ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Page 1

1

ระบบเครือขายคอมพิวเตอร ระบบเครือขายคอมพิวเตอร ( Computer Network ) หมายถึง การเชื่อมตอคอมพิวเตอรตั้งแต 2 เครื่องขึ้นไปเขาดวยกันดวยสายเคเบิล หรือสื่ออื่นๆ ทําใหคอมพิวเตอรสามารถรับสงขอมูลแกกันและกันไดใน กรณีที่เปนการเชื่อมตอระหวางเครื่องคอมพิวเตอรหลายๆ เครื่องเขากับเครื่องคอมพิวเตอรขนาดใหญที่เปน ศูนยกลาง เราเรียกคอมพิวเตอรที่เปนศูนยกลางนี้วา โฮสต (Host) และเรียกคอมพิวเตอรขนาดเล็กที่เขามา เชื่ อมต อว า ไคลเอนต (Client)ระบบเครื อ ขา ย (Network) จะเชื่ อมโยงคอมพิ ว เตอร เ ขา ด ว ยกั น เพื่ อการ ติดตอสื่อสาร เราสามารถสงขอมูลภายในอาคาร หรือขามระหวางเมืองไปจนถึงอีกซีกหนึ่งของโลก ซึ่งขอมูลตางๆ อาจเปนทั้งขอความ รูปภาพ เสียง กอใหเกิดความสะดวก รวดเร็วแกผูใช ซึ่งความสามารถเหลานี้ทําใหเครือขาย ค อ ม พิ ว เ ต อ ร มี ค ว า ม สํ า คั ญ แ ล ะ จํ า เ ป น ต อ ก า ร ใ ช ง า น ใ น แ ว ด ว ง ต า ง ๆ แลวทําไมเราถึงตองใชเครือขาย หรือระบบคอมพิวเตอรเครือขาย การที่เรานําเอาเครื่องคอมพิวเตอรมาเชื่อมตอกัน เราจะสามารถใชประโยชนจากระบบ หรือระบบสามารถทําอะไรไดบาง ทําใหใชทรัพยากร ของเครื่องคอมพิวเตอร รวมกันได (Resources Sharing) ซึ่งเปนการชวย ประหยัดคาใชจาย และเพิ่มความสะดวก ในการใชงาน เชน การ ใชพื้นที่บนฮารดดิสก และเครื่องพิมพรวมกันสามารถบริหารจัดการการทํางานของคอมพิวเตอรทุกเครื่อง ไดจาก ศูนยกลาง (Centralized Management) เชน สรางเวิรกกรุป กําหนดสิทธิ์ในการเขาถึงขอมูล และสามารถทําการ สํารองขอมูล ของแตละเครื่องได สามารถทําการสื่อสาร ภายในเครือขาย (Communication) ไดหลายรูปแบบ เชน อีเมล , แชท (Chat), การประชุ มทางไกล (Teleconference), และ การประชุ มทางไกล แบบเห็ นภาพ (Video Conference)มีระบบรักษาความปลอดภัย ของขอมูล บนเครือขาย (Network Security) เชนสามารถ ระบุผูที่มี สิทธิ์เขาถึงขอมูล ในระดับตางๆ ปองกันผูที่ไมไดรับอนุญาติ เขาถึงขอมูล และใหการคุมครอง ขอมูลที่สําคัญ ให ความบันเทิงไมรูจบ (Entertainment) เชน สามารถสนุกกับ การเลนเกมส แบบผูเลนหลายคน หรือที่เรียกวา มัลติ เพลเยอร(Multi Player) ที่กําลัง เปนที่นิยมกันอยูในเวลานี้ได ใชงานอินเทอรเน็ตรวมกัน (Internet Sharing) เพียงตอเขาอินเทอรเน็ต จากเครื่องหนึ่งในเครือขาย โดยมีแอคเคาทเพียงหนึ่งแอคเคาท ก็ทําใหผูใชอีกหลายคน ในเครือขายเดียวกัน สามารถใชงานอินเทอรเน็ตได เสมือนกับมีหลายแอคเคาท ฯลฯ ระบบเครือขายชนิดตางๆ ระบบเครือขาย สามารถเรียกได หลายวิธี เชนตามรูปแบบ การเชื่อมตอ (Topology) เชน แบบบัส (bus), แบบดาว (star), แบบวงแหวน (ring) หรือจะเรึยกตามขนาด หรือระยะทางของระบบก็ได เชนแลน (LAN), แวน (WAN), แมน (MAN) นอกจากนี้ ระบบเครือขาย ยังสามารถ เรียกไดตาม เทคโนโลยีที่ไช ในการ สงผานขอมูล เชน เครือขาย TCP/IP, เครือขาย IPX, เครือขาย SNA หรือเรียกตาม ชนิดของขอมูล ที่มีการ สงผาน เชนเครือขาย เสียงและวิดีโอ เรายังสามารถจําแนกเครือขายได ตามกลุมที่ใชเครือขาย เชน อินเตอรเน็ต (Internet), เอ็กซตราเน็ต (Extranet), อิ น ทราเน็ ต (Intranet), เครื อ ข า ยเสมื อ น (Virtual Private Network) หรื อ เรี ย ก ตามวิ ธี ก าร เชื่อมตอทางกายภาพ เชนเครือขาย เสนใยนําแสง, เครือขายสายโทรศัพท, เครือขายไรสาย เปนตน จะเห็นได วา เราสามารถจําแนก ระบบเครือขาย ไดหลากหลายวิธี ตามแตวา เราจะพูดถึง เครือขายนั้นในแงมุมใด เรา


2

จําแนก ระบบเครื อขาย ตามวิธี ที่นิ ยมกัน 3 วิ ธีคือ รูป แบบการเชื่ อมตอ (Topology), รูป แบบการสื่อสาร (Protocol), และ สถาปตยกรรมเครือขาย (Architecture) การจําแนกระบบเครือขาย ตามรูปแบบการเชื่อมตอ (Topology) จะบอกถึงรูปแบบ ที่ทําการ เชื่อมตอ อุปกรณ ในเครือขายเขาดวยกัน ซึ่งมีรูปแบบที่นิยมกัน 3 วิธีคือ แบบบัส (bus)

ในระบบเครือขาย โทโปโลยีแบบ BUS นับวาเปนแบบโทโปโลยีที่ไดรับความนิยมใชกันมากที่สุดมา ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน เหตุผลอยางหนึ่งก็คือสามารถติดตั้งระบบ ดูแลรักษา และติดตั้งอุปกรณเพิ่มเติมได งาย ไมตองใชเทคนิคที่ยุงยากซับซอน ลักษณะการทํางานของเครือขายโทโปโลยีแบบ BUS คืออุปกรณทุกชิ้น หรือโหนดทุกโหนด ในเครือขายจะตองเชื่อมโยงเขากับสายสื่อสารหลัก ที่เรียกวา "บัส" (BUS) เมื่อโหนดหนึ่ง ตองการจะสงขอมูลไปใหยังอีกโหนด หนึ่งภายในเครือขาย ขอมูลจากโหนดผูสง จะถูกสงเขาสูสายบัส ในรูป ของแพ็กเกจ ซึ่งแตละแพ็กเกจจะประกอบดวยตําแหนงของ ผูสงและผูรับ และขอมูล การสื่อสารภายในสาย บัส จะเปนแบบ 2 ทิศทางแยกไปยังปลายทั้ง 2 ดานของบัส โดยตรงปลายทั้ง 2 ดานของบัสจะมีเทอรมิเนเตอร (Terminator) ทําหนาที่ดูดกลืนสัญญาณ เพื่อปองกันไมใหสัญญาณขอมูลนั้นสะทอนกลับ เขามายังบัสอีก เปน การปองกันการชนกันของสัญญาณ ขอมูลอื่น ๆ ที่เดินทางอยูบนบัส สัญญาณขอมูลจากโหนดผูสง เมื่อเขาสูบัส จะไหลผานไปยังปลายทั้ง 2 ขางของบัส แตละโหนดที่เชื่อมตอเขากับบัส จะคอยตรวจดูวาตําแหนงปลายทาง ทีม่ ากับแพ็กเกจขอมูลนั้น ตรงกับตําแหนงของตนหรือไม ถาใชก็จะรับขอมูลนั้นเขามาสูโหนดตน แตถาไมใช ก็ จะปล อยให สั ญญาณขอมูล นั้ น ผ านไป จะเห็ น ว าทุก ๆ โหนดภายในเครื อข ายแบบ BUS นั้ น สามารถรั บ รู สั ญ ญาณข อ มู ล ได แต จ ะมี เ พี ย งโหนดปลายทางเพี ย งโหนดเดี ย วเท า นั้ น ที่ จ ะรั บ ข อ มู ล นั้ น ไปได การควบคุ ม การสื่ อ สารภายในเครื อ ข า ยแบบ BUS มี 2 แบบคื อ แบบควบคุ ม ด ว ยศู น ย ก ลาง (Centralized) ซึ่งจะมีโหนดหนึ่ง ที่ทําหนาที่เปนศูนยกลางควบคุมการสื่อสารภายในเครือขาย ซึ่งสวนใหญจะ เปนไฟลเซิรฟเวอร การควบคุมแบบกระจาย (Distributed) ทุก ๆ โหนดภายในเครือขาย จะมีสิทธิในการ ควบคุมการสื่อสาร แทนที่จะ เปนศูนยกลางควบคุมเพียงโหนดเดียว ซึ่งโดยทั่วไปคูโหนดที่กําลังทําการสง-รับ ขอมูลกันอย ูจะเปนผูควบคุมการสื่อสารในเวลานั้นขอดีขอเสียของโทโปโลยีแบบบัส


3

แบบดาว (star)

เปนหลักการสงและรับขอมูล เหมือนกับระบบโทรศัพท การควบคุมจะทําโดยสถานีศูนยกลาง ทํา หน าที่เ ปน ตั วสวิ ตชิ่ ง ขอมูล ทั้งหมดในระบบเครื อขาย จะตองผานเครื่องคอมพิว เตอร ศูน ย กลาง (Center Comtuper) เป น การเชื่ อ มโยงการติ ด ต อ สื่ อ สาร ที่ มี ลั ก ษณะคล า ยกั บ รู ป ดาว (STAR) หลายแฉก โดยมี ศูนยกลางของดาว หรือฮับ เปนจุดผานการติดตอกันระหวางทุกโหนดในเครือขาย ศูนยกลาง จึงมีหนาที่เปน ศู น ย ค วบคุ ม เส น ทางการสื่ อ สารทั้ ง หมด นอกจากนี้ ศู น ย ก ลางยั ง ทํ า หน า ที่ เป น ศู น ย ก ลางข อ มู ล อี ก ด ว ย การสื่อสารภายในเครือขายแบบ STAR จะเปนแบบ 2 ทิศทาง โดยจะอนุญาตใหมีเพียงโหนดเดียวเทานั้น ที่ สามารถสงขอมูลเขาสูเครือขายได จึงไมมีโอกาสที่หลายๆ โหนดจะสงขอมูลเขาสูเครือขายในเวลาเดียวกัน เพื่อ ปองกันการชนกันของสัญญาณขอมูล เครือขายแบบ STAR เปนโทโปโลยี อีกแบบหนึ่ง ที่เปนที่นิยมใชกันใน ปจจุบัน ขอดีของเครือขายแบบ STAR คือการติดตั้งเครือขายและการดูแลรักษาทําไดงาย หากมีโหนดใดเกิดความ เสียหาย ก็สามารถตรวจสอบไดงาย และศูนยกลางสามารถตัดโหนดนั้นออกจากการสื่อสาร ในเครือขายได แบบวงแหวน (ring)


4

เครื อข ายแบบ RING เป น การส งข าวสารที่ส งผ า นไปในเครื อ ขาย ข อมูล ขา วสารจะไหลวนอยู ใ น เครื อข า ย ไปในทิศ ทางเดี ย ว เหมือ นวงแหวน หรื อ RING นั่ น เอง โดยไม มีจุ ด ปลาย หรื อ เทอร มิเ นเตอร เชนเดียวกับเครือขายแบบ BUS ในแตละโหนดหรือสเตชั่น จะมีรีพีตเตอรประจําโหนด 1 เครื่อง ซึ่งจะทํา หนาที่เพิ่มเติมขาวสารที่จําเปนตอการสื่อสาร ในสวนหัวของแพ็กเกจขอมูล สําหรับการสงขอมูลออกจากโหนด และมีหนาที่รับแพ็กเกจขอมูล ที่ไหลผานมาจากสายสื่อสาร เพื่อตรวจสอบวาเปนขอมูล ที่สงมาใหโหนดตน หรือไม ถาใชก็จะคัดลอกขอมูลทั้งหมดนั้น สงตอไปใหกับโหนดของตน แตถาไมใชก็จะปลอยขอมูลนั้นไปยัง รีพีตเตอรของโหนดถัดไป โทโปโลยีแบบผสม (Hybridge Topology)

เปนเครือขายการสื่อสารขอมูลแบบผสมระหวางเครือขายแบบใดแบบหนึ่งหรือมากกวา เพื่อความ ถูกตองแนนอน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความตองการและภาพรวมขององคกร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.