SURIN
GUIDE BOOK
สารจากผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์ Message from the Governor of Surin
จังหวัดสุรนิ ทร์ เป็นจังหวัดหนึง่ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง เป็นเมืองเก่า แก่ที่มีประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมที่สะสมสืบทอดกันมาอย่างยาวนาน ที่เรียกว่า “อาณาจักร เจนละ” ซึ่งครอบคลุมบริเวณที่ราบลุ่มตอนกลางของแม่นํ้ามูลมีหลักฐานทางโบราณคดีและ ทางประวัติศาสตร์มากมายที่น่าเที่ยวชมตั้งแต่คูเมืองสามชั้นและปราสาทหินที่เก่าแก่ที่สุดใน ประเทศไทย อันเป็นมรดกทางวัฒนธรรมและแหล่งอารยธรรมขอมโบราณกระจายอยู่ทั่วทั้ง จังหวัด ถึง 37 แห่ง และแหล่งประวัติศาสตร์โบราณคดีอีกมากมายในทุกอำ�เภอ นอกจากนั้น ยังมีสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวนอุทยานที่สวยงามอีกหลายแห่ง ความเป็นเมืองเก่าแก่มายาวนานเมืองสุรินทร์จึงเป็นศูนย์รวมของชนหลายกลุ่ม หลายเผ่าที่มีภาษาสำ�เนียงพูดที่แตกต่างกันไปโดยเชื่อกันว่า “ส่วย” เป็นชนกลุ่มแรกๆ ที่ อาศัยอยู่เดิมต่อมาจึงมีชนกลุ่มอื่น เช่น เขมร ลาว อพยพเข้ามาทีหลัง จากนั้นจึงมีชาวไทย และชาวจีนตามมาในยุคหลังสุด จึงทำ�ให้สุรินทร์มีศิลปวัฒนธรรมและประเพณีที่หลากหลาย และอาจผสมผสานกันในบางเรื่อง อาชีพที่เก่าแก่ของชนชาวส่วยคือ การเลี้ยงช้างซึ่งปัจจุบัน ถือเป็นเอกลักษณ์ของชาวสุรินทร์ที่ทำ�ชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วโลก ซึ่งทางจังหวัดได้ส่งเสริมให้เป็น ประเพณีเทศกาลงานช้างจังหวัดสุรนิ ทร์ นอกจากนัน้ ยังมีงานประเพณีทสี่ ำ�คัญซึง่ นักท่องเทีย่ ว ไม่ควรพลาด เช่น ประเพณีขึ้นเขาสวาย งานบวชนาคช้าง งานมหกรรมแห่เทียนพรรษาและ ตักบาตรบนหลังช้าง รวมทั้งเที่ยวชมการทอผ้าไหมปักทองที่มีชื่อเสียงของชาวสุรินทร์ ที่ขึ้นชื่อ ว่า เป็นผ้าไหมทีส่ วยงามเป็นหนึง่ ในแดนสยาม และชมการสาธิตและผลิตประคำ�เงินอันเลือ่ งชือ่ จึงจะได้ชื่อว่ามาถึงจังหวัดสุรินทร์ “ถิ่นช้างใหญ่ ผ้าไหมงาม ประคำ�สวย รํ่ารวยปราสาท ผักกาดหวาน ข้าวสารหอม งามพร้อมวัฒนธรรม” ชาวจังหวัดสุรินทร์ยินดีต้อนรับทุกท่านมาเยี่ยมและท่องเที่ยวจังหวัดสุรินทร์ เมืองหลากหลายวัฒนธรรม และเพือ่ ต้อนรับการเปิดประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 จึงได้ จัดพิมพ์หนังสือเล่มนี้เป็นสองภาษาเพื่ออำ�นวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวชาวไทยและ ชาวต่างชาติที่มาท่องเที่ยวจังหวัดสุรินทร์มากขึ้นทุกปี
นายนิรันดร์ กัลยาณมิตร ผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์
2
สารจากผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์ Message from the Governor of Surin
Surin is one of the provinces in the Lower North East of Thailand. It is an old city with long history and cultures inherited for a long period of time, formerly known as Jen La Kingdom covering middle plain of Mun River area. There are many of interesting archeological and historical attractions to visit, including triple-layered moat, 37 oldest Khmer Ruins in Thailand which are the cultural heritages from ancient Khmer civilization all over the city. These archeological and historical attractions and a lot more can be found in every districts of Surin. In addition, there are also many natural attractions and forest parks. Since Surin is an ancient city, it is a center of many groups and races of people with different dialects. It is believed that “Suay” was the first group that had lived in this area before other groups such as Khmers and Laos later came, following by Thai and Chinese as the latest. As a result, Surin has a variety and mixture of cultures from these people. The original career of Suay was raising elephants which is now a world-famous uniqueness of Surin and being promoted as Surin Elephant Festival. Other important festivals that should not be missed are Ascending Phanom Sawai Mountain Festival, Ordination parade on elephant’s back, Buddhist Lent Candle Processin and Alms Giving on Elephant’s back. Also do not miss the opportunity to see the weaving of Golden Thread Silk of Surin, a well-known one of Siam, as well as the creation of our renowned silver rosary. Then you can really say that you had already been to Surin.”Land of Elephant, Fine Silk, Beautiful Rosary, Khmer Ruins, Sweet Radish, Fragrant Rice, Splendid Cultures” Surin people are pleased to welcome everybody to Surin, the city of cultural varieties. As we are joining the ASEAN Community in 2015, to support more and more tourists and foreigners visiting Surin, this guide book is made in Thai-English version for your convenience.
Mr.Niran Kalayanamit Surin’s Governor
สารจากผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์ Message from the Governor of Surin
3
สารบัญ Table of Contents 2
สารจากผู้ว่า Massage from the Govenor of Surin
6
แผนที่เมืองสุรินทร์ Map of Surin
8
เล่าเรื่องเมืองสุรินทร์ Story of Surin
เทศกาลสำ�คัญ Surin Cultural Festivals 26 วันช้างไทย Thai Elephant Day 27 ประเพณีขึ้นเขาสวาย
Ascending Phanom Sawai Mountain Festival
28 บวชนาคช้าง
สิ่งศักดิ์สิทธิ์และของคู่เมือง Holy and Provincial Attractions 34 ศาลหลักเมือง City Pillar Shrine
68 วัดช่างปี่และมณฑป
จอมศรัทธาทึก Wat Chang Pi and Mondop Jom Sattha Tuek 69 ปราสาทช่างปี่ Khmer Ruins: Chang Pi
35
อนุสาวรีย์พระยาสุรินทร์ The Monument of Phraya Surin
36
วัดบูรพาราม Wat Burapharam
70 ปราสาทเบง
37
พระพุทธสุรินทรมงคล Phra Buddha Surindara Mongkol
71 ปราสาทจอมพระ
38
สถูปบรรจุอัฐิ หลวงปู่ดุลย์ อตุโล Luang Pu Dun Atulo's Bone Ash Stupa
Khmer Ruins:Beng Khmer Ruins :Jom Phra
72 ปราสาทศีขรภูมิ
Khmer Ruine: Si Khoraphum
77 ปราสาทบ้านพลวง
Ban Pluang
Ordination parade on elephant’s back
39
ศาลาอัฏฐะมุข Sala At Ta Mook
79 ปราสาทเมืองที
29 งานประเพณีแซนโฏนตา
40
แผนที่ท่องเที่ยว Travel Map
80 ปราสาทตาเมือน
30 งานแสดงช้าง
42
ปฏิทินเทศกาลสำ�คัญ Calendar of Important Festivals
81 ปราสาทตาเมือนธม
SanToneTa
Surin Elephant Round-up
31 ฉลองปราสาทศรีขรภูมิ
และงานประเพณีลอยกระทง Si Khoraphum Khmer Ruins Celebration nd Loi Krathong
32 ซัตเต(แต่งงานบนหลังช้าง)
Sat Te (Wedding on Elephant's back)
33 แห่เทียนเข้าพรรษา
และตักบาตรบนหลังช้าง Buddhist Lent Candle Procession and Alms Giving on Elephant’s back
43
50
Muang Tee Ta Muen
Ta Muen Thom
82 ปราสาทตาเมือนโต๊จ สถานที่ท่องเที่ยว Ta Muen Toj Tourist Attractions พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสุรินทร์ 83 ปรางค์วัดโพธิ์ศรีธาตุ Surin National Museum Prang of Wat Pho Si Tat ศูนย์คชศึกษา 84 ปราสาทภูมิโปน Elephant Study Center Phum Pon
59
ช่องจอม Chong Jom
62
วนอุทยานพนมสวาย ซุ้มประตูพนมสวาย Phanom Sawai Forest Park, Entrance Gate
แนะนำ�ร้านอร่อย แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ Where to Eat Natural Attractions 85 วนอุทยานหนองคู 100 เกาเหลาเครื่องใน Nong Khu Forest Park Chitterlings Soup Shop 86 วังทะลุ 101 ร้านอาหารเพชรมณี 2 Wang Tha Lu Petchmanee 2
ของดีเมืองสุรินทร์ Notable Surin Products 114 กาละแมสด Fresh Caramel Sweets
87 ห้วยเสนง
116 ข้าวสารหอมมะลิ
Huay Sa Neng
102
88 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
และพันธุ์พืชห้วยทับทันห้วยสำ�ราญ Wang Tha Lu and Huay Tab Tan – Huay Sam ran Wildlife Sanctuary
Blue latte coffee /คิดถึง เบเกอรี่ Blue Latte Coffee /Kid Thueng Bakery
104
ร้านก๋วยเตี๋ยวสิงโต Singto Noodle Shop
105
ร้าน โรตีอาบัง Abang Roti Shop
90 หมู่บ้านทำ�เครื่องประดับงาช้าง 106
Ivory Jewelry Village
ร้านอาหารเรือนแพ Ruen Pae
115 ผักกาดหวาน
Sweet Radish Jasmine Rice
117 เครื่องเงินเขวาสินรินทร์์
Khawao Sinrin Silverware
118 ผ้าไหม
Thai Silk
120 แนะนำ�เส้นทางขับรถเที่ยว
Recommended Car Route
124 การเดินทางมายังสุรินทร์ Coming to Surin แนะนำ�ที่พัก Khwao Sinrin Silverware Village Where to Stay 126 หมายเลขโทรศัพท์ 107 กระท่อมพฤกษาโฮมเสตย์ สำ�หรับนักท่องเที่ยว 96 หมู่บ้านจักสานบุทม Kratom Preuksaa Homestay Important Telephone Bu Thom Wicker Village Numbers 108 ศูนย์ฝึกอบรม สกต.สุรินทร์ 97 หมู่บ้านทอผ้าไหมยกทอง Surin Agricultural Cooperatives 128 รายละเอียดการจัดทำ� Golden Thread Silk Village Training Center Credits 98 เก็บตกเมืองสุรินทร์ 110 ศูนย์คชศึกษา Surin Miscellaneous Elephant Study Center 94 หมู่บ้านเครื่องเงินเขวาสินรินทร์
112
Directory ที่พัก Accommodation Directory
วัดศาลาสอย Wat Sala Loy ถ. ก รงุ ศร ี
LUKM UANG RD.
RD. MOR KUAN
RD.
TESS ABAR D1R D.
ถ. สุรยิ กานต์
ถ. เท ศบาล 1
RIN SRI
TESS ABAR D1R D.
RD. PHA KDI CHU MPH OL
ถ. ภ กั ดชี มุ พล
ถ. สร ะโบรา ณ
SABO RAN RD.
NG W CHA งวาง ถ.จา
แผนที่เขตเทศบาลเมืองสุรินทร์ Surin City Map
อ่างเก็บนํา้ ห้วยเสนง Huai Saneng Reservoir
. SS RD BY PA ถนนบายพาสรอบเมือง
RD. RONG THAI
ศูนย์ศลิ ปาชีพอีสานใต้ Lower Northeastern Folk & Carft Center
สวนเฉลิม พระเกียรติ 80 พรรษา
226
ไป อ. ศีขรภูมิ ศรีสะเกษ To Sikoraphum Sisaket
ถ. คชสาร
214
ถ. ไ ตรร งค์
RD.
LUK MU AN GR D.
สาร คช ถ.
RD. ARN 2 TESSAB ถ. เทศบาล 4
ถ. หลกั เมอื ง
RD 1 ABA TESS
สระนํา้ วัดจุมพล Srh Wat Chum Phol
ANG
RD.
ถ. ส
ิรินธ
ร
อก ศรนี กรงุ ถ.
RD. TH IRA R I S
1
KRU NG SRI NOK RD.
ถ. หล กั เมอื ง
ถ. สรุ นิ ทรภ์ กั ด ี
ฐั ศริ ริ ถ.
พิพธิ ภัณฑ์สถานแห่งชาติสรุ นิ ทร์ Surin National Museum
บาล 2 ถ. เทศ
ไปบุรรี มั ย์ To Buri Rum
KRU NG SRI NAI RD.
. RD TH IRA SIR
ถ. สรุ ย ิก าน ต์
ไปจังหวัดศรีสะเกษ To Sisaket
บาล เทศ ถ.
อก งุ ศรนี ถ. กร
เทพ รหม ถ. พ
รงิ อยป ถ. ป
POYP RING RD. THAN ASAR N RD . ถ. ส รุ ยิ รา ช
3 ศบาล ถ. เท
TESS ABAR D1R D.
ศาลากลางจังหวัด City Hall
ถ. ธน สาร
TESSABAR N 3 RD.
ถนนเลี่ยงเมือง ไปบุรรี มั ย์
RD.
สถานีขนส่ง Bus Terminal
I KD PA RIN SU
PHO RA NG
ถ. ธน สาร
ศาลหลักเมือง City Shrine Post
ถ. สนทิ นิ คมรฐั SA NITNIKOM RAT RD .
วัดบูรพาราม Wat Burapa Ram
E S
D.
3
ถ. ก รงุ ศร ใี น
LUKM UANG RD.
ถ. โพธิร์ า้ ง
หอนาฬิกา Clock Tower
ถ. เทศบ าล
KRUNG SRI NAI RD.
ถ. เท ศบาล 1
ถ. ก รงุ ศ รใี น
ถ. หล กั เมอื ง
ไป To ปราสา Pras ท at D istri ct
ศูนย์หม่อนไหม เฉลิมพระเกียรติฯ
. RD AI AR BU RI าช S รบี วั ร ถ. ศ
226
NONG DOOM RD.
NR
ถ. หนอ งดมุ
สุรนิ ทร์พลาซ่า Surin Plaza
W
214 ถ. ป ทั มา นนท ์
URI NR D.
N
PHA TTA MAN ON RD.
สถานีรถไฟ Railway Station THEP S
TOR
ถ. เ ทพส รุ นิ ท ร์
KOT CHA SAR NR D.
TUN GPH OR D.
ไป อ. ท่าตูม ร้อยเอ็ด To Thatoom, Roi Et
ถ. ศรธี ามติ ร
YUTT HAN A RD .
ถ. ท งุ่ โพ ธ์ิ
ไปกรุงเทพฯ To Bangkok
ถ. เท ศบาล 3
ไปหมูบ่ า้ นทอผ้าไหม ยกทองโบราณ To Tha Sawang Silk Weaving Village
ถ. เลยี บคล อง
ถ. พ ชิ ติ ช ยั
ถ. ย ทุ ธน า
ไป ม. ราม To Ram University
BY PASS RD.
สรอบเมอื ง ถนนบายพา
ประวัติความเป็นมา สุ ริ น ทร์ เ ป็ น หนึ่ ง ในจั ง หวั ด ชายแดน ของภาคอี ส านตอนล่ า ง หรื อ “อี ส านใต้ ” ที่ มี ประวั ติ ศ าสตร์ ค วามเป็ น มายาวนานจั ง หวั ด หนึ่ ง สันนิษฐานว่าพื้นที่อันเป็นที่ตั้งเมืองสุรินทร์มีชุมชน อาศัยอยู่เมื่อประมาณ 2,000 ปีล่วงมาแล้ว จาก สภาพภู มิ ศ าสตร์ ที่ มี อ าณาเขตต่ อ เนื่ อ งกั บ พื้ น ที่ ที่เคยเป็นอาณาจักรขอมโบราณ ทำ�ให้เมืองสุรินทร์ ได้ รั บ วั ฒ นธรรมขอมมาโดยตลอดตั้ ง แต่ ใ นช่ ว ง พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นต้นมา ต่อมาเมื่ออาณาจักร ขอมเสื่ อ มอำ�นาจลง เมื อ งดั ง กล่ า วก็ ถู ก ทิ้ ง ร้ า ง ไปเป็นเวลานาน จนกระทั่งราวปี พ.ศ. 2260 ในสมัยอยุธยาตอนปลาย ชาวพื้นเมืองของเมืองอัตปือแสนแป แคว้นจำ�ปาศักดิ์ ซึ่งในขณะนั้นเป็นดิน แดนของไทย ที่เรียกตัวเองว่า “ส่วย” หรือ “กูย” หรือ “กวย” ได้พากันอพยพ ข้ามลำ�นํ้าโขง มาตั้งชุมชนที่เมืองต่างๆ ในแถบภูมิภาคนี้ รวมถึงที่บ้านอัจจะปะ นึ่งและบ้านกุดปะไท ในเขตอำ�เภอสังขะและอำ�เภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ คน เหล่านีม้ คี วามสามารถในการจับช้างป่า และนำ�มาฝึกฝนไว้ใช้งานเป็นอย่างมาก จึงเป็นต้นกำ�เนิดของตำ�นาน “เมืองช้าง” ของจังหวัดสุรินทร์นั่นเอง ต่อมาในปี พ.ศ. 2306 หลวงสุรนิ ทรภักดี (เชียงปุม) หัวหน้าหมูบ่ า้ น เมืองที ได้ยา้ ยหมูบ่ า้ นมาตัง้ อยูท่ บี่ ริเวณบ้านคูประทาย ซึง่ เป็นทีต่ งั้ เมืองสุรนิ ทร์ ในปัจจุบัน เนื่องจากเป็นบริเวณที่มีชัยภูมิเหมาะสม มีกำ�แพงค่ายคูล้อมรอบ 2 ชั้น และมีแหล่งนํ้าอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การประกอบอาชีพและอยู่อาศัย ต่อมาพระเจ้าอยู่หัวพระที่นั่งสุริยาศอมรินทร์โปรดเกล้าฯ ให้ยกฐานะขึ้นเป็น “เมืองประทายสมันต์” และหลวงสุรินทรภักดีได้เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็นพระยา สุรินทร์ภักดีศรีณรงค์จางวาง เป็นเจ้าเมืองปกครองเมืองประทายสมันต์ ในปี พ.ศ. 2329 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 ได้ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลีย่ นชือ่ “เมืองประทายสมันต์” เป็น “เมืองสุรนิ ทร์” ตามสร้อยบรรดาศักดิ์ของเจ้าเมืองในขณะนั้น เมืองสุรินทร์มีเจ้าเมืองปกครอง สืบเชื้อสายกันมารวม 11 คน จนถึงปี พ.ศ. 2451 มีการเปลี่ยนแปลงระบบ บริหารราชการแผ่นดินเป็นแบบมณฑลเทศาภิบาล “เมืองสุรนิ ทร์” จึงเปลีย่ นเป็น “จังหวัดสุรนิ ทร์” และทางกรุงเทพฯ ได้แต่งตัง้ พระกรุงศรีบรุ รี กั ษ์ (สุม สุมานนท์) มาดำ�รงตำ�แหน่งเป็นข้าหลวงประจำ�จังหวัด หรือผูว้ า่ ราชการจังหวัดเป็นคนแรก 8
เรื่องเล่าเมืองสุรินทร์
History of Surin
Surin is one of the bordering provinces in South Isaan of Thailand that has a long history of its own. It is believed that people had colonized this area more than 2,000 years ago. As the city is adjacent to former Ancient Khmer Empire, Surin had been influenced in its cultures since 12th B.E. After the fall of Khmer Empire, the city had been abandoned until around year 1717. In late Ayuthaya Era, some locals from At Pue San Pae of Cham Pa Sak then was under Thai Kingdom calling themselves “Suay” or “Kui” or “Kuay”, migrated across Khong river and settled down around this area. This includes Ban At Ja Pa Nueng and Ban Kud Pa Tai in Sangkha District and Si Khoraphum District of Surin too. These people are so capable of catching and training wild elephants that this is the beginning of the Legend of Surin the City of Elephant today. Later in 1763, Luang Surinthara Pakdi (Chiang Pum) as head of Muang Tee Village, relocated his village to Ban Khu Pra Tai or the Surin city today. This place is a strategic location for both military and livelihood terms. Later, the King Suriyamarin ordered to promote the town to “Pra Tai Saman” and Luang Surinthara Pakdi to Phraya Surin Pakdi Si Narong Chang Wang who is in charge of Pra Tai Saman city. In 1786, King Rama 1st ordered to rename the city to “Muang Surin” after the position name of the governor of the city at that time. Surin had 11 governor descenders until 1908, with the changes in the country administrative rules, Muang Surin changed to Surin Province. Phra Krungsri Burirak (Sum Sumanont) was the first governor of Surin from then on. เรื่องเล่าเมืองสุรินทร์
9
ลักษณะภูมิประเทศ Geography
จังหวัด สุรินทร์
ทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวัดร้อยเอ็ด และมหาสารคาม North Border Roi Et and Maha Sara Kram
ทิศตะวันตก ติดต่อ กับจังหวัดบุรีรัมย์ West Border
Buri Rum
ทิ ศ ต ะ วั น อ อ ก
ติดต่อกับจังหวัด ศรีสะเกษ East Border
Si Saked
ติดต่อกับจังหวัดอุดรมีชัย ราชอาณาจักรกัมพูชา ในพื้นที่ 4 อำ�เภอ คือ บัวเชด สังขะ กาบเชิง และพนมดงรัก ความยาวตลอดแนวชายแดน ประมาณ 90 กิโลเมตร South Border Udon Mee Chai, Cambodia (90 km. Borderline in 4 districts : Bua Ched, Sang Kha, Kab Cherng and Phanom Dongrak) ทิศใต้
10
เรื่องเล่าเมืองสุรินทร์
จังหวัดสุรนิ ทร์ตงั้ อยูท่ าง ทิศใต้ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 8,124.056 ตาราง กิโลเมตร (ประมาณ 5,077,535 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 4.8 ของพื้นที่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือทั้งหมด โดยตั้งอยู่บนพื้นที่ราบสูงโคราช มี อาณาเขตติดต่อกับประเทศกัมพูชา มีเทือกเขาพนมดงรัก เป็นพรมแดน ธรรมชาติ สภาพภูมิประเทศเป็นที่ สูง ทางตอนใต้ตดิ กับเทือกเขาพนม ดงรัก และค่อยลาดตํ่าไปทางทิศ เหนือ ซึ่งเป็นที่ราบและป่าโปร่ง มี แม่นาํ้ มูล และลำ�ห้วยหลายสายผ่าน เป็นแหล่งประมง และเขตปลูกข้าว หอมมะลิพนั ธุด์ ที สี่ ดุ ในประเทศไทย Surin is located in the south of NorthEast part of Thailand with the area of 8,124.056 sq.km. (around 5,077,535 rai) or 4.8% of the NorthEast of Thailand. It is on the Korat Plateau neighboring to Cambodia with Phanom Dongrak mountain range as a natural border. The area is an upland next to Phanom Dongrak mountain range in the south gradually slope down to the north which is a plain with sparse forest. There is Mun river and also many other streams in the area making the place great for fishery and the best source for Thai Jasmine Rice.
ลักษณะภูมิอากาศ Climate
เป็นแบบสะวันนาคือ ฤดูฝน แตกต่างกับฤดูแล้งอย่างเห็นได้ชดั ฤดู ฝนอยู่ในช่วงมิถุนายน-ตุลาคม และมี อุณหภูมติ าํ่ สุด 15 องศาเซลเซียส และ สูงสุด 38 องศาเซลเซียส Savannah typed, big difference between Rainy and Dried seasons. Rainy season in Jun-Oct, min and max temperature 15c – 38c. เรื่องเล่าเมืองสุรินทร์
11
ตราประจำ�จังหวัดสุรินทร์
คำ�ขวัญประจำ�จังหวัด
Surin Provincial Seal
Surin Provincial Slogan
รู ป พระอิ น ทร์ ท รง ช้างเอราวัณอยู่หน้า ปราสาทหินศีขรภูมิ an image of Indra atop Erawan, his celestial white elephant, in front of Si Khoraphum Kmher Ruins. ชื่ อ ของจั ง หวั ด เป็ น คำ�สนธิ ข องคำ� สองคำ� คือ สุระ กับ อินทร์ หมายถึง พระอินทร์ผู้เก่งกล้าสามารถ Province Name – Surin is a compound word from 2 words – Sura and Indra – which means The Doughty Indra ธงประจำ�จังหวัด ธง สี เ ขี ย ว-เหลื อ ง-ส้ ม ต ร ง ก ล า ง มี ต ร า ประจำ�จังหวัดติดอยู่ Surin Provincial Flag – Green Yellow Orange in color with the Provincial Seal in the middle ดอกไม้ประจำ�จังหวัด ดอกกันเกรา (Fagraea fragrans) Surin Provincial Flower - Fagraea fragrans or Kanekra flowers or Common Tembusu 12
เรื่องเล่าเมืองสุรินทร์
สุรินทร์ถิ่นช้างใหญ่ ผ้าไหมงาม ประคำ�สวย รํ่ารวยปราสาท ผักกาดหวาน ข้าวสารหอม งามพร้อมวัฒนธรรม Land of Elephant, Fine Silk, Beautiful Beads, Khmer Ruins, Sweet Radish, Fragrant Rice, Splendid Cultures
ประคำ�สวย หมายถึง สุรนิ ทร์มกี ารทำ�ประคำ� เงิ น ขึ้ น ชื่ อ ที่ อำ�เภอ เขวาสินรินทร์ Beautiful Beads – Renowed silverware in Khwao Sinrin District.
ผ้าไหมงาม หมายถึง สุรินทร์มีการ ทอผ้าไหมทีข่ นึ้ ชือ่ โดยเฉพาะการทอ ผ้าไหมปักทองที่สวยงามมาก ติด 1 ใน 10 เมืองทอผ้าไหมในประเทศไทย ที่บ้านท่าสว่าง อำ�เภอเมืองสุรินทร์ Fine Silk – Surin is famous for beautiful Golden Weaving Silk. Ban Tha Sawang is in the top ten list of the whole country.
รํ่ารวยปราสาท หมายถึง สุรินทร์มีปราสาทกระจาย อยู่มากที่สุดในประเทศไทย และมีปราสาทที่อายุเก่า แก่ที่สุดในประเทศไทยคือ ปราสาทภูมิโปน Khmer Ruins – Surin has the most number of Khmer Ruins in Thailand including the oldest one – Phum Pon Khmer Ruins. ผักกาดหวาน หมายถึง สุรินทร์มีการ ปลูกผักกาดดองที่หวานอร่อยขึ้นชื่อ Sweet Radish – Surin is known for its delicious Sweet Radish grow.
ถิ่นช้างใหญ่ หมายถึง สุรินทร์มี ศูนย์คชศึกษามีช้างอยู่มาก เป็น เอกลักษณ์ของจังหวัด Land of Elephant – Surin is the center of Elephant and Elephant Study in Thailand. Unique point.
งามพร้อมวัฒนธรรม ห ม า ย ถึ ง ดู จ า ก ประเพณีที่มีมากมาย Splendid Cultures – Ancient cultures are carried on such as many other cultures
ข้าวสารหอม หมายถึง สุรนิ ทร์ มีการปลูกข้าวหอมมะลิบริเวณ ทุ่ ง กุ ล าร้ อ งไห้ ซึ่ ง เป็ น ข้ า วที่ หอมและอร่อยที่สุดในโลก Fragrant Rice – Jasmine Fragrant Rice from Thoong Kula Rong Hai in Surin is the number one world famous. เรื่องเล่าเมืองสุรินทร์
13
คนพื้นเมืองของจังหวัดสุรินทร์
อาณาเขตการปกครอง
Surin Locals
Administrative Divisions
2
คนพื้นเมืองแบ่งได้เป็น 3 ชาติพันธุ์ ได้แก่ ชาวกวย ชาวเขมร และ ชาวลาว ทีอ่ ยูร่ ว่ มกันอย่างผสมกลมกลืนมานับหลายร้อยปี ปัจจุบนั ชาวกวย หรือ “กูย” มีบทบาทสำ�คัญในการเลี้ยงช้าง และมีวิถีชีวิตอยู่ร่วมกันกับช้าง รวมถึง ประเพณีวัฒนธรรมการแต่งกายที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน There are 3 lineages of people in Surin – Kuay, Khmer and Lao. They live together in harmony for hundreds of years. Kuay or Kui people are the ones who take important roles in Elephant husbandry and lifestyle of living with elephants. They also have a unique dress culture of their own. อาชีพของประชากร Occupation
14
เรื่องเล่าเมืองสุรินทร์
ส่ ว นใหญ่ ยั ง คงประกอบ อาชีพทางด้านการเกษตรกรรม มีการ ทำ�นาข้าวเจ้า ทำ�สวน และเพาะปลูกพืช ไร่ชนิดต่างๆ เช่น มันสำ�ปะหลัง อ้อย โรงงาน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ยางพารา อาชีพที่สำ�คัญรองลงมาคือ การเลี้ยง ไหม Most people are in agricultural sector working as rice farmer, gardener and planter of tapioca, sugar cane, corn and rubber tree. They also raise silk worm and produce silk.
รูป: ศูนย์การเผยแพร่ศิลปวัฒธรรมชาวกวย/ กูย หรือ ส่วย
1
1 การแต่งกายของ ผู้หญิงชาวกวย 2 การแต่งกายของ ผู้ชายชาวกวย
สุ ริ น ทร์ อ ยู่ ห่างจากกรุงเทพฯ โดย ทางรถยนต์ ป ระมาณ 450 กิโลเมตร และ โดยทางรถไฟประมาณ 420 กิโลเมตร ปัจจุบนั จังหวัดสุรนิ ทร์แบ่งการ ปกครองออกเป็น 17 อำ�เภอคือ Surin is 450 km. away from Bangkok by car or 420 km. by train. The province is subdivided into 17 districts.
3
17
8 13
5
16
6
15
14 9
12 11
2
10
4 1 7
อำ�เภอสังขะ/ Sang Kha District 1 ประวัติความเป็นมา ปี พ.ศ. 2302 ในรัชกาลพระเจ้าเอกทัศน์ กรุง ศรีอยุธยา พระยาช้างเผือกได้แตกโรงจากเมืองหลวงไปอยู่ในป่าดง แขวงเมือง พิมาย เซียงฆะหัวหน้าหมู่บ้านโคกอัจจะ พร้อมหัวหน้าหมู่บ้านคนอื่น ได้อาสา ไปติดตามช้างเผือกกลับมาได้จงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตัง้ เซียงฆะเป็น “พระสังฆะบุรีศรีนครอัจจะ” และยกฐานะบ้านโคกอัจจะ เป็นเมืองสังฆะ จน เมื่อปี พ.ศ. 2450 ได้ยุบเมืองสังฆะเป็นอำ�เภอ ขึ้นตรงต่อจังหวัดสุรินทร์ เรียก อำ�เภอสังขะ มาจนถึงปัจจุบัน คำ�ขวัญของอำ�เภอ สังขะเมืองสะอาด ปราสาทงดงาม ทับทิมสยามศูนย์สี่ เขียวขจีป่าสน The District was named after a highly respected big tree called “Sam Rong Tia”. People worship this tree with flowers, incense and candles for rain. The word Tia in Suay language is Tiab and in Thai is Tab. That the origin of the name of Sam Rong Tab District until now. เรื่องเล่าเมืองสุรินทร์
15
3 ประวัติความเป็นมา พระเจ้าสุรินทร์ภักดีศรีไผทสมันต์(ม่วง) เจ้า เมืองสุรินทร์กราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขอตั้ง บ้านพักค่ายเป็นเมืองชุมพลบุรี และโปรดเกล้าฯ ให้พระยาวิเศษราชา เป็นเจ้า เมืองสถาปนาเป็น “พระฤทธิรณสมุทร” ต่อมาเมื่อมีการแบ่งเขตการปกครอง ออกเป็นมณฑล เมืองชุมพลบุรีซึ่งเป็นเมืองใหม่และเป็นเมืองเล็ก จึงถูกยุบ เป็นอำ�เภอในชื่อเดิม อำ�เภอชุมพลบุรีมีฐานะเป็นอำ�เภอได้ไม่นาน ก็ถูกยุบเป็น กิ่งอำ�เภอ ขึ้นกับอำ�เภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ เมื่อ พ.ศ. 2480 จนกระทั่ง พ.ศ. 2496 จึงได้ยกฐานะกิ่งอำ�เภอชุมพลบุรีขึ้นเป็นอำ�เภอจนถึงปัจจุบันนี้ คำ�ขวัญของอำ�เภอ ชุมพลบุรี เขตทุ่งกุลา เมืองปลาไหล ผ้าไหมสวย รวยข้าว มะลิหอม พร้อมลำ�นํ้ามูล Phraya Surin Pakdi Si Patai Saman, the ruler of Muang Surin, proposed King Rama the 5th to set up a town called Chumpol Buri. The King ordered that Phraya Wiset Raja or later named Phra Ritthiron Samut to be the governor of this place. Later, there was a change in administrative structure, this small new town hence demoted to a district with the same old name. Not long after that it was demoted again to a sub-district under Tha Tum District in 1937. In 1953 it was then promoted to a district until now.
อำ�เภอกาบเชิง/ Kab Cherng District
2 ประวัตคิ วามเป็นมา บ้านกาบเชิง เป็นหมูบ่ า้ นทีอ่ ยูต่ ดิ แนวชายแดน ไทย-กัมพูชา เริ่มมีการตั้งถิ่นฐานมากว่า 200 ปีมาแล้ว โดยในช่วงแรกขึ้นกับ ตำ�บลด่าน อำ�เภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ และต่อมาในปี พ.ศ. 2480 โอนไปอยู่ ในการปกครองของตำ�บลหนองใหญ่ อำ�เภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ในปี พ.ศ. 2506 โอนมาอยู่ในการปกครองของตำ�บลกาบเชิง อำ�เภอปราสาท จังหวัด สุรินทร์ วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2518 ได้รับการจัดตั้งเป็นกิ่งอำ�เภอ โดยมี ตำ�บลในปกครอง 2 ตำ�บล ได้แก่ ตำ�บลกาบเชิง และตำ�บลบักได และในปี พ.ศ. 2519 ได้แยกตำ�บลโคกกลาง ออกจากตำ�บลบักได จึงทำ�ให้มีตำ�บลในปกครอง เพิ่มขึ้นเป็น 3 ตำ�บล ต่อมาเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2520 ได้รับโอนตำ�บล คูตัน และตำ�บลด่าน อำ�เภอสังขะ มาเพิ่ม จนกระทั่งวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2522 ได้รับการยกฐานะเป็นอำ�เภอ คำ�ขวัญของอำ�เภอ กาบเชิงถิน่ คนดี เฉลิมราชกุมารีศรีสง่า ปราสาทธรรมชาติ ลํ้าค่า แหล่งการค้าช่องจอม Ban Kab Cherng is at Thai-Cambodia borderline. People rooted here more than 200 years ago. First it was with Tambon Dan, Sang Kha district and later transferred to be under Tambon Nong Yai, Prasat District in 1937. In 1963, it was transferrer again to be under Tambon Kab Cherng, Prasat District. On May 15, 1975 it was promoted to subdistrict with 2 Tambons ie. Kab Cherng and Buk Dai. In 1976, Tambon Kok Klang was subdivided from Tambon Buk Dai so there were then 3 Tambons under the district. Later on July 1, 1977 Tambon Khu Ton and Tambon Dan were transferred from Sang Kha District and the sub-district was promoted to district on Mar 20, 1979. 16
เรื่องเล่าเมืองสุรินทร์
อำ�เภอชุมพลบุรี/ Chumpol Buri District
4
อำ�เภอศรีณรงค์/ Si Narong District
ประวัติความเป็นมา อำ�เภอศรีณรงค์เดิมเป็นส่วน หนึ่งของอำ�เภอสังขะ ทางราชการได้แบ่งพื้นที่การ ปกครองออกมาตั้ ง เป็ น กิ่ ง อำ�เภอศรี ณ รงค์ ตาม ประกาศกระทรวงมหาดไทยลงวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538 โดยมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน ปีเดียวกัน ต่อมาในวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2550 ได้มีพระราชกฤษฎีกายก ฐานะขึน้ เป็น อำ�เภอศรีณรงค์ โดยมีผลบังคับตัง้ แต่วนั ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2550 คำ�ขวัญของอำ�เภอ ศรีณรงค์นามองค์เจ้าเมือง ถิ่นรุ่งเรืองไทยส่วย ลำ�ห้วย สองสาย ยิ่งใหญ่บุญร่วมมิตร พืชเศรษฐกิจยางพารา Former part of Sang Kha District, Si Narong was promoted to sub-district on February 7,1955 and effective on April 1,1955. It was later promoted to Si Narong District on August 24,2007 and effective on September 8,2007 เรื่องเล่าเมืองสุรินทร์
17
5
อำ�เภอจอมพระ*/ Jomphra* District
ประวัติความเป็นมา อำ�เภอจอมพระ เดิม เป็นตำ�บลหนึ่ง ขึ้นอยู่ในเขตการปกครองของ อำ�เภอท่าตูม จังหวัดสุรนิ ทร์ ต่อมาได้ยกฐานะ ตั้งเป็นกิ่งอำ�เภอ เมื่อ พ.ศ. 2502 โดยใช้ชื่อ ของตำ�บลเดิม คือ “จอมพระ” ตั้งเป็นชื่อของ กิ่งอำ�เภอ เรียกว่า “กิ่งอำ�เภอจอมพระ” ต่อ มาเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2508 ได้มีพระ ราชกฤษฎีกาให้ยกฐานะเป็นอำ�เภอ เรียกว่า “อำ�เภอจอมพระ” คำ�ขวัญของอำ�เภอ จอมพระเมืองเก่า เล่าลือปราสาทหิน ถื่นงามวัฒนธรรม เลิศลํ้าผ้าไหม สะอาดใสลํานํ้าสี เกษตรอินทรีย์เป็นเลิศ ก่อเกิดข้าวหอมมะลิ Former Jomphra original one district. Depending on the area of Tha Toom District in Surin Province. Subsequently held the position on the District 1959 is the name of the district was “Jomphra” is the name of the sub-district called “King Ampur Jomphra” on Later, on July 27, 1965 with the royal court for the district as referred to the “Ampur Jomphra”. * เกี่ยวกับการเรียกชื่อของ “จอมพระ” นี้ ไม่สามารถค้นหาหลักฐานอ้างอิงได้แน่นอน เป็นแต่เพียงตำ�นานของชาวบ้านได้เล่าขานสืบต่อมาว่า ย้อนหลังไปเมื่อประมาณ 329 ปีเศษ มีชนเผ่าหนึ่งขนานนามตนเองว่า “ส่วย” ได้อพยพมาจากเมืองอัตปือแสนแปใน แคว้นนครจำ�ปาศักดิ์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในปัจจุบัน มาตั้งถิ่นฐาน บ้านเรือนในแถบอำ�เภอจอมพระ บ้านจอมพระในปัจจุบนั และ ณ ทีแ่ ห่งนีไ้ ด้พบปราสาท หินศิลาแลง มีพระพุทธรูปประดิษฐานอยูภ่ ายในปราสาทหิน เมือ่ ได้พบสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิเ์ ป็น ที่เคารพบูชาเช่นนี้ ชาวบ้านจึงได้ขนานนามชื่อหมู่บ้านว่า “จอมพระ” ปราสาทหินดัง กล่าวปัจจุบันถือว่าเป็นปูชนียสถานที่สำ�คัญแห่งหนึ่งของอำ�เภอจอมพระ ในบริเวณดัง กล่าวมีสำ�นักสงฆ์ตั้งอยู่ เรียกว่า “วัดป่าจอมพระ” * The story of the name Jomphra were told among local people in the past that, more than 300 years ago, there were a group of people calling themselves “Suay” migrated from At Pue San Pae of Champa Sak. This place are in Lao now. They came to stay in this area and discovered a laterite Prasat Hin containing a holy Buddha image inside. So they named the town “Jom Phra”. This Prasat Hin is now an important holy place in the district. There is also a Buddhist Monastery “Wat Pa Jom Phra” in the area.
18
เรื่องเล่าเมืองสุรินทร์
6 ประวัติความเป็นมา กิ่งอำ�เภอเขวาสินรินทร์เดิมอยู่ในเขตการ ปกครองของอำ�เภอเมืองสุรินทร์ ต่อมาสภาตำ�บลเขวาสินรินทร์ สภาตำ�บล ปราสาททอง สภาตำ�บลตากูก และสภาตำ�บลบ้านแร่ ได้ขอแยกเขตการปกครอง ออกจากอำ�เภอเมือง จัดตัง้ กิง่ อำ�เภอเขวาสินรินทร์เมือ่ วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 และได้มพี ระราชกฤษฎีกายกฐานะขึน้ เป็นอำ�เภอเขวาสินรินทร์ โดยมีผล บังคับตั้งแต่วันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2550 คำ�ขวัญของอำ�เภอ ผ้าไหมงาม อร่ามเครื่องเงิน เขวาสินรินทร์ Former sub-district Khwao Sinrin used to be under Muang District. Later the District Council of Tambon Khwao Sinrin, Prasart Thong, Ta Kuk and Ban Rae proposed to separate from Muang District and promoted to Khwao Sinrin District on Jul 15, 1996. Its was later promoted to Khwao-Sinrin District effective on September 8, 2007
อำ�เภอเขวาสินรินทร์/ Khwao Sinrin District
7
อำ�เภอบัวเชด/ Bua Ched District
ประวั ติค วามเป็ น มา อำ�เภอบัวเชด เดิมเป็นตำ�บลหนึ่ง อยู่ในเขตการปกครองท้องที่ของ อำ�เภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ กระทั่งวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2521 กระทรวง มหาดไทยได้ประกาศแบ่งท้องทีอ่ ำ�เภอสังขะ แยก 3 ตำ�บล ออกเป็นกิง่ อำ�เภอบัว เชดคือ ตำ�บลบัวเชด ตำ�บลสะเดา และตำ�บลจรัส รวม 32 หมู่บ้าน จนกระทั่ง เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2527 ได้ยกฐานะเป็นอำ�เภอ และย้ายมาตั้งที่ ว่าการอำ�เภอ ณ บ้านหมื่นสังข์ ตำ�บลบัวเชด จนถึงปัจจุบัน คำ�ขวัญของอำ�เภอ บัวเชดเขตชายแดน ทิวทัศน์แสนสวยรวยธรรมชาติ ปราสาท ค่าลํ้างามถํ้าผาไทร ประทับใจเขาศาลา Former Tambon under Sang Kha District, Tambon Bua Ched, Tambon Sa Dao and Tambon Cha Rad, Until 21 August 1978 the Ministry of the Interior announced the separation Sang Kha Local District 3 into District is a Tambon Bua Ched, Tambon Sa Dao and Tambon Ja Rad. total of 32 villages were separated from Sang Kha District and promoted to be Bua Ched sub-district. It was then promoted to be District on Jul 27, 1984 and also moved to Ban Muin Sang in Tambon Bua Ched until now. เรื่องเล่าเมืองสุรินทร์
19
8 ประวัตคิ วามเป็นมา อำ�เภอท่าตูมชือ่ เดิมเรียก อำ�เภออุดร เนือ่ งจาก อยู่ทางทิศเหนือของจังหวัดสุรินทร์ ในปี พ.ศ. 2456 ได้สร้างที่ว่าการอำ�เภอขึ้น ที่ฝั่งแม่นํ้ามูล แต่ที่ตั้งนี้ไม่เหมาะสม เนื่องจากอยู่ใกล้ริมแม่นํ้ามูลเกินไป ฤดู ฝนนํ้าไหลเซาะตลิ่งพัง และที่ดินน้อยลงทุกปี จึงได้ย้ายไปตั้งที่ว่าการอำ�เภอขึ้น ใหม่บริเวณตลาดสดทุกวันนี้ และได้เปลี่ยนชื่อใหม่ว่าอำ�เภอสุรพินท์ ซึ่งอำ�เภอ สุรพินท์ต้องขึ้นต่อเมืองขุขันธ์ ซึ่งมีระยะทางไกลมาก สร้างความลำ�บากให้แก่ ข้าราชการและราษฎร ทีจ่ ำ�เป็นต้องไปติดต่อราชการ จึงให้อำ�เภอสุรพินท์มาขึน้ ต่อเจ้าเมืองสุรินทร์ และเปลี่ยนชื่ออำ�เภอใหม่เป็น อำ�เภอท่าตูม คำ�ขวัญของอำ�เภอ ท่าตูม ถิน่ ช้างใหญ่ ผ้าไหมเนือ้ ดี ประเพณีเรือยาว ข้าวหลาม ขึ้นชื่อ เลื่องลือทุ่งกุลา งามตาแม่นํ้ามูล Tha Tum District was former Udon District as it is located in the north part of Surin Province. In 1913, the District house was build very close to the Mun River and water erosion of the bank finally forced the relocation to the new place at the fresh market today. This new district was then called Surapin District under Muang Ku Kan which was very far away. That made it difficult for people to travel and contact for formal affair. Surapin District then later transferred to be under Muang Surin and changed the name to Tha Tum District since then.
อำ�เภอท่าตูม/ Tha Tum District
9 ประวัติความเป็นมา คำ�ว่าลำ�ดวนในที่นี้มา จากคำ�กริยาในภาษาเขมรว่า เรือมโดล หมายความว่า “รำ�จนล้ม” ซึ่งมีเรื่องเล่าว่า ดินแดนแห่งนี้เป็นดินแดนที่ มีแต่ความสุขสนุกสนาน ผู้คนชอบร้องรำ�ทำ�เพลงจนล้ม หัวคะมำ� จนเป็นที่มาของชื่ออำ�เภอ คำ�ขวัญของอำ�เภอ ลำ�ดวนสุรพินท์ ถิน่ ผ้าไหมงาม ข้าวนํา้ พร้อมพรัก อนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี สามัคคีมีนํ้าใจ The name of the District is derived from Khmer word “Ruem Dol” which means “dance til drop”. There was a story about this place in the past that it was truely land of joy. People do so much dance that they stumble.
20
อำ�เภอลำ�ดวน/ Lum Duan District
เรื่องเล่าเมืองสุรินทร์
10 อำ�เภอโนนนารายณ์/ None Narai District
ประวัติความเป็นมา เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2540 กระทรวง มหาดไทยได้ประกาศยกฐานะพืน้ ทีเ่ ขตการปกครอง 5 ตำ�บล 58 หมูบ่ า้ น ของ อำ�เภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ ขึ้นเป็นกิ่งอำ�เภอโนนนารายณ์ และได้ยกฐานะ เป็นอำ�เภอเมื่อวันที่ 8 กันยายน 2550 คำ�ขวัญของอำ�เภอ ดินแดนเจ้าแม่โนนนารายณ์ ระบือไกลข้าวสารหอมมะลิ ปลืม้ ปีตกิ ารทำ�เกษตรอินทรีย์ มีทบั หลังบ้านขุมดิน ท้องถิน่ งานบุญบัง้ ไฟ ประทับใจ ซิ่นไหม สุ่ม เปล มนต์เสน่ห์เมืองโนนนารายณ์ On Jul 1, 1997 the area of 58 villages of Ratana Buri District was promoted to be None Narai sub-district and later to be None Narai District on Sep 8, 2007.
11 อำ�เภอพนมดงรัก/ Phanom Dong Rak District
ประวัติความเป็นมา อำ�เภอพนมดงรัก จัดตั้งขึ้นตามประกาศกระทรวงมหาด ไทย ฉบับลงวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2538 โดยแบ่งเขตการปกครองออกจากอำ�เภอ กาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ มีผลตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2538 เป็นต้นไป คำ�ขวัญของอำ�เภอ ปราสาทเก่า ทิวเขา งาม อ่างนํ้าใส ใฝ่วัฒนธรรม Phanom Dong Rak District was separated from Kab Cherng District effective April 1, 1995. เรื่องเล่าเมืองสุรินทร์
21
อำ�เภอปราสาท/ Prasat District
12 ประวัติความเป็นมา อำ�เภอปราสาท เดิมเป็นท้องที่ขึ้นอยู่ในความ ปกครองของอำ�เภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2480 ทาง ราชการได้พจิ ารณาเห็นว่าอำ�เภอเมืองสุรนิ ทร์มจี ำ�นวนพลเมืองมาก มีอาณาเขต กว้างขวางการปกครองดูแลไม่ทวั่ ถึง การคมนาคมไม่สะดวก การติดต่อระหว่าง อำ�เภอกับตำ�บลบางแห่งห่างไกลและเป็นท้องทีท่ รุ กันดาร และเพือ่ ความสะดวก ในด้านการปกครอง การป้องกันและปราบปรามโจรผู้ร้าย ตลอดจนเพื่อสร้าง ความเจริญให้แก่ทอ้ งถิน่ อำ�เภอเมืองสุรนิ ทร์จงึ ได้แยกท้องทีต่ ำ�บลกังแอน ตำ�บล ไพล ตำ�บลตาเบา อำ�เภอทุ่งมน ตำ�บลบักได ตำ�บลทมอ และตำ�บลปรือ รวม 7 ตำ�บล ตั้งเป็น “อำ�เภอปราสาท” ที่ได้ชื่อนี้เพราะเป็นท้องที่ซึ่งมีปราสาทที่ สร้างโดยฝีมอื ขอมอยูห่ ลายแห่ง เช่น ปราสาทหินบ้านพลวง ตำ�บลกังแอน และ ปราสาทหินปราสาท ตำ�บลเชื้อเพลิง คำ�ขวัญของอำ�เภอ ปราสาทเด่นสง่า ประชาสามัคคี ชือ่ ดีนามกระเดือ่ ง รุง่ เรือง วัฒนธรรม Prasart District first consisted of 7 Tambons formerly under Muang District, Kung Ann, Plai, Ta Bao, Thung Mon, Buk Dai, Tha Mor and Prue. This was because Muang District became too large to be managed effectively and to make it more convenient and safer for its people. The new District was named after the fact that there are many Khmer Ruins in the area e.g. Ban Pluang Khmer Ruins in Tambon Kang Ann, Prasat Khmer Ruins in Tambon Chue Plerng.
13 อำ�เภอสนม/ Sanom District
ประวัติความเป็นมา อำ�เภอสนม เดิมเรียกว่า บ้านหนองสนม ซึ่งตั้งตามพืช ชนิ ด หนึ่ ง คล้ า ยหญ้ า ปล้ อ ง เดิ ม ขึ้ น อยู่ กั บ อำ�เภอรัตนบุรี ต่อมาได้ยกฐานะเป็นกิง่ อำ�เภอ เมือ่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2514 และได้มพี ระราชกฤษฎีกายกฐานะเป็นอำ�เภอ เมือ่ วันที่ 13 เมษายน 2520 เป็นต้นมา คำ�ขวัญของอำ�เภอสนม สนมถิน่ หนองใหญ่ ผ้าไหมดีมหี มอนขิด ผลิตข้าวหอม พร้อมวัฒนธรรม Formerly called “Ban Nong Sanom” as the name of a plant similar to jointed grass suggested. It was under Ratana Buri District and was promoted to sub-district on Jul 1, 1971 before being promoted again to Sanom District on April 13, 1977. 22
เรื่องเล่าเมืองสุรินทร์
14 อำ�เภอเมืองสุรินทร์/ Muang District ประวัติความเป็นมา ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างขึ้นเมื่อใด แต่
สันนิษฐานว่าระหว่าง พ.ศ. 2451-2453 ซึง่ เป็นยุคการเปลีย่ นแปลงการปกครอง ของบ้านเมือง โดยสมัยนั้นพระกรุงศรีบุรีรักษ์ (สุม สุมานนท์) นายอำ�เภอกรุง เก่า ย้ายมาเป็นข้าหลวงกำ�กับราชการเมืองสุรินทร์ มีการปรับปรุงสร้างสถานที่ ราชการ ถนนหนทางในเมือง ซึง่ ปรากฏว่าการสร้างทีว่ า่ การอำ�เภอเมืองสุรนิ ทร์ ครัง้ แรกเป็นอาคารไม้ มุงหญ้าคา ชัน้ เดียว ตรงริมถนนออกจากศาลากลางด้าน ตะวันตก ตรงหน้าอาคารสรรพากรจังหวัดสุรินทร์ (เก่า) โดยมีนายพานเมือง อะมะระนิมิต เป็นนายอำ�เภอคนแรก ต่อมาได้ย้ายจากที่เดิมไปสร้างด้านทิศ ตะวันออกของศาลากลางจังหวัด และย้ายไปอยู่ที่ปัจจุบัน ซึ่งเดิมเป็นสถานที่ ก่อสร้างเรือนจำ�จังหวัดสุรินทร์ คำ�ขวัญของอำ�เภอ อำ�เภอเมืองสุรินทร์ ถิ่นจักสาน อุทยานพนมสวาย รวมใจ หลักเมือง ลือเลื่องผ้าไหม หย่อนใจห้วยเสนง ครื้นเครงกันตรึมดี ไหว้พระชีว์ หลวงปู่ดุลย์ There was no evidence of when the District was built but assumably during 1908-1910 which the administrative structure was changed a lot. At that time, Phra Krung Si Borirak, (Sum Samanont) moved to be in charge of Muang Surin. There were many improvements in government buildings and local roads. The first 1-storey District building was made of wood with thatch roof in front of the old Provincial Revenue building. The first marshal was Mr. Panmuang Amaranimit. Later it was moved to the east of the City Hall and then to the current location that used to be the location of Provincial Prison. เรื่องเล่าเมืองสุรินทร์
23
15 อำ�เภอศีขรภูมิ/ Si Khoraphum District ประวัติความเป็นมา อำ�เภอศีขรภูมิพิสัย เมื่อแรกตั้งอยู่บนที่ลุ่ม นํ้าท่วมถึงบ่อยครั้ง ในปลายปี พ.ศ. 2454 จึงได้ย้ายที่ทำ�การอำ�เภอมาอยู่บ้าน อนันต์ ตำ�บลยาง ซึ่งเป็นที่สูงนํ้าไม่ท่วม ทางการจึงได้ตั้งเป็นที่ทำ�การอำ�เภอ อย่างถาวร พร้อมทั้งตัดคำ�ว่า “พิสัย” ออก เหลือเพียง “อำ�เภอศีขรภูมิ” ซึ่ง หมายถึง แผ่นดินที่เป็นที่สูงหรือภูเขา คำ�ขวัญของอำ�เภอ ศีขรภูมิลือเลื่อง เมืองหลวงพ่อปิ่น ปราสาทหินงามเด่น ลำ�พองเย็นนํ้าใส ผ้าไหมชวนเเล กาละแมรสดี เปรมปรีดิ์สระสี่เหลี่ยม เปี่ยม ล้นด้วยภาษา ลํ้าค่าวัฒนธรรม Si Khoraphum Pisai District was located on a plain that were flooded many times in the past. In late 1911, the district was moved to Ban Anan, Tambon Yang which is a highland. It was established here permanently and the word Pisai in the name was cut off to be Si Khoraphum District only which means highland or mountain.
อำ�เภอสำ�โรงทาบ/ 16 Sam Rong Tab District
ประวัตคิ วามเป็นมา อำ�เภอสำ�โรงทาบ ตั้ ง ชื่ อ ตามต้ น ไม้ ช นิ ด หนึ่ ง คื อ “สำ�โรงเตี้ ย ” เป็นต้นไม้ที่มีขนาดใหญ่ ที่ราษฎรในเขตอำ�เภอ สำ�โรงทาบให้ความเคารพนับถือมาก ในแต่ละ ปีจะมีราษฎรนำ�ดอกไม้ธูปเทียนไปสักการะเป็น ประจำ� เพื่อทำ�พิธีขอฝน ดังนั้นอำ�เภอสำ�โรงทาบ จึงได้นำ�ชื่อของต้นสำ�โรงเตี้ยมาตั้งเป็นชื่อของ อำ�เภอ ซึ่งคำ�ว่า “เตี้ย” ตรงกับภาษาส่วยว่า “เตี้ยบ” เป็นภาษาไทยว่า “ทาบ” ดังนั้นจึงได้ชื่อว่า “สำ�โรงทาบ” มาจนถึงปัจจุบัน คำ�ขวัญของอำ�เภอ สำ�โรงทาบเขตราบลุ่ม ชุ่มชื่นธรรมชาติ เด่นผงาดไก่สาม สายพันธุ์ อัศจรรย์เกษตรอินทรีย์ ข้าวหอมมะลิพันธุ์ดี มากมีหญิงงาม ลือนาม อ่างเกาะแก้ว เพริศแพร้วริมห้วยกะลา The District was named after a highly respected big tree called “Sam Rong Tia”. People worship this tree with flowers, incense and candles for rain. The word Tia in Suay language is Tiab and in Thai is Tab. That the origin of the name of Sam Rong Tab District until now. 24
เรื่องเล่าเมืองสุรินทร์
17 อำ�เภอรัตนบุรี/ Ratana Buri District ประวัตคิ วามเป็นมา เมืองนครเตา หรือเมืองรัตนบุรี เดิมเป็นหมูบ่ า้ น
ชือ่ ว่า “บ้านบุง่ หวาย หรือบ้านหวาย” เนือ่ งจากบริเวณนีม้ หี วายมาก จนชาวบ้าน ในแถบนั้นได้นำ�หวายไปทำ�ประโยชน์ในครัวเรือน คำ�ว่า บุ่ง เป็นภาษาพื้นบ้าน หมายถึง ที่ที่มีนํ้าซึมออกมาตลอดเวลา ในสมั ย อยุ ธ ยา ชาวไทยพื้ น เมื อ งกลุ่ ม หนึ่ ง ซึ่ ง เรี ย กตั ว เองว่ า ส่วย กวย หรือกูย ที่อาศัยในเมืองอัตปือแสนแป ในแคว้นจำ�ปาศักดิ์ ที่มีความรู้ ความสามารถในการจับช้างมาเลีย้ งไว้เพือ่ ใช้งาน ได้พากันอพยพข้ามลำ�นํา้ โขงมา ตั้งหลักฐานที่บ้านกุดหวาย บุ่งหวาย หรือเมืองเตา (อำ�เภอรัตนบุรี ในปัจจุบัน) คำ�ขวัญของอำ�เภอ เมืองพ่อศรีนครเตา พระเจ้าใหญ่วดั เหนือ งามเหลือพระโพธิ์ ศรีธาตุ ใสสะอาดห้วยแก้ว เพริศแพรวผ้าไหม ขนมจีนถูกใจ บุญบั้งไฟตระการ ตา ชาวประชานํ้าใจงาม Muang Nakon Tao or Muang Ratana Buri was a former village called Ban Bung Wai or Ban Wai. There were so much rattan in the area that most people used them in their households. “Bung” is a local language meaning “Area which water always ooze out”. In Ayuthaya Era, some locals from At Pue San Pae of Cham Pa Sak then was under Thai Kingdom calling themselves “Suay” or “Kui” or “Kuay”, migrated across Khong river and settled down around this area of Ban Kud Wai, Bung Wai or Ratana Buri today. These people are very capable of catching and training wild elephants. เรื่องเล่าเมืองสุรินทร์
25
งานวันช้างไทย
Thai Elephant Day
จังหวัดสุรินทร์ เป็นที่รู้จักกัน ทั่วไปว่าเป็น “เมืองช้าง” เนื่องจากมี “ช้าง เลี้ยง” มากที่สุดในโลก ชาวสุรินทร์เลี้ยง ช้ า งและมี ค วามผู ก พั น กั บ ช้ า งราวกั บ เป็ น สมาชิกคนหนึ่งของครอบครัว จึงไม่แปลกที่ จังหวัดสุรนิ ทร์จะมี “หมูบ่ า้ นช้าง” และ “งาน แสดงช้าง” เป็นเสมือนสัญลักษณ์ด้านการ ท่องเที่ยวหลักของจังหวัด นอกจากนี้ยังมี งานเทศกาล งานวันช้างไทย ซึ่งในวันนั้นจะ มีการจัดแสดงเกีย่ วกับช้างโดยทัว่ ไป อาทิ มี การจัดแสดงนิทรรศการเกีย่ วกับช้างภายใน พิพิธภัณฑ์ช้าง มีการแสดงของช้างแสนรู้ หรือจะนั่งแท็กซี่ช้างชมทัศนียภาพภายใน ศูนย์คชศึกษา ดูช้างเล่นนํ้าที่วังทะลุ และ ดูภาพวิถีชีวิตที่ผูกพันระหว่างคนกับช้าง ที่ จะทำ�ให้เรารู้จักช้างมากกว่าที่ไหนในโลก ตลอดจนร่วมทำ�บุญบริจาคอาหารช้างเพื่อ ความเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต วั น ช้ า งไทย จั ด ขึ้ น ในวั น ที่ 13 มีนาคมของทุกปี ซึ่งเป็นวันเดียวกับใน อดีตที่คณะกรรมการคัดเลือกสัตว์ประจำ� ชาติ มีมติให้ช้างเผือกเป็นสัญลักษณ์ของ ประเทศไทย การที่ประกาศให้มีวันช้างไทย ขึ้นนั้น นับเป็นการยกย่องให้เกียรติช้างว่า เป็นสัตว์ที่มีความสำ�คัญของประเทศไทย เพื่อที่คนไทยจะได้ร่วมกันให้การช่วยเหลือ ช้างไทย ที่มีเหลืออยู่เพียงไม่กี่พันเชือกให้ อยู่คู่ชาติไทยต่อไป
26
เทศกาลวันสำ�คัญ Surin Cultural Festivals
Surin is well-known as the City of Elephant because it has the highest number of pet elephant in the world. Surin people do elephant husbandry and live with their elephants as if they were family members. No wonders there are Elephant Villages and Elephant Festivals which are the symbols for tourism of the province. In Thai Elephant Day, there will be many general elephant shows, exhibitions in the museum, intelligent elephant shows, taxi elephants for scenery tour in the Elephant Study Center, elephant bathing at Wang Tha Lu and other activities reflecting the close relationship between humans and elephants. It’s the best place to learn more about elephant and the opportunity to support or donate for these magnificent animals. Thai Elephant Day is on 13th March of each year, the same day that white elephant was selected to be National Animal of Thailand. This special day was created to remind Thai people the importance of Thai Elephants from the past to appreciate and support on only thousands elephants left to continue to last with Thailand in the future.
งานประเพณี ขึ้นเขาสวาย จัดขึน้ ในวันขึน้ 1 คํา่ เดือน 5 ของ ทุกปี บรรพบุรษุ ของชาวสุรนิ ทร์เชือ่ ว่า “เขาสวาย” หรือ “พนมสวาย” เป็นสถานที่แสวงบุญ จึงจัด งานบุญประจำ�ปีเพื่อให้ได้มีโอกาสมาสักการะ สิ่งศักดิ์สิทธิ์บนเขาสวาย ในวันงานจะมีการแห่ ขบวนเครื่องสักการบูชาที่สวยงามของประชาชน นับหมื่น โดยผู้มาร่วมงานจะแต่งกายด้วยชุด พื้นเมือง ผ้าไหม หรือผ้าฝ้าย ตามประเพณีท้อง ถิ่น นอกจากนั้นจะมีการกราบไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ เช่น พระใหญ่หรือพระพุทธสุรินทรมงคล รอย พระพุ ท ธบาทจำ�ลอง อั ฐิ ห ลวงปู่ ดู ล ย์ อตุ โ ล พระพุทธรูปองค์ดำ� หลวงปู่สวน ปราสาทหิน พนมสวาย ศาลเจ้าแม่กวนอิม เต่าหินศักดิ์สิทธิ์ สระนํ้าศักดิ์สิทธิ์ และร่วมเคาะระฆัง 1,080 ใบ เพื่อเป็นสิริมงคล เขาสวาย มีความสำ�คัญต่อชาว สุรินทร์มาตั้งแต่โบราณกาล กล่าวคือ เมื่อถึง เดือนห้าของทุกปีบรรพบุรุษชาวสุรินทร์จะถือ เป็นงานประเพณีหยุดงาน ซึง่ การหยุดงานจะแบ่ง ออกเป็น 2 ช่วง คือ ช่วงที่ 1 ตอมตู๊จ ซึ่งหมาย ถึงวันหยุดงานเล็ก จะมีการหยุดงานเพียง 3 วัน นับตั้งแต่วันขึ้น 1 คํ่า ถึงวันขึ้น 3 คํ่า เดือน 5 ช่วงที่ 2 ช่วงตอมธม หมายถึง วันหยุดใหญ่ จะ มีการหยุดงานทั้งหมด 7 วัน นับแต่วันแรม 1 ค่ำ� ถึงวันแรม 7 คํ่า เดือน 5 ซึ่งประเพณีการ หยุดงานตามช่วงระยะเวลาดังกล่าว ชาวสุรินทร์ มีความเชื่อว่า ต้องหยุดการทำ�งานทั้งหมด หาก ใครไม่หยุดทำ�งานก็จะมีอันเป็นไป และในวันขึ้น 1 คํ่า เดือน 5 ของทุกปี ชาวจังหวัดสุรินทร์จะ ร่วมมือร่วมใจจัดงานบุญประเพณีขนึ้ เขาสวายขึน้ ประกอบกับวันดังกล่าวถือว่าเป็นวันขึน้ ปีใหม่ทาง จันทรคติ ดังนัน้ ชาวสุรนิ ทร์จะหยุดงานและพากัน เดินทางไปขึน้ เขาสวายเพือ่ กราบไหว้สงิ่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ เสริมสิริมงคลชีวิตต่อตนเองและครอบครัว
Ascending Phanom Sawai Mountain Festival
This is an annual event on the 1st day of the waxing moon of the 5th lunar month. Surin people have a believe from the ancient time that Sawai or Phanom Sawai Mountain is a place for pilgrimage so they created this opportunity annually. There will be a parade of tens of thousands of people dressing in special silk or cotton cloths making a beautiful pilgrimage to the holy spirits. They will pay respect to Phra Yai or Phra Buddha Surindra Mongkol, Buddha’s Footprint Model, Luang Pu Dun Atulo’s Bone Ash, Ong Dam Buddha Image, Luang Pu Suan, Phanom Sawai Khmer Ruins, Guan Yin Shrine, the Holy Stone Turtle, the Holy Well and also hit the 1,080 bells for good fortunes. Sawai Mountain had an important role for Surin people for a long time. Every fifth month of the year, Surin’s ancestors would take a break from work. This was done in 2 steps. First, Tom Tud or a minor break of 3 days from the first to the third day of the waxing moon of the fifth lunar month. Next is Tom Thom or the major break of 7 days, from the first to the seventh day of the waning moon of the fifth lunar month. They believe that tt is important to stop doing all the work otherwise there might be a lethal incident to that person. On the first day of the waxing moon of the fifth lunar month of every year which also the new year day according to the lunar calendar, Surin people will together join the Ascending Phanom Sawai Mountain Festival to pay homage to holy spirits the luck in their lives. เทศกาลวันสำ�คัญ Surin Cultural Festivals
27
Ordination parade on elephant’s back
This event will be held at Wat Chang Sawang, Ban Ta Klang, Tha Tum District on the 13th – 15th day of the waxing moon of the 6th lunar month. There will be งานประเพณี the grand parade of future priests บวชนาคช้าง on more than 50 elephants crossing จัดทีว่ ดั แจ้งสว่าง บ้านตากลาง the Mun River extensively. There อำ�เภอท่าตูม ในวันขึ้น 13-15 คํ่า เดือน will also be shaving ceremony and 6 ชมการแห่นาคด้วยขบวนช้างกว่า 50 the parade to pay respect to holy เชือก ข้ามลำ�นํ้ามูลกันอย่างเอิกเกริก พิธี spirits at Chao Por Wang Tha Lu โกนผมนาค พิธีแห่นาคช้างไปสักการะ Shrine and finally the ordination สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ศาลเจ้าพ่อวังทะลุ และพิธี ceremony. Ordination parade on อุปสมบทนาค งานประเพณี บ วชนาคช้ า ง elephant’s back or Buad Ar was a หรืองานบวชอะ เป็นประเพณีเก่าแก่ของ traditional Kuay culture since almost ชาวกวยตั้งแต่อพยพย้ายถิ่นฐานมาอยู่ที่ 200 years ago when they landed in บ้านตากลางประมาณเกือบ 200 ปีมาแล้ว this area. With the beliefs in ghosts and holy spirits together with the ตามคตินยิ มทีน่ บั ถือผีประกอบกับวิถชี วี ติ ที่ผูกพันกับช้างอย่างแนบแน่น เมื่อคน rooted bond with elephants, the รุ่นหลังได้ยอมรับนับถือพระพุทธศาสนา next generations that became budเหมือนชาวพุทธทั่วไปในดินแดนแถบนี้จึง dhist had created a unique blend รวมความเชื่อและศรัทธาปฏิบัติเข้าด้วย of faiths and religious practices กั น อย่ า งเป็ น เอกลั ก ษณ์ เ ฉพาะกลุ่ ม ชน together as this Ordination parade ของตนเองด้วยการบวชนาคช้าง ดังนั้น on elephant’s back. This will be เมือ่ ครอบครัวใดมีลกู ชายอายุครบบวช คือ done for sons who became 20 20 ปีบริบูรณ์ พ่อแม่จะต้องจัดการบวช years of age by their parents. ให้ลูก ชาวกวยที่บ้านตากลาง กำ�หนดพิธี Kuay people in Ban Ta Klang put งานบวชในเทศกาลวิสาขบูชา หรือระหว่าง it during the Vesak Festival on วันเพ็ญขึ้น 13-14-15 คํ่า เดือน 6 โดย 13th-14th-15th day of the waxing การอุปสมบทเป็นภิกษุสงฆ์ของชาวกวย moon of the 6th lunar month. The จะมีขบวนแห่แหนนาคทุกองค์ด้วยการ ordination of each men will be done ขีช่ า้ ง บางทีเ่ รียกว่าขีช่ า้ งแห่นาค แต่ชาว on elephants’ back in an attractively บ้านเรียกว่างานบวชนาคช้าง อย่างภาค decorated procession of hundreds ภูมิใจว่าเป็นงานประเพณีที่ยิ่งใหญ่ที่สุด of future priests on hundreds of elephants. The parade will be more ในประเทศไทยและยิง่ ใหญ่ทสี่ ดุ ในโลกก็วา่ ได้ เพราะมีขบวนช้างร่วมแห่นาคนับร้อย than one kilometre in length and is เชือก มีนาคร่วมแห่นบั ร้อยคน มีขบวนแห่ the grandest event in thailand or maybe even in the world. ยาวไกลไม่น้อยกว่ากิโลเมตร
28
เทศกาลวันสำ�คัญ Surin Cultural Festivals
งานประเพณีแซนโฎนตา บูชาบรรพบุรุษ นั บ เป็ น งานประเพณี ที่ สำ�คั ญ ของชาวจังหวัดสุรินทร์ โดยมีการถือปฏิบัติ เป็ น ประจำ�ทุ ก ปี ใ นแรม 14 เดื อ น 10 เป็ น การแสดงถึ ง ความกตั ญ ญู ก ตเวที ต่ อ บรรพบุ รุ ษ ที่ ล่ ว งลั บ ไปแล้ ว และเป็ น การ แสดงออกถึงความรัก ความเอื้ออาทรต่อ บุพการีผู้มีพระคุณ เมื่อถึงวันนี้ชาวสุรินทร์ จะพร้อมใจกันหยุดภารกิจการงานและร่วม กันเซ่นไหว้ที่บ้านแต่ละบ้าน โดยยึดบ้านที่ อาวุโสที่สุดของครอบครัว
SanToneTa – Paying Respect to the Ancestors
This is an important festival of Surin people. Every year on the 14th day of the waning moon of the 10th lunar month, people will stop working and stay home making offerings to show love and gratitude to their deceased ancestors’ spirits. This can be done at the house of the oldest member of the family. เทศกาลวันสำ�คัญ Surin Cultural Festivals
29
งานแสดงช้าง
งานแสดงของช้างจังหวัด สุรินทร์ จัดในวันเสาร์ อาทิตย์ กลาง สัปดาห์ท่ี 3 เดือนพฤศจิกายนของทุกปี ถื อ เป็ น งานประจํ า ปี ร ะดั บ ชาติ ที่ นํ า ชื่อเสียงมาสู่ประเทศไทย และจังหวัด สุ ริ น ทร์ การแสดงของช้ า งประกอบ ด้ ว ยการแสดงคล้ อ งช้ า ง การชั ก เย่ อ ระหว่างคนกับช้าง ช้างแข่งฟุตบอล ช้าง เต้นระบําขบวนพาเหรด ขบวนช้างศึก รวมทั้งการแสดงศิลปะพื้นเมือง เช่น รำ�เรือมอันเร เซิ้งบั้งไฟ ฯลฯ รำ�เรือมอันเร เป็นการละ เล่ น ของชาวไทยเชื้ อ สายเขมรจั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ มี ลั ก ษณะคล้ า ยการละเล่ น ลาวกระทบไม้ของไทย เดิมนิยมเรียกว่า “ลูดอันเร” คำ�ว่า “ลูด” หมายถึง การ เต้น หรือกระโดด ส่วนคำ�ว่า “อันเร” หมายถึง สาก ลูดอันเร จึงหมายถึง การเต้ น สาก หรื อ ระบำ�สาก ต่ อ มา เปลี่ ย นเป็ น เรี ย กว่ า “เรื อ มอั น เร” คำ�ว่า “เรือม” หมายถึง การรำ� ดังนั้น เรือมอันเร จึงหมายถึงรำ�สาก การเล่นเรือมอันเรจะเล่น กันในช่วงวันหยุดสงกรานต์ การเล่นนี้มี ลักษณะการร่ายรำ�ทีส่ นุกสนานครืน้ เครง มีท่ากระโดดโลดเต้นเข้ากับจังหวะของ สากทีก่ ระทบกัน เกิดเสียงดังสนุกสนาน ซึ่งเรือมอันเรยังเป็นการเปิดโอกาสให้ หนุม่ สาวทีร่ กั ใคร่ชอบพอกันได้มาพบปะ กันด้วยการละเล่นพื้นบ้านนี้ด้วย
30
เทศกาลวันสำ�คัญ Surin Cultural Festivals
Surin Elephant Round-up
This national event will be held on Saturday and Sunday in mid November each year. It’s a well-known event that bring reputation to Thailand and Surin. There are a lot of elephant shows such as elephant round-up, tug of war between humans and elephants, elephant football, elephant dance and parade show, war elephant parade and also traditional local art and culture shows e.g. Rum Ruem Um Reh and Sueng Bung Fai. “Rum Ruem Um Reh” is a kind of play of Khmer-Thai people in Surin similar to “Lao Kra Tob Mai” of Thai people. It was formerly called “Lud Un Reh”. The word “Lude” means dance or bouncing and the word “Un Reh” means flail, so “Lud Un Reh” means “frail bouncing”. Later its name was changed to Ruem Um Reh as the word Ruem also means dance, so Ruem Um Reh means frail dance. People will play Ruem Um Reh during Songkran holidays. They will have lots of fun with the jolly rhythms dancing with the frails. This local play event will also sserves as opportunities for men and women who are in love to be able to meet up and share the moments together.
งานฉลองปราสาทศีขรภูมแ ิ ละงานประเพณีลอยกระทง จัดขึน้ บริเวณปราสาท ศี ข รภู มิ วั น เสาร์ แ ละวั น อาทิ ต ย์ สัปดาห์ทสี่ ามของเดือนพฤศจิกายน ของทุ ก ปี ในงานมี ก ารจั ด แสดง แสง เสี ย ง การจำ�ลองวิ ถี ชี วิ ต คนพื้นเมือง (เขมร ลาว ส่วย) การแสดงวัฒนธรรมพื้นบ้าน การ จำ�หน่ายของที่ระลึก การประกวด นางนพมาศ การประกวดกระทง และขบวนแห่
Si Khoraphum Khmer Ruins Celebration and Loi Krathong This event will be held at the Si Khoraphum Khmer Ruins on the third Saturday and Sunday of November each year. There will be light and sound show and the demonstration of the way of life of local people (Khmer, Lao, Suay) local traditional culture show, souvenir shop, Noppamas Beauty Contest, Kratong Contest and parades. เทศกาลวันสำ�คัญ Surin Cultural Festivals
31
งานแต่งงานและจดทะเบียนสมรส บนหลังช้าง(พิธีซัตเต) จัดขึน้ ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ของทุกปี ณ หมู่บ้านช้าง บ้านตากลาง อำ�เภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ การแต่งงาน แบบพิ ธี ซั ต เต เป็ น พิ ธี ก ารแต่ ง งานที่ ศักดิ์สิทธิ์ของชาวกูย ภายในงานมีการ จัดขบวนขันหมากบนหลังช้างของเจ้าบ่าว พิธเี ลีย้ งอาหารช้างเพือ่ ความเป็นสิรมิ งคล การจดทะเบียนสมรสบนหลังช้างทีย่ งิ่ ใหญ่ และมีแห่งเดียวในโลก
แห่เทียนเข้าพรรษาและ ตักบาตรบนหลังช้าง
Wedding Ceremony and Registration on Elephant’s back (Sat Te)
This event will be held on 14th of February each year at the Elephant Village, Ban Ta Klang, Tha Tum District. Sat Te wedding is a holy event of Kui people. There will be the procession of the groom’s parents (Khan Mak procession) on the elephant’s back, the feast for the elephants and the wedding registration on the elephant’s back all of which are only one in the world here.
32
เทศกาลวันสำ�คัญ Surin Cultural Festivals
สุ ริ น ทร์ เ ป็ น เมื อ งที่ ใ ห้ ค วาม สำ�คัญกับช้าง เป็นอย่างมาก ช้างมีความ สำ�คั ญ ต่ อ วิ ถี ชี วิ ต คนไทยตั้ ง แต่ ใ นอดี ต มา อย่ า งยาวนาน ดั ง นั้ น ในช่ ว งเทศกาลเข้ า พรรษา นั้นก็คือ การแห่เทียนเข้าพรรษา และตักบาตรบนหลังช้างซึ่งจะจัดขึ้นทุกปี ในช่วงวันเข้าพรรษา ภายในงานจะมีขบวน แห่เทียนพรรษาและขบวนแห่ช้างที่ประดับ ตกแต่งอย่างงดงาม บริเวณหน้าศาลากลาง จังหวัดสุรนิ ทร์ และอนุสาวรียพ์ ระยาสุรนิ ทร์ ภักดีศรีณรงค์จางวาง อ.เมือง จ.สุรินทร์ นั ก ท่ อ งเที่ ย วสามารถนั่ ง ชมบนอั ฒ จั น ทร์ ได้ ณ บริเวณอนุสาวรีย์พระยาสุรินทร์ภักดี ศรีณรงค์จางวาง ผู้สนใจร่วมงานประเพณี ท้องถิ่นของชาวสุรินทร์ สอบถามข้อมูลเพิ่ม เติมได้ที่สำ�นักงานจังหวัดฝ่ายอำ�นวยการ โทร. 0 4451 2039
Buddhist Lent Candle Procession and Alms Giving on Elephant’s back Surin is the city of elephant and they are an important part of Thai people for a long time. During Buddhist Lent festival every year, there will be the event of beautiful and elegantly decorated parade of Buddhist Lent Candle Procession and Alms Giving on Elephant’s back at the City Hall area and the monument of Phraya Surin Pakdi Si Narong Chang Wang, Muang District. Visitors can watch the event from the grandstand near the monument. More info at the city office Tel. 044-512039. เทศกาลวันสำ�คัญ Surin Cultural Festivals
33
หลักเมืองสุรินทร์ เป็นสถานที่สำ�คัญคู่บ้านคู่เมืองอยู่ ห่างจากศาลากลางจังหวัดไปทางตะวันตกราว 500 เมตร เดิมเป็นเพียงศาลไม่มเี สาหลักเมือง มีมานาน กว่ า ร้ อ ยปี เมื่ อ ปี พ.ศ. 2511 กรมศิ ล ปากร ออกแบบสร้ า งศาลหลั ก เมื อ งเสาหลั ก เป็ น ไม้ ชัยพฤกษ์ ได้จากนายประสิทธิ์ มณีกาญจน์ อำ�เภอ ไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี เป็นเสาไม้สูง 3 เมตร วัดโดยรอบเสาได้ 1 เมตร ทำ�พิธียกเสาหลักเมือง และสมโภช เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2517
City Pillar Shrine
This is an important place of the city located 500 m to the west of the City Hall. In the past there was no pilar in the shrine for more than a hundred years. In 1968, the Fine Arts Department designed and built the main city pillar with Cassia javanica wood from Mr. Prasit Maneekarn, the marshal of Saiyok District, Kanchanaburi. It is 3 m high and 1 m in perimeter and was established and cerebrated on March 15, 1974.
34
สิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง Holy and Provincial Attractions
อนุสาวรีย์พระยา สุรินทร์ภักดีศรีณรงค์ จาวาง (ปุม) สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2527 ด้วย ดำ�ริร่วมกันของ นายพิศาล มูลศาสตรสาทร ปลั ด กระทรวงมหาดไทย และนายเสนอ มูลศาสตร์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์ มี วัตถุประสงค์สำ�คัญเพื่อเป็นอนุสรณ์สถาน ที่ ร ะลึ ก ถึ ง ผู้ ส ร้ า งเมื อ งท่ า นแรก ซึ่ ง เป็ น บุคคลสำ�คัญของประวัติศาสตร์เมืองสุรินทร์ เป็นอย่างยิ่ง ตั้งอยู่ที่ กม 0 ถนนสุรินทร์ปราสาท ซึ่ ง เป็ น ทางเข้ า เมื อ งทางด้ า นใต้ และเป็นบริเวณที่เคยเป็นกำ�แพงเมืองชั้นใน ของตัวเมืองสุรินทร์ อนุสาวรีย์เป็นรูปหล่อ ทองเหลืองรมดำ� สูง 2.20 ม. มือขวาถือ ของ้าว อันเป็นการแสดงถึงความเก่งกล้า สามารถของท่านในการบังคับช้างศึก และ เป็นเครื่องแสดงว่าสุรินทร์เป็นเมืองช้างมา แต่ดึกดำ�บรรพ์ รูปปั้นสะพายดาบคู่อยู่บน หลังอันหมายถึงความเป็นนักรบ ความกล้า หาญ อันเป็นคุณสมบัติที่ตกทอดเป็นมรดก ของคนสุรินทร์ในปัจจุบัน จังหวัดสุรินทร์ได้ ทำ�พิธีเปิดอนุสาวรีย์แห่งนี้ เมื่อ วันเสาร์ที่ 13 เมษายน 2528
The Monument of Phraya Surin Pakdi Si Narong Chang Wang (Pum)
Built in 1984 from the idea of Mr. Pisal Mulasartsathorn, the undersecretary of the ministry of Interior and Mr. Saner Mulasart, the governor of Surin. The objective is to make this place the tribute to the founder of the city who is an important person of Surin history. It is located at km 0 on Surin-Prasat road, the south entry of the city. This location used to be the inner wall of Surin City. The monument was made of black brass with 2.2 m in height, an halberd in the right hand and a pair of swords on his back. This is to symbolize the long history of Surin and the elephant together with his ability to control the war elephant and his valor and bravery that is also inherited to Surin people today. The monument was established and open to public on April 13, 1985. สิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง Holy and Provincial Attractions
35
Phanom Sawai Forest Park
วนอุทยานพนมสวาย วัดบูรพาราม
เป็นวัดเก่าแก่แต่ดง้ั เดิม สันนิษฐาน ว่ า สร้ า งขึ้ น ในสมั ย กรุ ง ธนบุ รี ห รื อ สมั ย ต้ น กรุงรัตนโกสินทร์ มีอายุประมาณ 200 ปี เท่า ๆ กับอายุเมืองสุรินทร์ สร้างโดยพระยาสุรินทร์ ภักดีศรีณรงค์จางวาง (ปุม) เจ้าเมืองสุรินทร์ คนแรก กรมการศาสนาได้ยกขึ้นเป็นวัดพัฒนา ตัวอย่าง เมื่อปี พ.ศ. 2511 และพระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ทรงกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ให้ ย ก วัดบูรพาราม ขึ้นเป็นพระอารามหลวงตั้งแต่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2520 วัดบูรพารามเป็นวัดทีป่ ระดิษฐาน “หลวงพ่อชีว์” หรือ “หลวงพ่อปะจี” พระพุทธ รูปสำ�คัญที่ชาวสุรินทร์ เคารพบูชา ถือเป็นสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์สูงสุด ของเมืองสุรินทร์ “หลวงพ่อ พระชีว์” เป็นพระพุทธรูปปาง มารวิชัยหน้าตัก กว้าง 4 ศอก ประดิษฐานอยู่ในมณฑป จตุรมุข ทางด้านตะวันตกของพระอุโบสถ ไม่มี หลักฐาน ว่าสร้างขึ้นเมื่อใด บางคนสันนิษฐานว่าสร้างขึ้น มาพร้อมกับวัดบูรพาราม นอกจากนี้วัดบูรพารามยังเป็นวัด ที่จำ�พรรษาตั้งแต่เริ่มต้นจนมรณภาพของหลวง ปู่ดุลย์ อตุโล เกจิอาจารย์ชื่อดังของภาคอีสาน ด้วย ปัจจุบันได้สร้างพิพิธภัณฑ์ของหลวงปู่ดุลย์ อตุโล ไว้ในบริเวณวัดนีใ้ ห้อนุชนรุน่ หลังได้ศกึ ษา
36
สิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง Holy and Provincial Attractions
Wat Buraparam This ancient temple was presumably built in Thonburi period or early Rattanakosin by the founder of Muang Surin, Phraya Surin Pakdi Si Narong Chang Wang (Pum). It is around 200 years old as is Muang Surin. Department of Religious Affairs promoted this temple to be a Demonstration Temple for Development in 1968. King Rama 9 was also kind enough to promote it again to the a Royal Temple on February 1, 1977. The Subduing Mara Buddha image is this temple is called Luang Por Che or Luang Por Pa Jee, the most highly respected Buddha image in Surin. It is 4 cubits in lap width and is situated in the Mondop to the west of the temple hall. There is no evidence of when it was built but it is presumed to be the same time of building the temple. Wat Buraparam was also the house of Luang Pu Dun Atulo, the famous Buddhist monk pandit in Isaan. There is a museum of Luang Pu Dun Atulo in the temple area for future generations to learn about him too.
มีเนื้อที่ 1,975 ไร่ ตั้งอยู่ในเขตป่า สงวนแห่งชาติปา่ เขาสวาย ตำ�บลนาบัว อำ�เภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ “พนมสวาย” เป็นภาษาพื้นเมือง สุรนิ ทร์ “พนม” แปลว่า ภูเขา “สวาย” หมายถึง มะม่วง ในหมู่พนมสวายประกอบด้วยภูเขา 3 ลูกซึ่งมีชื่อ พื้นเมืองเรียกแตกต่างกันไป ได้แก่ “พนมกรอล” แปลว่า เขาคอก มีความสูงประมาณ 150 เมตร “พนมเปร๊าะ” แปลว่า เขาชาย มีความสูงประมาณ 220 เมตร และ “พนมสรัย” แปลว่า เขาหญิง มีความสูงประมาณ 210 เมตร ในอดีตบรรพบุรุษชาวสุรินทร์ถือว่า เขาพนมสวายเป็นสถานที่แสวงบุญ โดยการเดิน ทางไปขึ้นยอดเขาในวันขึ้น 1 คํ่า เดือน 5 ซึ่งเป็น วันหยุดงานตามประเพณีของชาวจังหวัดสุรินทร์มา แต่โบราณกาล และจวบจนปัจจุบนั ชาวสุรนิ ทร์ยงั ถือ ปฏิ บั ติ เ รื่ อ ยมา ผู้ ที่ ม าเยื อ นเขาพนมสวายจะได้ สักการะ9สิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองเพื่อความเป็น สิริมงคล คือพระใหญ่หรือพระพุทธ สุรินทรมงคล รอยพระพุทธบาทจำ�ลอง อัฐิหลวงปู่ดุลย์ อตุโล พระพุทธรูปองค์ดำ� หลวงปูส่ วน ปราสาทหินพนมสวาย ศาลเจ้าแม่กวนอิม เต่าศักดิส์ ทิ ธิ์ และสระนํา้ ศักดิส์ ทิ ธิ์ พระพุทธสุรนิ ทรมงคล เป็นพระพุทธ รูปปางประทานพร ตั้งอยู่ในวนอุทยานพนมสวาย เขาชาย จังหวัดสุรินทร์ หันพระพักตร์ไปทางทิศ ตะวั น ออก มี ห น้ า ตั ก กว้ า ง 15 เมตร สู ง 25 เ ม ต ร ชื่ อ พ ร ะ พุ ท ธ รู ป นี้ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชทานไว้ ต่อมาใน ปี พ.ศ. 2527 มีพธิ เี บิกพระเนตรพระพุทธ สุ ริ น ทรมงคล และอั ญ เชิ ญ พระบรมสารี ริ ก ธาตุ ไปบรรจุไว้ ณ พระนาภี
With the area of 1,975 rai, Phanom Sawai Forest Park is located in the Kao Sawai National Forest, Tambon Na Bua, Muang District, Surin. Phanom Sawai is local Surin langauge. Phanom means mountain and Sawai means mango. There are 3 mountains with different local names in this mountain range, Pahnom Krol or Kao Kok, Phanom Proh or Kao Chai and Phanom Srai or Kao Ying. They are 150m, 220m, and 210m high accordingly. Surin people have a believe from the ancient time that Sawai or Phanom Sawai Mountain is a place for pilgrimage. They will ascend Phanom Sawai mountain on the 1st day of the waxing moon of the 5th lunar month which is the day off from work for people for a long time until today. Visitors to Phanom Sawai will get to visit and pay respect to 9 holy places for good fortune in life. These places are Phra Yai or Phra Buddha Surindra Mongkol, Buddha’s Footprint Model, Luang Pu Dun Atulo’s Bone Ash, Ong Dam Buddha Image, Luang Pu Suan, Phanom Sawai Khmer Ruins, Guan Yin Shrine, the Holy Stone Turtle and the Holy Well. Phra Buddha Surindara Mongkol is a Buddha image in the attitude of Blessing located in Phanom Sawai Forest Park, Kao Chai. The image is facing east, 15 m in lap width and 25 m in height. The name was given by His Majesty the King. In 1984, there was an Opening of the Eyes holy ceremony (Berg Net) and the invitation and installation of Buddha’s relics to the navel.
สิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง Holy and Provincial Attractions
37
ศาลาอัฏฐะมุข
Luang Pu Dun สถูปบรรจุอัฐิ หลวงปูด ่ ล ุ ย์ อตุโล Atulo’s Bone Ash ตั้งอยู่บนพนม- Stupa กรอล (เขาคอก) ภายใน วนอุทยานพนมสวาย สร้าง ขึน้ ในปี พ.ศ. 2525 เพือ่ บรรจุ อัฐิหลวงปู่ดุลย์ อตุโล พระ เกจิอาจารย์ชื่อดังของจังหวัด สุรนิ ทร์และภาคอีสาน ซึง่ เป็น ที่นับถือของพุทธศาสนิกชน ถื อ เป็ น อนุ ส รณ์ ส ถานพระ ราชวนาราม ที่นักท่องเที่ยว สามารถขึ้นเขาสวายมากราบ ไหว้ได้ทุกเมื่อ
38
สิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง Holy and Provincial Attractions
This place is on Phanom Krol or Kao Kok in the Phanom Sawai Forest Park. It was built in 1982 to store Luang Pu Dun Atulo’s Bone Ash, who was a highly respected famous pandit monk of Surin and Isaan. Visitors can always come to visit this holy place on Phanom Sawai mountain.
ตั้งอยู่บนพนมกรอล (เขา คอก) ภายในวนอุทยานพนมสวาย สร้าง ขึ้นในปี พ.ศ. 2525 โดยพุทธสมาคม จังหวัดสุรินทร์ได้จัดสร้างศาลาอัฏฐะมุข เป็นอนุสรณ์ฉลองครบรอบ 200 ปี แห่ง การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เพือ่ อัญเชิญ พระพุทธบาทจำ�ลอง จากยอดเขาชายมา ประดิษฐานไว้ในศาลา รอยพระพุ ท ธบาทจำ�ลอง ภายในศาลาอัฐะมุข เป็นที่ประดิษฐาน รอยพระพุทธบาทจำ�ลองซึ่งสร้างขึ้นเมื่อ ปี พ.ศ. 2470 เดิมประดิษฐานอยู่บนเขา ชาย หลังจากสร้างศาลาอัฐะมุขแล้วจึงย้าย มาประดิษฐานที่นี่
Sala At Ta Mook This place is also on Phanom Krol or Kao Kok in the Phanom Sawai Forest Park. It was built in 1982 by the Buddhist Association of Surin in the occasion to cerebrate 200th anniversary of Ratanakosin. The Buddha Footprint Model was relocated from Kao Chai and installed in this Sala At Ta Mook. สิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง Holy and Provincial Attractions
39
Not to Scale
จ. มหาสารคาม Maha Sarakham
ไป จ. บุรรี มั ย์ To Buri Ram
219
214
แมน่ า้ํ ชี
ไป To Bจu. บรุ รี มั ย์ ri Ram
กรุงเทพมหานคร BANGKOK
หมูบ่ า้ นช้าง บ้านตากลาง Mooban Elephant Ban Ta Klang
Maenam Che
ปราสาทหินจอมพระ Prasat Hin Chom Phra หมูบ่ า้ นเขวาสินรินทร์ Mooban Khwasinarin
W
ปราสาทบ้านปราสาท Airport ปราสาทตะเบียงเตีย Prasat Ban Prasat Prasat Ta Plang Tia อ. ปราสาท ปราสาทบ้านไพล Prasat Prasat Ban Phial
2375
E
อ. ศรีณรงค์ Amphoe Si Narong
อ. ลำ�ดวน Lamduan อ. สังขะ Sangkha
ปราสาทหินบ้านพลวง Prasat Hin Ban Phluang
อ. บัวเชด Buachet
อ. กาบเชิง Kap Choeng
พนมดงรัก ไป อ. บ้านกรวด Amphoeอ.Phanom Dong Rak To Amphoe 2121 ปราสาทตาเมือนโต๊ด Bankruat Prasat Ta Muan Tot
214
ไป อ. ปรางค์กู่ To Amphoe Prang Ku
ปราสาทภูมโิ ปน Prasat Phum Pon
2328 ปราสาทยายเหงา Prasat Yai Ngao
ปราสาทตาเมือนธม Prasat Ta Muan Thom
S
กัมพูชาประชาธิปไตย DEMOCRATIC CAMBODIA
แผนที่ท่องเที่ยวจังหวัดสุรินทร์ Surin Tourist Map
ไป อ. ภูสงิ ห์ To Amphoe Phusing
แผนที่ท่องเที่ยวจังหวัดสุรินทร์ Surin Tourist Map
N
อ. ศีขรภูมิ Sikhonraphum
ไป จ. ศรีสะเกษ To Si Sa Ket
40
์ บรุ รี มั ย ไป จB. uri Ram To
2077
อ. สำ�โรงทาบ Samrong Thap
ศรีขรภูมิ Sikhonraphum
หมูบ่ า้ นจักสาน บ้านบุทม 2371 Mooban Baskettry Ban Buthom หมูบ่ า้ นจันรม Chanrom Village
อ. เมืองสุรนิ ทร์
2328 Mueang Surin
สนามบิน
Legend Tourist Attraction Airport Railway Station Highway River, Stream Railway
ปราสาทศรีขรภูมิ Prasat Sikhonraphum
226
ห้วยเสนง Huai Saneng วนอุทยานพนมสวาย Phanom Sawai Forest Park 214
สัญลักษณ์ สถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว สนามบิน สถานีรถไฟ ทางหลวง แม่นา้ํ แหล่งนํา้ เส้นทางรถไฟ
2334 อ. เขวาสินรินทร์ Amphoe Khwao Sinarin
ปราสาทเมืองที Prasat Muang Thi
ไป จ. บุรรี มั ย์ To Buri Ram
อ. โนนนารายณ์ Amphoe Non Narai
อ. สนม Sanom
2333 อ. จอมพระ Chom Phra
2378
จ. บุรรี มั ย์ Buri Ram
2076
อ. ท่าตูม Tha Tum
ไป อ. โพธิศ์ รีสวุ รรณ To Amphoe Pho Si Suwan
แม่นา้ํ มูล
สุรนิ ทร์ Surin
อ. รัตนบุรี Rattababuri
Mae nam Mun
อ. ชุมพลบุรี Chumphon Buri
2081
ประเทศไทย Thailand
จ. ร้อยเอ็ด Roi Et
ไ To ป จ. Si ศรส Sa ี ะเ Ke กษ t
คาม าสาaรrakham ห ม . S ไป จ Maha To
Surin Tourist Map
ไป To Rจ. รอ้ ย oi Et เอด็
แผนที่ท่องเที่ยวจังหวัดสุรินทร์
41
ปฏิทินเทศกาล Calendar of Important Festivals มกราคม Jan
• ศรีอโรคยาศาล ตำ�นานปราสาทจอมพระ • Si ArokayaSan - The Legend of Chom Phra Khmer Ruins
กุมภาพันธ์ Feb
• งานจดทะเบียนบนหลังช้าง • Wedding Registration on Elephant’s back
• • • • •
มีนาคม
Mar
• • • •
เมษายน
Apr
พฤษภาคม May
สิงหาคม Aug ตุลาคม
Oct
งานวันช้างไทย งานประเพณีขึ้นเขาสวาย เคาะระฆัง 1,080 ใบ กราบไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ Thai Elephant Day Ascending Phanom Sawai Mountain Festival, hit 1080 Bells pay respect to Holy Spirits งานสืบสานตำ�นานปราสาทภูมิโปน เทศกาลเยี่ยมเยือนตาเมือนเดือนเมษา The Legend of Phum Pon Khmer Ruins Visit Ta Muen Festival
• งานประเพณีบวชนาคช้าง • Ordination parade on elephant’s back
• แห่เทียนพรรษาและตักบาตรบนหลังช้าง • Buddhist Lent Candle Procession and Alms Giving on Elephant’s back
• • • •
พฤศจิกายน•
งานประเพณีแซนโฎนตาบูชาบรรพบุรุษ งานเทศกาลประเพณีแข่งเรือยาวชิงถ้วยพระราชทาน SanToneTa – Paying Respect to the Ancestors King's Cup Long-tailed Boat Racing Festival งานต้อนรับและเลี้ยงอาหารช้าง งานมหัศจรรย์งานช้างสุรินทร์ งานสืบสานตำ�นานปราสาทศีขรภูมิ งานสมโภชศาลเจ้าพ่อหลักเมืองและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำ�จังหวัดสุรินทร์ Welcome Feast for Elephants Surin Elephant Round-up The Legend of Si Khoraphum Khmer Ruins The Cerebration of City Pillar Shrine and the Holy Spirits of Surin
Nov
• • • • • • •
ธันวาคม Dec
• งานเทศกาลปลาไหล ข้าวใหม่หอมมะลิ และงานกาชาด • Ell Festival, Jasmine Rice New Harvest, Red Cross Annual Fair
ห้ามพลาด DON’T MISS! พิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติสุรินทร์
ตัง้ อยูท่ ถี่ นนสุรนิ ทร์-ปราสาท หมู่ที่ 13 ตำ�บลเฉนียง ภายในพิพิธภัณฑ์ มีการจัดแสดงเป็น 4 ส่วน คือ อาคาร ที่ 1 เป็นโถงทางเข้าและทางเดิน อาคาร ที่ 2 เป็นส่วนการศึกษา ประกอบด้วย ห้องประชุม ห้องกิจกรรม ห้องรับรอง ห้ อ งสมุ ด อาคารที่ 3 เป็ น อาคารจั ด แสดงและสำ�นักงาน ประกอบด้วยห้อง นิทรรศการถาวร ห้องนิทรรศการชั่วคราว ห้องทำ�งานเจ้าหน้าที่ อาคารที่ 4 เป็น คลังพิพิธภัณฑ์ ประกอบด้วย ห้องคลัง โบราณวัตถุ ห้องปฏิบัติการอนุรักษ์และ สงวนรักษา
Surin National Museum
Located at Surin – Prasat road, Moo 13, Tambon Chaniang. There are 4 areas inside. Building 1 is the entrance hall and the hallway. Buildding 2 is an educational zone consisted of meeting rooms,activity rooms, reception rooms and a library. Building 3 is the area for permanent and temporary exhibitions as well as office spaces. Building 4 is the museum inventory i.e. antiquities inventory and conservation and restoration laboratory.
รูป: กรมศิลปากร
42
ปฏิทินเทศกาล Calendar of Important Festivals
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
43
เนื้อหาการจัดแสดงในห้องนิทรรศการของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสุรินทร์ แบ่งออกเป็น ๕ เรื่องคือ The content in the exhibition of the Surin National Museum is divided into 5 categories. ธรรมชาติ วิ ท ยา ในส่ ว นนี้ จั ด แสดง ๑ เรื่ อ งกายภาพของจั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ เนื้ อ หาประกอบด้ ว ย สภาพภู มิ ป ระเทศ ภูมอิ ากาศ ลักษณะทางธรณีวทิ ยา ปฐพีวทิ ยา ทรัพยากรธรรมชาติต่างๆ เช่น ดิน นํ้า ป่าไม้ สัตว์ป่า อุทยานแห่งชาติ เป็นต้น นอกจาก นี้ ยั ง จั ด แสดงเรื่ อ งข้ า วและการทำ�นาด้ ว ย เนื่องจากพื้นที่ของจังหวัดสุรินทร์ เป็นแหล่ง ปลูกข้าวหอมมะลิที่มีคุณภาพดีแห่งหนึ่ง
Natural History This area exhibits 1 the physical properties of Surin including topography, climates, geological features, agronomy and natural resources such as earth, water , forest, wild lives, national park etc. There is also an area about rice and farming as Surin is one of the best sources of Thai Jasmine Rice.
• ภายนอกของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสุรินทร์
ประวัติศาสตร์โบราณคดี มีเนื้อหา ๒ เกีย่ วกับพัฒนาการของผูค้ น ตัง้ แต่สมัย ก่อนประวัติศาสตร์ ที่พบหลักฐานในจังหวัด สุรนิ ทร์ตงั้ แต่เมือ่ 2,000-1,500 ปีมาแล้ว อัน ได้แก่ สมัยวัฒนธรรมทวารวดีซงึ่ เริม่ ประมาณ พุทธศตวรรษที่ 12-13 สมัยวัฒนธรรมขอม มีอายุประมาณตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12-18 จนถึงสมัยวัฒนธรรมล้านช้าง-อยุธยาในพุทธ ศตวรรษที่ 24
44
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
รูป: กรมศิลปากร
Historical Archaeology This area 2 is about the development of people in Surin from pre-historic period wiith evidence from 2,000 – 1,500 years ago. This includes the period of Dvaravati civilization from 12th-13th B.E., the period of Khmer civilization from 12th-18th B.E. up until the period of Lan Chang – Ayudhaya from 24th B.E.
ประวัติศาสตร์เมือง เนื้อหาในส่วนนี้ ๓ นำ�เสนอเกีย่ วกับประวัตศิ าสตร์ของจังหวัด สุรินทร์ โดยเริ่มจากชาวกูยช่วยจับช้างเผือก ที่หลุดมาจากกรุงศรีอยุธยา และได้รับความ ดีความชอบตั้งเป็นบ้านเมือง การปฏิรูปการ ปกครองมาเป็นระบบเทศาภิบาลและระบอบ ประชาธิปไตย ตามลำ�ดับ นอกจากนี้ ยังมี เนื้อหาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ด้านเศรษฐกิจ สังคม ประชากร และการศึกษา
History of the City This area 3 displays the history of Surin, starting from Kuy people’s success in returning the royal white elephant escaped from Ayudhaya City. They were rewarded with the settlement of a new city of their own. The administrative reform to Thesa Piban and then democracy respectively. In addition, there is also content about history in terms of economy, social, population and education. สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
45
46
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
Ethnology The content in this area
4 is about 4 groups of people of Surin. Kuy, the best in catching and training elephants. Khmer, the original locales living here long time ago. Lao, the latest comers and Thai Korat, originally from Nakorn Ratchasima.
รูป: กรมศิลปากร
เนื้ อ หาจะกล่ า วถึ ง ๔ ประชากรในจังหวัดสุรินทร์ ที่ประกอบ ด้วยชน 4 กลุ่มใหญ่คือ ชาวกูย กลุ่มชนที่มี ความสามารถในการจับและฝึกช้าง ชาวเขมร กลุ่มชนดั้งเดิมที่อาศัยอยู่ในจังหวัดสุรินทร์ มานานแล้ว ชาวลาว กลุ่มชนที่อพยพเข้ามา อยู่หลังสุด และชาวไทยโคราช เป็นชนที่มี ถิ่นฐานเดิมอยู่แถบจังหวัดนครราชสีมา ชาติ พั น ธุ์ วิ ท ยา
มรดกดีเด่น เนื้อหาจะกล่าวถึงมรดกทาง ๕ วัฒนธรรมของจังหวัดสุรินทร์ที่โดดเด่น และเป็นที่รู้จักโดยทั่วไปคือ งานศิลปหัตถกรรม ได้แก่ การทำ�เครื่องประดับเงินและการทอผ้าไหม ศิลปะการแสดงพื้นบ้าน ได้แก่ การแสดงเรือม ต่างๆ (เรือม แปลว่า การรำ�-การฟ้อนรำ�) การละ เล่นเจรียงแบบต่างๆ รวมถึงดนตรีพื้นบ้าน เช่น วงกันตรึม และการเลี้ยงช้าง ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ที่ โดดเด่น เป็นที่รู้จักของคนทั่วโลก
Outstanding Heritage This is all 5 about Surin well-known cultural heritages such as arts and hand crafts of silver products and silk, performing arts of various kinds of Ruem and Ja Riang. (Ruem means dance) as well as local music “Kun Treum” and the elephant husbandry that is uniquely world renowned. สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
47
การละเล่นเจรียง เป็นการละเล่นอย่างหนึ่งของชาว อีสานใต้ เจรียงเป็นภาษาเขมร แปลว่า ร้อง เป็นการ ขับร้องเป็นทำ�นองเสนาะแบบการอ่านทำ�นองเสนาะ ใช้ ใ นการเล่ า เรื่ อ งโบราณวั ฒ นธรรมความเป็ น อยู่ และประเพณี หรือเล่านิทานเป็นการสั่งสอนให้คน ทำ�ความดี ลักษณะของเจรียงจึงคล้ายกับหมอลำ�และ เพลงโคราช ดนตรีที่ใช้ประกอบคือ แคน การแสดง ประกอบด้วยผูร้ อ้ งฝ่ายชาย 1 คน และฝ่ายหญิง 1 คน คนเป่าแคนอีก 1 คน การเจรียงอาจจะเจรียงเป็นกระทู้ ถามตอบ ในช่วงหลังๆ จะเพิม่ ความสนุกสนานโดยใช้ บทหยอกล้อกระทบกระเทียบในลักษณะตลกคะนอง
48
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
• To Go There • The Surin National Museum is open 9 a.m. – 4 p.m. daily. Closed on Mon-Tue and public holidays. • For more info, please call 0-4451-3358 • Website : http://www.thailand museum.com
รูป: กรมศิลปากร
Performance is a kind of play in South Isaan. Ja Riang is Khmer language meaning “sing”. It is a kind of traditional rhythmic singing used for telling stories from the old days, cultures, ways of life, or to remind people to do good. Ja Riang is similar to Mor Lum and Pleng Korat. The performers include a musician with Lao reed mouthorgan and 2 singers, one male, one female. Ja Riang can be performed in a question and answer format and nowadays added by ironically humorous lines for additional fun.
Ja Riang
• พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ส ถ า น แ ห่ ง ช า ติ สุ ริ น ทร์ เ ปิ ด ทุ ก วั น เวลา 09.001 6 . 0 0 น . เ ว้ น วั น จั น ท ร์ - อั ง ค า ร และวันนักขัตฤกษ์ • สอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ได้ ที่ โทร. 0-4451-3358 • เว็บไซต์ http://www.thailandmuseum.com • การเดินทาง - มาจากเมืองสุรินทร์ ตั้งอยู่กิโลเมตรที่ 4 บนถนนสุรินทร์ปราสาท
ห้ามพลาด ศูนย์คชศึกษา ตั้ ง อยู่ ห มู่ ที่ 9 และ 13 บ้ า นตากลาง ตำ�บลกระโพ อำ�เภอท่ า ตู ม พื้ น ที่ ห มู่ บ้ า นเป็ น ที่ น าและป่ า ละเมาะ สลั บ กั บ ป่ า โปร่ ง เหมาะกั บ การเลี้ ย งช้ า ง ชาวบ้ า นตากลางดั้ ง เดิ ม เป็ น ชาวส่ ว ย หรื อ กู ย หรื อ กวย มี ค วามชำ�นาญในการคล้ อ งช้ า งป่ า ฝึ ก หั ด ช้ า งและ เลี้ ย งช้ า ง ซึ่ ง การเลี้ ย งช้ า งของชาวบ้ า นตากลาง ไม่ เ หมื อ นการเลี้ ย ง ช้ า งของชาวภาคเหนื อ ที่ เ ลี้ ย งไว้ ใ ช้ ง าน แต่ ช าวบ้ า นตากลางเลี้ ย ง ช้ า งไว้ เ ป็ น เพื่ อ นนอนร่ ว มชายคาเดี ย วกั บ ตน ดั ง นั้ น ที่ ศู น ย์ ค ชศึ ก ษา จึงเป็นแหล่งเรียนรู้วิถีชีวิตความเป็นอยู่ระหว่างคนกับช้าง ที่มีความผูกพัน กั น ตั้ ง แต่ เ กิ ด จนตาย อั น เป็ น เอกลั ก ษณ์ ที่ โ ดดเด่ น ของชุ ม ชนที่ มี เ พี ย ง แห่งเดียวในโลก
50
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
51
DON’T MISS! Elephant Study Center
Situated at Moo 9 and Moo 13, Ban Ta Klang, Tambon Kra Pho, Tha Tum District. The village areas are rice fields and brakes interspersed with sparse forests which are ideal for elephant husbandry. The villagers were originally Suay or Kuy or Kuay people who were very capable of catching and training elephants. Unlike people in the north of Thailand who train the elephants to work for them, these people of Ban Ta Klang raise these elephants and treat them as family members living under the same roofs. The Elephant Study Center then is the perfect place to learn more about this unique community of humans and elephants bonded together to the last day of their lives which is the only one in the world สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
53
แท็กซี่ช้าง Elephant Taxi
ทีศ่ นู ย์คชศึกษา เราจะได้พบ ความสามารถหลากหลายของช้างแสนรู้ เช่น การแสดงความสามารถพิเศษที่ช้าง ทั่วไปไม่อาจทำ�ได้ การนั่งช้างชมวิว การ ชมช้างเล่นนํา้ รวมถึงจะได้ศกึ ษาเรือ่ งราว ต่างๆ ที่เกี่ยวกับช้าง และวัฒนธรรมการ เลี้ยงช้างของชาว “กูย” ภายในศูนย์คช ศึกษายังมีพิพิธภัณฑ์ช้าง เพื่อรวบรวม ประวัติความเป็นมาเกี่ยวกับช้าง อุปกรณ์ ต่างๆ ทีใ่ ช้ในการคล้องช้าง และให้ความรู้ ในเรื่องข้อมูลเกี่ยวกับช้าง รวมถึงยังจะได้ชมการเซ่น ผีปะกำ� เป็นพิธสี ำ�คัญทีช่ าวกวยได้สบื ทอด มายาวนาน และจะกระทำ�การเซ่นไหว้ ก่อนออกไปจับช้างป่าทุกครั้ง เพื่อความ เป็นสิริมงคลและเสี่ยงทาย
54
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
At the Elephant Study Center, you will find various capabilities of sharp elephants performing many special abilities that normally, elephants are not capable of. You can tour the place on the elephant’s back, watch they play in water, learn all about elephants and also the culture of raising elephants by Kuy people. There is also a museum providing information about elephant and revealing history and all the tools related to catch and raising elephants. You can also see the offerings to Pakam Ghost which is an important ceremony inherited until today. They will do this every time before going to the wood to catch the elephants for luck and prediction.
พิ ธี จ ะกระทำ�โดยหมอช้ า งอาวุ โ ส เจ้าของบ้าน และญาติพี่น้อง นำ�ของเซ่นไหว้ไป ยังศาลปะกำ� จุดเทียนแล้วอัญเชิญผีปะกำ�และ วิญญาณบรรพบุรุษรับเครื่องเซ่นไหว้พร้อมกับ ขอพรเพื่อให้มีโชคลาภในกิจการนั้นๆ ในการ เซ่นผีปะกำ� มีหลักว่าผู้ทำ�พิธีและขึ้นศาลปะกำ� ได้จะต้องเป็นผู้ชาย ลูกหลานของต้นตระกูล ผู้ เป็นเจ้าของศาลปะกำ� บุคคลอื่นห้ามขึ้นโดยเด็ด ขาด และโดยเฉพาะสตรีห้ามแตะต้องหนังปะกำ� เด็ดขาด ดังนั้นผู้เข้าร่วมพิธีจึงต้องนั่งอยู่ที่พื้นดิน ล้อมรอบศาลปะกำ� This ceremony will be done by a senior elephant charmer. The host and their family will bring the offerings to the Pra Kam Shrine and lid the candles inviting Pa Kam Ghosts and their ancestors’ spirit to claim the offerings and ask the blessing for success. In this ceremony, only the men who are inherited in the family owning the shrine can be part of the ceremony and get on the shrine. Women are strictly prohibited to touch the Pa Kam leather. All other participants need to sit on the ground around the shrine.
56
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
57
• ติดต่อสอบถามได้ที่ ศูนย์คชศึกษา บ้ า นตากลาง ตำ � บลกระโพ อำ � เภอ ท่าตูม โทร. 0-4414-5050, 0-44511975 • For more info, please call Elephant Study Center, Ban Ta Klang, Tambon Kra Pho, Tha Tum District. 04414-5050, 0-4451-1975 • การเดิ น ทาง อยู่ ห่ า งจากจั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ไ ปทางเหนื อ ตามทางหลวง หมายเลข 214 (สุรน ิ ทร์-ร้อยเอ็ด) ก่อน ถึงอำ�เภอท่าตูม มีทางแยกซ้ายบริเวณ หลักกิโลเมตรที่ 36 ไปตามทางลาดยาง อีกประมาณ 22 กิโลเมตร • To Go There Located north of Surin City. Take route 214 (Surin – Roi Et) before reaching Tha Tum District, turn left at km. 36 onto the paved road for 22 km.
58
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
ตลาดการค้าช่องจอม
ตั้ ง อยู่ ที่ บ้ า นด่ า นพั ฒ นา ตำ�บลด่าน ห่างจากตัวเมืองสุรินทร์ 69 กิโลเมตร ฝั่งตรงข้ามด้านกัมพูชาเป็น ชุมชนโอร์เสม็ด อำ�เภอสำ�โรง จังหวัดอุดร มีชยั ช่องจอมเป็นเส้นทางข้ามแดนทีใ่ หญ่ และสะดวกทีส่ ดุ ของจังหวัดสุรนิ ทร์ทจี่ ะไป ยังกัมพูชา ทำ�ให้มีการติดต่อสัญจรไปมา และซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างชาว ไทย และกัมพูชามาเป็นเวลาช้านาน ตลาด แห่งนี้เปิดทำ�การค้าขายและสัญจรไปมา ทุกวันเวลา 08.00-20.00 น. (อนุญาตให้ ข้ามแดนเฉพาะคนไทยเท่านั้น) ประเภท สิ น ค้ า มี ทั้ ง สิ น ค้ า ที่ จำ�เป็ น ต่ อ การดำ�รง ชีวิตประจำ�วัน และสิ่งประดิษฐ์จากไม้ เช่น ม้านั่ง หัตถกรรมไม้ เสื่อสานไม้ไผ่ ตะกร้าสานต่างๆ การเดินทาง ใช้เส้นทางสุรินทร์-ช่องจอม ห่างจากตัวเมืองสุรินทร์ 69 กิโลเมตร และห่างจากตัวอำ�เภอกาบเชิง 13 กิโลเมตร
Chong Jom Market
Located at Ban Dan Pattana, Dan District, 69 km. from Surin City. The opposite side in Cambodia is Or Samed Community, Samrong District, Udorn Meechai Province. Chong Jom is the biggest and most convenient border pass between Surin and Cambodia so there are a lot of trade and travel among people of Thailand and Cambodia for a long time. This market place opens everyday from 8 a.m. – 8 p.m. (The pass is allowed only for Thai citizen). Goods sold here are usually general daily use products as well as craft works and wood products such as stool, wooden handicraft, bamboo mat and basketry. To Go There Use route Surin – Chong Jom 69 km. from Surin City (13km. from Kab Cherng District) สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
59
1
2
4 7
3
5 ค้นหาของดีราคาถูกได้ที่นี่ “ช่องจอม” 1 เครื่องทองเหลืองราคาถูก 2 เครื่องเงินของประดับตกแต่ง 3 เครื่องเงินลายโบราณ 4 ชุดน้ำ�ชาทองเหลือง ของเก่า หายาก แต่ซื้อได้ที่นี่ 5 ของกินราคาถูก 6 สินค้าหลากหลาย 7 เปลือกต้นพยอม ส่วนผสมใน การกินหมาก กินเฉพาะทีส ่ ร ุ น ิ ทร์ 8 ถาด ทอง เหลื อ ง ลวด ล า ย สวยงาม
6
60
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
8
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
61
ระฆัง 1,080 ใบ
ภายในวนอุทยาน พนมสวาย สร้ า งขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 5 ธั น วาคม 2550 ตามโครงการ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง พุ ท ธ เฉลิ ม พระเกี ย รติ 80 พรรษา เนื่ อ งในโอกาสมหามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา 80 พรรษา วันที่ 5 ธันวาคม 2550 โดยนายพูนศักดิ์ ประณุทนรพาล ผู้ว่าราชการจังหวัด สุรินทร์ และคณะสงฆ์จังหวัดสุรินทร์ ร่วมกันจัดหาระฆัง 1,080 ใบจากวัด ทั้งหมดในจังหวัดสุรินทร์ 1,070 วัด และวัดสำ�คัญในกรุงเทพมหานคร 10 วัด เพือ่ ติดตัง้ บริเวณสถานทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ ภายในบริเวณวนอุทยานพนมสวายให้ มีภูมิทัศน์สวยงามยิ่งขึ้น โดยให้นัก ท่องเทีย่ วและประชาชนทัว่ ไปได้เคาะ ระฆังบูชาพระรัตนตรัย เพือ่ ความเป็น สิริมงคลแก่ตนและครอบครัว
วนอุทยาน พนมสวาย
ซุ้มประตูวนอุทยาน พนมสวาย
ซุ้มประตูแห่งนี้นับเป็นเอกลักษณ์อัน โดดเด่นของวนอุทยานพนมสวาย ซึ่ง เป็นสถาปัตยกรรมสมัยขอมโบราณ สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2548-2549 โดย ได้รับการสนับสนุนงบประมาณในปี 2548 เพื่อพัฒนาพื้นที่เขาสวายเป็น แหล่งท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์อกี แห่งหนึง่ ของจังหวัดสุรินทร์
62
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
The Gate at Phanom Sawai Forest Park
Phanom Sawai Forest Park
The Gate at Phanom Sawai Forest Park is one of a unique symbol of the Phanom Sawai Forest Park. It is built in ancient Khmer-styled in 2005-2006 from the 2005 budget to develop the area of Phanom Sawai for conservative tourism of Surin.
1,080 Bells They were built and open to public in Phanom Sawai Forest Park on December 5, 2007 according to the promotion of 80th year King Glorification Buddhism Tourism project in occasion of the cerebration of His Majesty the King 80th birthday on December 5, 2007. Mr. Poonsak Pranutnorapan and monks in Surin together gathered 1,070 bells from 1,070 temples in Surin and another 10 bells from 10 important temples in Bangkok and installed them in the holy place in Phanom Sawai Forest Park. People would hit these bells to pay respect to the Triple Gem (Buddha, Dhamma, Sangha) for good fortune in their lives and their families'. สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
63
ลานหินล้านปี
เป็นพื้นที่ลานหินกว้างท่ามกลาง โอบกอดของป่าแคระ มีหินเรียงรายติดต่อกันเป็น จำ�นวนมาก ทำ�ให้เกิดทัศนียภาพที่สวยงาม ตาม จินตนาการของผู้พบเห็น การเดินทาง เมื่อเข้ามาถึงซุ้มประตู แล้วเลี้ยวขวา ไปอีกประมาณ 6 กิโลเมตร ภายในมีเส้นทาง ศึกษาธรรมชาติ อยู่ด้านขวามือ จะมีป้ายบอก ทางเป็นระยะๆ
The Million Years Stone Park
พระพุทธรูปองค์ดำ� ตั้งอยู่บนยอดเขาชาย (พนมเปร๊าะ) มีศาลาพระพุทธรูปองค์ดำ� อยูด่ า้ น หน้าของพระพุทธสุรนิ ทรมงคล เป็นศาลาทีส่ ร้าง ตามแบบศิลปะขอมแบบโบราณ พระพุทธรูป รูปองค์ดำ� สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2532 หน้าตักกว้าง 120 เซนติเมตร สูง 104 เซนติเมตร เดินขึน้ มาจากบันได จากระฆัง 1,080 ใบ จะพบศาลาพระพุทธรูปองค์ดำ�อยู่ซ้ายมือ Ong Dam Buddha Image Situated in the ancient Khmer-styled Sala in front of the Surindra Mongkol Buddha Image on the top of Kao Chai. (Phanom Proh). Ong Dam Buddha Image was built on July 17, 1989 with 120 cm in lap width and 104 cm in height. From the 1,080 bells, this Sala of Ong Dam Buddha Image is on the left.
64
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
เจดีย์บรรจุอัฐิพระยาสุรินทร์ภักดี ศรี ผ ไทสมั น เจดี ย์ บ รรจุ อั ฐิ พ ระยา
This area is a spacious plain of rock surrounded by scrub forest. The arrangement of a large number of rocks can make a nice scenery upon your imagination.
สุ ริ น ทร์ ภั ก ดี ศ รี ผ ไทสมั น (จรั ณ ย์ ) เจ้าเมืองสุรินทร์คนที่ 8 (พ.ศ. 2438) อยู่ในบริเวณวัดพนมศิลาราม ใกล้ๆ ซุ้ม ประตู แ ละบั น ไดนาคของวั ด พนมศิ ล า สามารถขับรถขึ้นมาได้จนถึงด้านบนสุด ของวัดพนมศิลา The Stupa of Phraya Surin Pakdi Si Phatai Saman, bone ash. The Stupa of Phraya Surin Pakdi
Si Phatai Saman, bone ash (Jaran), the 8th Muang Surin Ruler (1895) is located in the Wat Phanom Silaram area close to the temple gate and Naag staircase of Wat Phanom Silaram. This can be reached by car.
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
65
รอยเท้าหลวงตาพรหม
เป็ น ปรากฏการณ์ ท างธรณี ไม่ มี คำ� อธิบายชัดเจน ตามตำ�นานเล่าว่า หลวง ตาพรหมเป็นคนโบราณทีม่ รี ปู ร่างใหญ่โต มาก ได้หาบหินมาถึงเขาสวาย ไม้คาน เกิดหัก หินที่หาบมาก็หล่นมากองกันจน กลายเป็นเขาสวาย
Luang Ta Prom’s Footprint
This is a geological phenomenon with no clear explaination. The myth about this place is that Luang Ta Prom was a hugh ancient man. He was carrying rocks passing this area when his lever broke off. This incident made the Sawai mountain out of those rocks.
66
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
การเดินทาง วนอุทยานพนมสวาย ตั้งอยู่ที่ตำ�บลนาบัว อำ�เภอ เมืองสุรินทร์ ห่างจากศาลากลางจังหวัดประมาณ 22 กิโลเมตร ใช้เส้นทางสุรน ิ ทร์-ปราสาท (ทางหลวง หมายเลข 214) ระยะทาง 14 กิโลเมตร แล้วเลี้ยว ขวาไปอี ก ประมาณ 6 กิ โ ลเมตร จะพบซุ้ ม ประตู พนมสวาย To Go There Phanom Sawai Forest Park is located at Tambon Na Bau, Muang District, 22 km from the City Hall. Use Surin – Prasat route (Highway 214) for 14 km then turn right for 6 km to the Gate and turn right for another 6 km and to the right. There is a Nature Study Trail inside. There are also signage along the way.
(ขวามือ) จุดชมวิวด้านหลังพระพุทธสุรินทรมงคล ซึ่งตั้งอยู่บนวนอุทยานพนมสวาย เขาชาย
67
ปราสาทช่างปี่
วัดช่างปี่
อยู่ใกล้กับปราสาท ช่างปี่ อ. ศีขรภูมิ ได้มกี ารก่อสร้าง พิพิธภัณฑ์เพื่อจัดแสดงโบราณ วัตถุจากชาวบ้านที่มีการขุดค้น พบในทุ่งนาใกล้เคียงกับปราสาท ช่างปี่ มีหลายชิ้นที่สำ�คัญ เช่น พระคเนศวร พระยมทรงกระบือ ฤาษี ที่ ใ ช้ ป ระดั บ บนหน้ า บรรณ กลีบขนุนที่ยอดปราสาท หลาย ชิ้ น สามารถเดิ น ทางเข้ า ชม ได้ ที่ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ แ ห่ ง นี้ ซึ่ ง วั ด ช่างปี่เป็นผู้ดำ�เนินการ
70 Wat Chang Pi
Wat Chang Pi is close to Chang Pi Khmer Ruins at Si Khoraphum. There is a museum demonstrating antiquities founded in the grass field close to Chang Pi Khmer Ruins. This museum is run by the temple and people can visit to see many important antiques such as Ganesh, God of Death on Buffalo, Hermit for tympanum decoration, Kleeb Kanoon on the castle top.
68
มณฑปจอม ศัทธาทึก
ตั้งอยู่ภายในวัดช่างปี่ หมู่ที่ 1 บ้านช่างปี่ ต.ช่างปี่ อ.ศีขรภูมิ จ.สุรินทร์ วัดช่างปี่ได้ดำ�เนินการ จัดสร้างขึ้น เพื่อประดิษฐาน พระพุทธโสธร และพระ อาจารย์เกจิชื่อดังอีกหลายรูป ซึ่งภายในจะมีการ เตรียมจัดแสดงวัตถุโบราณ ที่มีชาวบ้านได้จากที่นา แล้วนำ�มามอบให้กับวัดช่างปี่เพื่อเก็บรักษา สามารถ เข้าชมได้ที่นี่
Mondop Jom Sattha Tuek
Mondop Jom Sattha Tuek is in Wat Chang Pi, Moo 1, Ban Chang Pi, Tambon Chang Pi, Si Khoraphum District. It was built by the temple to install Phra Buddha Sothorn and many other famous pandit monks. Inside the mondop there also be some antiques from local rice fields to be seen.
ตั้งอยู่กลางทุ่งนา เป็ น สถาปั ต ยกรรมปราสาท ขอมประเภทอโรคยศาล ศิลปะ ขอมแบบบายน อายุราวพุทธ ศตวรรษที่ 18 ประกอบไปด้วย ปราสาทตั้งตรงกลาง ทางด้าน ทิศตะวันออกเฉียงใต้มีบรรณา ลัย ล้อมรอบด้วยกำ�แพง ซึ่ง มี โ คปุ ร ะอยู่ ท างด้ า นทิ ศ ตะวั น ออก นอกกำ�แพงทางด้านทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือมีสระนํ้า ปราสาทช่างปี่ เป็นอโรคยศาล หรื อ ศาสนสถานประจำ�โรง พยาบาล เนื่องในพุทธศาสนา ลัทธิมหายาน ทีส่ ร้างขึน้ ในสมัย พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 การเดิ น ทาง จากตั ว เมื อ ง สุรินทร์ ใช้เส้นทางสาย 226 ถนนสายสุรินทร์ – ศรีสะเกษ เมือ่ เข้าอำ�เภอศีขรภูมิ ประมาณ กิโลเมตรที่ 19 จะพบป้ายบอก ทางเป็นระยะ อยูท่ างด้านขวามือ จนกระทั่งถึงหมู่บ้านช่างปี่ และ วัดช่างปี่ ปราสาทช่างปี่จะอยู่ กลางทุ่งนา
Chang Pi Khmer Ruins
Chang Pi Khmer Ruins is located in the middle of a rice field. It is an Arokaya San Khmer architecture with Bayon Art (18th B.E.) This place consists of the main Prasat, a Ban Na Lai to the southeast surrounded by a wall and a Kopura to the east. Outside the wall to the northeast is a pond. Chang Pi Khmer Ruins is the Arokaya San or Religious place of the hospital according to Mahayana Buddhism and was built in the period of King Jayavarman the 7th. To Go There From Surin City, take route 226 Surin – Srisaked to km 19 at Si Khoraphum District, there will be signage along the way to the right.You will see Chang Pi Village, Wat Chang Pi and then Chang Pi Khmer Ruins in the midst of rice field.
การเดินทาง จากตั ว เมื อ งสุ ริ น ทร์ ใช้ เ ส้ น ทางสาย 226 ถนนสายสุรน ิ ทร์ – ศรีสะเกษ เมือ ่ เข้าอำ�เภอศีขรภูมิ ประมาณกิโลเมตร ที่ 19 จะพบป้ า ยบอกทางเป็ น ระยะ อยู่ ท างด้ า นขวามื อ จนกระทั่ ง ถึ ง หมู่บ้านช่างปี่
พระยมทรง กระบือ ในวัด ช่างปี่ ศิลปะสมัย ลพบุรี พุทธศตวรรษที่ 18
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
To Go There From Surin City, take route 226 Surin – Srisaked to km 19 at Si Khoraphum District, there will be signage along the way to the right. สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
69
ปราสาทเบง
70
Beng Khmer Ruins
ปราสาทจอมพระ
Located at Ban Prasat, Kab Cherng District. It is a single prasat surrounded by a ditch except the gateway in the east. The layout of this place is a non-recess rectangle and the decorating pillar at the gate is also in a rectangle shape. Each of the pillar is decorated with a triangle leaf. This is popular in the 15th BE. The rest 3 sides of the wall are fake doors. The roofs no longer exist. To Go There From Surin City, take route 214 Surin – Prasat until just passing Muang Prasat, there will be an intersection with traffic light, just turn right to route 24. Then turn right to the route SR 2022 for 10 km to Ban Prasat Beng. In 500m there will be a signage, turn right on gravel road for 800m.
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
รูป: มหาวิทยาลัยศิลปากร
ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นปราสาท ตำ�บลกาบเชิ ง อำ�เภอกาบเชิ ง จังหวัดสุรินทร์ เป็นปราสาทหลัง เดี ย วมี คู นํ้ า ล้ อ มรอบ เว้ น ทาง เข้า – ออก ทางทิศตะวันออก เป็ น ปราสาทขอมที่ มี แ ผนผั ง เป็ น รู ป สี่ เ หลี่ ย มไม่ ย่ อ มุ ม และ มีเสาประดับกรอบประตูเป็นรูป สี่เหลี่ยม แต่ละเสาประดับไปด้วย ลายใบไม้รูปสามเหลี่ยม 1 ใบ ซึ่ง เป็นที่นิยมในราวพุทธศตวรรษที่ 15 ผนังร้านที่เหลืออีก 3 ด้าน ทำ�เป็นประตูหลอก ส่วนหลังคา พังทลายหมดแล้ว การเดินทาง จากตัวเมืองสุรินทร์ ไปตามทางหลวงหมายเลข 214 ถนนสายสุรินทร์ – ปราสาท เมื่อ ผ่านตัวเมืองปราสาทไปเล็กน้อย จะพบสีแ่ ยกไฟแดงจราจร ให้เลีย้ ว ขวา ตามทางหลวงหมายเลข 24 จากนั้นเลี้ยวขวาไปตามทาง สร. 2022 เป็นระยะทาง 10 กิโลเมตร เมื่อมาถึงบ้านปราสาทเบง ให้ตรง ผ่านหมู่บ้านไปอีก 500 เมตร จะ พบป้ายบอกทางให้เลี้ยวขวาเป็น ถนนลูกรังไปอีก 800 เมตร
ตั้ ง อยู่ ที่ บ้ า นศรี ด งบั ง ตำ�บล จอมพระ อำ�เภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ ปราสาทจอมพระ เป็นปราสาทขอมประเภท อโรคยาศาล ศิลปะขอมแบบบายน อายุราว พุทธศตวรรษที่ 18 ปราสาทประธานก่อ ด้วยศิลาแลง บรรณาลัย ก่อด้วยศิลาแลง กำ�แพงและโคปุระ(ซุ้มประตู)ก่อด้วยศิลา แลง สระนํ้ากรุขอบศิลาแลง มีศิลาจารึก เป็ น อั ก ษรขอม ภาษาสั น สกฤต เนื้ อ หา เป็นเรื่องเกี่ยวกับพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ทรง สร้าง อโรคยศาลหรือศาสนสถานประจำ� โรงพยาบาล ซึ่งเป็นเนื้อหาเดียวกันกับจารึก ปราสาทเมื อ นโต๊ จ พื้ น ที่ บ ริ เ วณปราสาท จอมพระ มีหลักฐานการอยู่อาศัยมาแล้ว ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย – ต้นประวัติศาสตร์ ต่อมาปราสาทจอมพระ ได้ ก ลายเป็ น ศู น ย์ ก ลางของชุ ม ชนที่ ไ ด้ รั บ อิทธิพลวัฒนธรรมขอม การเดินทาง จากตัวเมืองสุรินทร์ไปตาม ทางหลวงหมายเลข 214 ถนนสายสุรินทร์ จอมพระ เป็นระยะทาง 26 กิโลเมตร เมื่อ ถึงตัวอำ�เภอจอมพระ ให้เลี้ยวขวาตรงไปอีก ประมาณ 500 เมตร จะผ่านสระนํ้าใหญ่ ใกล้กนั เป็นทีต่ งั้ ของวัดปราสาทจอมพระและ ปราสาทจอมพระอยูใ่ นบริเวณเดียวกันกับวัด
Chom Phra Khmer Ruins
Situated at Ban Si Dong Bang, Tambon Chom Phra, Chom Phra District, Chom Phra Khmer Ruins was an Arokaya San with Bayon Khmer Art from 18th BE. The main prasat, Ban Na Lai, walls and Kopura (arch) were built in laterite. The pond rim was also built in leterite. There are stone inscriptions in Khmer alphabet in Sanskrit describing the story of Jayavarman the 7th building Arokaya San, the Religious place of hospital. The inscriptions is the same as Ta Muen Toj Khmer Ruins’. This area of Chom Phra Khmer Ruins was evidenced to have people living here since the late pre-historic period to the early historic period. Later this became the centre of a community influenced by Khmer cultures. To Go There From Surin city, take route 214 Surin – Chom Phra for 26 km. At Chom Phra turn right for 500 m to a big pond. Nearby is Wat Prasat Chom Phra and Chom Phra Khmer Ruins is in the same vicinity. สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
71
ปราสาทศีขรภูมิ
เป็ น ปราสาทขอมเนื่ อ งใน ศาสนาพราหมณ์ ลัทธิไศวนิก าย ศิล ปะ ขอมแบบนครวัด อายุราวพุทธศตวรรษที่ 17 ประกอบด้วยปราสาทก่ออิฐจำ�นวน 5 หลัง ตั้งอยู่บนฐานเดียวกัน ปราสาทศีขรภูมิเป็น ศาสนสถานประจำ�ชุมชน โดยทางด้านหน้า หรือทางทิศตะวันออกของปราสาทห่างออก ไปประมาณ 300 เมตร มีบารายขนาดใหญ่ อันแสดงให้เห็นว่าบริเวณนี้เคยเป็นชุมชนที่ มีขนาดค่อนข้างใหญ่ในราวพุทธศตวรรษที่ 17 และน่าจะมีการตั้งถิ่นฐานอยู่ต่อมา หรือ มีชนกลุ่มใหม่ที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่ในพื้นที่ แห่งนี้อีกครั้งในราวพุทธศตวรรษที่ 23-24 โดยได้เข้ามาดัดแปลงปราสาทขอมให้เป็นวัด ในพุทธศาสนา โดยชุมชนวัฒนธรรมล้านช้าง การเดินทาง จากตัวเมืองสุรินทร์ ใช้เส้น ทางสาย 226 ถนนสายสุรินทร์ – ศีขรภูมิ ระยะทาง 32 กิโลเมตร เมือ่ ถึงอำ�เภอศรีขร ภูมิ ให้เลีย้ วซ้ายทีถ่ นนเทศบาล 5 ตรงไปอีก 500 เมตร จะเป็นที่ตั้งของปราสาทศีขรภูมิ ซึง่ อยูห่ า่ งจากทีว่ า่ การอำ�เภอไปทางทิศตะวัน ออกประมาณ 800 เมตร สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
73
Si Khoraphum Khmer Ruins
Si Khoraphum Khmer Ruins is a prasat in Siwa sect Brahminism, similar to Angkor Wat Khmer Art. It was built around 17th BE as 5 brick prasats on the same foundation. Si Khoraphum Khmer Ruins was the religious place of the community. 300 m from the front or the east side is a big Barai indicating the rather big community in the area around 17th BE. It was assumed that those people continued living there or maybe there was another group of people coming in and stayed there around 23th-24th BE and modified the place to be a Buddhist temple by Lan Chang people. To Go There From Surin City, take route 226 (Surin - Si Khoraphum) for 32 km and turn left at Tesaban 5 road in Si Khoraphum District for 500m. Si Khoraphum Khmer Ruins is there, 800 m east of the District office.
1 บริเวณโดยรอบปราสาท มีบริวารจำ�นวน 4 องค์ 2 ฐานศิวลึงค์ภายในปราสาทประธาน 3-4 บัวยอดและลูกแก้ว ส่วนยอดบนสุดของปราสาท
74
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
1
2
3
4 สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
75
ปราสาทบ้านพลวง
(บน) ทับหลังสลักภาพศิวนาฏราช อยูเ่ หนือหน้ากาล มีภาพพระคเณศ พระพรหม พระวิษณุ และพระอุมา (ล่างซ้ายและขวา) ปราสาทประธาน ประตูทางเข้าด้านทิศตะวันออก เสาสลักภาพเทพธิดายืนถือดอกบัว และทางด้านข้างสลักภาพทวารยืนถือกระบอง
76
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
ตั้งอยู่ที่หมู่ 1 บ้านพลวง ตำ�บลกังแอน อำ�เภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ เป็น ปราสาทขอมที่สร้างขึ้นตามคติความเชื่อในศาสนาพราหมณ์ รูปแบบปราสาทเป็นศิลปะขอม แบบบาปวน อายุราวพุทธศตวรรษที่ 16-17 ประกอบด้วยปราสาทหลังเดียว ตั้งอยู่บนฐานศิลา แลง มีภาพสลักตกแต่งงดงาม ด้านทิศตะวันออกมีทบั หลังสลักภาพพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ อยู่เหนือหน้ากาล หน้าบันสลักภาพพระกฤษณะยกเขาโควรรธนะ ด้านทิศเหนือมีทับหลังสลัก ภาพพระกฤษณะปราบนาคกาลียะ หน้าบันสลักภาพเทพประทับนัง่ เหนือหน้ากาล ส่วนด้านทิศ ตะวันตกทับหลังและหน้าบันยังไม่ได้สลักภาพภายในปราสาทมีฐานประติมากรรมรูปเคารพ คูนํ้าล้อมรอบ มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เว้นทางด้านตะวันออกไว้เป็นทางเข้า – ออก บาราย แผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันออกของปราสาท ห่างออกไปประมาณ 100 เมตร
ปราสาทเมืองที
ตั้ ง อยู่ ห มู่ ที่ 1 ตำ�บล เมื อ งที อำ�เภอเมื อ งสุ ริ น ทร์ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ปราสาทเมื อ งที มี ส่ ว นเรื อ น ธาตุทึบตัน และมีรูปทรงที่ค่อนข้างสูง เพรี ย ว สั น นิ ษ ฐานว่ า น่ า จะสร้ า งขึ้ น ในวั ฒ นธรรมล้ า นช้ า ง (ลาว) ซึ่ ง ได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจากวั ฒ นธรรมขอมอี ก ต่ อ หนึ่ง ปราสาทนี้เดิมน่าจะประกอบด้วย ปราสาทก่ออิฐฉาบปูน จำ�นวน 5 องค์ ตั้ ง อยู่ บ นฐานอิ ฐ เดี ย วกั น ปราสาท ประธานตั้งอยู่ตรงกลาง ล้อมรอบด้วย ปราสาทบริวารที่มุมทั้งสี่ แต่ปัจจุบัน เหลือเพียง 3 องค์คอื ปราสาทประธาน ปราสาทบริวารองค์ทิศตะวันออกเฉียง เหนือ และองค์ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ การเดินทาง จากตัวเมืองสุรินทร์ ไป ตามทางหลวงหมายเลข 226 ถนนสาย สุรินทร์ – ศีขรภูมิ เมื่อถึงช่วงบริเวณ หลักกิโลเมตร ที่ 15-16 หมู่บ้านเมือง ที บริเวณตรงข้ามทีท่ ำ�การ อบต.เมืองที ให้เลี้ยวซ้ายตรงไป 300 เมตร จะเห็น ปราสาทเมืองทีตั้งอยู่ทางด้านซ้ายมือ ซึ่งอยู่ในบริเวณเดียวกันกับ วัดจอมสุทธาวาส
1
2
Ban Pluang Khmer Ruins
1 พระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ 2 ประตูทางเข้าด้านทิศตะวัน
78
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
Located in Moo 1, Tambon Muang Tee, Surin District. Muang Tee Khmer Ruins has solid Ruen That and a tall and slender shape. Presumably built in Lan Chang (Lao) culture that was influenced by Khmer too. This Khmer Ruins probably consisted of 5 masonry prasats on the same brick foundation. The main one in the centre and the others at the 4 corners. Today we can only see 3 of them which are the centre one, the one in the northeast and the one in the northwest. To Go There From Surin City, take route 226 Surin – Si Khoraphum to km 15-16 at Muang Tee Village, opposite to Tambon Muang Tee office, turn left 300 m and Muang Tee Khmer Ruins will be to the left nest to Wat Jom Suthawas.
รูป: มหาวิทยาลัยศิลปากร
Ban Pluang Khmer Ruins is situated ออกสลักภาพทวารบาลยืนกุม กระบองข้างละ 1 ตน at Moo 1, Ban Pluang, Tambon Kang Ann, Prasat District. It was built to the believe in Brahminism in Ba Puan Art around 16th – 17th BE. This is a single prasat on a laterite foundation decorated with beautiful engraved pieces. To the east there is a lintel carved in Indra on his Erawan Elephant over the Na Kan. The tympanum was engraved in Krishna lifting Ko Wattana Mountain. The lintel in the north was engraved in Krishna’s victory over Kaliya Naag. The tympanum was engraved in Sitting Deity over the Na Kan. The west lintel and tympanum have no carvings. Inside the prasat there is a base for holy statue. There are waterway surrounding the place. The layout is in rectangular shape with the passing gate in the east. The layout of the Ba Rai is a big rectangle 100 m to the east of the prasat. To Go There From Surin City, take route 214 Surin – Prasat passing Prasat District and Prasat Intersection, until Pluang Village at Km 32 then turn left for 600 m, there is Ban Pluang Khmer Ruins to the right.
Muang Tee Khmer Ruins
79
Ta Muen Thom Khmer Ruins
ปราสาทตาเมือน
80
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
Ta Muen Khmer Ruins
This is one of the Ta Muen Group of Historic Sites consisting of Ta Muen Khmer Ruins, Ta Muen Toj Khmer Ruins and Ta Muen Thom Khmer Ruins. Ta Muen Khmer Ruins was Dhamma Sala type or Ban Mee Fai in Bayon Khmer Art around 18th BE. It was built with laterite in a long hall shape. There was a lintel with a Buddha Image in the attitude of meditation sitting over Na Kan at the east entrance. To Go There From Surin City, take route 214 Surin – Prasat to the intersection with route 24, turn right onto route 24 until 3-way junction near Prasat estate then turn left and follow the sign to Phanom Dongrak District on route 2397. Until reaching Tambol office of Nang Mud, turn right onto route 224. There will be a signage to Ta Muen Group of Historic Sites, passing the signage to the Ta Meang Intersection you will see another sign to Ranger task force 216. Follow this sign onto route 2407 until the 5-way intersection then turn right to route 2407 on to Ban Nong Kan Na and keep going straight. At the intersection you will see Ta Muen Khmer Ruins. Nearby you will also see the Border Patrol Police office, please contact them for your safe visit. Coming from Buriram on route 219 (way to Ban Kruad) to the intersection with route 24, turn left onto route 24 and continue the same way as above.
ปราสาทตาเมือนธม
รูป: มหาวิทยาลัยศิลปากร
เป็ น หนึ่ ง ในกลุ่ ม โบราณสถาน ปราสาทตาเมือน ซึง่ ประกอบด้วยปราสาทตาเมือน ปราสาทตาเมือนโต๊จ และปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาเมือนเป็นปราสาทขอมประเภทบ้าน มีไฟหรือธรรมศาลา เป็นศิลปะขอมแบบบายน อายุราวพุทธศตวรรษที่ 18 สร้างด้วยศิลาแลง มีลักษณะเป็นห้องยาว พบทับหลังรูปพระพุทธ รูปปางสมาธิ ประทับนั่งอยู่ในซุ้มเหนือหน้ากาล ที่ประตูทางเข้าด้านทิศตะวันออก การเดินทาง จากจังหวัดสุรินทร์ไปทางอำ�เภอ ปราสาทตามทางหลวงหมายเลข 214 จนมาถึง ทางแยกตัดกับทางหลวงหมายเลข 24 ให้เลี้ยว ขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 24 จนถึงสาม แยกบริเวณนิคมปราสาท ให้เลี้ยวซ้าย ไปตาม ป้ายบอกทางไปอำ�เภอพนมดงรัก ตามทางหลวง หมายเลข 2397 จนมาถึงแยกบริเวณ อบต. แนงมุด ให้เลี้ยวขวา ไปตามทางหลวงหมายเลข 224 จนพบป้ายบอกทางไปกลุม่ ปราสาทตาเมือน ให้เลยป้ายไปอีกเล็กน้อยจนถึงแยกบ้านตาเมียง จะพบทางที่มีป้ายบอกไป ฉก. ทหารพราน 216 เลี้ยวไปตามถนนเส้นนี้(2407)ตรงมาเรื่อยๆ จน พบห้าแยกเลี้ยวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 2407 ผ่านบ้านหนองคันนา ใช้ทางตรงมาเรื่อย จนพบทางแยก จะพบปราสาทตาเมือนก่อน ใกล้ๆ กันนั้นมีหน่วยตระเวนชายแดนคุ้มครองนักท่อง เทีย่ ว ควรติดต่อเจ้าหน้าทีก่ อ่ นเพือ่ ความปลอดภัย ในการเที่ยวชมปราสาท การเดินทางจากจังหวัดบุรีรัมย์ไป ตามเส้นทางหลวงหมายเลข 219 ทีจ่ ะไปบ้านกรวด จนมาถึงแยกที่ตัดกับทางหลวงหมายเลข 224 บริเวณนิคมปราสาท อำ�เภอบ้านกรวด เลี้ยวซ้าย เข้าทางหลวงหมายเลข 224 จนถึงแยกบ้านตา เมียง แล้วไปตามเส้นทางเช่นเดียวกับข้างต้น
This is the biggest in the group. (Thom in Khmer means big). It is a prasat in Siwa sect Brahminism from 12th-13th BE until 15th-16th BE. It was located on a major traffic route so it was maintained and extended through 18th BE. Another two prasat were built nearby too which were Ta Muen and Ta Muen Toj Khmer Ruins. The remarkable Ta Muen Thom was built on Phanom Dongrak Mountain Range with sand stone foundation. The base foundation had to be smoothened before building the place. This place then is the evidence of the influence from Khmer Civilization in this area in 12th-13th BE until 15th-16th and 18th BE. To Go There Ta Muen Thom is on the same way to Ta Muen
เป็ น ปราสาทขนาดใหญ่ ที่ สุ ด ในกลุ่ ม โบราณสถานปราสาทตาเมือน (ธม เป็นภาษาเขมร แปลว่า ใหญ่) เป็นปราสาทที่สร้างขึ้นเนื่องในศาสนา พราหมณ์ ลัทธิไศวนิกาย ตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 12-13 เป็นต้นมา ต่อเนื่องถึงพุทธศตวรรษที่ 15-16 เนื่องจากเป็นปราสาทที่ตั้งอยู่บนเส้นทางสัญจรที่สำ�คัญ จึงได้รับการก่อสร้างเพิ่มเติมเรื่อยมา และเชื่อว่ายังคง บทบาทสำ�คัญในช่วงพุทธศตวรรษที่ 18 ด้วย เนื่องจาก ในบริเวณใกล้เคียงกันได้มีการสร้างปราสาทขึ้นอีก 2 แห่งคือ ปราสาทตาเมือนและตาเมือนโต๊จ ความโดดเด่นของปราสาทตาเมือนธมคือ เป็นปราสาทที่ตั้งอยู่บนเทือกเขาพนมดงรักซึ่งมีพื้นเป็น ศิลาทราย จึงมีการสกัดพื้นให้เรียบแล้วสร้างปราสาท บนฐานศิลาทรายนั้น ปราสาทตาเมือนธมจึงเป็นร่อง รอยหลักฐานทีแ่ สดงอิทธิพลวัฒนธรรมขอมทีป่ รากฏขึน้ ในดินแดนแถบนี้ตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 12-13 พุทธ ศตวรรษที่ 15-16 มาจนถึงพุทธศตวรรษที่ 18 การเดินทาง ใช้เส้นทางเดียวกับปราสาทตาเมือน สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
81
ปรางค์วัดโพธิ์ศรีธาตุ
ตั้งอยู่ที่บ้านหนองคันนา ตำ�บล ตาเมียง อำ�เภอพนมดงรัก (คำ�ว่า “โต๊จ” หรือ “ตู๊จ” มาจากภาษาเขมรท้องถิ่นสุรินทร์ แปลว่า เล็ก) ปราสาทตาเมือนโต๊จเป็นอโรคยศาล หรือ ศาสนสถานประจำ�โรงพยาบาลในพุทธศาสนา ลัทธิมหายาน สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าชัยวรมัน ที่ 7 ปราสาทประกอบด้วยปราสาทประธานตั้ง อยู่ตรงกลาง ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้มี บรรณาลัย ล้อมรอบด้วยกำ�แพง มีโคปุระอยู่ทาง ด้านทิศตะวันออก ซึ่งพบศิลาจารึกอักษรขอม ภาษาสันสกฤต อายุราวพุทธศตวรรษที่ 18 กล่าว ถึงพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ทรงสร้างโรงพยาบาล (อโรคยศาล) เพื่อให้เป็นสถานที่รักษาโรค และ ทรงบริจาควัสดุอุปกรณ์ พร้อมจัดเจ้าหน้าที่ให้ อยู่ประจำ�โรงพยาบาลแห่งนั้นๆ การเดินทาง ใช้เส้นทางเดียวกับปราสาทตาเมือน
82
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
is situated at Ban Nong Kan Na, Tambol Ta Meang, Phanom Dongrak District. (Toj or Tuj in Khmer means small). Ta Muen Toj Khmer Ruins is the Arokaya San or Religious place of the hospital according to Mahayana Buddhism and was built in the period of King Jayavarman the 7th. The Main Prassat is in the centre with a Ban Na Lai in the southeast, surrounded by walls. Kopura is in the east. There is a stone inscription in Khmer and Sanskrit languages from 18th BE saying story about King Jayavarman the 7th building hospitals (Arokaya San) for treatments of illness. He donated the necessities and organized workforce at those hospitals. To Go There Ta Muen Toj is on the same way to Ta Muen
รูป: มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปราสาทตาเมือนโต๊จ
Ta Muen Toj Khmer Ruins
เดิมเป็นปราสาทขอมสร้างด้วย ศิลาแลงและศิลาทราย ต่อมาทางวัดได้รื้อ ส่ ว นเรื อ นธาตุ ข องปราสาทออกจนเหลื อ เพียงฐานศิลาแลง และได้นำ�วัสดุที่ได้จาก การรือ้ ปราสาทมาสร้างเจดียร์ ปู ทรงสีเ่ หลีย่ ม จัตุรัสทับซ้อนอยู่บนฐานปราสาท ภายใน บริเวณวัด พบแท่นประติมากรรมศิลาทราย และฐานศิลาแลง แต่จากหลักฐานปรากฏให้ เห็นว่าเคยเป็นปราสาทขอมมาก่อนแสดงให้ เห็นถึงวัฒนธรรมขอมในดินแดนแถบนี้ การเดินทาง ปรางค์วัดโพธิ์ศรีธาตุ ตั้งอยู่ หมู่ที่ 1 ต.ธาตุ อ.รัตนบุรี จ.สุรินทร์ จาก ตัวเมืองสุรินทร์ ไปตามทางหลวงหมายเลข 226 ถนนสายสุรินทร์ – ศีขรภูมิ เมื่อมา ถึงตัวอำ�เภอศีขรภูมิ ให้เลีย้ วซ้ายไปตามทาง สร.2079 ทางทีจ่ ะไปอำ�เภอรัตนบุรี ให้เลีย้ ว ขวาไปตามทางสร.2076 อีกเป็นระยะทาง 9 กิโลเมตร จะถึงบ้านธาตุ ทางขวามือจะเป็น ทีต่ งั้ ของวัดโพธิศ์ รีธาตุ ซึง่ ได้สร้างเจดียห์ ลัง ใหม่ตั้งอยู่บนฐานปราสาท
Prang of Wat Pho Si Tat
This place used to be Khmer prasat built with laterite and sand stone. Later the Ruen That part was removed and only the laterite foundation remained. Then a squared-shape Prang was built on top of the foundation from those stone pieces removed. In the area, there are sand stone sculpture and laterite base reflecting the evidence of Khmer influence in this area. To Go There Prang of Wat Pho Si Tat is in Moo 1, Tambon Tat, Ratana Buri District. From Surin City, take route 226 Surin – Si Khoraphum to Si Khoraphum District then turn left onto route SR 2079 the way to Ratana Buri. Turn right onto SR 2076 for 9 km to Ban Tat. Wat Pho Si Tat is on the right. The new Prang was built on top of the foundation of the prasat. สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
83
วนอุทยานป่าสนหนองคู
ปราสาทภูมิโปน
ตั้ ง อยู่ ที่ บ้ า นภู มิ โ ปน ตำ�บลดม อำ�เภอสังขะ จังหวัดสุรนิ ทร์ ประกอบด้ ว ยปราสาทอิ ฐ 3 หลั ง และปราสาทศิลาแลงอีก 1 หลัง ตั้ง เรี ย งกั น ในแนวเหนื อ -ใต้ ถื อ เป็ น ปราสาทขอมที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดใน ประเทศไทย ได้แก่ ทับหลังและเสา ประดั บ กรอบประตู จากปราสาท หลังเหนือสุด เป็นศิลปะขอมแบบไพร กเมง อายุราวพุทธศตวรรษที่ 13 และ พบจารึกจำ�นวน 5 รายการ ชิ้นที่ เก่าที่สุดจารึกด้วยอักษรปัลวะ ภาษา สั น สกฤต อายุ ร าวพุ ท ธศตวรรษที่ 12-13 และชิ้นอื่นๆ มีอายุราวพุทธ ศตวรรษที่ 15-16 โบราณวัตถุต่างๆ ปัจจุบันจัดแสดง ณ พิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติสุรินทร์ การเดินทาง จากตัวเมืองสุรินทร์ ไป ตามทางถนนสายสุรนิ ทร์ – ลำ�ดวน – สังขะ เป็นระยะทาง 49 กิโลเมตร เมือ่ ถึงอำ�เภอสังขะ ให้ตรงไปตามทาง สร. 2124 ทางไปอำ�เภอบัวเชด อีก 8.5 กิโลเมตร ทางซ้ายมือจะเป็นที่ ตั้งของปราสาทภูมิโปน
84
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
Phum Pon Khmer Ruins
This place is located at Ban Phum Pon, Tambon Dom, Sangkha District. There are 3 brick prasats and one laterite prasat aligned in north-south direction. This is the oldest Khmer Ruins in Thailand. The lintel and the decorating pillar at the gate from the most north prasat was the art of Prai Kameng Khmer from 13th BE. There also found 5 inscription pieces of which the oldest one was Palwa and Sanskrit from 12th-13th BE. The rest are from 15th-16th BE. These antiquities are now shown at the Surin National Museum. To Go There From Surin City, take route Surin - Lum Duan – Sangkha for 49 km then at Sangkha continue on route 2124 to the way to Bua Ched District for 8.5 km. Phum Pon Khmer Ruins is on the right.
อ ยู่ ที่ บ้ า น ห น อ ง คู ตำ� บ ล โชกเหนือ อำ�เภอลำ�ดวน เป็นเขตอนุรักษ์ พันธุ์ไม้สนสองใบ ที่ถือว่าเป็นพันธุ์ที่ดีที่สุด ที่ขึ้นในที่ราบสูง เป็นโครงการร่วมระหว่าง ไทย-เดนมาร์ก มีเนื้อที่ 625 ไร่ มีลักษณะ เด่นคือ เป็นสนสองใบทีข่ นึ้ ในทีร่ าบแห่งเดียว ในประเทศไทย สภาพป่าสนนั้นมีลักษณะ เฉพาะ ที่แตกต่างจากป่าสนทั่วไปคือ เป็น ป่าสนที่ขึ้นปนกับป่าเบญจพรรณ ปะปนกับ ไม้ยางนา กะบาก เหียง ตาด ฯลฯ ไม้พนื้ ล่าง เป็นพวกหญ้าเพ็ก สาบเสือ และหวาย ตาม ปกติ ป่ า สนมั ก จะอยู่ สู ง จากระดั บ นํ้ า ทะเล ตัง้ แต่ 700 เมตรขึน้ ไป ส่วนไม้สนสองใบขึน้ ได้ในระดับตํา่ คือตัง้ แต่ 200 เมตรขึน้ ไปโดย ประมาณ และมีอากาศหนาวเย็น แต่ต้นสน สองใบของ จ.สุรินทร์ขึ้นอยู่ในพื้นที่ราบ สูง จากระดับนํ้าทะเลประมาณ 100 กว่าเมตร เท่านัน้ เป็นสถานทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจของชาว สุรนิ ทร์อกี แห่งหนึง่ ทีน่ เี้ หมาะทีจ่ ะกลางเต็นท์ นอน สนใจติดต่อสอบถามได้ที่ สำ�นักงานป่า ไม้จังหวัดสุรินทร์ โทร. 044 -311362 การเดิ น ทาง อยู่ ห่ า งจากจั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ประมาณ 35 กิโลเมตร ตามเส้นทางถนน สายสุ ริ น ทร์ - สั ง ขะ (ทางหลวงหมายเลข 2077) ตรงไปกิโลเมตรที่ 36 – 37 หรือ ใช้เส้นทางสายโชคชัย – เดชอุดม มาทาง อำ�เภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ ผ่านอำ�เภอ สังขะไปสุรนิ ทร์หา่ งจากอำ�เภอสัขะประมาณ 7 กิโลเมตร ก็จะถึงวนอุทยานป่าสนหนองคู
Nong Khu Pine Tree Forest Park
Nong Khu Pine Tree Forest Park is located at Ban Chok Nua, Lum Duan District. This is a 625 rai Thai - Denmark conservation area of Sumatra Pine (Son Song Bai). It is assumed to be the best type of pine grown on a plateau. This is the only place where you can find Sumatra Pine Trees on a plain in Thailand. This Pine forest is different from other pine forests as they are mixed with other trees to be mixed forest, for example, rubber tree, Krabak, Hiang, Tad. The lower plants are varieties of Phet, bitter bush and rattan. Normally Pine trees are at minimum 700 m above sea level and normal Sumatra Pine Trees are at least 200 m above sea level with cold climate. However, this Pine Forest in Surin is only at 100+ m above sea level and it is a perfect recreational and camping site. For more info, please call Surin Forest Office 044-311362. To Go There The place is 35 km from Surin City on Surin – Sangkha Route 2077 about km 36-37. Or take route Chokchai – Dej Udom on the way to Sangkha and passing Sankha for 7 km to Nong Khu Pine Tree Forest Park.
85
วังทะลุ
Huay Saneng
เ ป็ น จุ ด ที่ น่ า ส น ใ จ เพราะที่ นี่ เ ป็ น บริ เ วณที่ แ ม่ นํ้ า ชี แ ละ แม่นา้ํ มูลไหลมาบรรจบกันทีบ่ า้ นตากลาง ตำ�บลกระโพก่อนไหลลงสู่แม่นํ้าโขง ที่ จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ใ นอดี ต เป็ น สถานที่ สำ�คั ญ ที่ เ คยใช้ เ ป็ น สถานที่ ประกอบพิธี “บวชนาคช้าง” ของชาว บ้านตากลางและหมูบ่ า้ นใกล้เคียง แม้ ในปัจจุบันจะเลิกใช้“วังทะลุ”ประกอบ พิธีกรรมดังกล่าวแล้ว แต่ด้วยบริเวณ “วังทะลุ” ยังมีความอุดมสมบูรณ์และ ความหลากหลายทางชี ว ภาพอี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น ที่ อ าบนํ้ า ของช้ า งในหมู่ บ้ า น ยามเย็นท่ามกลางสายนํ้าที่แวดล้อม ไปด้วยป่าที่กว้างใหญ่ไพศาล ก่อให้ เกิดเป็นทัศนียภาพที่งดงามซึ่งหาชม ได้ยาก กับบรรยากาศช้างเล่นนํ้า การเดิ น ทาง อยู่ ห่ า งจากจั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ไ ปทางเหนื อ ตามทางหลวง หมายเลข 214 (สุรินทร์-ร้อยเอ็ด) ก่อนถึงอำ�เภอท่าตูม มีทางแยกซ้าย บริเวณหลักกิโลเมตรที่ 36 ไปตาม ทางลาดยางอีกประมาณ 22 กิโลเมตร และห่างจากหมู่บ้านช้างประมาณ 3 กิโลเมตร ใช้ถนนเส้นทางข้างวัดแจ้ง สว่างด้านซ้ายมือสองข้างทางจะเป็น ทุ่งนา สีเขียวขจี มองแล้วเพลินตา
86
อ่างเก็บน้ำ�ห้วยเสนง
Wangtalu
Wangtalu is quite an interesting attraction since this is where Chi and Moon rivers meet and converged on Taklang, Krapo District, then flow down to Khong river, Ubonratchathani. In the past, Wangtalu was used by Taklang and neighborhood villagers as a holy place for “Elephant ordination ceremony”. Although the ceremony is no more held in Wangtalu nowadays, but the richness of biologic diversity and nature causes odd gorgeous sceneries of cool evening river that surrounded by vast forest with some elephants bathing in the water. To Go There Wangtalu is away from Surin by the north along highway no.214 (Surin-Roiet). There is a junction in the left hand side at the 36th kilometer before arriving Tatoom District, take that way along macadamized road for 22 kilometers approximately. It is about 3 kilometers away from the Elephant village. Then take a non-asphalt road on the left side of Jaengsawang Temple, you’ll enjoy fresh green farms on both sides of the road.
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญของสุรินทร์ Key Tourist Attactions
เป็ น อ่ า งเก็ บ นํ้ า ของ โครงการชลประทาน ห้วยเสนงนี้เป็น อ่างเก็บนํา้ ทีม่ สี นั เขือ่ นสูง บนสันเขือ่ น เป็ น ถนนลาดยาง เป็ น สถานที่ พั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจของชาวเมื อ งสุ ริ น ทร์ และภายในที่ ทำ�การชลประทานมี พระตำ�หนักที่ประทับของสมเด็จพระ ศรี น คริ น ทราบรมราชชนนี อี ก ด้ ว ย เนื่ อ งจากห้ ว ยเสนงเปรี ย บเสมื อ น ทะเลสาปนํ้ า จื ด ขนาดใหญ่ ข องชาว เมืองสุรินทร์ จึงเป็นที่นิยมลงเล่นนํ้า และนั่งรับประทานอาหารพื้นเมืองที่ มีราคาถูก ไม่ว่าจะเป็น กบทอด กุ้ง ทอง ยำ�ไข่มดแดง และอื่นๆ ราคาอยู่ ที่ 20 บาท การันตีวา่ รสชาติแซบตาม แบบฉบับคนพื้นเมือง การเดิ น ทาง อยู่ ห่ า งจากตั ว เมื อ ง สุ ริ น ทร์ ไ ปทางถนนสายสุ ริ น ทร์ ปราสาท (ทางหลวงหมายเลข 214) ประมาณ 5 กิโลเมตร บริเวณหลัก กิโลเมตรที่ 5-6 แยกซ้ายมือไปทาง ถนนริมคลองชลประทาน ประมาณ 4 กิโลเมตร
Huay Saneng Reservoir is part of the Irrigation Project with paved roads on its highly built dam crest. It is a recreational site of Surin with Somdech Phra Srinagarindra Boromarajajonani’s palace inside. It is, in a way, a fresh water lake for Surin’s people for swimming and picnicking. Local foods here such as fried frog, fried shrimp and red ants’ eggs spicy salad are guaranteed to be cheap and locally tasty. To Go There 5 km from Surin City on Surin – Prasat route 214. Turn left at km 5-6 onto Rim Klong Cholapratan Road for 4 km.
แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ Natural Attraction
87
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ ป่าและพันธุ์พืช ห้วยทับทัน-ห้วย สำ�ราญ อ.บัวเชด จ.สุรินทร์ ประกอบด้วย Huay Tab Tan – Huay Sam Ran Wildlife Sanctuary located at Bua Ched District.
นํ้าตกไตรคีร ี ธารนํ้าตก
ที่ไหลลงมาจากเทือกเขาพนมดงรัก ระยะทางยาวประมาณ 8 ก.ม. มีจุดที่ เป็นนํ้าตก 3 แห่ง เรียกรวมกันว่า “นํ้าตกไตรคีรี” Tri Kiri Waterfall Flowing from Phanom Dongrak Mountain Range, 8 km long with 3 waterfall sites for the name Tri Kiri.
ต้นพยูงยักษ์ ขนาด 3 คน โอบ ขึ้นตระหง่านอยู่บนยอด เขาท่ามกลางสภาพของป่าที่ ยังคงความอุดมสมบูรณ์ ด้วย พั น ธุ์ ไ ม้ น านาพั น ธุ์ อั น เป็ น มรดกที่ สื บ ทอดมายาวนาน อนุชนรุน่ หลังจะต้องหวงแหน อนุ รั ก ษ์ ใ ห้ ค งค วา ม อุ ดม สมบูรณ์ของป่าให้มากยิ่งขึ้น Giant Siamese Rosewood 3-people entwine in size
Loftily standing in the midst of the plenteous forest for the new generations to appreciate and preserve.
88
พุทธอุทยานวัดเขาศาลาอตุลฐานะจาโร ตำ�บลจรัส อำ�เภอบัว เชด จังหวัดสุรินทร์ โดยมีหลวงพ่อเยื้อน ขันติพโล เป็นเจ้าอาวาส วัด ตั้งอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีป่าและภูเขาล้อมรอบ มีเนื้อที่ครอบคลุม ประมาณ 10,865 ไร่ซึ่งอุดมสมบูรณ์ไปด้วยพันธุ์ไม้ และสมุนไพร หายาก รวมทั้งสัตว์ป่านานาชนิด จัดได้ว่าอุดมสมบูรณ์มากที่สุดใน อีสานใต้ของประเทศไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นแหล่งกำ�เนิดต้นนํ้า ลำ�ธาร มีทศั นียภาพทีง่ ดงาม สภาพแวดล้อมเงียบสงบร่มเย็น เหมาะกับ การศึกษาปฏิบัติธรรม และท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่สำ�คัญยิ่ง Wat Kao Sala Atul Tana Jaro Buddha Park Situate in Tambon Jasas, Bua Ched District with Luang Por Yuen Khanti Palo as the head of the temple. Surrounded by mountains and trees over 10,865 rai full with rare species of plants and herbs as well as a variety of wild animals. This place is the richest and most abundant in south Isaan and the key upstream with beautiful and tranquil scenery. An ideal place for Dhamma study and consservative tourism.
แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ Natural Attraction
อ่างเก็บน้ำ�ห้วยจรัส ที่มีขนาด ใหญ่กว้างประมาณ 1 กม. ยาว กว่า 5 กม. ที่โอบล้อมด้วยแนว เทือกเขาพนมดองเร็ก ป่าไม้ เป็น ธรรมชาติทสี่ วยงาม ทีถ่ กู สร้างขึน้ เก็บกักนํ้าเพื่อใช้ทางการเกษตร และเป็นแนวกันชนชายแดนในยุค สงครามเวียดนาม-ลาว-กัมพูชา ปั จ จุ บั น นั บ เป็ น พื้ น ที่ เ พาะปลู ก พืชเศรษฐกิจที่สำ�คัญ เช่น สวน ยางพารา สวนผลไม้ เงาะ ทุเรียน แก้วมังกร Huay Jaras Reservior
With the dimension of 1 km wide and more than 5 km long surrounded by Phanom Dongrak Mountain Range, this place was constructed to store water for irrigation purpose and also the barricade in the Vietnam – Lao – Cambodia war period. Today is an important area for economic plantation such as rubber tree, rambutan, durian, dragon fruit etc.
รอยพระพุทธบาทขอมโบราณ ตัง้ อยูห ่ า่ งจากศาลา วัดไปด้านตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ 300 เมตร เป็น รอยพระพุทธบาทหินทรายทีม่ ขี นาดใหญ่มาก ความยาว ประมาณ 3.2 เมตร ความกว้างด้านส้นพระบาทกว้าง ประมาณ 0.7 เมตร ด้านปลายพระบาท 1.5 เมตร องค์พระบาทถูกแกะสลักให้ลึกลงไป 0.2 เมตร เป็น รอยพระบาทข้างขวา ภายในรอยพระบาท มีเส้นขอบ นูนเป็นกรอบสลักรูปสัตว์ในธรรมชาติ ได้แก่สัตว์ใหญ่ สัตว์เล็ก สัตว์ปีก นก ปลา สัตว์เลื้อยคลาน นานาชนิด รวมทัง้ ภาพดอกบัว มีภาพทัง้ หมดนับรวมได้จำ�นวนมาก แบ่งออกเป็น 23 แถวนับจำ�นวนได้ 166 ภาพ จาก ลักษณะดังกล่าว ช่างศิลป์อาจต้องการสะท้อนสภาพ แวดล้อมอันอุดมสมบูรณ์ของป่าเทือกเขาพนมดงรัก เป็นถิ่นอาศัยที่อุดมสมบูรณ์ Ancient Khmer Buddha's Footprint Located 300 m southeast of the sala wat, this is a gigantic sand stone Buddha's Footprint 3.2 m in length, 0.7 m in width of sole side and 1.5 m in width of toes side. This right Buddha's Footprint was crafted 0.2 deep. Inside was engraved in many types of creatures in nature such as big animals, small animals, fowls, birds, fish, reptiles as well as Lotus flowers all in 23 rows totaling to 166 pieces. This might be created in reflection of the rich environment in this area of Phanom Dongrak Mountains. แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ Natural Attraction
89
หมู่บ้านหัตถกรรม เสน่ห์อันน่าประทับใจอีกอย่าง หนึ่งของสุรินทร์คือ เป็นจังหวัด ที่เต็มไปด้วยศิลปวัฒนธรรม อันทรงคุณค่า โดยเฉพาะ งานหัตถกรรมซึ่งเป็นที่ขึ้นชื่อ ลือชา และได้รับรางวัลจากการ ประกวดต่างๆ หลายต่อหลาย ครั้ง หากมาเยือนสุรินทร์อย่า พลาดที่จะไปเที่ยวชมหมู่บ้าน หัตถกรรมซึ่งมีอยู่หลายหมู่บ้าน ได้แก่ หมู่บ้านตากลาง
ต. กระโพ อ.ท่าตูม จ.สุรนิ ทร์ เป็ น หมู่ บ้ า นช้ า งที่ มี ข นาดใหญ่ ที่ สุ ด ใน ประเทศไทย ของฝากขึ้นชื่อได้แก่เครื่อง ประดับงาช้างทีน่ กั ท่องเทีย่ วมักซือ้ เป็นของ ทีร่ ะลึก การแกะสลักงาช้างเกิดขึน้ จากการ ทีใ่ นชุมชนมีงาช้างซึง่ ได้จากการตัดจากช้าง ทีย่ งั มีชวี ติ หรืออาจตัดจากช้างทีเ่ สียชีวติ ไป แล้วซึ่งแต่เดิมเจ้าของช้างจะเก็บไว้บูชาเอง หรื อ อาจจำ�หน่ า ยให้ ค นที่ ต้ อ งการเก็ บ ไว้ เพื่อความเป็นสิริมงคล ต่อมาคนในชุมชน ที่มีความสามารถในการแกะสลักไม้ได้นำ� งาช้ า งมาแกะสลั ก เป็ น พระพุ ท ธรู ป และ แจกให้คนทีเ่ คารพนับถือกัน เมือ่ มีคนนิยม มากขึ้น จึงมีแนวคิดที่จะสร้างมูลค่าเพิ่มให้ กับผลิตภัณฑ์ของชุมชน โดยการนำ�งาช้าง หางช้าง มาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์อื่นๆ เช่น แหวน กำ�ไล สร้อยคอ เป็นต้น ปัจจุบัน เครื่องประดับงาช้างได้รับการคัดเลือกให้ เป็น สิ น ค้ า หนึ่ ง ตำ�บลหนึ่งผลิตภัณฑ์ของ ตำ�บลกระโพ และได้รับคัดเลือกให้เป็น สินค้า OTOP ระดับ 5 ดาว ในปี 2553 การเดินทาง อยูท่ บี่ า้ นตากลาง ตำ�บลกระโพ อำ�เภอท่ า ตู ม จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ อยู่ ห่ า ง จากตั ว เมื อ งสุ ริ น ทร์ ไ ปทางทิ ศ เหนื อ 58 กิโลเมตร ถนนเส้นทางสายสุรินทร์ร้อยเอ็ด และเมื่อถึงกิโลเมตร ที่ 36 ให้ เลี้ ย งซ้ า ย แยกเข้ า บ้ า นกระโพขั บ ไป อีก 22 กิโลเมตร ก็จะถึงสถานที่ตั้งของ ศูนย์คชศึกษา ในศูนย์คชศึกษาจะมีการทำ� เครือ่ งประดับงาช้างขายให้กบั นักท่องเทีย่ ว
90
หมู่บ้านหัตถกรรม Handcraft village
สาระน่ารู้
นอกจากเรามาเที่ยวหมู่บ้า นช้า ง แล้ว ก็ไม่ควรพลาดเครื่องประดับงาช้าง แต่ก่อน ทีจ่ ะได้เป็นเครือ่ งประดับงาช้างนัน้ มีพธิ กี รรมหรือ ไม่ ? ก่อนตัดงาช้าง มีพิธีกรรมที่เรียกว่า “ไร เปลาะอาเจียง” หรือ “ลัดเปลาะอาเจียง” หรือ พิธีตัดงาช้าง ซึ่งจะทำ�เมื่อมีการแตกหรือหักของ งาเกิดขึ้น ชาวกูยอาเจียงแต่ไหนแต่ไร จะมีความ ผูกพันกับช้างเป็นอย่างมาก ดั่งคนในครอบครัว เดียวกัน ไม่ว่าการปฏิบัติใดๆ ต่อช้าง จะต้องมี ความเหมาะสม เพื่อความเป็นสิริมงคล จึงต้อง มีพิธีกรรมในการตัด ซึ่งต้องดูฤกษ์ยามเสียก่อน โดยพิธีกรรมนี้ต้องทำ�โดยหมอช้างระดับครูบา ใหญ่หรือสะดำ� มีการเซ่นไหว้ศาลปะกำ� ซึ่งเดิมที ไม่ว่าจะประกอบกิจการใดก็ตาม ชาวกูยมักจะ มีการเซ่นบวงสรวงผีปะกำ�ก่อนเสมอ โดยเซ่น ปะกำ�ใหญ่ก่อน แล้วค่อยเซ่นปะกำ�ย่อยอื่นๆ ตาม ลำ�ดับ โดยมีเครื่องเซ่นไหว้ได้แก่ ธูป เทียน ไก่ ต้ม ขนมหวาน กรวยดอกไม้ ข้าวสาร เงิน และ สิ่งที่จะขาดไม่ได้คือ เหล้า จากนั้นจึงทำ�พิธีการ ตัด โดยครูบาใหญ่จะมีการท่องคาถาก่อน แล้วก็ จะพิจารณาความยาวของงาที่จะตัดออกให้เหมาะ สม เพื่อป้องกันไม่ให้ตัดโดนโพรงงาที่มีเส้นเลือด และเส้นประสาท ซึ่งอาจทำ�ให้ช้างตายได้จากการ เสียเลือดหรือติดเชื้อบาดทะยัก ในการตัดครั้งนี้ ครูบาใหญ่ทำ�การวัดความยาวของงาทั้งหมดจาก งาทีโ่ ผล่พน้ สนับงาออกมาจนถึงปลาย แล้ววัดจาก ปลายกลับไป ครึง่ หนึง่ ของความยาวงาทัง้ หมด นัน่ ก็คือตำ�แหน่ง ระหว่างการตัดจะมีการใช้นํ้าหยด เพื่อลดความร้อนที่เกิดขึ้นและทำ�ให้การตัดงาง่าย ขึ้น เมื่อตัดเสร็จผู้ที่มารับงาที่ตัดออก ต้องเป็นผู้ หญิง (หญิงสาวที่บริสุทธิ์) นุ่งขาวห่มขาวที่เรียก ว่า “นางงา” ยืนถือพานรอรับงา เมือ่ ตัดเสร็จครูบา ใหญ่ก็จะทำ�การคล้องสายสิญจน์ที่หูช้างและคอ ก็เป็นอันเสร็จพิธี ส่วนงาช้างที่ตัดออกมาเจ้าของ ช้างก็จะนำ�ไปบูชา เพราะถือว่าเป็นสิ่งมงคลและ เป็นที่น่าสังเกตว่าทุกครั้งที่มีการทำ�พิธีกรรมตัด งา จะต้องมีการตัดขนหางด้วย และช้างที่เข้าพิธี จะยืนนิ่ง ไม่มีความหวาดกลัวในการตัดงาเลย การตัดงาช้างจะตัดเมือ่ ช้างพลายมีอายุครบ 8 ปี เพือ่ ให้งาช้างหงอกขึน้ มาใหม่งาช้างจะยาวขึน้ มาเรือ่ ย ๆ และจะมีลักษณะที่สวยงาม หากปล่อยไว้ตาม ธรรมชาติแล้วงาช้างจะเรียวเล็กและยาวจนชนกัน หรือไขว้กนั ทำ�ให้ชา้ งไม่สะดวกและอาจทำ�ให้เกิด ปัญหากับช้างได้ในอนาคต แต่การตัดงาช้างต้อง ทำ�อย่างถูกต้องที่หมอช้างแนะนำ� หมู่บ้านหัตถกรรม Handcraft village
91
Handicraft Village One of the Charm of Surin is its Art and Cultural Splendor especially the renowned award-winning handicrafts. So, please don’t miss some of these handicraft villages. Ta Klang Village
Situated in Tambon Ka Pho, Tha Tum District. Ta Klang Village is the biggest Elephant Village in Thailand. The famous souvenir is Ivory Handcraft Jewelry made of the ivory from either living or dead elephants. In the past, the owner would keep them for themselves or sold to people who worship these ivory. Later those craft-men crafted them into Buddha Images given to respected families and friends. When this became more popular, they started to create other products from the ivory and elephant tail such as rings, bangles and necklaces. Today these ivory jewelry are selected to be the OTOP of Tambon Ka Pho and became rated 5 star OTOP in 2010. To Go There Ban Ta Klang Village is situated in Tambon Ka Pho, Tha Tum District, 58 km north of Surin City. Take route Surin – Roi Et to km 36 and turn left 22 km to Ban Ka Pho Elephant Study Center where you can find these handicrafts.
92
หมู่บ้านหัตถกรรม Handcraft village
Things to Know Before visiting and buying Ivory
Jewelry, let’s learn about the way we cut the ivory from the elephants. Before cutting the ivory, there will be a cutting ceremony called “Rai Ploa Ar Ching” or “Lad Ploa Ar Chiang”. This will be done whenever the ivory is broken. Kui Ar Chiang people were in deep relationship with elephants since the ancient time so every treatment with elephants needs to be properly and respectfully done. This special ivory cutting ceremony will be performed by a senior elephant charmer or Sa Dam. There will be worship of San Pakam starting with the major one first and continue to the smaller ones. The offerings include incenses, candles, boiled chicken, sweets, cones of flowers, rice, money and most importantly, liqueur. Then the cutting ceremony will start with the senior elephant charmer citing of a particular mantra and consideration of the length to be cut. It is very important to cut at the right length to prevent cutting blood vessels and nerves that could result in infection or even death of the elephant. The ivory will be measured and cut at half the length and will be cooled and made cutting easier by water drops while cutting. The person standing with the tray with pedestal taking the ivory needs to be a virgin female dressed in white, called Nang Nga. After the cut, Sa Dam will put the holy thread on the elephant’s ears and neck and that’s the end of the ceremony. The ivory will be kept for worship by the owner. Every time there is this cutting ceremony, they will cut the tail hair of the elephant too. These elephants will be calm and relaxed with no sign of being threatened at all. This will be done after the elephant is 8 years old to promote the new well posted ivory. If left untouched naturally, the ivory can be taper and crossed making difficulties for the elephants in the future, but the cutting needs to be done correctly as suggested by the elephant charmer. หมู่บ้านหัตถกรรม Handcraft village
93
หมูบ ่ า้ นทำ�เครือ ่ งเงิน เขวาสินรินทร์ ตัง้ อยูห่ มูท่ ่ี 3 บ้านโชค ต.เขวาสินรินทร์ อ.เขวาสินรินทร์ จ.สุรนิ ทร์ มีสนิ ค้า เครื่ อ งเงิ น ที่ ขึ้ น ชื่ อ ของจั ง หวั ด สุรินทร์ที่เรียกกันว่า ลูกประเกือม ซึ่งก็คือลูกปัดกลมๆ ที่นำ�มาร้อย เป็นเครื่องประดับนั่นเอง เครื่อง เงินของทีน่ มี่ ใี ห้เลือกมากมายหลาย รูปแบบ ถ้าอยากสัง่ ทำ�พิเศษกับช่าง ทำ�เครื่องเงินก็สามารถขับรถเข้าไป ภายในหมู่ บ้ า นก็ จ ะพบชาวบ้ า น กำ�ลังทำ�เครื่องเงินอยู่ หากโชคดี อาจได้พบ คุณลุงป่วน เจียวทอง อายุ 71 ปี ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษการทำ� เครือ่ งประดับเงินลายตะเกาโบราณ ทีเ่ คยไปสาธิตทักษะการทำ�เครือ่ งเงิน ในเทศกาลวิ ถี ชี วิ ต ชาวบ้ า น ของ สถาบันสมิธโซเนียน ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ประเทศสหรัฐอเมริกา มาแล้ว จุดเด่นของผลิตภัณฑ์ เป็นลาย ตะเกาโบราณ ชุดเครื่อ งประดับ เงิ น ลายโบราณ เป็ น ลายที่ เ ลี ย น แบบมาจากดอกไม้ชนิดหนึ่งเรียก ว่าดอกตะเกาเป็นดอกไม้ที่มีความ สวยงามมีกลิ่นหอมมีอายุราวสมัย พุทธกาล แต่ก่อนชุดเครื่องประดับ เงินโบราณมีใช้เฉพาะในตระกูลสูง ศักดิ์ เป็นเครื่องประดับที่มีความ ศักดิ์สิทธิ์ สวยงามและใช้ในงาน มงคลต่างๆ การเดินทาง หมู่บ้านทำ�เครื่องเงิน เขวาสินรินทร์ อยู่ทางเหนือของตัว เมืองสุรินทร์ ขับรถตามทางหลวง หมายเลข 214 สายสุรินทร์ – ร้อยเอ็ด ไปประมาณ 14 กิโลเมตร แยกขวามือไปอีก 4 กิโลเมตร จะ พบศูนย์สนิ ค้าโอท็อป ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 3 บ้านโชค ต.เขวาสิรินทร์ อ.เขวาสินรินทร์ จ.สุรินทร์
94
หมู่บ้านหัตถกรรม Handcraft village
Kawao Sinrin Silver Village Located at Moo 3, Ban Chok, Tambon Kawao Sinrin, Kawao Sinrin District. The noted silver product here is called “Luk Pra Kuem” that is a small crafted silver bead accessories. There are many varieties of silver products and you can visit the local silversmiths in the village and order a special kind that you like. If lucky enough, you may find 71 year-old Uncle Puan Jeawthong, the expert in making traditional Ancient Takao Pattern silver accessories who was invited to show his craftsmanship at the Smithsonian Institute, Washington DC, USA. The unique point of the product is the ancient Takao pattern imitating beautiful fragrant Takao flowers existed in the Buddha Era. In the past, these silver accessories were only used in noble families for auspicious ceremonies and thought to be holy and glamorous. To Go There Kawao Sinrin Silver Village is north of Surin city. Take route 214 Surin – Roi Et for 14 km and turn right for 4 km. The OTOP center is at Moo 3, Ban Chok, Tambon Kawao Sinrin.
หมู่บ้านหัตถกรรม Handcraft village
95
หมูบ ่ า้ นจักสานบุทม
ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห วายของ บ้านบุทม มีความโดดเด่นในเรื่อง ของความประณีตเนื่องจากทำ�ด้วย มื อ ทั้ ง สิ้ น ลวดลายยั ง คงอนุ รั ก ษ์ ลายลูกกรง ซึ่งเป็นลายดั้งเดิมเอา ไว้ จึงทำ�ให้ผลิตภัณฑ์มีเอกลักษณ์ ที่โดดเด่น สวยงาม แข็งแรง เพราะ ใช้หวายทั้งต้น เหมาะกับการใช้งาน ปัจจุบันได้มีการพัฒนารูปแบบมา สู่ตลาดสากลโดยใช้หวายเส้นเล็ก ที่เรียกว่าหวายหางหนู ซึ่งมีความ เหนี ย วและผิ ว มั น โดยไม่ ต้ อ งลง แล็กเกอร์ หากใช้ไปแล้วมีเชื้อราให้ นำ�ผลมะเฟืองสุกรสเปรี้ยว มะนาว หรือมะกรูดมาถู จากนั้นล้างนํ้าให้ สะอาดผึ่งแดดให้แห้ง ชิ้นงานก็จะ กลับมาเงางามเหมือนเดิม ปัจจุบัน หวายบ้านบุทม ได้รับการรับรอง มาตรฐานชุ ม ชนจากกระทรวง อุตสาหกรรมเรียบร้อยแล้ว การเดินทาง ตัง้ อยูห่ มูท่ ่ี 4 ต. เมืองที อ.เมืองสุรนิ ทร์ จ.สุรนิ ทร์ การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข 226 ห่างจาก ตัวเมือง ไปทาง อ. ศีขรภูมิ ประมาณ 12 กิโลเมตร
96
หมู่บ้านหัตถกรรม Handcraft village
Bu Thom Wicker
Ban Bu Thom Wicker is outstanding for being finely made by hands and conservatively done in traditional Louk Krong pattern. The product is uniquely beautiful and strong and suitable for general use, as the whole rattan had been utilized. Now there is also a new development for more universal use of the product with smaller sized rattan called “Wai Hang Nu” which is tougher and more glossy without lacquering. In case of being moldy after long use, rub with sour fruits such as star apple, lime or bergamot, washed and sun-dried. The product will become like new again. Ban Bu Thom Wicker now got Community Standard Certification from the Ministry of Industry already. To Go There Moo 4, Tambon Muang Tee, Muang District. Take route 226 from the city for 12 km on the way to Si Koraphum District
หมูบ ่ า้ นทอผ้าไหม ยกทอง บ้านท่าสว่าง ชาวสุ ริ น ทร์ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ ในเรื่ อ ง ฝีมือการทอผ้ามาช้านาน โดยเฉพาะ ผ้ า ไหมยกทอง จุ ด เด่ น ของหมู่ บ้ า น ผ้าไหมยกทอง จันทร์โสมา คือ ทอ ผ้าไหม 1,426 ตะกอ เมื่อครั้งทอผ้ายก ทองทูลเกล้าฯถวายสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ โดยมีกลุ่มอนุรักษ์ และการฟื้นฟูการทอผ้ายกทองชั้นสูง แบบราชสำ�นักไทยโบราณ จุดเด่นของผลิตภัณฑ์ ความโดดเด่น ของผ้าไหมยกทอง คือเส้นไหมที่เล็ก และบางเบา ยอมด้วยสีธรรมชาติแทรก การยกดอกด้วยไหมทองทีท่ ำ�จากเงินแท้ มารีดเป็นเส้นเล็กๆ ปัน่ ควบกับเส้นด้าย และมีจำ�นวนตะกอมากกว่า 100 ตะกอ ผ้าผืนหนึ่งจึงต้องใช้คนทอ 4-5 คน การเดินทาง หมู่บ้านทอผ้าไหมยกทอง บ้านท่าสว่าง อยูห่ า่ งจากตัวเมืองสุรนิ ทร์ 8 กิโลเมตร ข้ามทางรถไฟตรงบริเวณ ห้างสุรนิ ทร์พลาซ่า พอถึงสีแ่ ยกจะมีปา้ ย บอกเลี้ยวซ้าย เข้าถนนสาย เกาะลอย - เมืองลีง ขับตรงเข้ามายัง หมู่ที่ 1 บ้าน ท่าสว่าง ซอยเรือนไทย ถนนสุรินทร์ – เมืองลึง ต.ท่าสว่าง อ.เมือง จ.สุรินทร์ ก็จะพบชาวบ้านที่นั่งทอผ้าไหมอยู่
Golden Thread Silk Village Ban Tha Sawang Surin was long renowned for its woven fabrics especially golden thread silk. The outstanding Chan Sopa is woven with 1,426 Takor when made to offer to Her Majesty the Queen by the group for conservation and restoration of higher ancient royal Thai gold silk weaving. The unique points of this golden thread silk is its very fine silk thread dyed with natural colors and created to be in particular patterns with fine silver thread spun together with silk. 4-5 people will be needed to weave this as more than 100 Takor are used. To Go There Golden Thread Silk Village Ban Tha Sawang is 8 km from Surin City. Cross the rial road in front of Surin Plaza, go on to the intersection, follow the sign and turn left to Koh Loi – Muang Ling route. Go straight to Moo 1, Ban Tha Sawang, Soi Ruen Thai, Surin – Muang Ling Road, Tambon Tha Sawang, Muang District. หมู่บ้านหัตถกรรม Handcraft village
97
เก็บตกเมืองสุรินทร์ Surin Miscellaneous
๒
ผ้าหม้อนิน เสน่ห์อำ�เภอสนม
๑ เมื่อเอ่ยถึงผ้าทอของสุรินทร์ เรามักจะนึก
ถึงผ้าไหม เนื่องจากมีความประณีต สวยงามจน เป็นที่กล่าวขานกันทั่วไป แท้ที่จริงแล้ว สุรินทร์ไม่ ได้มีดีแค่ผ้าไหม มีผ้าอีกชนิดหนึ่งที่มีเอกลักษณ์ โดดเด่นเช่นกัน นั่นคือ ผ้าหม้อนิน ผ้ า หม้ อ นิ น เป็ น ผ้ า ที่ ย้ อ มสี ที่ ไ ด้ จ าก ต้ น คราม กรรมวิ ธี ก ารทำ�สี ค รามและย้ อ ม หม้ อ นิ น มี ลั ก ษณะเฉพาะตั ว การย้ อ มจะต้ อ ง ทำ�ซํา้ ๆ กัน ประมาณ 6-8 ครัง้ เพือ่ ให้สตี ดิ ทนนาน แหล่งผลิตผ้าหม้อนินในจังหวัดสุรินทร์มี เพียงแห่งเดียว คือ ที่อำ�เภอสนม ชาวสนมนิยม แต่งกายด้วยผ้าหม้อนินไปทำ�บุญ ไปวัด หรือใช้ ในงานประเพณีต่างๆ ปัจจุบันชาวอำ�เภอสนมก็ ยังคงอนุรักษ์การทำ�ผ้าหม้อนินไว้ และมีความ ภูมใิ จทีไ่ ด้แต่งกายด้วยผ้าหม้อนินทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ ของตนเอง
รู้หรือไม่
• ชาวสุรินทร์มีความแตกต่างจากชาว อีสานทั่วไป คือ ชาวอีสานพูดลาว กินข้าวเหนียว แต่ชาวสุรินทร์พูดเขมร กินข้าวเจ้า นี่ คือเอกลักษณ์อันโดดเด่นของสุรินทร์ • เครื่องประดับเงิน เป็นเครื่องประดับ ยอดนิยมของสตรีชาวสุรินทร์ การแต่ง กายของสตรีชาวสุรินทร์ในพิธีต่างๆ นั้น จะใช้ผ้าไหมและใส่เครื่องประดับเงิน จนมีคำ�ขวัญว่า “นุ่งผ้าไหม ใส่ประเกื๊อม”
98
หมู่บ้านหัตถกรรม Handcraft village
1
Mor Nin Fabric - Charm of Sanom District
Having said about Surin renowed fine Silk cloth, it is not the only reputable delicacy from Surin. In fact, Surin also has a unique indigo dyed fabric called Mor Nin Fabric. The process of making the fabric is very unique and it has to be repeated 6-8 times to get the long lasting result for good quaity. The only place to make this special fabric is in Sanom District. People here still conserve the wisdom of making this unique product and proudly dress in this special clothing in many traditional occasions.
Do you know..?
• Surin people is different from other Isaan people for the fact that most other Isaan people speak Loa and eat sticky rice but Surin people speak Khmer and eat normal rice. This is unique for Surin. • Surin ladies mostly wear silk with silver accessories in most special occasions. There is a saying reflecting this popularity “Nung Pha Mai, Sai Pra Kuem”
ขนมขี้หมา ขนมพื้นเมืองสุรินทร์
ขนมขี้หมา ทำ�จากเศษข้าวที่เหลือ ทั้ง ข้าวเจ้าและข้าวเหนียว โดยนำ�ข้าวไปตากแดดให้ แห้ง แล้วนำ�ไปคั่วในกระทะ จากนั้นยกลงมาเทใส่ ครก ตำ�ให้ละเอียด นำ�มะพร้าว นํา้ อ้อย หรือนํา้ ตาล โรยเกลือนิดหน่อยตำ�ผสม คลุกให้เข้ากัน เมื่อ ละเอี ย ดแล้ ว นำ�มาปั้ น เป็ น ก้ อ นๆ เพื่ อ สะดวก ในการรับประทาน ชาวบ้านจะทำ�ขนมประเภท นี้ เ พื่ อ แจกจ่ า ยรั บ ประทานกั น ในหมู่ เ พื่ อ นบ้ า น ใกล้เคียงเท่านั้น
“อันซอมโดง” และ “อันซอมจรุ๊ก”
๓ ขนมขี้หมา เป็นขนมพื้นเมืองที่ชาวบ้านทำ�
รับประทานกันเอง แต่ถา้ อยากลองลิม้ ขนมพืน้ ถิน่ ที่ มีขายตามท้องตลาด ขอแนะนำ�ขนมทีม่ ชี อื่ ว่า “อัน ซอมโดง” ซึ่งทำ�จากข้าวเหนียวผสมเนื้อมะพร้าว กล้วยนํ้าว้า นํ้าตาล แล้วห่อด้วยใบมะพร้าวให้มี ลักษณะเป็นท่อนยาว มัดด้วยเชือกแล้วนำ�ไปต้ม ให้สุก เรียกอีกอย่างว่า “ข้าวต้มใบมะพร้าว” ดูๆ แล้วมีความใกล้เคียงกับข้าวต้มมัดของภาคกลางอยู่ เหมือนกัน อันซอมโดงนี้มักจะทำ�กันเยอะในช่วง งานเทศกาลประเพณี อย่างวันเข้าพรรษา งานบวช งานแต่งงาน เป็นต้น จัดว่าเป็นขนมมงคลชนิดหนึง่ นอกจากนั้นก็ยังมีขนมหน้าตาคล้ายๆ กันที่เรียก กว่า “อันซอมจรุก๊ ” ลักษณะเป็นท่อนยาวๆ เหมือน กัน ต่างกันที่ข้างในเป็นข้าวเหนียวผสมกับถั่วลิสง เนือ้ หมูและมันหมู ปรุงรสให้ออกเค็มๆ หน่อยแล้ว ห่อด้วยใบตอง รสชาติออกจะคล้ายๆ กับ “บ๊ะจ่าง” อยู่สักหน่อยๆ เพียงแต่ไม่ได้มีเครื่องเคราเหมือน กับบ๊ะจ่างของคนจีน
Ki Mha – local sweets
2 This snack is made from left over
rice or sticky rice. They will sun-dry the rice, roast, pound and mix with coconut shred, cane sugar and salt. The snack will be made into small pieces and share in the neighbourhood.
Un Som Dong and Un Som Jruk
3 Ki Mha is the snack local people make
for their personal treats. If you want to try some local snacks you can find in the market we recommend Un Som Dong. It is made from sticky rice, coconut, banana and sugar wrapped in a long bar shape with coconut leaves and cooked. This snack can also be called “Kao Tom Bai Ma Prow” similar to “Kao Tom Mud” from the Central part of the country. Un Som Dong is usually made as propitious food in special or traditional cultural events such as Buddhist Lent, ordination and wedding ceremonies. There is also another similar-looking snack called “Un Som Jruk” but it is made from sticky rice, peanut, pork, pork fat then seasoned with salt and wrapped in banana leaves. This snack tastes similar to Chinese “Ba Jang” but with less bits and pieces. เก็บตกเมืองสุรินทร์ Surin Miscellaneous
99
อร่อยมื้อกลางวัน Lunch
ร้านเกาเหลาเครื่องใน หลังสถานีรถไฟสุรินทร์
เมนูเด็ดที่ไม่ควรพลาด คือ เกาเหลา ฟังดูอาจจะธรรมดาแต่เมื่อเห็น หน้าตาเกาเหลาชามนีแ้ ล้วจะต้องร้องว้าว! ด้วยความประหลาดใจ เพราะสิง่ ทีโ่ ดดเด่น อยู่ในชามคือไส้หมูอวบๆ ที่มีไข่อยู่ข้างใน ยามเมื่อตักเข้าปากจะได้รับรสชาติอร่อย ลํ้าโดยที่ไม่ต้องปรุง เหมือนได้กินไข่ต๋นุ ที่ อยูใ่ นไส้ เมือ่ ถามเคล็ดลับความอร่อยจาก เจ้าของร้าน ก็ทราบว่าทีม่ าของความอร่อย คือการใส่ไข่ดิบลงไปในไส้ก่อนที่จะเอาไป ต้ม เมือ่ สุกแล้วให้หน่ั เป็นชิน้ ๆ ก็จะได้ไส้ ทีม่ ไี ข่อยูข่ า้ งในอย่างทีเ่ ห็น แอบกระซิบสัก นิดว่าแม่คา้ ร้านนีอ้ าจจะดุอยูส่ กั หน่อย แต่ ก็ตอ้ งยอมล่ะ เพราะเกาเหลาของเค้าอร่อย สุดยอดจริงๆ ราคา 35-40 บาท การเดินทาง ร้านเกาเหลาเครือ่ งใน ตัง้ อยู่บนถนนสนิทนิคมรัฐ อยู่ตรงข้ามร้าน คิดถึงเบเกอรี่ หรือใช้ถนนธนสาร เจอสาม แยกแล้วเลี้ยวขวา ถ้าตรงไปจะพบสถานี รถไฟสุรนิ ทร์
100
ร้านอาหารแนะนำ� Where to Eat
Chitterlings Soup Shop behind Surin Train Station Recommended menu is Kao Lao. A normal dish? Wait until you see it and say wow with surprise! What’s in the bowl is the plump pork’s small intestine with soft cooked egg inside. Very delicious without further seasoning. The secret from the shop owner is that they put the raw egg in the intestine before boiling it. Chopped into pieces when done and you will get what you see here. The shop owner may be a little aggressive sometimes but it worths it. Price 35-40 Baht To Go There Situated in Sanit Nikomrat Rd. opposite to Kid Thueng Bakery. Or take Thanasan Rd. and turn right at the 3-way junction (if go straight will be Surin Train Station).
ร้านอาหารเพชรมณี สาขา 2
ร้านนี้ข้นึ ชื่อเรื่องส้มตำ� เพราะเป็นถึง แชมป์สม้ ตำ�อันดับ 1 ภาคอีสาน ประจำ� ปี 2529 บรรยากาศภายในร้านแสน อบอุน่ เพราะเจ้าของร้านมีอธั ยาศัยเป็น กันเอง เอาใจใส่กบั ลูกค้า ส้มตำ�ของที่ นีต่ อ้ งบอกว่าอร่อยทุกเมนู ส่วนไก่ยา่ ง เนือ้ แห้ง รสชาติอร่อย ขายดีทกุ วัน ช่วง บ่ายๆ ไม่เหลือให้รบั ประทานแล้ว ราคา ตามเมนูดงั นี้ ตำ�ลาว ตำ�ปลาร้า 30 บาท ตำ�ไข่เค็ม ตำ�หอยดอง 40 บาท ลาบ นํา้ ตกหมู ตับหวาน 50 -60 บาท ไก่ยา่ ง 40 บาท หมูยา่ ง 20 บาท ขนมจีน ข้าวเหนียว ผัดหมี่ 10 บาท การเดินทาง ตัง้ อยูห่ ลังวัดศาลาลอย ถนนมูลศาสตร์ สาทร ต.ในเมือง อ.เมือง จ.สุรนิ ทร์
Petch Manee Somtam shop
The warm and caring Petch Manee Somtam Branch 2 is famous for Somtam as Isaan Somtam Champion of the Year 1986. Every Somtum menu here is excellent. Other menus such as grilled chicken and dried beef are also very yummy and usually sold out within a few hours after lunch time. Price Tam Lao, Tam Pla Ra - 30 Baht Tam Kai Kem, Tam Hoy Dong - 40 Baht Larb, Nam Tok, Tub Wan - 50-60 Baht grilled chicken - 40 Baht grilled pork - 20 Baht rice noodle, sticky rice 10 Baht To Go There Located behide Wat Sala Loi, Mulasart Sathorn Rd. Tambon Nai Muang, Muang District. ร้านอาหารแนะนำ� Where to Eat
101
รูป: trippacker.com
ร้านเครื่องดื่ม Blue latte Coffee และครัวขวัณข้าว
ร้ า นนี้ เ พิ่ ง เปิ ด ได้ ไ ม่ น าน บรรยากาศออกแนว chic ชวนนั่ง อาหาร ที่ขายในร้านมีทั้งอาหารตามสั่ง เค้ก และ เครื่องดื่ม เมนูเครื่องดื่มที่อยากแนะนำ� คือ Green tea Latte โดยใช้เครื่องชง Orchestrala สุดหรู ทำ�ให้ชาที่ได้ส่งกลิ่น หอมละเมียดละไมเป็นทีส่ ดุ อยากทราบว่า หอม อร่อย แค่ไหนต้องลองไปชิมดู ร้าน นี้เปิดบริการทุกวัน ตั้งแต่เวลา 07.00 – 21.00 น. ราคา เครื่องดื่ม เย็น ราคา 40-55 บาท เครื่องดื่มร้อน 30-45 บาท การเดิ น ทาง การเดิ น ทางออกจากตั ว เมืองห่างจากสถานีรถไฟสุรินทร์ 1.20 กิโลเมตร เลีย้ วขวาข้ามทางรถไฟแล้วเลีย้ ว ซ้ายขับตรงมาเส้นถนนสุรนิ ทร์ – ท่าสว่าง แล้วเลี้ยวซ้ายร้านอยู่ด้านซ้ายมือ
102
ร้านอาหารแนะนำ� Where to Eat
Blue Latte Coffee and Krua Kwan Kao Recently established with chic style, the menu includes a la carte order, bakery and drinks. Recommended drink is Green Tea Latte made with the luxurious Orchestrala machine resulting in great fragrance of the drink. Open daily from 7am to 9pm. Price cold drinks 40-55 Baht, hot drinks 30-45 Baht To Go There From the city it is 1.2 km from Surin Train Station, turn right across the rail road and turn left onto Surin – Tha Sawang road then turn left and the shop is on the left.
ร้านคิดถึง เบเกอรี่
ราคา เครื่องดื่มเย็น 50 บาท เครื่องดื่มร้อน 40 บาท การเดินทาง ร้านคิดถึงเบอเกอรี่ ตั้งอยู่ บนถนน สนิทนิคมรัฐ หรือใช้ถนนธนสาร เจอสามแยก แล้วเลี้ยวขวา
Kid Thueng Bakery
Price cold drinks 50 Baht Hot drink 40 Baht To Go There Situated in sanit Nikomrat Rd. Or take Thanasan Rd.and turn righ at the 3-way junction ร้านอาหารแนะนำ� Where to Eat
103
อร่อยภาคคํ่า
ของหวานมื้อดึก
Dinner
Sweet Supper โรตีอาบัง
อยูถ่ ดั จากร้านก๋วยเตีย๋ ว สิงโตไม่มากนัก เป็นของหวานทีช่ วน ลิม้ ลองกับสารพัดหน้าโรตีทม่ี ใี ห้เลือก ถึง 9 ชุด 21 รส เรียกว่าเป็นของ หวานที่สร้างสีสันยามคํ่าคืนและชวน ให้อ้วนได้ง่ายๆ แต่ต้องยอมเค้าล่ะ เพราะอร่อยๆ จริง เนือ้ โรตีกรอบนอก นุม่ ใน ชุม่ ไปด้วยนมข้นหวาน แค่โรตี ธรรมดาๆ ก็อร่อยแล้ว ราคา 9 รส 21 หน้า ราคา 35-40 บาท ธรรมดา 8 บาท โรตีใส่ไข่ 10 บาท การเดิ น ทาง ตั้ ง อยู่ บ ริ เ วณถนน หลั ก เมื อ ง ตรงข้ า มโรงเรี ย นสุ ร วิทยาคาร ขายตั้งแต่เวลา 17.00 – 23.00 น.
ร้านก๋วยเตี๋ยวสิงโต
เมนูกว๋ ยเตีย๋ วของร้านนี้ เจ้าของ ร้านเค้าคิดสูตรขึ้นมาเอง พร้อมทั้งออกแบบ ร้านโดยการนำ�ชามก๋วยเตีย๋ วสีแดงขนาดใหญ่ มาตั้งไว้ สร้างความโดดเด่นและดึงดูดความ สนใจเป็นอย่างมาก ทีเด็ดของร้านนีค้ อื นํา้ ซุป ที่มีรสชาติอร่อยโดยไม่ต้องปรุงรสแต่อย่าง ใด เส้นก๋วยเตี๋ยวก็มีให้เลือกหลากหลายทั้ง บะหมีเ่ ยาวราช ราเมงเกาหลีใต้ อาหารรสเลิศ บรรยากาศดีเยีย่ ม ราคาไม่แพง รวมแล้วเด็ด ดวงจนต้องกด Like ราคา 25-30 บาท การเดินทาง ตัง้ อยูบ่ ริเวณถนนหลักเมือง ตรง ข้ามกับโรงเรียนสุรวิทยาคาร อ.เมือง จ.สุรนิ ทร์ เปิดบริการตัง้ แต่เวลา 17.00 – 23.00 น.
104
ร้านอาหารแนะนำ� Where to Eat
Singto Noodle Shop
The menus here were created by the shop owner. The interior design with huge red noodle bowl is very interesting. Hi-light of this shop is the tasty soup with no need for more seasoning and varieties of the noodle such as Yaowarat noodle, South Korean Ramen. Great food - good price - nice atmosphere – Just LIKE it. Price 25-30 Baht To Go There Located on Lak Muang Road opposite to Sura Wittayakan School, Muang District. Open 5pm – 11pm.
Abang Roti Shop
Abang Roti Shop is not far away from Singto Noodle Shop. This inviting sweet boasts 9 set of 21 flavors to choose from. Gain some weight at nighttime fun with this delicious crispyoutside-and-soft-inside treats you will enjoy. Price Normal Roti 8 Baht, with egg 10 Baht special 9 set of 21 flavors 3540 Baht
ร้านอาหารแนะนำ� Where to Eat
105
กระท่อมพฤกษาโฮม สเตย์
ร้านอาหารเรือนแพ วังทะลุ อ.ท่าตูม จ.สุรินทร์
หากคุณเป็นคนชอบนั่งกินลม ชมวิว ขอแนะนำ�ร้านอาหารเรือนแพ ทีม่ อง เห็นวิวแม่นา้ํ สองสาย ซึง่ มาบรรจบกันทีว่ งั ทะลุ นอกจากนัน้ คุณยังจะได้นง่ั ดูชา้ งเล่นนํา้ ในยาม บ่ายอีกด้วย เมนูเด็ดของร้านนีค้ อื ต้มยำ�ปลา แม่นา้ํ มูล ทีจ่ บั ปลาขึน้ มาจากแม่นา้ํ มูลกันสดๆ เลยทีเดียว การปรุงรสต้มยำ�แซบแสบทรวง ตามแบบฉบับของชาวอีสานคือใส่ขมิ้นและ ผักอีออม (ผักแขยง) แล้วยังมีกลิน่ หอมซ่าน จมูกของใบแขยง ทีใ่ ช้ปรุงอาหารพืน้ บ้านประจำ� ถิน่ นอกจากนีย้ งั มีผดั ฉ่าปลาแม่นา้ํ มูล รสชาติ อร่อยร้อนแรงจนต้องปาดเหงือ่ ... ราคา แต่ละเมนู 80 บาทขึน้ ไป การเดินทาง อยูห่ า่ งจากจังหวัดสุรนิ ทร์ไปทาง เหนือตามทางหลวงหมายเลข 214 (สุรนิ ทร์ร้อยเอ็ด) ก่อนถึงอำ�เภอท่าตูม มีทางแยกซ้าย บริเวณหลักกิโลเมตรที่ 36 ไปตามทางลาดยาง อีกประมาณ 22 กิโลเมตรและถัดจากหมูบ่ า้ น ช้างประมาณ 3 กิโลเมตรแล้ว เลีย้ วซ้ายใช้ ถนนข้างวัดแจ้งสว่าง ด้านซ้ายมือขับตรงไป สุดทางแล้วเลีย้ วขวาเลียบริมแม่นา้ํ ก็จะถึงร้าน เรือนแพอยูด่ า้ นซ้ายมือ
106
ร้านอาหารแนะนำ� Where to Eat
Ruen Pae Restaurant
Ruen Pae Restaurant - Wantalu, Tha Tum District If you like leisure style, we recommend this river view restaurant. You can also see elephant bathing in the afternoon too. Recommended menus are Mun’s fish spicy soup and stir-fried, freshly caught from the river and cooked to hot and spicy taste Isaan styled. Feel the taste of local spices like turmeric and Eom or Kayang in these original dishes. Price 80 Baht and up To Go There From Surin City, take route 214 (Surin - Roi Et) to the north, before reaching Tha Tum around km 36, turn left onto the paved road for 22 km. Passing Elephant Village for 3 km turn left at the road beside Wat Chang Sawang. Continue to the end and turn right along the river and the restaurant will be on the left.
ทีพ่ กั ไม่หา่ งจากตัวเมืองสุรนิ ทร์มาก นัก กับบรรยากาศทีแ่ วดล้อมไปด้วยแมกไม้ และ การต้อนรับที่เป็นกันเองของเจ้าของ สามารถ นอนฟังเสียงฝนตกพรําๆ กับเสียงเขียดตัวน้อย จุดเด่น กระท่อมพฤกษาโฮมเสตย์ มีการจัดสวน ที่ลงตัวโดยเจ้าของลงมือทำ�เองปลูกเองทุกต้น สามารถถามและตอบชือ่ ได้ทกุ ชนิด มีการขุดบ่อ เลีย้ งปลา ปลูกผักสวนครัว ยึดหลักเศรษฐกิจพอ เพียง มาทีน่ ไ้ี ม่ควรพลาดนํา้ ดืม่ สมุนไพรคลอโรฟิล ทีเ่ ก็บวัตถุดบิ จากภายในทีพ่ กั ประกอบไปด้วย ใบย่านาง ตำ�ลึงหวาน หัวใจม่วง ส้มจี๊ดและ น้ำ�ผึ้ง คั้นออกมาได้น้าํ สีเขียวสดรสชาติอร่อย ดืม่ แล้วทำ�ให้สดชืน่ เพราะมีฤทธิเ์ ย็น ต้องลอง มาชิมด้วยตนเอง การเดิ น ทาง มาจากสุ ริ น ทร์ พ ลาซ่ า ข้ า ม ทางรถไฟ ถนนเทศบาล 3 อยูต่ รงข้ามสนาม ไดร์กอล์ฟ สนใจติดต่อสอบถาม โทร. 0866494978, 044-514724
Kratom Preuksaa Homestay
Kratom Preuksaa Homestay is not far from the city. The lush and friendly atmosphere where you can lay down listening to the voice of nature. Here you can ask the owner every question about each and every tree he himself planted. There are fish pond, vegetable patches in sufficient economy concept. Try the refreshing and cooling green and tasty Chlorophyll herb drink made from locally grown herbs e.g. Yanang, sweet gourd, Huajai Muang, Kumquat and honey. To Go There From Surin Plaza, cross the rail road on Tasaban 3 road, opposite to the golf driving range. For more info, please call 086-6494978, 044-514724 ที่พักแนะนำ� Where to Stay
107
ศูนย์ฝึกอบรม สกต.สุรินทร์
อ่างเก็บน้ำ�ห้วยเสนง
สำ�หรับผูท้ ช่ี น่ื ชอบ บรรยากาศอ่างเก็บนํา้ ห้วยเสนง ทะเลสาบนํ้าจืดขนาดใหญ่ ที่ ดูแล้วนอกจากจะเย็นกายแล้ว ยังเย็นตาเย็นใจ เหมาะกับวัน หยุ ดพักผ่อน สามารถติด ต่อ ห้องพักได้ท่ีน่ี เข้าบริการห้อง พั ก ให้ กับ นั ก ท่ อ งเที่ย วที่ส นใจ ติ ด ต่ อ ได้ ท่ี หั ว หน้ า โครงการ ชลประทานจังหวัดสุรนิ ทร์ โทร. 044-142588 การเดินทาง อยูห่ า่ งจากตัวเมือง สุรนิ ทร์ ประมาณ 5 กิโลเมตร มาถนนสายสุรนิ ทร์ – ปราสาท ทางหลวงหมายเลข 214 พอ เจอหลักกม.ที่ 5-6 แยกซ้าย มือเข้าถนนริมคลองชลประทาน ประมาณ 4 กิโลเมตร เป็นทีพ่ กั ผ่อนของชาวเมือง
108
ที่พักแนะนำ� Where to Stay
Huay Saneng Reservoir
Accommodation at Huay Saneng Reservoir is ideal for people who love the leisurely fresh water lake atmosphere. Contact Head of Irrigation Project of Surin 044-142588 for more info and reservation. To Go There 5 km from Surin City on Surin – Prasat route 214. Turn left at km 5-6 onto Rim Klong Cholapratan Road for 4 km.
ห รื อ ส ห ก ร ณ์ การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. สุรินทร์ อยู่ท่ี อำ�เภอ ปราสาท อยู่ห่างจากตัวเมือง สุรินทร์ 36.5 กิโลเมตร ใช้ ถนนสุรนิ ทร์ – ช่องจอม หาก มาจากอำ�เภอปราสาท ก็ ประมาณ 5 กิโลเมตร มีหอ้ ง พักราคาถูกที่คุณสามารถเรียน รูเ้ รือ่ งเศรษฐกิจพอเพียง ได้ทน่ี ้ี แบบครบวงจร ติดต่อสอบถาม ได้ ท่ี คุ ณ จำ�นงค์ หวั ง สุ ด ดี หัวหน้าศูนย์ฝึกอบรมฯ 0817240077และ 085-6956264
Agricultural Bank of Surin Accommodation at Surin Agricultural Cooperatives Training Center (of Agricultural Bank of Surin) is at Prasat District 36.5 Km from the city, take route Surin – Chom Thong 5 km from Prasat District. There are economy room for rent where you can learn more about the concept of sufficient economy. For more info, please call Khum Jamnong Wangsuddee, head of the center 081-7240077 and 085-6956264.
ที่พักแนะนำ� Where to Stay
109
ศูนย์คชศึกษา
ราคาไม่ แ พง ที่ พั ก โฮม สเตย์อยู่กับชาวบ้าน ดูวิถีชีวิตชนบท คนกับช้างทีม่ คี วามผูกพันกันเหมือนคน ภายในครอบครัวอย่างใกล้ชดิ การเดินทาง ใช้เส้นทางสุรนิ ทร์ – ร้อยเอ็ด ทางหลวงหมายเลข 214 ประมาณ 35 กิ โ ลเมตร เลี้ย วซ้ า ยเข้ า ไปประมาณ 22 กิ โ ลเมตร ให้ สั ง เกตตู้ เ อที เ อ็ ม ธนาคารออมสินซ้ายมือ ก็จะถึงบ้านตากลาง ต.กระโพ อ.ท่าตูม จ.สุรนิ ทร์ มี ใ ห้ เ ลื อ กบ้ า นพั ก มากมายทั้ง ภายใน ศู น ย์ ค ชศึ ก ษา ติ ด ต่ อ สอบถามได้ ท่ี 044 – 445050
110
ที่พักแนะนำ� Where to Stay
Accommodation at the Elephant Traing Center Apart from watching elephant shows, visitors can also stay with the locals and closely learn more about the impressive way of life in the family between human and elephant here. To Go There Take route 214 Surin – Roi Et for 35 km turn left for 22 km. Notice the ATM of Omsin Bank on your left marking your arrival at Ban Ta Klang. Tambon Kra Poh, Tha Tum District. For more info, please call 044-445050 ที่พักแนะนำ� Where to Stay
111
ที่พัก
• ดิ ออร์คดิ เรสซิเดนซื 0 4453 0101 • The Orchid Residence 08 1955 6348 Apartment
Accommodation Directory โรงแรม, ทีพ ่ ก ั (Accommodation) • ทองธารินทร์ 0 4451 4281-8 • กรุงศรี • Thong Tarin Hotel • Krungsri Hotel • สุรนิ ทร์มาเจสติก 0 4471 3980-3 • ช้างเผือก • Surin Margestic Hotel • Chang Puek Resort • มณีโรจน์ 0 4453 9477-9 • อมรินทร์ • Manerote Hotel • Amarin Hotel
0 4451 1037 0 4451 3137 0 4453 0705
• วีวา่ เพลส 0 4451 4929 • Viva Place Apartment 08 1760 2372
ร้านอาหาร
0 4451 3300
Restaurant
• แสงทอง • Sang Tong Hotel
0 4451 1322
• แป๊ะตี๋ 0 44511 682 • Pae Tee Restaurant
• นิวโฮเต็ล • New Hotel
0 4451 1322
• จานทอง 0 4451 4281-8 • Jan Thong Restaurant
• ต้นคูณ • Thon Koonn Resort
0 4453 0077 0 4451 1322
• กระท่อมพฤกษา • Preuksa Home Stay
0 4451 4724
• สวนปาล์ม • Suan Plam Resort
0 4451 9456-7 0 4471 3333
• สุรนิ ทร์พาราไดซ์ 0 4451 8421 • Surin Paradise Resort
• กฤษดา แกรนด์พาเลส • Krisada Grandpalace Apartment
0 4471 3997-9
• สวนสน 0 4453 1333 • Suen Son Resort
• บุญเทีย่ ง • Boonthaing Mansion
0 4451 8165-7
• รุง่ ตะวัน • Rung Tawan Resort • เลอเบียง • Le bien Resort
• กรีนวิว 0 4451 9261 • Green View Apartment
• เพชรเกษมแกรนด์ • Phethchkasemgrand Hotel • เมมโมเรียล • Memorial Hotel
0 4451 1274, 0 4451 1740 0 4451 1288 0 4451 1637
• มาตินา่ 0 4471 3555 • Matina Hotel • เกษมการ์เด้น 0 4471 3485-7 • Kaseam Gardent Hotel • สวนป่า • SuenPa Resort
112
0 4452 1022, 08 1390 0144
0 4453 1896 08 1732 4615 08 1760 4087
ที่พัก Accommodation Directory
• สบายดี • Sabaidee Resort
0 4471 3813 08 1462 8661
• สำ�รับต้นเครือ่ ง • Samrup Tonkruang
0 4451 5015
• เรือนไม้ไทย • Ruen mai thai
06 7214 487
• สวนงาช้าง • Saun nga chang
0 44513 073 0 44513 179
Restaurant
Restaurant
Restaurant
• สมบูรณ์โภชนา 0 4451 5168 • Som Boon Phochana
Restaurant
• ระเบียงนํา้ • Rabiangnam
0 4472 5559 08 1732 4615
Restaurant • โคคา 0 4451 2390 • Surincoca Restaurant
ที่พัก Accommodation Directory
113
ของดีเมืองสุรินทร์ Notable Surin Products
กะละแมสด
ของฝากขึ้ น ชื่ อ ของจั ง หวั ด สุรินทร์ มาถึงแล้วไม่ได้ชิมถือว่าไม่ถึงถิ่น ด้วยรสชาติทม่ี เี อกลักษณ์เฉพาะตัว เหนียว นุม่ หวานมัน ไร้สารเคมีเจือปน ห่อด้วย ใบตองแห้ง กลิน่ หอมใบตองธรรมชาติเพิม่ อรรถรสในการกินได้เป็นอย่างดี เก็บไว้ได้ นานแค่ 3 วัน จุดเด่น ใช้กะทิสด การันตีได้วา่ กินชิน้ แรก แล้ว ต้องมีชน้ิ ทีส่ องตามมา เผลอ ๆ หยุด ไม่ได้เลยทีเดียว สถานที่จำ� หน่ า ย กะละแมสดศี ข รภู มิ (ตราปราสาทเดียว) เลขที่ 211-212 ถนน เสรีธปิ ตั ย์ ต.ระแงง อ.ศีขรภูมิ จ.สุรนิ ทร์ โทร.044-561009
114
ของดีเมืองสุรินทร์ Notable Surin Products
Fresh Caramel Sweets
ผักกาดหวาน เมืองสุรินทร์
เป็นสินค้า OTOP ระดับห้าดาว ที่ส่งเสริมให้เกษตรกรในท้องถิ่นปลูกโดยไม่ใช้ ปุ๋ยหรือยาฆ่าแมลง เป็นผักกาดหวานอินทรีย์ ที่อร่อยและปลอดภัย รสชาติหวาน กรอบไม่ เหมือนใคร จนเป็นหนึ่งในคำ�ขวัญของจังหวัด สุรนิ ทร์ จุดเด่น เคล็ดลับของความหอมหวานของผัก กาดหวานเมืองสุรนิ ทร์คอื การใช้นา้ํ ผึง้ เป็นส่วน ผสมในการดองจนได้รสชาติทอ่ี ร่อยลํา้ ลงตัว ใคร มาสุรนิ ทร์หา้ มพลาดเป็นอันขาด สถานทีจ่ �ำ หน่าย กลุม่ ผูผ้ ลิตผักกาดหวาน ตรา ช้างชูผกั กาด กลุม่ แม่บา้ นเกษตรกรละหุง่ พัฒนา สถานทีผ่ ลิต เลขที่ 134 บ้านละหุง่ หมูท่ ่ี 4 ตำ�บลนาบัว อำ�เภอเมืองสุรนิ ทร์ จังหวัดสุรนิ ทร์ โทร.081-6291343 • เลขที่ 34/1 หมูท่ ่ี 4 ต.นาบัว อ.เมืองสุรนิ ทร์ จ.สุรนิ ทร์ โทร. 0-4450-1366 และ ร้านขาย ของทีร่ ะลึกในจังหวัดสุรนิ ทร์
Sweet Raddish of Surin
Rated 5 star OTOP, this organic product if free from chemical fertilizers and insecticides. Sweet Raddish of Surin is uniquely delicious, crispy and safe and well selected to be in the slogan of Surin. The secret is the perfect blend of honey in the preservation process that makes this is a Must Try of Surin. Where to Buy Group of Sweet Radish producers - Chang Shu Pak Kad Brand. La Hoong Pattana Farmer Housewife group. Produced at 134 Ban La Hoong, Moo 4, Tambon Na Bua, Muang District. Tel 081-6291343 • 34/1 Moo 4, Tambon Na Bua, Muang District. Tel 0-4450-1366 and Souvenir Shop in Surin
Fresh caramel sweets is the famous well-known souvenir of Surin Province. It is a must for travelers to taste since it is like one of the signatures of Surin because of its unique quality and taste, sticky, soft, sweet, and crispy, without added chemicals. Since caramel sweets is folded by banana leaf, the smell from the leaf is absorbed into the caramel. It makes caramel even irresistible. Anyway, caramae expires within 3 days after fresh cook. Outstanding Fresh coconut milk is used as one of the recipes. After having a first bite, you’ll never stop eating. Where to Buy Srikorrapoom Fresh Caramel. 211-212, Seritipat Rd., Rangang, Srikorrapoom, Surin. Tel. 044-561009 ของดีเมืองสุรินทร์ Notable Surin Products
115
Khawao Sinrin Silver Accessories
เครื่องเงินเขวาสินรินทร์
ข้าวสารหอมมะลิสุรินทร์ Jasmine Rice of Surin
จั ง หวั ด สุ ริน ทร์ เ ป็ น แหล่ ง ผลิ ต ข้าวหอมทีม่ คี ณ ุ ภาพ โดยเกษตรกรผลิตข้าว อินทรีย์ปลอดสารพิษ จนเป็นที่ยอมรับและ สร้างชื่อเสียง ขจรขจายไปไกลข้าวหอมมะลิ ของสุรนิ ทร์มคี วามพิเศษ คือ มีกลิน่ หอม เมล็ด ข้าวเรียวยาว สีขาวนวล เมือ่ หุงเป็นข้าวสุกก็ มีรสชาติหวานกำ�ลังดี เวลาเคีย้ วอ่อนนุม่ ซึง่ เป็นคุณลักษณะเด่นของข้าวหอมมะลิสรุ นิ ทร์ ของดี ๆ แบบนีต้ อ้ งช่วยกันสนับสนุน สถานทีจ่ �ำ หน่าย สหกรณ์การเกษตรปราสาท จำ�กัด เลขที่ 92 หมู่ท่ี 7 ตำ�บลกังแอน อำ�เภอปราสาท จังหวัดสุรนิ ทร์ • โทร.044-551718 ,551227 , 081-786461 และร้านจำ�หน่ายของฝาก ในจังหวัดสุรนิ ทร์
116
ของดีเมืองสุรินทร์ Notable Surin Products
Surin is a quality source of Thai Jasmine Rice. The non-toxic organic rice from here is far accepted as a special fragranced, long, light-colored rice grain that is perfectly sweet and soft when cooked. Top product Must Buy Where to Buy Agricultural Cooperatives of Prasat 92 Moo 7, Tambon Kang Ann, Prasat District. Tel 044-551718 ,551227 , 081-786461 and Souvenir Shop in Surin
สำ�หรับผูท้ ช่ี น่ื ชอบเครือ่ งประดับ เงินไม่ควรพลาด ชมและช้อปเครื่องประดับ เงิน ทีม่ กี ารถ่ายทอดฝีมอื จากรุน่ สูร่ นุ่ มากว่า 270 ปี เมือ่ แรกเริม่ มีเพียงต่างหู ทีเ่ รียกว่า ตะเกา หรือขะจร ปัจจุบนั ได้มกี ารพัฒนาเป็น เครื่องประดับหลากหลายชนิด ทั้งสร้อยคอ สร้อยข้อมือ เข็มขัด ปิน่ ปักผม นอกจากนีย้ งั มีสนิ ค้าทีข่ น้ึ ชือ่ คือ ปะเกือม หรือลูกปัดเงิน ลายโบราณทีน่ ำ�มาร้อยเป็นสร้อยคอได้อย่าง สวยงาม จุดเด่น เป็นงานฝีมอื ประณีตมีความละเอียด งดงาม สถานทีจ่ �ำ หน่าย สามารถหาซือ้ ได้ทห่ี มูบ่ า้ น หัตถกรรม บ้านโชค บ้านสดอ บ้านเขวาสินรินทร์ ต.เขวาสินรินทร์ อ.เขวาสินรินทร์ จ.สุรนิ ทร์ อยู่ห่างจากตัวเมืองสุรินทร์มาประมาณ 20 กิโลเมตร ใช้ทางหลวงหมายเลข 214 สาย สุรนิ ทร์ – ร้อยเอ็ด ถึงกิโลเมตรที่ 14 เลีย้ ว ขวาใช้เส้นทาง ถนนรพช. นาตัง – ศีขรภูมิ จากนัน้ เดินทางมาประมาณ 1 กิโลเมตร จะ ถึงหมูบ่ า้ นนาโพธิ์ ก่อนเข้าหมูบ่ า้ นเขวาสินรินทร์ จะถึงสีแ่ ยกป้อมยามตำ�รวจ และฝัง่ ขวามือจะ พบร้านค้าสหกรณ์เขวาสินรินทร์แหล่งขาย ผลิตภัณฑ์เครือ่ งเงิน ขับเข้าอีกสักเล็กน้อย 1 กิโลเมตร จะพบหมูบ่ า้ นโชค และถัดไปอีก 2 กิโลเมตร จะพบหมูบ่ า้ นสดอ ทัง้ สองหมูบ่ า้ น นีจ้ ะพบชาวบ้านนัง่ ทำ�เครือ่ งเงินอยู่ สามารถ เลือกชมเลือกซือ้ ได้จากมือผูผ้ ลิตโดยตรง
Don’t miss this if you like silver. Witness and shop the Silver Accessories of craftsmanship inherited for over 270 years. In the beginning, there was only earrings or Ta Kao or Ka Jon. Today there are many kinds such as necklaces, bracelets, belts, barrettes and also the famous Pa Kuem or traditional crafted Silver beads created to be vey beautiful rosary. These gorgeous products are finely made by hands Where to Buy Handicraft Village at Ban Chok, Ban Sa Dor, Ban Silver Accessories, Tambon Khawao Sinrin, Khawao Sinrin District. 20 km from Surin city. Take route 214 Surin -Roi Et to km 14 turn right onto Na Tang – Si Khoraphum road for 1 km to Na Pho Village. Before reaching Khawao Sinrin Village, there will be an intersection with a police booth, on the right there will be the Co-op Shop selling the silver accessories, go down 1 km more to Chok Village and 2 km more to Sa Dor Village. You can talk and buy directly from the villagers making the products.
ของดีเมืองสุรินทร์ Notable Surin Products
117
แหล่งผลิตผ้าไหมทีม ่ ช ี อ ่ื เสียง ของจังหวัดสุรน ิ ทร์
แหล่ ง ผลิ ต ผ้ า ไหมที่ มีชอ่ื เสียงของจังหวัดสุรนิ ทร์ • บ้านท่าสว่าง หมูท่ ่ี 1 ตำ�บลท่า สว่าง อำ�เภอเมืองสุรนิ ทร์ เด่นด้าน ผ้าไหมยกทอง 1,460 ตะกอ และ เป็นหมูบ่ า้ นผลิตผ้าไหมเพือ่ การท่อง เทีย่ วของจังหวัดสุรนิ ทร์ • บ้านสวาย หมูท่ ่ี 1,3,5 ตำ�บลสวาย อำ�เภอเมืองสุรนิ ทร์ เด่นด้านผ้าไหม มัดหมีย่ กดอกลายลูกแก้ว • บ้านนาแห้ว หมูท่ ่ี 7 ตำ�บล สวาย อำ�เภอเมืองสุรนิ ทร์ เด่นด้าน ผ้าไหมมัดหมีโ่ ฮล • บ้านนาตัง หมู่ท่ี 8,9 ตำ�บล เขวาสินรินทร์ อำ�เภอเขวาสินรินทร์ เด่ น ด้ า นผ้ า ไหมมั ด หมี่โ ฮลย้ อ มสี ธรรมชาติ แ ละเป็ น หมู่ บ้ า นผลิ ต ผ้าไหมเพือ่ การท่องเทีย่ วของจังหวัด สุรนิ ทร์ • บ้านนาโพธิ์ หมูท่ ่ี 11 ตำ�บล เขวาสินรินทร์ อำ�เภอเขวาสินรินทร์ เด่ น ด้ า นผ้ า ไหมพื้ น เรี ย บย้ อ มสี ธรรมชาติ • บ้านโพธิก์ อง หมูท่ ่ี 3 ตำ�บล เชือ้ เพลิง อำ�เภอปราสาท เด่นด้าน ผ้าไหมมัดหมีโ่ ฮล • บ้านตาโต หมูท่ ่ี 16 ตำ�บลพรม เทพ อำ�เภอท่าตูม เด่นด้านผ้าไหม มัดหมีข่ น้ั /มัดหมีข่ อ้ • บ้านดูน่ าหนองไผ่ หมูท่ ่ี 1 และ บ้านไทรงาม หมูท่ ่ี 14 ตำ�บลนา หนองไผ่ อำ�เภอชุมพลบุรี เด่นด้าน ผ้าไหมยกดอก • บ้านเขวาสินรินทร์ หมู่ท่ี 2 ตำ�บลเขวาสินรินทร์ อำ�เภอเขวาสินริ นทร์ เด่นด้านผ้าไหมยกดอก • บ้านปราสาท หมูท่ ่ี 6 ตำ�บล ตาอ็อง อำ�เภอเมืองสุรนิ ทร์ เด่น ด้านผ้าไหมลายราชวัตร
ผ้าไหม จังหวัดสุรินทร์
สุรนิ ทร์ขน้ึ ชือ่ ในเรือ่ งของผ้าไหม ยกทองและผ้าทอลายโบราณ หมูบ่ า้ นทีท่ อผ้า ตามประเพณีสบื ทอดต่อมาจนปัจจุบนั จะเป็น คนไทยเชือ้ สายเขมรและไทยอีสาน แหล่งทอผ้า ที่ สำ�คั ญ อยู่ ใ นเขตอำ�เภอเมื อ ง คื อ ที่ บ้ า น ท่าสว่าง หมู่ 1 บ้านเขวาสินรินทร์ หมู่ 2 ตำ�บลเขวาสิ น ริ น ทร์ บ้ า นนาแห้ ว หมู่ 7 ตำ�บลสวาย และบ้านจันรม หมู่ 4 ตำ�บล ตาอ๊อง อำ�เภอเมือง และในเขตอำ�เภอศีขรภูมิ อีก 1 แห่ง คือทีบ่ า้ นจารพัต หมู่ 1 ตำ�บลจารพัต ผ้าไหมสุรนิ ทร์ยงั คงมีการทอผ้าทีส่ บื ทอดตัง้ แต่ อดีตทำ�ให้มีความหลากหลายในแต่ละพื้นที่ ผ้าไหมสุรนิ ทร์จงึ มีความโดดเด่นและแตกต่างกัน ออกไป จุดเด่น ผ้าไหมสุรินทร์จะเป็นผ้าไหมเส้น เล็ก เรียบ นิม่ เวลาสวมใส่จะรูส้ กึ เย็นสบาย มี ลวดลายทีห่ ลากหลาย เช่น ลายลูกแก้ว ลาย สัตว์ ฯลฯ
118
ของดีเมืองสุรินทร์ Notable Surin Products
Silk of Surin
Surin is famous for Golden Thread Silk and Ancient Pattern Silk. The weavers in these villages were inherited from their Khmer Thai and Isaan ancestors. There are of this weaving work, in Muang District i.e. Ban Ta Sawang Moo 1, Ban Kawao Sinrin Moo 2, Tambon Kawao Sinrin, Ban Na Haew Moo 7, Tambon Sawai, Ban Chan Rom Moo 4, Tambon Ta Ong, Muang District and in Si Khoraphum District is Ban Jarapat Moo 1, Tambon Jarapat. Silk produced from these places are uniquely different in looks and feels. Where to Buy Choose from souvenir centers in Surin or from above villages. Additionally you can also buy the products from the following villages
Silk weaving Villages
• Ban Ta Sawang moo 1 , Ta
Sawang, Muang District, Surin Province. The outstanding is woven with 1,426 Takor Silk and recomened as Thai Silk Village for tourism of Surin • Ban Sawai moo 1, 3, 5 , Sawai, Muang District, Surin Province. The outstanding is Thai Mudmee Silk Brocade • Ban Naheaw moo 7 , Sawai, Muang District, Surin Province. The outstanding is Hol Silk • Ban Natang moo 8, 9, Khawao Sinrin, Khawao Sinrin District, Surin Province. The outstanding is natural color Mudmee Hol Silk • Ban Napho moo 11, Khawao Sinrin, Khawao Sinrin District, Surin Province. The outstanding is plain natural color silk • Ban Phokong moo3, cheopleng, Prasart District, Surin Province. The outstanding is Mudmee Hol Silk • Ban Tato moo 16, Promthep, Tatoom District, Surin Province. The outstanding is Thai Mudmeekhan Silk and Thai Mudmeekho Silk • Ban Doona moo 1, and Bansaingam moo 14, Nanongphai, Chompol District, Surin Province. The outstanding is Yokdok Silk • Ban Khawao Sirin moo 2, Khawao Sirin District, Surin Province.The outstanding is Yokdok Silk • Ban Prasart moo 6, Taong, Muang District, Surin Province. The outstanding is Ratchawat Silk
ของดีเมืองสุรินทร์ Notable Surin Products
119
เส้นทางขับรถไม่เสียเที่ยว จ า ก ศ า ล า ก ล า ง จั ง ห วั ด สุรน ิ ทร์
• ศาลหลักเมือง มาทางทิศ ตะวันตก 500 เมตร • วัดบูรพาราม ถนนกรุงศรี ใน ต.ในเมือง ใกล้กบั ศาลา กลางจังหวัดสุรนิ ทร์ • หมูบ่ า้ นทอผ้าไหมยกทอง บ้านท่าสว่าง อยู่ห่างจากตัว เมืองสุรินทร์ 8 กิโลเมตร ข้ามทางรถไฟตรงบริเวณห้าง สุรนิ ทร์พลาซ่า พอถึงสีแ่ ยกจะ มีปา้ ยบอกเลีย้ วซ้าย เข้าถนน สาย(เกาะลอย – เมืองลิง) ขับตรงเข้ามายัง หมูท่ ่ี 1บ้าน ท่าสว่าง ซอยเรือนไทย ถนน สุรนิ ทร์ – เมืองลึง ต.ท่าสว่าง อ.เมือง จ.สุรนิ ทร์
1 ถนนสุรน ิ ทร์ – ศีขรภูมิ • หมูบ่ า้ นจักสานบุทม ตัง้ อยู่ หมูท่ ่ี 4 ต.เมืองที อ.เมือง จ.สุ ริ น ทร์ การเดิ น ทางใช้ ทางหลวงหมายเลข 226 ห่าง จากตัวเมือง ไปทาง อ.ศีขรภูมิ ประมาณ 12 กิโลเมตร • ปราสาทเมืองที จากตัว เมืองสุรนิ ทร์ ไปตามทางหลวง หายเลข 226 ถนนสาย สุรินทร์ – ศีขรภูมิ เมื่อถึง ช่วงบริเวณหลักกิโลเมตร ที่ 15- 16 หมูบ่ า้ นเมืองที บริเวณ ตรงข้ามทีท่ ำ�การ อบต.เมือง ที ให้เลี้ยวซ้ายตรงไป 300 เมตร จะเห็นปราสาทเมืองที ตัง้ อยูท่ างด้านซ้ายมือ ซึง่ อยู่ ในบริเวณเดียวกันกับวัดจอม สุทธาวาส
120
• ปราสาทบ้านช่างปี่ อยูห่ า่ ง จากอำ�เภอศีขรภูมิ มาทางทิศ ตะวันตกเฉียงใต้ ประมาณ 12 กม. อยูห่ มูท่ ่ี 1 บ้านช่างปี่ ต.ช่างปี่ อ.ศีขรภูมิ จ.สุรนิ ทร์ • ปราสาทศี ข รภู มิ จาก ตัวเมืองสุรินทร์ ใช้เส้นทาง สาย 226 ถนนสายสุรนิ ทร์ - ศี ข รภู มิ ร ะยะทาง 32 กิ โ ลเมตร เมื่อ ถึ ง อำ�เภอ ศีขรภูมิ ให้เลี้ยวซ้ายที่ถนน เทศบาล 5 ตรงไปอีก 500 เมตร จะเป็นทีต่ ง้ั ของปราสาท ศรี ข รภู มิ ซึ่ ง อยู่ ห่ า งจาก ที่ ว่ า การอำ�เภอไปทางทิ ศ ตะวันออกประมาณ 800 เมตร 2 ถนนสุรน ิ ทร์ – ช่องจอม (สาย 224) • ตลาดการค้าช่องจอม ใช้ เส้ น ทางสุ ริ น ทร์ - ช่ อ งจอม ห่างจากตัวเมืองสุรินทร์ 69 กิโ ลเมตร และห่ า งจากตั ว อำ�เภอกาบเชิง 13 กิโลเมตร • ปราสาทบ้านพลวง จากตัว เมืองสุรนิ ทร์ไปตามทางหลวง หมายเลข 214 ถนนสาย สุรินทร์ – ปราสาท ผ่าน ตั ว อำ�เภอปราสาท และ สี่ แ ยกปราสาทไปเล็ ก น้ อ ย เมือ่ ถึงหมูบ่ า้ นพลวง ช่วงหลัก กิโลเมตรที่ 32 ให้เลีย้ วซ้าย เข้าไปอีกประมาณ 600 เมตร จะพบปราสาทบ้านพลวงตั้ง อยูท่ างด้านขวามือ 3 ถนนสุรน ิ ทร์ – สังขะ • วนอุทยานป่าสน หนอง คู อยูห่ า่ งจากจังหวัดสุรนิ ทร์
เส้นทางขับรถไม่เสียเที่ยว Recommended Car Route
ประมาณ 35 กิโลเมตร ตาม เส้ น ทางถนนสายสุ ริ น ทร์ สังขะ (ทางหลวงหมายเลข 2077) ตรงไปกิ โ ลเมตรที่ 36 – 37 หรือใช้เส้นทางสาย โชคชัย – เดชอุดม มาทาง อำ�เภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ ผ่านอำ�เภอสังขะไปสุรินทร์ ห่างจากอำ�เภอสังขะประมาณ 7 กิโลเมตร ก็จะถึงวนอุทยาน ป่าสนหนองคู • ปราสาทยายเหงา อยูห่ า่ ง จากอำ�เภอสังขะ 4 กม. อยู่ ริ ม ถนนสายโชคชั ย – เดชอุดม ตั้งอยู่บ้านสังขะ ต.สังขะ อ.สังขะ จ.สุรนิ ทร์ • ปราสาทตะเปี ย งเตี ย ง จากเมืองสุรนิ ทร์ ใช้ทางหลวง หมายเลข 2077 สุรนิ ทร์ – สังขะ ประมาณ กม.33 – 34 แยกเลีย้ วเข้าถนนลูกรัง อีก 7 กม. ตำ�บลโชคเหนือ อำ�เภอ ลำ�ดวน จังหวัดสุรนิ ทร์ • ปราสาทภูมิโปน จากตัว เมื อ งสุ ริ น ทร์ ไปตามทาง ถนนสาย สุรนิ ทร์ – ลำ�ดวน – สังขะ เป็นระยะทาง 49 กิโลเมตร เมือ่ ถึงอำ�เภอสังขะ ให้ตรงไปตามทาง สร. 2124 ทางไปอำ�เภอบัวเชด อีก 8.5 กิโลเมตร ทางซ้ายมือจะเป็นที่ ตัง้ ของปราสาทภูมโิ ปน 4 ถนนสายสุ ริ น ทร์ – ปราสาท (214) • ทิศตะวันตก ห่างจากศาลา กลางสุ ริน ทร์ 500 เมตร อนุ ส าวรี ย์ พ ระยาสุ ริ น ทร์
• ห้ ว ยเสนง อยู่ ห่ า งจาก ตั ว เมื อ งสุ ริน ทร์ ประมาณ 5 กิโลเมตร มาถนนสาย สุรนิ ทร์ – ปราสาท ทางหลวง หมายเลข 214 พอเจอ หลักกม.ที่ 5-6 แยกซ้ายมือ เข้าถนนริมคลองชลประทาน ประมาณ 4 กิโลเมตร • วนอุทยานพนมสวาย ห่าง จากอำ�เภอเมืองสุรินทร์ 22 กม.และเลี้ยวเข้ามาอีก 14 กม. มีทางแยกขวาไปอีก 6 กม. อยูใ่ น ต.นาบัว อ.เมือง จ.สุรนิ ทร์ • พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ สุรนิ ทร์ ตัง้ อยูท่ างทิศใต้ กม.ที่ 4 มาตามถนนสาย 214 ท่าน สามารถขึน้ รถสองแถวสีชมพู ไปยังพิพิธภัณฑฯ ในราคา 10 บาท หรื อ ใช้ ร ถตุ๊ก ตุ๊ก (สามล้อ) • ปราสาทบ้ า นไพล ห่ า ง จากตัวเมืองสุรนิ ทร์ประมาณ 22กิโลเมตร มีทางแยกขวา ไปตามถนนลาดยางอีก 3กม. ตั้งอยู่ท่บี ้านปราสาท ต.เชื้อ เพลิง อ.ปราสาท จ.สุรนิ ทร์ • ปราสาทตาเมื อ น จาก จังหวัดสุรินทร์ไปทางอำ�เภอ ปราสาทตามทางหลวง หมายเลข 214 จนมาถึ ง ทางแยกตั ด กั บ ทางหลวง หมายเลข 24 ให้เลีย้ วขวาไป ตามทางหลวงหมายเลข 24 จนถึงสามแยกบริเวณนิคม ปราสาท ให้เลี้ยวซ้าย ไป ตามป้ายบอกทางไปอำ�เภอ พนมดงรั ก ตามทางหลวง หมายเลข 2397 จนมาถึง
แยกบริเวณ อบต. แนงมุด ให้เลีย้ วขวา ไปตามทางหลวง หมายเลข 224 จนพบป้าย บอกทางไปกลุ่มปราสาทตา เมือน ให้เลยป้ายไปอีกเล็ก น้อยจนถึงแยกบ้านตาเมียง จะพบทางทีม่ ปี า้ ยบอกไป ฉก. ทหารพราน 216 เลี้ยวไป ตามถนนเส้นนี(้ 2407)ตรงมา เรือ่ ยๆ จนพบห้าแยกเลีย้ วขวา ไปตามทางหลวงหมายเลข 2407 ผ่านบ้านหนองคันนา ใช้ทางตรงมาเรือ่ ยจนพบทาง แยก จะพบปราสาทตาเมือน ก่ อ น ใกล้ ๆ กั น นั้น มี ห น่ ว ย ตระเวนชายแดนคุม้ ครองนัก ท่องเทีย่ ว ควรติดต่อเจ้าหน้าที่ ก่ อ นเพื่อ ความปลอดภั ย ใน การเทีย่ วชมปราสาท ิ ทร์ – ร้อยเอ็ด 5 ถนนสุรน • หมู่ บ้ า นทำ � เครื่ อ งเงิ น เขวาสิรินทร์ อยู่ทางเหนือ ของตัวเมืองสุรินทร์ ขับรถ ตามทางหลวงหมายเลข 214 สายสุรนิ ทร์ – ร้อยเอ็ด ไป ประมาณ 14 กิโลเมตร แยก ขวามือไปอีก 4 กิโลเมตร จะ พบศูนย์สนิ ค้าโอทอป ตัง้ อยู่ หมูท่ ่ี 3 บ้านโชค ต.เขวาสิริ นทร์ อ.เขวาสิรนิ ทร์ จ.สุรนิ ทร์ • ศูนย์คชศึกษา อยู่ ห่างจาก จังหวัดสุรินทร์ไปทางเหนือ ตามทางหลวงหมายเลข 214 (สุรินทร์-ร้อยเอ็ด) ก่อนถึง อำ�เภอท่ า ตู ม มี ท างแยก ซ้ายบริเวณหลักกิโลเมตรที่ 36 ไปตามทางราดยางอีก ประมาณ 22 กิโลเมตร
• ปราสาทตาเหมือนโต๊จ ใช้ ทางหลวงหมายเลข 214 อยู่ ทิศใต้ ห่างจากบ้านตาเมียง มาประมาณ 12 กม. ต.ปัก ได กิง่ อ.พนมดงรัก จ.สุรนิ ทร์ • ปราสาทตาเหมือนธม อยู่ ถั ด จากปราสาทตาเหมื อ น โต๊ด ไปทางทิศใต้ ประมาณ 200 กม. Ta Muen Tom Khmer Ruins next to south about 200 km Ta Muen Toj Khmer Ruins 6 ถนนสุรน ิ ทร์ – จอมพระ • ปราสาทจอมพระ จากตัว เมืองสุรนิ ทร์ไปตามทางหลวง หมายเลข 214 ถนนสาย สุรนิ ทร์ จอมพระ เป็นระยะ ทาง 26 กิโลเมตร เมื่อถึง ตัวอำ�เภอจอมพระ ให้เลี้ยว ขวาตรงไปอีกประมาณ 500 เมตร จะผ่านสระน้ำ�ใหญ่ใกล้ กันเป็นที่ต้ังของวัดปราสาท จอมพระและปราสาท จอมพระอยูใ่ นบริเวณเดียวกัน กับวัด • หมู่บ้า นทอผ้ า ไหมบ้ า น จันรม ใช้ถนนสายสุรนิ ทร์ – จอมพระ พอถึงกม.ที่ 14 -15 แล้วเลี้ยวแยกขวาเข้าไปอีก ประมาณ 4 กม.
เส้นทางขับรถไม่เสียเที่ยว Recommended Car Route
121
Recommended Car Route From Surin Town Hall.
• City Pillar is 500 feet west. • Wat Buraparam Temple in the downtown district in Surin province near the town hall. • Golden Thread Silk Village Ban Tha Sawang is 8 km from Surin City. Cross the rial road in front of Surin Plaza, go on to the intersection, follow the sign and turn left to Koh Loi – Muang Ling route. Go straight to Moo 1, Ban Tha Sawang, Soi Ruen Thai, Surin – Muang Ling Road. 1 Surin Road - Sikhoraphum. • BU Thom Wicker Moo 4, Tambon Muang Tee, Muang District. Take route 226 from the city for 12 km on the way to Si Koraphum District • Muang Tee Khmer Ruins From Surin City, take route 226 Surin – Si Khoraphum to km 15-16 at Muang Tee Village, opposite to Tambon Muang Tee office, turn left 300 m and Muang Tee Khmer Ruins will be to the left nest to
122
Wat Jom Suthawas. • Ban Chang Pi Khmer Ruins. From Sikhoraphum City. To about 12 km southwest Moo 1 Ban Chang Pi . Tumbon Chang Pi Aum Sikhoraphum Surin. • Si Khoraphum Khmer Ruins. From Surin City, take route 226 (Surin - Si Khoraphum) for 32 km and turn left at Tesaban 5 road in Si Khoraphum District for 500m. Si Khoraphum Khmer Ruins is there, 800 m east of the District office. 2 Surin – Chong Jom • Chong Jom Market Use route Surin – Chong Jom 69 km from Surin City (13km from Kab Cherng District) • Ban Pluang Khmer Ruins From Surin City, take route 214 Surin – Prasat passing Prasat District and Prasat Intersection, until Pluang Village at Km 32 then turn left for 600 m, there is Ban Pluang Khmer Ruins to the right. 3 Surin - Sangkha
• Nong Khu Pine Tree Forest Park. The place
เส้นทางขับรถไม่เสียเที่ยว Recommended Car Route
is 35 km from Surin City on Surin – Sangkha Route 2077 about km 36-37. Or take route Chokchai – Dej Udom on the way to Sangkha and passing Sankha for 7 km to Nong Khu Pine Tree Forest Park. • Yai Ngao Khmer Ruins. Sangkha 4 km away from the edge of the road Chokchai – Det Udom located BanSangkha Thumbon Sangkha Amphoe Sangkha Surin. • Ta Piang Tiang Khmer Ruins. From Surin City,take route Surin - Sangkha number 2077 Highway for 33-34 km turns into a road for 7 km. to Thumbon Choke nue Amphoe Lum Duan Surin • Phum Pon Khmer Ruins. From Surin City, take route Surin - Lum Duan – Sangkha for 49 km then at Sangkha continue on route 2124 to the way to Bua Ched District for 8.5 km. Phum Pon Khmer Ruins is on the right. 4 Surin – Prasat Road • West a distance of 500 meters from Surin City Hall, The Monument of Phraya
Surin Pakdi Si Narong Chang Wang (Pum) • Huay Saneng Reservoir 5 km from Surin City on Surin – Prasat route 214. Turn left at km 5-6 onto Rim Klong Cholapratan Road for 4 km. • t Park is located at Tambon Na Bau, AmphoeMuang District, 22 km from the City Hall. Use Surin – Prasat route (Highway 214) for 14 km then turn right for 6 km Na Bua, Muang Surin. • Surin National Museum The museum is located about 4 km south of the city along road 214. The pink songthaew from city will take you to the museum for 10 baht, or use a tuk-tuk/sam-lor. • Ban Prai Khmer Ruins. From Surin City 22 kilometers and turn right, follow the paved road for 3 kilometres is located at Ban Prasat Prasat Tambon chueprueng Surin • Ta Muen Khmer Ruins. From Surin City, take route 214 Surin – Prasat to the intersection with route 24, turn right onto route 24 until 3-way junction near
Prasat estate then turn left and follow the sign to Phanom Dongrak District on route 2397. Until reaching Tambol office of Nang Mud, turn right onto route 224. There will be a signage to Ta Muen Group of Historic Sites, passing the signage to the Ta Meang Intersection you will see another sign to Ranger task force 216. Follow this sign onto route 2407 until the 5-way intersection then turn right to route 2407 on to Ban Nong Kan Na and keep going straight. At the intersection you will see Ta Muen Khmer Ruins. Nearby you will also see the Border Patrol Police office, please contact them for your safe visit. 5 Surin – Roi Et • Kawao Sirin Silver Village is north of Surin city. Take route 214 Surin – Roi Et for 14 km and turn right for 4 km. The OTOP center is at Moo 3, Ban Chok, Tambon Kawao Sirin. • Elephant Study Center Located north of Surin City. Take route 214 (Surin – Roi Et) before reaching Tha
Tum District, turn left at km 36 onto the paved road for 22 km. • Ta Muen Toj Khmer Ruins Take Highway 214 south from Ban Ta Miang is about 12 km. Tombon Pakdai Amphoe Phanom Dong Rak Surin. • Ta Muen Tom Khmer Ruins next to south about 200 km Ta Muen Toj Khmer Ruins 6 Surin Road - Chom Phra • Chom Phra Khmer Ruins From Surin city, take route 214 Surin – Chom Phra for 26 km. At Chom Phra turn right for 500 m to a big pond. Nearby is Wat Prasat Chom Phra and Chom Phra Khmer Ruins is in the same vicinity. • Ban Chan Rom village of silk . Road to Surin Chompra at km 14 -15 then turn right into the road about 4 km
เส้นทางขับรถไม่เสียเที่ยว Recommended Car Route
123
การเดินทาง
Transportation Surin is approximately 457 kilometers away from Bangkok. There are many ways for tourist to travel to Surin such as by private car, bus, or train. By private car
สุรน ิ ทร์อยูห ่ า่ งจากกรุงเทพฯ ประมาณ 457 กิโลเมตร นักท่องเทีย ่ วสามารถเดินทางสูจ ่ งั หวัด สุรน ิ ทร์ได้หลายวิธี ทัง้ ทางรถยนต์สว ่ นตัว รถประจำ�ทาง และรถไฟ โดยรถยนต์
จากกรุงเทพฯ สามารถไปได้ 2 เส้นทางคือ • ใช้ทางหลวงหมายเลข 1 (พหลโยธิน) จนถึง จังหวัดสระบุรี แยกขวาเข้าสู่ทางหลวงหมายเลข 2 (มิตรภาพ) ไปจนถึงจังหวัดนครราชสีมา จาก นั้นแยกใช้ทางหลวงหมายเลข 226 ผ่านจังหวัด บุรรี มั ย์ ถึงจังหวัดสุรนิ ทร์ รวมระยะทางประมาณ 434 กิโลเมตร • ใช้ทางหลวงหมายเลข 1 (พหลโยธิน) จนถึง จังหวัดสระบุรี แยกขวาเข้าสูท่ างหลวงหมายเลข 2 (มิตรภาพ) ไปจนถึงอำ�เภอสีคว้ิ แยกเข้าทางหลวง หมายเลข 24 (โชคชัย-เดชอุดม) ผ่านอำ�เภอโชคชัย อำ�เภอนางรอง อำ�เภอประโคนชัย แล้วเลี้ยวซ้าย เข้าสูเ่ ส้นทางหมายเลข 214 ทีอ่ ำ�เภอปราสาท ขับ ต่อไปจนถึงจังหวัดสุรนิ ทร์ รวมระยะทางประมาณ 450 กิโลเมตร โดยรถประจำ�ทาง
มีรถโดยสารปรับอากาศของบริษัท ขนส่ง จำ�กัด และของเอกชน สายกรุงเทพฯ-สุรนิ ทร์ ออกจากสถานีขนส่ง สายเหนือ (หมอชิต 2) ถนน กำ�แพงเพชร 2 ทุกวัน วันละหลายเทีย่ ว สอบถาม รายละเอียดได้ท่บี ริษัท ขนส่ง จำ�กัด โทร.1490 www.transport.co.th โดยรถไฟ
การรถไฟแห่งประเทศไทยมีบริการ รถไฟออกจากสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำ�โพง) ไป ยังจังหวัดสุรนิ ทร์ทกุ วัน สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมได้ท่ี โทร. 1690 และสถานีรถไฟสุรนิ ทร์ โทร. 0-4451-1295 www.railway.co.th
124
การเดินทาง Transportation
การเดินทางภายในสุรน ิ ทร์
ในตัวจังหวัดสุรินทร์มีรถ ชนิดต่างๆ ให้บริการ นักท่องเทีย่ วสามารถ เลือกใช้บริการยานพาหนะต่างๆ ได้หลาย รูปแบบ ตามความเหมาะสม รถสองแถวมี วิง่ บริการจากสถานีขนส่งไปยังทีต่ า่ งๆ ใน ตัวเมือง รถสามล้อเครือ่ งและมอเตอร์ไซค์ รับจ้าง จอดอยู่ตามจุดต่างๆ ในจังหวัด เช่น หน้าตลาดเทศบาล หน้าสถานีขนส่ง ค่าบริการมีทง้ั แบบตกลงกันตามแต่ระยะ ทางและแบบเหมาจ่าย ระยะทางจากอำ�เภอเมืองไปอำ�เภอต่างๆ อำ�เภอเขวาสินรินทร์ 22 กิโลเมตร อำ�เภอลำ�ดวน 25 กิโลเมตร อำ�เภอจอมพระ 26 กิโลเมตร อำ�เภอปราสาท 28 กิโลเมตร อำ�เภอศีขรภูมิ 34 กิโลเมตร อำ�เภอสังขะ 49 กิโลเมตร อำ�เภอสนม 50 กิโลเมตร อำ�เภอท่าตูม 52 กิโลเมตร อำ�เภอกาบเชิง 52 กิโลเมตร อำ�เภอสำ�โรงทาบ 54 กิโลเมตร กิง่ อำ�เภอศรีณรงค์ 65 กิโลเมตร อำ�เภอรัตนบุรี 70 กิโลเมตร อำ�เภอบัวเชด 70 กิโลเมตร อำ�เภอพนมดงรัก 76 กิโลเมตร อำ�เภอโนนนารายณ์ 80 กิโลเมตร อำ�เภอชุมพลบุรี 94 กิโลเมตร
There are 2 ways from Bangkok which are. • Use highway No.1 (Phaholyothin) until reaching Saraburi, then take a right turn to highway No.2 (Mittraphap) until reach Nakon Ratchasima, then go in highway No. 226, run through Buriram, and Surin province. The total distance is about 434 kilometers. • Use highway No.1 (Phaholyothin) until reaching Saraburi, then take a right turn to highway No.2 (Mittraphap) until reach Sikiw district. After that, go in highway No.24 (Chockchai-Detudom) run through Chockchai, Nangrong, and Prakonchai district, then turn left to highway No.214 at Prasart district, keep driving to Surin. The total distance is about 450 kilometers. By bus
There are daily transportation Co, Ltd., and private air-conditioned buses from Bangkok to Surin leaving from North line bus station (Mochit 2) on Kampangpet 2 Rd, lots of buses each day. For more information, please call Transportation Co, Ltd. Hotline 1490, or visit www.transport. co.th By train
There are daily transportation Co, Ltd., and private air-conditioned buses from Bangkok to Surin leaving from North line bus station (Mochit 2) on Kampangpet 2 Rd, lots of buses each day. For more information, please call Transportation Co,
Ltd. Hotline 1490, or visit www.railway.co.th There are many types of transportation service in Surin you can choose from for your convenience. Minibus (Song Taew) is available from the bus terminal to various places. In the city, you will find Sam Lor or Tuk Tuk and taxi motorcycle around the area such as Tesaban Marketplace and bus terminal. The price can be negotiated according to where to go or for a charter trip. Distance from district to district and city. Khwao Sinrin District 22 Kilometer Lum Duan District 25 Kilometer Jomphra District 26 Kilometer Prasat District 28 Kilometer Si Khoraphum District 34 Kilometer Sang Kha District 49 Kilometer Sanom District 50 Kilometer Tha Tum District 52 Kilometer Kab Cherng District 52 Kilometer Sam Rong Tab District 54 Kilometer Si Narong District 65 Kilometer Ratana Buri District 70 Kilometer Bua Ched District 70 Kilometer Phanom Dong Rak District 76 Kilometer None Narai District 80 Kilometer Chumpol Buri District 94 Kilometer
การเดินทาง Transportation
125
หมายเลขโทรศัพท์สำ�หรับนักท่องเที่ยว Important Telephone Numbers หมายเลขโทรศัพท์ส�ำ คัญ (รหัสทางไกล 044)
• ตำ�รวจท่องเทีย่ ว 1155 • ตำ�รวจทางหลวงสุรนิ ทร์ 0-4414-3126 • ททท.สำ�นักงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 1 จ.นครราชสีมา โทร. 0-4421-3666, 0-4421-3030 • โรงพยาบาลจังหวัดสุรนิ ทร์ โทร. 0-44518427 • รพ.ประสาท โทร. 0-4455-1295 • รพ.สังขะ โทร. 0-4457-1478 • รพ.ลำ�ดวน โทร. 0-4454-1090 • รพ.สำ�โรงทาบ โทร. 0-4456-9239 • รพ.ท่าตูม โทร. 0-4459-1126 • รพ.รัตนบุรี โทร. 0-4459-9251 • รพ.สนม โทร. 0-4458-9025 • รพ.ศีขรภูมิ โทร. 0-4456-1160 • รพ.กาบเชิง โทร. 0-4455-9002 • รพ.บัวเชด โทร. 0-4457-9072, 0-4457-9076 • รพ.ชุมพลบุรี โทร. 0-4459-6040 • ศาลากลางจังหวัดสุรนิ ทร์ โทร. 0-4451-1004 • สำ�นักงานจังหวัดสุรนิ ทร์ โทร. 0-4451-2039 • ตำ�รวจภูธรจังหวัดสุรนิ ทร์ โทร. 0-4451-1386 • สถานีรถไฟจังหวัดสุรนิ ทร์ โทร. 0-4451-1295 • สถานีขนส่งจังหวัดสุรนิ ทร์ โทร. 0-4451-1756
126
หมายเลขโทรศัพท์สำ�หรับนักท่องเที่ยว Important Telephone Numbers
Important No. (area code 044)
• Tourist Police : 1155 • Surin Highway Police : 0-4414-3126 • Tourism Authority of Thailand, The North Eastern Office. Area 1, Nakon Ratchasima: 0-4421-3666, 0-4421-3030 • Surin Hospital: 0-4451-8427 • Prasart Hospital: 0-4455-1295 • Sangkha Hospital: 0-4457-1478 • Lamduan Hospital: 0-4454-1090 • Samrongtab Hospital: 0-4456-9239 • Tatoom Hospital: 0-4459-1126 • Rayttanaburi Hospital: 0-4459-9251 • Sanom hospital: 0-4458-9025 • Srikorrapoom Hospital: 0-4456-1160 • Surin City Hall: 0-4451-1004 • Surin Provincial Office: 0-4451-2039 • Provincial Police Station: 0-4451-1386 • Surin Train Station: 0-4451-1295 • Surin Bus Station: 0-4451-1756
ผู้จัดทำ� Credits จัดทำ�โดย Published by
จังหวัดสุรนิ ทร์ Surin Province
บรรณาธิการ โชติกา วีรนะ Editor Chotika Weerana ผูเ้ รียบเรียง ทิพยวรรณ แสวงศรี Rewriter Thipwan Swaengsri สโรบล วิบลู ยเสข Sarobol Vibulyasek อัศม์กรณ์ จันทร์เสวก Atsakorn Chansawek ผูแ้ ปลภาษา ปรีดาวรรณ บูรณะรุง่ เรืองกิจ Interpreter Preedawan Buranarungruengkij ช่างภาพ ปฎล ทองเจริญ Photographer Padol Thongjaroen ศิลปกรรม กัมปนาท ศิลาวรรณ/ kampanatz.com Art Director Kampanat Silawan/ kampanatz.com พิสจู น์อกั ษร นรงค์ พึง่ บุญพา Proofreader Narong Puengboonpa พิมพ์ท่ี บริษทั กรังด์ปรีซ์ อินเตอร์เนชัน่ แนล จำ�กัด เลขที่ 4/299 ซ.ลาดปลาเค้า แขวงอนุสาวรีย์ เขต บางเขน กรุงเทพ ฯ Printed GRAND PRIX INTERNATIONAL CO.LTD 4/299 Moo 5, Soi Ladplakao 66 Ladplakao Road, Bangkhen, Bangkok 10220 Thailand เลขมาตรฐานสากลประจำ�หนังสือ 978-676-90948-4-5 พิมพ์ครัง้ แรก 8,000 เล่ม ตุลาคม 2555 First printed October 2012, 8,000 copies สงวนลิขสิทธิต์ ามกฎหมาย