ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม

Page 1

1

ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมประกอบดวย 1. การวิเคราะหปญหา 2. การออกแบบโปรแกรม 3. การเขียนโปรแกรมดวยภาษาคอมพิวเตอร 4. การทดสอบและแกไขโปรแกรม 5. การทําเอกสารประกอบโปรแกรม 6. การบํารุงรักษาโปรแกรม 1. การวิเคราะหปญหา การวิเคราะหปญหา ประกอบดวยขั้นตอนตางๆ ดังนี้ 1. กําหนดวัตถุประสงคของงาน เพื่อพิจารณาวาโปรแกรมตองทําการประมวลผลอะไรบาง 2. พิจารณาขอมูลนําเขา เพื่อใหทราบวาจะตองนําขอมูลอะไรเขาคอมพิวเตอร ขอมูลมีคุณสมบัติเปน อยางไร ตลอดจนถึงลักษณะและรูปแบบของขอมูลที่จะนําเขา 3. พิจารณาการประมวลผล เพื่อใหทราบวาโปรแกรมมีขั้นตอนการประมวลผลอยางไรและมีเงื่อนไปการ ประมวลผลอะไรบาง 4. พิจารณาขอสนเทศนําออก เพื่อใหทราบวามีขอสนเทศอะไรที่จะแสดง ตลอดจนรูปแบบและสื่อที่จะ ใชในการแสดงผล 2. การออกแบบโปรแกรม การออกแบบขั้นตอนการทํางานของโปรแกรมเปนขั้นตอนที่ใชเปนแนวทางในการลงรหัสโปรแกรม ผูออกแบบขั้นตอนการทํางานของโปรแกรมอาจใชเครื่องมือตางๆ ชวยในการออกแบบ อาทิเชน คําสั่งลําลอง (Pseudocode) หรื อ ผั ง งาน (Flow chart) การออกแบบโปรแกรมนั้ น ไม ต อ งพะวงกั บ รู ป แบบคํ า สั่ ง ภาษาคอมพิวเตอร แตใหมุงความสนใจไปที่ลําดับขั้นตอนในการประมวลผลของโปรแกรมเทานั้น 3. การเขียนโปรแกรมดวยภาษาคอมพิวเตอร การเขี ย นโปรแกรมเป น การนํ า เอาผลลั พ ธ ของการออกแบบโปรแกรม มาเปลี่ ย นเป น โปรแกรม ภาษาคอมพิวเตอรภาษาใดภาษาหนึ่ง ผูเขียนโปรแกรมจะตองใหความสนใจตอรูปแบบคําสั่งและกฎเกณฑของ ภาษาที่ใชเพื่อใหการประมวลผลเปนไปตามผลลัพธที่ไดออกแบบไว นอกจากนั้นผูเขียนโปรแกรมควรแทรก คําอธิบายการทํางานตางๆ ลงในโปรแกรมเพื่อใหโปรแกรมนั้นมีความกระจางชัดและงายตอการตรวจสอบและ โปรแกรมนี้ยงั ใชเปนสวนหนึ่งของเอกสารประกอบ 4. การทดสอบและแกไขโปรแกรม การทดสอบโปรแกรมเป น การนํ าโปรแกรมที่ล งรหั สแล ว เขาคอมพิว เตอร เพื่อตรวจสอบรู ป แบบ กฎเกณฑของภาษา และผลการทํางานของโปรแกรมนั้น ถาพบวายังไมถูกก็แกไขใหถูกตองตอไป ขั้นตอนการ ทดสอบและแกไขโปรแกรม อาจแบงไดเปน 3 ขั้น


2

1. สรางแฟมเก็บโปรแกรมซึ่งสวนใหญนิยมนําโปรแกรมเขาผานทางแปนพิมพโดยใชโปรแกรมประมวลคํา 2. ใชตัวแปลภาษาคอมพิวเตอรแปลโปรแกรมที่สรางขึ้นเปนภาษาเครื่อง โดยระหวางการแปลจะมีการ ตรวจสอบความถูกตองของรูปแบบและกฎเกณฑในการใชภาษา ถาคําสั่งใดมีรูปแบบไมถูกตองก็จะ แสดงขอผิ ด พลาดออกมาเพื่อให ผู เ ขีย นนํ าไปแกไ ขต อไป ถาไมมี ขอผิ ด พลาด เราจะได โ ปรแกรม ภาษาเครื่องที่สามารถใหคอมพิวเตอรประมวลผลได 3. ตรวจสอบความถู ก ต อ งของการประมวลผลของโปรแกรม โปรแกรมที่ ถู ก ต อ งตามรู ป แบบและ กฎเกณฑของภาษา แต อาจให ผ ลลั พธ ของการประมวลผลไมถูกตองก็ได ดั งนั้ น ผูเ ขีย นโปรแกรม จําเปนตองตรวจสอบวาโปรแกรมประมวลผลถูกตองตามตองการหรือไม วิธีการหนึ่งก็คือ สมมติขอมูล ตัวแทนจากขอมูลจริงนําไปใหโปรแกรมประมวลผลแลวตรวจสอบผลลัพธวาถูกตองหรือไม ถาพบวา ไมถูกตองก็ตองดําเนินการแกไขโปรแกรมตอไป การสมมติขอมูลตัวแทนเพื่อการทดสอบเปนสิ่งที่มี ความสําคัญเปนอยางมาก ลักษณะของขอมูลตัวแทนที่ดีควรจะสมมติทั้งขอมูลที่ถูกตองและขอมูลที่ ผิดพลาด เพื่อทดสอบวาโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นสามารถครอบคลุมการปฏิบัติงานในเงื่อนไขตางๆ ได ครบถวน นอกจากนี้อาจตรวจสอบการทํางานของโปรแกรมดวยการสมมติตัวเองเปนคอมพิวเตอรที จะประมวลผล แลวทําตามคําสั่งทีละคําสั่งของโปรแกรมนั้นๆ วิธีการนี้อาจทําไดยากถาโปรแกรมมี ขนาดใหญ หรือมีการประมวลผลที่ซับซอน 5. การทําเอกสารประกอบโปรแกรม การทําเอกสารประกอบโปรแกรมเปนงานที่สําคัญของการพัฒนาโปรแกรม เอกสารประกอบโปรแกรม ชวยใหผูใชโปรแกรมเขาใจวัตถุประสงค ขอมูลที่จะตองใชกับโปรแกรม ตลอดจนผลลัพธที่จะไดจากโปรแกรม การทําโปรแกรมทุกโปรแกรมจึงควรตองทําเอกสารกํากับ เพื่อใชสําหรับการอางอิงเมื่อจะใชงานโปรแกรมและ เมื่อตองการแกไขปรับปรุงโปรแกรม เอกสารประกอบโปรแกรมที่จัดทํา ควรประกอบดวยหัวขอตอไปนี้  วัตถุประสงค  ประเภทและชนิดของคอมพิวเตอรและอุปกรณที่ใชในโปรแกรม  วิธีการใชโปรแกรม  แนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบโปรแกรม  รายละเอียดโปรแกรม  ขอมูลตัวแทนที่ใชทดสอบ  ผลลัพธของการทดสอบ 6. การบํารุงรักษาโปรแกรม เมี่อโปรแกรมผานการตรวจสอบตามขั้นตอนเรียบรอยแลว และถูกนํามาใหผูใชไดใชงาน ในชวงแรก ผูใชอาจจะยังไมคุนเคยก็อาจทําใหเกิดปญหาขึ้นมาบาง ดังนั้นจึงตองมีผูคอยควบคุมดูแลและคอยตรวจสอบ การทํางาน การบํารุงรักษาโปรแกรมจึงเปนขั้นตอนที่ผูเขียนโปรแกรมตองคอยเฝาดูและหาขอผิดพลาดของ โปรแกรมในระหวางที่ผูใชใชงานโปรแกรม และปรับปรุงโปรแกรมเมื่อเกิดขอผิดพลาดขึ้น หรือในการใชงาน โปรแกรมไปนานๆ ผูใชอาจตองการเปลี่ยนแปลงการทํางานของระบบงานเดิมเพื่อใหเหมาะกับเหตุการณ นักเขียนโปรแกรมก็จะตองคอยปรับปรุงแกไขโปรแกรมตามความตองการของผูใชที่เปลี่ยนแปลงไปนั่นเอง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.