภูมิคุ้มกันที่ดีท�ำให้เราแข็งแรงต่อไปได้” รุจ ยอมรับว่า กิจกรรมต่างๆ ที่ได้ร่วมสร้างประโยชน์ เพื่ อ ผู ้ อื่ น เป็ น สิ่ ง ที่ เ พิ่ ม พู น ทั ก ษะชี วิ ต ให้ เ ยาวชนแตกต่ า งจาก ห้องเรียน ถือเป็นความส�ำคัญไม่ยิ่งหย่อนกว่ากัน เพราะที่สุด แล้ ว ก็ เ พื่ อ ความสามารถทางวิ ช าการและการแข่ ง ขั น ในช่ ว ง เวลาหนึ่ง แต่ทักษะชีวิตเป็นสิ่งที่ต้องใช้และอยู่คู่ชีวิตคนเราไป ตลอด “ผมคิดว่าเยาวชนสมัยนี้ยังไงก็ต้องท�ำกิจกรรมคู่กับการ เรียนไปด้วย บางทีการที่เราเรียนมากหรือเรียนเก่งก็เป็นเรื่อง ดีและได้ผลลัพธ์ที่ดี แต่ว่าคนที่เรียนอย่างเดียวไม่สนกิจกรรม 73
issue 122 march 2018
“ผมคิดว่าหลักปรัชญานี้ เป็นหลักที่ท�ำได้ง่ายมากครับ ไม่ว่าคุณจะอยู่ในฐานะไหน หรืออาชีพไหนก็ตาม ซึ่งเพียงแค่เรา รู้จักพอใจกับสิ่งที่เรามี เดินทางสายกลาง ไม่ไปตามวัตถุนิยมมากเกินไป มีเงินมากก็ใช้มากมีเงินน้อยก็ใช้น้อย รู้จักการวางแผน อนาคตหรือชีวิตของเรา ไม่ไปท�ำให้ผู้อื่นเดือดร้อน แค่นี้เราก็ท�ำตามหลักปรัชญาความพอเพียงแล้วครับ ซึ่งหลักการนี้ท�ำให้การใช้ ชีวิตของเราง่ายมากขึ้น” “อยากจะฝากถึงน้องๆ รุ่นใหม่ของครอบครัวพอเพียงว่า เรื่องเวลานั้นเรามี 24 ชั่วโมงเท่ากันใน 1 วัน เราจะแบ่งคนเป็น 2 กลุ่ม คือ คนกลุ่มแรก ใน 1 วัน เขาสามารถท�ำอะไรได้หลายอย่างมาก และคนในกลุ่มที่ 2 ใน 1 วันท�ำอะไรได้แค่ 2-3 อย่าง ซึ่ง จะได้ผลลัพธ์ออกมาแตกต่างกันแน่นอน การที่เราได้ท�ำอะไรต่างๆ มากมายย่อมเป็นผลดีแก่ตัวเรา ท�ำให้เราเกิดการเรียนรู้ และ สมองจะพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลาท�ำให้เกิดประสบการณ์แก่ตัวเรา ถึงแม้บางทีการที่เราท�ำหลายอย่างมากมายก็อาจจะไม่ส�ำเร็จ เสมอไป คอยมีอุปสรรคเข้ามาตลอด แต่มันก็ยังท�ำให้รู้ว่าอุปสรรคนี่ล่ะจะเป็นบทเรียนที่ดีต่อตัวเรามากขึ้นอีกด้วย เราก็จะแข็งแกร่ง กว่าผู้อื่นได้ครับ สุดท้ายนี้ขอฝากเรื่องเวลาครับ เวลาเป็นสิ่งมีค่า อย่าปล่อยให้เวลากลืนกินตัวตนของเรา” รุจกล่าวทิ้งท้าย 74 IS AM ARE www.fosef.org
75 issue 122 march 2018
ศูนย์วิจัยเกษตรหลวงเชี ยงใหม่ (ขุนวาง)
ส� ำ หรั บ ใครที่ ถ วิ ล หาบรรยากาศของดอกไม้ สี ช มพู ผ ลิ บ านท่ า มกลางขุ น เขาสี เ ขี ย ว ที่ ศู น ย์ วิ จั ย เกษตรหลวง เชี ย งใหม่ (ขุ น วาง) เป็ น อี ก หนึ่ ง จุ ด ชมต้ น นางพญาเสื อ โคร่ ง หรื อ ซ ากุ ร ะเมื อ งไทยแห่ ง ส� ำ คั ญ ของเชี ย งใหม่ เพราะพื้ น ที่ ซึ่ ง สู ง จากระดั บ น�้ ำ ทะเล 1,100 เมตร ท� ำ ให้ น อกจากจะได้ ชื่ น ชมกั บ ดอกนางพญาเสื อ โคร่ ง ที่ ผลิ ด อกสวยงามเต็ ม ที่ แล้ ว ยั ง ได้ สั ม ผั ส กั บ อากาศเย็ น สบายในช่ ว งฤดู ห นาวอี ก ด้ ว ย 76 IS AM ARE www.fosef.org
70 เส้ น ทางตามรอยพระบาท โดย ททท. พืชเมืองหนาวบนที่ราบสูงให้กับเกษตรกร ทดแทนการปลูกฝิ่น ปัจจุบันภายในพื้นที่ของโครงการ คือแหล่งเพาะปลูก และวิจัยพืชพรรณและไม้ผลเมืองหนาว เช่น สาลี่ พลัม แมค คาเดเมีย เกาลัดจีน สตรอว์เบอร์รี เป็นต้น ทั้งยังเป็นสถานที่ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ยอดนิยม เพราะมีอากาศหนาวเย็นตลอด ทั้งปี “ศูนย์ศึกษา วิจัยพันธุ์พืชและ ไม้ผลเมืองหนาว เพื่อ ถ่ายทอด องค์ความรู้และเทคโนโลยีให้กับเกษตรกร”
ศูนย์วิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม่ (ขุนวาง) ตั้งอยู่ ระหว่าง หมู่บ้านปกาเกอะญอและหมู่บ้านม้ง ต�ำบลแม่วิน อ�ำเภอแม่วาง อยู่ในวงล้อมของแนวเทือกเขาอินทนนท์ ตั้งขึ้นภายหลังจากที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชด�ำเนินมาที่บ้านขุน วางในปี พ.ศ. 2523 ซึ่งพระองค์ได้ทอดพระเนตรเห็นการปลูก ฝิ่นจ�ำนวนมากของชาวบ้าน ทรงมีพระราชด�ำรัสให้กองพืชสวน กรมวิชาการเกษตร ด�ำเนินการปรับปรุงพื้นที่แห่งนี้ ให้เป็นสถาน ที่ทดลอง ขยายพันธุ์ ส่งเสริม และถ่ายทอดเทคโนโลยีการปลูก
77 issue 122 march 2018
วันที่สอง ช่ วงเช้า
ทริ ป ตั ว อย่ า ง 3 วัน 2 คืน เส้นทางท่องเที่ยว จ.เชียงใหม่
• สถานีวิจัยและศูนย์ฝึกอบรมขุนช่างเคี่ยน ชมซากุระ บานสะพรั่งทั้งป่า
ช่ วงบ่าย
วันแรก ช่ วงเช้า
• สวนพฤกษาศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ เดินชม ธรรมชาติบนสะพานลอยฟ้ายาวที่สุดของไทย
• ศูนย์วิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม่ (ขุนวาง) ชมแปลง ดอกไม้ พืชผักเมืองหนาว • ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์กล้วยไม้รองเท้านารี ดอยอินทนนท์ มีเพียงแห่งเดียวในโลก
วันที่สาม ช่ วงเช้า
ช่ วงบ่าย
งาน
• ขึ้นรถรางชมพรรณไม้ ณ สวนพฤกษศาสตร์ทวีชล • ชมงานพุทธศิลป์วัดบ้านเด่นสะหรีศรีเมืองแกน
• พระต�ำหนักดอยผาตั้ง ชมเรือนประทับและเรือนทรง
ช่ วงบ่าย
• พิพิธภัณฑ์พระต�ำหนักดาราภิรมย์ พระต�ำหนักของ เจ้าดารารัศมี • ซื้อของฝากกลับบ้านที่กาดวโรรส
• ชมสถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ ทดลองเลี้ยงแกะ ป้อน หญ้า ป้อนนม
78 IS AM ARE www.fosef.org
ห้ า มพลาด
ที่เที่ยวห้ามพลาด
• จุดชมต้นนางพญาเสือโคร่ง ถนนสายซากุระเมืองไทย ภายในพื้นที่ของศูนย์วิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม่ • ไร่กาแฟ ชมเมล็ดกาแฟอาราบิก้า สายพันธุ์คาติมอร์ สดๆ จากต้น
กิจกรรมห้ามพลาด
• เดินชมแปลงทดลองการเกษตรภายในศูนย์ • เก็บภาพสวยๆ กับดอกนางพญาเสือโคร่ง ที่หนึ่งปีจะ บานให้เห็น แค่ครั้งเดียว ศูนย์วิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม่ (ขุนวาง) ม.12 ต.แม่วิน อ.แม่วาง จ.เชียงใหม่ โทร.0-5331-8333 เปิดให้เข้าชม : ทุกวัน เวลา 08.00–16.00 น. ฤดูท่องเที่ยว: ตุลาคม-กุมภาพันธ์ การเดิ น ทาง ใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1009 เลี้ยวขวาที่สามแยก บริเวณหมู่บ้านขุนกลาง (ประมาณหลักกิโลเมตรที่ 31) ขับตรง ไปประมาณ 18 กม. จนถึงขุนวาง
79 issue 122 march 2018
พม. จั ด งานวั น สตรี ส ากลประจ� ำ ปี 2561 ภายใต้ แ นวคิ ด “พลั ง สตรี ช นบท พลั ง ขั บ เคลื่ อ นสั ง คมไทย”
เป็นสตรีไทยที่อยู่ในชนบทประมาณ 16.9 ล้านคน มีบทบาท ส�ำคัญในด้านการเกษตร หัตถกรรม และการรักษาสิ่งแวดล้อม นอกจากนั้น ยังมีสตรีอีกจ�ำนวนมากที่มีบทบาทส�ำคัญต่าง ๆ ใน การพัฒนาประเทศ พลเอก ฉัตรชัย กล่าวต่ออีกว่า รัฐบาลได้ให้ความส�ำคัญ ในบทบาทของสตรีไทยและความเสมอภาคระหว่างเพศมาตลอด โดยก�ำหนดยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี เน้นการสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางสังคม ขณะเดียวกันแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 ก็ได้เน้นการสร้าง ความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล�้ำในสังคม เพื่อเป็นกรอบใน การพัฒนาศักยภาพ ทุนมนุษย์ที่ค�ำนึงสิทธิมนุษยชน และการ เข้าถึงทรัพยากรทางเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ซึ่งกลุ่มเป้าหมาย ที่เป็นสตรี ก็คือหนึ่งในยุทธศาสตร์ที่ส�ำคัญของรัฐบาลในการเพิ่ม บทบาท และพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่สตรีทุกกลุ่ม และทุกระดับ เพื่อส่งเสริมให้สตรีมีความเข้มแข็ง และสามารถพึ่งพาตนเองได้ ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนอีกด้วย “สตรีทุกท่านต้องหมั่นฝึกฝนตนเองให้เป็นผู้มีความรู้ ความช�ำนาญ มีทักษะต่าง ๆ ที่เอื้อต่อการด�ำรงชีพ มีการคิด อย่างเป็นระบบ และมีวิจารณญาณ มีความมั่นใจและความ เป็นผู้น�ำ ก้าวทันเทคโนโลยี รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง รวมทั้ง รักษาภาพลักษณ์อันงดงามของสตรีไทย พร้อมที่จะก้าวเดินต่อ ไปอย่างมีศักดิ์ศรี เพื่อมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศและได้ รับการยอมรับในระดับนานาชาติต่อไป” พลเอก ฉัตรชัย กล่าว ในตอนท้าย
ในวันที่ 8 มีนาคม 2561 เวลา 13.30 น. ณ ห้องรอยัล จูบิลี่ บอลรูม อาคารชาเลนเจอร์ ศูนย์แสดงสินค้าและการ ประชุมอิมแพ็คเมืองทองธานี อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ รองนายกรัฐมนตรี ให้เกียรติเป็น ประธานมอบโล่ประกาศเกียรติคุณแก่สตรี บุคคล และหน่วย งานองค์กรดีเด่น เนื่องในวันสตรีสากล ประจ�ำปี 2561 จ�ำนวน 19 สาขา 47 รางวัล พร้อมกล่าวเปิดงาน และปาฐกถาพิเศษ “พลังสตรีชนบท พลังขับเคลื่อนสังคมไทย” นอกจากนี้ ยังได้ รับมอบข้อเสนอเชิงนโยบายจากการประชุมสมัชชาสตรีแห่งชาติ ประจ�ำปี 2561 จากคณะผู้แทนสมัชชาสตรีแห่งชาติ เพื่อน�ำไป สู่การผลักดันให้เกิดการพัฒนาศักยภาพของสตรีไทยก้าวเดินต่อ ไปอย่างมีศักดิ์ศรีสู่สากล โดยมี พลเอก อนันตพร กาญจนรัตน์ รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงการพั ฒ นาสั ง คมและความมั่ น คง ของมนุษย์ (รมว.พม.) พร้อมด้วยคณะผู้บริหารกระทรวง พม. ให้การต้อนรับ พลเอก ฉัตรชัย กล่าวว่า องค์การสหประชาชาติ ก�ำหนด ให้วันที่ 8 มีนาคม ของทุกปี เป็น “วันสตรีสากล” เพื่อกระตุ้น ให้สังคมตระหนักถึงความส�ำคัญของสตรี ให้เกียรติและเคารพใน สิทธิ อันชอบธรรมในการด�ำรงชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรี มีความเสมอ ภาค มีความยุติธรรม และมีคุณค่าความเป็นมนุษย์อย่างเท่า เทียมกันในสังคมไทย ส�ำหรับประเทศไทย รัฐบาลภายใต้การน�ำ ของ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ตระหนักดี ว่า พลังของสตรี ถือเป็นพลังส�ำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ และพัฒนาประเทศ เนื่องจากมีจ�ำนวนสตรีไทยถึงครึ่งหนึ่งของ ประชากรทั้งประเทศ หรือประมาณ 33.5 ล้านคน ซึ่งส่วนใหญ่ 80
IS AM ARE www.fosef.org
Round About ครอบครั ว พอเพี ย งชวนเที่ ย วงานอุ ่ น ไอรั ก คลายความหนาว มูลนิธิครอบครัวพอเพียง ร่วมกับ ศูนย์ครอบครัวพอเพียงทั่วประเทศ กว่า 150 คน ร่วมงานอุ่นไอรัก คลายความหนาว โดย ภายในงาน มีการสาธิตหัตถกรรมท้องถิ่น การท�ำขนมไทย น�้ำสมุนไพร การจ�ำหน่ายอาหารไทยโบราณทั้งคาวและหวาน พร้อมกัน นี้นักเรียนจากศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนต่างๆ สนใจเลือกซื้อสินค้าจากร้านจิตอาสา 904 ณ พระลานพระราชวังดุสิต และ สนามเสือป่า
81 issue 122 march 2018
เว็ปไซต์ของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง ท่านสามารถเข้ามาอ่านบทความ นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง หรือข่าวสารดี ๆ ได้แล้ววันนี้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และท่านยังสามารถสมัครเป็นสมาชิ กของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง เพื่อรับข่าวสารจากทางมู ลนิธิครอบครัวพอเพียงได้ก่อนใคร โดยท่านสามารถสมัครเพื่อเป็นสมาชิ กได้ท่ี
www.fosef.org 82
IS AM ARE www.fosef.org
เผยผิ ว ใสไร้ ริ้ ว รอย ด้ ว ย สบู ่ ว ่ า นหางจระเข้ ภั ท รพั ฒ น์ คุ ณ ค่ า จากว่ า นหางจระเข้ ที่ ช ่ ว ยลดรอยแดงจากการอั ก เสบของผิ ว ที่ โ ดนแดด ลดเลื อ นริ้ ว รอย ฝ้ า กระ จุ ด ด่ า งด� ำ เพิ่ ม ความชุ ่ ม ชื่ น ให้ ผิ ว ไม่ แ ห้ ง กร้ า น เมื่ อ ใช้ เ ป็ น ประจ� ำ ผิ ว หน้ า กระจ่ า งใสขึ้ น อย่ า งเป็ น ธรรมชาติ สามารถหาซื้อได้ที่ร้านภัทรพัฒน์ทุกสาขาหรือสั่งซื้อออนไลน์ได้ทาง Facebook/Patpat9 ภัทรพัฒน์สินค้าจากมูลนิธิชัยพัฒนา และ www.patpat9.com 83 issue 122 march 2018
นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง พร้อมเสริพ์ให้ทุกท่านได้อ่านแล้ว!! เพี ย งแค่ ค ลิ ก เข้ า ไปที่ www.fosef.org ท่ า นก็ ส ามารถอ่ า นนิ ต ยสาร IS AM ARE ครอบครั ว พอเพี ย ง ได้ โ ดยไม่ มี ค ่ า ใช้ จ ่ า ย เรื่ อ งราว สาระดี ๆ มากมายรอท่ า นอยู ่ หากอ่ า นแล้ ว ถู ก ใจอย่ า ลื ม บอกต่ อ นะครั บ 84 IS AM ARE www.fosef.org