ตามรอยบุญ
วิถีธรรม วิถีสุรินทร
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin's Way of Life"
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin's Way of Life"
สารจากผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ เ ป็ น จั ง หวั ด ที่ มี ค วามเจริ ญ รุ่ ง เรื อ ง ทางอารยธรรม มามากกว่า ๒,๐๐๐ ปี มีความหลากหลาย ในหลายด้า น ทั้ง ประวัติศ าสตร์ กลุ่ม ชาติพันธุ์ วิถีชีวิตคน เลี้ ย งช้ า ง แหล่ ง ผลิ ต ผ้ า ไหมที่ ส ะท้ อ นภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ผ่านลวดลายอันงดงาม ด้วยวัฒนธรรมประเพณีผสมผสานกันได้อย่างลงตัว อีกทั้ง ยังเป็นดินแดนในรอยธรรม มีพระอริยสงฆ์ที่เป็นพระสุปฏิปันโน ปฏิบัติดีงามและ พระเกจิอยู่เป็นจำานวนมาก ทำาให้จังหวัดสุรินทร์เป็นจังหวัดที่มีความน่าสนใจเป็น อย่างยิ่ง ทุนวัฒนธรรมเหล่านี้สามารถนำามาพัฒนาให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีมีคุณค่า ทางสังคมและมูลค่าทางเศรษฐกิจในท้องถิ่นได้อย่างภาคภูมิใจ เพื่อดำารงคงอยู่กับ การพัฒนาในด้านต่างๆ และเป็นประโยชน์ต่อชุมชน ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) ยุทธศาสตร์การปรับ โครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน เน้นการส่งเสริมกิจกรรม การท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับศักยภาพพื้นที่และกระแสความต้องการของตลาดโลก ดังนั้นการบูรณาการการท่องเที่ยวให้เชื่อมโยงกับวิถีชีวิต วัฒนธรรม และศาสนา จึง เป็นสิ่งสำาคัญ หนังสือ “ตามรอยบุญ วิถธี รรม วิถสี รุ นิ ทร์ ” เป็นคูม่ อื การท่องเทีย่ วเชิงศาสนาอีก หนึง่ รูปแบบของการท่องเทีย่ ว ในมิตกิ ารเรียนรูน้ าำ จิตสูว่ ถิ แี ห่งสุขและปัญญาอันถ่องแท้ ตามรอยพระสัจธรรมของพระพุทธเจ้า สักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์เพิ่มมงคลชีวิต พร้อมศึกษา เรือ่ งราวศิลปะภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ผ่านผลงานพุทธศิลป์ของแต่ละวัด โดยแนะนำาสถานที่ อันศักดิส์ ทิ ธิย์ อดนิยมประชาชนให้ความเคารพเลือ่ มใสศรัทธา จึงขอนำาทุกท่านออกเดิน ทางสะสมเสบียงบุญ ทำากุศล ตามคติความเชื่อวิถีพุทธ ที่คัดสรรแล้วในทุกเส้นทางของ จังหวัดสุรินทร์ โดยหวังเป็นอย่างยิ่งเพื่อให้ทุกท่านได้รับความสุขใจ น้อมนำาความเป็น สิริมงคลมาสู่ชีวิตและเป็นกำาลังอันสำาคัญร่วมบำารุงพระศาสนาให้คงอยู่สืบต่อไป
(นายนิรันดร์ กัลยาณมิตร) ผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์
Message from Governor of Surin Province Surin Province is a province famous for 2,000 years of civilization and prosperous cultural heritage. With diversity of history and ethnic groups, Surin has communities of elephant upbringing and silk production. It is a land full of culture and tradition, as well as Dharma practices and enlightened Bhikkhus. As a result, Surin is a significant province, and its cultural aspects can be developed into something more sufficient and profitable in local societies. In accordance with the National Economic Development Plan No 11 (2012-2016), the province concentrated on tourism development to meet the demands of the world market. Therefore, the connection of tourism with daily life, cultures and religion is considered an important issue. The book “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life� is a handbook for a journey to religious sites, following the enlightening paths of Buddha and veneration to local holy places of Surin Province. Hopefully, this journey will be an auspicious life experience for all and bring about joy and happiness.
(Mr. Niran Kalayanamit) Governor of Surin Province
สารบัญ Table of Contents 04 สารจากผู้ว่า Message from the Govenor of Surin 10 ศาลหลักเมือง City Pillar Shrine 14 อนุสาวรียพ์ ระยาสุรนิ ทร์ฯ The Monument of Praya Surin 18 วัดบูรพาราม Wat Booraparam 36 วัดศาลาลอย Wat Salaloy 44 วัดบ้านเฉนียง Wat Ban Chaneang 50 วนอุทยานพนมสวาย Phanom Sawai Forest Park 70 วัดป่าไตรวิเวก Wat Pa Trai Wiwek 80 วัดปราการชัยพัฒนาราม Wat Pra Kran Chai Patanaram 88 วัดศรีลำายอง Wat Srilamyong 96 วัดเพชรบุรี Wat Pechaburi 104 วัดป่าบวรสังฆาราม Wat Pa Bowornsangkaram 110 วัดสง่างาม Wat Sangangam 120 วัดสีหะลำาดวน Wat Siha Lamduan 128 วัดป่าเขวาสินรินทร์ Wat Pa Khwao Sinrin 136 วัดสัทธารมณ์์ (บ้านขาม) Wat Sattharom ( Wat ban Kham) 142 วัดป่าอาเจียง Wat Pa Ajiang
150 วัดพระพุทธบาทพนมดิน Wat Phra Phutthabat Phanom Din 160 วัดใต้บูรพาราม Wat Tai Burapharam 166 วัดโพธิ์ศรีธาตุ Wat Pho Sri That 178 วัดป่าดงคู Wat Pa Dong Ku 186 วัดอินทราสุการาม Wat Intra Sukaram (Wat Nong Yao) 196 วัดพัฒนาธรรมาราม (บ้านด่านช่องจอม) 202 วัดเขาศาลาอตุลฐานะจาโร Wat Khao Sala Atulthanajaro Buddha Park 216 วัดโคกกรม Wat Khok Krom 222 วัดมงคลคชาราม (ช้างหมอบ) Wat Mongkhonkhacharam (Chang Mop) 236 วัดป่าเขาโต๊ะ Wat Pa Kho Toh 252 การเดินทาง Transportation 255 ที่พัก Accommodation Directory 256 หมายเลขโทรศัพท์สำาหรับนักท่องเที่ยว Important Telephone Numbers 258 ผู้จัดทำา Credits
แผนทีท่ อ่ งเทีย่ วจังหวัดสุรนิ ทร์
8
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตักบาตรบนหลังช้าง Alms Giving on Elephant's back
10
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ศาลหลักเมืองสุรินทร์ ตั้งอยู่ที่ ถนนหลักเมือง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ ความส�าคัญ เป็นสถำนที่ส�ำคัญคู่บ้ำนคู่เมือง อยู่ห่ำงจำกศำลำกลำงจังหวัดไปทำง ทิศตะวันตก ประมำณ ๕๐๐ เมตร เดิมเป็นศำลที่ยังไม่มีเสำหลักเมือง ต่อมำเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๑ กรมศิลปำกรได้ออกแบบสร้ำงศำลหลักเมือง เสำหลักเป็นไม้ชยั พฤกษ์ทไี่ ด้ มำจำกนำยประสิทธิ์ มณีกำญจน์ อ�ำเภอไทรโยค จังหวัดกำญจนบุรี เป็นเสำไม้สงู ๓ เมตร วัดโดยรอบเสำได้ ๑ เมตร ต่อมำ วันที่ ๒๑ ส.ค. ๒๕๑๕ พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว ทรงประกอบพิธีเจิมเสำหลักเมือง ณ ต�ำหนักจิตรลดำรโหฐำน พระรำชวังดุสิต และ พระรำชทำนด�ำรัสว่ำ “การสร้างเสาหลักเมืองนีด้ ี เป็นหลักแหล่งความสามัคคี ขอให้ชาว สุรินทร์จงมีความสามัคคีกัน สร้างความเจริญก้าวหน้า และขอให้ชาว สุรินทร์จงมีความร่มเย็นเป็นสุข” ท�ำพิธียกเสำหลักเมืองและสมโภช เมื่อวันที่ ๑๕ มีนำคม ๒๕๑๗ “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
11
ท�ำกำรบูรณะเรื่อยมำจนแล้วเสร็จ นำยนิรันดร์ กัลยำณมิตร ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดสุรินทร์ จึงได้มีกำร จัดพิธีสมโภชศำลหลักเมือง ในระหว่ำงวันที่ ๑๔-๑๘ พฤษภำคม ๒๕๕๗ รวม ๕ วัน ๕ คืน มีพิธีพลีกรรม ตักดินจำกทุกอ�ำเภอในจังหวัดสุรินทร์ อัญเชิญดิน ทั้ง ๔ ทิศ ประกอบพิธีเจริญพระพุทธมนต์ และกำร สวดนครฐำนสู ต ร พิ ธี บ วงสรวงเทพเทวำ สรงน�้ ำ เสำหลักเมือง พิธีวำงดิน (โดยนำยอิน นำยจัน นำย มั่น และนำยคง) พิธีเชิญเสำหลักเมืองประดิษฐำน กำรเจริญชัยมงคลคำถำ กำรถวำยน�้ำเทพมนต์ และ กำรผูกผ้ำสีมงคล
ศาลหลักเมืองสุรินทร์ จึงเป็น สั ญ ลั ก ษณ์ ที่ พึ่ ง ทางจิ ต ใจของชาว สุรินทร์ที่ได้นับถือเคารพบูชากราบ ไหว้กัน คาถาบูชาพระหลักเมืองสุรินทร์ ตัง้ นะโม ๓ จบ ศรีโรเมเทพเทวำนัง พระหลักเมืองเทวำนัง ทีปธูปจุปปุบผัง สักกำระวันทนัง สูปพญัชนะ สัมปันนัง โพธนำนัง สำรีนัง อุททะกัง วะรัง เตปิตุ มเห อนุรักษ์ขันตุ อำโรขเยนะ สุเมนะจะ
12
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
มี ค วำมเชื่ อ ของ คนโบรำณ เชื่ อ กั น ว่ ำ หำกอยำกมีควำมเจริญ ก้ำวหน้ำในหน้ำทีก่ ำรงำน ต้องไปสักกำระขอพรกับ พระหลั ก เมื อ งสุ ริ น ทร์ เพื่อเป็นหลักชัยของชีวิต มีหน้ำที่กำรงำนที่มั่นคง เจริญรุ่งเรือง
City Pillar Shrine, Surin Located on Lak Mueang Road, Nai Mueang District, Amphoe Mueang, Surin Province The shrine is a sacred icon of the city situated 500m west of the city hall. At first, the shrine did not house any pillar. In 1968, the Fine Arts Department had designed a new city shrine and got a golden cassia log from Mr. Prasith Maneekan, Amphoe Sai Yok, Kanchanaburi Province, and made it the city pillar. The log is 3m long and has a 1m circumference. Later, on August 21, 1973, His Majesty the King performed the blessing ceremony for the city pillar at Chitralada Villa Royal Residence. The rite and celebration of Surin City Pillar Shrine took place on March 15, 1974. After the completed renovation of City Pillar Shrine, Mr. Niran Kanlayanamit, Surin Province’s governor, arranged the celebration ceremony during May 14-18, 2014 for five days and nights. Upon ancient belief, if Surin’s people needed the prosperity and progressive works, they would pay homage to the City Pillar Shrine. Therefore, the Surin City Pillar Shrine is a sacred icon of all Surin’s people. “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
13
อนุสาวรีย์พระยาสุรินทร์ภักดีศรีณรงค์จางวาง (ปุม) ตั้งอยู่ที่ ถนนสุรินทร์ – ปราสาท ซึ่งเป็น ทางเข้าเมืองทางด้านใต้ ความส�าคัญ อนุสาวรีย์พระยาสุรินทร์ภักดี ศรีณรงค์จางวาง (ปุม) สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๑ เพื่ อ เป็ น อนุ ส รณ์ ส ถานระลึ ก ถึ ง ผู้สร้างเมืองท่านแรก ซึ่งเป็นบุคคลส�าคัญ อย่างยิ่งในประวัติศาสตร์ของเมืองสุรินทร์ อนุสาวรียแ์ ห่งนีต้ ง้ั อยูท่ ที่ างเข้าเมืองสุรนิ ทร์ ทางด้านใต้ ตรงบริเวณหลักกิโลเมตรที่ ๐ ที่ ถ นนสุ ริ น ทร์ - ปราสาท เป็ น บริ เ วณที่ เคยเป็ น ก� า แพงเมื อ งชั้ น ในของตั ว เมื อ ง สุรินทร์ อนุสาวรีย์เป็นรูปหล่อทองเหลือง รมด� า สู ง ๒.๒ เมตร มื อ ขวาถื อ ของ้ า ว 14
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
อันเป็นการแสดงถึงความเก่งกล้าสามารถของท่านในการบังคับช้างศึกและเป็นเครื่อง แสดงว่า สุรนิ ทร์เป็นเมืองช้างมาแต่ดกึ ด�าบรรพ์ รูปปัน้ สะพายดาบคูอ่ ยูบ่ นหลังอันหมายถึง ความเป็นนักรบ ความกล้าหาญอันเป็นคุณสมบัติที่ตกทอดเป็นมรดกของคนสุรินทร์ อนุสาวรีย์พระยาสุรินทร์ภักดีศรี ณรงค์จางวาง เป็นสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ คูบ่ า้ นคูเ่ มือง ชาวสุ ริ น ทร์ ที่ ส� า คั ญ ผู้ ที่ อ ยู่ อ าศั ย ใน จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ จ ะมาประกอบพิ ธี สั ก กา ระบู ช าและบวงสรวงกั น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ทุกวัน เพื่อความเป็นสิริมงคลและขอพร ให้การประกอบสัมมาอาชีพ การค้าขาย การลงทุน ประสบผลส�าเร็จทุกประการ
ศาลปะก�า ศาลปะก�า เป็นสิ่งที่ชาวกูยให้ความเคารพเป็นอย่างยิ่ง เสมือนเทวาลัยสิงสถิต ของวิญญาณบรรพบุรุษและผีปะก�า ตามความเชื่อของ ชาวกวย หรือ กูย นิยมปลูก สร้างไว้ในหมู่บ้านใช้เก็บอุปกรณ์จับช้างป่าเพื่อสร้างขวัญก�าลังใจแก่คนเลี้ยงช้าง นักท่องเที่ยวสามารถไหว้ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์จาก ศาลปะก�ากันได้ ซึ่งเชื่อกันว่า ขอสิ่งใด ได้สมปรารถนาดั่งที่ตั้งใจไว้ ศาลปะก�าเมืองจะอยู่ใกล้เคียงกับอนุสาวรีย์ พระยาสุรินทร์ภักดีศรีณรงค์จางวาง “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
15
Memorial of Phraya Surinphakdisrinarongchangwang (Pum) Located on Surin-Prasat Road Memorial of Phraya Surinphakdisrinarongchawang (Pum) was created in 1968 for reminiscence of the first city establisher- the most important figure in Surin history. The memorial is situated on the southern gate of Surin: Surin-Prasat Road previously recognized as the area of inner Surin City Wall. The 2.2m tall statue is cast of brass, holding a scythe in his right hand; hinting at his courage and ability in controlling elephants, as well as a symbol of Surin as a city of elephants. 16
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
This memorial is an iconic sacred place of Surin Province. Surin locals come to venerate the memorial daily wishing for success in careers and trades. Pakum Shrine The holy place of Kui people: the shrine for spirits of their ancestors and Pakum ghost. Typically, the shrine is constructed in Kui village for keeping catching tools of wild elephants. Tourists can pay homage to Pakum shrine for auspiciousness. Upon the belief, every wish would be true if asking at the shrine. Its location is close to the Memorial of Phraya Surinphakdisrinarongchangwang. “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
17
18
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
วัดบูรพาราม อ.เมือง จ.สุรินทร์ ตั้งอยู่ที่ ถนนกรุงศรีใน ต�ำบลในเมือง ใกล้กับศำลำกลำงจังหวัดสุรินทร์ ความส�าคัญ พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยูห่ วั ทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำฯ ให้ยกวัดบูรพำรำม ขึ้นเป็นพระอำรำมหลวง เมื่อวันที่ ๑ กุมภำพันธ์ ๒๕๒๐ วัดบูรพำรำม หลวงพ่อพระชีว์ เป็นพระพุทธรูปปำงมำรวิชัย สันนิษฐำนว่ำสร้ำงขึ้นมำพร้อมกับวัดบูรพำรำม ในสมัย กรุงธนบุรี หรือในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ มีอำยุประมำณ 200 ปี เท่ำกับอำยุเมืองสุรนิ ทร์ ที่สร้ำงโดยพระยำสุรินทร์ภักดีศรีณรงค์จำงวำง (ปุม) เจ้ำเมืองสุรินทร์คนแรก “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
19
หลวงพ่อชีว์เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์เป็นของคู่บ้ำนคู่เมืองที่ชำวสุรินทร์
เคำรพบูชำสูงสุดของจังหวัด ด้วยควำมเคำรพนับถือท่ำนในแง่ควำมศักดิ์สิทธิ์ ประชำชนจึงเชือ่ ว่ำท่ำนสำมำรถดลบันดำล ให้เขำส�ำเร็จประโยชน์ ประสบโชคดี อย่ำงใดอย่ำงหนึ่งได้สมควำมปรำรถนำ 20
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ประวัติ หลวงปู่ดูลย์ อตุโล นำมเดิม ดูลย์ ดีมำก เกิดเมือ่ วันที่ ๔ ตุลำคม ๒๔๓๑ ณ บ้ำนปรำสำท ต�ำบลเฉนียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ ด้วยในวัยหนุ่มมีรูปร่ำงผิว พรรณดี พระยำสุรนิ ทร์ภกั ดี ศรีไผทสมันต์ (จรัณย์) เจ้ำ เมืองสุรินทร์ในสมัยนั้น จึง ได้มีบัญชำให้น�ำตัวมำร่วม แสดงละครนอกโดยให้เล่น เป็นตัวนำงเอก จนกระทั่ง ปี พ.ศ. ๒๔๕๓ อำยุ ๒๒ ปี จึงได้อปุ สมบท ณ พัทธสีมำ วัดจุมพลสุทธำวำส ต�ำบล ใ น เ มื อ ง อ� ำ เ ภ อ เ มื อ ง จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ มี พ ระครู วิ ม ลสี ล พรต (ทอง) เป็ น พระอุปัชฌำย์ หลวงปู่ดูลย์ มี ค วำมสนใจที่ จ ะศึ ก ษำ กั ม มั ฏ ฐำนจึ ง ไปขอจ� ำ พรรษำที่ วั ด คอโค โดยมี หลวงปู่อวง เป็นผู้ฝึกกัมมัฏ ฐำนให้นำนถึง ๖ ปี
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
21
ในปีพ.ศ.๒๔๕๘ ได้เดินทำงไปจังหวัดอุบลรำชธำนีเพื่อเรียนปริยัติธรรม และได้ พบสหธรรมมิก หลวงปูส่ งิ ห์ ขันตยำคโม เป็นกัลยำณมิตรน�ำพำหลวงปูด่ ลู ย์ เข้ำไปกรำบ นมัสกำรพระอำจำรย์มั่น ภูริทัตโต พระอำจำรย์ใหญ่ฝ่ำยวิปัสสนำของพระป่ำทั้งหลำย และได้ถวำยตัวเป็นศิษย์หลวงปู่มั่น ท�ำให้เกิดก�ำลังใจในกำรปฏิบัติ จึงได้ออกธุดงค์ กัมมัฏฐำนติดตำมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต อยู่ ๑๙ ปี จึงเดินทำงกลับมำยัง จังหวัดสุรินทร์ ในปี พ.ศ.๒๔๗๗ และได้มำพ�ำนักอยูว่ ดั บูรพำรำม พ.ศ.๒๔๗๙ ท่ำนได้เริม่ ท�ำกำรบูรณะ ปฏิสังขรณ์ วัดบูรพำรำมเรื่อยมำ 22
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
หลวงปู่ดูลย์ อตุโล เป็นพระ ที่มีคุณธรรมล�้ำลึก ค�ำสอนของท่ำน จะสั้นๆ แต่เฉียบคม ท่ำนเน้นกำร ปฏิ บั ติ ภ ำวนำ ให้ พิ จ ำรณำจิ ต ใน จิตจนรู้แจ้ง ท่ำนมรณภำพเมื่อวันที่ ๓๐ ตุลำคม ๒๕๒๖ อำยุ ๙๖ ปี ๗๔ พรรษำ ปัจจุบนั วัดบูรพำรำรม ได้เปิด ให้สำธุชน ผู้เลื่อมใสเคำรพศรัทธำ เข้ำไปกรำบสักกำระได้ภำยในพิพิธ ภัณฑ์กัมมัฏฐำน-อัฐิธำตุ ซึ่งอยู่ใน บริเวณวัดบูรำพำรำม
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
23
24
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
นอกจำกนี้ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว ผู ้ ม ำเยื อ น จังหวัดสุรนิ ทร์ควรแวะมำ นมัสกำรรูปเหมือน หลวงปู่ดูลย์ อตุโล พระเถระสำยวิปัสสนำ กั ม มั ฏ ฐำน และเกจิ อ ำจำรย์ ชื่ อ ดั ง เมื อ ง สุรินทร์ “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
25
ค�ำสอนหลวงปู่ดูลย์ อตุโล “ถ้ากาย วาจา และจิตใจดี อ�านาจความดีงามก็จะเกิดขึ้นเอง”
26
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
กำรปฏิ บั ติ ธ รรมนั้ น ไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งเดิ น ทำงไป ที่ ไ หน ในเมื่ อ กำยยำว ๑ วำ หนำ ๑ คืบนี้แล เป็นตัว ธรรม เป็นตัวโลก เป็นที่เกิด แห่งธรรม เป็นทีด่ บั แห่งธรรม เป็นที่ที่พระผู้มีพระภำคเจ้ำ ได้อำศัยบัญญัติไว้ ซึ่งธรรม ทั้งปวง แม้ใครใคร่จะปฏิบัติ ธรรมก็ ต ้ อ งปฏิ บั ติ ที่ ก ำย และใจเรำนี้ หำได้ไปปฏิบัติ ที่ อื่ น ไม่ ดั ง นั้ น ไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งหอบสั ง ขำรนี้ ไ ปที่ ไ หน ถ้ำตั้งใจจริงแล้วนั่งอยู่ที่ไหน ธรรมก็เกิดที่ตรงนั้น นอนอยู่ ที่ไหน ยืนอยู่ที่ไหน เดินอยู่ ที่ไหน ธรรมก็เกิดที่ตรงนั้น นั่นแล
พระรำชวรคุณ (สมศักดิ์ ปณฺฑิโต). เจ้ำอำวำสองค์ปัจจุบัน
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
27
วัตถุมงคล หลวงปู่ดูลย์ อตุโล 28
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Wat Booraparam, Mueang District, Surin Province Location It is located at Krungsri Nai Road, Nai Mueang Sub-district, near Surin Provincial Hall. Importance His majesty king Bhumibol Adulyadej (King Rama IX) graciously designated Wat Booraparam as the royal temple on February 1, 1977. Inside the temple, there is the Buddha image called Luang Por Phrachee. “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
29
This Buddha image is Subduing Mara in style and it is assumed that the Buddha image was originally built along with the temple during Thonburi era or early Rattanakosin era. The age of Luang Por Phrachee is around 200 years old which is the same age as Surin City. The city was founded by Phraya Surin Phakdi Sri Narong Jang Wang (Pum) who was the first ruler of Surin City. Luang Por Phrachee is the sacred Buddha image of Surin Province and it is highly respected by Surin’s people. With this high level of respect in the sacred Buddha image, the people believe that the Buddha image can bring them the good luck or success they wish for. Moreover, the tourists who visit Surin Province will also have a chance to worship the statue of Luang Pu Dune Atulo who was the monk of the Thai Forest Tradition of Theravada Buddhism and other well-known monks of Surin Province.
30
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Biography of Luang Pu Dune Atulo The original name of Luang Pu Dune Atulo was Dune Deemak. He was born on October 4, 1888 at Ban Prasat, Chaniang Sub-district, Mueang District, Surin Province. During his youth because of his good looking appearance, Phraya Surin Bhakdee Sri Patai Saman (Jaran) who was the city ruler at that time was ordered to bring him to join the performance called Lakorn Nok (play performed outside the palace), acting as the heroine. Until he was 22 years old in 1910, he ordained as a monk at Jumpolsutthavas monastery, Nai Mueang Sub-district, Mueang District, Surin Province. Phra Kru Vimol See La Phrot (Thong) was the preceptor of his ordination. “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
31
32
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Luang Pu Dune Atulo was interested to learn Kammatthan (meditation and mind training) so he made the request to stay at Wat Koco during the Buddhist Lent. He had practiced and learnt Kammatthan from the monk named Luang Pu Auang who was his Kammatthan teacher for 6 years. In 1915, he traveled to Ubon Ratchathani Province to study the Buddhist theology. He passed the Pali Scholar, and met the monk named Luang Pu Singh Khantayakamo, a friend who took him along to meet and worship Venerable Ajahn Mun Bhuridatto who was the headmaster among the Thai Forest Tradition of Theravada Buddhism monks. He then offered himself as a disciple of Luang Pu Mun Bhuridatto and this was a great encouragement in Dhamma practice for him. He had been following Luang Pu Mun Bhuridatto for Kammatthan practice to every places for 19 years. He then returned to Surin Province in 1934, “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
33
later staying at Wat Booraparam beginning in 1936, where he began to reconstruct Wat Booraparam. Luang Pu Dune Atulo was the monk whose morality deepened. His teachings are short in words but deep in meaning and focus mainly on Dhamma practice. The teachings teach how to contemplate the mind which is in the mind itself until attaining enlightenment. He passed away on October 30, 1983. By the time of his death, he was 96 years old and 74 Phansa (1 Phansa is a period of 3 lunar months during rainy season). Currently, the Kammatthan Atthithat museum (meditation and relic’s museum) which is in the area of Wat Booraparam, is open for the people to visit and worship.
34
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Teachings of Luang Pu Dune Atulo “If the body, speech, and mind are good then the power of goodness will automatically happen” In the Dhamma practice, there is no need to travel to any places because the human body with 1 Wa long (1 Wa is equivalent to 2 metres) and 1 Kuep thick (1 Kuep is equivalent to 0.25 metres) is actually the Dhamma itself. The body is the world, the source of Dhamma, and the end of Dhamma. The body is which the Lord Buddha used for prescribe all aspects of the Dhamma. If one desires to practice, one would have to practice the mind and the body, which are not elsewhere. So, there is no need to travel and take the body to any place. If one has the real intention, wherever one sits, stands, walks, and sleeps there will be Dhamma in that place. “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
35
36
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
วัดศาลาลอย อ.เมือง จ.สุรินทร์ ตั้งอยู่ที่ เลขที่ ๔๙๐ ถนนหลักเมือง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ การเดินทาง จำกศำลำกลำงเมืองสุรินทร์ไปตำมถนนหมำยเลข ๒๑๔ ประมำณ ๖๐ เมตร เลี้ยวขวำเข้ำสู่ถนนหมำยเลข ๒๒๖ ประมำณ ๒๓๐ เมตร เลี้ยวซ้ำยเข้ำสู่ถนน เทศบำล ๒ ประมำณ ๑๔๐ เมตร แล้วเลี้ยวขวำเข้ำสู่ซอยวิภัชอนุสรณ์ ๑๐๐ เมตร แล้วเลี้ยวซ้ำย วัดศำลำลอย จะอยู่ด้ำนซ้ำยมือ ความส�าคัญ ตั้งอยู่ภำยในก�ำแพงเมือง ชั้นนอกด้ำนตะวันออก เป็นวัดเก่ำแก่วัด หนึ่งในตัวเมืองจังหวัดสุรินทร์ เป็นพระ อำรำมหลวง จำกกำรเล่ำสืบทอดกันต่อ มำจำกบรรพบุรษุ และจำกบันทึกประวัติ เมืองสุรินทร์ “พระยำสุรินทร์ภักดีศรีไผท สมันต์ (สุ่น) เจ้ำเมืองคนที่ ๔ ครองเมือง สุรินทร์ เมื่อปีมะแม พุทธศักรำช ๒๓๔๕ ถึ ง ปี กุ น พุ ท ธศั ก รำช ๒๓๙๔ ภรรยำ ของท่ำนเจ้ำเมือง คือ นำงดำม พร้อม บุ ต ร ธิ ด ำและบริ ว ำรประกอบอำชี พ เกษตรกรรมบริเวณที่เรียกภำษำถิ่นว่ำ เวี ย ลเวง แปลว่ ำ ทุ ่ ง ยำว ซึ่ ง อยู ่ น อก ก�ำแพงเมืองด้ำนตะวันออกของวัด นำง ดำมเป็นคนใจบุญ ได้ให้กำรค�ำ้ จุนอุปถัมภ์วดั ศำลำลอยเป็นประจ�ำ พร้อมกันนัน้ ก็ได้ฝำก บุตรหลำนและบริวำรให้ดแู ลบ�ำรุงวัดสืบต่อมำ วัดศำลำลอยคำดว่ำมีอำยุไม่ตำ�่ กว่ำร้อยปี วัดแห่งนีเ้ ป็นศูนย์กลำงกำรเผยแพร่พระพุทธศำสนำที่ส�ำคัญแห่งหนึ่งในจังหวัดสุรินทร์ “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
37
ปั จ จุ บั น มี พระธรรมโมลี ดร. (ทองอยู่ ญำณวิสุทฺโธ ป.ธ.๙ Ph.D.) เจ้ำ คณะจังหวัดสุรินทร์ เป็ น เจ้ ำ อำวำสวั ด ศำลำลอย วัดศำลำลอย ยังเป็นโรงเรียนบำลี สำธิตวัดศำลำลอยอีกด้วย ควำม ที่ เ ป็ น พระอำรำมหลวงและอยู ่ ใจกลำงเมืองจึงเป็นที่นิยมของนัก ท่ อ งเที่ ย วและประชำชนเข้ ำ มำ ไหว้พระบรมสำรีริกธำตุ และพระ ศรีอริยเมตไตรยเสริมควำมเป็น สิ ริ ม งคลให้ ป ระสบควำมส� ำ เร็ จ ปรำศจำกโรคภัย 38
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
คาถาไหว้พระศรีอริยเมตไตรย นะโม ๓ จบ นะโม พุทธำยะ มะอะอุ นะโม ศรี โ ลกุ ต ตระ อริ ย ะ เมตตเตยโย โพธิสัตโต อิติ อิติ อะระ หังพุทโธ นะโมพุทธำยะ มะอะอุ อิส วำสุ สุสวำอิ นะมะพะทะ จะพะกะ สะ ยะธำพุทโมนะ พุทธะอะระหัง อะ อิทธิ ฤทธิ อิทธิ ฤทธัง พุทธะมหำลำภัง พุทธะมหำโภโค นะโมพุทธำยะ “Tracing of Merits, Dhamma, Surin’sWay WayofofLife” Life” “Tracing of Merits, Dhamma, andand Surin’s “Tracing of Merits, Dhamma, andand Surin’s “Tracing of Merits, Dhamma, Surin’sWay WayofofLife” Life”
39
40
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Wat Salaloy, Mueang District, Surin Province Location 490 Lak Mueang Road, Nai Mueang Sub-district, Mueang District, Surin Province To Go There Start from Surin Provincial Hall, follow the route number 214 around 60 metres, then turn right and take the route number 226 around 230 metres, after that turn left to Tessaban 2 Road around 140 metres and then turn right to Soi Vipatch Anusorn around 100 metres, finish by turning left to Wat Salaloy which is on the left hand side. Importance Wat Salaloy is located at the east side of the outer city wall. It is one of the old temples in the city of Surin Province and it is a royal temple. From the story handed down from the ancestors and historical records of Surin City, Phraya Surin Bhakdee Sri Patai Saman (Sun), was the fourth ruler of Surin City from 1802 to 1851. His wife named Dam, was a kind person, along with sons, daughters, and her servants were the farmers in Wial Weng (called in dialect, means wide fields) which was the area of the east side of the outer city wall. They always gave support to Wat Salaloy from generation to generation. Wat Salaloy is thought to be at least 100 years old. It is an important center for Buddhism dissemination in Surin Province. Currently, the abbot of Wat Salaloy is Phra Dhammamoli, Dr. (Thong Yu Yanvisuttho, Pali Scholar, Level 9, Ph. D.) with the title rank “The Ecclesiastical Provincial Governor of Surin” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
41
42
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Demonstration Pali School Wat Salaloy is a school where the monks can learn the Pali language. Because it is the royal temple and located in the city center, it is popular for the people and the tourists to visit and pay homage to the Buddha’s relics and Phra Sri Ariyamettrai Buddha image. This is to wish for good luck, success, and good health. Chanting - Pali of Phra Sri Ariyamettrai Chanting begins with “namo tassa bhagavāto arahato sammāsambuddhassa (repeat three times)” and follows by “namo bhuddhāya maaau namo srilokuddara ariyamettatoeiyo bhodhisatto iti iti arahangbhuddo namobhuddhāya maaau isawāsu susawāi namapata japakasa yathābhudmona bhuddhaarahang a itti ritti itti rittang bhuddhamahālāpang bhuddhamahābhoko namobhuddhāya” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
43
วัดบ้านเฉนียง (ป่าโคกหม่อน) ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ ๑ ต�ำบลเฉนียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ การเดินทาง จำกศำลำกลำงจังหวัดสุรินทร์ ใช้เส้นทำงหลวงหมำยเลข ๒๑๔ พอถึง หลัก กม.๘ พบป้ำยวัดบ้ำนเฉนียง (ป่ำโคกหม่อน) เลีย้ วซ้ำยเข้ำซอยไปเล็กน้อย เจอสำม แยกเลี้ยวซ้ำย จะพบวัดบ้ำนเฉนียง ความส�าคัญ หลวงปู่เอียน ฐิตวิริโย นำมเดิม เอียน บุญทวี ท่ำนเกิดเมื่อวันที่ ๑ สิงหำคม พ.ศ. ๒๔๖๗ ณ บ้ำนเฉนียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ ท่ำนเป็นศิษย์หลวงปู่ดูลย์ อตุลโล วัดบูรพำรำม จังหวัดสุรินทร์ เมื่อปี พ.ศ.๒๔๙๗ อำยุ ๓๐ ปี ได้มีโอกำสไปกรำบ 44
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
หลวงปู่สำม อกิญจโน วัดป่ำไตรวิเวก จังหวัดสุรินทร์ ที่มำงำนบุญในหมู่บ้ำน เฉนียง ท่ำนได้ชกั ชวนให้ไปบวชทีภ่ ำคใต้ จึงได้อุปสมบท ณ วัดไม้ขำว อ�ำเภอ ถลำง จังหวัดภูเก็ต โดยมีหลวงปู่เทศก์ เทศก์รังสี เป็นพระอุปัชฌำย์ และอยู่จ�ำ พรรษำที่วัดเจริญสมณกิจ (หลังสวน) อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต อยู่ ๑ พรรษำ จำกนัน้ ได้ออกธุดงค์หำสถำนทีป่ ลีกวิเวก ในกำรปฏิบัติธรรม พ.ศ.๒๕๐๕ ได้ไป จ�ำพรรษำอยูท่ ี่ วัดแหลมสัก ต�ำบลแหลม สัก อ�ำเภออ่ำวลึก จังหวัดกระบี่ และ ธุดงค์ไปยัง จังหวัดนครรำชสีมำ จังหวัด บุรีรัมย์ จังหวัดศรีสะเกษ จนกระทั่งปี พ.ศ.๒๕๑๘ ได้เดินทำงกลับมำเยีย่ มแม่ ที่จังหวัดสุรินทร์ โยมแม่ขอร้องให้ท่ำน อยูจ่ ำ� พรรษำทีส่ รุ นิ ทร์ ไม่ตอ้ งกำรให้เดิน ธุดงค์อกี ท่ำนจึงอำศัยป่ำละเมำะ ทีบ่ ำ้ น โคกหม่อน เป็นสถำนที่ปฏิบัติธรรม ซึ่ง พื้นที่เดิมเป็นที่ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม อยู่จ�ำพรรษำเรื่อยมำ จำกสถำนทีป่ ฏิบตั ธิ รรมได้แค่พออยูอ่ ำศัยไม่ได้ตง้ั ใจให้เป็นวัด พอจะเข้ำพรรษำก็ จะออกไปจ�ำพรรษำทีต่ ำ่ งๆ เจ้ำของทีด่ นิ ได้นมิ นต์ให้ทำ่ นมำจ�ำพรรษำโดยได้ถวำยทีด่ นิ ให้ และได้มีผู้มีจิตศรัทธำมำสร้ำงกุฎิและสิ่งปลูกสร้ำงที่จ�ำเป็น นอกจำกนี้แล้วยังได้รับ ควำมเมตตำจำกหลวงปู่ดูลย์ อตุโล ให้ควำมช่วยเหลือเป็นกัลยำณมิตรอยู่ตลอดมำ ปัจจุบันหลวงปู่เอียน ฐิตวิริโย อำยุ ๙๑ ปี ๖๑ พรรษำ ยังคงเคร่งครัดปฏิบัติตำม พระธรรมวินยั ตำมหลักค�ำสอนของพระพุทธเจ้ำ ท่ำนว่ำคนเรำควรมีจดุ หมำยปลำยทำง ไม่ใช่ทำ� ตนเป็นจระเข้หลงบึง ดังนัน้ จึงต้องอยูต่ อ้ งประพฤติปฏิบตั ใิ ห้ถกู นอกจำกนีแ้ ล้ว หลวงปู่เอียน ฐิตวิริโย ยังเปี่ยมไปด้วยจิตที่เมตตำ ได้จัดตั้งกองทุนเพื่อกำรศึกษำให้กับ เด็กนักเรียนในชุมชนที่มีควำมยำกจน และมอบทุนบ�ำรุงหน่วยงำนของรัฐ เช่น โรงเรียน “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
45
ศูนย์อนำมัยประจ�ำต�ำบล และสงเครำะห์ผู้ป่วยโรค มะเร็ง โดยน�ำปัจจัยส่วนตัวที่มีผู้มำถวำย บริจำค ทรัพย์ต่อไปให้เป็นประโยชน์ ท่ำนถือว่ำเป็นกำรต่อ บุญต่อปัจจัยให้กับผู้ที่มำท�ำบุญกับท่ำน มีปัจจัย เท่ำไรท่ำนบริจำคสงเครำะห์หมด เพรำะถือได้ท�ำ ตอนที่หูยังได้ยิน ตำยังได้เห็น ยังได้ดูได้รู้ได้เห็น หำก เมื่อตำยนอนอยู่บนตะกอนก็ไม่รู้ไม่เห็น คนรู้คือคน ไม่ตำย คนตำยคือคนไม่รู้ ภำยในบริเวณวัดเป็นไปอย่ำงเรียบง่ำย ไม่มี ถำวรวัตถุทสี่ วยงำม เนือ่ งจำกหลวงปูเ่ อียน เน้นควำม เป็นอยูท่ เี่ รียบง่ำย ไม่ยดึ ติดควำมหรูหรำฟุม่ เฟือ่ ย เน้น กำรใช้งำนให้เกิดประโยชน์คุ้มค่ำ ค�ำสอนหลวงปู่เอียน ฐิตวิริโย “ทรัพย์สินเงินทองที่เรำมี เรำตำย ไปแล้วก็ไม่เห็นประโยชน์ ปัจจัยที่เขำให้ มำก็ ท� ำ บุ ญ ต่ อ ทรั พ ย์ ข องเขำก็ ง อกเงย ไปอีก แค่นี้เรำก็พอใจ ควำมพอใจเป็น สิ่งส�ำคัญ สันโดษ ควำมพอใจเป็นสิ่งอัน ประเสริฐ มีมำกพอใจมำก มำกเกินก็เบื่อ มีมำกก็ไม่พอ ไม่อิ่ม กินหมดกำละมัง ท้องจะแตกก็ยงั กระหำยอยู ่ ใครจะหรูหรำ ก็ตำมแต่ อำตมำไม่หรูหรำ ไม่ต้องคิด สร้ำงให้อยูส่ วยงำมเหมือนใครเขำ ตอนนี้ ไม่ใช่แค่บ่ำยคล้อยแล้ว ตะวันจะลับขอบ ฟ้ำแล้ว เรำต้องพยำยำมปลง มีชวี ติ อยำก ท�ำอะไรให้ท�ำเสีย ท�ำบุญเอำไว้ ตำยแล้ว ไม่มีโอกำส ตรำบใดยังมีลมหำยใจอยู่ให้ รีบท�ำ” 46
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Wat Ban Cha Niang (Pa Kok Mon) Location Moo 11, Cha Niang Sub-district, Mueang District, Surin Province How to get there Start from Surin Provincial Hall, follow the route number 214 until reach at km 8, there is the signage of Wat Ban Cha Niang (Pa Kok Mon). Then turn left through the alley for a short distance until see the junction. Then turn left again, Wat Ban Cha Niang will be there. Importance Luang Pu Aian Thitaviriyo was born on August 1, 1924 at Ban Cha Niang, Mueang District, Surin Province.His original name was Aian Buntawee. He was a disciple of Luang Pu Dune Atulo, Wat Booraparam, Surin Province. In 1954, when he was 30 years old, he had a chance to meet and worship Luang Pu Sam Akinjano who was from Wat Pa Trai Wi Weg, Surin Province, coming to attain merit ceremony of Ban Cha Niang. He was persuaded to ordain in the Southern part of Thailand by Luang Pu Sam Akinjano. Therefore, he later ordained as a monk at Wat Mai Khao, Thalang District, Phuket Province. There was Phra Kru Nirojrangsee (Luang Pu Ted Tedrangsee) as the preceptor and stayed at Wat Charoen Samanakij (Langsuan), Mueang District, Phuket Province during the Buddhist Lent for 1 Phansa (period used in Buddhist Lent, 1 Phansa equals 3 months). Then he went for Thudong (ascetic austerities), searched for suitable places for Dhamma Practice. “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
47
In 1962, he stayed at Wat Laem Sak, Laem Sak Sub-district, Ao Luek District, Krabi Province during Buddhist Lent. Later he also went to Nakhon Rachasima Province, Buri Ram Province, and Si Sa Ket Province for Thudong. In 1975, he came back to visit his mother In Surin Province. His mother requested him to stay permanently In Surin Province because she did not want him to have Thudong journey any more. So, he stayed in the jungle of Ban Kok Mon which was the area used for sericulture since then. The jungle was used for Dhamma practice and living, there was never a plan to build a temple there. During the Buddhist Lent, he would stay at various locations. The land owners would invite him to stay at their own lands and offered some of the lands to him, and there were people built Kuti (a monk’s cell) and needed buildings for him. Additionally, he received mercy and support from his continuous friendship with Luang Pu Dune Atulo. Currently, Luang Pu Aian Thitaviriyo is 91 years old, 61 Phansa. He has been practicing by following Dhamma’s rules and Dhamma’s principles of the Lord Buddha strictly. He said, “People should have a goal in their life. People should not make themselves like the crocodile who gets lost in the swamp so they should practice correctly”. In addition, his heart is full of mercy. He has set up the funds for education to no fo the students in the communities with poverty as well as giving the funds to maintain the government agencies such as schools, district’s health center, and also for cancer patients. These funds are from private money that people offered to him so they are donated again for the usefulness of other people, and this also brings more merit to the donors 48
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
who offered money to him. All his money will be donated for various purposes in order to help people. He believes that it is good to help others while the ears can still hear and the eyes can still see, once the body is dead there is no way to hear and see ; the people who can hear and see are not dead, but the people who are dead will never hear, never see, and never know anything. Inside the area of the temple is very simple, there are not any beautiful statues or sacred objects. This is because of Luang Pu Aian Thitaviriyo’s emphasis on simplicity. He does not attach to luxurious life but mainly focuses on the usefulness.
Teachings of Luang Pu Aian Thitaviriyo “Money and assets that we have, once we are dead these will be useless. The money from people’s offering will be used for donation, this will extend donors merit. It is a pleasure, having pleasure is important. Both pleasure and ascetic are precious. Too much wealthy, will be too much pleasure and these are bored; there is never enough, never fulfill, but still lots of craving. Whoever wants to be luxurious let them, but not me. For me, there is no need to be luxurious, no need to think of building any beautiful living places. At the moment, it is not the late afternoon but it is nearly sunset. We need to let go and do whatever we want while we are still alive. Try to make merit while we are still breathing, once we are dead there is no way anymore.”
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
49
50
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
วนอุทยานพนมสวาย ตั้งอยู่ที่ ต�ำบลนำบัว อ�ำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ การเดินทาง วนอุทยำนพนมสวำย ตั้งอยู่ที่ ต�ำบลนำบัว อ�ำเภอเมืองสุรินทร์ ห่ำงจำก ศำลำกลำงจังหวัดประมำณ ๒๒ กิโลเมตร ใช้ เ ส้ น ทำงสุ ริ น ทร์ - ปรำสำท (ทำงหลวง หมำยเลข ๒๑๔) ระยะทำง ๑๔ กิโลเมตร แล้วเลีย้ วขวำไปอีกประมำณ ๖ กิโลเมตร จะ พบซุ้มประตูพนมสวำย “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
51
วนอุทยำนพนมสวำย มีเนื้อที่ ๑,๙๗๕ ไร่ ตั้งอยู่ในเขตป่ำสงวนแห่งชำติป่ำเขำ สวำย ต�ำบลนำบัว อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ “พนมสวาย” เป็นภำษำพื้นเมืองสุรินทร์ “พนม” แปลว่ำ ภูเขำ “สวาย” หมำยถึง มะม่วง ในหมู่พนมสวำยประกอบด้วยภูเขำ ๓ ลูกซึ่งมีชื่อพื้นเมืองเรียกแตกต่ำงกันไป ได้แก่ “พนมกรอล” แปลว่ำ เขาคอก มีควำม สูงประมำณ ๑๕๐ เมตร “พนมเปร๊าะ” แปลว่ำ เขาชาย มีควำมสูงประมำณ ๒๒๐ เมตร และ “พนมสรัย” แปลว่ำ เขำหญิงมีควำมสูงประมำณ ๒๑๐ เมตร ในอดีตบรรพบุรุษ ชำวสุรินทร์ถือว่ำเขำพนมสวำยเป็นสถำนที่แสวงบุญ โดยกำรเดินทำงไปขึ้นยอดเขำ ในวันขึ้น ๑ ค�่ำ เดือน ๕ ซึ่งเป็น วันหยุดงำนตำมประเพณีของชำวจังหวัดสุรินทร์ มำแต่โบรำณกำล และจวบจนปัจจุบันชำวสุรินทร์ยังถือปฏิบัติเรื่อยมำ ผู้ที่มำเยือน เขำพนมสวำยจะได้สักกำระ ๙ สิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้ำนคู่เมืองเพื่อควำมเป็นสิริมงคล คือ พระใหญ่หรือพระพุทธ สุรินทรมงคล รอยพระพุทธบำทจ�ำลอง อัฐิหลวงปู่ดูลย์ อตุโล พระพุทธรูปองค์ดำ� หลวงปูส่ วน ปรำสำทหินพนมสวำย ศำลเจ้ำแม่กวนอิม เต่ำศักดิส์ ทิ ธิ์ และสระน�้ำศักดิ์สิทธิ์
52
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
รอยพระพุทธบาทจ�าลอง “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
53
54
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
55
พระพุทธรูปองค์ด�า
56
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
เต่าศักดิ์สิทธิ์
เจ้าแม่กวนอิม
สระน�้าศักดิ์สิทธิ์
อัฐิเจ้าเมืองสุรินทร์ “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
57
สถูปหลวงปู่ดูลย์
58
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
พระพุทธสุรนิ ทรมงคล เป็นพระพุทธรูปปำงประทำนพร ตั้งอยู่ในวนอุทยำนพนมสวำยเขำชำย จังหวัดสุรินทร์ หัน พระพักตร์ไปทำงทิศตะวันออก มีหน้ำตักกว้ำง ๑๕ เมตร สูง ๒๕ เมตร ชื่อพระพุทธรูปนี้ พระบำทสมเด็จพระปรมินทร มหำภูมพิ ลอดุลยเดชพระรำชทำนไว้ตอ่ มำใน ปี พ.ศ.๒๕๒๗ มี พิ ธี เ บิ ก พระเนตรพระพุ ท ธสุ ริ น ทรมงคล และอั ญ เชิ ญ พระบรมสำรีริกธำตุไปบรรจุไว้ ณ พระนำภี สถูปบรรจุอฐั ิ หลวงปูด่ ลู ย์ อตุโล ตัง้ อยูบ่ นพนม-กรอล (เขำคอก) ภำยในวนอุทยำนพนมสวำย สร้ำงขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๒๕ เพื่อบรรจุอัฐิหลวงปู่ดูลย์ อตุโล พระเกจิอำจำรย์ ชื่อดังของจังหวัดสุรินทร์และภำคอีสำน ซึ่งเป็นที่นับถือของ พุทธศำสนิกชนถือเป็นอนุสรณ์สถำนพระรำชวนำรำม ที่นัก ท่องเที่ยวสำมำรถขึ้นเขำสวำยมำกรำบไหว้ได้ทุกเมื่อ ศำลำอัฏฐะมุขตัง้ อยูบ่ นพนมกรอล (เขำคอก) ภำยใน วนอุทยำนพนมสวำย สร้ำงขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๒๕ โดยพุทธ สมำคมจังหวัดสุรนิ ทร์ได้จดั สร้ำงศำลำอัฏฐะมุขเป็นอนุสรณ์ ฉลองครบรอบ ๒๐๐ ปี แห่งกำรสถำปนำกรุงรัตนโกสินทร์เพือ่ อัญเชิญพระพุทธบำทจ�ำลอง จำกยอดเขำชำยมำประดิษฐำน ไว้ในศำลำรอยพระพุทธบำทจ�ำ ลองภำยในศำลำอัฏฐะมุข เป็นที่ประดิษฐำนรอยพระพุทธบำทจ�ำลองซึ่งสร้ำงขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๐ เดิมประดิษฐำนอยู่บนเขำชำย หลังจำกสร้ำง ศำลำอัฏฐะมุขแล้วจึงย้ำยมำประดิษฐำนที่นี่ ระฆัง ๑,๐๘๐ ใบ ภำยในวนอุทยำนพนมสวำย สร้ำง ขึ้นเมื่อวันที่ ๕ ธันวำคม ๒๕๕๐ ตำมโครงกำรส่งเสริมกำร ท่องเทีย่ วเชิงพุทธเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษำ เนือ่ งในโอกำส มหำมงคลเฉลิมพระชนมพรรษำ ๘๐ พรรษำ วันที ่ ๕ ธันวำคม ๒๕๕๐ จังหวัดสุรินทร์ และคณะสงฆ์จังหวัดสุรินทร์ ร่วมกัน จัดหำระฆัง ๑,๐๘๐ ใบจำกวัด ทั้งหมดในจังหวัดสุรินทร์ ๑,๐๗๐ วัดและวัดส�ำคัญในกรุงเทพมหำนคร ๑๐ วัด เพื่อ “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
59
ติดตัง้ บริเวณสถำนทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิภ์ ำยในบริเวณวนอุทยำนพนมสวำยให้มภี มู ทิ ศั น์สวยงำม ยิง่ ขึน้ โดยให้นกั ท่องเทีย่ วและประชำชนทัว่ ไปได้เคำะระฆังบูชำพระรัตนตรัย เพือ่ ควำม เป็นสิริมงคลแก่ตนและครอบครัว พระพุทธรูปองค์ดำ� ตัง้ อยูบ่ นยอดเขำชำย (พนมเปร๊ำะ) มีศำลำพระพุทธรูปองค์ ด�ำ อยู่ด้ำนหน้ำของพระพุทธสุรินทรมงคล เป็นศำลำที่สร้ำงตำมแบบศิลปะขอมแบบ โบรำณ พระพุทธรูปรูปองค์ด�ำ สร้ำงขึ้นเมื่อวันที่ ๑๗ กรกฎำคม ๒๕๓๒ หน้ำตักกว้ำง ๑๒๐ เซนติเมตร สูง ๑๐๔ เซนติเมตร เดินขึ้นมำจำกบันได จำกระฆัง ๑,๐๘๐ ใบ จะ พบศำลำพระพุทธรูปองค์ด�ำอยู่ซ้ำยมือ เจดีย์บรรจุอัฐิพระยำสุรินทร์ภักดีศรีผไทสมัน (จรัณย์) เจ้ำเมืองสุรินทร์คนที่ ๘ (พ.ศ. ๒๔๓๘) อยู่ในบริเวณวัดพนมศิลำรำม ใกล้ๆ ซุ้ม ประตูและบันไดนำคของ วัดพนมศิลำรำมสำมำรถขับรถขึ้นมำได้จนถึงด้ำนบนสุดของวัดพนมศิลำรำม
วัดพนมศิลาราม 60
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Phanom Sawai Forest Park located at Tambon Na Bau, Muang District,Surin Province To Go There Phanom Sawai Forest Park is located at Tambon Na Bau, Muang District, 22 km from the City Hall. Use Surin – Prasat route (Highway214) for 14 km then turn right for 6 km to the Gate and turn right for another 6 km and to the right. There is a Nature Study Trail inside . There are also signs along the way. Phanom Sawai Forest Park has an area of 1,975 rai. Phanom Sawai Forest Park is located in the Kao Sawai National Forest, Tambon Na Bua, Muang District, Surin. In the local language, Phanom means mountain and Sawai means “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
61
62
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
63
64
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
mango.There are 3 mountains with different local names in this mountain range, Phanom Krol or Kao Kok, Phanom Proh or Kao Chai and Phanom Srai or Kao Ying. They are 150 m, 220 m, and 210m high accordingly. The people of Surin have a belief from the ancient time that Sawai or Phanom Sawai Mountain is a place for pilgrimage. They will ascend Phanom Sawai mountain on the 1st day of the waxing moon of the 5th lunar month which has been a holiday for a long time. Visitors to Phanom Sawai will get to visit and pay respect to 9 holy places for good fortune in life. These places are Phra Yai or Phra Buddha Surindra Mongkol, Buddha’s Footprint Model, Luang Pu Dun Atulo’s Bone Ash, Ong Dam Buddha Image, Luang Pu Suan, Phanom Sawai Khmer Ruins,Guan Yin Shrine, the Holy Stone Turtle and the Holy Well.
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
65
66
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Phra Buddha Surindara Mongkol is a Buddha image in the attitude of Blessing located in Phanom Sawai Forest Park, Kao Chai. The image is facing east, 15 m in lap width and 25 m in height. The name was given by His Majesty the King.In 1984, there was an Opening of the Eyes holy ceremony (Berg Net) and the invitation and installation of Buddha’s relics to the navel. Luang Pu Dune Atulo’s Bone Ash Stupa This place is on Phanom Krol or Kao Kok in the Phanom Sawai Forest Park. It was built in 1982 to store Luang Pu Dun Atulo’s Bone Ash, who was a highly respected famous pandit monk of Surin and Isaan. Visitors can always come to visit this holy place on Phanom Sawai mountain. Sala At Ta Mook This place is also on Phanom Krol or Kao Kok in the Phanom Sawai Forest Park. It was built in 1982 by the Buddhist Association of Surin to celebrate the 200th anniversary of Ratanakosin. The Buddha Footprint Model was relocated from Kao Chai and installed in this Sala At Ta Mook.
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
67
1,080 Bells They were built and open to public in Phanom Sawai Forest Park on December 5, 2007 according to the promotion of 80th year King Glorification Buddhism Tourism project in occasion of the celebration of His Majesty the King’s 80th birthday on December 5, 2007. Surin Province and monks in Surin together gathered 1,070 bells from 1,070 temples in Surin and another 10 bells from 10 important temples in Bangkok and installed them in the holy place in Phanom Sawai Forest Park. People would hit these bells to pay respect to the Triple Gem (Buddha, Dhamma, Sangha) for good fortune in their lives and their families.
68
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Ong Dam Buddha Image Situated in the ancient Khmerstyled Sala in front of the Surindra Mongkol Buddha Image on the top of Kao Chai. (Phanom Proh). Ong Dam Buddha Image was built on July 17, 1989 with 120 cm in lap width and 104 cm in height. From the 1,080 bells, this Sala of Ong Dam Buddha Image is on the left.
The Stupa of Phraya Surin Pakdi Si Phatai Saman, bone ash. The Stupa of Phraya Surin Pakdi Si Phatai Saman, bone ash (Jaran), the 8th Muang Surin Ruler (1895) is located in the Wat Phanom Silaram area close to the temple gate and Naga staircase of Wat Phanom Silaram. This can be reached by car.
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
69
70
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
วัดป่าไตรวิเวก ตั้งอยู่ที่ ต�ำบลนำบัว อ�ำเภอเมือง จังหวัด สุรินทร์ การเดินทาง จำกตัวเมืองจังหวัดสุรินทร์ ใช้ ถนนสุรินทร์- ปรำสำท ถึงหลักกิโลเมตร ที่ ๑๒ วัดป่ำไตรวิเวกอยู่ฝั่งด้ำนขวำ หลวงปูส่ ำม อกิญจโน วัดป่ำไตรวิเวก อดีตเจ้ำอำวำสวัดป่ำไตรวิเวก พระป่ำปฏิบตั ิ ศิษย์สำยหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต, หลวงปู่ดูลย์ อตุ โ ล และหลวงปู ่ สิ ง ห์ ขั น ตยำคโม หลวงปูส่ ำม นำมเดิมว่ำ นำยสำม เกษแก้วสี เกิ ด วั น อำทิ ต ย์ เดื อ นกั น ยำยน พ.ศ. ๒๔๔๓ ณ บ้ำนนำสำม ต.นำบัว อ.เมือง จ.สุ ริ น ทร์ เมื่ อ อำยุ ๑๙ ปี ได้ บ วชเป็ น สำมเณร จนกระทั่ ง ปี พ.ศ.๒๔๖๗ อำยุ ๒๐ ปี ได้ เ ข้ ำ พิ ธี อุ ป สมบทเป็ น พระ ภิ ก ษุ ได้ ไ ปกรำบขอฝำกตั ว เป็ น ศิ ษ ย์ กั บ หลวงปูด่ ลู ย์ อตุโล เพือ่ ฝึกวิปสั สนำกัมมัฏฐำน หลวงปู ่ ดู ล ย์ เห็ น ถึ ง ควำมตั้ ง ใจปฏิ บั ติ ของศิษย์ จึงแนะน�ำให้ไปศึกษำธรรมกับ หลวงปูม่ นั่ ภูรทิ ตั โต ทีจ่ งั หวัดสกลนคร พัก ปฏิบตั ธิ รรมอยูก่ บั หลวงปูม่ นั่ ๓เดือนหลวงปูม่ นั่ ได้แนะน�ำให้ไปพบกับหลวงปูส่ งิ ห์ ขันตยำคโม เพื่ อ เป็ น พระผู ้ ฝ ึ ก ฝนอบรมสั่ ง สอนต่ อ ไป
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
71
ท่ำนได้ทมุ่ เทกับกำรปฏิบตั จิ นต้องล้มป่วยอย่ำงหนัก แต่จติ ใจเข้มแข็งมุง่ มัน่ แรงกล้ำจน ได้เห็นควำมจริงที่เกิดขึ้นภำยในใจ หลวงปู่สำม เป็นพระผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบท่ำนเป็น พระนักธุดงค์กมั มัฏฐำนทีม่ คี วำมมำนะอดทน ท่ำนถือคติทวี่ ำ่ “ท่านเป็นศิษย์ของพระ ตถาคต แม้ยังมีลมหายใจอยู่ ก็ต้องสู้กันให้ถึงที่สุด” ครัน้ ได้พบหลวงปูม่ นั่ และหลวงปูส่ งิ ห์ และหลวงปูท่ งั้ สองได้รบั ตัวท่ำนไว้เป็นศิษย์ ให้กำรอบรมสัง่ สอนแล้ว ท่ำนจึงกลับมำจ�ำพรรษำทีจ่ งั หวัดสุรนิ ทร์ หลวงปูส่ งิ ห์ได้ชแี้ นะ ให้ทำ่ นไปธุดงค์ฝกึ จิตกัมมัฏฐำน เทศนำสัง่ สอนญำติโยม ร่วมกับพระอำจำรย์ลี ธัมมธโร ในพืน้ ที่ จังหวัดอุบลรำชธำนี ต่อมำหลวงปูส่ ำมได้รบั จดหมำยจำกหลวงปูเ่ ทสก์ เทสรังสี ให้ไปช่วยเผยแพร่ธรรมะ แนวทำงกัมมัฏฐำนให้พระภิกษุ-สำมเณร ในภำคใต้ เป็นเวลำ ๕ ปี จึงเดินทำงกลับจังหวัดสุรินทร์
72
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ปี พ.ศ.๒๕๑๒ ได้มผี มู้ จี ติ ศรัทธำถวำยทีด่ นิ กิโลเมตรที่ ๑๒ ถนนสุรนิ ทร์-ปรำสำท ต.นำบัว อ.เมือง จ.สุรินทร์ ให้สร้ำงวัดป่ำไตรวิเวกเพื่อพ�ำนักปฏิบัติธรรมและเผยแพร่ ธรรมะ จนกระทัง่ เมือ่ วันที่ ๒ กุมภำพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๔ หลวงปูส่ ำม อกิญจฺ โน ได้มรณภำพ อำยุ ๙๑ ปี ๗๑ พรรษำ ปัจจุบันมีพิพิธภัณฑ์อกิญจโน และอนุสรณ์สถำนหลวงปู่สำม อกิญจโน ให้ประชำชนเดินทำงเข้ำมำศึกษำธรรมะและกรำบขอพร
วัตถุมงคล เหรียญรูปเหมือน รุ่น ๑ ปี พ.ศ.๒๕๑๒ วัตถุมงคลทุกรุ่นได้รับควำมนิยมสูง ท�ำให้พัฒนำถำวรวัตถุภำยในวัดป่ำไตรวิเวกเป็นล�ำดับ
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
73
หลวงตำมหำบัว ญำณสัมปันโนเข้ำกรำบเยีย่ มอำกำรอำพำธหลวงปูส่ ำม อกิญจฺ โน ณ โรงพยำบำลศิริรำช เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๙
ค�าสอนหลวงปู่สาม อกิญจโน ทุกคนมีธรรมะแล้วในตัว ธรรมะของจริงก็อยูก่ บั บุคคลทุกคน เว้นแต่ไม่ทำ� ถ้ำท�ำต้องมีทุกคน เพรำะธรรมเป็นของจริง ต้องท�ำจริง จึงจะเห็นธรรมของจริง กำรท�ำจิตใจให้สงบ ใจจะสงบได้ ก็ต้องอำศัยกำรพยำยำมท�ำจิตใจให้มันดี ท�ำจิตใจให้พอใจในใจ เพรำะธรรมเป็นของละเอียดลึกซึ้งของจริงมันมี ทุก ๆ คน
74
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ค�าสอนหลวงปู่สาม อกิญจโน สร้ำงบุญด้วยกำรภำวนำ กำร ภำวนำก็เป็นบุญกุศลมำกมำย ถ้ำได้ ท�ำทุกๆ วันท�ำได้เสมอไป ก็เป็นบุญเป็น กุศลทุกวัน ให้คดิ ดู ควำมแก่ ควำมเจ็บ ควำมตำย จะมำถึงวันไหนก็ไม่รู้ ไม่ว่ำ เฉพำะแต่คนแก่คนเฒ่ำ คนหนุ่มคน สำวก็ตำย ได้ฝกึ หัดท�ำทุกๆ วัน มันตำย ก็ยังได้ขึ้นสวรรค์ “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
75
76
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Wat Pa Trai Wiwek Location Na Bua Sub-district, Muang District, Surin Province. To Go There From the downtown of Surin, take Surin-Prasat Road. When arriving at the kilometer stone No. 12, Wat Pa Trai Wiwek is found on the right hand. Luang Pu Sam Akinjano was a former-abbot of Wat Pa Trai Wiwek. He was a forest monk and student of Luang Pu Man Puritatto, Luang Pu Doon Atulo and Luang Pu Singh Khantayakamo. Luang Pu Sam’s real name was Sam Kedkaewsi. He was born on Sunday, in September of 1900, in Ban Nasam, Na Bua Sub-district, Muang District, Surin Province. At the age of 19, he was ordained as a novice and was ordained as a monk in 1920, at the age of 20. In order to practice Vipassana meditation (insight meditation), he asked Luang Pu Doon to accept him as a student. Seeing his perseverance, Luang Pu Doon suggested him to study with Luang Pu Man Puritatto in Sakon Nakhon Province. He had studied the dharma with Luang Pu Man for three months before studying with Luang Pu Singh Khantayakamo as Luang Pu Man suggested. Although hard practice caused him to fall ill, his strong mind and determination led him to enlightenment. Luang Pu Sam was the monk on pilgrimage who committed good deeds and had perseverance. He held the moral precept: “You are the disciple of Lord Buddha, you have to fight till your last breath.” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
77
After being trained by Luang Pu Man and Luang Pu Singh, Luang Pu Sam returned to reside in Surin Province. Later, Luang Pu Sing suggested him to go on pilgrimage to Ubonratchathani Province to preach Buddhism and practice meditation with Phra Achan Lee Thammataro. After that, he got a letter from Luang Pu Thet Thetrangsi, asking him to help teach meditation to novices and monks in the South. He had been there for 5 years before returning to Surin Province.
หลวงปู่ดูลย์ อตุโล-หลวงปู่สำม อกิญฺจโน-หลวงปู่ศรี มหำวีโร
78
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
In 1969, to build Wat Pa Tri Wiwek for the spread of the dharma, a person of faith donated land located at the 12th kilometer on Surin-Prasat Road, Nabua Sub-district, Muang District, Surin Province. On February 2, 1991, Luang Pu Sam Akinjano passed away at the age of 91, after 71 years of his monkhood. At present, Akinjano Museum and Luang Pu Sam Memorial are open to to the public to study the dharma and pray to Luang Pu. Amulet The first collection of a coin with the portrait of Luang Pu Sam was launched in 1969. The popularity of every collection has led to the development of the permanent structure in Wat Pa Trai Wiwek. “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
79
80
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
วัดปราการชัยพัฒนาราม ที่ตั้ง หมู่ ๑๑ ต�ำบลกังแอน อ�ำเภอปรำสำท จังหวัดสุรินทร์ การเดินทาง ห่ำงจำกตัวเมืองสุรินทร์ ใช้ทำงหลวงหมำยเลข ๒๑๔ (สุรินทร์-ปรำสำท) วัดอยู่ด้ำนขวำ ความส�าคัญ หลวงปู่มีชัย กำมฉินโท อำยุ ๗๙ ปี นำมเดิม มีชัย ตรงเที่ยง เกิดเมื่อวันที่ ๙ ตุลำคม ๒๔๗๙ ณ บ้ำนยำง ต�ำบลเทนมีย์ อ�ำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ เมื่ออำยุ ครบบวช ได้อุปสมบทที่วัดศิริจันทร์ ต�ำบลเทนมีย์ อ�ำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ๒ พรรษำ ได้ออกมำช่วยครอบครัว ท�ำงำนและสมรสมีครอบครัว จน กระทั่งเกิดเหตุกำรณ์ในชีวิต หมด สติไป ๓ วัน ๓ คืน ตำยแล้วฟื้น กลับมำมีชีวติ ใหม่ได้อีกครั้ง ท�ำให้ จดจ� ำ กั บ เหตุ ก ำรณ์ ที่ ไ ปพบเจอ ชีวติ เปลีย่ นไป เลิกฆ่ำสัตว์ ชักชวน คนในครอบครัว หมัน่ ท�ำบุญถือศีล ปฏิ บั ติ ภ ำวนำ และเดิ น ทำงไป ศึกษำปฏิบัติธรรมกับหลวงปู่ดูลย์ อตุโล วัดบูรพำรำม อยู่เป็นประจ�ำ พ.ศ.๒๕๒๘ ได้ เ ข้ ำ พิ ธี อุ ป สมบทในงำนพระรำชทำน เพลิงศพหลวงปูด่ ลู ย์อตุโลเจ้ำอำวำส วัดบูรพำรำม ณ วัดป่ำไตรวิเวก ต�ำบล นำบัว อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรนิ ทร์ โดยมี พระโอภำสธรรมญำณ เป็นพระอุปัชฌำย์ ได้รับฉำยำ.. “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
81
กำมฉินโท...หลังจำกอุปสมบทแล้วได้มำจ�ำพรรษำที่วัดป่ำบวรสังฆำรำม (วัดป่ำ หน้ ำ เรื อ นจ� ำ ) กั บ หลวงพ่ อ คื น จำกนั้ น ได้ เ ร่ ง สมำธิ ป ฏิ บั ติ ธ รรมตำมแนวทำงของ หลวงปู่ดูลย์ อตุโล ,หลวงปู่สำม อกิญจโน, หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี หลวงพ่อพุธ ฐำนิ โย ,หลวงตำมหำบัว ญำณสัมปันโน และภูมิธรรมะควำมรู้จำกหลวงปู่ฝั้น อำจำโร ทีท่ ำ่ นมอบไว้ให้นำ� ไปปฏิบตั ธิ รรม หลวงปูม่ ชี ยั ได้เดินทำงธุดงค์รอนแรมไปทัว่ สำรทิศ เช่น เชียงใหม่ เชียงรำย น่ำน ได้จำ� พรรษำอยู่ ตำมถ�ำ้ ทีเ่ งียบสงบทำงภำคใต้ ทีถ่ ำ�้ กระแซง ๑๘ ปี และธุดงค์ที่จังหวัดพังงำ ยะลำ นรำธิวำส ประเทศมำเลเซีย ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งได้ สร้ำงสถำนที่ให้ผู้คนมำปฏิบัติธรรมจ�ำนวนหลำยแห่ง จนกระทั่งกลับมำที่จ�ำพรรษำที่ วัดปรำกำรชัยพัฒนำรำม ต�ำบลกังแอน อ�ำเภอปรำสำท จังหวัดสุรินทร์ หลวงปู่มีชัย กำมฉินโท มีวัตรปฏิบัติที่ น่ำเลือ่ มใสเป็นอย่ำงยิง่ ฉันอำหำรมือ้ เดียว ไม่ฉนั เนือ้ สัตว์ ไม่เอนกำยนอนให้หลังแตะพืน้ ไม่สะสม สิ่งของใดๆ ใครขออะไรให้หมด ค�ำพูดที่ท่ำนใช้ ประจ�ำคือ “ได้ ๆ ”และ ดี ๆ ” ท่ำนเป็นพระภิกษุ ที่เจริญรอยตำมพุทธองค์ อีกองค์หนึ่งที่ทุกท่ำน ถ้ำได้มีโอกำสได้มำกรำบนมัสกำร หลวงปู่มีชัย กำมฉินโท ถือเป็นมงคลกับตนเองอย่ำงยิ่ง คาถาหลวงปู่มีชัย ชัยยะ ชัยยะ ไชโย หิตะทิรำทันมัน กะโล อังคะศิลำกะละสำ สำสะสะติโห ตะ ถิโหคุหะ คะเนะ (ร�่ำรวย รุ่งเรือง ปลอดภัย ดีจริง จริง)
วัตถุมงคล หลวงปู่มีชัย กำมฉินโท 82
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
83
Wat Chaiprakarn Pattanaram Location Moo 11, Kang Aen Sub-district, Prasat District, Surin Province To Go There Start from Surin City, follow the route number 214 (Surin - Prasat). The temple will be on the right hand side. Importance Luang Pu Meechai Kamchintho is 79 years old. His original name was Meechai Trongtiang. He was born on October 9, 1936 at Ban Yang, Tenmee 84
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Sub-district, Mueang District, Surin Province. At the age of ordination, he ordained as a monk at Wat Siri Chan, Tenmee Sub-district, Mueang District, Surin Province. After 2 Phansa (period used in Buddhist Lent) of his ordination, he decided to leave the monkhood, to work for family, and got married Later, when an accident happened in his life, he was left unconscious and believed to be dead for 3 days and 3 nights, and recovered from the dead and came back to life again. He remembered the event that he had seen while he was unconscious. Therefore, from the accident happening, his life had changed. He had stopped killing animals, persuaded the family to make merit, kept precepts, and practiced meditation frequently. Also, he and his family went to learn Dhamma with Luang Pu Dune Atulo regularly. “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
85
In 1985, he ordained in the royal cremation ceremony of Luang Pu Dune Atulo who was the abbot of Wat Booraparam, at Wat Pa Trai Wi Weg, Na Bua Sub-district, Mueang District, Surin Province. There was Phra Opad Thammayan as a preceptor and he was called Kamchintho as the monkhood’s name. After his ordination, he stayed with Luang Por Kuen at Wat Pa Bowornsangkaram (Wat Na Rueanjam) during the Buddhist Lent period. Then he accelerated his meditation and Dhamma practices by following the teachings of Luang Pu Dune Atulo, Luang Pu Sam Akinjano, Luang Pu Ted Tedrangsee, Luang Por Phut Thaniyo, Luang Tha Maha Bua Yannasampanno, and Luang Pu Fan Ajaro. He went across many different places for his Thudong (ascetic austerities) journey such as Chiang Mai Province, Chiang Rai Province, and Nan Province. He had stayed in secluded caves in the southern part of Thailand such as Krasaeng cave for 18 years and also went for Thudong in Pang Nga Province, Yala Province, Narathiwat Province, Malaysia, and Indonesia. He had built many centers for the purpose of meditation and Dhamma Practices until he returned to Wat Chaiprakarn Pattanaram, Kang Aen Sub-district, Prasat District, Surin Province. 86
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Luang Pu Meechai Kamchintho has routine practices that are particularly admirable and worshipful such as having one meal a day, having a vegetarian diet, sleeping without letting the back touch the ground, and living without collecting any items. Whatever people ask for, he always gives it to them. The words that he uses regularly are “Get-get and Good-good”. He is a monk who follows the footsteps of the Lord Buddha. If anyone has a chance to come and worship Luang Pu Meechai Kamchintho, it is very propitious for their lives.
Chanting - Pali of Luang Pu Meechai Kamchintho Chaiya Chaiya Chaiyo Hitatirātanmankalo angkasilākalasā Sāsasatihota Thihokuha kane (Be rich, be glory, be safe. All becomes good and real) “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
87
88
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
วัดศรีล�ำยอง ทีต่ งั้ ต�ำบลทุง่ มน อ�ำเภอปรำสำท จังหวัดสุรนิ ทร์ การเดินทาง อยู่ห่ำงจำกตัวเมืองสุรินทร์ไป ๔๗ กม. ใช้ทำงหลวงหมำยเลข ๒๑๔ สุรินทร์ - ปรำสำท ประมำณ ๔๖ กม.แล้วเลีย้ วขวำเข้ำ ถนน สร ๑๐๒๒ ภำยในนิคมบ้ำนปรำสำท ก็ จะถึงวัดศรีล�ำยอง ความส�าคัญ พระครูวิสุทธิกิตติญำณ (หลวงปู่คีย์ กิติญำโณ) นำมเดิมว่ำ คีย์ จงพูนศรี เกิดเมื่อ “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
89
วันที่ ๒๔ มิถุนำยน ๒๔๗๑ ณ บ้ำนโคกจ๊ะ ต�ำบลปรือ อ�ำเภอปรำสำท จังหวัดสุรินทร์ ปัจจุบันอำยุ ๘๗ ปี ๖๖ พรรษำ เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๒ อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ วัดเพชรบุรี ต�ำบลทุ่งมน อ�ำเภอปรำสำท จังหวัดสุรินทร์ และจ� ำ พรรษำที่ วั ด เพชรบุ รี อยู ่ ร ะยะหนึ่ ง แล้วย้ำยมำจ�ำพรรษำที่วัดศรีล�ำยอง ซึ่งอยู่ ใกล้บ้ำน หลวงพ่อคีย์ เป็นพระที่มีควำมขยัน หมั่นเพียร มีขันติธรรมสูง ท่ำนได้เดินทำง ธุ ด งค์ เ พื่ อ ปฏิ บั ติ วิ ป ั ส สนำกั ม มั ฏ ฐำนและ ศึกษำวิชำอำคมต่ำงๆ ตำมแถบเทือกเขำ พนมดงรักร่วมกับหลวงปู่เชิดแห่งวัดเพชรบุรี เป็นเวลำหลำยปี
90
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
หลวงพ่ อ คี ย ์ เป็ น พระเจ้ ำ พิ ธี เสริมดวงเสริมบำรมี สะเดำะเครำะห์ต่อ ชะตำรำศี ด้วยกำรสำวน�้ำตำเทียนจำก บำตรน�้ำมนต์ครอบลงบนศีรษะ เรียกว่ำ “ครอบมงกุฎพระเจ้า” เก่งทำงเมตตำ มหำนิยม โชคลำภ แคล้วคลำด ค้ำขำย ร�่ำรวย รดน�้ำมนต์แก้กรรม ตัดกรรม ซึ่ง ท่ำนได้ร�่ำเรียนเพื่อมำสงเครำะห์ช่วย เหลื อ ผู ้ ต กทุ ก ข์ ไ ด้ ย ำก จนเป็น เคำรพ ศรั ท ธำเลื่ อ มใสของชำวบ้ ำน จนท่ำน พั ฒ นำสร้ ำ งควำมเจริ ญ ให้ กั บ วั ด ศรี ล�ำยองเป็นล�ำดับ ปีพ.ศ.๒๕๓๖ หลวงพ่อคีย์ ได้รับแต่ง ตั้ง ให้เ ป็นเจ้ำ อำวำสวัด ศรีล�ำยองและได้รับกำรแต่งตั้งเป็น “ท่านพระครูวิสุทธิกิตติญาณ” ได้ รับแต่งตั้งเป็นเจ้ำคณะต�ำบลทุ่งมน อ�ำเภอปรำสำท เมื่อปี ๒๕๔๒ จน กระทั่งปัจจุบัน
วัตถุมงคล เครื่องรำงของขลัง ของหลวงพ่อ คียม์ จี ำ� นวนหลำยรุน่ เข้มขลังด้วย พลังพุทธคุณอันศักดิ์สิทธิ์ “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
91
92
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Wat Srilamyong Located on Thung Mon District, Amphoe Prasat, Surin Province To Go There 47 km from Surin Municipal to Route 214 Surin-Prasat for 46 km and turn right to SR 1022 in Ban Prasat to Wat Srilamyong Phra Khru Wisutthikittiyan (Luang Por Khi Kitiyano) has his previous name “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
93
as Khi Chongphunsri. He was born on June 24, 1928 at Pru District, Amphoe Prasat, Surin Province and he is now at 87. In 1949, He was ordained as a Bhikkhu at Wat Petchaburi, Thung Mon District, Amphoe Prasat, Surin Province and transferred to Wat Srilamyong. Luang Por Khi is an endured and merciful Bhikkhu. He went on a pilgrimage with Luang Por Choet of Wat Petchaburi for several years. Luang Por Khi is famous for his magical practices and respected by all villagers. He is also well-known for his votive tablets. With his support, Wat Srilamyong is continuous prospered respectively. In 1993, Luang Por Khi was promoted as the Abbot of Wat Srilamyong, Phra Khru Wisutthikittiyan and Monk Dean of Thung Mon District, Amphoe Prasat respectively. 94
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
95
96
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
วัดเพชรบุรี (สุสานทุ่งมน) อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ ที่ตั้ง ต�ำบลทุ่งมน อ�ำปรำสำท จังหวัด สุรินทร์ การเดินทาง ห่ำงจำกตัวเมืองสุรินทร์ ๓๔ กม. ใช้ เ ส้ น ทำงหลวงหมำยเลข ๒๑๔ สุรินทร์ – ปรำสำท มุ่งหน้ำไปยังต�ำบล นำบัว อีกประมำณ ๑๘.๕ กม.จะพบวัด เพชรบุรี “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
97
ประวัติ
หลวงปูห่ งษ์ พรหมปัญโญ (พระครู ปรำสำทพรหมคุณ) นำมเดิม สุวรรณ หงษ์ จะมัวดี เกิดเมื่อวันที่ ๕ มีนำคม พ.ศ.๒๔๖๐ ณ บ้ำนทุ่งมน ต�ำบลทุ่งมน อ�ำเภอปรำสำท จังหวัดสุรินทร์ เมื่ออำยุ ๑๘ ปี ได้บวชเป็นสำมเณร และเมื่ออำยุ ๒๐ ปี ได้อุปสมบท วัดเพชรบุรี ต�ำบลทุ่ง มน อ�ำเภอปรำสำท จังหวัดสุรินทร์ โดย มี หลวงปู่แปรนเป็นพระอุปัชฌำย์ ได้ รับฉำยำว่ำ “พรหมปัญญา” แปลว่ำ ผู้ มีปัญญำดุจพรหม เมื่ออุปสมบทได้ ๓ พรรษำ ได้ออกธุดงค์ จังหวัดศรีสะเกษ และพนมเปญ ประเทศกัมพูชำ ระหว่ำง ธุดงค์ได้พบครูบำอำจำรย์ จึงได้เรียน เวทย์มนต์คำถำต่ำงๆ อยู่ปีกว่ำ และยัง คงถือสันโดษปลีกวิเวกฝึกปฏิบัติ ธรรมอยู่ในป่ำช้ำ จึงไม่ยึดติดกับ ที่อยู่ ธุดงค์ไปเรื่อยจนถึงรอยต่อ ระหว่ ำ งประเทศกั ม พู ช ำและ ประเทศเวียตนำม หลวงปูห่ งษ์ เป็น พระที่เคร่งครัด มีเมตตำยึดหลัก ธรรมด้วยพรหมวิหำรสี่ มีเมตตำ ต่อผู้ที่เดือดร้อนทุกข์ยำก โปรด สัตว์ หลวงปู่หงส์ มรณะ เมื่อ วันที่ ๕ มีนำคม ๒๕๕๗ อำยุได้ ๙๗ ปี ๗๗ พรรษำ 98
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
วัตถุมงคล
พระเครื่องหลวงปู่หงษ์เป็นที่นิยมทุกรุ่น
คาถาบูชาพระเครื่องหลวงปู่หงษ์
“นะโมพุทธายะ นะมะพะทะ จะภะกะ สะ ปะจะขะ นะเมติ” หรือ “นะโมพุทธายะ นะ มะพะทะ จะภะกะสะ นะเมติ ปะจะขะ” พระ คำถำนี้สำมำรถใช้ ท่องเพื่อปลุกเสกสิ่งของ ก็ได้ ใช้ขอพรประสงค์สิ่งใดจักสมใจปรำรถนำ ทุกประกำร สิง่ ทีไ่ ม่ควรพลาด ยำมมีเหตุคบั ขันให้ ภำวนำ “นะเมติ” ครูบำอำจำรย์ของท่ำนจัก ลงมำช่วยคุ้มครองเอง หลวงปู่หงษ์มักกล่ำว เสมอๆ วำ่ “เทวดาครูบาอาจารย์เขาช่วยคนดี ตกน�้าไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้”
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
99
100 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
101
Wat Phetchaburi (Thung Mon Cemetery), Amphoe Prasat, Surin Province Located on Thung Mon District, Amphoe Prasat, Surin Province To Go There : 34 km from Surin Municipal, use Route 214 Surin-Prasat to Na Bua District for 18.5 km to Wat Phetchaburi
Luang Pu Hong Brahmapanyo ( Phra Khru Prasatbrahmakhun) had his previous name as Suwannahong Buadi. He was born on March 5, 1917 at Tung Mon District, Amphoe Prasat, Surin Province. At 20, he was ordained as a Bhikkhu at Wat Petchaburi, Tung Mon District, Amphoe Prasat, Surin Province and was called Brahmapanyo (have an intelligence of Brahma). After three months of ordination, he went on a pilgrimage to Srisaket Province and Phnom Penh in Cambodia and studied magical practices for a year and a half. After that, he still went on pilgrimages to the cemeteries of Cambodia and Vietnam. Luang Pu Hong died on March 5, 2014 at age 97. Luang Pu Hong is famous for his votive tablets, whose, venerations can bring protection. 102 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
103
104 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
วัดป่าบวรสังฆาราม ตั้งอยู่ที่
วัดป่าบวรสังฆาราม บ้านดู่ ต�าบลป่านอกเมือง อ�าเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
การเดิ น ทาง อยู่ห่างจากตัวเมืองสุรินทร์ ๔ กม. จากศาลากลางจังหวัดสุรินทร์
มุ่งหน้าไปตามถนนหลักเมือง ระยะทาง ๖๐ เมตร เข้าสู่ถนนหมายเลข ๒๒๖ สาย สุ ริ น ทร์ - บุ รี รั ม ย์ แล้ ว เลี้ ย วซ้ า ย อี ก ประมาณ ๑ กม.จะถึ ง วั ด ป่ า บวรสั ง ฆาราม อยู่ด้านซ้ายมือ หลวงปูค่ นื ปสันโน วัดป่าบวรสังฆาราม (วัดหน้าเรือนจ�า) อ�าเภอเมือง จังหวัดสุรนิ ทร์ เกิดวันพฤหัสบดี เดือนอ้ายปีมะแม พ.ศ. ๒๔๖๒ ณ ชุมชนตรอกโพธิ์ร้าง ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมือง จังหวัดสุรนิ ทร์ เมือ่ เจริญวัยขึน้ มีอาชีพเลีย้ งเป็ดแต่งงานมีครอบครัว กระทัง่ อายุ ๓๘ ปี ปี พ.ศ.๒๕๐๐ ก็พลิกผัน เมื่อพบมีชาวบ้านคู่สามีภรรยากัน ๓ คู่ หาบสิ่งของ เดินผ่านตนมุ่งหน้าไปทางวัดป่าโยธาประสิทธิ์ หนึ่งในนั้นแม้จะผิวด�า แต่ดูผ่องใสมีสง่า ราศียิ่งนัก จึงถามว่า...ท�าไมมาท�าบุญแถวนี้ที่บ้านไม่มีวัดไม่มีพระหรือไง ชายผู้นั้นตอบว่า มีเหมือนกันแต่ไม่เหมือนกัน คือ พระทั่วไปนั้นเป็นเพียงแต่ สมมติสงฆ์ และกัลยาณสงฆ์ ยังไม่ใช่พระแท้ สงฆ์สาวกที่แท้นั้น ถ้าเป็นพระสุปฏิปันโน หมายถึงพระโสดาบัน พระอุชุปฏิปันโน คือ พระสกิทาคามี พระญายะปฏิปันโน หมาย ถึงพระอนาคามี พระสามีจิปฏิปันโน หมายถึงพระอรหันต์ ค�าอธิบายนี้ โดนใจนายคืน คนเลี้ยงเป็ดยิ่งนัก เลยถามต่อว่า แล้วถ้าคนอย่างเราปฏิบตั อิ ย่างเอาจริงเอาจัง จะเป็นพระสุปฏิปนั โนได้ไหม? ค�าตอบที่ตามมา...นั้นเองที่ท�าให้ชีวิตของท่านเปลี่ยนไป เริ่มเข้าวัดป่าโยธา ประสิทธิ์ เริ่มหัดนั่งสมาธิ วันพระไปถือศีลที่วัด วันธรรมดาถือศีล ๕ ปฏิบัติภาวนาอยู่ บ้าน และไปศึกษาธรรมจาก หลวงปู่ดูลย์ วัดบูรพาราม อย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๕๑๘ เดินทางไปยังวัดหินหมากเป้ง จ.หนองคาย ฝึกจิตปฏิบตั ธิ รรมกับหลวงปูเ่ ทสก์ เทสรังสี และได้ไปกราบพ่อแม่ครูอาจารย์ทั้งหลายอยู่เป็นนิจ ไม่ว่าหลวงปู่ฝั้น อาจาโร และแม่ชีแก้ว เสียงล�้า “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
105
จนกระทั่งวันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๑๙ ได้ตัดสินใจเข้าอุปสมบทที่วัดป่าไตรวิเวก ขณะอายุ ๕๗ ปี เป็นพระคืน ปสันโน โดยมีหลวงปู่ดูลย์ เป็นพระอุปัชฌาย์ บวชแล้ว ท่านไปเก็บตัวภาวนาอยู่ที่วัดป่าแก้ว โดยได้ยึดหลักธรรม “เมื่อสมาธิตั้งมั่น ปัญญา จะรุ่งเรืองเมื่อปัญญารุ่งเรือง สังขารจะแตก เมื่อสังขารแตก จิตจะเป็นอิสระ นี่เรียกว่า ทานศีล เราก็รักษาข้อวัตรปฏิบัติมาด้วยดี เรียบร้อยทั้งกาย วาจา และใจ สมาธิ เราก็ เป็นคือพยายามให้จิตตั้งมั่นอยู่เสมอๆ ส่วนปัญญาเราก็มีขึ้นตามล�าดับและได้ใช้ไปใน การพินจิ พิเคราะห์ ไล่สงั ขารดูวา่ จิตนัน้ มันไปคิดอะไร อะไรทีจ่ ติ ไปเกาะเกีย่ ว มีแต่จติ เรา ไปเกาะเกี่ยวเรื่องภายนอก ทรัพย์สินเงินทอง ไม่ใช่สิ่งเหล่านั้น มันมาเกาะเกี่ยวเรา เรา เองต่างหากทีไ่ ปเกาะเกีย่ วเขา เราได้พยายามไล่อยูอ่ ย่างนี้ แล้วก็หยุดอยูก่ บั ผูไ้ ล่หรือผูร้ ”ู้ หลวงพ่อคืนเจริญในธรรมยืนยาวมาอีกสิบกว่าปี กระทั่งปี ๒๕๓๖ ท่านถึงละสังขารใน วันที่ ๒๖ ธ.ค. ๒๕๓๖ เป็นการละสังขารหลังเจริญในธรรมมาร่วม 40 ปี
สิ่งที่ไม่ควรพลาด กราบสักการะอัฐิธาตุหลวงปู่ดูลย์ อตุโล บนยอดบุษบก และที่เก็บ
อัฐิธาตุหลวงพ่อคืน ปสนโน
106 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Wat Pa Bowornsangkaram, Ban Du, Nok mueang Subdistrict, Mueang District, Surin Province How to get there
Wat Pa Bowornsangkaram is 4 kilomtetres from Surin City. Start from Surin Provincial Hall, and follow Luk Muang Road north for 60 metres. Then take the route number 226 (Surin-Buriram) and then turn left. After turning left, the distance is around 1 kilometres, and the temple is on the left hand side.
Biography of Luang Pu Kuen Pasanno
Luang Pu Kuen Pasanno was the monk at Wat Pa Bowornsangkaram (Wat Na Rueanjam), Mueang District, Surin Province. He was born on Thursday 1919, on the first month of the year of the goat, according to the lunar calendar, at Trok Pho Rang Community, Nai Mueang Sub-district, Mueang District, Surin Province. When he grew up, he worked as a duck farmer and got married. When he was 38 years old in 1957, his life was changed when he met three pairs of villagers who carried belongings on their shoulders and walked past him headed to Wat Pa Yothaprasit. One of them, was a dark-skin man but he looked radiant with great splendor. Luang Pu Kuen Pasanno, then asked them, “Why are you all coming here to make merit? Aren’t there any temples and monks in your village? ” Then the dark-skin man answered him that “Yes, we have but it is different. Generally they are assumed monks and friendly monks, not the real monks yet. The real monk is categorized “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
107
as follows: Phra Supatipanno means Phra Sodaban (person who attains the first stage of enlightenment), Phra Uchupatipanno means Phra Sakitakamee (person who attains the second stage of enlightenment), Phra Yayapatipanno means Phra Anakamee (person who attains the third stage of enlightenment), and Phra Sameejipatipanno means Phra Arahan (person who attains the last stage of enlightenment).” He was impressed by those explanations and continued to ask, “If he practices in a serious way, can he be Phra Supatipanno?” Once he got the answer, his life had begun to change. He started to go to Wat Pa Yothaprasit and meditate. He kept precepts at the temple on Wan Phra (Buddhist holy day) and kept five precepts at his house on general days. Moreover, he went to Wat Booraparam to study Dhamma with Luang Pu Dune Atulo continuously. In 1975, he went to Wat Hinmakpeng, Nong Khai Province, to learn Dhamma andpractice meditation with Luang Pu Thed Thedrangsri. Also, he often went to pay homage to nuns and monks who were the teachers such as Luang Pu Fan Ajaro and Mae Chee Kaew Sianglam (Buddhist nun). 108 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
On July 2, 1976, at the age of 67 years old, he decided to ordain at Wat Pa Traiwiweg. There was Luang Pu Dune Atulo as the preceptor and he was given the monk’s name “Kuen Pasanno”. After his ordination, he went to stay at Wat Pa Kaew for meditation practice. His practice was based on Dhamma principles including: when the mind is deep in meditation, the wisdom will be developed greatly; when the wisdom is developed greatly, Sangkharn (body, thought formed by mind) will be disintegrated; when Sangkharn is disintegrated, the mind will be set free. These are called Tan (donation) and Sril (precept). He maintained his body, speech, and mind properly during his monastic life. He also tried to keep the mind in deep meditation in order to develop wisdom for using in mind contemplation by questioning and answering himself such as “What is the mind thinking of?; What is the mind attaching to?; It is actually the mind itself that is attaching to something outside such as money and assets, not something outside attaching to the mind.” After all, by this way of contemplation, he was staying with the knower inside himself. Luang Pu Kuen Pasanno was spending his monastic life after ordination for more than a decade. On December 26, 1993, he passed away. Overall, he had spent 0 years of his life on Dhamma practice.
Things should not be missed
Pay homage to the relics of Luang Pu Dune Atulo at the top of Budsabok (movable throne). and pay homage to the relics of Luang por Kuen Pasanno. “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
109
110 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
วัดสง่างาม ตั้งอยู่ที่ หมู่ ๑ ต�ำบลคอโค อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ การเดินทาง จำกศำลำกลำงจังหวัดสุรินทร์ มุ่งหน้ำไปทำงถนนหลักเมืองแล้วใช้ ทำงหลวงหมำยเลข ๒๒๖ เส้นทำงสุรนิ ทร์-บุรรี มั ย์ ระยะทำง ๖ กม. แล้วเลีย้ วซ้ำย ๘๐๐ เมตร ต่อจำกนั้นเลี้ยวขวำ ๖๐๐ เมตร วิ่งตรงไปเลี้ยวขวำถึงวัดสง่ำงำม ความส�าคัญ วัดสง่ำงำมหรือวัดคอโค สร้ำงขึ้นเมื่อปี พ.ศ.๒๓๓๗ ภำยในบริเวณวัดมีโบสถ์ โบรำณและประดิษฐำน “หลวงพ่อสง่างาม” พระประธำนในโบสถ์เป็นพระพุทธรูป โบรำณ ที่มีควำมศักดิ์สิทธิ์ โบสถ์ของวัดมีอำยุที่เก่ำแก่ควรค่ำแก่กำรอนุรักษ์ยิ่ง
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
111
ภำยในบริ เ วณวั ด ยั ง มี ส ระน�้ ำ โบรำณ ที่เชื่อกันว่ำศักดิ์สิทธิ์ยิ่งนัก มีอำยุรำว ๓๐๐ปี โดยมีหลวงปู่แอก อดีตเจ้ำอำวำส ได้อธิษฐำน จิ ต และหลวงปู ่ อ วง อดี ต เจ้ ำ อำวำส ได้ ตั้ ง อธิษฐำนจิตและน�ำหินทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิไ์ ปไว้ทกี่ น้ สระ ในสมัยก่อนหำกใครไม่สบำยให้มำตักน�้ำและ อธิษฐำนขอเพื่อน�ำไปอำบหรือดื่มกินโรคภัย ก็จะหำยไป หำกใครได้จับสัตว์น�้ำที่อยู่ในสระ แห่งนี้ไปโดยไม่ได้รับอนุญำตก็จะมีอันเป็นไป 112 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
วัดสง่ำงำมหรือวัดคอโค สถำนที่แห่งนี้ หลวงปู่ดูลย์ อตุโล ได้เคยมำจ�ำพรรษำ ฝำกตัวเป็นศิษย์กับหลวงปู่อวง ปัจฉิมปัญโญ ได้ฝึกกัมมัฏฐำนกับหลวงปู่อวง สอน เพ่งกสิณจำกเทียน แต่ไม่ถูกจริต ซึ่งในสมัยนั้นหลวงปู่อวง เรียนวิชำกัมมัฏฐำนมำจำก หลวงปู่แอก จนมีควำมเชี่ยวชำญเป็นอย่ำงดี จนชำวบ้ำนกล่ำวขำนหลวงปู่อวงเป็น พระผูม้ วี ำจำศักดิส์ ทิ ธิพ์ ดู อะไรไปแล้ว ก็มกั จะเป็นอย่ำงทีท่ ำ่ นพูดเสมอ ท�ำให้เป็นทีเ่ คำรพ เลื่อมใสศรัทธำของชำวบ้ำน “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
113
นอกจำกนี้แล้ว พระพิมลพัฒนำทร (หลวงพ่อพวน วรมงฺคโล เกจิชื่อดังใน ปัจจุบนั ) ได้บวชเป็นสำมเณรและได้อปุ สมบททีว่ ดั สง่ำงำม โดยมีหลวงปูอ่ วง ปจุฉมิ ปฺโญ เป็นพระอุปัชฌำย์ หลวงพ่อพวนได้ศึกษำปฏิบัติธรรมกับ หลวงปู่อวง จนกระทั่ง หลวงปูอ่ วงมรณภำพ หลวงพ่อพวนได้รบั มอบหมำยให้ดำ� รงต�ำแหน่งเจ้ำอำวำส แต่ทำ่ น ได้สละต�ำแหน่งนัน้ เนือ่ งเพรำะท่ำนเพิง่ มีอำยุ ๒๒ ป ี เท่ำนัน้ พรรษำยังน้อยอยู ่ หลวงพ่อพวน จึงออกธุดงค์เพื่อศึกษำธรรม และได้สร้ำงวัดใหม่ขึ้น ชื่อว่ำ วัดตะโก หรือวัดมงคลรัตน์ เป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศำสนิกชนทั้งหลำย วัดสง่ำงำมเป็นอีกหนึ่งสถำนที่ ที่ได้รับควำม นิยม ในกำรเดินทำงมำท�ำบุญและพักผ่อนเนือ่ งจำก มีบรรยำกำศที่แวดล้อมด้วยต้นไม้และควำมร่มรื่น ทุ ก วั น จะมี ป ระชำชนเดิ น ทำงมำท� ำ พิ ธี ส ะเดำะ เครำะห์เสริมดวงชะตำ และไหว้พระขอพร องค์ เจ้ ำ แม่ ก วนอิ ม และพระอุ ป คุ ต ที่ ป ระดิ ษ ฐำน ณ ศำลำกลำงน�้ำ เพื่อให้ธุรกิจกำรค้ำ หน้ำที่กำรงำน เจริญรุ่งเรือง ปรำศจำกอุปสรรค เป็นอีกหนึ่งวัดที่มีควำมสง่ำงำมสมดั่งชื่อ
วัตถุมงคล เหรียญหลวงปู่อวง ปจุฉิมปฺโญ อำยุ ๘๓ ปี เป็นที่นิยมของผู้ที่มีควำมเคำรพศรัทธำ สิ่งที่ไม่ควรพลาด “หลวงพ่อสง่างาม” พระประธำนในโบสถ์เป็นพระพุทธรูป โบรำณ มีควำมศักดิ์สิทธิ์ โดยเล่ำสืบต่อกันว่ำ “หากใครมีความ ทุกข์ เดือดร้อนใจ เรือ่ งอะไร ไปกราบไหว้ออ้ นวอนขอให้ทา่ น ช่วยทุกข์นั้นจะคลายลง และกลับร้ายกลายเป็นดีในที่สุด” 114 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Wat Sangangam Location Moo 1, Khorkoh Sub-district, Muang District, Surin Province To Go There : From the city hall of Surin Province, head north on Luk Muang Road, following Highway No. 226 (Surin-Buriram) for six kilometres. Take the left turn, drive for 800 metres before taking the right turn and drive for 600 metres more before arriving at Wat Sangangam.
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
115
ตามรอยบุญ ญ วิถวิีธถรรม ีธรรมวิถวิีพถุทีพธุทธ 116 ตามรอยบุ
ตามรอยบุ ตามรอยบุ ญญ วิถวิีธถรรม ีธรรมวิถวิีพถุทีพธุทธ
Significance Wat Sangangam or Wat Khorkoh was built in 1794. The temple has an ancient monastery hosting ancient and sacred “Luang Por Sangangam”, the main Buddha image. The monastery is ancient and worth being preserved. In addition, an ancient pond, aged around 300 years, which is believed to be sacred, can be found. Luang Pu Ak and Luang Pu Auang, the former abbots, made wishes before placing sacred stones at the bottom of the pond. In the past, sick people would come take water from the pond, make wishes, and they would recover from sicknesses. However, whoever caught any animals from the pond without permission would suffer from bad luck.
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
117
Luang Pu Doon Atulo, came to reside at Sangangam or Wat Khorkoh and learned from Luang Pu Auang Patchimpanyo how to practice candle gazing meditation but he did not feel that it fit him. Luang Pu Auang, himself, learned how to do meditation from Luang Pu Ak and was so skillful. His speech was believed to be sacred as it always came true; therefore, it earned him much respect among villagers. Phra Pimonpattanaton (Luang Por Puan Worramangkhalo), a famous monk at present, was also ordained as a novice at Wat Sangangam, with Luang Pu Auang Patchimpanyo as his preceptor. Luang Por Puan had studied with Luang Pu Auang until Luang Pu Auang passed away. Since he was only 22 years old at that time, Luang Por Puan gave up the position of an abbot which was bestowed to him and went on pilgrimage to study
118 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
dharma. He had a temple built and called it Wat Tako or Wat Mongkonrat which has become the spiritual center for Buddhists. With trees giving peaceful atmosphere, Wat Sangangam is one of the popular sites where people come to visit, make merit and rest. Daily, people come to sadorkhroh (change their bad fortunes through a ceremony) and strengthen their horoscopes. In order that their businesses or jobs progress, they also worship Guan Yin and Phra Upakut which are situated in the pavilion in the middle of the pond. Amulet The coin which was made to celebrate the 83rd birthday of Luang Pu Auang is popular among people of faith. What should not be missed is Luang Por Sangangam, the main Buddha image which is ancient and sacred. A legend has it that if you worshipped the image, you would be relieved of your misery.
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
119
120 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
วัดสีหะล�ำดวน ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ ๑ ต�ำบลระแงง อ�ำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ การเดิ น ทาง ห่ำงจำกตัวเมืองสุรินทร์ ๔๐ กม. ใช้เส้นทำงหลวงหมำยเลข ๒๒๖ (สุรินทร์ - ศีขรภูมิ) ขับตรงไปเลย รพ.ศีขรภูมิ ไปเล็กน้อย วัดสีหะล�ำดวน อยู่ฝั่งซ้ำย ตรง เข้ำมำอีกประมำณ ๗๐๐ เมตร วัดอยู่ขวำมือ หลวงปู่วิเชียร (สิงห์) พระสายกรรมฐานที่มีพลังจิตแรง พระครูวิเชียรธรรมคุณ (วิเชียร ธมฺมสำโร) เดิม ชื่อ นำยสิงห์ บุญภำ เกิดเมื่อวันที่ ๑๓ เมษำยน ๒๔๗๒ ณ บ้ ำ นตำงมำง ต� ำ บลเกำะแก้ ว อ� ำ เภอส� ำ โรงทำบ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ วั ย เด็ ก ได้ ศึ ก ษำธรรมและวิ ช ำอำคม กับหลวงพ่อจูม วัดบ้ำนดงถำวร จนกระทั่งอำยุ ๒๕ ปี “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
121
ไปท�ำงำนจังหวัดสมุทรปรำกำร และได้กรำบเป็นศิษย์ท่ำนพ่อลี ธัมฺมธโร วัดอโศกำรำม อยู่ช่วยงำนสร้ำงวัดเป็นเวลำ ๕ ปี ระหว่ำงนั้น ท่ำนพ่อลีได้สั่งสอนเรื่องกำรปฏิบัติธรรม และชวนให้บวชหลำยครั้ง โดยท�ำนำยว่ำหำกบวชก่อน พ.ศ.๒๕๐๐ ท่ำนจะส�ำเร็จอย่ำง รวดเร็ว ถ้ำบวชหลังจำกนัน้ จะได้บรรลุธรรมขัน้ สูงสุด ช่วงนัน้ พระอำจำรย์สมชำย ฐิตวิรโิ ย วัดเขำสุกมิ จังหวัดจันทบุรี เดินทำงมำเยีย่ มท่ำนพ่อลี จึงชวนท่ำนไปช่วยสร้ำงวัดเขำสุกมิ แต่อยู่ได้เพียง ๒ เดือนท่ำนก็ตัดสินใจลงไปท�ำงำนที่ จังหวัดพังงำ วั น หนึ่ ง จั บ “กบ” มำได้ ตั ว หนึ่ ง ขณะ ก�ำลังจะผ่ำท้อง ท่ำนได้ยินเสียงกบร้องออกมำ ว่ำ “พุทโธ” ท�ำให้นกึ ถึงค�ำสอนของท่ำนพ่อลี จึง ตัดสินใจกลับมำบวชที่วัดบ้ำนตรึม ต�ำบลตรึม อ�ำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ สังกัดมหำนิกำย พ.ศ.๒๕๑๒ ในขณะอำยุได้ ๔๐ ปี พรรษำแรกถึง พรรษำที่ ๕ อยู่วัดบ้ำนดงถำวรกับ หลวงพ่อจูม เพื่ อ ศึ ก ษำแนวทำงกำรเจริ ญ สมำธิ แ ละวิ ช ำ อำคมต่ำงๆ จนกระทั่งพรรษำที่ ๖-๗ ได้มีโยม มำนิ ม นต์ ม ำสร้ ำ งวั ด บ้ ำ นโพธิ์ ศ รี ธ ำตุ ต� ำ บล เกำะแก้ ว อ� ำ เภอส� ำ โรงทำบ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ในช่วงที่สร้ำงวัดโพธิ์ศรีธำตุอยู่นั้น ท่ำนได้ไป กรำบฝำกตัวเป็นลูกศิษย์หลวงปู่ดูลย์ อตุโล วัดบูรพำรำม ได้เรียนกัมมัฏฐำนกับหลวงปู่ดูลย์ ทุกอำทิตย์ จนกระทั่งปี พ.ศ.๒๕๒๖ พรรษำ ที่๑๓ เป็น ช่ว งเวลำที่ห ลวงปู่ดุล ย์เ ข้ำรับกำร รักษำตัวอยู่ท่ีโรงพยำบำลศิริรำช หลวงปู่ดูลย์ ได้มีเมตตำรับเป็นเจ้ำภำพในกำรแปรญัตติครั้ง นี้ด้วยตัวท่ำนเอง จำกมหำนิกำยให้สังกัดฝ่ำย ธรรมยุติโดยท่ำนบอกว่ำพระองค์นี้เป็นพระที่ สมบูรณ์แล้ว หลวงปู่ดุลย์ เคยบอกกับลูกศิษย์ ว่ำ พระสำยกัมมัฏฐำนที่มีพลังจิตแรงมำกๆ มี หลำยท่ำน หนึ่งในนั้นก็คือ พระวิเชียร ธมมสำโร 122 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
(สิงห์) ควำมแรงในพลังจิตของท่ำน มีมำตั้งแต่ยังสังกัดอยู่ในมหำนิกำย ที่ ส ำมำรถเพ่ ง รถไฟจนหยุ ด ตำม ค�ำขอของหลวงพ่อท่ำนหนึ่งได้ จน กระทั่งหลวงปู่ดูลย์ ทรำบเรื่องจึงได้ ห้ำมท่ำนในเรื่องท�ำนองนี้ หลังจำกได้ไปจ�ำพรรษำกับ หลวงปูส่ ำม อกิญจโน วัดป่ำไตรวิเวก จ.สุรินทร์ และยังได้ฝึกปฏิบัติกัมมัฎฐำน พระอำจำรย์คืน ปสันโน วัดป่ำบวรสังฆำรำม (วัดป่ำหน้ำเรือนจ�ำ) ได้พบพระอำจำรย์กมิ ทีปธัมโม ร่วม จ�ำพรรษำด้วยและพระอำจำรย์กมิ ได้กล่ำวกับหลวงปู่วิเชียรว่ำท่ำนบวชเป็นฤษี มำ ๗ ชำติ ชำตินี้เป็นชำติสุดท้ำยของท่ำน ใน พรรษำที่ ๓-๖ ท่ำนได้สร้ำง วัดป่ำหนองคู โบสถ์โดยมีหลวงปู่สำม อกิญจโน เป็นเจ้ำ อำวำสในขณะนั้นและหลวงปู่สำมได้มอบหมำยให้หลวงปู่วิเชียรเป็นเจ้ำอำวำสมำถึง ปัจจุบัน และในปี พ.ศ.๒๕๔๘ ท่ำนได้น�ำคณะศรัทธำสร้ำงวัดสีหะล�ำดวน ท่ำนได้สร้ำง ถำวรวัตถุมำกมำยและขณะนีก้ ำ� ลังสร้ำงอุโบสถขึน้ แต่ยงั ไม่แล้วเสร็จ จึงมีกำรออกวัตถุ มงคลเพื่อน�ำปัจจัยมำด�ำเนินกำรต่อให้แล้วเสร็จ วัตถุมงคล ปัจจุบันท่ำนได้สร้ำงวัตถุมงคล ออกมำ หลำยรุ่นเพื่อจัดหำรำยได้สร้ำงอุโบสถและศำสน สถำน ณ วัดสีหะล�ำดวน อ.ศีขรภูมิ จ.สุรินทร์ ซึ่งแต่ ล่ะรุน่ ในกำรปลุกเสกนัน้ มักมีเรือ่ งรำวปำฏิหำริยข์ อง สำยฟ้ำผ่ำอยู่เสมอ คติธรรมหลวงปู่วิเชียร สีเลนสุคติงยนติ ผู้มีศีล ย่อมมีสุข ผู้พิจำรณำย่อมไม่ไปพิจำรณำผู้อื่น ให้ พิจำรณำตัวเอง ตำมดูตำมรู้ของจิต ผู้พูดไม่รู้ ผู้รู้ไม่พูด ปฎิบัติแต่ปำก มันไม่เป็น ให้ดอก ต้องปฎิบัติจิต ปฏิบัติใจด้วยมันถึงจะเป็น
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
123
Wat Siha Lamduan Location Moo 1, Rangang Sub-district, Sikhoraphum District, Surin Province Transportation 40 kilometers from the downtown of Surin. Follow Highway No. 226 (Surin- Sikhoraphum). Drive a bit further than Sikhoraphum Hospital and take the left turn. Drive for about 700 meters more and the temple is found on the right side. Luang Pu Wichian (Singh) Meditation master with strong mental power Phrakroo Wichian Thammakun (Wichian Thammasaro)’s real name is Singh Boonpa. He was born on April 13, 1929 in Ban Tangmang, Kohkaew Sub-district, Samrongtab District, Surin Province. When he was young, he practiced dharma and learned incantation from Luang Por Joom of Wat Ban Dong Thawon. At the age of 25, when working in Samut Prakan Province, he had become the student of Thanpor Lee Thammasaro of Wat Asokaram. For five years while he had helped with the construction of the temple, Thanpor Lee taught him how to practice the dharma and convinced him to be ordained as a monk many times. Thanpor Lee predicted that he would quickly become successful and would access Nirvana (the highest level of dharma) if he was ordained before 1957. During that period of time, Phra Achan Somchai Thitawiriyo of Wat Khao Sukim in Chantaburi paid a visit to Thanpor Lee; Wichian, therefore, was invited to help with the construction of Wat Khao Sukim. However, he had been there for two months before deciding to go work in Phang Nga. One day, Wichian caught a frog and when he was about to open its torso, he heard it crying “Putto” which reminded him of Thanpor Lee’s 124 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
teaching. He decided to return to Ban Truem, Truem Sub-district Sikhoraphum District, Surin Province in order to be ordained as a monk in Maha Nikai Sect. That was in 1969 when he was at the age of 40. He spent the first five years of his monkhood with Luang Por Joom at Wat Dong Thawon in order to learn meditation techniques and different types of incantations. During the 6th and the 7th years of his monkhood, being invited by his followers, Phrakroo Wichian went to Kohkaew Sub-district, Samrongtab District, Surin Province in order to help with the construction of Wat Posithat. During the construction, he became the student of Luang Pu Doon who had him convert to Thammayuttika Sect, claiming that
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
125
Phrakroo Wichian was a perfect monk. Luang Pu Doon once told his followers that Phra Wichian Thammasaro (Singh) was one among many monks with strong mental power. His mental power had been developed since he was in Maha Nikai Sect. Once asked by an elderly monk, he could stop a train using his mental power. After knowing that, Luang Pu Doon asked him to stop doing miracles. While residing with Luang Pu Sam Akinjano in Wat Pa Trai Wiwek in Surin Province, Phra Wichian Thammasaro also learned meditation techniques from Phra Achan Kuen Pasanno of Wat Pa Borwon Sangkaram (in front of the prison) and that was when he met Phra Achan Kimtipathammo who was staying there during the rainy season. Phra Achan Kimtipathammo said that Luang Pu Wichian had been a hermit for seven lives and that was his last life. During the 3rd - 6th years of his monkhood, Luang Pu Wichian had helped with the construction of Wat Pa Nongkubode which had Luang Pu Sam Akinjano as the abbot. Later, Luang Pu Sam assigned Luang Pu Wichian to be the abbot up to the present time. In 2005, Luang Pu Wichian together with people of faith had Wat Siha Lamduan built. Many buildings were completed and the monastery is currently being built; therefore amulets are being launched in order to get funding for completing the construction.
126 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Amulet At present, to raise money for the construction of the monastery and other religious buildings of Wat Siha Lamduan in Sikhoraphum District, Surin Province, Luang Pu Wichian has had many collections of amulets made. When consecrating each collection, the miracle relating to lightning always occurs. Moral Teaching of Luang Pu Wichian “Silensukatiyonti”, one with precept should be delighted. One who examines does not examine others but examine oneself and one’s mind. Speakers do not know. One who knows does not speak. Working through mouth will never work; it must be through mind.
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
127
128 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
วัดป่าเขวาสินรินทร์ ตั้งอยู่ที่ ต�ำบลเขวำสินรินทร์ อ�ำเภอเขวำสินรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ การเดิ น ทาง อยู ่ ห ่ ำ งจำกตั ว เมื อ งสุ ริ น ทร์ ไปตำมทำงหลวงหมำยเลข ๒๑๔ (สุรินทร์ -จอมพระ) ประมำณ ๑๔ กม. เลี้ยวขวำไปยัง อ�ำเภอเขวำสินรินทร์ ประมำณ ๔ กม. ถึงโรงเรียนสินรินทร์วิทยำ แล้วเลี้ยวซ้ำย ๙๐๐ เมตร ถึงวัดป่ำเขวำสินรินทร์ ประวัติ หลวงตาผนึก สิริมงฺคโล หลวงตำผนึก สิรมิ งฺคโล เกิดเมือ่ วันที ่ ๒๖ เดือนเมษำยน พ.ศ. ๒๔๖๑ บ้ำนโชค หมู่ ๓ ต�ำบล เขวำสินรินทร์ อ�ำเภอ เขวำสินรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ เมื่ออำยุ ๑๙ ปี ได้บวชเป็น สำมเณร ทีว่ ดั โพธิร์ นิ ทร์วเิ วก บ้ำนเขวำสินรินทร์ ๑ พรรษำ ต่อมำ เมื่ออำยุ ๒๑ ปี ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ที่วัดโพธิ์รินทร์วิเวก ๔ พรรษำ ลำสิกขำออกมำช่วยพ่อแม่ท�ำงำนและแต่งงำนมี “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
129
ครอบครัว จนกระทัง่ ในวันที ่ ๒๘ เดือนกรกฎำคม พ.ศ. ๒๕๒๐ อำยุ ๖๐ ปี จึงได้อปุ สมบท ณ วัดบูรพำรำม พระอำรำมหลวง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ ได้รับฉำยำว่ำ สิริมงฺคโล โดยมีหลวงปู่ดูลย์ อตุโล เป็นพระอุปัชฌำย์ ปี พ.ศ. ๒๕๒๑ ท่ำนได้ไปกรำบเป็นศิษย์ ศึกษำธรรมะ กับหลวงปูส่ วุ จั น์ สุวโจ ณ วัดถ�ำ้ ศรีแก้ว จังหวัดสกลนคร ถือได้วำ่ เป็นครูบำ อำจำรย์องค์ส�ำคัญองค์หนึ่งของหลวงตำ หลวงตำผนึกได้จ�ำพรรษำ ณ วัดป่ำเขวำสินรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ท่ำนเป็น พระผู้มีจริยำวัตรเรียบร้อย อ่อนน้อมถ่อมตน มีควำมกตัญญูและเคำรพเชื่อฟังค�ำสั่ง สอนของครูบำอำจำรย์ยิ่งชีวิต ตลอดชีวิตของท่ำนได้มีพระเถรำนุเถระต่ำงๆ ให้ควำม อนุเครำะห์ทำ่ นอย่ำงสม�ำ่ เสมอ อำทิเช่น หลวงปูด่ ลู ย์ อตุโล วัดบูรพำรำม จังหวัดสุรนิ ทร์, หลวงปูส่ วุ จั น์ สุวโจ วัดป่ำเขำน้อย จังหวัดบุรรี มั ย์, พระรำชวรคุณ วัดบูรพำรำม (เจ้ำคณะ จังหวัดสุรินทร์), และพระอำจำรย์สุพร อำจำรธัมฺโม วัดป่ำประสำทจอมพระ จังหวัด สุรินทร์ เป็นต้น หลวงตำผนึกเป็นผู้มีควำมเพียรปฏิบัติภำวนำอย่ำงต่อเนื่องจนกระทั่ง ท่ำนมรณภำพ ณ วัดป่ำเขวำสินรินทร์ เมื่อวันที่ ๒ พฤศจิกำยน พ.ศ. ๒๕๕๑ อำยุ ๙๐ ปี 130 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
๓๒ พรรษำ ปัจจุบัน วัดป่ำเขวำ สิ น ริ น ทร์ มี พ ระอำจำรย์ พ ลศรี มหำปัญโญ เป็นเจ้ำอำวำส ภำยใน บริเวณวัดมีควำมร่มรื่นเงียบสงบ มีเจดีย์สิริมังคลำนุสรณ์ ภำยในมี พระบรมสำรีริกธำตุและพระธำตุ พร้ อ มด้ ว ยเครื่ อ งอั ฐ บริ ข ำร ของ หลวงตำผนึก สิริมงคโล
เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน
คติธรรมของหลวงตา คือ “ท�ำจิตท�ำใจ ให้มศี ลี มีสมำธิ มีปญ ั ญำ ให้มพี ระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ อยูใ่ นใจ ไปทีไ่ หนอยูท่ ไี่ หนให้ระลึกถึงคุณของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ตลอด เวลำนะ ไม่มีอะไรแจกหรอกมีเท่ำนี้แหละ…
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
131
132 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Wat Pa Khwao Sinrin Location Khwao Sinrin Sub-district, Khwao Sinrin District, Surin Province To Go There Take Highway No. 214 (Surin-Jomphra) and drive about 14 kilometres. Take the right turn into Khwao Sinrin District. Drive about 4 kilometres, take the left turn at Sinrin Wittaya School and Wat Pa Khwao Sinrin will be found. The Biography of Luangta Panuk Sirimangkalo Luangta Panuk Sirimangkalo was born on April 26, 1918 in Ban Choke, Moo 3, Khwao Sinrin Sub-district, Khwao Sinrin District, Surin Province. At the age of 19, he was ordained as a novice at Wat Porin Wiwek in Ban Khwao Sinrin. He was in his novicehood for one year and was ordained as a monk at the age of 21. He was in the monkhood for 4 years before leaving to help support his parents and to get married. On July 28, 1977, at the age of 60, he was ordained “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
133
as a monk at Wat Buraparam, the royal temple in Muang District, Surin Province, having Luang Pu Doon Atulo as his preceptor and having the Buddhist alias “Sirimangkalo”. In 1978, he studied the dharma at Wat Tam Srikaew in Sakon Nakhon Province with Luang Pu Suwat Suwajo who was considered one of his important mentors.
Luangta Panuk resided at Wat Pa Khwao Sinrin in Surin Province. He was polite, modest, grateful and obedient to his mentorrs. Throughout his life, Luangta was supported by many masters such as Luang Pu Doon Atulo of Wat Buraparam in Surin Province, Luang Pu Suwat Suwajo of Wat Pa Khao Noi in Buriram Province, Phra Ratchaworakun of Wat Buraparam (the lord abbot of 134 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Surin) and Phra Achan Supon Achara Thammo of Wat Pa Prasat Jomphra in Surin Province. Luangta Panuk had had perseverance in dharma practice until he passed away in Wat Pa Khwao Sinrin on November 2, 2008, at the age of 90 after 32 years of his monkhood. At present, Wat Pa Khwao Sinrin has Phra Achan Ponsri Mahapanyo as the abbot. The temple has a peaceful atmosphere. Siri Mangkalanusorn Chedi hosts Lord Buddha’s relics and eight necessities of Luangta Panuk Sirimangkalo.
The Moral Teaching of Luangta …Be filled with merit, meditation and intellect. Accept Buddha, Dhamma and Sangha into your mind. Everywhere you go, be grateful to Buddha, Dhamma and Sangha. I have nothing to give, except this. “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
135
136 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
วัดสัทธารมณ์ (วัดบ้านขาม) ตั้งอยู่ที่ หมู่ ๑๑ บ้านขาม ต�าบลบุแกรง อ�าเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ การเดินทาง อยู่ห่างจากตัวเมือง ๓๙ กม.จากศาลากลางจังหวัดสุรินทร์ มุ่งหน้าไปทาง เหนือ จากถนนหมายเลข ๒๑๔ เข้าสูถ่ นนหมายเลข ๒๒๖ สายสุรนิ ทร์-จอมพระ ประมาณ ๒๗ กม. ถึงตลาดจอมพระเลี้ยวขวาเข้าสู่ถนนหมายเลข ๒๓๓๔ ประมาณ ๑๑ กม. แล้ว เลี้ยวซ้าย ก็จะถึงวัดสัทธารมณ์(วัดบ้านขาม) ประวัติ พระครูพัฒนสารคุณ (หลวงปู่ สอ คัมฺภีรปัญโญ) เกิด เมื่อวันที่ ๓ มีนาคม พ.ศ.๒๔๗๒ ณ บ้านขาม อ�าเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ นามเดิม สอ งามสะอาด ในวัยเด็กได้เรียน อักขระภาษาทีว่ ดั บ้านขาม กับพระอาจารย์แสง บวชเณรเมือ่ ปี พ.ศ.๒๔๙๑ เมือ่ อายุ๑๙ปี และได้อปุ สมบทเมือ่ ปี พ.ศ.๒๔๙๒ โดยมีพระครูศรีสัทธารมณ์ (แสง) สิริปญโญ เจ้าคณะอ�าเภอ จอมพระ ในขณะนัน้ ผูซ้ งึ่ มีชอื่ เสียงทางด้านวิปสั สนากัมมัฏฐาน “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
137
และคาถาอาคม หลวงปู่สอได้ รับการถ่ายทอด วิชาจากพระอุปชั ฌาย์จนหมดสิน้ ทุกอย่าง จาก นั้นจึงไปฝากตัวเป็นลูกศิษย์กับอาจารย์ อึ๋ม มั่นยืน เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านคาถาอาคมมาก ที่ อ�าเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์ จนอายุ ๒๒ ปี ได้ ออกเดินธุดงค์ จากจังหวัดสุรินทร์ ข้ามไปยังฝั่ง ประเทศลาวและประเทศกัมพูชา ระหว่างธุดงค์ ได้ฝากตัวเป็นศิษย์พระอาจารย์ที่พบระหว่าง เดิ น ธุ ด งค์ ท ่ า นหนึ่ ง ได้ เ รี ย นวิ ช าท� า ตะกรุ ด , เบี้ ย แก้ , ท� า น�้ า มนต์ แ ละวิ ช ากั ม มั ฏ ฐานใน ระหว่าง เดินธุดงค์อยู่ ๗ ปี จนเชี่ยวชาญ จึง ได้ เดินทางกลับวัดบ้านขาม ซึ่งเป็นช่วงที่หลวงปู่แสงมรณะภาพ ท่านจึงได้รับแต่งตั้ง เป็นเจ้าอาวาส ขณะท่านอายุ ๒๗ ปี เมื่อ พ.ศ.๒๕๐๐ จนถึงปัจจุบัน ซึ่งท่านถือธุดงค์ สรงน�้าปีละครั้งเหมือนหลวงพ่อยิด ปัจจุบนั หลวงปูส่ อ อายุ ๘๖ ปี ท่านยังคงแข็งแรงและยังคงรับกิจนิมนต์ดว้ ยตนเอง หากมีลกู ศิษย์มาขอให้ความช่วยเหลือท่านก็จะเมตตาช่วยชีแ้ นะ หลักธรรมค�าสอนทีท่ า่ น มักสอนแก่ลกู ศิษย์ “การปฎิบตั นิ นั้ ไม่ตอ้ งไปสถานทีใ่ ดให้ไกล ให้เหนือ่ ยกับการเดิน ทาง ขอให้ยึดใจตนเป็นหลัก ใจเป็นบ้าน เป็นวัด เป็นสถานที่ปฎิบัติกัมมัฏฐาน ที่ดีที่สุดแล้ว ขอให้มุ่งมั่นเพียรภาวนาอย่างต่อเนื่อง ธรรมก็จะรู้แจ้งแก่ใจตน”
วัตถุมงคล ที่ ห ลวงปู ่ ส อให้ จั ด สร้ า งขึ้ น ตะกรุ ด มหาระงั บ รุ ่ น แรก, ตะกรุ ด จตุ ร พิ ธ พรชั ย รุ ่ น แรก เพื่ อ น� า รายได้ ไ ปบู ร ณะวั ด บ้ า นขาม ที่ทรุดโทรมมากแล้ว วัตถุมงคลเบี้ยแก้และ ตะกรุด หลวงปู่สอจารมือเองทุกดอก 138 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Wat Sattharom (Wat Ban Kham), Mueang District, Surin Province Location Moo 11 Ban Kham, Bu Krang Sub-district, Chom Phra District, Surin Province To Go There Wat Sattharom is 39 kilometres from Surin City. Start from Surin Provincial Hall, head to the north and follow the route number 214. Then take the route number 226 (Surin-Chom Phra), the distance is around 27 kilometres. When reaching Chom Phra market, turn right and follow the route number 2334, around 11 kilometres. Then turn left, the temple is there. Biography of Phra Kru Pattanasarakun (Luang Pu Sor Kambheerapanyo) Phra Kru Pattanasarakun was born on March 3, 1929, on the fourth month in small snake year according to lunar calendar, at Ban Kham, Chom Phra District, Surin Province. His original name was Sor Ngamsaard. During his childhood, he studied the language characters with Phra Ajahn Saeng at Wat Ban Kham. When he was 19 years old in 1948, he ordained as a novice. “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
139
Later, in 1949, he ordained as a monk. There was Phra Kru Srisattharom (Saeng) Siripanyo, who was the Ecclesiastical District Governor of Chom Phra District and the famous monk for meditation practice and incantation of magic at that time, was the preceptor of his ordination. He had gained all knowledge from his preceptor until there was nothing else to learn. Then he offered himself as a disciple of Phra Ajahn Uem Manyuen who was a magic incantation specialist at Satuek District, Buri Ram Province. When he was 22 years old, he went for Thudong (ascetic austerities) from Surin Province to Laos and Cambodia. During his Thudong journey, he met with a monk and offered himself as a disciple to him. He learnt how to make Takrud (sacred object), Bia Kae (sacred object), holy water, and Kammatthan (mediation and mind training). After 7 years of Thudong journey, he returned back to Wat Ban Kham where Luang Pu Saeng (his preceptor) passed away at that time. Hence, he has been 140 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
appointed as the abbot of Wat Ban Kham since he was 27 years old in 1957, up until now. Moreover, he keeps Thudong practice and take a bath once a year similar too Luang Pu Yid. Currently, Luang Pu Sor Kambheerapanyo is 86 years old. He is still healthy and gets invited for doing monk’s duty by himself. If the disciples come for any help, he will kindly advise them. His Dhamma principles that he always teaches the disciples are as follows : there is no need to go so far to any places for the practice; the practice should concentrate on the mind of oneself as the house, the temple, and the best place for Kammatthan; for the practice, one should have commitment and perseverance continuously, then the Dhamma will be enlighten in oneself. Sacred Object of Phra Kru Pattanasarakun The sacred objects made by Phra Kru Pattanasarakun such as first model of Maha Ra-Ngub Takrud, Jaturapit Pornchai Takrud, Bia Kae, and etc., are purposely sold for renovation of Wat Ban Kham which is already very old in age. “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
141
142 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
วัดป่าอาเจียง ที่ตั้ง บ้านตากลาง ต�าบลกระโพ อ�าเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ การเดินทาง อยู่ห่างตัวเมืองสุรินทร์ไปทางทิศเหนือตามทางหลวงหมายเลข ๒๑๔ (สุรินทร์-ท่าตูม-ร้อยเอ็ด) ก่อนถึงอ�าเภอท่าตูมมีทางแยกซ้าย บริเวณหลักกิโลเมตรที่ ๓๖ ไปตามทางลาดยางประมาณ ๒๒ กม. เลี้ยวซ้ายตรงเข้าไปยังผ่านหมู่บ้านช้าง ก็ จะถึงวัดป่าอาเจียง ความส�าคัญ ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ พระครูสมุหห์ าญ ปัญญาธโร ดร. เจ้าอาวาสวัดป่าอาเจียง ได้เป็น ผู้บุกเบิกพื้นที่เดิมที่เป็นป่าช้าที่มีการฝั่งศพทั้งคนและช้าง เป็นพื้นอยู่ระหว่างหมู่บ้าน ตากลาง กับหมู่บ้านหนองบัว ต่อมาได้มีผู้ใจบุญมีจิตศรัทธาสร้างวัดจนแล้วเสร็จ เดิม พระครูสมุหห์ าญ จะออกเดินธุดงค์ตามสถานทีต่ า่ งๆ ไม่เคยคิดจะสร้างเป็นวัดแต่อย่างใด จึงได้สร้างสถานทีแ่ ห่งนีไ้ ว้ปฏิบตั ธิ รรมกัมมัฏฐาน ส่งเสริมกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
143
บรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน ส่งเสริมให้ศึกษาในระดับที่สูง ขึ้ น และให้ เ ป็ น แหล่ ง ศึ ก ษา เรียนรู้วิถีชีวิตคนกับช้าง ตลอด ทั้งช้างกับพระพุทธศาสนาให้ ครบวงจรอยูใ่ นสถานทีเ่ ดียวกัน ส� า หรั บ สุ ส านช้ า งนั้ น พระครูสมุห์หาญ ปัญญาธโร เจ้าอาวาสวัดป่าอาเจียง ได้เริ่มท�ามาตั้งแต่ปี ๒๕๓๘ เกี่ยวเนื่องกับในอดีตวัยเด็กท่าน มีความผูกพันกับช้าง “พังค�ำมูล” ซึ่งช้างตัวนี้พ่อของท่านได้ขายให้คนอื่นไป และเมื่อ หลายปีที่ผ่านมาช้างถูกรถชนตายได้ฝังไว้ที่ อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ ซึ่งช้างได้ มาหาในนิมิตว่าอยากกลับมาอยู่ด้วย เป็นความผูกพันท่านจึงไปซื้อกระดูก “พังค�ำมูล” น�ามาท�าบุญอุทิศส่วนกุศลให้ช้างและฝัง เมื่อชาวบ้านทราบก็ไปขุดเอากระดูกช้างที่ เขาฝังไว้ตามไร่นา มากองให้ที่วัด จึงเป็นเหตุให้ต้องท�าเป็นหลุมฝังศพช้าง แรกเริ่มก็ 144 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
๔๗ หลุม ปัจจุบนั นีร้ อ้ ยกว่าหลุมแล้ว ซึ่งยังมีซากช้างอยู่อีกมากที่รอบรรจุ แต่ยังไม่ได้บรรจุ เนื่องจากต้องใช้ งบประมาณเพราะมี ค ่ า ใช้ จ ่ า ยใน การขนเสบียงให้คนขุดไปเอากลับ มาท�าบุญ การขนย้าย จะเห็นได้ว่าเป็นความผูกพัน ระหว่างคนกับช้าง ที่มีสายใยสาย สั ม พั น ธ์ ป ระหนึ่ ง คนในครอบครั ว ช้างเจ็บป่วยท่านก็จะเป็นหมอช้าง ในการรักษาเพราะอดีตเคยเป็น ควาญช้างมาก่อน จะเห็นได้ว่า สุ ส านช้ า งมี รู ป ทรงหมวกสมั ย โบราณ ก็ เ พื่ อ ให้ ค วามร่ ม เย็ น แก่สัตว์ที่ตายให้อยู่ภายใต้ร่ม แดด คนท�านาก็ตอ้ งอาศัยร่มเงา จากหมวก นักรบก็ต้องใช้หมวก กันร้อน ช้างเคยมีบุญคุณกับคน พอเขาตายไปแล้วก็ต้อง ให้ความร่มเย็นแก่เขาด้วย ซึ่งเป็นแนวคิดของท่านพระครู สมุห์หาญ พระนักปฏิบัติกัมมัฏฐานและหมอช้าง ปัจจุบันวัดป่าอาเจียง อยู่ระหว่างด�าเนินการก่อสร้าง โดยนักท่องเที่ยวเมื่อมาเที่ยวชมหมู่บ้านช้างตากลาง ให้นัก ท่องเที่ยวได้เที่ยวชมวิถีชีวิตช้าง วิถีชีวิตคน สามารถแวะ ท�าบุญเช่าวัตถุมงคลวัดป่าอาเจียง เพื่อสมทบทุนในการท�า สุสานช้างหรือการเคลื่อนย้ายกระดูกช้างเพื่อเอามาบรรจุใน สุสานช้างก็ติดต่อได้ที่วัดป่าอาเจียง
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
145
146 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Wat Pa Ajiang, Mueang District, Surin Province Location Ban Ta Klang, Krapho Sub-district, Tha Tum District, Surin Province How to get there Start from Surin City to the north, take the route number 214 (Surin - Tha Tum - Roi Et). Before reaching Tha Tum District, there is a crossroad at km 36 on the left hand side. Follow the asphalt crossroad for around 22 kilometres. Then turn left into the village of elephants, Wat Pa Ajiang is there. Importance In 2005, Phra Kru Samuharn Panyatharo, Dr., was the abbot of Wat Pa Ajiang. He was the pioneer of the original area of the temple which was the graveyard of both humans and elephants. The area was in between Ta Klang Village and Nong Bua Village. Later, a philanthropist with faithful heart built the temple until it was completed. At the beginning, Phra Kru Samuharn intended to find places for austere practice (Buddhist ascetic practices) at various locations, and never thought to build a temple there. He decided to build this place for Kammatthan (meditation and mind training) and to promote Buddhist activities as well as the “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
147
ordination of novice monks during summer holiday. It is also to promote higher education, being the learning center related to ways of life between human and elephants as well as elephants and Buddhism, all in one place. Phra Kru Samuharn Panyatharo, the abbot of Wat Pa Ajiang, began to build the elephant’s graveyard in 1995. When he was a child, he formed an attachment to an elephant named Pang Kam Moon which was sold to someone else by his father. Many years later, Pang Kam Moon was killed in an accident with a car. Pang Kam Moon was buried at Chumphon Buri District, Surin Province and it was also appearing in the dream of Phra Kru Samuharn Panyatharo. In the dream, the elephant wanted to come back and stay together with him. With the strong feeling and connection between him and Pang Kam Moon, he bought the bones of the elephant and brought them back for making merit and burial ceremony. Once the local people, heard about this ceremony, they also dug elephant’s bones from their fields and brought them back to the temple. Hence, this was the reason to have the elephant’s graveyard. At first, there were only 47 graves in the elephant’s graveyard. Nowadays, there are over 100 graves, and there are still more elephant’s bones waiting for merit and burial ceremony. This is because of the lack of money for transporting and digging bones of elephants. This could be seen as a bond between human and elephant which was tied as a family. If the elephant was sick, Phra Kru Samuharn Panyatharo would be the veterinarian for it because he used to be a mahout. 148 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
It can be seen that graves in the elephant’s graveyard have a shape that looks like an ancient hat. This is to cover dead animals from the sunlight. The farmers wear hats for shadow, the warriors wear hats for sunlight protection, and dead elephants which were helpful to humans also need hats for shadow. These are the ideas of Phra Kru Samuharn Panyatharo who is Phra Kammatthan and elephants’ veterinarian. Currently, Wat Pa Ajiang is now under construction. When the tourists visit Ban Ta Klang Elephant’s Village, they will have a chance to explore ways of life of elephants and local people. Tourists can make merit and support the temple by getting sacred objects and making donations. This donation will be used for building the elephant’s graveyard and the transportation of bones. “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
149
150 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
วัดพระพุทธบาทพนมดิน ตั้งอยู่ที่ ต�ำบลท่ำตูม อ�ำเภอท่ำตูม จังหวัดสุรินทร์ การเดิ น ทาง อยู่ห่ำงจำกตัวเมืองสุรินทร์ ๔๙ กม. จำกศำลำกลำงจังหวัดสุรินทร์ มุง่ หน้ำไปทำงเหนือจำกถนน ๒๑๔ เข้ำสูถ่ นนหมำยเลข ๒๑๔ สุรนิ ทร์ - จอมพระ - ท่ำตูม วัดพระพุทธบำทพนมดิน อยู่ฝั่งซ้ำย
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
151
ชวนนำถ เป็ น มหำปรำชญ์ แ ห่ ง ประเทศ กัมพูชำ จนมีวชิ ำแก่กล้ำ เป็นทีเ่ คำรพนับถือ ของชำวบ้ำน ตลอดระยะเวลำ ๓๕ ปี กระทัง่ อำยุ ๕๕ ปี ได้หนั มำมุง่ เน้นกำรปฏิบตั กิ มั มัฏ ฐำนอย่ำงจริงจังเพียงอย่ำงเดียว จนได้รับ สมณศักดิ์ เป็น “พระครูธรรมรังษี” เป็น เจ้ำคณะอ�ำเภอโมงรือแซ็ย ประเทศกัมพูชำ พ.ศ. ๒๔๑๘ เกิดสงครำมกลำงเมือง ในประเทศกัมพูชำ จึงได้อพยพมำประเทศ ไทย เมื่อมำถึงกรุงเทพฯ ได้เข้ำพ�ำนักอยู่กับ พระอำจำรย์วิโรจน์ เจ้ำอำวำสวัดรำชสิงขร ด้วยควำมมุง่ มัน่ ในด้ำนวิปสั สนำกัมมัฏฐำน จึงได้ศึกษำปฏิบัติธรรมเพิ่มเติมที่วัดเพลง วิปัสสนำและวัดมหำธำตุยุวรำชรังสฤษฎ์ 152 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ประวัติ หลวงปู่ธรรมรังษี “พระมงคงรังษี” นำมเดิมว่ำ นำยสุวัฒน์ ฉิง เกิดเมื่อวันที ่ ๖ เมษำยน ๒๔๖๒ ณ ต�ำบลเกีย อ�ำเภอ โมงรือแซ็ย จังหวัดพระตะบอง ประเทศ กัมพูชำ เมื่ออำยุได้ ๑๔ ปี ได้บวชเป็น สำมเณร ๑ พรรษำ แล้วลำสิกขำมำช่วย บิดำมำรดำท�ำงำน เมือ่ วันที ่ ๓ พฤษภำคม ๒๔๘๑ อำยุ ๒o ปี จึ ง อุ ป สมบท ณ วัดเวฬุวนำรำม ตำ� บลเกีย อำ� เภอโมงรือแซ็ย จังหวัดพระตะบอง ประเทศกัมพูชำ ฉำยำ ธรรมว่ำ “ธรรมรังษี” หลวงปูธ่ รรมรังสี มีใจ ใฝ่ปฏิบตั สิ มำธิภำวนำควบคูก่ บั กำรศึกษำ พระเวทวิทยำคม จำกพระเกจิ ในประเทศ กั ม พู ช ำ และได้ ศึ ก ษำกั บ พระสั ง ฆรำช
และได้พบสหธรรมิก สมเด็จพระพุฒำจำรย์ เกี่ยว อุปเสโน แห่งวัดสระเกศ ด้วยควำม ต้องกำรเจริญในกำรปฏิบตั ธิ รรม จึงต้องกำรหำทีเ่ งียบสงบ สมเด็จพระพุฒำจำรย์ เกีย่ ว จึงพำไปพบกับ “พระอาจารย์สิงห์ สุธัมโม” (พระครูภาวนาประสุต) เจ้ำอำวำสวัด บ้ำนขีเ้ หล็ก ต.หนองบัวทอง อ.รัตนบุร ี จ.สุรนิ ทร์ ซึง่ เป็นพระนักปฏิบตั ิ จึงได้อยูจ่ ำ� พรรษำ วัดบ้ำนหนองเหล็ก ในปีพ.ศ. ๒๕๒๒ หลวงปู่ธรรมรังษี ออกเดินธุดงค์ไปภำคใต้ จรดถึง ภำคเหนือของไทย ลัดเลำะไปยังพม่ำ - ลำว และยังอบรมเผยแพร่ธรรมมะ เรื่อยมำ จน กระทัง่ ปีพ.ศ. ๒๕๒๖ได้เดินทำงมำดูสถำนทีป่ ำ่ ทึบเขต อ.ท่ำตูม จ.สุรนิ ทร์ กับท่ำนพระครู ประภัศร์ คณำรักษ์ และเป็นถูกใจยิง่ นักจึงได้บกุ เบิกสร้ำงเป็น วัดพระพุทธบำทพนมดิน เพื่อเป็นสถำนที่ปฏิบัติธรรมจนเจริญรุ่งเรืองดังที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ เมื่อสงครำมสงบทำงกำรประเทศกัมพูชำได้ นิมนต์ขอให้หลวงปู่ ธรรมรังษีกลับไปด�ำรงต�ำแหน่งพระสังฆรำช แห่งประเทศกัมพูชำ แต่ท่ำนได้ปฏิเสธไป เพรำะต้องกำรอยู่ที่ประเทศไทย ท่ำนจึงขอรับสมณศักดิ์ทำงกำรประเทศกัมพูชำ ใน พระยศสมณะศักดิ์ชั้นธรรม เป็น “พระธรรมวิริยาจารย์ กัมพูชา” เพียงเท่ำนั้น ส่วนใน “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
153
ประเทศไทยได้รับพระมหำกรุณำธิคุณพระรำชทำน สมณศักดิเ์ ป็น “พระครูมงคลธรรมวุฒ”ิ เมือ่ วันที ่ ๕ ธันวำคม ๒๕๔๕ และ วันที่ ๑๒ สิงหำคม ๒๕๔๗ ได้ รับพระรำชทำนเลื่อนสมณศักดิ์เป็น พระรำชำคณะ ชั้นสำมัญ ที่ “พระมงคลรังษี” ด้วยจริยำวัตรอันงดงำม ตลอดชีวิตหลวงปู่ ท่ำนพูดน้อยมำก ยิ้มแย้มแจ่มใสตลอดเวลำ ไม่เคย ดุด่ำว่ำกล่ำว ไม่เอ่ยค�ำกระทบจิตใจ ให้ผู้ใดขุ่นข้อง หมองใจ ทัง้ ต่อหน้ำหรือลับหลัง กิรยิ ำงดงำมวำงเฉย ไม่ยดึ ถือทรัพย์สนิ เงินทองเป็นของท่ำน จนกระทัง่ วัน ที่ ๙ ตุลำคม ๒๕๔๙ มรณภำพ ในขณะอำยุ ๘๗ ปี ๖๘ พรรษำ และพระรำชทำนเพลิง ศพ เมื่อวันที่ ๕ เมษำยน ๒๕๕๘ ณ วัดพระพุทธบำทพนมดิน อ�ำเภอท่ำตูม จังหวัด สุรนิ ทร์ หลวงปูธ่ รรมรังษี “ท่านเจ้าคุณสองแผ่นดิน” ด้วยคุณงำมควำมดีและแนวทำง กำรปฏิบัติพระกัมมัฏฐำนของหลวงปู่ธรรมรังษี ประชำชนสำมำรถเดินทำงมำกรำบสัก กำระพระบรมสำรีริกธำตุ และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภำยในวัดพระพุทธบำทพนมดิน สถำนที่อัน ศักดิ์สิทธิ์แห่งเขำพนมดิน สิง่ ทีไ่ ม่ควรพลาด สักกำระรอยพระพุทธจ�ำลอง ทีส่ ร้ำงขึน้ พ.ศ.๒๔๙๓ เดิมอยูท่ วี่ ดั โพธิ์ พฤกษำรำม ต่อมำพระครูประภัศร์ คณำรักษ์ เจ้ำคณะอ�ำเภอท่ำตูม พร้อมด้วยประชำชน ได้นำ� มำประดิษฐำน ณ มณฑปวัดพระพุทธบำท เขำพนมดิน หำกท่ำนใดได้สกั กำรบูชำ ก็จะเกิดสิริมงคลแก่ชีวิต แคล้วคลำดจำกเครำะห์ภัยทั้งปวง คาถา พระพุทธบาทพนมดิน ตั้ ง นะโม ๓ จบ สุ วั ณ ณะมำลิ เ ก สุวัณณะปัพพะเต สุมะนะกูเฎ โยนะกะมุเร นัมมะทะยะ นะทิยำ ปัญจะปำทำวะลัง อะหัง วันทำมิทูระโต
154 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Wat Phra Phutthabat Phanom Din Location Tha Tum Sub-district, Tha Tum District, Surin Province Transportation 49 kilometres from the downtown of Surin. From the city hall of Surin Province, head north, following Highway No. 214 (Surin-Jomphra- Tha Tum). Wat Phra Phutthabat Phanom Din is found on the left side.
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
155
Biography The real name of Luang Pu Thammarangsi or “Phra Mongkolrangsi” is Suwat Ching. He was born on April 6, 1919, in Kia Sub-district, Mong Rue Suey District, Phratabong Province, Cambodia. At the age of 14, he was ordained as a novice and left his novicehood on May 3, 1938, in order to help support his parents. At the age of 20, he was ordained as a monk at Wat Weruwanaram in Kia Sub-district, Mong Rue Suey District, Phratabong Province, Cambodia, with the Buddhist alias “Thammarangsi”. Luang Pu Thammarangsi was interested in both meditation practice and incantation. He studied them both from famous monks in Cambodia including His Holiness Supreme Patriarch Chuan Nad, a philosopher of Cambodia. His exceptional ability had earned him respect from villagers for 35 years. At the age of 55, when he solely focused on meditation practice, he was assigned to be the lord abbot of Mong Rue Suey District, Cambodia and “was given the ecclesiastical title of “Phrakroo Thammarangsi”. In 1975, when a civil war in Cambodia started, Phrakroo Thammarangsi immigrated to Thailand. When he arrived in Bangkok, he resided with Phra Achan Wirot, the abbot of Wat Ratcha Singkhon. With the determination to practice Vipassana meditation (insight 156 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
meditation), he further practiced the dharma at Wat Pleng Vipassana and Wat Mahathat Yuwaratrangsarit and met with a dharma friend, Somdet Phra Phutthachan (Kieo Uppaseno) of Wat Sraked. Since Phrakroo Thammarangsi needed a silent place to practice the dharma, Somdet Phra Phutthachan introduced him to Phra Achan Singh Suthammo (Phrakroo Pawanaprasut) who focused on practical learning and was the abbot of Wat Ban Kilek in Nong Buathong Sub-district, Rattanaburi District, Surin Province. Luang Pu Thammarangsi had resided at Wat Ban Kilek until 1979 when he went on pilgrimage to the South, the North, Myanmar and Laos. He had taught and spread dharma until 1983 when he and Phrakroo Prapatkhanarak did a survey in a jungle in Tha Tum, Surin Province. Being pleased by the location, Luang Pu Thammarangsi had Wat Phra Phutthabat Phanom Din built for dharma practice and the temple is prosperous at present. “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
157
In 2002, after the end of the civil war, the Cambodian government asked Luang Pu Thammarangsi to return to Cambodia and be the supreme patriarch but he refused since he wished to live in Thailand. He only accepted the Cambodian ecclesiastical title of “Phra Thamwiriyajan”. As for his Thai ecclesiastical title, on December 5, 2002, he was granted by His Majesty the King the title “Phrakroo Monkol Thammawut” and on August 12, 2004, His Majesty the King granted him the royal title rank “Ordinary Phra Monkonrangsi”. Throughout his life, Luang Pu Thammarangsi had decent and virtuous routines; he spoke very little, smiled all the time, never scolded anyone, never hurt anyone’s feeling verbally and never had conflict with anyone both openly and behind one’s back. He is decent and calm with good manners and never clung to or possessed any material objects or money. Luang Pu Thammarangsi passed away on October 9, 2006, at the age of 87 years, after 68 years of his monkhood. His body was cremated in a cremation ceremony hosted by His Majesty the King on April 5, 2015, at Wat Phra Phutthabat 158 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Phanom Din in Tha Tum District, Surin Province. The virtues and the meditation techniques of “Luang Pu Thammarangsi” or “The Venerable Monk of Two Nations” have drawn people to come and worship the relics of Lord Buddha and sacred objects in Wat Phra Phutthabat Phanom Din, the sacred site of Khao Phanom Din. Not to Be Missed Worshipping the reproduction of Lord Buddha’s footprint which was made in 1950. The reproduction had formerly been placed in Wat Pho Phrueksaram before Phrakroo Pakkhanarak, the lord abbot of Tha Tum District and residents of the district had it moved to the mondob (movable pavilion) of Wat Phra Phutthabat Phanom Din. Worshipping the footprint helps fight evil and brings good luck to worshippers. The Spell of Phra Phutthabat Phanom Din Recite “Namo” three times before reciting “suwannamaligay suwannapappatay sumanakuday yonakamuraynammataya natiya panjapatawalang ahangwantamiturato”.
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
159
160 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
วัดใต้บูรพาราม ตั้งอยู่ที่ หมู่ ๑ ต�ำบลรัตนบุรี อ�ำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ การเดิ น ทาง ห่ ำ งจำกตั ว เมื อ งสุ ริ น ทร์ ๗๓.๕ กม. ใช้ ท ำงหลวงหมำยเลข ๒๑๔ (สุรินทร์ - ท่ำตูม) ระยะทำง ประมำณ ๕๓.๖ กม. แล้วเลี้ยวขวำเข้ำสู่เส้นทำงหมำยเลข ๒๐๗๖ รัตนบุรี - ศรีสะเกษ ประมำณ ๑๙ กม. วัดอยู่ฝั่งด้ำนขวำ
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
161
ประวัติ
วัดใต้บรู พำรำม ต�ำบลรัตนบุรี อ�ำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ สร้ำง ขึ้นเมื่อปี พ.ศ.๒๓๕๖ เป็นวัดที่เก่ำ แก่และมีควำมส�ำคัญวิหำรเก่ำของ วัดใต้บูรพำรำม ตั้งอยู่ระหว่ำงโบสถ์ หลังใหม่และศำลำกำรเปรียญ โบสถ์ หลั ง เก่ ำ นี้ มี พ ระประธำนหั น หน้ ำ ไปทำงทิศตะวันตก ต่ำงจำกโบสถ์ ในปั จ จุ บั น ที่ ป ระตู โ บสถ์ แ ละพระ ประธำนหันหน้ำไปทำงทิศตะวันออก เชื่อกันว่ำวัดใต้บูรพำรำม เป็นวัด ที่สร้ำงหลังวัดเหนือ โบสถ์วัดเหนือ มี ห ลวงพ่ อ ใหญ่ วิ ห ำร เป็ น องค์ พระประธำนเป็นที่สักกำระของประชำชนทั่วไป เมื่อมีกำรสร้ำงโบสถ์หรือสิม ที่วัดใต้ บูรพำรำม ด้วยควำมเคำรพ จึงได้สร้ำงพระประธำนหันหน้ำไปหำหลวงพ่อใหญ่วิหำร เพื่อเป็นกำรแสดงควำมเคำรพ
วัตถุมงคล เหรียญที่ระลึกในงำนสร้ำงพระประธำนวัดใต้บูรพำรำม พ.ศ.๒๕๐๔, พระพุทธ แสนสมบัติรัตนบุรี สร้ำงเนื่องในโอกำสสร้ำงอุโบสถวัดใต้บูรพำรำม พ.ศ.๒๕๐๔ และสมเด็จสุรินทร์ สร้ำงขึ้นที่วัดใต้บูรพำรำม พ.ศ.๒๕๑๓ เป็นพระเครื่องที่มีชื่อ เสียงมีผู้ต้องกำรสะสมกันมำก 162 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (เจริญ สุวฑฺฒโน)
Wat Tai Burapharam Location Moo 1, Rattanaburi Sub-district, Rattanaburi District, Surin Province To Go There The temple is 73.5 kilometres from Surin City. Follow the route number 214 (Surin - Tha Tum) around 53.6 kilometres. Then turn right on to route number 2076 (Rattanaburi - Si Sa Ket) for around 19 kilometres. The temple will be on the right hand side.
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
163
History of the temple Wat Tai Burapharam, Rattanaburi Sub-district, Rattanaburi District, Surin Province, was built in 1813. It is an old and important temple. The old Viharn (assembly hall) of the temple is located between the new Ubosot (ordination hall) and the Pavilion hall. It houses the principal Buddha image that faces the West which is different from the new Ubosot where the gate and the principal Buddha image face the East. It is believed that this temple was built after Wat Nuea. Inside the Ubosot of Wat Nuea, there is Luang Por Yai Viharn as the principal Buddha image which is respected by the general public. When building the Ubosot (called Sim in dialect) at Wat Tai Burapharam, with respect of the people, the principal Buddha image was built facing Luang Por Yai Viharn to show their respect. 164 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Sacred Object s of Luang Pu Heng Commemorative coins during the construction of the principal Buddha image of Wat Tai Burapharam in 1961, Phra Buddha Saen Sombut Rattanaburi which was built during the construction of Ubosot of Wat Tai Burapharam in 1961, and Somdet Surin (amulet) which was made at Wat Tai Burapharam in 1970 and popular for collecting.
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
165
166 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
วัดโพธิ์ศรีธาตุ ที่ตั้ง บ้านธาตุ ต�าบลธาตุ อ�าเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ การเดินทาง ห่างตัวเมืองสุรินทร์ ใช้ทางหลวงหมายเลข ๒๑๔ ถนนสาย สุรินทร์ - ท่าตูม ถึงอ�าเภอท่าตูมแล้วเลี้ยวขวา เข้าสู่ถนนหมายเลข ๒๐๗๖ ถนนสายรัตนบุรี - ศรีสะเกษ ไปประมาณ ๒๗.๕ กม. จะถึงวัดโพธิ์ศรีธาตุ ความส�าคัญ วัดโพธิ์ศรีธาตุ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๒ ปลายกรุงธนบุรี ในอดีตเป็นปราสาทขอม โบราณ พบฐานศิลาแลง ที่สร้างขึ้นเพื่อประกอบพิธีกรรมทางศาสนา และมีพระศรีนคร เตาท้าวเธอ เคยครองเมืองรัตนบุรี สมัยกรุงศรีอยุธยา ปัจจุบันมีพระธาตุมณฑป ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ พระอรหันตธาตุ และ พระพุทธบาทจ�าลองไว้กราบไหว้สกั การะบูชา ซึง่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงเสด็จ พระราชด�าเนินฯ มาบรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุดว้ ยพระองค์เอง เมือ่ วันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๑๙ และต่อมาเมือ่ พระอุโบสถได้รบั การบูรณะใหม่ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยาม มกุฎราชกุมารทรงเสด็จมายกช่อฟ้าพระอุโบสถ เมื่อวันที่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๓๐ “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
167
168 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
169
ประวัติ หลวงปู่เขียว ธมฺมทินฺโน ต�ารับชานหมากสมานแผล หลวงปูเ่ ขียว ธัมมทินโน นามเดิม เขียว แก้วสิงห์ เกิดเมือ่ วันที่๓๐กันยายน ๒๔๕๔ ณบ้านยางต�าบลธาตุ อ�าเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ เมื่ออายุ ๒๐ ปี ได้ อุปสมบท ที่วัดสว่าง บ้านยาง โดยมีพระครูจันทร์ ธัมมสโร เป็นพระอุปัชฌาย์ ได้รับฉายา นามว่า ธัมมทินโน ได้อยู่จ�าพรรษาที่วัดสว่าง เพื่อศึกษา เล่าเรียนพระธรรมวินัยและพระปริยัติธรรม จนสอบ ได้เปรียญธรรม ๔ ประโยค ได้รับต�าแหน่งเป็นครู พระปริยัติธรรมและต�าแหน่งเจ้าอาวาสวัดวัดโพธิ์ ศรีธาตุ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๐๕และปี พ.ศ.๒๕๐๖ ได้รับ เลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระครูรัตนพุทธิคุณ 170 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
หลวงปู่เขียว ได้ศึกษาเล่าเรียนวิชาอาคมจากพระเกจิอาจารย์ชื่อดังหลายท่าน จึงมีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาคม เมตตา แคล้วคลาด ตลอดทั้งช�านาญด้านสมุนไพร เมือ่ ชาวบ้านในพืน้ ทีเ่ กิดการเจ็บป่วย มักจะรีบไปหาหลวงปูเ่ ขียว เพือ่ ท�าการรักษา ท่าน จะเคีย้ วหมากเสกเป่าด้วยอาคม และใช้ชานหมากประคบสมานแผล จนอาการจะค่อย ทุเลาและหายไปในเวลารวดเร็ว ชาวบ้านให้ความเลื่อมใสศรัทธาเป็นอย่างสูง พ.ศ.๒๕๔๖ หลวงปู่เขียวเริ่มอาพาธ เข้ารับการรักษาเรื่อยมาจนกระทั่ง ในวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๔๖ หลวงปู่เขียว ได้มรณภาพ อายุ ๙๒ ปี ๗๒ พรรษา ปัจจุบันตั้งศพ บรรจุไว้ในโลงแก้วในวิหาร เพื่อให้สาธุชนที่เคารพศรัทธาได้เข้ากราบนมัสการ
วัตถุมงคล วัตถุมงคลของหลวงพ่อเขียว ไม่ว่าจะเป็นรุ่นใดก็จะได้รับความนิยมสูง จากบรรดาเซียนพระ สิ่งที่ไม่ควรพลาด เทศกาลไว้พระธาตุประจ�าปี ทางวัดจัดขึ้นให้มีงานนมัสการพระบรม สารีรกิ ธาตุ พระอรหันตธาตุ พระพุทธบาทจ�าลอง ในวันขึน้ 15 ค�า่ เดือน 3 (วันมาฆบูชา) ของทุกปี “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
171
172 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Wat Pho Sri That Located on Ban That, That Distrcit, Amphoe Rattanaburi, Surin Province To Go There Route 214 Surin-Tha Tum, turn right from Amphoe Tha Tum to Route 2076 Rattanaburi-Srisaket for 27.5 km to Wat Pho Sri That
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
173
Wat Pho Sri That was constructed in 1779, late Thonburi period. Previously, it was a Khmer Prasat, built for performing religious ceremonies. At present, the temple has Phra That Mondop for containing Buddha’s relics and replica of Buddha’s footprint, in which, contained by His Majesty the King on May 13, 1976. After the renovation of the temple, the gable apex ceremony was performed by HRH Crown Prince on November 4, 1987. Luang Por Kheaw Dhammathinno and his curing bagasse His previous name was Kheaw Keawsing, born on September 30, 1911 at Ban That District, Amphoe Rattanaburi, Surin Province. He was ordained as a Bhikku at Wat Sawang and studied Dharma, became a teacher and later promoted as the abbot of Wat Pho Sri That in 1962 and Phra Khru Rattanabhuddhikhun in 1963. 174 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
175
Luang Por Kheaw was a proficiency in magical practices and ancient medicines. When local people got sick and went to see him, they were cured by magical bagasse. As a result, the locals had strongly faith in Luang Por and his curing bagasse.
176 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
In 2003, Luang Por Kheaw was sick and died on July 4, 2003 at age 92. At present, his body is still in glass coffin at Vihara for veneration of respected people. Significant event: Annual Buddha’s relic veneration ceremony held on Makha Bucha Day “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
177
178 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
วัดป่าดงคู ตั้งอยู่ที่ หมู่ ๙ ต�ำบลโชคเหนือ อ�ำเภอล�ำดวน จังหวัดสุรินทร์ การเดินทาง อยู่ห่ำงจำกตัวเมืองสุรินทร์ ๓๓ กม. ใช้ทำงหลวงหมำยเลข ๒๒๖ วิ่งต่อไป ยังทำงหลวงหมำยเลข ๒๐๗๗ สุรินทร์ - สังขะ ประมำณ ๒๘.๕ กม. แล้วเลี้ยวขวำเข้ำ มำประมำณ ๑.๓ กม.ถึงวัดป่ำดงคู หลวงพ่อกิม ทีปธมฺโม มีชื่อเสียงในด้านจิตภาวนา หลวงพ่อกิม ทีปธัมฺโม (ลูกศิษย์หลวงปู่ดูลย์ อตุโล วัดบูรพำรำม) วัดป่ำดงดู อ�ำเภอล�ำดวน จังหวัดสุรินทร์ นำมเดิม นำยกิม โพธิ์ทอง เกิดเมื่อปีกุน พ.ศ. ๒๔๗๘ ณ บ้ำนระไซร์ ต�ำบลสลักได อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ ในวั ย เด็ ก มี สุ ข ภำพที่ ไ ม่ แ ข็ ง แรง ปี พ.ศ.๒๕๐๐ ได้ แต่งงำนมีครอบครัว วันหนึ่งในปี พ.ศ.๒๕๒๐ เกิดควำม สงสัยว่ำที่บ้ำนของครูละเมด ท�ำไมมีคนเข้ำออกอยู่เป็น “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
179
ประจ�ำ จึงตำมไปดูและแอบฟังอยู่ห่ำงๆ ได้ยินเขำพูดถึงกำรหลับตำแล้วว่ำ พุธโธ พุธโธ ในค�่ำคืนนั้นจึงนั่งแล้วท�ำอย่ำงที่ได้ยินมำ ตำมรู้ลมหำยใจเข้ำออก จนรู้ชัด กำยเริ่ ม สว่ ำ งเพี ย งครึ่ ง เดี ย วอี ก ครึ่ ง หนึ่ ง มื ด รู ้ สึ ก ตกใจแต่ ก็ ยั ง ตำมดู ต ่ อ ก็ เ ริ่ ม เห็ น หลอดลม ตับ ไต ไส้ พุง นั่งพิจำรณำอยู่นำนจึงถอนออกจำกสมำธิ เป็นกำรนั่งครั้งแรก จนกระทั้งอำยุ ๔๓ ปี ได้อุปสมบท ณ พระอุโบสถวัดบูรพำรำม โดยมีหลวงปู่ดูลย์ อตุโล เป็นพระอุปัชณำย์ เมื่อวันที่ ๑๙ ตุลำคม ๒๕๒๑ ได้มำอยู่ที่วัดป่ำดงคู ศึกษำ พระธรรมวินัยและปฏิบัติอย่ำงเคร่งครัด เร่งควำมเพียรเพรำะบวชเมื่ออำยุมำกแล้ว ปี พ.ศ.๒๕๒๖ หลวงปู่ดูลย์ ท่ำนได้พูดถึงหลวงพ่อกิม ว่ำ “พระกิม มีที่พึ่งของตน แล้วมีศรัทธาอยู่แล้ว” ปี พ.ศ.๒๕๒๘ ออกเดินธุดงค์ไปยังไปยังจังหวัดนครพนม มุกดำหำร ขอนแก่น อุบลรำชธำนี ในระหว่ำงธุดงค์นั้นได้ไปกรำบหลวงปู่หล้ำ เขมปัตโต ที่ภูจ้อก้อ และ หลวงปูจ่ ำม มหำปุญโญ วัดป่ำบ้ำนห้วยทรำย ธุดงค์จนถึงถ�ำ้ กวงแล้วจึงกลับสุรนิ ทร์ และ ยังคงเร่งเพียรภำวนำปฏิบัติอย่ำงไม่หยุด จนกระทั่งปี พ.ศ.๒๕๓๑ หลวงพ่อมีสุขภำพ ไม่ดี ท�ำกำรรักษำอย่ำงต่อเนื่อง จนกระทั่งมรณภำพเมื่อวันที่ ๑๔ กุมภำพันธ์ ๒๕๔๐ ณ วัดป่ำดงคู 180 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ปัจจุบันภำยในวัดป่ำดงคู มีบรรยำกำศที่แวดล้อมด้วยต้นไม้มีควำมเงียบสงบ ภำยในบริเวณวัดมีพิพิธภัณฑ์ หลวงพ่อกิม ไหว้พระบรมสำรีริกธำตุและพระธำตุ และ เครื่องอัฐบริขำรหลวงพ่อกิม ที่มีควำมเป็นอยู่เรียบง่ำย อีกทั้งเป็นแบบอย่ำงด้ำนควำม เพียรภำวนำและเป็นทีพ่ งึ่ ทำงจิตใจของชำวอ�ำเภอล�ำดวนและใกล้เคียง ด้วยบรรยำกำศ ที่ร่มรื่น ผู้ที่มีควำมสนใจสำมำรถเดินทำงมำปฏิบัติธรรมได้ ณ สถำนที่แห่งนี้ มรดกธรรมหลวงพ่อกิม ปรำรถนำควำมจริงต้องค้นหำควำมจริง ให้คนอืน่ ช่วยไม่ได้ ช่วยให้มที รัพย์ สมบัติก็ช่วยได้ แต่ช่วยบุญ ช่วยกุศลไม่ได้ ใครท�ำใครได้ ใครไม่ท�ำใครไม่ได้ ใคร ท�ำดีย่อมได้ดี ใครท�ำชั่วก็ได้ชั่ว ผู้ที่สร้ำงเองย่อมได้รับผลเอง “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
181
182 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Wat Pa Dong Ku Location Moo 9, Choke Nua Subdistrict, Lamduan District, Surin Province. To Go There 33 kilometres from the downtown of Surin. Take Highway No. 226. Drive about 28.5 kilometres more on Highway No. 2077 (SurinSangkha). Take the right turn and drive about 1.3 kilometres and Wat Pa Dong Ku will be seen. Luang Por Kim Tipathammo has a reputation for his meditation techniques. Luang Por Kimtipathammo (the student of Luang Pu Doon) of Wat Pa Dong Ku in Lamduan District, Surin Province. His original name was Kim Pothong. He was born in 1935, the year of Pig, at Ban Rasai, Salakdai Sub-district, Muang District, Surin Province. When he was young he was not healthy. In 1957, he got married. One day, in 1977, he wondered why many people kept visiting Khru Lamed’s place; so he went there to eavesdrop. Hearing people talking about closing eyes and reciting “putto putto” at the place, Kim did as he heard; he examined his in and out breathing. When he understood clearly, he saw half of his body turning transparent. Although he was frightened, he continued on and started to see his own trachea, livers, kidneys, stomach and intestines. He was in his first meditation for a long time before stopping the process. On October 18,1978, at the age of 43, he was ordained as a monk at Wat Buraparam, “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
183
having Luang Pu Doon Atulo as his preceptor. Since he was ordained as a monk when he was old, when he resided at Wat Dong Ku, he tried hard to practice and follow strict Buddhist disciplines and etiquette. In 1983, Luang Pu Doon said of Luang Por Kim: “He has his refuge and faith.” In 1985, during his pilgrimage to Nakhon Phanom, Mukdahan, Khon Kan and Ubonratchathani, Luang Por Kim paid a visit to Luang Pu La Khempatto at Pu Joko and Luang Pu Jam Mahapanyo at Wat Pa Huay Sai. Before returning to Surin, his last pilgrimage destination was Tamguang. Luang Por Kim had never stopped practicing the dharma until he started to fall ill in 1988. He underwent constant treatment until he passed away at Wat Pa Dong Ku on February 14,1997.
184 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
At present, Wat Pa Dong Ku has a peaceful atmosphere with trees. In addition to worshiping Lord Buddha’s relics, visitors can visit the museum where Luang Por Kim’s eight necessities are exhibited. The exhibition shows Luang Por Kim’s easy living, perseverance in dharma practice and status as the spiritual center for the residents of Lamduan District and neighboring areas. The peaceful atmosphere is open to people with the interest in dharma practice. The Moral Teaching of Luang Por Kim If you wish the truth, search for it by yourself since no one can help you. They cannot help you gain wealth either. Ones who make merit get merit. Ones who do not make merit do not get merit. Ones who do good deeds deserve good deeds. Ones who do bad deeds deserve bad deeds. You get what you give.
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
185
186 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
วัดอินทราสุการาม (วัดหนองยาว) ตั้งอยู่ที่ ต�ำบลกระเทียม อ�ำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ การเดิ น ทาง ห่ำงจำกตัวเมือง ๓๘ กม. ใช้ทำงหลวงหมำยเลข ๒๒๖ ประมำณ ๒ กม.เข้ำสู่ทำงหลวงหมำยเลข ๒๐๗๗ (สุรินทร์ - สังขะ) ประมำณ ๒๔.๕ กม. เลี้ยวขวำ เข้ำสู่ทำงหลวงหมำยเลข ๒๒๘๘ (ล�ำดวน-หนองยำว) ประมำณ ๑๐ กม. เลี้ยวขวำเข้ำ สู่ทำงหลวงหมำยเลข ๒๔ (ปรำสำท - สังขะ) วัดอยู่ฝั่งขวำ ประวัติ
หลวงปู่เจียม อติสโย วัดอินทรำสุกำรำม (วัดหนองยำว) ต�ำบลกระเทียม อ�ำเภอ สังขะ จังหวัดสุรินทร์ มีชื่อเสียงในด้ำนวิปัสสนำกัมมัฏฐำนและวิทยำคม “พระครูอดุ มวรเวท” หรือ “หลวงปูเ่ จียม อติสโย” พระเกจิอำจำรย์ชอื่ ดังแห่งเมือง สุรนิ ทร์ นำมเดิมว่ำ นำยเจียม นวนสวัสดิ์ (เดือมด�ำ) เกิดเมือ่ วันที่ ๑ มกรำคม พ.ศ.๒๔๕๔ ณ บ้ำนดองรุน ต�ำบลประเตียเนียง อ�ำเภอมงคลบุรี จังหวัดพระตะบอง ประเทศกัมพูชำ เมือ่ อำยุ ๒๖ ได้สมรสมีครอบครัว พ.ศ.๒๔๘๕ อพยพครอบครัว มำยังแนวชำยแดนไทย-กัมพูชำ จังหวัดสุรินทร์ ได้ฝำกตัวเป็นลูกศิษย์หลวงพ่อวำง ธัมมโชโต วัดทักษิณวำรีสิริสุข บ้ำน ล�ำดวน ต�ำบลล�ำดวน อ�ำเภอล�ำดวน จังหวัดสุรนิ ทร์ พร้อมทัง้ รับใช้หลวงพ่อวำงอย่ำงดียงิ่ “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
187
จนกระทั่ง พ.ศ.๒๕๐๑ อำยุ ๔๗ ปี จึงได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ พัทธสีมำวัดทักษิณวำรีสิริสุข โดยมี ห ลวงพ่ อ วำง ธั ม มโชโต พระเกจิ อ ำจำรย์ ชื่ อ ดั ง เรื่ อ ง วิทยำคม เป็นพระอุปัชฌำย์ ได้ รับนำมฉำยำว่ำ “อติสโย” ได้อยู่ จ�ำพรรษำ ณ วัดทักษิณวำรีฯ เพื่อ ศึกษำพระธรรมวินัย ฝึกวิปัสสนำ กัมมัฏฐำน เรียนภำษำไทย และ อุปัฏฐำกปรนนิบัติรับใช้หลวงพ่อ วำง ธัมมโชโต จนได้รับกำรถ่ำยทอดวิทยำคมต่ำงๆ เช่น กำรเสกน�้ำมนต์ เขียนแผ่นทอง และได้กรำบเป็นศิษย์หลวงพ่อเปรำะ พุทธโชติ วัดสุวรรณรัตน์โพธิยำรำม อ.ล�ำดวน เรียนกำรเขียนอักขระลงแผ่นทอง ท�ำตะกรุด วิชำเสริมสิริมงคล ให้อย่ำงครบถ้วน 188 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
เพื่ อ คอยปั ด เป่ ำ ทุ ก ข์ ภั ย ให้ ช ำวบ้ ำ นในถิ่ น จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ซึ่ ง มี ผู ้ เ จ็ บ ป่ ว ยด้ ว ยวิ ช ำ ไสยศำสตร์มนต์ด�ำเป็นจ�ำนวนมำก และท่ำน ยังออกธุดงค์ ในพื้นที่ภำคเหนือ ภำคกลำง ภำคตะวันออก ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ และ ชำยแดนประเทศลำว ได้พบกับพระอำจำรย์ หลำยท่ำนในระหว่ำงเดินธุดงค์ ได้สนทนำ ธรรมและเรียนรู้วิธีกำรปฏิบัติสมำธิภำวนำ จำกพระอำจำรย์เหล่ำนั้น เป็นเวลำ ๑๓ ปี แล้วกลับมำเข้ำพรรษำที่วัดทักษิณวำรี ในปี พ.ศ.๒๕๑๓ ชำวบ้ ำ นหนอง ยำง ได้มำนิมนต์หลวงปู่เจียมให้ไปสร้ำงวัด ที่ บ ้ ำ นหนองยำว ถนนโชคชั ย -เดชอุ ด ม ต�ำบลกระเทียม อ�ำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ “วัดอินทราสุการาม” ท่ำนจึงได้จ�ำพรรษำ อยูท่ นี่ ้ี และยังคงเผยแผ่พระพุทธศำสนำ เทศน์ อบรมญำติโยมและชำวบ้ำน หมั่นให้ทำน “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
189
รักษำศีล และปฏิบัติธรรม ใน ปี พ.ศ.๒๕๓๗ สมเด็จพระนำง เจ้ำฯ พระบรมรำชินีนำถ เสด็จ พระรำชด�ำเนินทรงเยี่ยมหลวง ปู่เจีย ม ที่วัดอินทรำสุกำรำม เป็ น กำรส่ ว นพระองค์ เพื่ อ สนทนำธรรม จำกนั้ น ยั ง คณะผู ้ ศ รั ท ธำเดิ น ทำงมำยั ง ทั่ ว ทุ ก สำรทิ ศ เพื่ อ กรำบเป็ น ลูกศิษย์ หลวงปู่เจียมยังคงให้กำรช่วยเหลือและเทศน์สอนธรรมแกญำติโยมอย่ำง ต่อเนือ่ ง จนกระทั่งวันที่ ๑ กันยำยน พ.ศ.๒๕๔๙ ท่ำนได้มรณภำพ อำยุ ๙๖ปี ๔๗ พรรษำ ปัจจุบนั คณะสงฆ์และคณะศิษย์ได้นำ� ร่ำงหลวงปูเ่ จียมบรรจุไว้ในโลงแก้ว ตัง้ ไว้ ณ ศำลำกำรเปรียญ วัดอินทรำสุกำรำมเพื่อให้ประชำชนกรำบไหว้ร�ำลึกถึงคุณงำม ควำมดี วัตถุมงคล ต่ อ มำ หลวงปู ่ เ จี ย มได้ จั ด สร้ ำ ง วัตถุมงคลขึ้นครั้งแรก เป็น “ตะกรุดโทน” ลั ก ษณะม้ ว นแผ่ น ทองสอดสำยยำงร้ อ ย กั บ สำยร่ ม และผู ก ห้ อ ยพระแก้ ว มรกต และเหรียญรูปเหมือน ซึ่งเป็นที่นิยมอย่ำง มำกด้ ำ นพุ ท ธคุ ณ เมตตำมหำนิ ย มและ แคล้วคลำดภยันตรำย และบริเวณภำยใน วัดอินทรำสุกำรำม ยังมีสถำปัตยกรรมทีผ่ สม ผสำนระหว่ำงวัฒนธรรมเขมรโบรำณให้เห็น ในเรื่องของศิลปะกำรใช้สี และรูปแบบงำน ศิลปะที่ถูกถ่ำยทอดฝีมือช่ำงท้องถิ่นที่หำชม ได้ที่วัดอินทรำสุกำรำม 190 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Wat Intra Sukaram (Wat Nong Yao) Location Kratiam Sub-district, Sangkha District, Surin Province. To Go There 38 kilometers from downtown. Take Highway No. 226. After about two kilometers on Highway No. 226, enter Highway No. 2077 (Surin-Sangkha) and drive about 24.5 kilometers more. Take the right turn into Highway No. 2288 (Lamduan-Nongyao) and drive for about 10 kilometers. Then, take the right turn into Highway No. 24 (Prasat-Sangkha). The temple is located on the right side. Biography Luang Pu Jiam Atisayo of Wat Intra Sukaram (Wat Nong Yao) Kratiam Sub-district, Sangkha District, Surin Province earned his reputation from his insight meditation and incantation. “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
191
“Phra Kroo Udomworawed” or “Luang Pu Jiam Atisayo” was a famous monk of Surin. His old name was Jiam Nuansawas (Duamdam). He was born on January 1, 1911, in Ban Dongroon, Pratianiang Sub-district, Mongkonburi District, Pratabong Province, Cambodia. At the age of 26, he got married. In 1942, he, together with his family, immigrated to Thailand-Cambodia border in Surin. He became the student of Luang Por Wang Thammachoto of Wat Taksin Waree Sirisook, in Ban Lamduan, Lamduan Sub-district, Lamduan District, Surin Province. Having served Luang Por Wang well, in 1958, when he was at the age of 47, he was ordained as a monk with the alias “Atisayo”, at Wat Taksin Wareesirisuk, with Luang Por Wang Thammachoto, the monk being famous for his incantation, as his preceptor. Residing at Wat Taksin Waree, the monk studied Buddha’s teaching, practiced insight meditation and studied Thai. While taking care of Luang Por Wang Thammachoto, he learned how to make holy water and write sacred inscription on gold plates. The monk also became the student of Luang Por Proh Puttachode of Wat Suwannarat Potiyaram in Lamduan District and studied how to write sacred inscription on gold plates, make takrood (tiny rolled metal amulet inscribed with magic words) and boost 192 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
luck. With his skills, he helped Surin people drive away their misery caused by black magic. While having gone on pilgrimage to the North, the Middle part, the East, the Northeast and Laos borders, he met with many monks with whom he had conversations on Buddhism and from whom he learned how to practice meditation. After 13 years of pilgrimage, he returned to reside in Wat Taksinwareesirisuk. “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
193
In 1970, the residents of Ban Nongyang invited Luang Pu Jiam to establish a temple in Ban Nongyao, on Chokechai-Dech Udom Road, Kratiam Sub-district, Sangkha District, Surin Province, which was later called “Wat Intra Sukaram”. Luang Pu Jiam had resided in the temple, spread Buddhism, preached to villagers, made merit, observed the precepts and practiced dharma. After Her Majesty Queen Sirikit paid a private visit to the monk in order to have conversations on Buddhism with him in 1994, people of faith came from all over the country to be his students. Luang Pu Jiam had been helping and preaching to the villagers until September 1, 2006, when he passed away at the age of 96 years, after 49 years of his monkhood.
194 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Amulets Luang Pu Jiam had arranged to have his first collection of amulets made. “Takrood Tone” is a rolled metal put in a small hose, tied to a thread, and bearing emerald Buddha images and a coin with Luang Por Jiam portrait on it. The amulet has been very famous since it is believed to bring good luck and safety. In the area of Wat Intra Sukaram, in addition to the architecture in the Ancient Khmer style as evidenced by color application, art pieces made by local craftsmen can also be found.
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
195
196 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
วัดพัฒนาธรรมาราม หรือวัดบ้านด่านช่องจอม ที่ตั้ง ต�ำบลบ้ำนด่ำนช่องจอม อ�ำเภอกำบเชิง จังหวัดสุรินทร์ การเดินทาง อยู่ห่ำงจำกตัวเมืองสุรินทร์ ประมำณ ๖๙ กม. ใช้ทำงหลวงหมำยเลข ๒๐๗๗ (สำยสุรินทร์-สังขะ) ประมำณ ๔๔ กม.จะถึงต�ำบลสะกำด แล้วเลี้ยวขวำ ไปยัง ถนน ๒๒๘๓ (สังขะ-บ้ำนด่ำน) มุ่งหน้ำไปทำงต�ำบลด่ำน เป็นระยะทำง ๑๗.๖ กม. ก็จะ ถึงวัดพัฒนำธรรมำรำม หรือวัดบ้ำนด่ำน ช่องจอม ประวัติ หลวงปู่เฮง หลวงปูเ่ ฮง ปภำโส อำยุ ๘๙ ปี เจ้ำอำวำสวัดพัฒนำธรรมำรำม (วัดบ้ำนด่ำนช่องจอม) อ�ำเภอกำบเชิง จังหวัดสุรินทร์ เกิดเดือนสิงหำคม พ.ศ.๒๔๗๐ พ่อแม่เป็นชำวกัมพูชำ อพยพมำอยูป่ ระเทศไทย ณ บ้ำนปรำสำท ต�ำบลตำอ็อง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรนิ ทร์ อำยุ ประมำณ ๑๓ ปี บวชเป็นสำมเณรและศึกษำวิชำกับพระอำจำรย์เฉิด ธัมกโร ออกธุดงค์ “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
197
ตำมแนวชำยแดนไทย-เขมร อยู่ ๑๔ เดือน แล้ว สึกออกมำ ใช้ชวี ติ แบบวัยรุน่ เป็นนักเลงจนเป็นที่ กล่ำวขำนเรียกกันว่ำ “เสือเฮง” เนือ่ งจำกมีเรือ่ งตี ฟันแทงอยูเ่ ป็นประจ�ำ แต่วำ่ ไม่มใี ครสำมำรถจับ ตัวได้เพรำะมีวชิ ำอำคม จนกระทัง่ ปี พ.ศ. ๒๔๙๒ ไปอยู่เขมร และปี พ.ศ.๒๔๙๕ กลับมำยังไทย และย้ำยไปอยู่จังหวัดจันทบุรี ได้พบกับหลวง พ่อคง สุวัณโณ วัดวังสรรพรส ต�ำบลบ่อ อ�ำเภอ ขลุง จังหวัดจันทบุรี จึงตัดสินใจบวช ศึกษำ กับหลวงพ่อคง ร�่ำเรียนคำถำคงกระพันชำตรี อักขระเลขยันต์ ภำษำขอม เขียนผงลบผง สักยันต์ ย่นระยะทำง จนช�ำนำญ หลวงพ่อคงไว้ใจให้เขียน ยันต์แทน และเข้ำร่วมปลุกเสกด้วย ต่อมำ พ.ศ.๒๕๓๒ หลวงพ่อคงอำพำธและมรณภำพ หลวงปูเ่ ฮงได้รบั แต่ง ตั้งเป็นเจ้ำอำวำสวัดวังสรรพรสแทน แต่อยู่ได้เพียง ๖ พรรษำ ก็ขอลำออกจำกต�ำแหน่งและธุดงค์ไปเรือ่ ยๆ ปัจจุบันหลวงปู่เฮงกลับมำบ้ำนเกิดที่วัดบ้ำนด่ำนช่อง จอม อ�ำเภอกำบเชิง จังหวัดสุรินทร์ หลวงปู่เฮง เป็นพระเกจิอำจำรย์ที่ชำวไทยและกัมพูชำให้ควำมนับถือมำกอีก องค์หนึ่งของจังหวัดสุรินทร์ ด้วยที่ว่ำหลวงปู่เฮงมีวิชำอำคม ช่วงที่จะสร้ำงพระอุโบสถ วัดบ้ำนด่ำนช่องจอม ท่ำนได้นั่งบริกรรมแล้วบอกกับชำวบ้ำนว่ำ ใต้ดินมีระเบิดตกอยู่ ๔ ลูก แต่มันไม่ระเบิดแล้วให้เอำพิกัดนี้สร้ำงโบสถ์ ชำวบ้ำนก็ไม่ค่อยเชื่อกันนัก เมื่อช่ำง ลงมือก่อสร้ำงตอกเสำ จึงลองให้ขุดดูก็พบลูกระเบิดจริง วัตถุมงคล เหรียญช่องจอม พระกริ่งช่องจอม พระผงช่อง จอม สร้ำงเพื่อน�ำเงินมำท�ำนุบ�ำรุงสร้ำงถำวรวัตถุ ภำยในวัดต่อไป 198 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Wat Phattana Thammaram (Wat Ban Dan Chong Chom) Location Ban Dan Chong Chom Sub-district, Kap Choeng District, Surin Province To Go There The temple is about 69 kilometres from Surin City. Follow the route number 2077 (Surin - Sangkha) for around 44 kilometres, until you reach Sakad Subdistrict. Then turn right onto route number 2283 (Sangkha – Ban Dan) and head to Ban Dan Sub-district for around 17.6 kilometres. Wat Phattana Thammaram or Wat Ban Dan Chong Chom will be there.
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
199
Biography of Luang Pu Heng Luang Pu Heng Pa Bhaso is 89 years old. He is the abbot of Wat Phattana Thammaram (Wat Ban Dan Chong Chom), Kap Choeng District, Surin Province. He was born in August of 1927. His parents were Cambodian, immigrated to Thailand at the area of Prasat (Khmer ruins) in Ta-Ong Sub-district, Mueang District, Surin Province. When he was 13 years old, he ordained as a novice and studied with Phra Ajahn Choed Thammakaro. He had gone for Thudong (ascetic austerities) along the Thai-Cambodian border for 14 months. Later he left the Buddhist monkhood to spend his teenage years as a gangster. He was well known as Suea Heng because no one could catch him after every fight, and because he had the black magic. In 1949, he went to stay in Cambodia. In 1952, he came back to Thailand and moved to Chanthaburi Province. He met with Luang Por Kong Suwanno, Wat Wangsapparod, Bo Sub-district, Khlung District, Chanthaburi Province. Then he decided to ordain as a monk and studied with Luang Por Kong. He learnt about invulnerable subject, occult characters, Khmer language, writing and removing magic power, making magical tattoo (talisman) as well as how to shorten the distance. Until he specialized, then Luang Por Kong allowed him to make the magical tattoo instead of him and participated in the ceremony of making sacred object together. Later in 1989, Lung Pho Kong was sick and passed away. Therefore, Luang Pu Heng had been appointed as the abbot of Wat 200 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Wangsapparod instead. He became the abbot for only 6 Phansa (period used in Buddhist Lent) and resigned from the abbot’s role. He went for Thudong journey instead and later he returned back to his hometown. Currently, he stays at Wat Ban Dan Chong Chom, Kap Choeng District, Surin Province. Luang Pu Heng is a monk of Surin Province who is highly respected by Thais and Cambodians. At the time of building the Ubosot (ordination hall) of Wat Ban Dan Chong Chom, by using his magic, he could tell the villagers that there were 4 ineffective bombs under the ground where the Ubosot would be built, but no one believed him. After following his guidelines, the villagers dug in the ground and found out the bombs where he mentioned.
Sacred Objects of Luang Pu Heng Chong Chom’s coin, Phra Kring Chong Chom (amulet), Phra Phong Chong Chom (amulet), made for the purpose of getting money to support and maintain important items and statues inside the temple.
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
201
วัดเขาศาลาอตุลฐานะจาโร ที่ตั้ง บ้านจรัส ต�าบลจรัส อ�าเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ การเดินทาง จากตัวเมืองสุรนิ ทร์ ใช้ถนนสุรนิ ทร์ –ปราสาท แยกอ�าเภอปราสาท เลีย้ วซ้าย ใช้ทางหลวงหมายเลข ๒๔ พอถึงสี่แยกอ�าเภอสังขะเลี้ยวขวา เข้าทางหลวงหมายเลข ๒๑๒๔ ผ่านอ�าเภอบัวเชด จนถึงบ้านจรัส ขับตรงเข้าไปพบวัดอยู่ฝั่งขวา 202 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ความส�าคัญ พุทธอุทยาน วัดเขาศาลาอตุลฐานะจาโร ต�าบล จรัส อ�าเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ ตั้งอยู่ในพื้นที่ ประมาณ ๑๐,๘๕๖ ไร่ ซึง่ อุดมสมบูรณ์ไปด้วยพันธุไ์ ม้,สมุนไพรหายาก และสัตว์ปา่ มีสภาพแวดล้อมเงียบสงบร่มเย็นเหมาะกับการ ศึกษาปฏิบัติธรรม และท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่ส�าคัญยิ่ง ปี พ.ศ. ๒๕๓๖ กรมป่าไม้ได้ประกาศให้เป็นเขตพุทธอุทยาน ด�าเนินโครงการส่งเสริมพระพุทธศาสนา เพื่ออนุรักษ์ป่าไม้ และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
203
โดยมี พ ระราชวิ สุ ท ธิ มุ นี (เยื้อน ขันติพโล) เป็นเจ้าอาวาส วัดเขาศาลาอตุลฐานะจาโร ในปี พ.ศ.๒๕๔๗ ส� า นั ก งานพระพุ ท ธ ศาสนาแห่ ง ชาติ ไ ด้ เ ลื อ กให้ เ ป็ น หนึ่ ง ในวั ด ที่ เ ข้ า ร่ ว ม โครงการ ปฏิบัติธรรมเฉลิมพระเกียรติ เพิ่ม ประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ านของ ข้าราชการทีส่ มัครใจมาปฏิบตั ธิ รรม โดยไม่ถือเป็นวันลา พระราชวิสุทธิมุนี (เยื้อน ขันติพโล) นามเดิม เยื้อน หฤทัยถาวร เกิดเมื่อวันที่ ๑๒ เมษายน ๒๔๙๕ ณ บ้านระไซร์ ต�าบลนาดี อ�าเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ เมื่ออายุ ๒๐ ปี ได้อปุ สมบท เมือ่ วันที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๑๕ ณ วัดบูรพาราม อ.เมือง จ.สุรนิ ทร์ (ธรรมยุต) โดยมี พระราชวุฒาจารย์ (หลวงปูด่ ลู ย์ อตุโล) เจ้าคณะจังหวัดสุรนิ ทร์เป็นพระอุปชั ฌาย์
204 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
และได้กราบฝากตัวเป็นศิษย์หลวงปู่ดูลย์ อตุโล เพื่อศึกษาปฏิบัติธรรม จากนั้น พ.ศ. ๒๕๑๖ ได้ไปได้ฝึกปฏิบัติกรรมฐานกับหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน วัดป่าบ้านตาด จังหวัดอุดรธานี จนกระทัง่ ถึงปี พ.ศ.๒๕๑๘ ได้มาประจ�าค่ายทหารทีช่ ายแดนในโครงการ “พระสงฆ์น�ำกำรทหำรเพื่อควำมมั่นคง” เพื่อปลอบขวัญทหารที่ท�าการสู้รบแนว ชายแดนไทย-กัมพูชา โดยสร้างส�านักสงฆ์ให้ไปจ�าพรรษาทีเ่ นิน ๔๒๔ ช่องพริก ต�าบลจรัส อ�าเภอบัวเชด จังหวัดสุรนิ ทร์ ต่อมาในปี ๒๕๑๙ มีกองก�าลังไม่ทราบฝ่ายบุกโจมตีหน่วย ตระเวนชายแดน ทีอ่ ยูใ่ กล้ ได้ทา� การเผาวัด ยิงระเบิดใส่พระพุทธ เผาโรงเรียน พระเยือ้ น ต้องหลบกลับไปอยู่ที่วัดบูรพาราม ๑ พรรษา จึงออกธุดงค์ไปยังเขตชายแดนพม่า แล้ว จึงกลับมาวัดบูรพาราม จังหวัดสุรินทร์
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
205
206 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
207
พ.ศ.๒๕๒๐ หลวงปู่ดูลย์ ปรารถนาจะสร้างวัดสาขาขึ้นในอ�าเภอสนม ให้ภิกษุ สามเณรได้ศกึ ษาปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน จึงมอบหมายให้พระอาจารย์เยือ้ นไปส�ารวจสถานที่ ที่เหมาะสม พระอาจารย์เยื้อนจึงตั้งปณิธานอันแน่วแน่ ในการสร้างวัด ให้ได้ส�าเร็จ สมปรารถนาของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล ครูอุปปัชฌาอาจารย์ของท่านเองคือ มีวัดสาขาอยู่ ในอ�าเภอสนม แม้ว่าจะมีอุปสรรคเกือบเอาชีวิตไม่รอดก็สู้ฝ่าฟันอุปสรรคทั้งหลายได้ อย่างไม่หวั่นไหวในฐานะพระป่า จนสามารถสร้างวัดป่าอตุโลบุญญลักษม์ ได้ส�าเร็จ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๑ ปัจจุบันพระราชวิสุทธิมุนี (เยื้อน ขันติพโล) เจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ (ธรรมยุต) จ�าพรรษาอยู่ที่วัดเขาศาลาอตุลฐานะจาโร ได้ท�าหน้าที่เผยแพร่พระพุทธศาสนา อบรม สั่งสอนธรรมะและสร้างศาสนสถานที่ส�าคัญไว้รองรับผู้มาปฏิบัติธรรม ด้วยบรรยากาศ สถานที่ร่มรื่นมีทัศนียภาพที่งดงามท�าให้เป็นที่นิยมมีนักท่องเที่ยวและผู้จิตศรัทธาเดิน ทางมายัง วัดเขาศาลาอตุลฐานะจาโร อย่างต่อเนื่อง
208 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Wat Khao Sala Atulthanajaro Buddha Park Location Ban Jarad, Jarad Sub-district, Buached District To Go There From the downtown of Surin, take Surin-Prasat Road. Take the left turn at the junction of Prasat District before taking Highway No. 24. When arriving at the intersection of Sangkha District, take the right turn and enter Highway No. 2124, passing Buached District. When arriving at Ban Jarad, drive straight and the temple is found on the right side.
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
209
Significance Wat Khao Sala Atulthanajaro Buddha Park is located in Jarad Sub-district, Buached District , Surin Province. It covers an area of about 10,865 rais (1,811 hectares). The peaceful surrounding, which is suitable for religious practices and ecotourism, contains abundance of vegetations, rare herbs and wildlife. In 1993, Royal Forest Department announced that Wat Khao Sala Atulthanajaro served as a Buddha park operating Buddhism promotion projects as well as the preservation of forest and environmental development, having Phra Kru Pawana Wittayakom (Yuen Kantipalo) as the abbot. In 2004, the temple was chosen by National Office of Buddhism to be one of the temples to participate in the project of religious practices to honor His Majesty the King which was arranged for the government officials who were willing to join on the condition that their work leave days were not cut.
210 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Phra Rachawisuttimunee (Yuen Kantipalo), whose real name is Yuen Haruthaithawon, was born on April 12, 1952, in Ban Rasai, Nadee Sub-distict, Muang District, Surin Province. He was ordained as a novice at the age of 20 on April on April 16, 1973, at Wat Buraparam, Muang District, Surin Province (Dhammayuttika Sect), having Phra Phra Rachawuttajarn (Luang Pu Doon Adhulo), Surin’s lord abbot during that period of time, as his “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
211
212 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
213
preceptor. In 1973, Yuen Kantipalo learned how to practice meditation from Luangta Maha Bua Yanasampanno at Pabantard Temple, Udonthani Province. In 1975, in order to encourage the soldiers stationed along the Thai-Cambodian border under the project called “Secure Army through Monks”, he resided at a monastery built at Hill 424, Chong Prik, Jarad Sub-district, Buached District, Surin Province. In 1976, since an unknown force attacked the border patrol unit nearby and burned the school, the temple and the main Buddha image, Pra Achan Yuen Kantipalo was obliged to go back to Buraparam Temple. He had resided at the temple for three months before going on pilgrimage to Myanmar’s border. Finally, he returned to reside at Buraparam Temple in Surin Province.
214 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
In 1977, Luang Pu Doon had wished to have a branch of his temple established in Sanom District for novices to have a place to practice meditation, he, therefore, had Phra Achan Yuen, who determined to fulfill the desire of Luang Pu Doon Adhulo, his preceptor, look for a suitable location. Despite the obstacles that almost cost the life of the forest monk, Phra Achan Yuen had Atulo Boonyalak Forest Temple built in 1988, At present, Phra Rachawisuttimunee (Yuen Kantipalo) Surin’s Lord Abbort a Buddhis monastery (Dhammyuttika), resides at Wat Khao Sala Atulthanajaro. In the religious buildings he had built, he is in charge of spreading Buddhism and lecturing Buddha’s teaching. With its peaceful atmosphere and beautiful scenery, Wat Khao Sala Atulthanajaro has constantly drawn tourists and people of faith.
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
215
วัดโคกกรม ที่ตั้ง วัดโคกกรม ต�ำบลจีกแดก อ�ำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ การเดินทาง อยู่ห่ำงจำกตัวเมืองสุรินทร์ ๔๙ กม. ใช้เส้นทำงหลวงหมำยเลข ๒๑๔ (สุรนิ ทร์ - ปรำสำท) เลีย้ วซ้ำยบริเวณแยกพัฒนำนิคมสร้ำงตนเอง เข้ำสูถ่ นนสำย ๒๓๙๗ ประมำณ ๓ กม.สังเกตป้ำยวัดโคกกรม เลี้ยวซ้ำย ขับตรงไปจะถึง วัดโคกกรม 216 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ประวัติ
พระครูอำภัสร์ธรรมคุณ (บุญรอด อำภัสสโร) นำมเดิม ชือ่ บุญรอด ทะลัยรัมย์ เกิดเมือ่ วันที่ ๑ มกรำคม ๒๔๙๒ บ้ำน เลขที่ ๕๖ หมูท่ ี่ ๔ ต�ำบลเพีย้ รำม อ�ำเภอเมืองสุรนิ ทร์ จังหวัด สุรินทร์ อุปสมบท เมื่อวันที่ ๑๗ พฤษภำคม ๒๕๑๔ ปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่งทำงพระสังฆำธิกำรป็นเจ้ำอำวำสวัดโคกกรม ต�ำบลจีกแดก อ�ำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรนิ ทร์ และเจ้ำคณะ ต�ำบลโคกกลำง อ�ำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ เป็นพระ เกจิเถรำจำรย์ผู้ทรงวิทยำคุณแห่งดินแดนอีสำนใต้ ความส�าคัญ หลวงพ่อรอด คือ พระหมอแห่งอ�ำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรนิ ทร์ ทีว่ ดั โคกกรม จะมี อำคำรส�ำหรับเก็บยำสมุนไพร โดยบรรจุในขวดโหลขนำดใหญ่เรียงตำมหลักอนุกรม ยำที่ท่ำนก�ำหนดเองกว่ำ ๒๐๐ ชนิด ซึ่งบริเวณอ�ำเภอปรำสำทไป จรดช่องชำยแดนที่ ชื่อช่อง (โพลว) จอมทุมเพ็ก เป็นแหล่งที่มีพืชสมุนไพรมำกกว่ำร้อยชนิด ซึ่งท่ำนเป็นผู้มี ควำมรู้ควำมเชี่ยวชำญในด้ำนใช้สมุนไพรรักษำโรคได้เป็นอย่ำงดี จนเป็นที่เลื่องลือใน กลุ่มชำวเขมร จังหวัดพระตะบอง ประเทศกัมพูชำ เดินทำงมำรักษำเป็นจ�ำนวนมำก เดินทำงไปมำ ระหว่ำงไทยกัมพูชำ ผ่ำนช่องโอรเสม็ด-ช่องจอม และเป็นทีร่ จู้ กั ในถิน่ ชำว “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
217
อีสำนใต้ ส�ำหรับกำรรักษำคนไข้แบบ แพทย์พื้นบ้ำนนั้น หลวงพ่อรอดอุทิศ ตนเพื่ อ ในแต่ ล ะวั น เพื่ อ ให้ ค วำมช่ว ย เหลืออนุเครำะห์ผู้เจ็บป่วยแต่ละคนให้ เข้ำใจธรรมะ เข้ำใจบุญ เพือ่ เตือนสติวำ่ บุญรักษำ ธรรมะคุม้ ครอง รวมทัง้ อธิบำย ตั ว ยำ และกำรผสมและรั บ ประทำน ยำ ปั จ จุ บั น วั ด โคกกรม อยู ่ ร ะหว่ ำ ง ด� ำ เนิ น กำรก่ อ สร้ ำ งศำนสถำน จึ ง มี วัตถุมงคลให้ผู้มีจิตศรัทธำได้เช่ำบูชำ และร่วมท�ำบุญในกำรสร้ำงถำวรวัตถุ ในครั้งนี้ด้วย หลวงพ่ อ รอด ยั ง เป็ น พระนั ก ปฏิบัติภำวนำ อย่ำงต่อเนื่อง จนเป็นที่ ขึ้นชื่อหนึ่งในเกจิดังแห่งภำคอีสำนใต้ และเป็นพระหมอที่เชี่ยวชำญในกำรรักษำและ มีควำมรู้ด้ำนสมุนไพรเป็นอย่ำงดี พร้อมด้วยคำถำอำคมที่พร้อมไปด้วยพลังจิตที่แกร่ง กล้ำ เมตตำให้ควำมช่วยเหลือผู้ทุกข์ยำก
218 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Wat Khok Krom Location Wat Khok Krom is located in Jeekdak Sub-district, Phanom Dong Rak District, Surin Province. To Go There : The temple is 49 kilometres from the downtown of Surin. Take Highway No. 214 (Surin-Prasat). Take the left turn at Phattananikom Sangtoneng Junction. Get into the road No. 2397, drive for about 3 kilometres more. When you see the sign written “Wat Khok Krom”, take the left turn and drive straight on and Wat Khok Krom can be seen. Biography The original name of Phrakroo Apatthammakoon (Boonrod Apassaro) is Boonrod Thalairam. He was born on January 1, 1949, at 56 Moo 4, Piaram “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
219
Sub-district, Muang Surin District, Surin Province. He was ordained as a monk on May 17, 1971. At present, Phrakroo Apatthammakoon is the abbot of Wat Khok Krom in Jeekdak Sub-district, Phanom Dong Rak District, Surin Province and lord abbot of Khok Klang Sub-district, Phanom Dong Rak District, Surin Province. He is regarded as the knowledgeable master of South Isan (the Northeast of Thailand). Significance Luang Por Rod is regarded as the doctor of Phanom Dong Rak District, Surin Province. Wat Khok Krom has a building used for storing herbs. More than 200 drugs kept in big jars are classified by the number series set by Luang Por Rod. The area stretching from Prasat District to the pass called Jomtumpek contains abundance of more than 100 kinds of herbs. Luang Por Rod’s exceptional knowledge and skill in using herbs to heal is known among people in South Isan and Cambodian people in Phratabong Province, Cambodia, who cross Osamed-Jom Pass to receive treatment. Each day, Luang Por Rod dedicates himself to explaining the formula of each drug to sick people and how to use it. Not only giving them traditional treatment, he also teaches and reminds them to understand that the dharma and merit can protect them as well. At present, some buildings at Wat Khok Krom are still under construction; therefore, amulets are being distributed to people of faith who would like to be part of the construction. 220 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
In addition, Luang Por Rod has constantly practiced the dharma and is regarded as one of the famous monks in South Isan. With his skill in traditional treatment, strong mental power, ability to use incantation, he has helped suffering people with mercy.
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
221
222 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
วัดมงคลคชาราม หรือวัดช้างหมอบ ตั้งอยู่ที่ หมู่ ๑๔ ต�ำบลแนงมุด อ�ำเภอกำบเชิง จังหวัดสุรินทร์ การเดินทาง ห่ำงจำกตัวเมืองสุรินทร์ ใช้ทำงหลวงหมำยเลข ๒๑๔ (สุรินทร์ – ปรำสำท) แล้วเลี้ยวซ้ำยบริเวณแยกพัฒนำนิคมสร้ำงตนเองเข้ำถนนสำย ๒๔ แล้วเบี่ยงขวำออก มำยังถนนหมำยเลข ๒๓๙๗ ไปต�ำบลแนงมุด ก็จะถึงวัดมงคลคชำรำม
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
223
224 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
225
ความส�าคัญ ท่ำนเจ้ำคุณพระพิมลพัฒนำทร หรือหลวงพ่อพวน วรมังคโล นำมเดิม พวน แก้ ว หล่ อ เกิ ด เมื่ อ วั น ที่ ๑๕ เมษำยน พ.ศ.๒๔๗๑ ณ บ้ำนตรำด หมู่ ๒ ต�ำบลคอโด อ�ำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ปัจจุบัน อำยุ ๘๗ ปี ๖๖ พรรษำ พ.ศ.๒๔๘๖ บวชเป็นสำมเณร ที่วัดคอโค (วัดสง่ำงำม) อ�ำเภอเมือง สุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ มีหลวงปู่อวง ปัจฉิมปัญโญ เป็นพระอุปัชฌำย์ พ.ศ. ๒๔๙๒ ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ วัด สง่ำงำม (วัดคอโค) อ�ำเภอเมืองสุรนิ ทร์ พระครูโสภณคณำนุรักษ์ วัดประทุม ศรัทธำ เป็นพระอุปัชฌำย์ หลวงพ่อ พวนได้ศึกษำปฏิบัติธรรมกับหลวงปู่ อวงและหลวงปูม่ ำ ปีพ.ศ.๒๕๑๗ หลวง พ่อพวน ธุดงค์ไปปฏิบตั ธิ รรมอยูบ่ นเนิน เขำพนมดงรัก ติดชำยแดนไทยกัมพูชำ เนือ่ งด้วยมีควำมสงบตำมธรรมชำติ ได้ พ�ำนักปฏิบัติธรรมในถ�้ำใกล้ๆ ท่ำนมี ควำมรู้สึกว่ำสถำนที่แห่งนี้เป็นสถำนที่ ศักดิ์สิทธิ์มำก ท่ำนเดินทำง ไปๆ มำๆ ระหว่ำงวัดมงคลรัตน์ และวัดแห่งนี้ จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๒๗ คิดว่ำถึงเวลำ สมควรแล้ว จึงได้พ�ำนัก และด�ำเนิน กำรสร้ ำ งเป็ น วั ด มงคลคชำรำม(วั ด ช้ำงหมอบ) จำกกำรที่หลวงพ่อพวน ได้ปฏิบัติกัมมัฏฐำน ในช่วงกลำงคืนมี 226 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
แสงสว่ำงขึ้นมำเป็นแสงหลำยสี สว่ำงอยู่เหนือยอดไม้ ซึ่งชำวเขมรฝั่งกัมพูชำก็เห็นเช่น กัน จึงคิดว่ำวัดมีไฟฟ้ำใช้ จึงได้พำกันขึ้นมำขอไฟฟ้ำใช้บ้ำง แต่เมื่อมำถึง ก็เห็นเป็นวัด เล็กๆ ไม่มีไฟฟ้ำแต่อย่ำงใด จนกระทั่งมีต้นตะเคียนอยู่ใกล้ๆ โค่นลงมำทับก้อนหินแตก ท�ำให้เห็นรอยพระพุทธบำทชัดเจนขึน้ พบเป็นรอยพระพุทธบำททีอ่ ยูเ่ หนือถ�ำ้ ซึง่ เป็นถ�ำ้ ที่หลวงพ่อพวนนั่งบ�ำเพ็ญเพียรวิปัสนำกัมมัฏฐำนอยู่เป็นประจ�ำ หลวงพ่อพวน วรมังคโล ได้ท�ำกำรก่อสร้ำงพระปรำงค์ ปรำงค์กุญชรมณีศรีไตร ยอดเพชร เพือ่ ประดิษฐำนพระบรมสำรีรกิ ธำตุขององค์สมเด็จพระสัมมำสัมพุทธเจ้ำ และ พระสำรีริกธำตุของพระอริยสงฆ์และพระธำตุที่เสด็จมำและเก็บไว้ที่วัดมงคลคชำรำม ดินแดนอันศักดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งนีเ้ พือ่ สืบทอดพระพุทธศำสนำและให้พทุ ธศำสนิกชนได้เคำรพ บูชำสักกำระได้ตลอดไป และพัฒนำเป็นสถำนที่ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของจังหวัด สุรินทร์อีกแห่งหนึ่ง
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
227
228 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ห
ลวงพ่ อ พวน วรมั ง คโล เป็ น เกจิ อ ำจำรย์ ชื่ อ ดั ง ของอี ส ำนใต้ เป็ น พระสุ ป ฏิ ป ั น โน เมตตำธรรมสู ง พุทธศำสนิกชนนิยมไปกรำบนมัสกำร เพื่อควำมเป็นมงคลแก่ชีวิต ขอพรและ ขอบำรมีคุ้มครองจำกหลวงพ่อ ซึ่งเป็น ที่เชื่อกันว่ำ หำกใครได้รับพร ซึ่งท่ำนมี วำจำศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ แ ละน�้ ำ มนต์จำกหลวง พ่อจะเป็นผูโ้ ชคดี ได้สงิ่ ทีป่ รำรถนำดัง่ ใจ
วัตถุมงคล วัตถุมงคลทุกรุ่นของหลวงพ่อพวน เป็นที่นิยมเก็บไว้มำบูชำเพื่อเป็นสิริมงคล สิ่งที่พลาดไม่ได้ สักกำระพระบรมสำรีริกธำตุ เพื่อควำมเป็นสิริมงคล และรอยพระพุทธบำท ขอพรให้ได้สมใจตำมปรำรถนำ “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
229
230 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
231
Wat Mongkhonkhacharam or Wat Chang Mop Located on Mu 14, Naeng Mut District, Amphoe Kap Choeng, Surin Province Destination From Surin Municipal, use Route 214 (Surin-Prasat) and turn left at the square to Road no. 24, turn right to Road no. 2397 to Naeng Mut Dustrict and Wat Mongkhonkhacharam. Phra Phimonphatanathon or Luang Por Phuan Woramongkhalo has was previously named Phuan Keawlo, born on April 15, 1928 at Kho Do District, Amphoe Mueang Surin, Surin Province, and age 87 at present. In 1949, he was ordained as a Bhikkhu at Wat Sangangam, Amphoe Mueang Surin and studied
232 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Dharma with Luang Pu Auang and Luang Pu Ma. Later in 1974, Luang Por Phuan went to stay at the hill of Phanom Dong Rak Mountain Range, close to the Cambodian border, and constructed a temple in 1984 as Wat Mongkhonkhacharam (Wat Chang Mop). Later, Buddha’s footprint was discovered above the cave Luang Por Phuan used for meditation.
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
233
234 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Luang Por Phuan Woramongkhalo constructed a prang for containing Buddha’s relic at Wat Mongkhonkhacharam for veneration of Buddhists and later the place was developed into a tourist attraction of Surin Province. Luang Por Phuan is one of the well-known monks of southern Isan, famous for his kindness, votive tablets and magical water. Paying homage to him would bring luck and success. Wat Mongkhonkhacharam is the place where tourists could venerate Buddha’s relics as well as Buddha’s footprint for auspiciousness.
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
235
236 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
วัดป่าเขาโต๊ะ ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ ๑๓ ต�ำบลบักได อ�ำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ การเดินทาง ใช้ทำงหลวงหมำยเลข ๒๑๔ (สุรินทร์ - ปรำสำท- กำบเชิง) ผ่ำนอ�ำเภอ ปรำสำท พอถึงหลักกิโลเมตรที่ ๔๔ สำมแยกให้เลี้ยวขวำ ไปทำงหลวงหมำยเลข ๒๒๔ จนถึงหลักกิโลเมตรที่ ๓๕ ให้เลี้ยวซ้ำยไปตำมทำงหลวงหมำยเลข ๒๔๐๗ ผ่ำนบ้ำน ไทยสันติสุข แล้วเลี้ยวซ้ำยเข้ำไปอีก ๑๖ กม. ก็จะถึงวัดป่ำเขำโต๊ะ จุดสังเกตให้ขับตำม ป้ำยบอกทำงไป ปรำสำทตำควำย
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
237
ความส�าคัญ วัดป่ำเขำโต๊ะ สร้ำงขึ้นเมื่อวันที่ ๒๘ พฤษภำคม ๒๕๒๘ โดยมีพระครูพนมศีลำจำรย์ หรือ วสันต์ วังคีโส (จิตรสมำน) ลูกศิษย์หลวงปู่ ดูลย์ อตุโล ได้บุกเบิกก่อสร้ำง วัดป่ำเขำโต๊ะ บน เนื้อที่ ๑,๗๐๐ ไร่ บริเวณโดยรอบเป็นภูเขำ เรียกว่ำ เขำโต๊ะ เนื่องจำกมีรูปร่ำงคล้ำยโต๊ะ คำดว่ำจะเป็น หินในหมวดหินภูกระดึงมีอำยุในยุคจูเรสซิกตอน กลำงถึงตอนปลำย (ประมำณ ๑๔๕ – ๒๒๕ ล้ำนปี) จะมีเพิงหิน และลำนหินทรำยสีชมพูเป็นจ�ำนวน มำก ทีม่ ลี กั ษณะคล้ำยภูพระบำท ทีจ่ งั หวัดอุดรธำนี ภูมิทัศน์โดยรอบเต็มไปด้วยต้นไม้ที่เขียวขจี แหล่ง เก็บกักน�ำ้ มีถำ�้ หินผำต่ำงๆ มีบรรยำกำศทีร่ ม่ รืน่ ด้วย ต้นไม้ตำมธรรมชำติ มีควำมสงบร่มเย็น เหมำะแก่ กำรปฏิบัติธรรมกัมมัฏฐำน 238 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
วัดป่ำเขำโต๊ะจึงเป็นพุทธอุทยำน สถำนที่ ป ฏิ บั ติ ธ รรม อบรมคุ ณ ธรรม จริยธรรม แก่พระภิกษุ สำมเณร และ พุ ท ธศำสนิ ก ชนทั่ ว ไป ซึ่ ง จะมี ค ณะ ข้ ำ รำชกำร ครู นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษำ และ นักเรียนเข้ำมำปฏิบัติธรรมอย่ำงต่อเนื่อง โดยยังมีธรรมชำติที่สมบูรณ์ เห็นได้จำก ไก่ป่ำ ที่ยังคงเดินคุ้ยเขี่ยหำกินอยู่ในป่ำ บริเวณวัด ซึ่งยังคงมีให้เห็นที่นี่ โดยไม่มี กำรเลี้ยงหรือกักขังแต่ประกำรใด สถำน ที่แห่งนี้จึงเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงพุทธ ศำสนำมีกิจกรรมบุญอยู่เป็นประจ�ำ สิ่งที่ไม่ควรพลาด เทศกำลขึ้นเขำโต๊ะประจ�ำปี ใน วันที่ ๒๘ พฤษภำคม ของทุกปี ทำงวัด จัดให้มกี ำรท�ำบุญทักษิณำนุปทำน มีกำร สรงน�้ำพระและปฏิบัติธรรม เนื่องในวัน ก่อตั้งวัดป่ำเขำโต๊ะ และมีกำรปลูกต้นไม้ ประจ�ำปีด้วย “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
239
240 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Wat Pa Khao Toh Location Wat Pa Khao Toh is located in Moo 13, Bak Dai Sub-district, Phanom Dong Rak District, Surin Province. To Go There : Take Highway No. 214 (Surin-Prasat-Kabchoeng), passing Prasat District. After passing the Kilometre stone No. 44, take the right turn at the junction. Follow Highway No. 224 until reaching the Kilometre stone No. 35. Then, take the left turn and follow Highway No. 2407, passing Ban Thai Santisook. Take the left turn and drive for 16 Kilometres more and Wat Pa Khao Toh will be found. Follow the sign telling the direction to Temple of Ta Kwai.
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
241
Significance Wat Pa Khao Toh was built on May 28, 1985. The temple was the initiation of Phrakroo Panom Srilajan or Wasan Wangkiso (Jitsaman), the student of Luang Pu Doon Atulo. The temple covers an area of 1,700 rai (283 hectares). The land is surrounded by a mountain having the shape of a table, the origin of its name “Khao Toh” (khao means table and toh means table in Thai). It is assumed that the rock is from Phu Kradung Formation from Middle-Late Jurassic (around 145-225 million years ago). A number of rock shelters and pink sandstone ground resemble those found at Phu Phra Bat in Udonthani. The temple is filled with trees, water reserves, caves and cliffs. With trees providing a peaceful atmosphere, the temple is suitable for practicing the dharma and meditation. Wat Pa Khao Toh, is a site where monks, novices and common people come to practice the dharma and join virtue and ethics seminars.
242 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Government officials, teachers and students constantly come to practice the dharma. The wild fowl walking and feeding freely in the forest near the temple is an index of natural abundance. The temple, therefore, has become a Bhuddist site where virtuous activities are always organized. Not to Be Missed On May 28, when the festival to ascend Khao Toh is held, the temple arranges ancestor veneration, bathing Buddha image ritual and dharma practices. Each year, trees are planted on this day as well since it is also the foundation day of the temple.
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
243
244 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
การเดินทางคือก�าไรของชีวิต ได้ดู ได้รู้ ได้เห็น ได้ยินกับตนเอง ยิ่งเป็น ประสบการณ์ ยิ่งได้เดินทางท�าบุญ สร้างทาน บารมี ยิ่งเป็นกุศลอันยิ่งใหญ่ การได้ท�าบุญกับพระอริยสงฆ์ผู้ซึ่งหมดกิเลสแล้วนั้นย่อมได้กุศลมากที่เดียว ยิ่ง ได้น้อมน�าหลักธรรม ค�าสอน ยึดปฏิบัติตาม ยิ่งเป็นสิริมงคลเพิ่มพลัง เพิ่มพูน แก่ชีวิตต่อผู้มีความเลื่อมใสศรัทธา Journey is an experience of life, as we see, know and hear all the truths, especially if we have a chance to travel with Dharma and make a merit with enlightened Bhikkhus. Auspiciousness would be with those who have faith in Dharma and devote themselves to Buddhist practices.
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
245
สถานที่ปฏิบัติธรรม จังหวัดสุรินทร์ ๑.วัดศาลาลอย ต.ในเมือง อ.เมือง ๒. วัดบูรพาราม ต.ในเมือง อ.เมือง ๓. วัดโยธาประสิทธิ์ ต.นอกเมือง อ.เมือง ๔. วัดป่าบวรสังฆาราม ต.นอกเมือง อ.เมือง ๕.วัดสุขุมาลัย ต.บ้านไทร อ.ปราสาท ๖.วัดป่าเทพประทาน ต.ระแงง อ.ศีขรภูมิ ๗.วัดศรีวิหารเจริญ ต.ระแงง อ.ศีขรภูมิ ๘. วัดบ้านโพธิ์ ต.หนองบัว อ.ศีขรภูมิ ๙.วัดส�าโรงน้อย ต.หนองสนิท อ.จอมพระ ๑๐.วัดป่าปราสาทจอมพระ ต.จอมพระ อ.จอมพระ ๑๑. วัดศรีพรหมอุดมธรรม ต.กระหาด อ.จอมพระ ๑๒.วัดป่าพุทธนิมิต ต.หนองสนิท อ.จอมพระ ๑๓. วัดโพธิ์ทอง ต.กระโพ อ.ท่าตูม ๑๔.วัดไทรงาม ต.เมืองบัว อ.ชุมพลบุรี ๑๕.วัดสุทธิวงศา ต.หัวงัว อ.สนม ๑๖. วัดป่าอตุโลบุญญลักษณ์ ต.สนม อ.สนม ๑๗. วัดบูรณ์สะโน ต.สะโน อ.ส�าโรงทาบ ๑๘.วัดโพธิ์ศรีวรรณาราม ต.หนองไผ่ล้อม อ.ส�าโรงทาบ ๑๙.วัดป่าดงคู ต.โชคเหนือ อ.ล�าดวน ๒๐.วัดป่าบ้านตรวจ ต.ตรวจ อ.ศรีณรงค์ ๒๑. วัดบ้านพระจันทร์ ต.ศรีสุข อ.ศรีณรงค์ ๒๒. วัดกลางศรีณรงค์ ต.ณรงค์ อ.ศรีณรงค์ ๒๓. วัดโนนสวรรค์ ต.พระแก้ว อ.สังขะ ๒๔.วัดวังปลัดสามัคคี ต.ทับทัน อ.สังขะ ๒๕. วัดโนนสมบูรณ์ ต.โคกกลาง อ.พนมดงรัก ๒๖.วัดแสงสว่างราษฎร์บ�ารุง ต.บัวเชด อ.บัวเชด ๒๗.วัดเขาศาลาอตุลฐานะจาโร ต.จรัส อ.บัวเชด 246
ตามรอยบุญ ตามรอยบุญ
วิถีธรรม วิถีพุทธ วิถีธรรม วิถีพุทธ
โทร.๐๔๔-๕๑๑๘๔๗ โทร.๐๔๔-๕๑๔๒๓๔ โทร.๐๔๔-๕๑๕๑๙๔ โทร.๐๘๙๘๖๕๐๐๔๕ โทร.๐๘๙-๖๒๖๒๓๒๒ โทร.๐๘๙-๘๒๙๙๕๓๐ โทร.๐๘๕-๑๐๕๕๐๐๓ โทร.๐๘๑-๐๖๘๑๙๙๙ โทร.๐๘๗-๒๔๑๗๕๐ โทร.๐๔๔- ๕๘๑๑๐๗ โทร.๐๘๕-๐๒๕๒๘๘๘ โทร.๐๘๗-๘๗๕๒๒๓๙ โทร.๐๘๑-๗๒๕๘๒๖๒ โทร.๐๘๖- ๘๘๑๕๖๙๒ โทร.๐๘๑-๐๗๐๐๐๖๒ โทร.๐๘๑-๕๐๔๕๕๙๔ โทร.๐๘๗-๒๔๓๕๒๓๐ โทร.๐๘๕-๓๐๔๔๖๕๔ โทร.๐๘๑-๙๕๕๖๑๐๐ โทร.๐๘๗-๐๘๐๑๗๖ โทร.๐๘๑-๖๐๐๒๒๔๗ โทร.๐๔๔-๕๐๙๐๔๙ โทร.๐๘๕-๖๑๔๙๕๕๒ โทร.๐๘๙-๔๒๖๕๕๗๒ โทร.๐๘๖-๒๔๖๖๙๔๑ โทร.๐๘๕-๖๕๖๙๙๐๙ โทร.๐๘๑-๘๑๕๓๙๗๐
Surin’s Dhamma retreat centers 1. Wat Salaloy Nai Mueang Sub-district, Mueang District 2. Wat Booraparam Nai Mueang Sub-district, Mueang District 3. Wat Pa Yothaprasit Nok mueang Sub-district, Mueang District 4. Wat Pa Bowornsangkaram Nok mueang Sub-district, Mueang District 5. Wat Sukhumalai Ban Sai Sub-district, Prasat District 6.Wat Pa Thep Prathan Ra Ngaeng Sub-district,Sikhoraphum District 7.Wat Sriviharncharoen Ra Ngaeng Sub-district,Sikhoraphum District 8.Wat Ban Pho Nhong Bua Sub-district,Chom Phra District 9.Wat Somrongnoi Nongsanit Sub-district,Chom Phra District 10.Wat Pa Prasat Chompra Chompra Sub-district,Chom Phra District 11.Wat Sriprom UdomTham Krahat Sub-district,Chom Phra District 12.Wat Pa Phuttha Nimit Nongsanit Sub-district,Chom Phra District 13.Wat Pho Thong Krapho Sub-district,Tha Tum District 14.Wat Sai Ngam Muang Bua Sub-district, Chumphon Buri 15.Wat Sutthi Wong Sa Hua Ngua Sub-district, Sanom District 16. Wat Pa Atulo Boonyalak Sanom Sub-district, Sanom District 17.Wat Bunsano Sano Sub-district,Samrong Thap District 18.Wat Si Wannaram Nong Phai Lom Sub-district,Samrong Thap District 19.Wat Pa Dong KuChoke Nua Sub-district, Lamduan District 20.Wat Pa Ban Truat Truat Sub-district, Si Narong District 21.Wat Ban Pra Chan Sisuk Sub-district, Si Narong District 22.Wat Klang Si Narong Narong Sub-district, Si Narong District 23.Wat Non Sawan Pra kaew Sub-district, Sungkha District 24.Wat Wang Palad Samakkee Thap Than Sub-district, Sungkha District 25.Wat Non Sombon Khok Khang Sub-district, Phanom Dongrak District 26.Wat Sangsawangratbumrung Buachet Sub-district, Buachet District 27.Wat Khao Sala Atulthanajaro Charat Sub-district, Buachet District
T.044-511874 T.044-514238 T.044-515194 T.0898650045 T.0896262322 T.0898299530 T.0851055003 T.0810681999 T.086518342 T.044-581107 T.0890252888 T.0878752239 T.0817258262 T.0868815692 T.081070062 T.0872435230 T.0872435230 T.0853044655 T.0819556100 T.087080176 T.0816002247 T.044-509049 T.0896149552 T.0894265572 T.0862466941 T.0856569909 T.0818153970
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
247
บันทึกธรรม
248 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
249
ถนนบ
ุรีรัมย-
วัดสงางาม Wat Sangangam
กระสัง
วัดปาบวรสังฆาราม Wat Pa Bowornsangkaram
พ
มเท
พรห
ถนน
Surin
- Pr
asa
t
วนอุทยานพนมสวาย Phanom Sawai Forest Park
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ปรา ทร สุริน 214 ถนน
วัดปราการชัยพัฒนาราม
Wat Pra Chai Patanaram ญ Kran วิถีธรรม วิถีพุทธ 250 ตามรอยบุ
สาท
วัดปาไตรวิเวก Wat Pa Trai Wiwek
วัดบานเฉนียง Wat Ban Chaneang
อนุสาวรียพระยาสุรินทรภักดี he Monument of Phaya Surin
วัดศาลาลอย Wat Sala Loy
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
251
กำรเดินทำง สุรินทร์อยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ ๔๕๗ กิโลเมตร นักท่องเที่ยวสามารถเดินทางสู่ จังหวัดสุรินทร์ได้หลายวิธี ทั้งทางรถยนต์ส่วนตัว รถประจ�าทาง และรถไฟ
โดยรถยนต์ จากกรุงเทพฯ สามารถไปได้ ๒ เส้นทางคือ
• ใช้ทางหลวงหมายเลข ๑ (พหลโยธิน) จนถึงจังหวัดสระบุรี แยกขวาเข้าสูท่ างหลวง หมายเลข ๒ (มิตรภาพ) ไปจนถึงจังหวัดนครราชสีมา จากนั้นแยกใช้ทางหลวงหมายเลข ๒๒๖ ผ่านจังหวัด บุรีรัมย์ ถึงจังหวัดสุรินทร์ รวมระยะทางประมาณ ๔๓๔ กิโลเมตร • ใช้ทางหลวงหมายเลข ๑ (พหลโยธิน) จนถึงจังหวัดสระบุรี แยกขวาเข้าสูท่ างหลวง หมายเลข ๒ (มิตรภาพ) ไปจนถึงอ�าเภอสีควิ้ แยกเข้าทางหลวงหมายเลข ๒๔ (โชคชัย-เดชอุดม) ผ่านอ�าเภอโชคชัย อ�าเภอนางรอง อ�าเภอประโคนชัย แล้วเลีย้ วซ้ายเข้าสูเ่ ส้นทางหมายเลข ๒๑๔ ที่อ�าเภอปราสาท ขับต่อไปจนถึงจังหวัดสุรินทร์ รวมระยะทางประมาณ ๔๕๐ กิโลเมตร
โดยรถประจ�ำทำง มีรถโดยสารปรับอากาศของบริษัทขนส่ง จ�ากัด และของ เอกชน สายกรุงเทพฯ-สุรินทร์ออกจากสถานีขนส่ง สายเหนือ (หมอชิต ๒) ถนนก�าแพงเพชร ๒ ทุกวัน วันละหลายเที่ยว สอบถาม รายละเอียดได้ที่บริษัท ขนส่ง จ�ากัด โทร.๑๔๙๐ www.transport.co.th
โดยรถไฟ การรถไฟแห่งประเทศไทยมีบริการ รถไฟออกจากสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวล�าโพง) ไปยัง จังหวัดสุรินทร์ ทุกวัน สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทร. ๑๖๙๐ และสถานีรถไฟสุรินทร์ โทร. ๐-๔๔๕๑-๑๒๙๖ www.railway.co.th กำรเดินทำงภำยในสุรินทร์ ในตัวจังหวัดสุรินทร์มีรถชนิดต่างๆ ให้บริการ นักท่องเที่ยว
สามารถเลือกใช้บริการยานพาหนะต่างๆ ได้หลายรูปแบบ ตามความเหมาะสม รถสองแถวมี วิง่ บริการจากสถานีขนส่งไปยังทีต่ า่ งๆ ในตัวเมือง รถสามล้อเครือ่ งและมอเตอร์ไซค์รบั จ้าง จอด อยู่ตามจุดต่างๆ ในจังหวัด เช่น หน้าตลาดเทศบาล หน้าสถานีขนส่งค่าบริการมีทั้งแบบตกลง กันตามแต่ระยะทางและแบบเหมาจ่าย
252 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
Transportation Surin is approximately 457 kilometres away from Bangkok. There are many ways for tourists to travel to Surin such as by private car, bus, or train. By private car There are 2 ways from Bangkok which are: • Use highway No.1 (Phaholyothin) until reaching Saraburi, then take a right turn to highway No.2 (Mittraphap) until reach Nakon Ratchasima, then go on highway No. 226, run through Buriram, and Surin province. The total distance is about 434 kilometres • Use highway No.1 (Phaholyothin) until reaching Saraburi, then take a right turn to highway No.2 (Mittraphap) until reach Sikiw district. After that, go on highway No.24 (Chockchai-Detudom) run through Chockchai, Nangrong, and Prakonchai district, then turn left to highway No.214 at Prasart district, keep driving to Surin. The total distance is about 450 kilometres By bus There are daily transportation Co, Ltd., and private air-conditioned buses from Bangkok to Surin leaving from North line bus station (Mochit 2) on Kampangpet 2 Rd, with many buses available each day. For more information, please call Transportation Co,Ltd. Hotline 1490, or visit www.transport.co.th By train The State Railway of Thailand offers a train from Bangkok Railway Station (Hua Lamphong) to Surin every day. For more information, call Tel. 1690 Surin and the train station. Tel. 0-4451-1295 www.railway.co.th There are many types of transportation services in Surin you can choose from for your convenience. Minibus (Song Taew) is available from the bus terminal to various places. In the city, you will find Sam Lor or Tuk Tuk and motorcycle taxi around the area such as Tesaban Marketplace and bus terminal. The price can be negotiated according to where to go or for a charter trip. “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
253
ระยะทำงจำก อ�ำเภอเมืองไปอ�ำเภอต่ำงๆ
Distance from district to district and city.
อ�าเภอเขวาสินรินทร์ อ�าเภอล�าดวน อ�าเภอจอมพระ อ�าเภอปราสาท อ�าเภอศีขรภูมิ อ�าเภอสังขะ อ�าเภอสนม อ�าเภอท่าตูม อ�าเภอกาบเชิง อ�าเภอส�าโรงทาบ อ�าเภอศรีณรงค์ อ�าเภอรัตนบุรี อ�าเภอบัวเชด อ�าเภอพนมดงรัก อ�าเภอโนนนารายณ์ อ�าเภอชุมพลบุรี
Khwao Sinrin District Lum Duan District Jomphra District Prasat District Si Khoraphum District Sang Kha District Sanom District Tha Tum District Kab Cherng District Sam Rong Tab District Si Narong District Ratana Buri District Bua Ched District Phanom Dong Rak District None Narai District Chumpol Buri District
๒๒ กิโลเมตร ๒๕ กิโลเมตร ๒๖ กิโลเมตร ๒๘ กิโลเมตร ๓๔ กิโลเมตร ๔๙ กิโลเมตร ๕๐ กิโลเมตร ๕๒ กิโลเมตร ๕๒ กิโลเมตร ๕๔ กิโลเมตร ๖๕ กิโลเมตร ๗๐ กิโลเมตร ๗๐ กิโลเมตร ๗๖ กิโลเมตร ๘๐ กิโลเมตร ๙๔ กิโลเมตร
254 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
22 Kilometre 25 Kilometre 26 Kilometre 28 Kilometre 34 Kilometre 49 Kilometre 50 Kilometre 52 Kilometre 52 Kilometre 54 Kilometre 65 Kilometre 70 Kilometre 70 Kilometre 76 Kilometre 80 Kilometre 94 Kilometre
ที่พัก Accommodation Directory โรงแรม, ที่พัก (Accommodation) • • • • • • • • • • • • • • • •
ทองธารินทร์ Thong Tarin Hotel 0 4451 4281-8 เพชรเกษมแกรนด์ Phethchkasemgrand Hotel 0 4451 1274, 0 4451 1740 เกษมการ์เด้น Kaseam Gardent Hotel 0 4471 3485-7 สุรินทร์มาเจสติก Surin Margestic Hotel 0 4471 3980-3 มณีโรจน์ Manerote Hotel 0 4453 9477-9 มาติน่า Matina Hotel 0 4471 3555 บ้านตะวันฉาย Baan Tawan Shine 044-538881 สวนป่า SuenPa Resort 0 4452 1022, 08 1390 0144 เลอเบียง Le bien Resort 08 1732 4615, 08 1760 4087 กระท่อมพฤกษา Preuksa Home Stay 0 4451 4724 ดิ ออร์คิด เรสซิเดนซ์ The Orchid Residence 0 4453 0101, 08 1955 6348 วีว่าเพลส Viva Place 0 4451 4929 ,08 1760 2372 ต้นคูณ Thon Koonn Resort 0 4453 0077 กรีนวิว Green View 0 4451 9261 บ้านนา พฤกษา รีสอร์ท Ban Na Pruksa Resort 044-140817 สวนปาล์ม Suan Plam Resort 0 4451 9456-7
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
255
หมายเลขโทรศัพท์ส�าหรับนักท่องเที่ยว
หมายเลขโทรศัพท์ส�าคัญ • ต�ารวจท่องเที่ยว • ต�ารวจทางหลวงสุรินทร์ • ททท.ส�านักงานจังหวัดสุรินทร์ • รพ.สุรินทร์ • รพ.ประสาท • รพ.สังขะ • รพ.ล�าดวน • รพ.ส�าโรงทาบ • รพ.ท่าตูม • รพ.รัตนบุรี • รพ.สนม • รพ.ศีขรภูมิ • รพ.กาบเชิง • รพ.บัวเชด • รพ.ชุมพลบุรี • ศาลากลางจังหวัดสุรินทร์ • ส�านักงานจังหวัดสุรินทร์ • ต�ารวจภูธรจังหวัดสุรินทร์ • สถานีรถไฟจังหวัดสุรินทร์ • สถานีขนส่งจังหวัดสุรินทร์
256 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
(รหัสทางไกล 044) โทร. 1155 โทร. 0-4414-3126 โทร. 0-4451-4447-8 โทร. 0-4451-8427 โทร. 0-4455-1295 โทร. 0-4457-1478 โทร. 0-4454-1090 โทร. 0-4456-9239 โทร. 0-4459-1126 โทร. 0-4459-9251 โทร. 0-4458-9025 โทร. 0-4456-1160 โทร. 0-4455-9002 โทร. 0-4457-9072, 0-4457-9076 โทร. 0-4459-6040 โทร.0-4451-1004 โทร. 0-4451-2039 โทร. 0-4451-1386 โทร. 0-4451-1295 โทร. 0-4451-1756
Important Telephone Numbers
Important No. • Tourist Police • Surin Highway Police • Tourism Authority of Thailand,TAT • Surin Hospital • Prasart Hospital • Sangkha Hospital • Lamduan Hospital • Samrongtab Hospital • Tatoom Hospital • Rayttanaburi Hospital • Sanom hospital • Srikorrapoom Hospital • Surin City Hall • Surin Provincial Office • Provincial Police Station • Surin Train Station • Surin Bus Station
(area code 044) : 1155 : 0-4414-3126 : Surin Office 0-4451-4447-8 : 0-4451-8427 : 0-4455-1295 : 0-4457-1478 : 0-4454-1090 : 0-4456-9239 : 0-4459-1126 : 0-4459-9251 : 0-4458-9025 : 0-4456-1160 : 0-4451-1004 : 0-4451-2039 : 0-4451-1386 : 0-4451-1295 : 0-4451-1756
“Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
257
ผู้จัดท�ำ /Credits จัดท�ำโดย จังหวัดสุรินทร์ Pubished by
Surin Province
ที่ปรึกษำ 1. นายนิรันดร์ กัลยาณมิตร ผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์ Mr. Niran Kalayanamit Governor of Surin Province 2. นายธัชชัย สีสุวรรณ รองผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์ Mr.Tatchai Seesuwan Vice Governor of Surin Province 3. นายวินัย ตรงจิตพิทักษ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์ Mr. Winai Torgchitpitak Vice Governor of Surin Province 4. นายถาวร กุลโชติ รองผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์ Mr. Thavon Kulchod Vice Governor of Surin Province 5. นายณัฐพงษ์ สงวนจิตร หัวหน้าส�านักงานจังหวัดสุรินทร์ Mr. Natthapong Sanguanchit Chief of Surin Governor’s Office 6. นายเพทาย สดทรงศิลป์ ผู้อ�านวยการส�านักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดสุรินทร์ Mr. Petiey Sodsongsilp Director of Surin Provincial Office of Buddhism 7. นายชนม์บันลือ วรรธนพันธุ์ ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดสุรินทร์ Mr. Chonbanlue Wanthanapan Director of Surin Provincial Office of Tourism and Sports 8. นายไชยยศ วิทยา หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดส�านักงานจังหวัดสุรินทร์ Mr. Chaiyos Wittaya Chief of Provincial Strategic Development Group Surin Governor’s Office 258 ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
ตามรอยบุญ วิถีธรรม วิถีพุทธ
กองบรรณำธิกำร บรรณำธิกำร / Editor ผู้เรียบเรียง / Rewriter ประสำนงำน / Coordinator ผู้แปล / Interpreter ช่ำงภำพ / Photographer ศิลปกรรม / Art Director พิสูจน์อักษร / Proofreader
โชติกา วีรนะ Chotika Weerana ทิพย์วรรณ แสวงศรี Thipwan Swaengsri ศราวุธ เอกพงศ์ธร Sarawut Ekphongthon อัศม์กรณ์ จันทร์เสวก Atsakron Chansawek กชพร ธรรมจริยา Kotchakorn Thamachariya ปิยรัตน์ จินารัตน์ Piyarat Chinarat รติยง โลยะลา Ratiyong Loyala อนุชา สีนวน Anucha Seenuan นวินตา Nawinta โกวิทย์ ศรีจรรยานนท์ Kowit Srijunyanont ณรงค์ พึ่งบุญมา Narong Puengboonpa โรเบริต์ ฮอนดริค Robert Hondrick
เลขมำตรฐำนสำกลประจ�ำหนังสือ ISBN 978-974-458-466-3 พิมพ์ครั้งแรก 3,000 เล่ม กันยายน 2558 First Printed September 2015, 3,000 copies สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย จังหวัดสุรินทร์ /Surin Province “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life” “Tracing of Merits, Dhamma, and Surin’s Way of Life”
259