เทคโนโลยีสารสนเทศ 1.1 บทบาทความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ การเปลี่ ย นแปลงสั ง คมความเป็ นอยู่ ข องมนุ ษ ย์เ ป็ นไปอย่ า งรวดเร็ ว กล่ า วกัน ว่ า ได้เ กิ ด การ เปลี่ ย นแปลงในลัก ษณะที่ เ รี ย กว่า การปฏิ ว ตั ิ ม าแล้ว สองครั้ ง ครั้ งแรกเกิ ด จากที่ ม นุ ษ ย์รู้ จ ัก ใช้ร ะบบ ชลประทานเพื่อการเพาะปลู ก สังคมความเป็ นอยู่ของมนุ ษย์จึงเปลี่ ยนจากการเร่ ร่อนมาเป็ นการตั้งหลัก แหล่งเพื่อทาการเกษตร ต่อมาเมื่อประมาณร้ อยกว่าปี ที่แล้ว ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 หลังจากที่ เจมส์ วัตต์ ( James Watt ) ประดิษฐ์เครื่ องจักรไอน้ า มนุ ษย์รู้จกั นาเอาเครื่ องจักรมาช่วยในอุตสาหกรรมการผลิต และช่วยในการสร้างยานพาหนะเพื่องานคมนาคมขนส่ ง ผลที่ตามมาทาให้เกิดการปฏิวตั ิทางอุตสาหกรรม สังคมความเป็ นอยูข่ องมนุษย์จึงเปลี่ยนจากสังคมเกษตรมาเป็ นสังคมเมือง การปฏิวตั ิอุตสาหกรรมยุคแรก เริ่ มจากการใช้เครื่ องจักรกลแทนการทางานด้วยมือพลังงานที่ใช้ ขับเคลื่อนเครื่ องจักรมาจากพลังงานน้ า พลังงานไอน้ า และเปลี่ยนเป็ นพลังงานจากน้ ามัน มีการขับเคลื่อน เครื่ องยนต์และมอเตอร์ ไฟฟ้ า การปฏิวตั ิอุตสาหกรรมได้เกิ ดขึ้นอีกโดยเปลี่ยนแปลงระบบทางานจากทีละ ขั้นตอนมาเป็ นการทางานระบบอัตโนมัติ การทางานเหล่านี้ ล้วนแต่อาศัยระบบควบคุ มด้วยคอมพิวเตอร์ ทั้งสิ้ น มีผกู ้ ล่าวว่าการปฏิวตั ิครั้งที่สามกาลังจะเกิ ดขึ้น โดยสิ่ งที่เกิดขึ้นใหม่น้ ี ได้แก่ การพัฒนาทางด้าน ความคิด การตัดสิ นใจ โดยอาศัยหลักการของคอมพิวเตอร์ ในอนาคตกลุ่มคนเพียงกลุ่มเดี ยวอาจทางาน ทั้งหมดโดยอาศัยระบบคอมพิวเตอร์ ควบคุ ม ทาการควบคุมหุ่ นยนต์คอมพิวเตอร์ และให้หุ่นยนต์ควบคม การทางานของเครื่ องจักรอีกต่อหนึ่ ง ความเจริ ญก้าวหน้าทางอุตสาหกรรมเกือบทุกแขนงมีคอมพิวเตอร์ เข้า มาเกี่ยวข้องด้วยเสมอ ระบบการผลิตส่ วนใหญ่ตอ้ งใช้คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิ กส์ แทรกเข้ามาเกือบทุก กระบวนการ ตั้งแต่การควบคุม การขนส่ งวัตถุดิบ กระบวนการผลิต และการบรรจุหีบห่อ ในระดับประเทศ ประเทศไทยสั่งซื้ อสิ นค้าเทคโนโลยีระดับสู งเป็ นปริ มาณมาก ทาให้ตอ้ งซื้ อ เทคนิควิธีการ ตลอดจนเครื่ องมือเครื่ องจักรเข้ามาในปริ มาณมากไปด้วย ขณะเดียวกันเรายังขาดบุคลากรที่ จะพัฒนาเครื่ องจักรเครื่ องมือเหล่านั้นให้มีประสิ ทธิ ภาพ การสู ญเสี ยเงินตราเนื่ องจากสาเหตุน้ ี จึงเกิดขึ้นมิใช่ น้อย หลายโรงงานจึงไม่กล้าใช้เครื่ องจักรที่ใช้เทคโนโลยีใหม่ เพราะหาบุคลากรในการดาเนิ นการได้ยาก แต่ในระยะหลังค่าจ้างแรงงานสู งขึ้นและการแข่งขันทางธุ รกิจมีมากขึ้น จึงตกอยูใ่ นสภาวะจายอมที่ตอ้ งนา เครื่ องมือเหล่านั้นเข้ามา เนื่องจากเครื่ องมือดังกล่าวให้ผลผลิตที่ดีกว่าของเดิมและทาให้ราคาต้นทุนการผลิต สิ นค้าต่าลงอีกด้วย
ในยุค วิกฤตการณพลัง งาน หลายประเทศพยายามลดการใช้พ ลังงาน โรงงานพยายามหาทาง ควบคุ มการใช้พลังงาน ให้มีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดเพื่อจะลดค่าใช้จ่ายลง จึงนาคอมพิวเตอร์ มาช่วยควบคุ ม เช่ น ควบคุ มการเดิ นเครื่ องให้เหมาะสม ควบคุ มปริ มาณการเผาไหม้ของเครื่ องจักรในกระบวนการผลิ ต ควบคุมการจัดภาระงานให้เหมาะสม รวมถึงการควบคุมสิ่ งแวดล้อมต่างๆด้วย เมื่อคอมพิวเตอร์ เข้ามาเกี่ยวข้องกับการดาเนิ นชี วิตของมนุ ษย์มากขึ้น ก็ไดมีการพัฒนางานทางด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ และในปั จจุบนั เทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทต่อชีวติ ประจาวันของมนุ ษย์ มากขึ้น สังเกตได้จากการนาคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลมาใช้ในสานักงาน การจัดทาระบบฐานข้อมูลขนาด ใหญ่ การใช้อุป กรณ์ อานวยความสะดวกที่ ป ระกอบด้วยชิ้ นส่ วนอิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ แสดงว่า เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการคานวณและเก็บข้อมูลได้แพร่ ไปทัว่ ทุกแห่ ง เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทสาคัญต่อ การแข่งขันด้านธุ รกิจและการขยายตัวของบริ ษทั ส่ งผลต่อการให้บริ การขององค์กรและหน่วยงาน และมี ผลต่อการประกอบกิจการในแต่ละวัน เทคโนโลยีสารสนเทศเริ่ มใช้งานในประเทศไทยเมื่อไม่นานมานี้ เอง โดยในปี พ.ศ.2507 มีการนา คอมพิวเตอร์ เช้ามาใช้ในประเทศไทยเป็ นครั้งแรก และในขณะนั้นเทคโนโลยีสารสนเทศยังไม่แพร่ หลายนัก จะมี เพีย งการใช้โทรศัพท์เพื่ อการติ ดต่อสื่ อสารและนาคอมพิ วเตอร์ ม าช่ วยประมวลผลข้อมูล งานด้า น สารสนเทศอื่นๆ ส่ วยใหญ่ยงั คงเป็ นงานภายในสานักงานที่ยงั ไม่มีอุปกรณ์และเครื่ องมือด้านเทคโนโลยีมา ช่วยงานเท่าใดนัก เมื่ อมี ก ารประดิ ษ ฐ์คิ ดค้นอุ ป กรณ์ ช่ วยงานสารสนเทศ เช่ น เครื่ องถ่ า ยเอกสาร โทรสาร และ ไมโครคอมพิวเตอร์ อาชีพของประชากรก็ปรับเปลี่ยนมาสู่ งานด้านสารสนเทศมากขึ้นสานักงานเป็ นแหล่งที่ มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมากที่สุด เช่น การใช้คอมพิวเตอร์ ทาบัญชี เงินเดือนและบัญชี รายรับรายจ่าย การติดต่อสื่ อสารภายในและภายนอกโดยใช้โทรศัพท์และโทรสาร การจัดเตรี ยมเอกสารด้วยการใช้เครื่ อง ถ่ายเอกสารและคอมพิวเตอร์ งานด้านสารสนเทศมีแนวโน้มขยายตัวที่ค่อนข้างสดใส เพราะเทคโนโลยีดา้ นนี้ ได้รับการส่ งเสริ ม สนับสนุนอย่างเต็มที่ มีการวิจยั และพัฒนาให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ออกมาตอบสนองความต้องการของมนุษย์ อยูต่ ลอดเวลา เทคโนโลยีที่ใช้ในระบบสารสนเทศที่กาลังได้รับความสนใจอย่างมากในขณะนี้ คือเทคโนโลยีสื่อ ประสม ( multimedia ) ซึ่ งรวมข้อความ ภาพ เสี ยงและวีดิทศั น์เข้ามาผสมกันเทคโนโลยีน้ ี กาลังได้รับการ พัฒนา ในอนาคตเทคโนโลยีแบบสื่ อประสมจะช่วยเสริ มและสนับสนุ นด้านสารสนเทศให้กา้ วหน้าต่อไป เป็ นที่คาดหมายว่าอัตราการเติบโตของผูท้ างานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศจะมีมากขึ้น
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศค่อยๆ กลายมาเป็ นระบบรวม โดยให้คอมพิวเตอร์ ระบบหนึ่ ง ทางานพร้ อมกันได้หลายๆอย่าง นอกจากใช้ประมวลผลข้อมูลด้านบัญชีแล้ว ยังใช้งานจัดเตรี ยมเอกสาร แทนเครื่ องพิมพ์ดีด ใช้รับส่ งข้อความหรื อจดหมายกับคอมพิวเตอร์ ที่อยูห่ ่างไกล ซึ่ งอาจอยูค่ นละซี กโลกใน ลักษณะที่เรี ยกว่า ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( electronic mail หรื อ e-mail ) สาหรับเครื่ องถ่ายเอกสาร นอกจากจะใช้ถ่ายสาเนาเอกสารตามปกติแล้ว อาจเพิ่มขีดความสามารถให้ใช้งานเป็ นเครื่ องพิมพ์หรื อรับส่ ง โทรสารได้อีกด้วย การพัฒ นาทางเทคโนโลยี ส ารสนเทศเป็ นไปอย่ า งรวดเร็ ว ทั้ง ด้า นฮาร์ ด แวร์ ( hardware ) ซอฟต์แวร์ ( Software ) ข้อมูล ( data ) และการติ ดต่อสื่ อสาร ( communication ) ผูใ้ ช้จึงต้องปรับตัว ยอมรับและเรี ยนรู้เทคโนโลยีใหม่ที่เกิ ดขึ้นอยู่เสมอ โดยเฉพาะข้อมูลและการติดต่อสื่ อสารซึ่ งเป็ นหัวใจ สาคัญของการดาเนิ นธุ รกิจ หากการดาเนิ นงานธุ รกิจใช้ขอ้ มูลซึ่ งมีการบันทึกใส่ กระดาษและเก็บรวบรวม ใส่ แฟ้ ม การเรี ยกค้นและสรุ ปผลข้อมูลย่อมทาได้ชา้ และเกิดความผิดพลาดได้ง่ายกว่าการประมวลผลข้อมูล ด้วยเครื่ องคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศจะช่ วยให้ทางานได้ง่าย สะดวก รวดเร็ วและถูกต้องขึ้ น และที่สาคัญช่วยให้สามารถตัดสิ นใจดาเนินงานได้เร็ ว
1.2 ขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ คาว่า เทคโนโลยี ( technology ) หมายถึงการประยุกต์เอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ ความจริ ง เกี่ ยวกับธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม มาทาให้เกิ ดประโยชน์ต่อมวลมนุ ษย์ เทคโนโลยีจึงเป็ นวิธีการในการ สร้างมูลค่าเพิ่มของสิ่ งต่างๆ ให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น เช่น ทราย หรื อซิ ลิคอน ( silicon ) เป็ นสารแร่ ที่ พบเห็นทัว่ ไปตามชายหาด หากนามาสกัดด้วยเทคนิ ควิธีการสร้างเป็ นชิ ป ( chip ) จะทาให้สารแร่ ซิลิคอน นั้นมีคุณค่าและมูลค่าเพิ่มขึ้นได้อีกมาก สาหรับสารสนเทศ ( information ) หมายถึง ข้อมูลที่เป็ นเรื่ องเกี่ยวข้องกับความจริ งของ คน สัตว์ สิ่ งของ ทั้งที่เป็ นรู ปธรรมและนามธรรม ที่ได้รับการจัดเก็บรวบรวม ประมวลผลเรี ยกค้น และสื่ อสาร ระหว่างกัน นามาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ ซึ่ งนักเรี ยนจะได้เรี ยนเพิ่มเติมต่อไป เทคโนโลยีสารสนเทศ ( Information Technology : IT ) หมายถึ ง การนาวิทยาการที่กา้ วหน้า ทางด้านคอมพิวเตอร์ และการสื่ อสารมาสร้างมูลค่าเพิ่มให้กบั สารสนเทศ ทาให้สารสนเทศมีประโยชน์และ ใช้งานได้กว้างขวางมากขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศรวมถึ งการใช้ เทคโนโลยีดา้ นต่างๆ ในการรวบรวม จัดเก็ บ ใช้ง าน ส่ งต่ อ หรื อสื่ อสารระหว่า งกัน เทคโนโลยีส ารสนเทศเกี่ ย วข้องโดยตรงกับ เครื่ องมื อ เครื่ อ งใช้ใ นการจัด การสารสนเทศ ได้แ ก่ เครื่ องคอมพิ ว เตอร์ แ ละอุ ป กรณ์ ร อบข้า ง ขั้น ตอนวิ ธี ก าร
ดาเนิ นการซึ่ งเกี่ ยวข้องกับซอฟต์แวร์ เกี่ ยวข้องกับข้อมูล บุ คลากร และกรรมวิธีการดาเนิ นงานเพื่อให้ ข้อมูลเกิดประโยชน์สูงสุ ด เทคโนโลยีสารสนเทศจึงเป็ นเทคโนโลยีที่ครอบคลุมเรื่ องเกี่ยวกับการประมวลผลข้อมูล ซึ่ งได้แก่ การใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ การติ ดต่อสื่ อสารระหว่างกันด้วยความรวดเร็ วการจัดการข้อมูล รวมถึ ง วิธีการที่จะใช้ขอ้ มูลให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด
1.3 ความก้าวหน้ าของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในภาวะสังคมปัจจุบนั หลายสิ่ งหลายอย่างที่เกิดขึ้นรอบตัวเป็ นตัวชี้ บอกว่า ประเทศไทยกาลังก้าว สู่ ยุค สารสนเทศ ดัง จะเห็ นได้จ ากวงการศึ ก ษาสนใจให้ค วามรู ้ ด้า นคอมพิ วเตอร์ และส่ ง เสริ ม การน า เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มาประยุกต์งานต่างๆ มากขึ้น การบริ หารธุ รกิจของบริ ษทั ห้างร้านต่างๆ ตลอดจน หน่ วยงานของรัฐบาลและรั ฐวิสาหกิ จมีการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในองค์กร ด้วยการเก็บข้อมูล ประมวลผลและวิเคราะห์ขอ้ มูล แล้วนาผลลัพธ์มาช่วยในการวางแผนและตัดสิ นใจ ระยะเริ่ มแรกที่มนุ ษย์ได้คิดค้นประดิ ษฐ์คอมพิวเตอร์ ที่มีลกั ษณะเป็ นเครื่ องคานวณอิเล็กทรอนิ กส์ คอมพิวเตอร์ ได้ถูกใช้ทางานด้านการคานวณทางวิทยาศาสตร์ เป็ นส่ วนใหญ่แล้วจึงนามาใช้เก็บรวบรวมและ ประมวลผลข้อมูลทางด้านธุ รกิ จในเวลาต่อมา ระยะแรกนี้ เรี ยกว่าระยะของการประมวลผลข้อมูล ( data processing age ) ข้อมูลที่ได้มาจะต้องผ่านการประมวลผลให้ได้เป็ นสารสนเทศก่อน จึงนาไปใช้ให้เกิ ดประโยชน์ วิธีการประมวลผลข้อมูลจะเริ่ มตัง่ แต่การรวบรวมจัดเก็บข้อมูล เมื่อได้ขอ้ มูลแล้วต้องมีการตรวจสอบความ ถู ก ต้อง แบ่ ง กลุ่ ม จัด ประเภทของข้อมู ล เช่ น ข้อมู ล ตัว อัก ษรซึ่ ง เป็ นชื่ อหรื อ ข้อ ความก็ อาจต้อ งมี ก าร เรี ยงลาดับ และข้อมูลตัวเลขอาจต้องมีการคานวณ จากนั้นจึงทาสรุ ปได้เป็ นสารสนเทศ ถ้าข้อมูลที่นามาประมวลผลมีจานวนมากจนเกินความสามารถของมนุ ษย์ที่จะจัดการได้ในเวลาอัน สั้น ก็จะเป็ นจะต้องนาคอมพิวเตอร์ มาช่วยเก็บและประมวลผลเมื่อข้อมูลอยูภ่ ายในคอมพิวเตอร์ การแก้ไข หรื อเรี ยกค้นสามารถทาได้สะดวกและรวดเร็ วขณะเดี ยวกันการทาสาเนาและการแจกจ่ายข้อมูล ก็สามารถ ดาเนินการได้ทนั ที งานที่ เกิ ดขึ้ นจากการประมวลผลข้อมูลมักเก็บในลักษณะแฟ้ มข้อมูล ตัวอย่างเช่ น การทาบัญชี เงินเดือนของพนักงานบริ ษทั ข้อมูลเงินเดือนของพนักงานที่เก็บในคอมพิวเตอร์ จะรวมกันเป็ นแฟ้ มข้อมูลที่ ประกอบด้วยชื่อพนักงาน เงินเดือน และข้อมูลสาคัญอื่นๆ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ จะเรี ยกแฟ้ มเงินเดือนมา ประมวลผลและสรุ ปยอด ขั้นตอนการท างานจะต้องท าพร้ อมกันที เดี ย วทั้ง แฟ้ มข้อมู ล ที่ เรี ย กว่า การ ประมวลผลแบบกลุ่ม ( batch processing )
แต่เนื่องจากระบบงานที่เกิดขึ้นภายในองค์กรค่อนข้างซับซ้อน เช่น รายได้ของพนักงานที่ได้รับใน แต่ละเดื อน อาจไม่ได้มาจากอัตราเงิ นเดือนประจาเท่านั้น แต่อาจมีค่านายหน้าจากการขายสิ นค้าด้วย ใน ลักษณะนี้แฟ้ มข้อมูลการขาย จะสัมพันธ์กบั แฟ้ มข้อมูลเงินเดือน และสัมพันธ์กบั แฟ้ มข้อมูลอื่นๆ เช่น ค่า สวัสดิการ การหักเงินเดือนเป็ นค่าใช้จ่ายต่างๆระบบข้อมูลจะกลายเป็ นระบบที่มีแฟ้ มข้อมูลหลายแฟ้ มเชื่ อม สัมพันธ์กนั และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เรี ยกแฟ้ มข้อมูลเหล่านั้นมาจัดการให้เป็ นไปตามที่ตอ้ งการ ระบบนี่ เรี ยกว่า ระบบฐานข้อมูล ( database system ) การจัดการข้อมูล ที่ เป็ นฐานข้อมูล จะเป็ นระบบสารสนเทศที่ มีประโยชน์ซ่ ึ งนาไปช่ วยงานด้า น ต่างๆ อย่างได้ผล ระบบข้อมูลที่สร้ างเพื่อใช้ในบริ ษทั จะเป็ นระบบฐานข้อมูลของกิจกรรมที่เกิดขึ้น เพื่อ แสดงสารสนเทศที่เป็ นจริ งของบริ ษทั สามารถนาข้อเท็จจริ งนั้นไปวิเคราะห์และนาผลลัพธ์ไปประกอบการ ตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หาร เพื่อการวางแผนและกาหนดนโยบายการจัดการต่างๆ ในปั จจุบนั การนาคอมพิวเตอร์ ไปใช้งานของประเทศต่างๆ ทัว่ โลก อยู่ที่การใช้สารสนเทศเป็ น ส่ วนใหญ่ แนวโน้มขงระบบการจัดการข้อมูลของยุคนี้ เริ่ มจากเปลี่ยนระบบงานการประมวลผลแบบกลุ่ม มาเป็ นระบบตอบสนองทันที ที่เรี ยกว่า การประมวลผลแบบกลุ่มมาเป็ นระบบตอบสนองทันที ที่เรี ยกว่า การประมวลผลแบบเชื่ อมตรง ( online
processing ) เช่ น การฝากถอนเงิ นของธนาคารต่างๆ ผ่าน
เครื่ องรับ-จ่ายเงินอัตโนมัติ หรื อระบบเอทีเอ็ม ( Automatic Teller Machine : ATM ) ขณะที่ ป ระเทศต่ า งๆ ยัง อยู่ ใ นยุ ค ของการประมวลผลสารสนเทศ ในบางประเทศ เช่ น สหรัฐอเมริ กา และญี่ปุ่น ได้พฒั นาเข้าสู่ การประมวลผลฐานความรู ้ ( knowledge-base processing ) โดย ให้คอมพิวเตอร์ ใช้ง่าย รู ้จกั ตอบสนองกับผูใ้ ช้ และสามารถแก้ปัญหาที่ตอ้ งอาศัยการตัดสิ นใจระดับสู ง ด้วย การเก็บสะสมฐานความรู ้ไว้ในคอมพิวเตอร์ และมีโครงสร้างการให้เหตุผล เพื่อนาความรู ้มาช่วยแก้ปัญหา ที่สลับซับซ้อน การประมวลผลฐานความรู้เป็ นการประยุกต์หลักวิชาด้านปั ญญาประดิษฐ์ ( Artificial Intelligence : AI ) ที่ รวบรวมศาสตร์ หลานแขนง คื อ คอมพิวเตอร์ จิตวิทยา ปรัชญา และภาษาศาสตร์ เข้าด้วยกัน ตัวอย่างชิ้ นงานประเภทนี้ ได้แก่ หุ่ นยนต์ ( robot ) และระบบผูเ้ ชี่ ยวชาญ ( expert system ) ปั จจุบนั มี ซอฟต์แวร์ ที่ เป็ นระบบผูเ้ ชี่ ยวชาญช่ วยในการวินิจฉัยโรคต่ างๆ การสารวจทรั พ ยากรธรรมชาติ และการ อนุมตั ิให้กยู้ มื เงิน
1.4 ประโยชน์ ทไี่ ด้ จากเทคโนโลยีสารสนเทศ ชี วิตความเป็ นอยูใ่ นปั จจุบนั เกี่ยวข้องกับสารสนเทศต่างๆ มากมาย การอยู่รวมกันเป็ นสังคมทาให้ มนุ ษย์ตอ้ งสื่ อสารถึ งกัน ต้องติดต่อและทางานหลายสิ่ งหลายอย่างรวมกัน สมองของราต้องจดจาสิ่ งต่างๆ
ไว้มากมาย ต้องจดจารายชื่ อผูท้ ี่เราเกี่ ยวข้องด้วย จดจาข้อมูลต่างๆไว้ใช้ประโยชน์ในภายหลัง สังคมจึ ง ต้องการความเป็ นระบบที่มีรูปแบบชัดเจน เช่น การกาหนดเลขที่บา้ น ถนน อาเภอ จังหวัด ทาให้สามารถ ติดต่อส่ งจดหมายถึงกันได้ ที่อยูจ่ ึงเป็ นสารสนเทศอย่างหนึ่งที่ใช้งานกันอยู่ เพื่อให้สารสนเทศที่เกี่ ยวข้องกับมนุ ษย์เป็ นระบบมากขึ้น จึงมรการจัดการสารสนเทศเหล่านั้นใน ลักษณะเชิงระบบ เช่น ระบบทะเบียนราษฎร์ มีการใช้เลขประจาตัวประชาชนซึ่ งประกอบด้วยเลขรหัส 13 ตัว แต่ละตัวจะมีความหมายเพื่อใช้ในการตรวจสอบ การเข้ารับการตรวจรักษาในโรงพยาบาลก็ตอ้ งมีการลงทะเบียน การสร้างเวชระเบียนระบบเสี ยภาษี ก็มีการสร้างรหัสประจาตัวผูเ้ สี ยภาษี นอกจากนี้ มีการจดทะเบียนรถยนต์ทะเบียนการค้า ทะเบียนโรงงาน ฯลฯ การใช้สารสนเทศเกี่ ยวข้องกับทุกคน การเรี ยนรู ้ เกี่ ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศจึ งมีความจาเป็ น ปั จจุบนั เราซื้ อสิ นค้าด้วยบัตรเครดิต เบิกเงินด้วยบัตรเอทีเอ็ม โอนย้ายข้อมูลในลักษณะอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีสารสนเทศจึงเป็ นเทคโนโลยีแห่ งศตวรรษนี้ ที่ใช้ในการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อมูล จานวนมากได้รับการบันทึกไว้ในสื่ อกลางที่สามารถนากลับมาใช้ได้ เช่ น อยูใ่ นแถบบันทึก แผ่นบันทึก แผ่นซี ดีรอม ดังจะเห็นเอกสารหรื อหนังสื อบรรจุในแผ่นซี ดีรอม ซึ่ งอาจเก็บหนังสื อทั้งตูไ้ ว้ในแผ่นซี ดีรอม เพียงแผ่นเดียว การสื่ อสารข้อมูลที่เห็ นเด่นชัดขณะนี้ และมีบทบาทมากอย่างหนึ่ ง คือ ไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิ กส์ หรื อการส่ งข้อความถึงกันผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ กล่าวคือ ผูใ้ ช้นงั่ อยูห่ น้าจอคอมพิวเตอร์ พิมพ์ขอ้ ความ เป็ นจดหมายหรื อ เอกสาร พิ ม พ์เ ลขที่ อ ยู่ ข องไปรษณี ย ์อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ข องผู ้รั บ และส่ ง ผ่ า นเครื อ ข่ า ย คอมพิวเตอร์ ผูร้ ับก็สามารถเดคอมพิวเตอร์ ของตน เพื่อค้นหาจดหมายได้และสามารถตอบโต้กลับได้ทนั ที เทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ ยวข้องกับชี วิตประจาวันเป็ นสิ่ งที่ตอ้ งเรี ยนรู ้ เป็ นเรื่ องที่รวมไปถึ งการ รวบรวมข้อมูล การจัดเก็บข้อมูล การจัดการข้อมูลและการประมวลผลข้อมูล ข้อมูลที่จดั เก็บ จาเป็ นต้อง ตรวจสอบเพื่อความถู กต้อง จัดรู ปแบบเพื่อให้อยู่ในรู ปแบบที่ประมวลผลได้ เช่ น การเก็บนามบัตรของ เพื่ อนหรื อบุ คคลที่ มี ก ารติ ดต่ อซึ่ ง มี จานวนมาก เราอาจหากล่ องพลาสติ ก มาใส่ นามบัตร มี ก ารจัดเรี ย ง นามบัตรตามอักษรของชื่อ สร้างดัชนีการเรี ยกค้นเพื่อให้หยิบค้นได้ง่าย แต่เมื่อคอมพิวเตอร์ เข้ามามีบทบาท ทาให้มีการเปลี่ ยนแปลงรู ปแบบของการจัดเก็บในลักษณะบัตรมาเป็ นการจัดเก็บข้อมูลไว้ในแผ่นบันทึ ก โดยมีระบบการจัดเก็บและประมวลผลลักษณะเดียวกับที่กล่าว เมื่อต้องการเพิ่มเติมปรับปรุ งข้อมูลหรื อเรี ยก ค้นก็นาแผ่นบันทึ กนั้นมาใส่ ในคอมพิวเตอร์ ทาการเรี ยกค้น แล้วแสดงผลบนจอภาพหรื อพิมพ์ออกทาง เครื่ องพิมพ์
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ทาได้สะดวก คอมพิวเตอร์ จึงเป็ นที่นิยมสาหรับการจัดการข้อมูล ในยุคปั จจุบนั ขณะเดียวกันคอมพิวเตอร์ มีราคาลดลงและมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น จึงเชื่ อแน่ ว่าบทบาท ของการจัดการข้อมูลในชีวติ ประจาวันจะเพิ่มมากขึ้นต่อไป โครงสร้างและรู ปแบบของข้อมูลที่ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ เป็ นโครงสร้างที่จะต้องมีรูปแบบ ชัดเจนและแน่ นอน การจัดการข้อมูลจึงต้องมีการกาหนดกฎเกณฑ์เฉพาะ เช่น การกาหนดรหัสเพื่อใช้ใน การจาแนกข้อมูล รหัสจึงมีความสาคัญ เพราะคอมพิวเตอร์ สามารถจาแนกข้อมูลด้วยรหัสได้ง่าย ลองนึ กดู ว่าหากมีขอ้ มูลจานวนมากแล้วให้คอมพิวเตอร์ คน้ หาโดยค้นหาตั้งแต่หน้าแรกเป็ นต้นไป การดาเนิ นการ เช่นนี้ กว่าจะค้นพบอาจไม่ทนั ต่อความต้องการการดาเนิ นการเกี่ยวกับข้อมูลจึงต้องมีการกาหนดรหัส เช่น เลขประจาตัวประชาชน รหัสเลขทะเบียนคนไข้ ทะเบียนรถยนต์ เลขประจาตัวนั กเรี ยน เป็ นต้น การ จัดการในลักษณะนี้จึงต้องมีการสร้างระบบเพื่อความเหมาะสมกับการทางานของคอมพิวเตอร์ เป็ นสาคัญ นอกจากเรื่ องความเร็ วและความแม่ น ย าของการประมวลผลจ้อมู ล ด้วยคอมพิ วเตอร์ แล้ว การ คัดลอกและการแจกจ่ายข้อมูลไปยังผูใ้ ช้ก็ทาได้สะดวก เนื่ องจากข้อมูลที่ เก็บในรู ปแบบอิ เล็กทรอนิ กส์ สามารถเปลี่ยนถ่ายระหว่างตัวกลางได้ง่าย เช่น การทาสาเนาข้อมูลระหว่าง แผ่นบันทึกข้อมูลสามารถทา เสร็ จได้ในเวลารวดเร็ ว ด้วยความก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างสังคมในยุคของสารสนเทศการปรับตัวของสังคม จึ ง เกิ ดขึ้ น ประเทศที่ เจริ ญแล้วประชากรส่ ว นใหญ่ จะอยู่ก ับ เครื่ อ งจัก รเครื่ อ งมื อต่ า งๆ ที่ เกี่ ย วข้อ งกับ สารสนเทศ มีเครื อข่ายการให้บริ การใหม่ๆ เพิ่มขึ้นหลายอย่างขณะที่เราอยูบ่ า้ น อาจใช้โทรศัพท์ติดต่อ เครื อข่ ายอิ นเทอร์ เน็ ต ( internet ) เพื่ อขอเรี ยกดู ราคาสิ นค้า ขอดู ข่ า วเกี่ ยวกับ ดิ นฟ้ าอากาศ ข่า วความ เคลื่ อนไหวเกี่ ย วกับ การเมื อง อัตราแลกเปลี่ ย นเงิ นตรา นอกจากนี้ ยงั มี ระบบการสั่ง ซื้ อสิ นค้า ผ่านทาง เครื อ ข่ า ยคอมพิ ว เตอร์ แม่ บ ้า นใช้ค อมพิ วเตอร์ ส่ วนตัว ที่ บ ้า นต่ อ เชื่ อ มผ่า นเครื อ ข่ า ยสายโทรศัพ ท์ไ ปยัง ห้างสรรพสิ นค้า เพื่อเปิ ดดูรายการสิ นค้าและราคา ซึ่ งสามารถสั่งซื้ อได้เมื่อต้องการ บทบาทของเทคโนโลยีส ารสนเทศที่ กาลังเปลี่ ย นแปลงสังคมนี้ เอง ผลักดันให้เราต้องศึ กษาหา ความรู ้ เ พื่ อ ปรั บ ตัว ให้ เ ข้า กับ สั ง คมได้ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารได้เ พิ่ ม เติ ม หลัก สู ต รเกี่ ย วกับ เทคโนโลยี สารสนเทศเข้า ไปในหลัก สู ต รการเรี ย นการสอน โดยมุ่ ง เน้น ให้ เ ยาวชนของชาติ ไ ด้มี โ อกาสเรี ย นรู ้ เทคโนโลยี เ หล่ า นี้ หากไม่ หาทางปรั บ ตัว เข้า กับ เทคโนโลยี แ ละเรี ย นรู ้ ใ ห้ เ ข้า ใจ เพื่ อ ให้มี ก ารพัฒ นา สังคมไทยได้อย่างเหมาะสม เราจะเป็ นเพียงผูใ้ ช้ที่ตอ้ งเสี ยเงินตราให้ต่างประเทศอีกมากมาย
1.5 เทคโนโลยีกบั แนวโน้ มโลก
เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้สังคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเป็ นสังคมสารสนเทศ สภาพ ของสังคมโลกได้เปลี่ยนแปลงมาแล้วสองครั้ง จากสังคมความเป็ นอยูแ่ บบเร่ ร่อนมาเป็ นสังคมเกษตรที่รู้จกั การเพาะปลูกและสร้างผลิตผลทางเกษตรทาให้มีการสร้างบ้านเรื อนเป็ นหลักแหล่ง ต่อมามีความจาเป็ นต้อง ผลิตสิ นค้าให้ได้ปริ มาณมากและต้นทุนถูก จึงต้องหันมาผลิตแบบอุตสาหกรรม ทาให้สภาพความเป็ นอยู่ ของมนุษย์เปลี่ยนแปลงมาเป็ นสังคมเมือง มีการรวมกลุ่มอยูอ่ าศัยเป็ นเมือง มีอุตสาหกรรมเป็ นฐานการผลิต สังคมอุ ตสาหกรรมได้ดาเนิ นมาจนถึ งปั จจุ บนั และกาลังจะเปลี่ ยนแปลงเข้าสู่ สังคมสารสนเทศปั จจุบนั คอมพิวเตอร์ และระบบสื่ อสารมีบทบาทมากขึ้น มีการใช้เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น อินเทอร์ เน็ตเชื่ อมโยง การทางานต่างๆ การดาเนินธุ รกิจใช้สารสนเทศอย่างกว้างขวาง เกิดคาใหม่วา่ ไซเบอร์ สเปซ ( cyberspace ) มีการดาเนิ นกิจกรรมต่างๆ ในไซเบอร์ สเปซ เช่น การพูดคุย การซื้ อสิ นค้าและบริ การ การทางานผ่าน ทางเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทาให้เกิดสภาพที่เสมือนจริ งมากมาย เช่น ห้องสมุดเสมือนจริ ง ห้องเรี ยนเสมือน จริ ง ที่ทางานเสมือนจริ ง ฯลฯ เทคโนโลยีส ารสนเทศ เป็ นเทคโนโลยีแ บบสุ น ทรี ย สัม ผัส และตอบสนองจามความต้อ งการ ปั จจุบนั การใช้เทคโนโลยีเป็ นแบบบังคับ เช่น การดูโทรทัศน์ การฟั งวิทยุ เมื่อเราเปิ ดเครื่ องรับโทรทัศน์ เราไม่สามารถเลื อกตามความต้องการได้ ถ้าสถานี ส่งสัญญาณใดมาเราก็จะต้องชมตามตารางเวลาที่สถานี กาหนด หากผิดเวลาก็ทาให้พลาดรายการที่สนใจไปและหากไม่พอใจรายการก็ทาได้เพียงเลือกสถานี ใหม่ แนวโน้มจากนี้ ไปจะมีการเปลี่ยนแปลงในลักษณะที่เรี ยกว่า ออนดีมานด์ ( on demand ) เราจะมีทีวีออนดี มานด์ ( TV on demand ) เช่น เมื่อต้องการชมภาพยนตร์ เรื่ องใดก็เลือกชม และดูได้ต้ งั แต่ตน้ รายการ การศึกษาออนดีมานด์ ( education on demand ) คือสามารถเลือกเรี ยนตามต้องการได้ การตอบสนองตาม ความต้องการเป็ นหนทางที่เป็ นไปได้ เพราะเทคโนโลยี มีพฒั นาการที่กา้ วหน้าจนสามารถนาระบบสื่ อสาร มาตอบสนองตามความต้องการของมนุษย์ได้ เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้เกิดสภาพการทางานแบบทึกสถานที่และทุกเวลา เมื่อการสื่ อสารแบบ สองทางก้าวหน้าแพร่ หลายขึ้ น การโต้ตอบผ่านเครื อข่ายทาให้เสมื อนมี กฏิ สั มพันธ์ ได้จริ ง เรามี ระบบ ประชุมทางวีดิทศั น์ ระบบประชุ มบนเครื อข่าย มีระบบการศึกษาบนเครื อข่าย มีระบบการค้าบนเครื อข่าย ลักษณะของการดาเนิ นธุ รกิ จเหล่านี้ ทาให้ขยายขอบเขตการทางาน หรื อดาเนิ นกิ จกรรมไปทุกหนทุกแห่ ง และดาเนิ นการได้ตลอด 24 ชัว่ โมง เช่ น ระบบเอที เอ็ม ท าให้มีก ารเบิ ก จ่ายได้เกื อบตลอดเวลา และ กระจายไปใกล้ตวั ผูร้ ับบริ การมากขึ้น แต่ดว้ ยเทคโนโลยีที่กา้ วหน้ายิ่งขึ้น การบริ การจะกระจายมากยิ่งขึ้น จนถึ งที่บา้ นและในอนาคตสังคมการทางานจะกระจายจนงานบางงานอาจนัง่ ทาที่บา้ นหรื อที่ใดก็ได้ และ เวลาใดก็ได้
เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้ระบบเศรษฐกิ จเปลี่ยนจากระบบแห่ งชาติไปเป็ นเศรษฐกิ จโลกความ เกี่ยวโยงของเครื อข่ายสารสนเทศทาให้เกิ ดสารสนเทศทาให้เกิดสังคมโลกาภิวฒั น์ ( globalization) ระบบ เศรษฐกิ จซึ่ งแต่เดิ มมี ขอบเขตจากัดภายในประเทศ ก็กระจายเป็ นเศรษฐกิ จโลก ทัว่ โลกจะมี กระแสการ หมุนเวียนแลกเปลี่ยนสิ นค้าและบริ การอย่างกว้างขวางและรวดเร็ ว เทคโนโลยีสารสนเทศมีส่วนเอื้ออานวย ให้การดาเนิ นการมี ขอบเขตกว้า งขวางมากยิ่งขึ้ น ระบบเศรษฐกิ จของโลกจึ ง ผูกพันกับทุ กประเทศและ เชื่อมโยงกันแนบแน่นขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้องค์กรมีลกั ษณะผูกพัน หน่ วยงานภายในเป็ นแบบเครื อข่ายมากขึ้ น แต่เดิมการจัดองค์กรมีการวางเป็ นลาดับขั้น มีสายการบังคับบัญชาจากบนลงล่าง แต่เมื่อการสื่ อสารแบบ สองทางและการกระจายข่าวสารดีข้ ึนมีการใช้เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ในองค์กรผูกพันกันเป็ นกลุ่มงาน มีการ เพิ่มคุณค่าขององค์กรด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดโครงสร้างขององค์กรจึงปรับเปลี่ยนจากเดิม และมี แนวโน้มที่จะสร้างองค์กรเป็ นเครื อข่ายที่มีลกั ษณะการบังคับบัญชาแบบแนวราบมากขึ้น หน่วยธุ รกิ จจะมี ขนาดเล็กลงและเชื่ อมโยงกับกับหน่วยธุ รกิ จอื่นเป็ นเครื อข่าย สถานภาพขององค์กรจึงต้องแปรเปลี่ ยนไป ตามกระแสของเทคโนโลยี เพราะการด าเนิ นธุ ร กิ จต้อ งใช้ร ะบบสื่ อ สารที่ มี ค วามรวดเร็ ว เท่ า กับ แสง ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ ว เทคโนโลยีสารสนเทศก่ อให้เกิ ดการวางแผนการดาเนิ นการระยะยาวขึ้ น อี กทั้งยังทาให้วิถีการ ตัดสิ นใจ หรื อเลือกทางเลือกได้ละเอียดขึ้น แต่เดิ มการตัดสิ นปั ญหาอาจมีหนทางให้เลื อกได้น้อย เช่น มี คาตอบเพียง ใช่ หรื อ ไม่ใช่ แต่ดว้ ยข้อมูลข่าวสารที่ สนับสนุ นการตัดสิ นใจ ทาให้วิถีความคิ ดในการ ตัดสิ นปั ญหาเปลี่ยนไป ผูต้ ดั สิ นใจมีทางเลือกได้มากขึ้น มีความละเอียดอ่อนในการตัดสิ นปั ญหาได้ดีข้ ึน เทคโนโลยี ส ารสนเทศ เป็ นเทคโนโลยี เ ดี ย วที่ มี บ ทบาทในทุ ก วงการ ดัง นั้น จึ ง มี ผ ลต่ อ การ เปลี่ ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิ จ และการเมืองได้อย่างมาก ลองนึ กดู ว่าขณะนี้ เราสามารถชมข่าว ชม รายการโทรทัศน์ที่ส่งกระจายผ่านดาวเทียมของประเทศต่างๆ ได้ทวั่ โลก เราสามารถรับรู ้ข่าวสารได้ทนั ที เราใช้เครื อข่า ยอิ นเทอร์ เน็ ตในการสื่ อสารระหว่า งกัน และติ ดต่ อกับ คนได้ท วั่ โลก จึ ง เป็ นที่ แน่ ชัดว่า แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองจึงมีลกั ษณะเป็ นสังคมโลกมาก ขึ้น
1.6 ระบบสารสนเทศ จากความสาคัญของสารสนเทศ และการหาหนทางที่จะใช้เทคโนโลยีในการจัดการสารสนเทศ ใน พ.ศ. 2538 รัฐบาลไทยได้ประกาศอย่างเป็ นทางการให้เป็ นปี แห่งเทคโนโลยีสารสนเทศไทย รัฐบาลได้เห็น ความสาคัญของระบบข้อมู ลที่มี เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ และระบบสื่ อสารเป็ นตัวนา และจะมี
บทบาทสาคัญในการพัฒนาและผลักดันให้เกิดการใช้ทรัพยากรของประเทศอย่างมีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด ทั้ง ในด้า นทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ วัส ดุ อุ ป กรณ์ และเวลา รั ฐ บาลได้ล งทุ น ให้ ก ับ โครงดารพื้ น ฐานทางด้า น เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นจานวนมาก เช่น การขยายระบบโทรศัพท์ การขยายเครื อข่ายสื่ อสาร การสร้าง ระบบฐานข้อมูล ทะเบียนราษฎร์ การสร้างระบบการจัดเก็บ๓ษีและระบบศุลกากรด้วยคอมพิวเตอร์ ไม่เพียงแต่ประเทศไทยเท่านั้นที่ให้ความสาคัญเรื่ องเทคโนโลยีสารสนเทศ หลายประเทศทัว่ โลกก็ ให้ความสาคัญเช่นกัน แต่ละประเทศได้ลงทุนทางด้านนี้ เป็ นจานวนมาก ทั้งนี้ เพราะข้อมูลเป็ นกลไกสาคัญ ในเชิงรุ ก เพื่อพัฒนาประเทศให้สามารถแข่งขันในระดับสากลได้ อีกทั้งยังเพิ่มคุณภาพชี วิต กระจายความ เจริ ญสู่ ชนบท และสร้างความเสมอภาคในสังคม สั ง คมความเป็ นอยู่แ ละการท างานของมนุ ษ ย์มี ก ารรวมกลุ่ ม เป็ นประเทศ การจัด องค์ก รเป็ น หน่วยงานของรัฐบาลและเอกชน และภายในองค์กรก็มีการแบ่งย่อยลงเป็ นกลุ่ม เป็ นแผนกเป็ นหน่ วยงาน ภายในหน่วยงานย่อยก็มีระดับบุคคล เมื่อพิจารณาระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้องในองค์กรพอที่จะแย่งการจัดการสารสนเทศขององค์กรได้ ตามจานวนคนที่เกี่ยวข้อง ตามรู ปแบบการรวมกลุ่มขององค์กรได้ 3 ระดับ คือ ระบบสารสนเทศระดับ บุคคล ระบบสารสนเทศระดับกลุ่ม และระบบสารสนเทศระดับองค์กร
1.6.1 ระบบสารสนเทศระดับบุคคล ระบบสารสนเทศระดับบุคคล คื อระบบที่ เสริ มประสิ ทธิ ภาพและเพิ่มผลงานให้แต่ละบุ คคลใน หน้าที่ ที่รับผิดชอบ ปั จจุ บนั คอมพิวเตอร์ ส่วนบุ คคลมี ขนาดเล็กลง ราคาถู ก แต่มีความสามารถในการ ประมวลด้วยความเร็ วสู งขึ้น ประกอบกับมีโปรแกรมสาเร็ จที่ทาให้ผใู ้ ช้สามารถใช้งานได้ง่าย กว้างขวาง และคุ ม้ ค่ามากขึ้น เช่ น ซอฟต์แวร์ ประมวลคา ( word processor ) ซอฟต์แวร์ นาเสนอ ( presentation ) ซอฟต์แวร์กราฟิ ก ( graphic ) ซอฟต์แวร์ การทาสิ่ งพิมพ์ ( desktop publishing ) ซอฟต์แวร์ ตารางทางาน ( spread sheet ) ซอฟต์แวร์ จดั การฐานข้อมูล ( database management ) และซอฟต์แวร์ บริ หารโครงงาน ( project management ) เป็ นต้น และชุดโปรแกรมที่ได้รับความนิยมในปัจจุบนั เป็ นโปรแกรมที่ได้รวบรวม ซอฟต์แวร์ ประมวลคาซอฟต์แวร์ นาเสนอ ซอฟต์แวร์ ตารางทางาน ซอฟต์แวร์ จดั การฐานข้อมูล รวมเป็ น ชุดเข้าไว้ดว้ ยกัน ข้อมูลที่ช่วยให้การทางานของบุคลากรดี ข้ ึนนั้น ต้องขึ้นอยู่กบั หน้าที่รับผิดชอบของแต่ละคนต่าง ไป ตัวอย่างเช่น พนักงายขายควรมีขอ้ มูลเกี่ยวกับลูกค้าเป็ นอย่างดีซ่ ึ งจะทาให้การติดต่อซื้ อขายได้ผลดีเลิศ บริ ษทั ควรมีการเตรี ยมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ไว้ให้พนักงานขายได้ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลลูกค้า เช่น ชื่ อ ที่ อยู่ และความสนใจในตัวสิ นค้า หรื อข้อมูลอื่นๆ ที่จะสนับสุ นนการขาย พร้อมกับระบบที่จะช่วยพนักงาน
แต่ละคนในการเรี ยกค้นหาข้อมูลตามเงื่อนไขเพื่อวางแผน จัดการ และควบคุมการทางานของตัวเองได้ เช่น ระบบวิเคราะห์ขอ้ มูลการขาย เป็ นต้น
1.6.2 ระบบสารสนเทศระดับกลุ่ม ระบบสารสนเทศระดับกลุ่ม คือระบบสารสนเทศที่ช่วยเสริ มการทางานของกลุ่มบุคคลที่มีเป้ าหมาย การทางานร่ วมกันให้มีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น ตัวอย่างของการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อสนับ สนุ นงานของแผนก ค าว่าการท างานเป็ นกลุ่ ม ( workgroup) ในที่ น้ ี หมายถึ ง กลุ่ ม บุ ค คล 2 คนขึ้ น ไปที่ ร่ ว มกัน ท างานเพื่ อ ให้ บ รรลุ เ ป้ าหมายเดี ย วกัน โดยทัว่ ไปบุคลากรในกลุ่มเดี ยวกันจะรู ้จกั กันและทางานร่ วมกัน เป้ าหมายหลักของการทางานร่ วมกันเป็ น กลุ่ ม คื อ การเตรี ย มสภาวะแวดล้อ มที่ จ ะอ านวยประโยชน์ ใ นการท างานร่ ว มกัน เป็ นกลุ่ ม ได้อ ย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพ และช่ ว ยเหลื อ เกื้ อ กู ล ซึ่ งกัน ละกัน โดยท าให้ เ ป้ าหมายของธุ ร กิ จ ด าเนิ น ไปได้อ ย่า งมี ประสิ ทธิผล แนวทางหลักก็คือการทาให้เกิดการใช้ทรัพยากรร่ วมกัน โดยเฉพาะข้อมูลและอุปกรณ์เทคโนโลยี พื้นฐาน การนาเอาคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลมาเชื่อมต่อด้วยเครื อข่ายท้องถิ่นหรื อเครื อข่ายแลน ( Local Area Network : LAN ) ทาให้มีการเชื่ อมโยงและใช้ทรัพยากรของคอมพิวเตอร์ ร่วมกัน เช่น เครื่ องพิมพ์ขอ้ มูลที่ ใช้ร่วมกันในแผนกจะบรรจุไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ ที่มีหน้าที่ควบคุมการจัดเก็บแฟ้ มข้อมูลกลางที่เรี ยกว่า เครื่ องบริ การแฟ้ ม ( file
server ) ถ้ามีการแก้ไขข้อมูลกลางนี้ โดยผูใ้ ช้คนใดคนหนึ่ ง ผูใ้ ช้คนอื่นอยู่บน
เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ก็จะได้รับข้อมูลที่ผา่ นการแก้ไขแล้วนั้นเช่นกัน การประยุกต์ใช้งานคอมพิวเตอร์ ในลักษณะของการทางานเป็ นกลุ่ม สามารถใช้กบั งานต่างๆได้ ตัวอย่างเช่น ระบบบริ การลูกค้า หรื อการเสนอขายสิ นค้าผ่านทางสื่ อโทรศัพท์พนักงานในทีมงานอาจจะมี อยูห่ ลายคนและใช้เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ในการเก็บข้อมูลกลางของลูกค้าร่ วมกัน กล่าวคือมีขอ้ มูลเพียงชุ ด เดี ยวที่พนักงานทุ กคนจะเข้าถึ งได้ ถ้ามี การเปลี่ ยนแปลงหรื อเพิ่มเติม พนักงานในกลุ่ม จะต้องรับรู ้ ดว้ ย เช่น ลูกค้าโทรศัพท์มาถามคาถามหรื อขอคาปรึ กษาเกี่ยวกับสิ นค้า พนักงานอาจจะช่วยเตือนความจาเมื่อถึง เวลาต้องโทรศัพท์กลับไปหาลูกค้า แม้พนักงานที่รับโทรศัพท์ครั้งที่แล้วจะไม่อยู่ แต่พนักงานที่ทางานอยู่ สามารถเรี ย กข้อมู ล จากคอมพิ ว เตอร์ แล้ว โทรกลับ ตามนัดหมาย ท าให้ธุ รกิ จ ดาเนิ นต่ อไปได้โ ดยไม่ หยุดชะงัก เป็ นต้น อันนี้จะเป็ นการเพิม่ คุณภาพการบริ การ หรื อเป็ นกลยุทธ์ที่ช่วยทางด้านการขาย ระบบสารสนเทศของกลุ่มหรื อแผนกยังมีแนวทางอื่นๆ ในการสนับสนุ นการบริ หารงานและการ ปฏิบตั ิงาน เช่น การสื่ อสารด้วยระบบไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิ กส์ การประชุ มผ่านเครื อข่าย ซึ่ งอาจจะประชุ ม ปรึ กษาหารื อกันได้โดยอยูต่ ่างสถานที่กนั การจัดทาระบบแผงข่าว ( Bulletin Board System : BBs ) ของ
แผนก การประชุ มทางไกล การทาตารางทางานของกลุ่ มระบบสนับสนุ นการตัดสิ นใจของกลุ่ ม ระบบ จัดการฐานข้อมูล ระบบการไหลเวียนอัตโนมัติของเอกสาร ระบบการจัดการเก็บข้อความ ระบบการจัด ตารางเวลาของกลุ่ม ระบบการบริ หารโครงการของกลุ่ม ระบบการใช้แฟ้ มข้อความร่ วมกันของกลุ่ม และ ระบบประมวลผลภาพเอกสาร เป็ นต้น
1.6.3 ระบบสารสนเทศระดับองค์ กร ระบบสารสนเทศระดับองค์กร คือระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการดาเนินงานขององค์กรภาพรวม ระบบในลักษณะนี้จะเกี่ยวข้องกับการปฏิบตั ิงานร่ วมกันของหลายแผนกโดยการใช้ขอ้ มูลที่เกี่ยวข้องร่ วมกัน ด้วยวิธีส่งผ่านถึงกันจากแผนกหนึ่งข้ามข้ามไปอีกแผนกหนึ่ งระบบสารสนเทศดังกล่าวนี้ สามารถสนับสนุ น ในระดับผูป้ ฏิบตั ิการและสนับสนุนการตัดสิ นใจ เนื่ องจากสามารถให้ขอ้ มูลจากแผนกต่างๆ ที่เกี่ยวข้องมา ประกอบการจัดสิ นใจโดยอาจนาข้อมูลมาแสดงในรู ปแบบสรุ ป หรื อในแบบฟอร์ มที่ตอ้ งการ บ่อยครั้งที่ การบริ หารงานในระดับสู งจาเป็ นต้องใช้ขอ้ มูลร่ วมกันจากหลายแผนกเพื่อประกอบการตัดสิ นใจ ระบบการประสานงานเพื่อการสร้ า งรายได้ให้กบั ธุ รกิ จลู กค้า ตัวอย่า งระบบสารสนเทศระดับ องค์กรในธุ รกิจที่เกี่ยวข้องกับการขายสิ นค้า โดยมีฝ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในองค์กรหลายฝ่ าย เช่น ฝ่ ายการ ขาย ฝ่ ายสิ นค้า คงคลัง ฝ่ ายพัส ดุ และฝ่ ายการเงิ น แต่ ละฝ่ ายอาจจะมี ระบบข้อมู ลหรื อคอมพิ วเตอร์ ที่ สนับสนุนการปฏิบตั ิการและยังมีระบบการสื่ อสารหรื อเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อการเชื่ อมโยงคอมพิวเตอร์ ระหว่างฝ่ ายได้ เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลไปตามสายการเชื่อมโยง เนื่องจากจุดประสงค์ของการทา ธุ รกิจก็เพื่อสร้างผลกาไรให้กบั บริ ษทั ถ้ามีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างฝ่ ายอย่างมีประสิ ทธิ ภาพแล้ว ย่อม ทาให้เกิ ดการขายสิ นค้า และการตามเก็บเงิ นได้อย่างรวดเร็ ว เช่ น ทันที ฝ่ายการขายตกลงขายสิ นค้ากับ ลูกค้า จะมีการป้ อนข้อมูลการขายสิ นค้าลงในระบบคอมพิวเตอร์ ฝ่ ายอื่นที่เกี่ยวข้องจะได้รับข้อมูลการขาย นี้ และสามารถปฏิบตั ิหน้าที่ของตัวเองได้อย่างต่อเนื่องทันที เช่น ฝ่ ายสิ นค้าคงคลังจัดตรวจสอบและเตรี ยม ใบเบิ ก สิ น ค้า เพื่ อ ส่ ง ให้ ฝ่ ายพัส ดุ ไ ด้ท ัน ที ฝ่ ายการเงิ น ตรวจสอบความถู ก ต้อ งของการขายสิ น ค้า แล้ว ดาเนินการทาใบส่ งสิ นค้า และดูแลเรื่ องระบบลูกหนี้ โดยอัตโนมัติ และสุ ดท้ายฝ่ ายพัสดุดาเนิ นการทาใบส่ ง สิ นค้า และดู แลเรื่ องระบบลู กหนี้ โดยอัตโนมัติ และสุ ดท้ายฝ่ ายพัสดุ ดาเนิ นการจัดส่ งสิ นค้าไปให้ลูกค้า แล้วก็จะดาเนินดารติดตามการค้างชาระจากลูกหนี้ต่อไป หัวใจสาคัญของระบบสารสนเทศในระดับองค์กร คือ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ภายในองค์กรที่ จะต้องเชื่ อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ ของแต่ละแผนกเข้าด้วยกัน เพื่อให้เกิดการใช้ขอ้ มูลร่ วมกัน นอกจากนี้ ยัง สามารถใช้ ท รั พ ยากรร่ ว มกัน ได้ด้ว ย ในเชิ ง เทคนิ ค ระบบสารสนเทศระดับ องค์ก รอาจจะมี ร ะบบ คอมพิวเตอร์ ที่ดูแลแฟ้ มข้อมูล มีการเชื่ อมโยงคอมพิวเตอร์ หลายระบบเข้าด้วยกันเป็ นเครื อข่าย หรื ออาจจะ
มีเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ในระดับกลุ่มอยูแ่ ล้ว การเชื่ อโยงเครื อข่ายย่อยเหล่านั้นเข้าด้วยดัน ทาให้กลายเป็ น เครื อข่ายของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ในกรณี ที่มีจานวนผูใ้ ช้ในองค์กรมาก เครื่ องมือพื้นฐานอีกประการหนึ่ ง ของระบบข้อมูลก็คือ ระบบการจัดการฐานข้อมูล ซึ่ งเป็ นโปรแกรมสาคัญในการดูแลระบบฐานข้อมูล
1.7 องค์ ประกอบของระบบสารสนเทศ องค์ประกอบของระบบสารสนเทศซึ่ งเป็ นระบบสนับสนุ นการบริ หารงาน การจัดการและการ ปฏิ บตั ิการของบุคคล ไม่ว่าจะเป็ นระดับบุคคล ดับกลุ่มหรื อระดับองค์กรไม่ใช่ มีเพียงเครื่ องคอมพิวเตอร์ เท่านั้น แต่ยงั มีองค์ประกอบอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับความสาเร็ จของระบบอีกรวมเป็ น 5 องค์ประกอบ ซึ่ งจะ ขาดองค์ประกอบใดไม่ได้ คือ ฮาร์ ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล บุคลากร และขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน
1.7.1 ฮาร์ ดแวร์ ฮาร์ ดแวร์ เป็ นองค์ประกอบสาคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่ องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบ ข้าง เช่ น เครื่ องพิ มพ์ เครื่ องกราดตรวจ รวมทั้งอุ ปกรณ์ สื่ อสารสาหรั บเชื่ อมโยงคอมพิวเตอร์ เข้าเป็ น เครื อข่าย
1.7.2 ซอฟต์ แวร์ ซอฟต์แวร์ หรื อโปรแกรมคอมพิ วเตอร์ เป็ นองค์ป ระกอบที่ ส าคัญประการที่ สอง ซึ่ งก็ คื อล าดับ ขั้นตอนของชุดคาสั่งที่สั่งงานให้ฮาร์ ดแวร์ ทางาน เพื่อประมวลผลข้อมูลให้ได้ผลลัพธ์ตามความต้องการของ การใช้งาน ในปั จจุบนั มีซอฟต์แวร์ ควบคุมระบบงาน ซอฟต์แวร์ สาเร็ จทาให้การใช้งานคอมพิวเตอร์ ใน ระดับบุคคลเป็ นไปอย่างกว้างขวางและส่ งเสริ มการทางานของกลุ่มมากขึ้น ส่ วนงานในระดับองค์กร ส่ วน ใหญ่มกั จะมี การพัฒนาระบบตามความต้องการโดยการว่าจ้างบริ ษทั ที่ รับพัฒนาซอฟต์แวร์ หรื อโดยนัก คอมพิวเตอร์ ที่อยูใ่ นฝ่ ายคอมพิวเตอร์ ขององค์กร เป็ นต้น
1.7.3 ข้ อมูล ข้อมูลเป็ นองค์ประกอบที่ สาคัญอีกประการหนึ่ งของระบบสารสนเทศ เป็ นตัวชี้ ความสาเร็ จหรื อ ความล้มเหลวของระบบได้ เนื่องจากต้องมีการเก็บข้อมูลจากแหล่งกาเนิด ข้อมูลจะต้องมีความถูกต้องและ ทันสมัย มีการกลัน่ กรองและตรวจสอบแล้วเท่านั้นจึงจะมีประโยชน์โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อใช้งานในระดับ กลุ่มหรื อระดับองค์กร ข้อมูลต้องมีโครงสร้างในการจัดเก็บที่เป็ นระบบระเบียบเพื่อการสื บค้นที่รวดเร็ วและ มีประสิ ทธิภาพ
1.7.4 บุคลากร
บุคลากรในระดับผูใ้ ช้ ผูบ้ ริ หาร ผูพ้ ฒั นาระบบ นักวิเคราะห์ระบบ และนักเขียนโปรแกรม เป็ น องค์ประกอบสาคัญในความสาเร็ จของระบบสารสนเทศ บุคลากรมีความรู้ความสามารถทางคอมพิวเตอร์ มากเท่าใด โอกาสที่จะใช้งานระบบสารสนเทศและระบบคอมพิวเตอร์ ได้เต็มศักยภาพและคุม้ ค่านิ่ งมากขึ้น เท่านั้น โดยเฉพาะระบบสารสนเทศในระดับบุคคลซึ่ งเครื่ องคอมพิวเตอร์ มีขีดความสามารถมากขึ้น ทาให้ ผูใ้ ช้มีโอกาสพัฒนาความสามารถของตนเองและพัฒนาระบบงานได้เองตามความต้องการ สาหรับระบบ สารสนเทศในระดับกลุ่มและองค์กรที่มีความซับซ้อนมาก อาจจะต้องใช้บุคลากรในสาขาคอมพิวเตอร์ โดยตรงมาพัฒนาและดูแลระบบงาน
1.7.5 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการปฏิ บตั ิงานที่ชดั เจนของผูใ้ ช้หรื อของบุคลากรที่เกี่ ยวข้องก็เป็ นเรื่ องสาคัญอีกประการ หนึ่ ง เมื่ อได้พฒั นาระบบงานแล้วจาเป็ นต้องปฏิ บตั ิ งานตามลาดับ ขั้นตอน ในขณะใช้งานก็จาเป็ นต้อง คานึงถึงลาดับขั้นตอนการปฏิบตั ิของคนและความสัมพันธ์กบั เครื่ อง ทั้งในกรณี ปกติและกรณี ฉุกเฉิ น เช่น ขั้นตอนการบันทึกข้อมูล ขั้นตอนการประมวลผล ขั้นตอนปฏิบตั ิเมื่อเครื่ องชารุ ดหรื อข้อมูลสู ญหาย และ ขั้นตอนการทาสาเนาข้อมูลสารองเพื่อความปลอดภัย เป็ นต้น สิ่ งเหล่านี้ จะต้องมีการซักซ้อม มีการเตรี ยม และการทาเอกสารคู่มือการใช้งานที่ชดั เจน
1.8 ตัวอย่ างการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 1.8.1 ระบบเอทีเอ็ม เป็ นระบบที่ อ านวยความสะดวกสบายอย่า งมากให้ แ ก่ ผูใ้ ช้บ ริ ก ารธนาคาร และเป็ นตัว อย่า ง เทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้รับการนามาใช้เป็ นกลยุทธ์ในการแข่งขันทางธุ รกิจ โดยในปี พ.ศ.2520 เป็ นปี ที่ การใช้เอที เอ็ม เครื่ องแรกของโลก ธนาคารซิ ต้ ี แบงก์ ในเมื องนิ วยอร์ ก เริ่ มให้บ ริ ก ารฝากถอนเงิ นโดย อัตโนมัติแก่ลูกค้า ซึ่ งสามารถให้บริ การได้ตลอด 24 ชัว่ โมง รวมวันเสาร์ -อาทิตย์ดว้ ย ในขณะที่ธนาคาร อื่นๆ ที่ต้ งั อยูใ่ กล้ๆ บนถนนสานเดียวกันให้บริ การลูกค้าในเวลาปกติเท่านั้น คือ เฉพาะจันทร์ ถึงศุกร์ เวลา 8.00-14.00 น. หลังจากบ่ายสองโมงก็หมดโอกาสได้รับบริ การฝากถอนเงิ นแล้ว เมื่อวิเคราะห์มุมมองใน การแข่งขันของธนาคารในการให้บริ การลูกค้า กล่าวได้วา่ ระบบเอทีเอ็มของธนาคารซิ ต้ ีแบงก์เป็ นบริ การ ใหม่ที่ทาให้ลูกค้าได้รับความสะดวกสบาย และคล่องตัวได้ดึงดู ดลูกค้าจากธนาคารอื่ นมาเป็ นลูกค้าของ ตัวเอง และเพิ่มส่ วนแบ่งการตลาดขึ้นมาเกือบสามเท่าตัวในช่วงเวลาประมาณ 6 เดือน ก่อนทีธนาคารคู่แข่ง จะหันมาให้บริ การเอทีเอ็มบ้าง
การนาเอาเทคโนโลยีเอทีเอ็มเข้ามาใช้ก่อนเป็ นรายแรก สร้ างความได้เปรี ยบเชิ งธุ รกิ จเหนื อคู่แข่ง เกิ ดขึ้ นแล้วซ้ า อี ก ในเมื องใหญ่ ท วั่ โลก ไม่ว่า จะเป็ นซิ ดนี ย ์ โตเกี ย ว ปารี ส และรวมทั้ง กรุ งเทพฯด้วย กล่าวคือ ธนาคารใดในเมืองเหล่านั้นที่ใช้เทคโนโลยีเอทีเอ็มได้ก่อนและให้บริ การเหนื อกว่า ก็สามารถดึ ง ส่ วนแบ่งตลาดได้สูงมากเหนื อคู่แข่ง เนื่ องจากได้ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ มาเป็ นกลยุทธ์การแข่งขันในแง่การ ปรับปรุ งการบริ การแก่ลูกค้า เช่น ปรากฏการณ์ที่ธนาคารไทยพาณิ ชย์นาระบบคอมพิวเตอร์ แบบเชื่อมตรง มาบริ การใช้เอทีเอ็ม และประสบความสาเร็ จได้ก่อนจึงมีโอกาสดึงส่ วนแบ่งการตลาดได้สูง เทคโนโลยี ที่ อ ยู่เ บื่ อ งกลัง ความส าเร็ จ อยู่เ บื้ อ งหลัง ความส าเร็ จ ของระบบเอที เ อ็ ม ก็ คื อ ระบบ คอมพิวเตอร์ ที่รวบรวมข้อมูลบัญชีเงินฝากของลูกค้าธนาคารไว้ในฐานข้อมูลกับเทคโนโลยีสื่อสารข้อมูลทา ให้สามารถเชื่ อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ ออกไปทัว่ เมื อง ทัว่ ประเทศ หรื อทัว่ โลกได้ ผูใ้ ช้บตั รเอที เอ็ม สามารถเบิกเงินจากธนาคารได้จากตูเ้ อทีเอ็มที่ติดตั้งอยูท่ วั่ ไป ทุกครั้งที่ลูกค้าใช้บตั รเอทีเอ็มจากตูเ้ อทีเอ็มจะ มีการสื่ อสารข้อมูลไปยังฐานข้อมูลกลางที่สานักงานใหญ่ของธนาคารที่เก็บข้อมูลยอดเงินฝากและรายการ ฝากถอนเงิ นของลูกค้า ฐานข้อมูลนี้ จึงมี ลกั ษณะสาคัญที่เรี ยกว่าเป็ นฐานข้อมูลกลาง ในความหมายที่ว่า ลู กค้ามี บญ ั ชี เงิ นฝากธนาคารแห่ ง นั้นๆจะมี ขอ้ มู ลอยู่ที่ ฐานข้อมูลกลางเพี ยงชุ ดเดี ยว และด้วยระบบการ สื่ อสารข้อมูลในลักษณะเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทาให้เข้าถึงข้อมูลได้จากระยะไกล นอกจากนี้ คอมพิวเตอร์ ยังช่วยจัดการประมวลผลรายกาสรเปลี่ยนแปลงต่างๆ เช่น การฝาก การโอน และการถอน ที่เกิดขึ้นโดย อัตโนมัติ เทคโนโลยีฐานข้อมูลกลางทาให้สามารถเก็บข้อมูลต่างๆ ไว้เพียงชุ ดเดียว ไม่จาเป็ นต้องทาสาเนา หลายชุ ดสามารถเรี ยกใช้และแก้ไขได้จากระยะไกล และเมื่ อมี การแก้ไขแล้วทุ กคนที่เข้ามาใช้ขอ้ มูลใน ภายหลัง ก็ จ ะได้รั บ ข้อ มู ล ในภายหลัง ก็ จ ะได้รั บ ข้อ มู ล ที่ ท ันสมัย การประมวลผลอัต โนมัติ ด้ว ยเครื่ อ ง คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีการสื่ อสารข้อมูลในระบบเครื อข่ายนี้ เป็ นตัวอย่างที่แสดงให้เห็นความสาคัญ ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ สามารถนามาประยุกต์ในงานต่างๆ ที่เป็ นประโยชน์ต่อองค์กรและ ธุ รกิจได้อีกมากมาย
1.8.2 การลงทะเบียนเรียน การลงทะเบียนเรี ยนในมหาวิทยาลัยแห่ งหนึ่ งนักศึกษาแต่ละคนสามารถเลื อกเรี ยนวิชาที่สนใจได้ แต่ตอ้ งเป็ นวิชาที่กาหนดไว้ในหลักสู ตร การลงทะเบียนแต่ละวิชามีขอ้ จากัดคือ จานวนนักศึกษาแต่ละห้อง มีจานวนจากัด ดังนั้นการลงทะเบี ยนเรี ยนจึงต้องอาศัยข้อมูลจากการประมวลผลแบบเชื่ อมตรง เพื่อให้ สามารถตรวจสอบการลงทะเบียนได้ทนั ทีวา่ มีวิชาอะไรเปิ ดสอนบ้าง วิชาใดมีผสู ้ มัครเรี ยนเต็มแล้ว ถ้าเต็ม แล้วสามารถเปลี่ยนกลุ่ม หรื อวิชาอื่นใดแทนได้บา้ ง
ขั้นตอนของการลงทะเบียนเรี ยนของนักศึกษาของมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง มีดงั นี้ 1) นักศึกษานารายวิชาที่ตนเองสนใจจะเรี ยน ปรึ กษากับอาจารย์ที่ปรึ กษา เพื่อขอความเห็นชอบ จากอาจารย์ที่ปรึ กษา จึงนาไปลงทะเบียน 2) นักศึกษานาเอกสารการลงทะเบียนที่มีลายมือชื่ออาจารย์ที่ปรึ กษา มาพบกับเจ้าหน้าที่ ลงทะเบียนเจ้าหน้าที่ลงทะเบียนป้ อนข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ จะทาการตรวจสอบวิชา ที่ บ ัน ทึ ก แต่ ล ะวิ ช าว่า ติ ด ขัด ข้อ ก าหนดใดหรื อ ไม่ เช่ น มี ผู ้ล งทะเบี ย นวิ ช านั้น เต็ ม แล้ว ไม่ ส ามารถ ลงทะเบียนได้ ต้องให้นกั ศึกษาเปลี่ยนกลุ่มเรี ยน หรื อหากต้องการลงทะเบียนวิชาใหม่ ก็ตอ้ งกลับไปขอ ความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึ กษาอีกครั้ง 3) โปรแกรมการพิมพ์รายการที่นกั ศึกษาลงทะเบียนทั้งหมด พร้อมทั้งคิดค่าใช้จ่ายที่นกั ศึกษาต้อง จ่ายเป็ นค่าลงทะเบียนเรี ยน 4) นักศึกษาจ่ายเงินและรับเอกสารใบเสร็ จที่พิมพ์ดว้ ยคอมพิวเตอร์ 5) เมื่อลงทะเบียนเสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว จะมีขอ้ มูลในฐานข้อมูลที่บ่งบอกได้วา่ แต่ละวิชามีนกั ศึกษา ผูใ้ ดลงทะเบียนเรี ยนบ้าง นักศึกษาลงทะเบียนรวมทั้งสิ้ นกี่คน พร้อมทั้งพิมพ์รายงานการลงทะเบียนเรี ยน ของนักศึกษาในแต่ละรายวิชา แจ้งให้อาจารย์ผสู ้ อนวิชานั้นๆทราบ 6) ในกรณี ที่นกั ศึกษาต้องการเพิ่มหรื อถอนการลงทะเบียนในภายหลัง ซึ่ งอยูใ่ นระยะเวลาที่ อนุ ญาต นักศึกษาสามารถดาเนิ นการโดยขออนุ ญาตการเพิ่มหรื อถอนจากอาจารย์ที่ปรึ กษาและอาจารย์ ประจาวิช า แล้ว นาเอกสารมาให้เ จ้า หน้า ที่ ป้ อนรหัส วิ ช าที่ เพิ่ ม หรื อถอน โปรมแกรมจะตรวจสอบกับ ฐานข้อมูล และพิมพ์รายการทางด้านการเงิ น พร้ อมทั้งปรับปรุ งฐานข้อมูลให้ถูกต้องอยู่เสมอ ข้อมูลใน ระบบการลงทะเบียนของสถานศึกษา มีการเปลี่ยนแปลงและทาให้ทนั สมัยอยูต่ ลอดเวลา สามารถเรี ยกใช้ หรื อตรวจสอบข้อมูลได้ทนั ที ข้อมูลเหล่านี้ จะนาไปใช้ประโยชน์ในการจัดการศึกษาต่างๆ เช่ น การจัด ตารางสอน การจัดห้องสอบ การปรับปรุ งข้อมูลคะแนน รวมถึงการรายงานผลต่างๆ
1.8.3 การบริการและการทาธุรกรรมบนอินเทอร์ เน็ต การเติ บ โตของเครื อข่ายอิ นเทอร์ เน็ ตทาให้มีผูใ้ ช้ง านกันอย่างกว้างขวาง เครื อข่า ยอิ นเทอร์ เน็ ต เชื่อมโยงถึงกันทัว่ โลก ทาให้การสื่ อสารระหว่างบนอินเทอร์ เน็ตทาได้ง่ายและมีค่าใช้จ่ายที่ต่ากว่าระบบการ สื่ อ สารแบบอื่ น การสื่ อ สารที่ นิ ย มอิ น เทอร์ เ น็ ต ได้แก่ การรั บ ส่ ง ข้อมู ล ท าการแลกเปลี่ ย น โอนย้า ย แฟ้ มข้อมูลระหว่างกัน การส่ งอีเมล์ การกระจายทาการในรู ปแบบเว็บเพจ ตลอดจนการโต้ตอบสื่ อสาร แบบส่ งข้อความและการประยุกต์ในเรื่ องธุ รกิจอีกมากมาย
การประยุกต์ที่น่าสนใจบนเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตอย่างหนึ่ ง คือระบบพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิ กส์ หรื ออี คอมเมิร์ซ ( electronic commerce : e-commerce ) หรื อการค้าขายบนเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต มีการตั้ง ร้านค้าบนอินเทอร์ เน็ตจานวนมาก ผูต้ ้ งั ร้ านค้าใช้เว็บเพจนาเสนอสิ นค้าและบริ การต่างๆ ซึ่ งทาให้ผเู ้ ข้าใช้ บริ การสามารถเข้าถึงไดจากทุกที่ ทุกประเทศ เป็ นการเปิ ดร้านค้าทีมีลูกค้าเข้าเยี่ยมชมจากที่ต่างๆได้ทวั่ มุม โลก ตัวอย่างเช่ น ร้ านหนังสื อหลายแห่ งที่อยู่บนอินเทอร์ เน็ต นาเสนอรายการ และตัวอย่างหนังสื อบน เครื อข่าย มีหนังสื อที่ ทางร้ านนาเสนอหลายแสนเล่ม มี ระบบข่ายค้นหาหนังสื อเล่ มที่ตอ้ งการ และหาก สนใจติดต่อสั่งซื้ อก็กรอกลงในแบบฟอร์ มการสั่งซื้ อ มีระบบการชาระเงินได้หลายแบบ เช่น ระบบชาระ เงิ นผ่านบัตรเครดิ ต ระบบการโอนเงิ นผ่านธนาคาร ระบบการนาสิ นค้าส่ งถึ งที่ แล้วจึ งค่อยชาระเงิ นการ จัดส่ ง สิ นค้า ก็ท าได้รวดเร็ ว มี เครื อข่ า ยการส่ ง สิ นค้า ได้ท วั่ โลกผ่า นทางบริ ษทั จัดส่ ง สิ นค้าแบบเร่ งด่ วน ระบบการค้า ขายบนอิ นเทอร์ เน็ ต จึ ง เติ บ โตและมี ผูน้ ิ ย มเพิ่ ม ขึ้ นอย่า งมาก ทั้ง นี้ เพราะข้อดี คื อ สามารถ นาเสนอสิ นค้าให้กบั ลูกค้าได้กว้างขวาง สิ นค้าบางอย่างเป็ นสิ นค้าที่มีมากและราคาถูกในท้องที่หนึ่ งแต่อาจ เป็ นที่ ตอ้ งการในอีกที่ หนึ่ ง เช่ น คนไทยสามารถส่ งปลาทูขายผ่านระบบอี คอมเมิ ร์ซไปยังผูบ้ ริ โภคแถบ ประเทศตะวันออกกลาง โดยระบบบรรจุหีบห่ อแช่แข็งขนาดเล็ก ส่ งผ่านบริ ษทั จัดส่ งสิ นค้าเร่ งด่วนไปยัง ผูบ้ ริ โภคได้ นอกจากนี้ สิ นค้าประเภทหัตถกรรมไทยจานวนมากก็เป็ นที่ ต้องการของต่างประเทศ การ นาเสนอสิ นค้าผ่านทางเครื อข่าย จึงเป็ นหนทางของการเปิ ดตลาดให้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น จนในปั จจุบนั มีผู ้ ตั้งร้านบนเครื อข่ายมากมาย โดยเฉพาะกลุ่มอุตสาหกรรมขนาดย่อม นอกจากการทาการค้าบนเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตแล้ว บริ ษทั ห้างร้าน และหน่วยงานราชการต่างๆ ก็หนั มาดาเนิ นกิจการ หรื อให้บริ การทางอินเทอร์ เน็ตมากขึ้น ทาให้ผใู ้ ช้บริ การสะดวกสบายขึ้น โรงแรม และการท่องเที่ยวเสนอบริ การ และการจองเข้าพักโรงแรมหรื อการซื้ อตัว๋ เครื่ องบินผ่านทางอินเทอร์ เน็ต กรรมสรรพากรเสนอบริ การให้ผเู้ สี ยภาษียื่นแบบรายการเสี ยภาษีผา่ นทางเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต ทา ให้ผคู้ นหลายแสนคนที่มีหน้าที่ตอ้ งยืน่ แบบรายการเสี ยภาษีไม่ตอ้ งเดินทางไปที่สานักงานสรรพากรพื้นที่ ผู ้ เสี ยภาษีสามารถยื่นแบบรายการเสี ยภาษีได้จากที่ทางาน หรื อที่บา้ นทาให้ลดปั ญหาเรื่ องการเดินทางและ การจราจรได้มาก บริ ษทั และหน่ วยงานทางธุ รกิ จจานวนมากใช้ระบบการแลกเปลี่ ยนข้อมูลกันทางอิ เล็กทรอนิ กส์ เช่ น การส่ งใบสั่งซื้ อสิ นค้านี้ รูปแบบอิเล็กทรอนิ กส์ การตรวจสอบรายการสิ นค้าตามห้างร้านค้าปลี กแบบ ออนไลน์ การโต้ตอบธุ รกรรมต่างๆ ทาให้ลดการใช้กระดาษและทาให้การดาเนิ นดารเป็ นไปด้วยความ รวดเร็ ว ลดค่าใช้จ่ายโดยรวม เพิ่มประสิ ทธิ ภาพการดาเนินการ
รัฐบาลมีเป้ าหมายให้ทุกหน่วยราชการดาเนิ นกิจกรรมต่างๆ บนเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตเช่นกัน การ แลกเปลี่ ยนข้อมูลทางานบนเครื อข่ายทาให้เกิ ดการดาเนิ นกิ จกรรมที่ เรี ยกว่า “ อีกอปเวอร์ นเมนต์ ” ( eGovernment ) เช่ น เมื่ อ ประชาชนติ ด ต่ อ กระทรวงต่ า งประเทศเพื่ อ ขอหนัง สื อ เดิ น ทาง กระทรวง ต่ า งประเทศต้องการตรวจสอบบุ ค คล ก็ ส ามารถเชื่ อมโยงเรี ย กใช้ข ้อมู ล ส าเนาทะเบี ย นบ้า นและบัต ร ประชาชนได้จากสานักทะเบียนราษฎร์ กระทรวงมหาดไทยได้โดยตรงและทันที ทาให้การตรวจสอบ บุ คคลแม่นยาถู กต้อง โดยประชาชนผูข้ อใช้บริ การประชาชนมี ความรวดเร็ ว และเป็ นที่ ปรารถนาของ ประชาชน นอกจากนี้รัฐบาลยังส่ งเสริ มให้หน่วยงานราชการดาเนิ นกิจกรรมต่างๆกับบริ ษทั ห้างร้าน เช่น การประมูลซื้ อสิ นค้าผ่านทางอินเทอร์ เน็ตโดยหน่ วยงานรัฐจะเสนอรายการซื้ อสิ นค้าผ่านทางอินเทอร์ เน็ต และให้บริ ษทั ผูข้ ายเสนอราคาผ่านทางอินเทอร์ เน็ต ทาให้การประมูลจัดซื้ อของทางราชการมีความรวดเร็ ว สะดวกและมีความน่าเชื่อถือมากยิง่ ขึ้น
แบบฝึ กหัดบทที่ 1 1. คอมพิวเตอร์ เข้าไปเกี่ยวข้องกับการปฏิวตั ิอุสาหกรรมในยุคใดอย่างไร 2. นักเรี ยนคิดว่าประเทศไทยควรดาเนิ นการอย่างไรเพื่อลดการสู ญเสี ยเงินตราที่ใช้จ่ายกับเทคโนโลยี สารสนเทศ
3. กิจวัตรประจาวันของนักเรี ยนเกี่ยวข้องเทคโนโลยีสารสนเทศใดบ้าง ( บอกมาอย่างน้อย 5 ข้อ ) 4. จงอธิบายความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ 5. การประมวลผลแบบกลุ่มและแบบเชื่อมตรงต่างกันอย่างไร 6. จงบอกความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ 7. การจัดการสารสนเทศแบ่ง ได้กี่ ระดับ แต่ ละระดับ มี อะไรบ้าง มี ข อบข่ายและความสั มพัม ธ์ ก ัน อย่างไร 8. องค์ป ระกอบของระบบสารสนเทศที่ ท าให้ร ะบบสารสนเทศประสบความส าเร็ จ มี อ ะไรบ้า ง เกี่ยวข้องกันอย่างไร 9. ให้นกั เรี ยนเขียนผังแสดงขั้นตอนการลงทะเบียนของนักเรี ยนในโรงเรี ยน