Surin Civilization

Page 1




สารจากผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์

ากย้อนกาลเวลาไปยุคก่อนประวัติศาสตร์ จากหลักฐานโบราณคดีที่ขุดค้นพบและที่ปรากฏในพื้นที่ของจังหวัด สุรนิ ทร์ยงั พบแหล่งอารยธรรมเก่าแก่ของชุมชนโบราณยุคโลหะตอนปลายเป็นจำ�นวนมากอันแสดงถึงความเจริญ รุ่งเรืองทั้งศิลปกรรม สถาปัตยกรรม วัฒนธรรม ศาสนา เศรษฐกิจ และการปกครอง มีคูเมืองสามชั้น และปราสาท หินที่เก่าแก่ที่สุดและมากที่สุดในประเทศไทย ที่สร้างมาในช่วงพุทธศตวรรษที่ 12 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ “อาณาจักร เจนละ” แห่งที่ราบลุ่มตอนกลางของแม่นํ้ามูลโดยเป็นศูนย์กลางการติดต่อค้าขายและการประกอบศาสนกิจระหว่าง ดินแดนภาคตะวันตกและที่ลุ่มตํ่าด้านทิศใต้และทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเทือกเขาพนมดงรัก จนกระทั่งสมัยอยุธยาตอนปลายได้มีการอพยพของชนหลายเผ่าที่แตกต่างกันเข้ามาตั้งชุมชนขึ้นใหม่ โดยมีชนเผ่า “ส่วย กูย กวย” เป็นกลุม่ แรก และต่อมาจึงมีชนกลุม่ อืน่ เช่น เขมร ลาว ไทย และจีน ตามมาในยุคหลัง จึงทำ�ให้จงั หวัด สุรินทร์มีทั้งศิลปวัฒนธรรมและประเพณีที่หลากหลายและอารยธรรมที่อาจผสมผสานกันในบางเรื่อง แต่ที่ยังคงรักษา เอกลักษณ์ไว้ได้จนถึงปัจจุบันคือ “การเลี้ยงช้าง” ที่ชนชาวส่วยมีความชำ�นาญตั้งแต่การจับช้างป่า ในอดีตการเลี้ยงช้าง และการฝึกช้างเพือ่ ใช้งานและการศึกสงคราม ทำ�ให้จงั หวัดสุรนิ ทร์มชี อื่ เสียงโด่งดังไปทัว่ โลก จึงได้สง่ เสริมให้มปี ระเพณี เทศกาลงานช้างจังหวัดสุรินทร์ไปพร้อมๆ กับการส่งเสริมการท่องเที่ยวในงานประเพณีที่สำ�คัญที่นักท่องเที่ยวไม่ควร พลาด เช่น ประเพณีขึ้นเขาพนมสวาย งานบวชนาคช้าง งานมหกรรมแห่เทียนพรรษาและตักบาตรบนหลังช้าง การ ทอผ้าไหมยกทองที่ขึ้นชื่อลือชาว่าเป็นผ้าไหมที่สวยงามเป็นหนึ่งในแดนสยาม และการผลิตเครื่องเงินประคำ�อันเลื่องชื่อ การเดินทางท่องเที่ยวจังหวัดสุรินทร์จึงเสมือนการเดินทางตามรอย “เส้นทางอารยธรรม มรดกลํ้าค่าสุรินทร์” ยุค ก่อนประวัติศาสตร์สมัยโลหะตอนปลายสู่ยุครุ่งเรืองแห่งอาณาจักรเจนละที่เรียกว่า “สุรินทร์ ถิ่นปราสาท” จนถึงยุค ปัจจุบันที่มอบมรดกให้ชาวสุรินทร์ “ถิ่นช้างใหญ่ ผ้าไหมงาม ประคำ�สวย รํ่ารวยปราสาท ผักกาดหวาน ข้าวสารหอม งามพร้อมวัฒนธรรม” ไว้ต้อนรับทุกท่านที่มาเยือนจังหวัดสุรินทร์และเพื่อเป็นการต้อนรับการเปิดประตูสู่อาเซียนในปี พ.ศ.2558 จึงได้จัดพิมพ์หนังสือ “เส้นทางอารยธรรม มรดกลํ้าค่าสุรินทร์” เป็นคู่มือสำ�หรับนักท่องเที่ยวใช้เป็นข้อมูล เพือ่ สร้างความรูค้ วามเข้าใจแหล่งท่องเทีย่ วเชิงศิลปวัฒนธรรมอารยธรรม และแหล่งโบราณคดีของจังหวัดสุรนิ ทร์ตอ่ ไป

4 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์

(นายนิรันดร์ กัลยาณมิตร) ผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์


Message from the Governor of Surin

D

ating back to Prehistoric era, early human settlements of the late Metal Age discovered from archeological excavations in Surin Province revealed a glorious history. Prosperity of arts, architectures, cultures, religions, economies and politics relied in the city surrounding with three-layered moats, a land with the oldest and highest numbers of Prasat or stone castle or Khmer ruins in Thailand which constructed during the 7th century. As a part of “Jen la Kingdom” in the alluvial plains of Mun River, Surin once was the center of trade and religious ritual performances between lands in the west, the south and the southeast of Phanom Dong Rak Mountains. Since the late Ayutthaya period, various ethnic groups had migrated into the area, beginning with “Suay or Kui or Kuay”, following with Khmer, Laos, Thai and Chinese. As a result, Surin Province is the home of diverse cultures and traditions as well as mingling civilizations. However, the proficiency in training and taming wild elephants for domestic and war usege of Kuay people still remained through the days and became the unique symbol of the province. The Surin Elephant Festival is annually venue along with other traditions such as Ascending Phanom Sawai Mountain Festival.Ordination parade on elephant’s back, Buddhist Lent Candle Procession and Alms Giving on Elephant’s back. Surin Province is also renowned for golden brocade silk and silver bead production. Visiting Surin Province is likely a journey to tracking down the glorious paths of civilizations, from Prehistoric era in the late Metal Age to the prosperity of Jenla Kingdom which made Surin known as “Land of Prasats or stone castles. Surin, Land of Elephant, Fine Silk, Beautiful Rosary, Khemer Ruins, Sweet Radish,Fragrant Rice, Splendid Culture”, the provincial motto, is clearly depicted Surin’s present pictures. For welcoming visitors and opening doors to ASEAN in 2015, “Tracking down the Glorious Paths of Surin Civilizations” is published for serving as a tourist guidebook as well as to provide knowledge in terms of historic and archeological significances of the sites in Surin Province.

(Mr. Niran Kalayanamit) Governor of Surin Province

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 5


สารบัญ Table of Contents 4 • สารจากผู้ว่า Message from the Governor of Surin 8 • ยลปราสาทเมืองช้าง Visit Prasat (Khmer Ruins) of Elephant City • สุรินทร์ถิ่นปราสาท 12 Surin, Land of Prasat (Khmer Ruins) • แผนที่สุรินทร์ตอนเหนือ 16 Map of Northern Surin • อำ�เภอจอมพระ/ปราสาทจอมพระ 18 Prasat (Khmer Ruins) Chom Phra 21 • อำ�เภอสนม/ ปราสาทบ้านสนมหรือปราสาทวัดธาตุ Prasat (Khmer Ruins) Ban Sanom or Prasat (Khmer Ruins) Wat That 23 • อำ�เภอท่าตูม/โนนแท่น(โนนคอกม้า) Non Than (Non Khok Ma) 25 • ปราสาทนางบัวตูม Prasat (Khmer Ruins) Nang Bua Tum • อำ�เภอรัตนบุรี/ปรางวัดโพธิ์ศรีธาตุ 28 Prang of Wat Pho Si Tat • ปรางค์วัดบ้านหนองหิน 30 Prang of Wat Ban Nong Hin 32 • อำ�เภอโนนนารายณ์/ปราสาทขุมดิน Prasat (Khmer Ruins) Khum Din • แผนที่สุรินทร์ตอนกลาง 34 Map Surin Central • อำ�เภอเมืองสุรินทร์/ปราสาทบ้านเฉนียง 36 Prasat (Khmer Ruins) Ban Chaniang • ปราสาทพนมสวาย 38 Prasat (Khmer Ruins) Phanom Sawai • ปราสาทอโรงา 41 Prasat (Khmer Ruins) Oranga 6 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


• ปราสาทเมืองที 43 Prasat (Khmer Ruins) Mueang Thi • อำ�เภอเขวาสินรินทร์/ปราสาททอง 46 Prasat (Khmer Ruins) Thong • ปราสาทพระปืด 48 Prasat (Khmer Ruins) Phra Puet • อำ�เภอศีขรภูมิ/ปราสาทศีขรภูมิ 51 Prasat (Khmer Ruins) Sikhoraphum • ปราสาทช่างปี่ 56 Prasat (Khmer Ruins) Chang Pi • ปราสาทอานาร์ 58 Prasat (Khmer Ruins) Ar Na • อำ�เภอสำ�โรงทาบ/ปราสาทหมื่นศรีน้อย 60 Prasat (Khmer Ruins) Mon Sri Noi • ปราสาทตระเปียงเตีย 62 Prasat (Khmer Ruins) Trapeang Tia • ปราสาทตระเบียงบัลลังก์ 64 Prasat (Khmer Ruins) Trapeang Banlang • เจดีย์ลำ�ดวน 66 Ban Lamduan Chedi • แผนที่สุรินทร์ตอนใต้ 68 Map of Sout Surin • อำ�เภอบัวเชด/ปราสาทตามอญ 70 Prasat (Khmer Ruins) Ta Morn • รอยพระพุทธบาทเขาศาลา 72 Kao Sala Buddha's Footprint • ปราสาทภูมิโปน 75 Prasat (Khmer Ruins) Phum Pon • ปราสาทยายเหงา 78 Prasat (Khmer Ruins) Yai Ngao • ปราสาทสังข์ศิลป์ชัยหรือปราสาทบ้านจารย์ 80 Prasat (Khmer Ruins) Sang Silp Chai or Prasat (Khmer Ruins) Ban Jarn

• ปราสาทบ้านปราสาทหรือปราสาทกังเอน 82 Prasat (Khmer Ruins) Ban Prasat or Prasat Kung En • ปราสาทมีชัย 84 Prasat (Khmer Ruins) Me Chai • อำ�เภอกาบเชิง/ปราสาทเบง 86 Prasat (Khmer Ruins) Beng • ปราสาทหมอนเจริญ 88 Prasat (Khmer Ruins) Morn Charoen • ปราสาทเซ็ม 90 Prasat (Khmer Ruins) Sem • อำ�เภอพนมดงรัก/กลุ่มปราสาทตาเมือน 92 Group of Prasat (Khmer Ruins) Ta Muan • ปราสาทตาเมือนโต๊จ 96 Prasat (Khmer Ruins) Ta Muen Tot • ปราสาทตาเมือนธม 99 Prasat (Khmer Ruins) Ta Muen Tom • ปราสาทตาควาย 103 Prasat (Khmer Ruins) Ta Kwai • อำ�เภอปราสาท/ปราสาทบ้านพลวง 106 Prasat (Khmer Ruins) Ban Plaung • ปราสาทบ้านไพล 110 Prasat (Khmer Ruins) Ban Plai • ปราสาททนง 112 Prasat (Khmer Ruins) Thanong • ปราสาทอังกัญโพธิ ์ 114 Prasat (Khmer Ruins) Ang Kan Pho • แผนที่จังหวัดสุรินทร์ 116 Map of Surin • รายละเอียดการจัดทำ� 118 Credits • แหล่งอ้างอิง 119 References

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 7


รู้จักสุรินทร์

จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ตั้ ง อยู่ ท างทิ ศ ใต้ ข องภาคตะวั น ออก เฉียงเหนือ มีเนื้อที่ประมาณ 8,124.056 ตารางกิโลเมตร (ประมาณ 5,077,535 ไร่) ห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ 450 กิโลเมตร ทิศเหนือติดต่อกับจังหวัดร้อยเอ็ดและ จั ง หวั ด มหาสารคาม ทิ ศ ตะวั น ออกติ ด ต่ อ กั บ จั ง หวั ด ศรีสะเกษ ทิศตะวันตกติดต่อกับจังหวัดบุรีรัมย์ ทิศใต้ ติดต่อกับราชอาณาจักรกัมพูชา โดยมีความยาวตลอดแนว ชายแดนประมาณ 90 กิโลเมตร พื้นที่อันเป็นที่ตั้งเมืองสุรินทร์นี้ได้รับการสันนิษฐาน จากนักประวัติศาสตร์ว่า มีชุมชนอาศัยอยู่เมื่อประมาณ 2,000 ปีล่วงมาแล้ว พบหลักฐานการอยู่ของมนุษย์ตั้งแต่ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ยุคโลหะตอนปลาย ซึ่งมีการ ใช้เครื่องมือเหล็กแล้ว ซึ่งยังปรากฏให้เห็นชุมชนโบราณ กว่า 59 แห่ง จากสภาพภูมิศาสตร์ที่มีอาณาเขตต่อเนื่อง กับพื้นที่ที่เคยเป็นอาณาจักรขอมโบราณ ทำ�ให้ชุมชนใน จังหวัดสุรินทร์ได้รับวัฒนธรรมขอมมาโดยตลอดตั้งแต่ใน ช่วงพุทธศตวรรษที่ 12 เป็นต้นมา เมื่อขอมเสื่อมอำ�นาจ ลง ไม่ปรากฏหลักฐานเด่นชัดที่แสดงถึงการอยู่อาศัยของ ชุมชนในสมัยต่อมา จนกระทั่งในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอน ปลาย พ.ศ.2260 จึงปรากฏร่องรอยขึ้นอีกครั้งหนึ่งใน พงศาวดารอีสาน ชาวพื้นเมืองกลุ่มหนึ่งที่เรียกตัวเองว่า ส่วยหรือกูย ซึ่งอาศัยอยู่แถบเมืองอัตปือแสนแป แคว้น จำ�ปาศักดิ์ ซึ่งขณะนั้นเป็นดินแดนของไทย และเป็นผู้ที่ มีความสามารถในการจับช้างป่ามาเลี้ยงไว้ใช้งาน พากัน อพยพข้ามลำ�นํ้าโขงมาสู่ฝั่งขวา โดยได้แยกย้ายกันไปตั้ง ชุมชนที่เมืองลึง (อ.จอมพระ) บ้านโคกลำ�ดวน (อ.ขุขันธ์ 8 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์

จ.ศรีสะเกษ) บ้านอัจจะปะนึง่ (อ.สังขะ) และบ้านกุดปะไท (อ.ศีขรภูมิ) ซึ่งชุมชนชาวกูย (กวย) มีหัวหน้าปกครอง ชื่อ เชียงปุม กระทั่งราวปี พ.ศ.2302 ในสมัยพระที่นั่ง สุริยาสอมรินทร์ แห่งกรุงศรีอยุธยา ได้มีช้างเผือกแตก โรงออกจากกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา เชี ย งปุ ม จึ ง ได้ ร่ ว มกั บ ผู้ นำ � หมูบ่ า้ นอืน่ ๆ ติดตามช้างเผือกส่งคืนกรุงศรีอยุธยาได้ส�ำ เร็จ เชียงปุมจึงได้รับแต่งตั้งเป็นหลวงสุรินทร์ภักดี ต่อมาได้ ย้ายชุมชนจากบ้านเมืองทีมาอยู่ที่คูประทายสมัน (เมือง สุรินทร์) และได้สร้างความดีความชอบต่อมาจนได้เลื่อน บรรดาศั ก ดิ์ เ ป็ น พระยาสุ ริ น ทร์ ภั ก ดี ศ รี ณ รงค์ จ างวาง เจ้าเมืองสุรินทร์คนแรก เมืองสุรนิ ทร์มเี จ้าเมืองปกครองสืบเชือ้ สายกันมารวม 11 คน จนถึงปี พ.ศ.2451 ได้มีการปรับปรุงระบบบริหาร ราชการแผ่นดินเป็นแบบเทศาภิบาลส่วนกลางจึงได้แต่งตัง้ พระกรุงศรีบุรีรักษ์ (สุม สุมานนท์) มาดำ�รงตำ�แหน่งเป็น ข้าหลวงประจำ�จังหวัดหรือผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นคนแรก ส่ ว นผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด คนปั จ จุ บั น คื อ นายนิ รั น ดร์ กัลยาณมิตร ซึ่งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัด คนที่ 52 จังหวัดสุรินทร์แบ่งออกเป็น 17 อำ�เภอ คือ 1. อำ�เภอเมืองสุรินทร์ 2. อำ�เภอชุมพลบุรี 3. อำ�เภอท่าตูม 4. อำ�เภอจอมพระ 5. อำ�เภอปราสาท 6. อำ�เภอกาบเชิง 7. อำ�เภอรัตนบุรี


8. อำ�เภอสนม 9. อำ�เภอศีขรภูมิ 10. อำ�เภอสังขะ 11. อำ�เภอลำ�ดวน 12. อำ�เภอสำ�โรงทาบ 13. อำ�เภอบัวเชด 14. อำ�เภอพนมดงรัก 15. อำ�เภอศรีณรงค์ 16. อำ�เภอเขวาสินรินทร์ 17. อำ�เภอโนนนารายณ์ สัญลักษณ์ประจำ�จังหวัด ตราประจำ�จังหวัด คือ พระอินทร์ทรงประทับช้าง • พระอินทร์ หมายถึงเทพเจ้าผู้ทรงเก่งกาจสามารถ • ช้าง หมายถึงเมืองที่มีช้างอยู่มากมาย • ปราสาทหิน คือปราสาทศีขรภูมิ ดอกไม้ประจำ�จังหวัด ดอกกันเกรา

ความหมายของคำ�ขวัญ • ถิ่นช้างใหญ่ หมายถึง สุรินทร์มีศูนย์คชศึกษามีช้าง อยู่มาก เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด • ผ้าไหมงาม หมายถึง สุรินทร์มีการทอผ้าไหมที่ขึ้น ชื่อในเรื่องการทอผ้าไหมปักทอง ที่สวยงามมากติด 1 ใน 10 เมืองทอผ้าไหมในประเทศไทยที่บ้านท่าสว่าง อำ�เภอ เมืองสุรินทร์ • ประคำ�สวย หมายถึง สุรนิ ทร์มกี ารประคำ�เงินขึน้ ชือ่ ที่อำ�เภอเขวาสินรินทร์ • รํา่ รวยปราสาท หมายถึง สุรนิ ทร์ มีปราสาทกระจาย อยู่มากที่สุดในประเทศไทย และมีปราสาทที่อายุเก่าแก่ ที่สุดในประเทศไทยคือปราสาทภูมิโปน • ผักกาดหวาน หมายถึง สุรนิ ทร์มกี ารทำ�ผักกาดดอง ที่หวานอร่อยขึ้นชื่อ • ข้าวสารหอม หมายถึง สุรินทร์มีข้าวสารที่ปลูกที่ ทุ่งกุลาร้องไห้ และอร่อยหอมที่สุดในโลก • งามพร้อมวัฒนธรรม หมายถึง ดูจากการเล่น สงกรานต์ของชาวสุรินทร์และงานประเพณีมากมาย

คำ�ขวัญประจำ�จังหวัด สุรินทร์ถิ่นช้างใหญ่ ผ้าไหมงาม ประคำ�สวย รํ่ารวย ปราสาท ผักกาดหวาน ข้าวสารหอม งามพร้อมวัฒนธรรม

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 9


Visit Prasat of Elephant City Introduction to Surin Province

Surin Province is located in the southern part of northeastern Thailand, with a total area of 8,104.056 square kilometers (approximately 5,077,335 rai). The distance from Bangkok is about 450 kilometers. Surin Province borders Roi Et and Mahasarakham Provinces on the north, Sisaket Province on the east, Buriram Province on the west, and Cambodia on the south. In this area, prehistoric human settlements in late Metal Age, date about 2,000 years old were discovered, along with more than 59 ancient communities. Due to its topography which bordered the Khmer empire, communities in Surin Province had been influenced by Khmer kingdom since 7th century. After the decline of Khmer empire, no obvious evidence suggested the later community in the area. Until 1717 during late Ayutthaya period, the chronicles mentioned the Kuay people with proficient in raising wild elephants whom migrated crossing Mekong River to the lands of present Surin and Sisaket Provinces. Chiang Pum and other village leaders helped to capture the elephant and returned it to the court. As a result, he was appointed as Luang Surin Pakdi. Afterward, he transferred the settlements to Khu Pratai Saman (Surin) and gained rewards from the king, in which, promoting him to Praya Surin Pakdi Sri Narong Changwang- the first ruler of Surin. 10 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์

Surin had been ruled by eleven leaders, in which, inherited from the first ruler respectively. After the changing of administrative powers to municipality system in 1908, Phra Krungsiburirak (Sum Sumanon) was appointed by Bangkok as the first governor of Surin Province. The present governor, which is the 52nd, is Mr. Niran Kalayanamit. Surin Province can be divided into 17 districts as followings; 1. Mueang Surin District 2. Chumphon Buri District 3. Tha Thum District 4. Chom Phra District 5. Prasat District 6. Kap Choeng District 7. Rattanaburi District 8. Sanom District 9. Sikhoraphum District 10. Sangkha District 11. Lamduan District 12. Samrong Thap District 13. Buachet District 14. Phanom Dong Rak District 15. Si Narong District 16. Khwao Sinrin District 17. Non Narai District


Provincial symbols of Surin Province The provincial seal is an image of Indra atop his celestial white elephant. • Indra referring to a powerful Deva • Elephant referring to elephants commonly found in Surin Province • Prasat referring to Prasat Sikhoraphum The provincial flower Cochlospermum regium The provincial tree Cochlospermum regium The provincial motto Surin the land of elephants, splendid silk, beautiful silver beads, stone castles, sweet cabbage, aromatic rice, beautiful culture

Meaning of the provincial motto • Land of elephants referring to abundance of elephants in Surin Province • Splendid silk referring to renowned silk weaving at Ban Tha Sawang, Mueang Surin District • Beautiful silver beads referring to famous silver beads production at Khwao Sinarin District • Stone castles referring to the most highest numbers of Prasat in Thailand and the most oldest which is Prasat Phum Pon • Sweet cabbage referring to well-known pickled cabbages • Aromatic rice referring to rice cultivated at Thung Kula Rong Hai which is the most delicious rice in the world • Beautiful culture referring to Songkran festivals and Surin traditions

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 11


สุรินทร์ถิ่นปราสาท จังหวัดสุรินทร์ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศกัมพูชา บริเวณนี้เคยได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมขอม หรือเขมรโบราณ ซึ่งยังคงมีร่องรอยเหลืออยู่ในปัจจุบันนี้ ที่เห็นได้ชัดเจนคือ สถาปัตยกรรมแบบศิลปะขอม ที่เรียกว่า ปราสาทหิน หรือ ปรางค์ มีลักษณะเป็นอาคารที่ก่อด้วยอิฐ หินทราย หรือศิลาแลง มีหลังคา บันไดและประตูทางขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่มักจะ อยู่ทางทิศตะวันออก ภายในเป็นห้องประดิษฐานรูปเคารพตามลัทธิความเชื่อของผู้สร้างและชุมชนโดยรอบ ภายนอก ตัวอาคารประดับตกแต่งด้วยลวดลายต่างๆ ใกล้ปราสาท หรือปรางค์ มักจะมีบาราย คือ สระนํ้า เพื่อใช้ในการประกอบ พิธีกรรม และสำ�หรับอุปโภคบริโภคในชุมชน บารายเหล่านี้มักกรุด้วยอิฐ หรือศิลาแลงก่อลดหลั่นลงไปจนถึงก้นสระ ทำ�ให้สามารถไปตักนํ้าขึ้นมาใช้ได้สะดวก ลักษณะของปราสาทหรือปรางค์ ลวดลายประดับตลอดจนวัสดุที่ใช้ก่อสร้าง อาคาร นอกจากสามารถใช้ในการวิเคราะห์เกี่ยวกับยุคสมัยและกำ�หนดอายุปราสาทหรือปรางค์ได้แล้ว ยังสามารถใช้ ศึกษาวิถีชีวิตของชุมชน เช่น วัฒนธรรม ความเชื่อ ภูมิปัญญาของผู้ที่อยู่โดยรอบได้อีกด้วย สุรินทร์มีโบราณสถานที่เป็นปราสาท หรือปรางค์ อยู่ตามอำ�เภอต่างๆ มากถึง 30 กว่าแห่ง มีทั้งสร้างด้วยอิฐ หินทราย และศิลาแลง แยกตามรูปแบบของสถาปัตยกรรมได้ดังนี้ แบบปราสาทหลังเดียว ตั้งอยู่บนฐานยกสูงเหนือพื้นดิน แบบปราสาทสามหลัง ตั้งอยู่บนฐานเดียวกัน แบบปราสาทห้าหลัง ตั้งอยู่บนฐานเดียวกัน

12 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


รายชื่อแหล่งโบราณคดีที่ทำ�การสำ�รวจในจังหวัดสุรินทร์ ลำ�ดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37

ชื่อแหล่ง ปราสาทบ้านเฉนียง ปราสาทพนมสวาย ปราสาทโอรงา ปราสาทเมืองที ปราสาทเบง ปราสาทหมอนเจริญ ปราสาทเซ็ม ปราสาททอง ปราสาทพระปืด ปราสาทจอมพระ ปราสาทนางบัวตูม โนนแท่น ปราสาทตามอญ รอยพระพุทธบาทเขาศาลา ปราสาทบ้านพลวง ปราสาทบ้านไพล ปราสาททนง ปราสาทอังกัญโพธิ์ ปราสาทตาเมือน ปราสาทตาเมือนโต๊จ ปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาควาย-ตาเมียง ปรางค์วัดโพธิ์ศรีธาตุ ปรางค์วัดบ้านหนองหิน ปราสาทตระเปียงเตีย ปราสาทตระเปียงบัลลังก์ เจดีย์บ้านลำ�ดวน ปราสาทศีขรภูมิ ปราสาทช่างปี่ ปราสาทอานาร์ ปราสาทบ้านสนม ปราสาทภูมิโปน ปราสาทยายเหงา ปราสาทสังข์ศิลป์ชัย ปราสาทบ้านปราสาท ปราสาทมีชัย ปราสาทหมื่นศรีน้อย

หมู่บ้าน หมู่ 4 บ้านปราสาท บ้านพนม หมู่ 10 บ้านโคกปราสาท หมู่ 1 บ้านเมืองที บ้านปราสาทเบง บ้านหมอนเจริญ บ้านบักจรัง บ้านแสร์ออ บ้านพระปืด ศรีดงบัง หมู่ 5 บ้านสระถลา หมู่ 15 บ้านโพนครก บ้านปราสาท บ้านจรัส หมู่ 1 บ้านพลวง หมู่ 6 บ้านปราสาท หมู่ 2 บ้านปราสาททนง หมู่ 4 บ้านอังกัญโพธิ์ บ้านหนองคันนา บ้านหนองคันนา บ้านหนองคันนา บ้านไทยนิยมพัฒนา หมู่ 1 บ้านธาตุ หมู่ 5 บ้านหนองหิน หมู่ 2 บ้านหนองเกาะ หมู่ 8 บ้านตระเปียงกู หมู่ 1 บ้านลำ�ดวน บ้านปราสาท หมู่ 1 บ้านช่างปี่ หมู่ 2 บ้านอนันต์ หมู่ 1 บ้านสนม หมู่ 5 บ้านภูมิโปน หมู่ 1 บ้านสังขะ หมู่ 1 บ้านจารย์ หมู่ 5 บ้านถนน หมู่ 5 บ้านถนน หมู่ 2 บ้านหมื่นศรีกลาง

ตำ�บล เฉนียง นาบัว เทนมีย์ เมืองที กาบเชิง กาบเชิง กาบเชิง ตากูก บ้านแร่ จอมพระ ท่าตูม โพนครก บัวเชด จรัส บ้านพลวง บ้านไพล ปราสาททนง โคกยาง ตาเมียง ตาเมียง ตาเมียง บักได ธาตุ ดอนแรด ลำ�ดวน ลำ�ดวน ลำ�ดวน ระแงง ช่างปี่ ยาง สนม ดม สังขะ บ้านจารย์ กระเทียม กระเทียม หมื่นศรี

อำ�เภอ เมือง เมือง เมือง เมือง กาบเชิง กาบเชิง กาบเชิง เขวาสินรินทร์ เขวาสินรินทร์ จอมพระ ท่าตูม ท่าตูม บัวเชด บัวเชด ปราสาท ปราสาท ปราสาท ปราสาท พนมดงรัก พนมดงรัก พนมดงรัก พนมดงรัก รัตนบุรี รัตนบุรี ลำ�ดวน ลำ�ดวน ลำ�ดวน ศีขรภูมิ ศีขรภูมิ ศีขรภูมิ สนม ดม สังขะ บ้านจารย์ กระเทียม กระเทียม หมื่นศรี

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

ประเภท อโรคยศาล ปราสาท ปราสาท ปราสาท ปราสาท ปราสาท ปราสาท ปราสาท ปราสาท + วิหาร อโรคยศาล ปราสาท ปราสาท ปราสาท รอยพระพุทธบาท ปราสาท ปราสาท ปราสาท ปราสาท บ้านมีไฟ อโรคยศาล ปราสาท ปราสาท ปราสาท ปราสาท ปราสาท ปราสาท ปราสาท ปราสาท อโรคยศาล ปราสาท ปราสาท ปราสาท ปราสาท ปราสาท อโรคยศาล ปราสาท ปราสาท + วิหาร

of SURIN CIVILAZATION | 13


Surin, Land of Prasat Since Surin Province borders Cambodia, this area had been influenced by Khmer culture which can be seen from Khmer architectures called Prasat or Prang. These architectures were constructed with brick, sandstone, or laterite, having roof, stairs and entrance-mostly on the east. Inside the building, there were scared chambers for performing ceremonies of the builders and communities. The outside walls typically adorned with decorations. Barai or water ponds were positioned nearby Prasat for ceremony usage as well as water reservoirs. The ponds normally covered with brick or laterite for easily bringing up water. Architectural styles and components, decorations and construction materials reflected to the dates of buildings as well as daily-life of ancient communities-the builders. There are more than 30 national monuments of Prasat or Prang in Surin Province. These buildings were constructed with brick, sandstone and laterite, and can be divided into three types of architectures as followings; A single Prasat on tall foundation A group of three Prasat on the same foundation A group of five Prasat on the same foundation

14 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


List of archeological sites in Surin Province No. Name Village Sub-district 1 Prasat Ban Chaniang Chaniang Mu 4 Ban Prasat 2 Prasat Phanom Sawai Ban Phanom Na Bua 3 Prasat Oranga Mu 10 Ban Khok Prasat Thenmi 4 Prasat Mueang Thi Mu 1 Ban Mueang Thi Mueang Thi 5 Prasat Beng Kap Choeng Ban Prasat Beng 6 Prasat Mon Charoen Kap Choeng Ban Mon Charoen 7 Prasat Sem Kap Choeng Ban Bak Charang 8 Prasat Thong Ta Thok Ban Saeo 9 Prasat Phra Puet Ban Rae Ban Phra Puet 10 Prasat Chom Phra Chom Phra Sri Dong Bang 11 Prasat Nang Bua Tum Mu 5 Ban Sra Thala Tha Tum 12 Non Than Mu 15 Ban Phon Khrok Phon Khrok 13 Prasat Ta Mon Buachet Ban Prasat 14 Buddha Foot-print, Khao Sala Ban Charat Charat 15 Prasat Ban Pluang Ban Pluang Mu 1 Ban Pluang 16 Prasat Ban Plai Ban Plai Mu 6 Ban Prasat 17 Prasat Thanong Mu 2 Ban Prasat Thanong Prasat Thanong 18 Prasat Ang Kan Pho Mu 4 Ban Ang Kan Pho Khok Yang 19 Prasat Ta Muan Ta Meang Ban Nong Khan Na 20 Prasat Ta Muan Tot Ta Meang Ban Nong Khan Na 21 Prasat Ta Muan Thom Ban Nong Khan Na Ta Meang 22 Prasat Ta Kwai-Ta Meang Ban Thai Niyom Pattana Bakdai 23 Prasat Wat Pho Sri That Mu 1 Ban That That 24 Prang Wat Ban Nong Hin Mu 5 Ban Nong Hin Don Rat 25 Prasat Trapeang Tia Lamduan Mu 2 Ban Nong Kao 26 Prasat Trapeang Banlang Mu 8 Ban Trapeang Ku Lamduan 27 Ban Lamduan Chedi Lamduan Mu 1 Ban Lamduan 28 Prasat Sikhoraphum Ra Ngaeng Ban Prasat 29 Prasat Chang Pi Chang Pi Mu 1 Ban Chang Pi 30 Prasat Arna Yang Mu 2 Ban Anan 31 Prasat Ban Sanom Sanom Mu 1 Ban Sanom 32 Prasat Phum Pon Dom Mu 5 Ban Phum Pon 33 Prasat Yai Ngao Sangkha Mu 1 Ban Sangkha 34 Prasat Sang Sin Chai Ban Chan Mu 1 Ban Chan 35 Prasat Ban Prasat Kratiam Mu 5 Ban Thanon 36 Prasat Mi Chai Kratiam Mu 5 Ban Thanon 37 Prasat Mun Sri Noi Mu 2 Ban Muen Si Klang Muen Si

District Mueang Mueang Mueang Mueang Kap Choeng Kap Choeng Kap Choeng Khwao Sinarin Khwao Sinarin Chom Phra Tha Tum Tha Tum Buachet Buachet Prasat Prasat Prasat Prasat Phanom Dong Rak Phanom Dong Rak Phanom Dong Rak Phanom Dong Rak Rattanaburi Rattanaburi Lamduan Lamduan Lamduan Sikhoraphum Sikhoraphum Sikhoraphum Sanom Dom Sangkha Ban Chan Kratiam Kratiam Samrong Thap

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

Type Hospital Prasat Prasat Prasat Prasat Prasat Prasat Prasat Prasat/Vihara Hospital Prasat Prasat Prasat Buddha Foot-print Prasat Prasat Prasat Prasat Rest house Hospital Prasat Prasat Prasat Prasat Prasat Prasat Prasat Prasat Hospital Prasat Prasat Prasat Prasat Prasat Hospital Prasat Prasat/Vihara

of SURIN CIVILAZATION | 15


1

5

1 2 3 4 5 6

ปราสาทนางบัวตูม/Prasat (Khmer Ruins) Nang Bua Tum โนนแท่น/Non Than ปรางค์วัดบ้านหนองหิน/Prang of Wat Ban Nong Hin ปรางค์วัดโพธิ์ศรีธาตุ/Prang of Wat Pho Si Tat ปราสาทบ้านสนม/Prasat (Khmer Ruins) Ban Sanom ปราสาทจอมพระ/Prasat (Khmer Ruins) Chom Phra

16 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


2

4

3

6

แผนที่สุรินทร์ตอนเหนือ TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 17


ปราสาทจอมพระ

ตั้งอยู่บริเวณวัดปราสาทจอมพระ ซึ่งเป็นวัดป่า มี ต้ น ไม้ ร่ ม รื่ น บริ เ วณนี้ มี แ หล่ ง ชุ ม ชนโบราณที่ มี คู นํ้ า คันดินล้อมรอบ คือ บ้านจอมพระ ปรากฏหลักฐานการอยู่ อาศัยของมนุษย์ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย -ต้นประวัติศาสตร์ ทางด้านทิศตะวันออกและทิศตะวัน ตกของปราสาทจอมพระมีการสร้างบารายรูปสี่เหลี่ยม ผืนผ้า 2 แห่งคือ บารายด้านทิศตะวันออก และบารายด้าน ทิศตะวันตก 18 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์

ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ปราสาทจอมพระ เป็นปราสาทขอมประเภทอโรคย ศาล ศิลปะขอมแบบบายน อายุราวพุทธศตวรรษที่ 18 ประกอบด้วยปราสาทประธานตัง้ อยูต่ รงกลาง ทางด้านทิศ ตะวันออกเฉียงใต้ มีบรรณาลัย ล้อมรอบด้วยกำ�แพง ซึ่ง มีโคปุระอยูท่ างด้านทิศตะวันออก นอกกำ�แพงทางด้านทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือมีสระนํ้า มีรายละเอียดดังนี้ ปราสาทประธาน ก่อด้วยศิลาแลง แผนผังเป็นรูป สี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุม ขนาดประมาณ 5 เมตร มีประตู ทางเข้ า ด้ า นทิ ศ ตะวั น ออก ซึ่ ง ทำ � เป็ น มุ ข ยื่ น ออกมา บรรณาลัย ก่อด้วยศิลาแลง แผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มี ป ระตู ท างเข้ า ทางด้ า นทิ ศ ตะวั น ตก (หั น หน้ า เข้ า หา ปราสาทประธาน) ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ ของปราสาทประธาน มีหน้าต่าง 1 ช่องทางด้านทิศใต้ กำ�แพงและโคปุระ (ซุ้มประตู) ก่อด้วยศิลาแลง มี แผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าล้อมรอบโบราณสถาน มี โคปุระอยู่ทางด้านทิศตะวันออก แผนผังเป็นรูปกากบาท ที่ผนังโคปุระด้านทิศใต้มีช่องหน้าต่าง 1 ช่อง สระนํ้า กรุขอบสระด้วยศิลาแลง ตั้งอยู่นอกกำ�แพง ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ


หลักฐานทางโบราณคดีที่พบ ศิลาจารึก (จารึกสุรินทร์ 2) เป็นอักษรขอม ภาษา สันสกฤต อายุราวพุทธศตวรรษที่ 18 มีสภาพชำ�รุด แต่ เนือ้ ความทีเ่ หลืออยูจ่ บั ความได้วา่ เป็นเรือ่ งเกีย่ วกับพระเจ้า ชัยวรมันที่ 7 ทรงสร้างอโรคยศาล เป็นเนื้อหาเดียวกันกับ จารึกปราสาทตาเมือนโต๊จ จากการขุดแต่งโบราณสถานโดยกรมศิลปากร เมื่อ ปี พ.ศ.2530 พบโบราณวัตถุที่สำ�คัญ คือ พระโพธิสัตว์ -อวโลกิเตศวร 1 เศียร และพระวัชรสัตว์ 1 องค์ และ ปี พ.ศ.2552 กรมศิลปากรได้ทำ�การขุดแต่งอีกครั้ง พบ หลักฐานที่สำ�คัญคือ ชิ้นส่วนพระพุทธรูปนาคปรก

Prasat Chom Phra

ความสำ�คัญของแหล่งทางประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี พื้ น ที่ บ ริ เ วณปราสาทจอมพระมี ห ลั ก ฐานการอยู่ อาศัยมาแล้วตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายต้นประวัติศาสตร์ ต่อมาปราสาทจอมพระได้กลายเป็น ศูนย์กลางของชุมชนที่ได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมขอม ปราสาทจอมพระเป็นอโรคยศาลหรือศาสนสถาน ประจำ�โรงพยาบาล เนื่องในพุทธศาสนาลัทธิมหายาน ที่ สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ตรงกับศิลปะขอม แบบบายน อายุราวพุทธศตวรรษที่ 18 สอดคล้องกับ จารึกปราสาทตาพรหม (พ.ศ.1729) ที่กล่าวถึงการสร้าง อโรคยศาล จำ�นวน 102 แห่ง กระจายอยูท่ วั่ ราชอาณาจักร ขอมในสมัยนั้น ปราสาทจอมพระจึงเป็นร่องรอยหลักฐาน ทีแ่ สดงอิทธิพลวัฒนธรรมขอมทีป่ รากฏขึน้ ในดินแดนแถบนี้ ในราวพุทธศตวรรษที่ 18 ตำ�แหน่งที่ตั้ง บ้านศรีดงบัง ตำ�บลจอมพระ อำ�เภอจอมพระ จังหวัด สุรินทร์ การเดินทาง จากตัวเมืองสุรินทร์ ไปตามทางหลวงหมายเลข 214 (สุรินทร์-จอมพระ) เป็นระยะทาง 26 กิโลเมตร ถึง ตัวอำ�เภอจอมพระ ให้เลี้ยวขวาตรงไปอีกประมาณ 500 เมตร จะผ่านสระนํ้าใหญ่ ใกล้กันเป็นที่ตั้งของวัดปราสาท จอมพระและปราสาทจอมพระอยูใ่ นบริเวณเดียวกันกับวัด

Its location is in Wat Prasat Chom Phra area. Archeological evidences discovered at Ban Chom Phra-an ancient community surrounding from the west of Prasat, revealed the late prehistoric-early historic human settlements. From aerial photograph taken in 1974, two rectangle barai (ancient water reservoirs) were found at the east and the west of Prasat Chom Phra.

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 19


inscription denoted the story of King Jayavarman VII who constructed the hospitals, the same content as those unearthed at Prasat Ta Muan Tot. Archeological evidences discovered from the excavations by Fine Arts Department in 1987 were the heads of Avalokitesvara Bodhisattva and Vajra Bodhisattva. During the excavations of Fine Arts Department in 2009, portions of Buddha sheltered by Naga were unearthed. Archeological and Historical Significances of the Site In Prasat Chom Phra area, the discoveries of evidences suggested late prehistoric-early historic human settlements beforetime of Prasat’s construction. Later the Prasat was then the center of a community influenced by Khmer empire. Prasat Chom Phra was an arokayasala or a Mahayana Buddhist temple in the hospital, constructed during the reign of King Jayavarman VII, in Khmer art-Bayon style, ca 13th century. Prasat Ta Prom Inscription (1186) also mentioned the building of 102 hospitals throughout Khmer empire during King Jayavarman VII’s reign. The Parsat is one of the evidences suggested the Khmer influences in this region during 13th century.

Architectural Construction Prasat Chom Phra was constructed as an arokayasala (hospital), Khmer art-Bayon style, ca 13th century. The main temple is located at the center. The library is positioned at the southeast. The Prasat is surrounded with walls having gopura arch at the east. The water pond is situated at the northeast outside the walls. The construction details are cited as following; The main temple was constructed with laterite in square planning with the entrance and balcony at the east. The library, constructed with laterite in rectangle layout with the entrance at the west and a window at the south, is located at the southeast of the main temple. The walls and gopura arch were built with laterite in rectangle planning surrounding the Prasat. Gupura Location Ban Sri Dong Bang, Chom Phra Sub-district, arch is located at the east in cruciform planning with Chom Phra District, Surin Province a window on the southern wall. The water pond having edges covered with To Go There laterite is situated at the northeast. Take the route 214 (Surin-Chom Phra), 26 kilometers from Surin municipal to Chom Phra District, Archeological Evidences Inscription stone (Surin Inscription II), in Khmer turn right and go straight for 500 meters, pass alphabets, Sanskrit language, ca 13th century, was the water pond to the location of Wat Prasat Chom found in damage condition. However, the remained Phra and Prasat Chom Phra. 20 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


ปราสาทบ้านสนม หรือปราสาทวัดธาตุ

ลักษณะสถาปัตยกรรม ปราสาทแห่งนี้มีขนาดโดยประมาณ กว้าง 20 เมตร ยาว 25 เมตร สูงประมาณ 5 เมตร สร้างด้วยศิลาแลง และหินทราย อยู่ในสภาพชำ�รุดทรุดโทรม เดิมมีต้นไม้ ขนาดใหญ่ ประมาณ 2-3 คนโอบ จำ�นวนมาก ได้แก่ ประดู่ ตะแบก ยาง ตะคร้อ ตาเสือ คำ�ไก่ ซึ่งปราสาทหลังนี้มอง จากทุ่งนาเห็นเด่นชัด บริเวณรอบๆ ปราสาทมีสระนํ้า เรียงรายทั้งสี่ด้านในบริเวณวัด ทางวัดได้รื้อปราสาทและ ก่อสร้างอุโบสถแทน เมื่อ พ.ศ.2478 และนำ�ชิ้นส่วน ปราสาทไปทิ้งไว้ด้านหลังวัด อดีตเคยขุดได้พระพุทธรูป ปางต่างๆ และเทวรูป ปัจจุบันมี 2 องค์ 1 องค์ อยู่ที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุรินทร์ และอีก 1 องค์ อยู่ที่ เป็นปราสาทตั้งอยู่ในวัดธาตุ บ้านสนม อำ�เภอสนม ศาลเจ้าพ่อศรีนครเตาท้าวเธอ คาดว่าสร้างสมัยเดียวกับ จังหวัดสุรนิ ทร์ คาดว่าสร้างสมัยอาณาจักรขอมเรืองอำ�นาจ ปราสาทจอมพระ แต่รูปร่างเป็นแบบเดียวกันกับปราสาท ประมาณ พ.ศ.1800 สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ทรงนับถือ ศีขรภูมิ ศาสนาพุทธนิกายมหายาน พระองค์โปรดให้สร้างทีพ่ กั คน เดินทาง และสร้างอโรคยาศาล หรือสถานพยาบาลขึ้นใน ที่ตั้ง ตัง้ อยูใ่ นวัดธาตุ บ้านสนม อำ�เภอสนม จังหวัดสุรนิ ทร์ ชุมชนต่างๆ มากมาย TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 21


Prasat Ban Sanom or Prasat Wat That

Architectural Construction The Prasat, constructed with laterite and sandstone surrounding with water ponds, is in a deteriorated condition. Previously, there were numerous gigantic trees in the area and the Prasat was obviously seen from the scenery. In 1935, the Prasat was demolished and ubosot was built instead, resulting in the discard of architectural components. Buddha and statues were discovered, including the one at Surin National Museum and the one positioned at This Prasat is located in Wat That area, Ban the Srinakhon Shrine. The characteristic suggested Sanom, Ban Sanom District, Surin Province. It was the era of Prasat Chom Phra with the style of Prasat possibly constructed in 1257 during the reign of Sikhoraphum. King Jayavarman VII of Khmer empire. The King was a devotee of Mahayana Buddhism and ordered Location the constructions of numerous rest houses and In Wat That area, Ban Sanom, Sanom District, arokayasala or hospitals throughout the kingdom. Surin Province 22 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


โนนแท่น (โนนคอกม้า)

ชาวบ้านเรียกกันว่า โนนแท่น เนื่องจากมีแท่นหินตั้งอยู่บนเนินดิน จากการสำ�รวจพบเศษภาชนะดินเผาทั้งแบบเนื้อดิน ธรรมดา และเนื้อแกร่งเคลือบสีนํ้าตาลแบบเครื่องถ้วย ลพบุรีกระจายอยู่เป็นจำ�นวนมากและเมื่อไม่กี่ปีมานี้ได้มี การขุดคลอง บริเวณหน้าทางเข้าโรงเรียน ทำ�ให้พบเศษ ภาชนะดินเผาเนื้อดินธรรมดาแบบทุ่งกุลาเป็นจำ�นวนมาก ทัง้ แบบหม้อก้นกลม และแบบแคปซูลมีกระดูกมนุษย์และ เครื่องสำ�ริดบรรจุอยู่ภายใน ความสำ�คัญของแหล่งทางประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี บริเวณโนนแท่นเป็นชุมชนโบราณที่มีการตั้งถิ่นฐาน มาตั้ ง แต่ ส มั ย ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ ต อนปลาย-ต้ น ประวัตศิ าสตร์ และต่อมามีการสร้างปราสาทในวัฒนธรรม แบบขอมขึ้นเป็นศูนย์กลางของชุมชนแถบปัจจุบัน ไม่ ปรากฏหลั ก ฐานทั บ หลั ง หรื อ เสาประดั บ กรอบประตู สำ�หรับการศึกษากำ�หนดอายุสมัย อย่างไรก็ตามโนนแท่น ยังคงเป็นร่องรอยหลักฐานที่แสดงอิทธิพลวัฒนธรรมขอม ที่ปรากฏขึ้นในดินแดนแถบนี้ ตำ�แหน่งที่ตั้ง หมู่ 15 บ้านโพนครก ตำ�บลโพนครก อำ�เภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์

ลักษณะทางสถาปัตยกรรม โนนแท่นประกอบด้วยเนินดิน 2 เนิน มีคูนํ้าล้อม อยู่เกือบรอบ ยกเว้นด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และ ทิศตะวันตกเฉียงใต้ คูนํ้าตื้นเขินกลายเป็นท้องนา สภาพ ปัจจุบันตัวโบราณสถานมีลักษณะเป็นเนินดินขนาดเล็ก มีก้อนศิลาแลงกระจายอยู่จำ�นวนหนึ่ง

การเดินทาง จากตัวเมืองสุรินทร์ ไปตามทางหลวงหมายเลข 214 (สุรินทร์-จอมพระ-ท่าตูม)เป็นระยะทาง 52 กิโลเมตร ถึงตัวอำ�เภอท่าตูม เดินทางต่อไปตามทางหลวงหมายเลข 215 อีกประมาณ 12 กิโลเมตร (ซึ่งจะข้ามลำ�นํ้ามูล) สั ง เกตทางขวามื อ จะมี ป้ า ยทางไปโรงเรี ย นโนนแท่ น ให้ เ ลี้ ย วขวาตรงไปอี ก 200 เมตร จะเป็ น ที่ ตั้ ง ของโรงเรี ย นโนนแท่ น และโนนแท่ น อยู่ ใ นบริ เ วณ เดียวกันกับโรงเรียน

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 23


Non Than (Non Khok Ma)

This place is called Non Than by villagers due to the stone pedestals positioned on the mounds.

From the expeditions, numerous portions of earthenware with Lopburi art style were discovered. Recently, the canal digging in front of Non Than school yielded various segments of earthenware with human skeletons and bronze objects inside. Archeological and Historical Significances of the Site Non Than was once the settlements of late prehistoric-early historic humans beforetime of Khmer Prasat’s construction. Unfortunately, no evidence of lintel or colonnette was unearthed in this area for identifying date of the building. However, the site is still one of the evidences suggested the Khmer influence in this region. Location Mu 15 Ban Phon Khrok, Phon Khrok Sub-district, Tha Tum District, Surin Province Architectural Construction Non Than consists of two mounds surrounding with moats except the northeastern and southwestern sides. At present, the moats are shallow and turned to the fields. The site is in deteriorated condition, left only small mounds and pieces of laterite. 24 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์

To Go There Take the route 214 (Surin-Chom Phra-Tha Tum) from Surin municipal for 52 kilometers to Tha Tum District. Take the route 215 for 12 kilometers (crossing Mun River), you will find the signage of Non Than School on the right. Turn right for 200 meters to Non Than School and Non Than.


ปราสาทนางบัวตูม

ตำ�นานปราสาทนางบัวตูมเล่าว่า มีฤ าษีตนหนึ่งได้ ไปเก็บดอกบัว บังเอิญพบทารกอยู่ในดอกบัว จึงได้นำ� มาเลี้ยงให้ชื่อว่า บัวตูม เมื่อเจริญวัยขึ้นนางบัวตูมได้เก็บ ดอกลำ�ดวนมาเสีย่ งทายหาคู่ ปรากฏว่าท้าวโสวัฒน์เจ้าเมือง พิ ม ายได้ พ บดอกลำ � ดวนและติ ด ตามมาจนพบรั ก กั บ นางบัวตูม แล้วทัง้ สองก็กราบลาฤาษีเพือ่ กลับไปอยูท่ เี่ มือง พิมาย ระหว่างทางมีอุปสรรคมากมาย ทำ�ให้ท้าวโสวัฒน์ และนางบัวตูมต้องเสียชีวิตและพลัดพรากจากโอรสซึ่ง คลอดระหว่างทางในที่สุดฤาษีได้ติดตามมาชุบชีวิต และ นำ�พาพ่อแม่ ลูก ให้ได้มาอยู่พร้อมหน้ากันที่ปราสาทนาง บัวตูม ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ปราสาทนางบัวตูม ประกอบด้วยปราสาทศิลาแลง 3 หลัง ตั้งเรียงกันในแนวเหนือ-ใต้หันหน้าไปทางทิศตะวัน ออก ตั้งอยู่บนฐานศิลาแลงเดียวกันฐานมีแผนผังเป็นรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้า มีบันไดทางขึ้นทางด้านทิศตะวันออก 1 แห่ง มีรายละเอียดดังนี้ ปราสาทหลังกลาง ก่อด้วยศิลาแลง มีประตูทางเข้า ด้านทิศตะวันออก มีเสากรอบประตู และเสาประดับกรอบ ประตูสลักลวดลาย และมีประตูหลอกอีก 3 ด้าน ทำ�ด้วย ศิลาทราย มีเสาประดับกรอบประตูไม้สลักลวดลาย พื้น ธรณีประตูมลี ายสลักรูปดอกบัวอยูใ่ นกรอบสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ปราสาทหลั ง เหนื อ ก่ อ ด้ ว ยศิ ล าแลง และมี อ งค์ ประกอบเช่นเดียวกับปราสาทหลังกลาง ปราสาทหลังใต้ ก่อด้วยศิลาแลง และมีองค์ประกอบ เช่นเดียวกับปราสาทหลังกลาง หลักฐานทางโบราณคดีที่พบ ทับหลังศิลาทรายจำ�นวน 3 ชิ้น มีโครงสร้างลวดลาย ที่ เ หมื อ นกั น คื อ ท่ อ นพวงมาลั ย ออกมาจากกึ่ ง กลาง เบือ้ งล่าง วกออกมาทีก่ ลางทับหลังแล้วพุง่ ออกไปยังทีป่ ลาย ทั้งสองเป็นใบไม้ม้วนทั้งสองข้าง เหนือใบไม้ม้วนเป็นใบไม้ สามเหลีย่ ม ใต้ทอ่ นพวงมาลัยเป็นใบไม้มว้ น เหนือท่อนพวง มาลัยเป็นใบไม้สามเหลี่ยมตั้งขึ้น ที่กึ่งกลางทับหลังมีภาพ สลักเล่าเรื่อง ลักษณะเช่นนี้จึงสามารถกำ�หนดอายุได้ว่า ตรงกับศิลปะขอมแบบบาปวน อายุราวกลางพุทธ TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 25


ศตวรรษที่ 16 ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 17 ทับหลังจำ�นวน 3 ชิ้นดังกล่าวสามารถตีความได้ดังนี้ ภาพพระอินทร์ทรง ช้างเอราวัณ ภาพพระกฤษณะปราบช้างกุวัลยปิถะ และ ภาพพระกฤษณะต่อสู้กับจาณูระ นอกจากนีย้ งั พบแท่นประติมากรรมศิลาทราย เสา ประดับกรอบประตูแปดเหลี่ยม พิจารณาจากลายใบไม้เหนือวงแหวนพบว่า ระหว่าง ใบไม้สามเหลี่ยมมีลายก้านต่อดอกขนาบอยู่ ซึ่งเป็นแบบ ที่ปรากฏในราวพุทธศตวรรษที่ 16 และพบศิลาทรายสลัก รูปดอกบัวแปดกลีบอยู่ในกรอบรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส พบบน พื้นทางเข้าปราสาทหลังกลาง

Prasat Nang Bua Tum

ความสำ�คัญของแหล่งทางประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี ปราสาทนางบัวตูม เป็นปราสาท 3 หลังตัง้ อยูบ่ นฐาน เดียวกัน เป็นศาสนสถานประจำ�ชุมชน ที่สร้างขึ้นในราว พุทธศตวรรษที่ 16-17 ปราสาทนางบัวตูมจึงเป็นร่องรอย หลักฐานที่แสดงอิทธิพลวัฒนธรรมขอมที่ปรากฏขึ้นใน ดินแดนแถบนี้ ปราสาทนางบัวตูมจัดเป็นปราสาทขนาดเล็ก มี 3 หลัง ตั้งเรียงกัน เหลือเพียงส่วนฐาน และส่วนเรือนธาตุ ส่วน ยอดพังทลาย และมีร่องรอยหลักฐานต่างๆ ให้ศึกษาดูได้ เช่น ทับหลัง เสาประดับกรอบประตู ปัจจุบันปราสาทหลัง นี้ยังไม่ได้ทำ�การบูรณะ แต่สภาพโดยรวมก็ได้รับการดูแล รักษาความสะอาดอย่างสมํ่าเสมอ ตำ�แหน่งที่ตั้ง หมู่ 5 บ้านสระถลา ตำ�บลท่าตูม อำ�เภอท่าตูม จังหวัด สุรินทร์ การเดินทาง จากตัวเมืองสุรินทร์ ไปตามทางหลวงหมายเลข 214 (สุรินทร์-จอมพระ-ท่าตูม) เมื่อถึงตัวอำ�เภอท่าตูมให้เลี้ยว ขวาตรงเข้าไปอีกประมาณ 4 กิ โลเมตร (ซึง่ จะผ่านบ้านตูม บ้านปราสาท และบ้านสระถลา) ทางขวามือจะเป็นที่ตั้ง ของวัดปทุมศิลาวารีและปราสาทนางบัวตูมอยู่ในบริเวณ เดียวกันกับวัด 26 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์

Upon the legend of Prasat Nang Bua Tum, a hermit went out to gather lotuses and found a baby girl in a lotus. He brought up the girl and named her Bua Tum (lotus) who grown up to be a beautiful woman. For choosing her mate, Bua Tum dropped white cheesewood and prayed for the right man to find. Tao Sowat, ruler of Phimai, found the flower and searched for her. They fallen in love and took


a journey back to Phimai. During the trip, they lost a new-born son and died. Finally, the hermit brought their life back and the family lived happily together at Prasat Nang Bua Tum. Architectural Construction Prasat Nang Bua Tum contains of three laterite buildings, constructed in row from north to south face east. The three buildings share the same rectangle laterite foundation, having a stair at the east. The construction details are cited as following; The central prasat was constructed with laterite having the entrance at the east. The entrance decorated with craved colonnettes, having three sandstone imitated doors adorned with carved wooden colonnettes. Doorstep’s floor decorated with lotus motif in square frame. The northern prasat was built with laterite and adorned with the same architectural components as the central prasat. The southern prasat was constructed with laterite and decorated with the same architectural components as the central prasat.

square frame was found at the floor of the central prasat’s entrance.

Archeological and Historical Significances of the Site Prasat Nang Bua Tum is a group of three buildings on the same foundation constructed as the temple of community, ca 11th-12th centuries. The Parsat is one of the evidences suggested the Khmer influence in this region. This small complex of three prasat was deteriorated overtime. Only the foundation and ruenthat (room structure) were survived along with lintels Archeological Evidences and colonnettes. At present, the Prasat is not yet Three sandstone lintels with the same dec- renovated but still in a proper condition. orations; garland and leaf motifs as the frame surrounding the story depicted in the center, the Location characteristic denoted to Khmer Art-Baphuon style, Mu 2 Ban Sra Thala, Tha Thum Sub-district, Tha ca middle 11th-early 12th centuries. The stories Thum District, Surin Province represented in the three lintels including Indra on his three-headed elephant Erawan, Vishnu defeated To Go There Kuwalapitha Elephant, and Vishnu fighting Charuna. Take the route 214 (Surin-Chom Phra-Tha Thum) Sandstone sculpture pedestals and octagon col- from Surin municipal, turn left from Tha Thum District onnettes were also discovered. The leaf and floral for 4 kilometers (pass Ban Tha Thum, Ban Prasat, decorations suggested the date of 11th century. Ban Sra Thala). Prasat Tha Thum is on the right in Sandstone craving in eight-petaled lotus motif in Wat Pathum Sila Wari area. TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 27


ปรางค์วัดโพธิ์ศรีธาตุ Prang of Wat Pho Si Tat

28 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


ปรางค์วัดโพธิ์ศรีธาตุ เดิมเป็นปราสาทขอมสร้างด้วย ศิลาแลงและศิลาทราย ต่อมาทางวัดได้รื้อส่วนเรือนธาตุ ของปราสาทออกจนเหลือเพียงฐานศิลาแลง และได้น�ำ วัสดุ ทีไ่ ด้จากการรือ้ มาสร้างเจดียร์ ปู ทรงสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ทับซ้อน อยู่บนฐานปราสาท

Prang of Wat Pho Si Tat. This place used to be Khmer prasat built with laterite and sandstone. Later the Ruen That part was removed and only the laterite foundation remained. Then a squared-shape Prang was built on top of the foundation from those stone pieces removed.

หลักฐานทางโบราณคดีที่พบ ภายในบริเวณวัด พบแท่นประติมากรรมศิลาทราย Archeological Evidences และฐานศิลาแลง แต่จากหลักฐานปรากฏให้เห็นว่าเคย In the area, there are sandstone sculpture เป็นปราสาทขอมมาก่อน แสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรมขอม and laterite base reflecting the evidence of Khmer ในดินแดนแถบนี้ influence in this area.

ที่ตั้ง Location วัดโพธิ์ศรีธาตุ หมู่ที่ 1 ตำ�บลธาตุ อำ�เภอรัตนบุรี Wat Pho Si Tat is Mu 1, Tat Sub-district, Ratana จังหวัดสุรินทร์ Buri District Surin Province การเดินทาง มาจากตัวเมืองสุรินทร์ ไปตามทางหลวงหมายเลข 226 ถนนสายสุรนิ ทร์-ศีขรภูมิ เมือ่ มาถึงตัวอำ�เภอศีขรภูมิ ให้เลี้ยวซ้ายไปตามทาง สร.2079 ทางไปอำ�เภอรัตนบุรี ให้เลี้ยวขวาไปตามทาง สร.2076 อีก 9 กิโลเมตร จะถึง บ้านธาตุ ทางขวามือจะเป็นที่ตั้งของวัดโพธิ์ศรีธาตุ ซึ่งได้ สร้างเจดีย์หลังใหม่ตั้งอยู่บนฐานปราสาท

To Go There From Surin City. Take route 226 Surin-Sikhora phum to Si Khoraphum District then turn left onto route SR 2079 the way to Ratana Buri. Turn right onto SR 2076 for 9 kilometers to Ban tat. Wat Pho Si Tat is on the right. The new Prang was built on top of the foundation of the prasat.

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 29


ปรางค์วัดบ้านหนองหิน ความสำ�คัญของแหล่งทางประวัตศิ าสตร์โบราณคดี ปรางค์วัดบ้านหนองหิน เป็นศิลปะขอมแบบบาปวน อายุราวพุทธศตวรรษที่ 16-17 ปรางค์วัดบ้านหนองหิน จึงเป็นร่องรอยหลักฐานที่แสดงอิทธิพลวัฒนธรรมขอมที่ ปรากฏขึ้นในดินแดนแถบนี้ ที่ตั้ง วัดศิลาวรรณ หมู่ที่ 5 บ้านหนองหิน ตำ�บลแรด อำ�เภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ การเดินทาง มาจากปรางค์วัดโพธิ์ศรีธาตุ ให้เลี้ยวซ้ายไปตามทาง สร.4022 ตรงไป 5.6 กิโลเมตร แล้วเลี้ยวซ้ายตรงไปอีก 1.2 กิโลเมตร จะถึงบ้านหนองหิน เป็นที่ตั้งวัดศิลาวรรณ ซึ่งได้สร้างอุโบสถหลังใหม่ทับอยู่บนปราสาท

ปรางค์วัดบ้านหนองหิน เดิมเป็นปราสาทขอม สร้าง ด้วยศิลาทรายและศิลาแลง ต่อมาทางวัดได้รื้อออกเพื่อ สร้างอุโบสถซ้อนทับลงไปแทนที่ หลักฐานทางโบราณคดีที่พบ พบทับหลังศิลาทรายสลักภาพเทพนั่งชันเข่าภายใน ซุ้มเหนือหน้ากาล ซึ่งกำ�ลังคายท่อนพวงมาลัย ศิลปะขอม แบบบาปวน อายุราวพุทธศตวรรษที่ 16-17 กลีบขนุน ศิลาทรายภาพบุคคลนั่งชันเข่า ปราสาทจำ�ลอง บัวกลุ่ม ยอดปราสาท และเสาประดับกรอบประตู คูนํ้าล้อมรอบ พื้นที่เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เว้นทางด้านทิศตะวันออก ไว้เป็นทางเข้า-ออก ซึ่งยังคงปรากฏร่องรอยอย่างชัดเจน ทางด้านทิศใต้ 30 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


Prang of Wat Ban Nong Hin

Prang of Wat Ban Nong Hin was originally the Khmer Prasat or Khmer ruin built with laterite and sandstone. Later the Ruin that part was removed by Archeological and Historical SignifiWat and then constructed the new Buddhist temple cances of the Site over the same place. Prang Wat Ban Nong Hin was Khmer’s Ba Puan art around 16th-17th BE. It is one of the evidences Archeological Evidences suggested the Khmer influence in the region during One of the archeological evidences is a lintel 13th century. carved in sitting Deity with one knee lifted up with in the tympanum over the Na Kan and is ejecting Location the garland. It was built to the believe in Khmer’s It is located at Wat Silawan, Mu 5th, Ban Nong Ba Puan Art around 16th-17th BE. The another evi- Hin, Rad Sub-district, Ratana buri, District. dences were also found e.g. the engraving sandstone in figures of jackfruit petal, sitting human body with To Go There one knee lifted up, small-scale Prasat with a lotus To go there, start from Prang Wat Po Sri Tat and design consisting of row upon row of lotus petal turn left onto route SR 4022 for 5.6 kilometers and then on the tiptop of Prasat and on the decorated col- turn left again for another 12 kilometers until reaching umns of the door frame, and moat surrounds the Ban Nong Hin. Prang situats next to the new Buddhist square-shaped area of Prasat except the doorway Temple of Wat Silawan in which it was built over on the east side. the original site of the removed Prasat. TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 31


ปราสาทขุมดิน

ตั้งอยู่ภายในวัดบ้านขุมดิน ตำ�บลหนองหลวง อำ�เภอ โนนนารายณ์ จังหวัดสุรินทร์ คาดว่าน่าจะสร้างราวพุทธ ศตวรรษที่ 16-17 มีเนื้อที่ประมาณ 2 งาน เป็นปราสาท ก่อด้วยอิฐ 4 หลัง ด้านตะวันตกมีโคปุระหรือซุ้มประตูมี มุขยืน่ ออกไปทางด้านหน้า เชือ่ มต่อกับแนวกำ�แพงศิลาแลง ซึ่งล้อมอยู่ทั้ง 4 ด้าน ตัวปราสาทด้านทิศใต้อยู่ในสภาพ พังทลาย ส่วนปราสาททีอ่ ยูด่ า้ นทิศตะวันออกมีกรอบประตู ตั้งอยู่ด้านทิศเหนือพังทลายหมดแล้ว มีแท่นศิลาแลงและ หินทรายขนาดใหญ่วางอยู่บนพื้นจำ�นวนมาก นอกนั้นยัง พบทับหลังขนาดกว้าง 0.9 เมตร ยาว 2.10 เมตร หนา 0.44 เมตรวางตั้งอยู่บนพื้น รอบตัวปราสาทมีคูนํ้ากว้าง ประมาณ 6 เมตร ล้อมรอบเป็นรูปตัวยู ปราสาทขุ ม ดิ น นี้ นั บ เป็ น ปราสาทหิ น เก่ า แก่ เป็ น โบราณสถานคู่บ้านคู่เมือง เป็นที่เคารพสักการะ และเป็น สถานทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจของคนในชุมชนตำ�บลหนองหลวง และชุมชนใกล้เคียง ที่ตั้ง วัดบ้านขุมดิน ตำ�บลหนองหลวง อำ�เภอโนนนารายณ์ จังหวัดสุรินทร์ 32 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


Prasat Khum Din

Its location is in Wat Ban Khum Din, Nong Luang Sub-district, Non Narai District, Surin Province, ca 11th-12th centuries. Prasat Khum Din is a group of four prasat having Gopura arch and porch at the west and surrounding by walls. The southern prasat is in a deteriorated condition. The door frame was found at the eastern prasat along with pieces of laterite and sandstone in addition to a lintel. The Prasat was surrounded with moats. Prasat Khum Din is an ancient prasat, one of the sacred places for Nong Luang and nearby communities. Location Wat Ban Khum Din, Nong Luang Sub-district, Non Narai District, Surin Province TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 33


1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13

ปราสาทพระปืด/Prasat Phra Puet ปราสาททอง/Prasat Thong ปราสาทเมืองที/Prasat Mueang Thi ปราสาทช่างปี่/Prasat Chang Pi ปราสาทศีขรภูมิ/Prasat Sikhoraphum ปราสาทอารนาร์/Prasat Ar Na ปราสาทหมื่นศรีน้อย/Prasat Mon Sri Noi ปราสาทพนมสวาย/Prasat Phanom Sawai ปราสาทบ้านเฉนียง/Prasat Ban Chaniang ปราสาทอโรงา/Prasat Oranga ปราสาทตระเปียงเตีย/Prasat Trapeang Tia ปราสาทตระเบียงบัลลังก์/Prasat Trapeang Banlang เจดีย์ลำ�ดวน /Ban Lamduan Chedi

2

1

3

8

9

10 12

11

34 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


4

7

6 5

13

แผนที่สุรินทร์ตอนกลาง TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 35


ปราสาทบ้านเฉนียง หลักฐานทางโบราณคดีที่พบ พบฐานประติมากรรมรูปเคารพศิลาทรายและชิน้ ส่วน เครื่องประกอบสถาปัตยกรรม ศิลาทราย ตั้งอยู่ในพื้นที่ ซึ่งจัดเป็นสวนหย่อมใกล้ๆ กับตัวปราสาท

ตั้งอยู่ภายในบริเวณวัดปราสาทศิลาราม ซึ่งได้มีการ สร้างอุโบสถทับอยู่บนฐานและกำ�แพงของปราสาท พื้นที่ รอบๆ ได้รับการตกแต่งเป็นสวนหย่อม ถัดออกไปเป็น เสนาสนะและอาคารต่างๆ ของทางวัด ทิศตะวันออกเป็น อ่างเก็บนํ้าโครงการชลประทานห้วยเสนง ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ปราสาทบ้านเฉนียง เป็นปราสาทขอมประเภทอโรคยาศาล ศิลปะขอมแบบบายน อายุราวพุทธศตวรรษที่ 18 ประกอบด้วยปราสาทประธานตัง้ อยูต่ รงกลาง ซึง่ ปัจจุบนั มี อุโบสถสร้างทับ มีก�ำ แพงล้อมรอบและมีโคปุระอยูท่ างด้าน ทิศตะวันออก ภายนอกกำ�แพงด้านทิศตะวันออกเฉียง เหนือมีสระนํ้า มีรายละเอียดดังนี้ ปราสาทประธาน ก่อด้วยศิลาแลง ปัจจุบันมีอุโบสถ สมัยปัจจุบันสร้างทับอยู่ ด้วยเหตุนี้จึงไม่สามารถศึกษา ลักษณะทางสถาปัตยกรรมของปราสาทประธานรวมถึง บรรณาลัย (ซึ่งโดยปกติมักตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันออก เฉียงใต้ของปราสาทประธาน) ได้ กำ�แพงและโคปุระ (ซุม้ ประตู) ก่อด้วยศิลาแลง กำ�แพง มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าล้อมรอบ มีโคปุระอยู่ทาง ด้านทิศตะวันออก และอุโบสถที่สร้างทับก็มีขนาดเท่ากับ กำ�แพงนี้ สระนํ้า กรุขอบสระด้วยศิลาแลง แผนผังรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด 15 x 29 เมตร ตั้งอยู่นอกกำ�แพง ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ 36 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์

ความสำ�คัญของแหล่งทางประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี ปราสาทบ้านเฉนียงเป็นอโรคยศาลหรือศาสนสถาน ประจำ�โรงพยาบาลเนื่องในพุทธศาสนาลัทธิมหายาน ที่ สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ตรงกับศิลปะขอม แบบบายน อายุราวพุทธศตวรรษที่ 18 สอดคล้องกับจารึก ปราสาทตาพรหม (พ.ศ.1729) ที่กล่าวถึงการสร้างอโรคยศาลจำ�นวน 102 แห่ง กระจายอยูท่ วั่ ราชอาณาจักรขอม ในสมัยนั้น ปราสาทบ้านเฉนียงจึงเป็นร่องรอยหลักฐานที่ แสดงอิทธิพลวัฒนธรรมขอมทีป่ รากฏขึน้ ในดินแดนแถบนี้ ในราวพุทธศตวรรษที่ 18 ปราสาทบ้านเฉนียงได้รับการประกาศขึ้นทะเบียน โบราณสถานแล้ว ปัจจุบันได้มีการสร้างอุโบสถซ้อนทับ ปราสาทเฉนียง ทำ�ให้ไ้ ม่เห็นลักษณะของปราสาทประธาน เหลือเพียงร่องรอยที่ยังปรากฏอยู่ คือ สระนํ้า และกำ�แพง และโคปุระบางส่วน ตำ�แหน่งที่ตั้ง หมู่ 4 บ้านปราสาท ตำ�บลเฉนียง อำ�เภอเมืองสุรนิ ทร์ จังหวัดสุรินทร์ การเดินทาง จากตัวเมืองสุรินทร์ ไปตามทางหลวงหมายเลข 214 (สุรินทร์-ปราสาท) เมื่อถึงช่วง หลักกิโลเมตรที่ 8 จะเป็น สี่แยก ให้เลี้ยวซ้ายไปตามถนนสายบ้านเฉนียง-บ้านทมอ เป็นระยะทาง 2 กิโลเมตร จะเห็นสามแยก ให้เลีย้ วขวาตรงไป 1.6 กิโลเมตร จะพบป้ายทางเข้าวัดปราสาทศิลาราม ให้ เลีย้ วซ้ายตรงไปอีก 600 เมตร จะเป็นทีต่ งั้ ของวัดปราสาท ศิลาราม และปราสาทบ้านเฉนียงอยูใ่ นบริเวณเดียวกันกับวัด


Prasat Ban Chaniang (Khmer Ruins) angle planning with Gopura arch on the east. The rectangle pond, covered the edges with laterite, is located on the northeast outside the walls.

Its location is in Wat Prasat Sila Ram with the construction of ubosot atop the Prasat’s foundation and walls. Architectural Construction Prasat Ban Chaniang, constructed as an arokayasala (hospital), Khmer Art-Bayon style, ca 13th century, consists of the main temple located at the center- currently atop by ubosot, surrounding walls and Gopura arch on the east. The pond is positioned outside the walls on the northeast. The construction details are cited as following; The main temple was constructed with laterite currently atop by ubosot resulting in difficulty to study architectural components of the building and library-normally situated on the southeast of the main temple. The walls and Gopura arch (gate) were constructed with laterite. The walls were built in rect-

Archeological Evidences Sandstone pedestals of scared statues and architectural elements were discovered in the nearby area. Archeological and Historical Significances of the Site Prasat Chaniang was an arokayasala or Mahayana Buddhist temple in the hospital constructed during the reign of King Jayavarman VII, Khmer art-Bayon Style, ca 13th century-as cited in Prasat Ta Prohm Inscription (1186) regarding the establishment of 102 arokayasala throughout the Khmer empire. The Prasat is one of the evidences suggested the Khmer influence in this region during 13th century. Prasat Chaniang was registered as a national monument. Recently, with the construction of ubosot atop the foundations, notable characteristics of the main temple cannot be identified, left only the pond, walls and Gopura arch. Location Mu 4 Ban Prasat, Chaniang Sub-district, Mueang District, Surin Province To Go There Take the route 214 (Surin-Prasat) for 8 kilometers, turn left at the intersection and take Ban Chaniang-Ban Mao Road for 2 kilometers. Turn right for 1.6 kilometers from three-way junction to Wat Prasat Sila Ram signage, turn left for 600 meters to Wat Prasat Sila Ram and Prasat Chaniang.

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 37


ปราสาทพนมสวาย (ปราสาทสนชัย)

ร่องรอยของปราสาทเหลืออยูเ่ พียงเล็กน้อยบนไหล่เขา พนมเปร๊าะ (เขาชาย) ซึง่ อยูบ่ ริเวณเขาพนมสวาย เขาพนม สวายเป็นกลุม่ เขาหินปูน ประกอบด้วยเขาขนาดเล็ก 3 ยอด ได้แก่ พนมเปร๊าะ (เขาชาย) บนยอดเขาเป็นทีป่ ระดิษฐาน 38 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์

พระพุทธสุรินทรมงคล พนมแสรย (เขาหญิง) เป็นที่ ประดิษฐานพระพุทธรูปปางต่างๆ และพนมกรอล (เขาคอก) เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธบาทจำ�ลองฉลอง 25 พุทธ ศตวรรษ


ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ปราสาทพนมสวาย จากคำ�บอกเล่ากล่าวว่า เดิม ประกอบด้วยปราสาท 3 หลัง ตั้งอยู่บนฐานเดียวกัน ตัง้ อยูบ่ นยอดเขาชาย ต่อมาถูกรือ้ ถอนเพือ่ สร้างพระพุทธรูป ไว้ แ ทน จึ ง ไม่ ป รากฏร่องรอยของปราสาทบนยอดเขา ปัจจุบันเหลือเพียงหลักฐานที่มีความเกี่ยวข้องกันดังนี้ แนวฐานศิลาแลง ทีบ่ ริเวณไหล่เขาชายทางด้านทิศเหนือ ริมถนนเล็กๆ ทีจ่ ะตรงเข้าไปยังวัดพนมศิลาราม ได้ปรากฏ แนวศิลาแลงก้อนใหญ่เรียงต่อเนื่องกันยาวประมาณ 5 เมตร ลักษณะคล้ายเป็นส่วนหนึง่ ของฐานปราสาท ฝัง่ ตรง ข้ามถนนก็ยงั มีกอ้ นศิลาแลงทีถ่ กู รือ้ ถอนจากการสร้างถนน ตั้งเรียงรายอยู่อีกจำ�นวนหนึ่ง และพบเศษอิฐอีกเล็กน้อย สระนํ้า 2 สระ ตั้งอยู่บริเวณใกล้วัดพนมศิลาราม ปัจจุบันทางวัดได้ขุดรวมเป็นสระเดียวกัน หลักฐานทางโบราณคดีที่พบ ชาวบ้านเล่าว่า เคยขุดพบพระคเณศศิลาทราย 1 องค์ และบริเวณโดยรอบพนมสวาย ซึ่งเป็นพื้นที่เกษตรกรรม ชาวบ้านได้พบโบราณวัตถุศลิ ปะขอมจำ�นวนมาก เช่น ชาม สำ�ริด กระพรวนสำ�ริด ครุฑสำ�ริด ไหเคลือบสีนาํ้ ตาล ฯลฯ

ความสำ�คัญของแหล่งทางประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี พื้ น ที่ บ ริ เ วณเขาพนมสวาย ปรากฏหลั ก ฐานคื อ ปราสาท บาราย และโบราณวัตถุต่างๆ ซึ่งสันนิษฐาน ว่ า น่ า จะเป็ น ชุ ม ชนที่ มี อ ายุ ร่ ว มสมั ย กั บ วั ฒ นธรรมขอม ปราสาทพนมสวายจึงเป็นร่องรอยหลักฐานทีแ่ สดงอิทธิพล วัฒนธรรมขอมทีป่ รากฏขึน้ ในดินแดนแถบนี้ ต่อมาในสมัย รัตนโกสินทร์ปรากฏความสำ�คัญคือเป็นสถานที่บรรจุอัฐิ ของเจ้าเมืองสุรินทร์ และยังคงเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่ชาว สุรินทร์ให้ความเคารพนับถือตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน ตำ�แหน่งที่ตั้ง บ้านพนม ตำ�บลนาบัว อำ�เภอเมืองสุรนิ ทร์ จังหวัดสุรนิ ทร์ การเดินทาง จากตัวเมืองสุรินทร์ ไปตามทางหลวงหมายเลข 214 (สุรนิ ทร์-ปราสาท) เมือ่ ถึงช่วงหลักกิโลเมตรที่ 15 จะเป็น สามแยก ให้เลี้ยวขวา เป็นระยะทาง 7 กิโลเมตร เมื่อถึง วนอุทยานพนมสวาย จะมีถนนลาดยางเล็กๆ เลียบไหล่ เขาไปสู่วัดพนมศิลาราม ปราสาทพนมสวาย

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 39


Prasat Phanom Sawai (Prasat Son Chai) Phra Phuttha Surin Mongkhon Buddha, Phanom Srae (Khao Ying) in which located Buddha images, and Phanom Kron (Khao Khok) in which positioned reproductions of Buddha foot-print. Archeological Evidences Sandstone Ganesha and artifacts in Khmer art style including bronze bowls and bells, as well as earthenware were also discovered by the villagers in the residence areas.

Only a few remaining of Prasat Phanom Sawai survived in Phanom Sawai Mountains. Phamon Sawai Mountains are a group of three small limestone hills including Phanom Pro (Khao Chai) in which positioned Phra Phuttha Surin Mongkhon Buddha Phanom Srae (Khao Ying) in which located Buddha images, and Phanom Kron (Khao Khok) in which positioned reproductions of Buddha foot-print. Architectural Construction From the stories being told, Prasat Phanom Sawai was a group of three prasat on the same foundation located at the apex of Khao Chai. It was demolished afterward for the construction of Buddha with only a few remaining survived as following; Laterite foundations were discovered at the northern part of the hill nearby a small road leading Only a few remaining of Prasat Phanom Sawai survived in Phanom Sawai Mountains. Phamon Sawai Mountains are a group of three small limestone hills including Phanom Pro (Khao Chai) in which positioned 40 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์

Archeological and Historical Significances of the Site In Phanom Sawai Mountains, prasat, barai and artifacts were found hinted the settlements influenced by Khmer culture. Thus, Prasat Phanom Sawai is one of the evidences suggested the Khmer influence in this region. During the Bangkok period, this area was used for containing bone ash of Surin leaders. It has been served as a scared place for Surin people from past to present. Location Ban Phanom, Na Bua Sub-district, Mueang Surin District, Surin Province To Go There Take the route 214 (Surin-Prasat) from Surin municipal for 15 kiometers, turn right at three-way junction (to Phanom Sawai National Park) for 7 kilometers. The Prasat is on the north of Khao Chai in Phanom Sawai National Park. Take a small road uphill to Wat Phanom Sila Ram and Prasat Phanom Sawai is on the left.


ปราสาทโอรงา

ปราสาทโอรงา เป็นปราสาทหลังเดียว ตั้งอยู่บนฐาน ศิลาแลง มีคูนํ้าล้อมรอบ มีรายละเอียดดังนี้ ปราสาท ประธานก่ออิฐไม่สอปูน (ปัจจุบนั ไม่ปรากฏแล้ว) ตัง้ อยูบ่ น ฐานศิลาแลงซึง่ มีแผนผังเป็นรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า และมีชน้ิ ส่วน กรอบประตูศิลาทรายกองอยู่ คูนํ้าล้อมรอบพื้นที่เป็นรูป สีเ่ หลีย่ มผืนผ้า ปัจจุบนั ปรากฏร่องรอยเฉพาะคูนาํ้ ทางด้าน ทิศเหนือและทิศตะวันตกบางส่วน

16 ปราสาทโอรงาจึงเป็นร่องรอยหลักฐานที่แสดงอิทธิพล วัฒนธรรมขอมที่ปรากฏขึ้นในดินแดนแถบนี้ ปัจจุบันปราสาทโอรงาถูกทำ�ลายไปมาก และเหลือ ร่องรอยหลักฐานเพียงเล็กน้อย สำ�หรับตัวปราสาทและ พืน้ ทีร่ อบๆ ได้รบั การดูแลทำ�ความสะอาดและกำ�จัดวัชพืช อย่างสมํ่าเสมอ

หลักฐานทางโบราณคดีที่พบ ตำ�แหน่งที่ตั้ง ฐานประติมากรรมรูปเคารพศิลาทรายตั้งอยู่ภายใน หมู่ 10 บ้านโคกปราสาท ตำ�บลเทนมีย์ อำ�เภอเมือง ศาลเจ้ า ที่ ซึ่ ง สร้ า งอยู่ บ นตั ว ปราสาท นอกจากนี้ ยั ง พบ สุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ชิ้นส่วนกรอบประตูศิลาทรายอีกจำ�นวนหนึ่งด้วย การเดินทาง ความสำ�คัญของแหล่งทางประวัตศิ าสตร์ โบราณจากตัวเมืองสุรินทร์ ไปตามทาง สร.2077 (สุรินทร์คดี ลำ�ดวน) แล้วเลี้ยวขวาเข้า สร.3005 ตรงไปเป็นระยะทาง ปราสาทโอรงา เป็นปราสาทขอม ปัจจุบันไม่ปรากฏ 10 กิโลเมตร จากนั้นเลี้ยวขวาและตรงไปอีก 2 กิโลเมตร หลักฐานทับหลังหรือเสาประดับ กรอบประตูสำ�หรับการ จะพบป้ายทางไปวัดโคกปราสาทให้เลี้ยวขวาตรงไปอีก ศึกษากำ�หนดอายุสมัย หากพิจารณาจากเทคนิควิธกี ารเข้า เล็กน้อย เป็นที่ตั้งของวัดโคกปราสาท และปราสาทโอรงา กรอบประตูสนั นิษฐานว่าน่าจะมีอายุในราวพุทธศตวรรษที่ ตั้งอยู่บริเวณเดียวกันกับวัด TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 41


Prasat Oranga

Prasat Oranga is a single prasat on laterite foundation surrounding with moats. The main temple was constructed with brick (do not exist at present) on rectangle laterite foundation surrounding with rectangle moats in which remained only at the northern and western sides.

study of door frame structure alone suggested the date of 11th century. The Prasat is one of the evidences suggested Khmer influence in this region. Nowadays, Prasat Oranga is in deteriorated condition and only a few evidences survived.

Location Archeological Evidences Mu 10 Ban Khok Prasat, Thenmi District, Mueang Sandstone pedestal of scared statues inside the District, Surin Province shrine built atop the Prasat and portions of door frame were discovered in this area. To Go There Take the road no.2077 (Surin-Lamduan) from Archeological and Historical Signifi- Surin municipal turn right to road no.3005 for 10 cances of the Site kilometers, then turn right for 2 kilometers. You will Prasat Oranga is a Khmer prasat. Without ev- find Wat Khok Prasat signage. Turn right to Wat idence of lintel or colonnette to identify the date, Khok Prasat and Prasat Oranga. 42 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


ปราสาทเมืองที อยู่ในบริเวณวัดจอมสุทธาวาส ใกล้กับซุ้มประตูทาง เข้าและอุโบสถของวัด ลักษณะพื้นที่ตั้งของวัดและตัว ปราสาทเป็นเนินดินสูงกว่าพืน้ ทีโ่ ดยรอบเล็กน้อย ทางด้าน ทิศตะวันออกติดกับถนนถัดไปเป็นเป็นทุ่งนา ประวัติความเป็นมา พงศาวดารอีสานได้กล่าวถึงบ้านเมืองทีในสมัยกรุง ศรีอยุธยาตอนปลาย ว่าเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชุมชนชาว กูย (กวย) มีหัวหน้าปกครองชื่อ เชียงปุม กระทั่งราวปี พ.ศ.2302 ในสมัยพระที่นั่งสุริยาสอมรินทร์ แห่งกรุง ศรีอยุธยา ได้มีช้างเผือกแตกโรงออกจากกรุงศรีอยุธยา เชียงปุม จึงได้ร่วมกับผู้นำ�หมู่บ้านอื่นๆ ติดตามช้างเผือก ส่งคืนกรุงศรีอยุธยาได้สำ�เร็จ เชียงปุมจึงได้รับแต่งตั้งเป็น หลวงสุรินทร์ภักดี ต่อมาได้ย้ายชุมชนจากบ้านเมืองที มาอยูท่ คี่ ปู ระทายสมัน (เมืองสุรนิ ทร์) และได้สร้างความดี ความชอบต่อมาจนได้เลือ่ นบรรดาศักดิเ์ ป็นพระยาสุรนิ ทร์ ภักดีศรีณรงค์จางวางเจ้าเมืองสุรินทร์คนแรก ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ปราสาทเมืองที เดิมน่าจะประกอบด้วยปราสาทก่ออิฐ ฉาบปูนจำ�นวน 5 องค์ ตั้งอยู่บนฐานอิฐเดียวกัน ปราสาท ประธานตัง้ อยูต่ รงกลาง ล้อมรอบด้วยปราสาทบริวารทีม่ มุ ทั้งสี่ แต่ปัจจุบันเหลือเพียง 3 องค์ คือ ปราสาทประธาน ปราสาทบริ ว ารองค์ ทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ และองค์ ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ปราสาทประธาน ก่ออิฐฉาบปูน มีขนาดใหญ่กว่า ปราสาทบริวาร แผนผังเป็นรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ย่อมุม ขนาด 2.70 x 2.70 เมตร ส่วนเรือนธาตุทึบตัน ด้านล่างมี ร่องรอยการก่ออิฐ น่าจะแทนฐานหรือซุม้ จรนำ�ประกบเข้า ที่ด้านทั้งสี่ของตัวปราสาท ทำ�ให้มีลักษณะแผนผังเป็นรูป กากบาท ส่วนหลังคาทำ�ซ้อนชั้นลดหลั่นกันขึ้นไป 4 ชั้น มีรปู ทรงผอมเพรียวแตกต่างไปจากปราสาทขอมโดยทัว่ ไป ปราสาทบริวารองค์ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ก่ออิฐ ฉาบปูน แผนผังเป็นรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั มีรปู ทรงผอมเพรียว เช่นเดียวกันกับปราสาทประธาน แต่มขี นาดย่อมกว่า ส่วน

หลังคาทำ�ในลักษณะเรือนธาตุซ้อนลดหลั่นขึ้นไป 2 ชั้น จนถึงส่วนยอดซึ่งหักพัง ปราสาทบริวารองค์ทิศตะวันตกเฉียงเหนือมีลักษณะ เช่นเดียวกับปราสาทบริวารองค์ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ แต่มีสภาพที่ค่อนข้างสมบูรณ์กว่าคือ มีส่วนยอดลักษณะ เป็นบัวเหลี่ยมย่อมุม ความสำ�คัญของแหล่งทางประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี ปราสาทเมืองที เป็นปราสาทที่มีรูปทรงค่อนข้างสูง เพรียว แตกต่างไปจากปราสาทขอมโดยทั่วไป จากหลัก ฐานที่ปรากฏทำ�ให้สันนิษฐานได้เป็น 2 ประการคือ

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 43


Prasat Mueang Thi

ประการแรกอาจเคยเป็นที่ตั้งปราสาทขอมมาก่อน แล้วมี การมาซ่อมแซมปรับเปลีย่ นรูปทรงภายหลังในสมัยอยุธยา ตอนปลาย-ต้นรัตนโกสินทร์ ราวพุทธศตวรรษที่ 23-24 หรื อ ประการที่ ส องอาจเป็ น ปราสาทที่ ส ร้ า งขึ้ น ในสมั ย อยุธยาตอนปลาย-ต้นรัตนโกสินทร์ ราวพุทธศตวรรษที่ 23–24 จากการที่ไม่ปรากฏร่องรอยหลักฐานชิ้นส่วนเครื่อง ประกอบสถาปัตยกรรมตามแบบปราสาทขอมโดยทั่วไป เช่น ทับหลัง เสาประดับกรอบประตู บัวกลุม่ ยอดปราสาท ชิน้ ส่วนศิลาทรายหรือศิลาแลง จึงทำ�ให้เชือ่ ว่าน่าจะเป็นไป ตามประการทีส่ องมากกว่า อย่างไรก็ตาม ปราสาทเมืองที ก็เป็นร่องรอยหลักฐานทีแ่ สดงถึงการตัง้ ถิน่ ฐานของชุมชน สอดคล้องกับเอกสารพงศาวดารอีสานที่ได้กล่าวถึงชุมชน ชาวกูยตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้านเมืองที ในราวพุทธศตวรรษที่ 23-24 ซึ่งตรงกับช่วงที่วัฒนธรรมแบบล้านช้างแพร่หลาย อยู่ในภาคอีสาน ตำ�แหน่งที่ตั้ง Its location is in Wat Chom Sutthawat, nearby หมู่ 1 บ้านเมืองที ตำ�บลเมืองที อำ�เภอเมืองสุรินทร์ the entrance gate and ubosot of the temple. Prasat จังหวัดสุรินทร์ and temple are positioned on the mound with rice fields on the east. การเดินทาง จากตัวเมืองสุรินทร์ ไปตามทางหลวงหมายเลข 226 (สุรินทร์-ศีขรภูมิ) เมื่อถึงช่วงหลักกิโลเมตรที่ 15-16 Historic Background As told in the legends, Mueang Thi during late หมู่บ้านเมืองที บริเวณตรงข้ามที่ทำ�การ อบต. เมืองที ให้ Ayutthaya period was a settlement of Kuay and เลี้ยวซ้ายตรงไป 300 เมตร จะเห็นปราสาทเมืองทีตั้งอยู่ ทางด้ า นซ้ า ยมื อ ซึ่ ง อยู่ ใ นบริ เ วณเดี ย วกั น กั บ วั ด จอม Chiang Pum was the leader. In 1749 during the reign of King Suriyamarin, a scared white elephant สุทธาวาส 44 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


The roof had floor layers and taller than common Khmer prasat. The northeastern prasat was built with brick in square planning and tall, resemble the main temple but smaller. The roof had two layers. The southeastern prasat was similar to the northeastern prasat but still in a good condition.

escaped from Ayutthaya. Chiang Pum and other village leaders helped to capture the elephant and returned it to the court. As a result, he was appointed as Luang Surin Pakdi. Afterward, he transferred the settlements to Khu Pratai Saman (Surin) and gained rewards from the king, in which, promoting him to Praya Surin Pakdi Sri Narong Changwang- the first ruler of Surin. Architectural Construction Previously, Prasat Mueang Thi was a group of five brick prasat located on the same brick foundation. The main temple was positioned at the center surrounding with four smaller prasat. At present, only three prasat remained-the main temple, the northeastern prasat and southeastern prasat. The main temple was constructed with brick in square planning and larger than the other four. The room structure was dense and in cruciform layout.

Archeological and Historical Significances of the Site Prasat Mueang Thi is a tall building dissimilar to the common Khmer prasat. From the evidences found, two theories are suggested by the historians. The first one, it was once the location of Khmer prasat before reconstruction during late Ayutthaya-early Bangkok periods (18th-19th centuries) in which resulted in changing the structures. The second one, it was constructed during late Ayutthaya-early Bangkok periods (18th-19th centuries). Without architectural components typically found in Khmer prasat, the second theory is more reliable. However, Prasat Mueang Thi is one of the evidences suggested the settlements mentioned in the legends and Kuay people who resided at Mueang Thi during 18th-19th centuries-the times while Lan Chang culture influenced northeastern Thailand. Location Mu 1 Ban Mueang Thi, Mueang Thi Sub-district, Mueang District, Surin Province To Go There Take the rout 226 (Surin-Sikhoraphum) from Surin municipal for 15-16 kilometers to Ban Mueang Thi then turn left for 300 meters at Sub-district Administrative Office. Prasat Mueang Thi is on the left in Wat Chom Sutthawat.

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 45


ปราสาททอง ความสำ�คัญของแหล่งทางประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี ปราสาททอง เป็นปราสาทก่ออิฐถือปูนทีม่ รี ปู ทรงค่อน ข้างสูงเพรียว เช่นเดียวกับปราสาทเมืองที อำ�เภอเมือง สุรินทร์ และจากการที่ไม่ปรากฏร่องรอยหลักฐานชิ้นส่วน เครื่องประกอบสถาปัตยกรรมตามแบบปราสาทขอมโดย ทั่วไป เช่น ทับหลัง เสาประดับกรอบประตู บัวกลุ่มยอด ปราสาท ชิ้นส่วนศิลาทรายหรือศิลาแลง ทำ�ให้สันนิษฐาน ได้ว่าอาจเป็นปราสาทที่สร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนปลาย -ต้นรัตนโกสินทร์ ราวพุทธศตวรรษที่ 23-24 โดยอาจ ได้รับแรงบันดาลใจมาจากรูปทรงของปราสาทขอม แต่ มีการปรับเปลี่ยนรูปทรงให้สูงเพรียวขึ้น ปราสาททองจึง เป็นร่องรอยหลักฐานที่แสดงถึงการตั้งถิ่นฐานของชุมชน ในวัฒนธรรมล้านช้าง ซึ่งแพร่หลายอยู่ในภาคอีสานใน ช่วงเวลาดังกล่าว

ปราสาททอง เป็นชือ่ ทีต่ งั้ ขึน้ โดยชุมชนท้องถิน่ เป็นชือ่ ทีส่ อดคล้องกับปราสาทแก้ว หรือปราสาทพระปืด ซึง่ ตัง้ อยู่ ปราสาททอง ได้รับการประกาศขึ้นทะเบียนโบราณ ในอีกหมู่บ้านใกล้ๆ กัน (ห่างกันประมาณ 6 กิโลเมตร) สถานแล้ว ปัจจุบนั ยังไม่ได้รบั การบูรณะ มีการนำ�ไม้มาคํา้ ยัน เสริ ม ความมั่ น คงไว้ ปราสาททองจั ด เป็ น ปราสาทที่ มี ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ขนาดเล็ก แต่มีสภาพที่ค่อนข้างสมบูรณ์ ได้รับการดูแล ปราสาททอง ประกอบด้วยปราสาทหลังเดียว ตั้งอยู่ รักษาทำ�ความสะอาดกำ�จัดวัชพืชอย่างสมํ่าเสมอ หาก บนเนินดินขนาดเล็ก ด้านหน้าหรือทางทิศตะวันออกมี พิจารณาเรือ่ งตำ�แหน่งทีต่ งั้ พบว่ามีปราสาททีต่ งั้ อยูใ่ กล้กนั สระนํ้าขนาดใหญ่ มีรายละเอียดดังนี้ คือปราสาทพระปืด และมีถนนเข้าถึงแหล่งได้โดยสะดวก ปราสาทประธาน ก่ออิฐถือปูน แผนผังเป็นรูปสีเ่ หลีย่ ม จัตรุ สั ขนาด 3.5 x 3.5 เมตร ส่วนเรือนธาตุ ลักษณะตันทึบ ตำ�แหน่งที่ตั้ง (ไม่สามารถเข้าไปภายในได้) ทำ�เป็นซุ้มจรนำ�ประดิษฐาน บ้านแสร์ออ ตำ�บลตากูก อำ�เภอเขวาสินรินทร์ จังหวัด พระพุทธรูปทั้งสี่ด้าน ส่วนหลังคาทำ�ซ้อนลดหลั่นกันขึ้น สุรินทร์ ไป 3 ชั้น ปราสาทตั้งอยู่บนฐานสูงซึ่งก่อเป็นเขื่อนอิฐถม ดิน แผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาด 14 x 14 เมตร การเดินทาง เนินดินตัง้ อยูท่ างด้านหน้าปราสาทประธาน สันนิษฐาน จากตัวเมืองสุรินทร์ ไปตามทางหลวงหมายเลข 214 ว่าอาจเป็นเนินโบราณสถาน ปัจจุบันมีการสร้างศาลเจ้าที่ (สุรินทร์-จอมพระ) เมื่อถึงช่วงหลักกิโลเมตรที่ 14-15 ให้ ซ้อนทับไว้ เลี้ยวขวาไปตามทาง สร.3036 (จะผ่านตัวอำ�เภอเขวา สระนํา้ ขนาดใหญ่ ตัง้ อยูท่ างด้านหน้า (ทิศตะวันออก) สินรินทร์) เป็นระยะทาง 8.5 กิโลเมตร จะถึงวัดปราสาททอง ห่างไปประมาณ 80 เมตร ซึ่งปราสาททองตั้งอยู่บริเวณเดียวกันกับวัด 46 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


Prasat Thong

Prasat Thong was named by villagers to relate Prasat Mueang Thi in Mueang District. Without decwith Prasat Keaw or Prasat Pra Puet (6 kilometers oration components normally found in Khmer prasat, it possibly constructed during late Ayutthaya-early distance from Prasat Thong) Bangkok periods with an impact of Khmer prasat and adjusted to a taller structure. The Prasat is one Architectural Construction Prasat Thong is a single prasat located on small of the evidences suggested Lan Chang influence in mound with large pond at the front or on the east. this region during 18th-19th centuries. Prasat Thong was registered as a national monThe construction details are cited as following; The main temple was construed with brick in ument but not yet renovated. It is a small and in square planning. The room structure was dense and almost perfect condition. The closet prasat is Prasat adorned with arches for position Buddha. The roof Phra Puet in nearby village. had three layers. The building was located on tall Location square foundation. Ban Saeo, Ta Thok Sub-district, Khwao Sinarin The mound was at the front of the main temple. At present, a guardian shrine is built atop the mound. Ditrict, Surin Province The large pond was positioned at the front (on To Go There the east). Take the route 214 (Surin-Chom Phra) for 14Archeological and Historical Signifi- 15 kilometers and turn left to road no.3036 (pass Khwao Sinarin District) for 8.5 kiometers to Wat cances of the Site Prasat Thong was a tall brick building resemble Prasat Thong and Prasat Thong. TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 47


ปราสาทพระปืด (ปราสาทแก้ว)

ปราสาทตัง้ อยูบ่ ริเวณวัด มีเสนาสนะและอาคารของวัด ตั้งอยู่รายรอบ บริเวณนี้เป็นเมืองโบราณที่มีคูนํ้าคันดิน ล้อมรอบเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดประมาณ 800 x 1,000 เมตร มีคูนํ้า 2 ชั้น คันดิน 3 ชั้น ซึ่งสูงกว่าพื้นที่ โดยรอบ ประวัติความเป็นมา ตำ�นาน ตำ�นานพระปืด เล่าว่า ชาวส่วย (กูย) คนหนึ่ง อาศัย อยู่ที่จอมพระ วันหนึ่งออกไปหาขุดมันในป่า และได้พลั้ง มือทำ�ร้ายกวางตัวหนึ่งซึ่งมีกระดิ่งทองห้อยคอจนบาดเจ็บ ทีข่ าข้างขวา ชาวส่วยนัน้ พร้อมกับพวกได้ตดิ ตามรอยเลือด กวางผ่านบ้านแสร์ออ บ้านฉันเพล บ้านเมืองที จนพลัด เข้าไปในปราสาทร้างกลางป่า ในนัน้ มีพระพุทธรูปองค์ใหญ่ ซึ่งมีรอยคราบเลือดที่พระชงฆ์ข้างขวา ชาวส่วยต่างตกใจ ร้องขึ้นว่า “พระปืด พระปืด” ซึ่งเป็นภาษาส่วย แปลว่า พระใหญ่ และคำ�ร้องนี้ก็ได้กลายเป็นชื่อของปราสาท และ หมู่บ้านมาจนทุกวันนี้ สำ�หรับชื่อเรียก ปราสาทแก้ว เกิดจากพระภิกษุรูป หนึ่งชื่อ พระปลง ได้มาสร้างวัดและเรียกวัดแห่งนี้ว่า วัด ปราสาทแก้ว ซึง่ สอดคล้องกับปราสาททอง บ้านแสร์ออ ที่ ตั้งอยู่อีกหมู่บ้านหนึ่งใกล้ๆ กัน 48 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์

ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ปราสาทพระปืด ประกอบด้วยปราสาทประธานก่ออิฐ สอปูน ตั้งอยู่บนฐานอิฐรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งถูกปรับปรุง ให้เป็นวิหาร (หรืออุโบสถ) ในสมัยหลัง นอกจากนี้ยังพบ ซากโบราณสถานก่อด้วยศิลาแลง ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวัน ออกเฉียงใต้ มีรายละเอียดดังนี้ ปราสาทประธาน ก่ออิฐสอปูนแผนผังเป็นรูปสีเ่ หลีย่ ม จั ตุ รั ส ย่ อ มุ ม ทางด้ า นทิ ศ ตะวั น ออกก่ อ เป็ น ซุ้ ม ภายใน ประดิษฐานพระพุทธรูปนามว่า หลวงพ่อพระปืด ประสาท ประธานตั้งอยู่บนฐาน ชิดเข้าไปทางด้านในหรือทางทิศ ตะวันตก ฐานนี้ก่ออิฐแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ที่มี ศิลาแลงประกอบอยู่ที่ฐานล่าง มีบันไดอยู่ทางด้านหน้า (ทิศตะวันออก) 2 ทาง และมีหลังคาสังกะสีคลุม ผนังทัง้ สี่ ด้านเป็นไม้ระแนงแนวตัง้ เจ้าอาวาสวัดเล่าว่า บริเวณรอบๆ เคยมีศิลาแลงปักอยู่ใช้เป็นพัทธสีมา (ลูกนิมิต) ปัจจุบัน เหลือหลักฐานที่มุมด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ซากโบราณสถานก่อด้วยศิลาแลง แผนผังเป็นรูป สี่เหลี่ยมจัตุรัส ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ของ ปราสาทประธาน พบใบเสมาศิ ล าแลงตั้ ง อยู่ บ นฐานนี้ ปัจจุบันบนซากโบราณสถานนี้มีการนำ�ปูนซีเมนต์มาโบก ทับ แล้วสร้างเป็นรูปปั้น “ท่านเจ้าปู่คฤห์” ตามความเชื่อ ของท้องถิ่น และสร้างอาคารโถงมีหลังคาคลุมไว้ หลักฐานทางโบราณคดีที่พบ ปราสาทพระปืด ตัง้ อยูภ่ ายในเมืองโบราณทีม่ คี นู า้ํ คันดิน ล้อมรอบเป็นรูปสี่เหลี่ยม ในปี พ.ศ.2546 ชาวบ้านได้ ขุดพบโครงกระดูกมนุษย์ ฝังร่วมกับภาชนะดินเผา เครือ่ ง มือเหล็ก และเครือ่ งสำ�ริดสมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ยคุ เหล็ก อายุราว 2,500-1,500 ปีมาแล้ว ภายในบริเวณเมืองโบราณแห่งนี้ ได้พบเศษภาชนะ ดินเผาทัง้ แบบเนือ้ ดินธรรมดาสีขาว (แบบทุง่ กุลา) ภาชนะ ดินเผาเนื้อแกร่ง เคลือบสีนํ้าตาล (แบบเครื่องถ้วยลพบุรี) เครือ่ งมือเหล็ก ประติมากรรมสำ�ริด ได้แก่ ประติมากรรม


สำ�ริดรูปสตรียืนถือดอกบัวทั้งสองพระหัตถ์ สังข์สำ�ริด ปัจจุบันจัดแสดง ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุรินทร์ สำ � หรั บ โบราณวั ต ถุ ที่ แ สดงถึ ง ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ใน วัฒนธรรมแบบล้านช้างคือ พระพุทธรูป “พระปืด” ศิลา ทรายสีแดง ขัดสมาธิเพชร (พระเศียรปั้นต่อใหม่) และ พระพุทธรูป “พระเสี่ยงทาย” ขัดสมาธิราบ พระเศียรทรง เทริด รัศมีรูปกลีบบัวหงาย ความสำ�คัญของแหล่งทางประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี พื้นที่บริเวณปราสาทพระปืดมีหลักฐานการอยู่อาศัย มาแล้วตัง้ แต่สมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ตอนปลาย ดังปรากฏ หลักฐานโครงกระดูกมนุษย์และเครื่องมือเครื่องใช้สมัย ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ ต่อมาได้ก ลายเป็นศูนย์ก ลางของ ชุมชนในวัฒนธรรมขอม มีการสร้างปราสาทพระปืดเป็น ปราสาทขอม ในราวพุทธศตวรรษที่ 16-18 และต่อมาได้ มีการซ่อมแซมดัดแปลงปราสาทขอมให้เป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธรูปสร้างอาคารมีหลังคาคลุม ในสมัยอยุธยาตอน ปลาย-ต้นรัตนโกสินทร์ ราวพุทธศตวรรษที่ 23-24 หรือ ทีม่ กั เรียกกันว่า วัฒนธรรมแบบล้านช้าง จนกระทัง่ ปัจจุบนั ทางวัดและชุมชนยังคงใช้ประโยชน์ของปราสาทพระปืด เป็นอุโบสถสำ�หรับประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ตำ�แหน่งที่ตั้ง บ้านพระปืด ตำ�บลบ้านแร่ อำ�เภอเขวาสินรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ การเดินทาง จากตัวเมืองสุรินทร์ ไปตามทางหลวงหมายเลข 214 (สุรินทร์-จอมพระ) เมื่อถึงบ้านนาเกา ช่วงหลักกิโลเมตร ที่ 9 ให้เลี้ยวขวาตรงเข้าไปอีกประมาณ 7 กิโลเมตร เมื่อ พบแนวคูนํ้าคันดินบ้านพระปืด ให้เลี้ยวซ้ายเข้าไป มีป้าย บอกทางเป็นระยะไปจนถึงวัดปราสาทแก้วและปราสาท พระปืดอยู่ในบริเวณเดียวกันกับวัด

Prasat Phra Puet (Prasat Keaw)

Its location is in Wat Prasat Keaw surrounding with the temple buildings. The area was once an ancient city in rectangle planning surrounded with moats and mounds. which is higher than the surrounding area. The Legend and History Upon the legend, a Kuay, who lived in Chaom Phra, went to the woods for gathering foods and accidently injured a deer wearing a necklace with golden bell at the right feet. He and his friends tracked down the blood and got deeper into the forest where they found a deserted prasat. At the prasat, there was a gigantic Buddha with blood at the right shin. The Kuay were frightened and cried out “Phra Puet, Phra Puet” which meant “large Buddha.” Their words then became the name of prasat and village afterward. The name “Prasat Keaw” also had the legend. A Buddhist monk named Phra Plong constructed the temple called Wat Prasat Keaw, a name related to

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 49


human skeletons, earthenware, iron and bronze objects, dated Prehistoric era in Metal Age about 2,500-1,500 years ago, were found by villagers. Portions of earthenware both in Tung Kula and Lopburi art styles, iron tools, bronze tools and statues were discovered in this area and preserved at the temple. Bronze sculpture of a female holding lotus, conch and pedestal are currently displayed at Surin National Museum. Evidences of Lan Chang culture found in this area are red sandstone Buddha in meditation “Phra Puet” and “Phra Sieng Thai”-Buddha in meditation with lotus radiance. Prasat Thong which located in the nearby village.

Archeological and Historical Significances of the Site Evidences of late prehistoric human settlements were discovered in this area including human skeletons and prehistoric tools. Later on, the communities under Khmer influence were established. Prasat Phra Puet was built during 11th-13th centuries as a Khmer prasat. During late Ayutthaya-early Bangkok periods (18th-19th centuries), the Prasat was under reconstruction and turned to ubosot for position of Buddha in Lan Chang culture. Recently, the villagers still use ubosot at Prasat Phra Puet for religious performances.

Architectural Construction Prasat Phra Puet contains of the main temple constructed with bricks on rectangle foundation, in which, reconstructed as vihara (or ubosot) afterward. Remains of laterite architecture were also discovered on the southeast. The construction details are cited as following; The main temple was constructed with bricks in square planning. The chamber was built on the east to position the Buddha named Luang Pho Phra Puet. The foundation was constructed with bricks and laterite in rectangle planning with stairs on the east. Remaining laterite architecture was in square Location Ban Phra Puet, Ban Rae Sub-district, Khwao layout, located on the southeast of the main temSinarin Ditrict, Surin Province ple. Laterite boundary stone was discovered on the foundation. At present, the statue of “Than Chao Phu Kheu” is positioned in this area covered with roof. To Go There Take the route 214 (Surin-Chom Phra) for 9 kilometers to Ban Na Kao, turn right for 7 kilometers Archeological Evidences Prasat Phra Puet is located inside an ancient to Ban Phra Puet. Turn left to Wat Prasat Keaw and city surrounding with moats and mounds. In 2003, Prasat Phra Puet. 50 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


ปราสาทศีขรภูมิ

ปราสาทศีขรภูมิ มีลกั ษณะเป็นปรางค์หมู่ 5 องค์ เป็น ปราสาทก่ออิฐไม่สอปูน ตั้งอยู่บนฐานศิลาแลงเดียวกัน โดยตัวฐานก่อด้วยศิลาแลงกว้าง 25 เมตร ยาว 26 เมตร สูง 1.5 เมตร โดยมีคูนํ้ากว้าง 125 เมตร ล้อมรอบสาม ด้าน โดยเว้นด้านตะวันออกอันเป็นทางเข้าไว้ ปรางค์ประธานสูงประมาณ 32 เมตร ทับหลังเป็น ภาพพระศิวนาฏราชสิบกร ทรงฟ้อนรำ�อยู่เหนือเกียรติมุข ภายใต้วงโค้งลายท่อนมาลัย ซึ่งสลักเป็นภาพพระคเณศ พระพรหม พระวิษณุ และพระอุมา โดยทับหลังชิ้นนี้นับ เป็นทับหลังทีม่ คี วามสวยงามและสมบูรณ์ทสี่ ดุ ชิน้ หนึง่ ของ เมืองไทย บริเวณเสากรอบประตูสลักเป็นรูปนางอัปสรา ถือดอกบัว และทวารบาลยืนกุมกระบอง ซึ่งนางอัปสราที่ ปราสาทศีขรภูมนิ มี้ ลี กั ษณะคล้ายกับนางอัปสราทีป่ ราสาท

นครวัด ประเทศกัมพูชา ซึ่งไม่พบที่ปราสาทศิลปะเขมร โบราณแห่งใดอีกเลยในประเทศไทย พบทีป่ ราสาทศีขรภูมิ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น นอกจากลวดลายสลักเสลาของ ทับหลังและเสาที่สวยงามแล้ว เครื่องประดับจำ�พวกกลีบ ขนุนก็สวยงามไม่แพ้กัน และสิ่งหนึ่งที่อยากให้สังเกตคือ อิฐแต่ละก้อนนั้นนอกจากมีขนาดไม่เท่ากันยังประสาน กันเป็นเนื้อเดียวอีกด้วย นี่คือความอัจฉริยะของช่างสมัย โบราณโดยแท้ จากลักษณะทางศิลปกรรม สันนิษฐานว่าปราสาท ศีขรภูมิน่าจะสร้างราวพุทธศตวรรษที่ 17 เป็นศาสนสถาน ในลัทธิไศวนิกาย และในพุทธศตวรรษที่ 22 มีการบูรณะ เพิ่มเติมที่องค์ปราสาทแถวหลังฝั่งทิศใต้ เป็นแบบศิลปะ ล้านช้าง และยังมีจารึกอักษรธรรมปรากฏอยู่ ณ ปราสาท

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 51


หลังนี้ ปราสาทศีขรภูมิถือเป็นสัญลักษณ์ของอำ�เภอศีขรภูมิ และจังหวัดสุรนิ ทร์ โดยตราประจำ�จังหวัดสุรนิ ทร์นนั้ จะเป็น รูปพระอินทร์ทรงช้างอยู่ด้านหน้าปราสาทศีขรภูมิ ในช่วงเดือนพฤศจิกายนของทุกปีชาวอำ�เภอศีขรภูมิ ยังคงสืบสานประเพณีการฉลองปราสาทศีขรภูมิมาอย่าง ต่อเนื่อง โดยปรับเปลี่ยนรูปแบบให้ทันสมัยยิ่งขึ้น บางปีมี การแสดงแสง สี เสียงประกอบ โดยใช้ชื่องานว่า “สืบสาน ตำ�นานพันปีปราสาทศีขรภูมิ” ที่ตั้ง ตั้งอยู่ที่ตำ�บลระแงง ห่างจากตัวเมืองสุรินทร์ 34 กิโลเมตร การเดินทาง ใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 226 เส้นทางสายสุรินทร์ศีรขรภูมิ บริเวณหลักกิโลเมตรที่ 34-35 แล้วแยกซ้าย เข้าไปประมาณ 500 เมตร จึงจะถึงบริเวณองค์ปราสาท โดยอยู่ห่างจากที่ว่าการอำ�เภอไปอีก 1 กิโลเมตร 52 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 53


Prasat Sikhoraphum

Prasat Sikhoraphum is a group of five prasat constructed with brick on laterite foundation surrounding with moats except the eastern side-the entrance. The main temple was decorated with lintel-depicted scene of ten-armed Shiva dancing atop garland arch in which a location of Ganesha, Brahma, Vishnu and Parvati-one of Thailand’s the most beautiful lintels ever found in perfect condition. The colonnettes adorned with carving Apsara holding lotus blossoms and door guardians holding clubs. Apsara found at Prasat Sikhoraphum had a resemblance to those of Angkor Wat in Cambodia, a distinctive characteristic never found in any Khmer prasat in Thailand. In addition to splendid lintel and colonnettes, the Prasat also have elegant architectural adornments. Each brick is not in the same size but cleverly connected, in which, hinted the proficiency of ancient artisans. According to artistic style, Prasat Sikhoraphum was possibly constructed during 12th century as a 54 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์

Shaivite monastery. In 17th century, the southern prasat was reconstructed in Lan Chang art style with Dharma inscriptions in which survived until the present. Prasat Sikhoraphum is a symbol of Sikhoraphum District and Surin Province. The provincial seal is an image of Indra atop his celestial white elephant in front of Prasat Sikhoraphum. Prasat Sikhoraphum Celebration still annually performed in November with a modern adjustment including light and sound performances. Location Ra Ngaeng Sub-district, 34 kilometers from Surin municipal To Go There Take the route 226 (Surin-Sikhoraphum) for 34-35 kilometers and turn left for 500 meters to Prasat Sikhoraphum.


TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 55


ปราสาทช่างปี่ และประชาชนในท้องถิ่นร่วมกันจัดขึ้น ณ บริเวณปราสาท ช่างปี่ เพื่อเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวในจังหวัดสุรินทร์ อนุ รั ก ษ์ ศิ ล ปวั ฒ นธรรมประเพณี อั น ดี ง ามของท้ อ งถิ่ น ให้คงอยู่สืบไป และส่งเสริมให้ปราสาทช่างปี่เป็นแหล่ง ศึกษาหาความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมโบราณ ในงานได้มี การจัดขบวนแห่พระโพธิสตั ว์ครุ ไุ วทูรย์ประภา ซึง่ เป็นพระ ที่ประดิษฐานอยู่ที่ปราสาทช่างปี่ ที่ประชาชนในพื้นที่ให้ ความเคารพนับถือ ที่ตั้ง ปราสาทช่างปี่ ตั้งอยู่ที่หมู่ 1 บ้านช่างปี่ ตำ�บลช่างปี่ อำ�เภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ ห่างจากที่ว่าการอำ�เภอ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ทางถนนสายสุรินทร์-ศีขรภูมิ ระยะทางประมาณ 12 กิโลเมตร ปราสาทช่างปี่ เป็นศาสนสถานในศาสนาพุทธลัทธิ มหายาน ก่อด้วยศิลาแลง และหินทราย มีแผนผังเป็น รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ตั้งหันหน้าไปทางทิศตะวันออก มีอายุ ในราวพุทธศตวรรษที่ 18 ประกอบด้วยสิ่งก่อสร้าง คือ ปราสาทประธาน วิหารกำ�แพงแก้ว ซุ้มประตู สระนํ้า โบราณสถานแห่ ง นี้ เ ป็ น อโรคยศาล หรื อ ศาสนสถาน พยาบาลแห่งหนึ่งในจำ�นวน 102 แห่ง ที่พระเจ้าชัยวรมัน ที่ 7 (พ.ศ.1724 - ราว พ.ศ.1763) แห่งอาณาจักรขอม โปรดให้สร้างขึ้นทั่วราชอาณาจักร ตามความที่ปรากฏใน จารึกปราสาทตาพรหม ประเทศกัมพูชา พิธสี บื สานตำ�นาน องค์ปราสาทช่างปี่ (เจียงเป็ย) ตัง้ แต่ปี 2553 กรมศิลปากรได้ท�ำ การบูรณะปราสาท ช่างปี่ พบโบราณวัตถุจ�ำ นวนมาก ส่วนหนึง่ นำ�ไปเก็บรักษา ไว้ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสุรินทร์ อีกส่วนหนึ่งเก็บ รักษาไว้ที่วัดบ้านช่างปี่ ปั จ จุ บั น ได้ มี ก ารจั ด งานประเพณี สื บ สานตำ � นาน ปราสาทช่างปี่ อำ�เภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ ซึ่งเป็นงาน ประเพณีที่จัดอย่างยิ่งใหญ่โดยองค์การบริหารส่วนจังหวัด สุรินทร์ ร่วมกับองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นตำ�บลช่างปี่ 56 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์

การเดินทาง ออกจากสุรินทร์ไปทางเส้นทางสาย 226 (สุรินทร์ศรีสะเกษ) เมื่อเข้าเขตอำ�เภอศีขรภูมิ ประมาณกิโลเมตร ที่ 19 มองทางขวามือจะมีป้ายบอกทาง เข้าไปเรื่อยๆ จะมีปา้ ยบอกทางตลอด เมือ่ ผ่านหมูบ่ า้ นช่างปี่ และวัดช่างปี่ ทางขวามือจะเห็นทุ่งนาและปราสาทตั้งอยู่


Prasat Chang Pi

Prasat Chang Pi was a Mahayana Buddhist monastery, constructed with laterite and sandstone in square planning face east, ca 13th century. The Prasat, consists of main temple, vihara, gallery, Gopura arch and water pond, was served at arokayasala or hospital-one of 102 built throughout Khmer empire under the command of King Jayavarman VII (1181-1220) -as cited in Cambodia’s Prasat Ta Prohm Inscription regarding ceremonies hold at Prasat Chang Pi. In 2010, Fine Arts Department renovated Prasat Chang Pi and discovered some artifacts which reserved at Surin National Museum and Wat Ban Chang Pi. At present, the ceremonial celebration of Prasat Chang Pi is performed annually by the corporation between Surin Provincial Administrative Organization, Chang Pi Sub-district Administrative Organization and

villagers for promoting the site as a tourist attraction and providing cultural learning opportunity. The ceremonies include procession of Phra Phaisatkuru Buddha, the Buddha positioned at Prasat Chang Pi, and merit makings. Location Mu 1 Ban Chang Pi, Chang Pi Sub-district, Sikhoraphum District, Surin Province, 12 kilometers from the southwestern of District Office on Surin-Sikhoraphum Road. To Go There Take the route 226 (Surin-Sisaket) to Sikhoraphum District for 19 kilometers and watch for the signage on the right. You will pass Ban Chang Pi and Wat Chang Pi and find Prasat in the field on the right.

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 57


ปราสาทอานาร์ หลักฐานทางโบราณคดีที่พบ พบทับหลังศิลาทราย 1 ชิ้น ตั้งอยู่ที่พื้นฐานปราสาท ด้านทิศตะวันออก สลักภาพพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณใน ซุ้มเรือนแก้วเหนือหน้ากาล สองข้างหน้ากาลเป็นรูปสิงห์ คายท่อนพวงมาลัย เหนือท่อนพวงมาลัยเป็นลายใบไม้ตั้ง ขึน้ ชีอ้ อกจากจุดศูนย์กลาง ใต้ท้ อ่ นพวงมาลัยเป็นลายใบไม้ ม้วนห้อยลงมา เป็นศิลปะขอมแบบบาปวน อายุราวพุทธ พุทธศตวรรรษที่ 16-17 ที่ตั้ง วัดโพธิญาณ หมู่ 2 บ้านอนันต์ ตำ�บลยาง อำ�เภอ ศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ การเดินทาง จากตัวเมืองสุรินทร์ ไปตามทางหลวงหมายเลข 226 (สุรินทร์-ศีขรภูมิ-สำ�โรงทาบ) ผ่านตัวอำ�เภอศีขรภูมิ ไป ทางอำ�เภอสำ�โรงทาบ เป็นระยะทาง 5 กิโลเมตร เมื่อถึง บ้านอนันต์วัดโพธิญาณจะอยู่ทางด้านซ้ายมือ ซึ่งปราสาท ตั้งอยู่บริเวณเดียวกับวัด

ปราสาทอานาร์หรือปราสาทบ้านอนันต์ ที่ตั้งของ ปราสาทมีลกั ษณะเป็นเนินดินสูงกว่าพืน้ ทีโ่ ดยรอบเล็กน้อย เป็นปราสาทหลังเดียวขนาดเล็ก ปราสาทก่อด้วยอิฐไม่ สอปูน แผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุม ตั้งอยู่บนฐาน ศิลาแลงรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ส่วนเรือนธาตุมีประตูทางเข้า ด้านทิศตะวันออก ส่วนอีก 3 ด้านเป็นประตูหลอก ภายใน ปราสาทประธานมีการต่อเติมเป็นแท่นฐานประดิษฐาน พระพุทธรูป ปราสาทอานาร์เป็นศาสนสถานประจำ�ชุมชน ที่สร้างขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 16-17 58 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


Ar Na Khmer Ruins

Ar Na Khmer Ruins or Ban Anant Khmer Ruins is located on the mound a little higher that surrounding areas. This is a small standalone brick stupa with no mortar. The layout is a square with indented corners on top of a square laterite base. The main structure has a door in the east side with 3 false doors in 3 other sides. Inside the main stupa is an extension of the base of the foundation of Buddha Image. Ar Na Khmer Ruins is a place of worship of the community built in 16-17 BE.

Above these rosary pieces are the pattern of standing leaves pointing out from the center. Under the rosary pieces are the pattern of folding leaves hanging down. This is Bayon Khmer art in 16-17 BE. Location Bhodhiyan temple, Mu 2, Ban Anant, Sikhoraphum District, Surin Province

To Go There From Surin city on highway 226 (Surin-Sikho Architectural Evidence raphum-Samrongtab) passing Srikaraphoom district to There is a sandstone lintel on the floor of the Samrongtab District for 5 kilometers When reach. temple in the east. It was crafted in Indra on Ban Anant, the Bhothiyan temple is on your left and Erawan elephant in the Ruankaew arch above the this Khmer Ruins is in the same area. Nakal of which both sides are the image of Singha (lion) spitting out rosary pieces. TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 59


ปราสาทบ้านโคกปราสาท หรือปราสาทหมื่นศรีน้อย

ตัง้ อยูท่ หี่ มู่ 2 บ้านหมืน่ ศรีกลาง ตำ�บลหมืน่ ศรี อำ�เภอ สำ�โรงทาบ จังหวัดสุรินทร์ มีชื่ออื่นอีกที่คนทั่วไปเรียกขาน คือ พระธาตุหมื่นศรี, พระธาตุป่าเวย เป็นโบราณสถาน ที่ประกอบด้วยซากอาคารของวิหาร หรือโบสถ์ และเจดีย์ ธาตุก่อด้วยอิฐฉาบ ปูน และมีเครื่องไม้ประกอบบางส่วน มีสภาพชำ�รุด พังทลาย มีการขุดแต่ง บูรณะและคํ้ายัน เมื่อปี 2530 ลักษณะของรูปทรงการก่อสร้าง เชื่อว่าได้ รับอิทธิพลของศิลปะหรือลักษณะทางสถาปัตยกรรมของ ขอม พิจารณาจากส่วนที่เหลืออยู่ สันนิษฐานว่าก่อสร้าง ในสมัยอยุธยาตอนปลาย 60 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์

ตั้งอยู่ที่ หมู่ 2 บ้านหมื่นศรีกลาง ตำ�บลหมื่นศรี อำ�เภอ สำ�โรงทาบ จังหวัดสุรินทร์ การเดินทาง จากตัวเมืองสุรินทร์ไปตามทางหลวงหมายเลข 226 (สุรินทร์-ศีขรภูมิ-สำ�โรงทาบ) เป็นระยะทาง 51 กิโลเมตร เมื่อถึงบ้านหมื่นศรีน้อยให้เลี้ยวขวา ผ่านหมู่บ้านหมื่นศรี ใหญ่ ให้เลี้ยวขวาไปอีก 5 กิโลเมตร


Prasat Ban Khok Prasat or Prasat Mon Sri Noi

Located at Mu 2 Ban Muen Si Klang, Muen Si Sub-district, Samrong Thap District, Surin Province. The other names called by villagers are Phra That Muen Si and Phra That Pa Wei. The site contains the remaining of vihara or ubosot and chedi, constructed with brick and plaster along with wooden structures. The reconstruction during 1987 suggested the Khmer influence and date of late Ayutthaya period. Location Mu 2 Ban Muen Si Klang, Muen Si Sub-district,

Samrong Thap District, Surin Province. To Go There From Surin city on highway 226 (Surin-Sikho raphum-Samrongtab) passing Srikaraphoom district to Samrong Thap District for 51 kilometers When reach. Ban Muen Si Noi is on your right through the village Ban Muen Si Yai, on your right to Prasat Muen Si Noi District for 5 kilometers.

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 61


ปราสาทตระเปียงเตีย หรือปราสาทตะเปียงเตีย

ตั้งอยู่ที่บ้านหนองเกาะ ตำ�บลตะเปียงเตีย อำ�เภอ ลำ�ดวน จังหวัดสุรินทร์ มีลักษณะเป็นปรางค์ก่อด้วยอิฐ หันหน้าไปทางทิศตะวันออก มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยม จัตุรัสซ้อนกัน 4 ชั้น ส่วนยอดทำ�เป็นรูปดอกบัวตูม เมื่อ พิจารณาจากลักษณะสถาปัตยกรรม พบว่าเป็นแบบลาว ร่วมสมัยกับอยุธยาตอนปลาย หรือรัตนโกสินทร์ตอนต้น ตระเปียงเตีย เป็นภาษาเขมรท้องถิ่น คำ�ว่า “ตระ เปียง” แปลงว่าบ่อ สระ หนอง หรือหลุมที่มนุษย์ขุด ขึ้น หรืออาจจะหมายถึงบารายที่ปราสาทขอมทุกแห่งมัก จะมี หรืออาจจะเป็นแหล่งนํ้าที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ส่วนคำ�ว่า “เตีย” หมายถึง เป็ด แปลรวมกันได้ความว่า ตระเปียงเตีย แปลว่า หนองเป็ด ซึ่งเป็นไปได้ว่าในอดีต 62 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์

มีนกเป็ดนํ้าอพยพย้ายถิ่นมาอาศัยอยู่ในบริเวณดังกล่าว ก็เป็นได้ ที่ตั้ง ตั้งอยู่หมู่ 3 บ้านยะสุข ตำ�บลตระเปียงเตีย อำ�เภอ ลำ�ดวน ภายในบริเวณวัดปราสาทเทพนิมติ ร หลักกิโลเมตรที่ 33-34 การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข 2077 แยกเข้าทางลาดยางอีก 7 กิโลเมตร


Prasat Trapeang Tia or Prasat Tapeang Tia

Its location is in Bang Nong Kao, Trapeang Tia Sub-district, Lamduan District, Surin Province. The building was a prang constructed with brick face east, having four layers of square foundation and lotus upper part. Its architectural components suggested Laos influence in late Ayutthaya or early Bangkok periods. Trapeang Tia is local Khmer language. The meaning of “Trapeang” is a man-made pond or barai (water reservoir) normally found at Khmer prasat

or natural water source, and “Tia” is ducks. Thus, Trapeang Tia means a pond of ducks, possibly, may refer to the area once full of migrated teals. Location Mu 3 Ban Ya Suk, Trapeang Tia Sub-district, Lamduan District, in Wat Prasat Thep Nimit TO Go There Take the road no.2077 for 7 kilometers

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 63


ปราสาทตระเปียงบัลลังก์ (ปราสาทบ้านกระดูก/กระดวด)

ปราสาทตระเปียงบัลลังก์ ตัง้ อยูห่ มู่ 8 บ้านตระเปียงกู​ู ตำ�บลลำ�ดวน อำ�เภอลำ�ดวน จังหวัดสุรินทร์ ปราสาทตระ เปียงบัลลังก์มีสภาพถูกขุดรื้อทำ�ลาย ลักษณะเป็นเนินดิน มีตน้ ไม้ปกคลุมมีรอ่ งรอยคูนาํ้ ล้อมรอบบางส่วน ถัดไปเป็น ทุ่งนา สาเหตุที่เรียกว่าตระเปียงบัลลังก์เนื่องจากบริเวณนี้ มีสระนาํ้ ซึง่ ภาษาเขมรท้องถิน่ สุรนิ ทร์เรียกสระนํา้ ว่า ตระ เปียง และมีแท่นฐานประติมากรรมศิลาทรายซึง่ มีลกั ษณะ เป็นแท่น ชาวบ้านเรียกว่า บัลลังก์ เป็นหลักฐานที่แสดง อิทธิพลวัฒนธรรมขอมในดินแดนแถบนี้ 64 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์

หลักฐานทางโบราณคดีที่พบ แท่นประติมากรรมศิลาทราย ตั้งอยู่บนเนินดิน การเดินทาง จากตัวเมืองสุรินทร์ ไปตามทาง สร.2077 เมื่อถึง กิโลเมตร 25 ให้เลี้ยวขวา ผ่านบ้านลำ�ดวน พบสี่แยกให้ เลี้ยวขวาผ่านบ้านโคกกระดวด ตรงไปตามทางดินลูกรัง ปราสาทตระเปียงบัลลังก์อยู่ด้านซ้ายมือ


Prasat Trapeang Banlang (Prasat Ban-Kradook/Kraduad)

Prasat Trapeang Banlang is located at Mu 8 Ban Trapeang-goo, Lamduan Sub-district, Lamduan District, Surin Province. Prasat Trapeang Banlang is exposed, molehill, tree-covered, trace of surrounded by ditches, and fields nearby. The reason why we called Trapeang Banlang is there is pond, which is a local Surin-Cambodian language called it as Trapeang. And there is the sandstone sculpture platform, which the villagers called Banlang, that shows the influence of Khmer surround here.

Archaeological evidence The sandstone sculpture platform on a molehill. To Go There From Surin city, take highway SR 2077. When you get the 25 kilometre marker, turn right. Pass through Ban-Lamduan, there will be an intersection, then turn right pass through Ban-Khokkraduad. Go straight along a dirt road. Prasat Trapeang Banlang is on your left hand side.

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 65


เจดีย์บ้านลำ�ดวน

เจดีย์ลำ�ดวน หรือปราสาทยายแกรม เป็นปราสาท ขนาดเล็กก่ออิฐถือปูน และจากการที่ไม่ปรากฏร่องรอย หลั ก ฐานชิ้ น ส่ ว นเครื่ อ งประกอบสถาปั ต ยกรรมตาม แบบปราสาทขอมโดยทั่วไป ทำ�ให้สันนิษฐานได้ว่าอาจ เป็ น ปราสาทที่ ส ร้ า งขึ้ น ในสมั ย อยุ ธ ยาตอนปลาย-ต้ น รัตนโกสินทร์ราวพุทธศตวรรษที่ 23-24 โดยอาจได้รบั แรง บันดาลใจจากรูปทรงของปราสาทขอมแต่มกี ารปรับเปลีย่ น ลักษณะทางสถาปัตยกรรม เจดีย์บ้านลำ�ดวนหรือปราสาทยายแกรม เป็นเจดีย์ รูปทรงให้สูงเพรียวขึ้น เจดีย์บ้านลำ�ดวนจึงเป็นร่องรอย หรือปราสาทหลังเดียวขนาดเล็กก่อด้วยอิฐสอดิน ฐานเป็น หลักฐานที่แสดงถึงการตั้งถิ่นฐานของชุมชนในวัฒนธรรม รูปสี่ีเหลี่ยมจัตุรัส ขนาด 1.20 x 1.20 เมตร แล้วสอบขึ้น ล้านช้าง ซึง่ แพร่หลายอยูใ่ นภาคอีสานในช่วงเวลาดังกล่าว ไปสู่ส่วนยอด ปัจจุบันมีความสูงประมาณ 2 เมตร พื้นที่ โดยรอบไม่ปรากฏร่องรอยของกำ�แพงหรือคูนํ้าล้อมรอบ ตำ�แหน่งที่ตั้ง โรงเรียนอนุบาลบ้านลำ�ดวน หมู่ 1 บ้านลำ�ดวน ตำ�บล ลำ�ดวน อำ�เภอลำ�ดวน จังหวัดสุรินทร์ หลักฐานทางโบราณคดีที่พบ บริเวณโดยรอบซึ่งเป็นชุมชนโบราณ พบเศษภาชนะ ดินเผาเนื้อดินธรรมดา และภาชนะดินเผาเนื้อแกร่ง เผา การเดินทาง จากตัวเมืองสุรินทร์ ไปตามทาง สร.2077 สาย ด้วยอุณหภูมิสูง และเครื่องเคลือบสีนํ้าตาลแบบเครื่อง สุรินทร์-ลำ�ดวน เมื่อถึงกิโลเมตรที่ 25-26 พบสี่แยกไฟ ถ้วยลพบุรี จราจร ให้เลี้ยวขวาไปตามทาง สร.2288 ประมาณ 100 ความสำ�คัญของแหล่งทางประวัตศิ าสตร์โบราณ- เมตร ทางด้านซ้ายมือเป็นที่ตั้งของโรงเรียนอนุบาลบ้าน ลำ�ดวน หรือสุรพิน วิทยานุสรณ์ คดี ตั้งอยู่โรงเรียนบ้านลำ�ดวน ตำ�บลลำ�ดวน อำ�เภอ ลำ�ดวน จังหวัดสุรนิ ทร์ ปัจจุบนั เรียกว่าปราสาทยายแกรม เป็นสถาปัตยกรรมสมัยอยุธยา มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 23 ก่อด้วยอิฐสอดิน แผนผังเจดีย์เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส กว้าง 1.20 เมตร ยาว 1.20 เมตร สูงประมาณ 2 เมตร

66 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


Ban Lamduan Chedi

Its location is in Ban Lamduan Elementary School, Lamduan Sub-district, Lamduan District, Surin Province. At present, it is called Prasat Yai Kram. The Chedi is dated Ayutthaya period, ca 18th century, constructed with brick and clay in square planning.

small brick prasat. Without evidence of architectural components commonly found in Khmer prasat, it was possibly constructed during late Ayutthaya-early Bangkok periods (18th-19th centuries) having an inspiration from Khmer prasat with additional structure adjustment. Ban Lamduan Chedi is one Architectural Construction of the evidences suggested Lan Chang influences Ban Lamduan Chedi or Prasat Yai Kram is a in this region. small chedi or prasat constructed with brick and clay in square planning without evidence of wall or Location surrounding moat. Ban Lamduan Elementary School, Mu 1 Ban Lamduan, Lamduan Sub-district, Lamduan District, Archeological Evidences Surin Province Fragments of earthenware and Lopburi pottery were discovered in the nearby area once were the To Go There ancient communities. Take the road no.2077 (Surin-Lamduan) for 2526 kilometers. Turn right at the intersection to road Archeological and Historical Signifi- no.2288 for 100 meters. Ban Lamduan Elementary cances of the Site School is on the left. Ban Lamduan Chedi or Prasat Yai Kram is a TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 67


1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

ปราสาททนง/Prasat Thanong ปราสาทบ้านไพล/Prasat Ban Plai ปราสาทอังกัญโพธิ์/Prasat Ang Kan Pho ปราสาทบ้านปราสาท/Prasat Ban Prasat ปราสาทมีชัย/Prasat Mechai ปราสาทสังข์ศิลป์ชัย/Prasat Sang Silp Chai ปราสาทยายเหงา/Prasat Yai Ngao ปราสาทตามอญ/Prasat Ta Morn ปราสาทภูมิโปน/Prasat Phum Pon พระพุทธบาทเขาศาลา/Kao Sala Buddha’s Footprint ปราสาทเบง/Prasat Beng ปราสาทเซ็ม/Prasat Sem ปราสาทหมอนเจริญ/Prasat Morn Charoen ปราสาทบ้านพลวง/Prasat Ban Plaung ปราสาทตาเมือนธม/Prasat Ta Muen Tom ปราสาทตาเมือนโต๊จ/Prasat Ta Muen Tot ปราสาทตาควาย/Prasat Ta Kwai ปราสาทตาเมือน/Prasat Ta Muan

2 4 1

3

14 13 11 12 16

18

15 17

68 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


7

5

6

8

9 10

แผนที่สุรินทร์ตอนใต้ TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 69


ปราสาทตามอญ

ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ปราสาทตามอญ ประกอบด้วยปราสาทหลังเดียว พื้นที่โดยรอบไม่ปรากฏร่องรอยของกำ�แพงหรือคูนํ้าล้อม รอบ มีรายละเอียดดังนี้ ปราสาทประธานก่ออิฐ แผนผังเป็นรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ขนาด 2.65 x 2.65 เมตร มีประตูทางเข้าด้านทิศตะวัน ออก ส่วนผนังอีก 3 ด้านก่อทึบกรอบประตูสลักลวดลาย บนอิฐ ส่วนหลังคาทำ�เป็นชัน้ ๆ ซ้อนลดหลัน่ กันขึน้ ไป 3 ชัน้

อีสานในช่วงเวลาดังกล่าว

ศั ก ยภาพทางด้ า นการพั ฒ นาเป็ น แหล่ ง ท่ อ ง เที่ยว ปราสาทตามอญ ได้ รั บ การประกาศขึ้ น ทะเบี ย น โบราณสถานแล้ว ปราสาทตามอญจัดเป็นปราสาทขนาด เล็ก แต่ก็มีสภาพที่ค่อนข้างสมบูรณ์ ปัจจุบันได้รับการ ปรับปรุงภูมิทัศน์ต่างๆ ให้สวยงาม มีรั้วกั้นแนวเขตอย่าง ชัดเจน มีการดูแลรักษาทำ�ความสะอาดอย่างสมํ่าเสมอ ความสำ�คัญของแหล่งทางประวัตศิ าสตร์ โบราณ- และมีถนนเข้าถึงแหล่งได้โดยสะดวก คดี ปราสาทตามอญ เป็นปราสาทก่ออิฐถือปูน ที่มีรูป ตำ�แหน่งที่ตั้ง บ้านปราสาท ตำ�บลบัวเชด อำ�เภอบัวเชด จังหวัด ทรงค่อนข้างสูงเพรียว เช่นเดียวกับปราสาทเมืองที อำ�เภอ เมืองสุรินทร์ และจากการที่ไม่ปรากฏร่องรอยหลักฐาน สุรินทร์ ชิ้นส่วนเครื่องประกอบสถาปัตยกรรมตามแบบปราสาท ขอมโดยทั่วไป เช่น ทับหลัง เสาประดับกรอบประตู บัว การเดินทาง จากตัวเมืองสุรินทร์ ไปตามทาง สร.2077 (สุรินทร์กลุ่มยอดปราสาท ชิ้นส่วนศิลาทรายหรือศิลาแลง ทำ�ให้ สันนิษฐานได้ว่าอาจเป็นปราสาทที่สร้างขึ้นในสมัยอยุธยา สังขะ) เป็นระยะทาง 49 กิโลเมตร เมื่อถึงตัวอำ�เภอสังขะ ตอนปลาย-ต้นรัตนโกสินทร์ ราวพุทธศตวรรษที่ 23-24 มีสี่แยกไฟจราจรให้ตรงไปทางทิศใต้ไปตามทาง สร.2124 โดยอาจได้รับแรงบันดาลใจมาจากรูปทรงของปราสาท (ทางไปอำ�เภอบัวเชด) อีกเป็นระยะทาง 13 กิโลเมตร เมือ่ ขอมแต่มีการปรับเปลี่ยนรูปทรงให้สูงเพรียวขึ้น ปราสาท ถึงช่วงหลักกิโลเมตรที่ 13 จะพบปราสาทตามอญอยู่ทาง ตามอญจึงเป็นร่องรอยหลักฐานที่แสดงถึงการตั้งถิ่นฐาน ซ้ายมือ ฝั่งตรงข้ามเป็นโรงเรียนบ้านบัวเชด ของชุมชนในวัฒนธรรมล้านช้าง ซึ่งแพร่หลายอยู่ในภาค 70 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


Prasat Ta Morn Prasat Ta Morn is a single main square-based brick stupa which located in an area that there is no signs of surrounding ditches or walls. It is around 2.65 x 2.65 m. in size and the entrance door is in the east. The rest of the walls in all 3 sides are built in solid formation with no doors. The doorframe are crafted in bricks. three-tiered roof are built in descending order. Historical and Archeological Aspect Prasat Ta Morn is a rather flowing and tall masonry structure similar to Muang Tee Khmer Ruins in Surin City. There are no evidence of such architectural fixings used in other traditional Khmer Ruins e.g. lintel, ornamental pillar doorframe, lotus petal shapes at the top, sandstones and laterite pieces. So it might probably be built during the late Ayutthaya-early Ratanakosin period around 23th-24th BE. with the inspiration from the shape of Khmer temples adjusted to be taller and more flowing. Prasat Ta Morn could be seen as the evidence of the settlement of Lan Location Ban Prasart, Bua Chet Sub-district, Bua Chet Chang people which was widespread in the Esarn District, Surin Province area at that time. Tourist Attraction Potential Prasat Ta Morn is a registered historic site. Even though it is small but it is in quite a good and complete condition. The landscape was beautifully renovated and there is a clear boundary line. The site is taken care of and cleaned regularly. The road to go there is also quite convenient.

To Go There From Surin City, take SR.2077 (Surin-Sangka) for 49 kilometers When you reach Sangkha District, there will be an intersection with traffic light, go to the south direction on SR.2124 (to Bua Chet) for 13 kilometers After that you will see Prasat Ta Morn on your left while on your right will be Ban Bua Chet School.

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 71


รอยพระพุทธบาท เขาศาลา

ตั้งอยู่บนเทือกเขาพนมดงรัก ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของ วัดเขาศาลาอุตลฐานะจาโร ห่างจากศาลาวัดไปด้านทิศ ตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 300 เมตร รอยพระพุทธบาท สลักอยู่บนโขดหิน ใต้ร่มไม้ใหญ่ มีความสูงจากพื้นดินราว 2 เมตร ลักษณะทางสถาปัตยกรรม เป็นรอยพระพุทธบาทหินทรายที่มีขนาดใหญ่ วาง ตำ�แหน่งตามแนวตะวันออก-ตะวันตก มีความยาว 3.2 เมตร ความกว้างด้านส้นพระบาท 0.7 เมตร ด้านปลาย พระบาท 1.5 เมตร แกะสลักให้ลึกลงไปประมาณ 20 เซนติเมตร เป็นรอยพระบาทข้างขวา ภายในรอยพระบาท มีเส้นขอบนูนเป็นกรอบสลักรูปสัตว์ในธรรมชาติ ได้แก่ สัตว์ใหญ่ สัตว์เล็ก สัตว์ปีก นก ปลา สัตว์เลื้อยคลาน นานาชนิด รวมทั้งภาพดอกบัว ภาพทั้งหมดแบ่งออกเป็น 23 แถว นับจำ�นวนได้ 166 ภาพ กลางฝ่าพระบาทและส้น พระบาทสลักลายวงกลม 7 ชั้น ภายในแต่ละวงเป็นลาย 2 แบบสลับกัน รอบๆ วงกลมเป็นภาพกลีบบัวหรือเศียร งูใหญ่ เช่นเดียวกับขอบรอบพระบาท ส่วนนิว้ มีลายก้นหอย ประดับทั้งส่วนปลายนิ้วและข้อนิ้วเรียงตามรอยนิ้วตาม ขนาดของนิว้ แบ่งเป็นแนวนอน 3 แถว แนวตัง้ ตามนิว้ 5 ลาย รวมแล้วมี ลายก้นหอยทั้งสิ้น 15 ลาย 72 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์

ความสำ�คัญของแหล่งทางประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี ลวดลายกลีบบัวที่เส้นขอบรอบ และที่วงนอกสุดของ ลายดอกบัวในรอยพระพุทธบาทนั้นดูเป็นแบบศิลปะเขมร ที่ค่อนข้างเก่า แต่การสลักลวดลายเฉพาะรูปสัตว์นานา ชนิด เช่น แมงมุม ตั๊กแตน ผีเสื้อ นกเงือก นกยูง ปู ปลา ดุก งู ฯลฯ และรูปพันธุ์พฤกษาคือไม้ใหญ่และกอบัว โดย ไม่ปรากฏลายมงคลใดๆ เลยนัน้ ไม่เคยปรากฏพบในศิลปะ ทวารวดี ศิลปะขอม หรือลพบุรีมาก่อน ทำ�ให้ยังไม่อาจ กำ�หนดอายุได้แน่ชัดนัก อาจเป็นรอยพระพุทธบาทแบบ พื้ น เมื อ งที่ ส ร้ า งขึ้ น ตามคติ ค วามเชื่ อ ที่ สู ญ หายไปแล้ ว ในปัจจุบัน ปัจจุบนั พระพุทธบาท และบริเวณวัดเขาศาลาได้รบั การ พัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมอีกแห่งหนึ่ง ของจังหวัดสุรินทร์ โดยจัดตั้งเป็นพุทธอุทยานวัดเขาศาลา อตุลฐานะจาโร สภาพแวดล้อมเป็นป่าและภูเขาล้อมรอบ มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 10,865 ไร่ ซึง่ อุดมสมบูรณ์ไปด้วยพันธุไ์ ม้ และสมุนไพรหายาก รวมทัง้ สัตว์ปา่ นานาชนิด โดยเฉพาะ อย่างยิง่ เป็นแหล่งกำ�เนิดต้นนาํ้ ลำ�ธาร มีทศั นียภาพงดงาม สภาพแวดล้ อ มเงี ย บสงบร่ ม เย็ น เหมาะกั บ การศึ ก ษา ปฏิบัติธรรม และท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ตำ�แหน่งที่ตั้ง บ้านจรัส ตำ�บลจรัส อำ�เภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ การเดินทางเข้าถึงแหล่ง ใช้ถนนสายสุรินทร์-อำ�เภอปราสาท เรื่อยมาจนถึงสี่ แยกอำ�เภอปราสาท แล้วเลีย้ วซ้าย เข้าทางหลวงหมายเลข 24 ที่กิโลเมตรที่ 45 บริเวณสี่แยกอำ�เภอสังขะ เลี้ยว ขวาเข้าถนนสาย 2124 ผ่านอำ�เภอบัวเชดไปตามเส้นทาง จนถึงบ้านจรัส กิโลเมตรที่ 23 ทางเข้าวัดจะอยูท่ างขวามือ


Kao Sala Buddha’s Footprint

Kao Sala Buddha’s Footprint Located on Panom Dongrug Mountain, in the site of Wat Kaosala Utaratanajaro Temple, the Buddha’s footprint is 300 m. southeast of the pavilion in the temple or sala. It is crafted in a rock 2 m. above ground under a big tree. Architectural Style This is a big sandstone Buddha’s footprint alignd in east - west orientation. It is 3.2 m. in length, 0.7 m. in width at heel side and 1.5 m. at toes side. The right foot image was crafted 20 cm. in depth. Inside the foot, there is a lifted frame crafted in the image of animals in nature all big, small, poultry, birds, fish, reptiles and also lotus flowers in total of 23 rows of 166 pieces. In the middle of the sole and at the heel are the crafted patterns of 7-layered circles alternating in 2 different designs. Surrounding the circles are lotus petals or heads of big snakes, same as the ones in the rim of the foot. There are patterns of spirals in the toes in both the fingertips and knuckles. These spirals are in order of sizes of the toes, 3 horizontally and 5 vertically resulting in TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 73


15 spiral patterns altogether. Historical and Archeological Aspect The lotus petal patterns at the rim and the outermost layer of the lotus pattern in the Buddha’s footprint looks like an old Khmer art. However, the animal figures such as spiders, grass hoppers, butterflies, hornbills, peacocks, crabs, catfish, snakes etc. and the plants, trees and lotuses without any felicitous patterns have never been found in Dvaravati or Khmer or Lopburi art before. So it is not quite clear about the age of this Buddha’s Footprint. It might have been built according to the local faith which had been lost already. Today Kao Sala Buddha’s Footprint is developed into another cultural tourist attraction of Surin. It is named Wat Kao Sala Atulatana Jaro Buddhist Park. The 10,865 Rai area is surrounded by forests and mountains in abundance of various kinds of rare plants and herbs including all kinds of animals. Specially, it is also the upstream area with beautiful scenery and peaceful and tranquil atmosphere suitable for spiritual study and practice and ecotourism. Location Ban Jaras, Jaras Sub-district, Bua Chet District, Surin Province To Go There Take Surin-Prasart road to Prasart District crossroad then turn right onto highway 24. At km. 45 in Sangkha crossroad, turn right onto highway 2124 passing Bua Chet District and continue to Ban Jaras. At km. 23 the entrance to the temple is on your right. 74 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


ปราสาทภูมิโปน

ปราสาทภูมิโปน ประกอบด้วย โบราณสถาน 4 หลัง คือ ปราสาทก่ออิฐ 3 หลัง และศิลาแลง 1 หลัง มีอายุการ ก่อสร้างอย่างน้อย 2 สมัย ปราสาทก่ออิฐหลังใหญ่ และ หลังทางทิศเหนือสุด นับเป็นปราสาทแบบศิลปะเขมร ที่ มีอายุเก่าที่สุดในประเทศไทย คือราวพุทธศตวรรษที่ 13 ส่วนปราสาทอิฐหลังเล็ก ทีต่ งั้ ตรงกลาง และปราสาทที่ มีฐานศิลาแลง ด้านทิศใต้นนั้ สร้างขึน้ ในสมัยหลังปราสาท ภูมิโปน คงจะสร้างขึ้นเป็นศาสนสถานในศาสนาฮินดู ไศวนิกาย เช่นเดียวกับศาสนสถานอื่นๆ ในรุ่นเดียวกัน ที่ปรางค์องค์ใหญ่พบ ท่อโสมสูตร คือ ท่อนํ้ามนต์ ที่ต่อ ออกมาจากแท่นฐานรูปเคารพห้องกลาง ติดอยู่ที่ผนังใน ระดับพื้นห้อง ตำ�นานปราสาทภูมิโปน ตำ�นานเนียงด็อฮธม หรือพระนางนมใหญ่ มีเรื่องเล่า ว่า กษัตริย์ขอมได้สร้างเมืองไว้กลางป่าใหญ่ สำ�หรับเป็น ที่หลบภัยของราชวงศ์และได้นำ�ธิดาคือ เนียงด็อฮธม มา หลบซ่อนไว้ ต่อมาได้มกี ารสร้างปราสาทขึน้ อันเป็นทีม่ าของ ชื่อปราสาทคือ ภูมิโปนหรือปูมปูน ในภาษาเขมรท้องถิ่น

“ภูมิหรือปูม” แปลว่า แผ่นดินหรือสถานที่ “โปนหรือปูน” แปลว่า หลบซ่อน บริเวณใกล้ปราสาท ห่างออกไปทางทิศตะวันออก มีต้นลำ�เจียกที่สระนํ้าซึ่งไม่เคยออกดอกเลย เล่าว่าเกิด จากเนียงด็อฮธมได้อธิษฐานไว้ ก่อนที่นางจะจากปราสาท ภูมิโปนไปว่า หากมิได้กลับมาที่ปราสาทแห่งนี้อีกขออย่า ให้ต้นลำ�เจียกมีดอกอีกเลย ที่ตั้ง หมู่ 5 บ้านภูมิโปน ตำ�บลดม อำ�เภอสังขะ จังหวัด สุรินทร์ การเดินทาง จากจังหวัดสุรินทร์ ใช้ทางหลวงหมายเลข 2077 (สุ ริ น ทร์ -สั ง ขะ) ระยะทาง 49 กิ โ ลเมตร จากแยก อำ�เภอสังขะ เข้าทางหลวง หมายเลข 2124 (สังขะบัวเชด) ตรงต่อไป จนถึงชุมชนบ้านภูมิโปน ระยะทาง อีก 10 กิโลเมตร จะเห็นปราสาทตั้งอยู่ริมถนนด้าน ซ้ายมือ

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 75


Phum Pon Khmer Ruins

76 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


Phum Pon Khmer Ruins consist of 4 archeological sites 3 of which were built with bricks and one with laterite. The time that these stupas were built are in at least 2 different periods. The big brick one and the northernmost one are in the oldest Khmer art in Thailand. Around 13 BE. As for the small brick stupa located in the middle and the one built with laterite base in the south, these were built at a later time. Phum Pon Khmer Ruins might have been built to be the places of worship in Siva sect in Hinduism, like other places of worship in the same age. A Somsutr Pipe or holy water pipe was found at the big Prang, extending from the base of an idol in the middle room. It is attached to the wall at the ground level. The Legend of Phum Pon Khmer Ruins The Legend of Neang Dok Tom or big boob lady was told that a Khmer king built a city in a big forest to be the safe house for the royal family members. The princess Neang Dok Tom was brought to hide

here. Later the stupa was built and named after this incident. The word Phum Pon or Poom Poon, in local Khmer language “Phum or Poom” means land or place and “Pon or Poon” means hiding. In the vicinity of this place to the east, there is a Screw Pine at the pond that never gives any flowers. It is said that it was princess Neang Dok Tom who prayed before she left the place that this Screw Pine shall not give any flowers unless she gets to come back to this place again. Location Moo 5, Ban Phum Pon, Dom Sub-district, Sangkha District, Surin Province To Go There From Surin city take highway 2077 (SurinSangkha) for 49 kilometers From Sangkha intersection take highway 2124 (Sangkha-Buachet) continue to Ban Phum Pon community. Comtinue for 10 kilometers and you will see the temple on the roadside on your left.

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 77


ปราสาทยายเหงา

ปราสาทยายเหงา เป็ น ศาสนสถานแบบขอมที่ ประกอบด้วยปรางค์ 2 องค์ ตัง้ อยูเ่ รียงกัน ในแนวทิศเหนือ -ใต้ หันหน้าไปทางทิศตะวันออก องค์ปรางค์กอ่ ด้วยอิฐ ตัง้ อยู่บนฐานศิลาแลง มีการแกะสลักอิฐเป็นลวดลาย เช่น ที่ กรอบหน้าบัน เป็นรูปมกร (สัตว์ผสม ระหว่างสิงห์ ช้าง และปลา) คาบนาค 5 เศียร จากลักษณะแผนผังของอาคาร ปราสาทยายเหงา น่าจะประกอบด้วย ปรางค์ 3 องค์ ตั้งเรียงกัน แต่ปัจจุบัน เหลือเพียง 2 องค์เท่านั้น ภายในบริเวณปราสาท พบกลีบ ขนุนยอดปรางค์ เสาประดับกรอบประตู ฯลฯ แกะสลัก 78 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์

จากหินทราย จัดแสดงไว้อย่างเป็นระเบียบ บริเวณด้าน หน้าปราสาท ที่ตั้งและการเดินทาง บ้านพูนทราย ตำ�บลบ้านชบ อำ�เภอสังขะ ห่างจาก ที่ว่าการอำ�เภอไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 4 กิโลเมตร อยู่ริมถนน สายโชคชัย-เดชอุดม (ทางหลวง หมายเลข 24) ระหว่างหลักกิโลเมตรที่ 189-190 จะมี ป้ายบอกทางจากถนนใหญ่เข้าไป เป็นทางคอนกรีตปน ทรายประมาณ 800 เมตร


Yai Ngao Khmer Ruins

Yai Ngao Khmer Ruins is Khmer place of worship consists of 2 Prangs in North-South alignment facing east. The Prang was built with brick on laterite base. There are crafted patterns on the bricks. For example, on the gable frame is a Makorn (hybrid of singha or lion, elephant and fish) holding 5 headed Naka in his mouth. From the layout of the structures Yai Ngao Khmer Ruins might have consisted of 3 Prangs in a line but now only 2 remain. In the area there are

prang's top jack petals (or Kleebkanoon), ornamental pillar door frames, etc. crafted in sandstone exhibited nicely at the front area of the place. Location and To Go There Ban Phoon Sai, Bankob Sub-district, Sangkha District 4 kilometers southeast of District Office on the Chokchai-Dech Udom road side (Highway 24). At km. 189-190 there is a sign to show direction from the main road about 800 meters on a concrete-sand road.

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 79


ปราสาทสังข์ศิลป์ชัย หรือปราสาทบ้านจารย์

มีลักษณะเป็นปราสาทองค์เดียวหลังค่อนข้างใหญ่ แผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุมสิบสอง ตั้งอยู่บนฐาน สูง ปัจจุบันหักพัง หลังคาทลายลงมาเหลือผนังบางส่วน และกรอบประตูด้านทิศตะวันออก สิ่งสำ�คัญของปราสาท หลังนี้คือ ทับหลังที่พบบริเวณด้านหน้า มีขนาดใหญ่กว่า ที่พบทั่วไป คือ ขนาดยาว 2.70 เมตร สูง 1.10 เมตร และ หนา 0.85 เมตร ตรงกลางสลักเป็นภาพพระอินทร์ทรงช้าง เอราวัณท่าร่ายรำ�พนมมือประกอบ แนวทับหลังตอนบน เป็นภาพเทพนมในซุ้มเรือนแก้ว 10 ซุ้ม เรียงกัน จากทับ หลังที่เหลือให้เห็นในปัจจุบันมีลักษณะคล้ายกับทับหลัง แบบเกาะแกร์ ดังนั้นปราสาทสังข์ศิลป์ชัยน่าจะสร้างขึ้น ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 15 นอกจากนี้ ยังพบเสาประดับ กรอบประตูแปดเหลี่ยม จำ�หลักรูปฤาษีนั่งอยู่ภายในซุ้ม บริเวณโคนเสาด้วย

หมืน่ ชัย ตำ�บลกระเทียม อำ�เภอสังขะ เรือ่ งเล่านัน้ มีอยูว่ า่ เมือ่ ก่อนนัน้ มีกษัตริยอ์ งค์หนึง่ ชือ่ กษัตริยห์ มืน่ ชัย มีพระมเหสี หลายพระองค์ มเหสีเอกมีน้องสาวสวยมากแต่ถูกยักษ์ ลักพาตัวไป ต่อมามเหสีเอกได้ให้กำ�เนิดพระโอรสออกมา พร้อมกับถือคันธนูออกมาจากท้องแม่ดว้ ย จึงตัง้ ชือ่ ว่าสังข์ ศิลป์ชัย ภาษาเขมรเรียกสังข์ศรชัย มเหสีอีกองค์ก็คลอด ลูกเช่นกันแต่คลอดออกมาเป็นหอยสังข์ นางอับอายมาก จึงเอาไปซ่อนไว้ในกอกล้วย แต่ก็แอบไปดูบ่อยๆ ก็เห็น หอยเติบโตเองได้อย่างน่าอัศจรรย์ ต่อมาเมื่อพระโอรสทั้ง สองโตขึ้นต่างก็เป็นคนมีฤทธิ์ทั้งคู่ ทั้งสังข์ศิลป์ชัยและเจ้า หอยสังข์มักแอบออกมาเล่นกันด้วยกันเสมอ จนพระบิดา สังเกตเห็นและแน่ใจว่าลูกของตนเป็นคนมีฤทธิท์ งั้ คู ่ จึงได้ ให้ทงั้ สองเดินทางไปช่วยน้าสาวทีถ่ กู ยักษ์ลกั ตัวไป ทัง้ สอง เดินทางไปเมืองยักษ์และได้ต่อสู้กับยักษ์จนได้รับชัยชนะ และพาน้าสาวกลับเมืองได้เป็นผลสำ�เร็จ ต่อมาพวกยักษ์ พยายามจะกลับมาแย่งตัวน้าสาวอีก ทั้งสองจึงเข้าต่อสู้ ยักษ์จึงหนีกลับเมืองไป จากนั้นทั้งสองจึงได้เป็นเล่นนํ้าที่ ห้วยสิงห์และปัน้ รูปสิงห์เล่น ปัจจุบนั จึงเรียกบริเวณนัน้ ว่า ห้วยสิงห์ เมือ่ บ้านเมืองสงบเรียบร้อย สังข์ศลิ ป์ชยั จึงได้พา น้องหอยสังข์มาสร้างปราสาทใหม่ อยู่ที่บ้านจารย์เรียกชื่อ ว่าปราสาทสังข์ศิลป์ชัยมาจนถึงปัจจุบัน ที่ตั้ง ตั้งอยู่ในหมู่ 1 บ้านจารย์ ตำ�บลบ้านจารย์ อำ�เภอ สังขะ จังหวัดสุรินทร์

การเดินทาง จากตัวเมืองสุรินทร์ ใช้ทางหลวงหมายเลข 214 สาย สุรินทร์-ปราสาท ระยะทาง 28 กิโลเมตร ผ่านตัวอำ�เภอ ปราสาทไปเพียงเล็กน้อยถึงสีแ่ ยกไฟจราจรให้เลีย้ วซ้ายไป ตามทางหลวงหมายเลข 24 ทางไปอำ�เภอสังขะ เมื่อถึง หลักกิโลเมตรที่ 184-185 พบสามแยกให้เลี้ยวขวาไป 12 กิโลเมตร เมื่อถึงบ้านจารย์ให้เลี้ยวซ้ายตรงไปจะผ่านวัด ตำ�นานปราสาทสังข์ศิลป์ชัย ณ เมืองหมื่นชัย ซึ่งปัจจุบันเป็นที่ตั้งของปราสาท บ้านจารย์ ปราสาทสังข์ศิลป์ชัยตั้งอยู่ทางทิศเหนือ 80 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


Sang Silp Chai Khmer Ruins or Ban Jarn Khmer Ruins. It is a rather big square-based single stupa with indented corners situated on a high base. Now it was greatly damaged as the roofs are gone and only parts of the walls and east doorframe remain. What is important about this temple is the lintel found in the front is bigger that usual with the dimension of 2.7 m. in length, 1.1 m. in height and 0.85 m. in thickness. The middle part was crafted in the image of Indra on Erawan the elephant dancing with hands together in salute. The ipper part of the lintel are the figures of divinity in 10 Ruankaew archs lining in a row. From what we can see in the lintel now, it looks like Kor Kare style so this Sang Silp Chai Khmer Ruins should have been built in 15 BE. In addition, there are 8 faceted ornamental pillar door frames crafted in image of hermit sitting under an arch at the base of the pillar.

banana tree. She often went to check on it and found out that it could grow on its own magically. Later both of them grew up and turned to have magical abilities. They usually play together and the king saw them and was certain that they had magical abilities. So he made them go rescue their aunty who was kidnapped by the giant. They went to the giant city and won the battle and brought her home. The giants tried to fight over her again but they could not so they left. Later both of them went to swim and sculpted from dirt some Singha (lion) figure to play with. We call that area Huay Singha. When there was peace in town again Sang Silp Chai brought his conch shell brother to build and live in another Prasart in Ban Jarn, called Sang Silp Chai Prasart until now.

Location Mu 1, Ban Jarn, Ban Jarn Sub-district, Sangkha The Legend of Sang Silp Chai Khmer District, Surin Province Ruins There is a story In Muin Chai city which is now the location of Muin Chai Khmer Ruins. Kratiam To Go There From Surin city take highway 214 (SurinSub-district, Sangkha District. There was a king named Muin Cha. He has many wives. The first queen has Prasart) for 28 kilometers passing Prasart District a very beautiful sister who was kidnapped by a a little bit to intersection with traffic light then turn giant. Later this queen gave birth to a baby boy left onto highway 24 the way to Sangkha. At km. who carried with him a bow when he was born 184-185, turn right at the T junction for 12 kilometers so they named him Sang Silp Chai or Sang Sorn Reaching Ban Jarn and turn left you will see wat Chai in Khmer language. Another queen also gave Ban Jarn and Sang Silp Chai Khmer Ruins in located birth but it seemed to be a conch shell. she was in the north direction. so embarrassing that she hid the conch shell in the TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 81


ปราสาทบ้านปราสาท หรือปราสาทกังเอน กำ�แพง และโคปุระ (ซุ้มประตู) ก่อด้วยศิลาแลง แผนผังเป็นรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้าล้อมรอบโบราณสถาน ขนาด 21.30 x 29.40 เมตร มีโคปุระอยู่ทางด้านทิศตะวันออก แผนผังเป็นรูปกากบาท ขนาด 8.50 x 12 เมตร มีการ แกะสลักช่องหน้าต่างทำ�เป็นลูกมะหวดและมีผ้าม่านปิด ลงมาครึ่งหนึ่ง สระนํ้า กรุขอบด้วยศิลาแลง แผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยม ผืนผ้า ตั้งอยู่นอกกำ�แพงทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ หลักฐานทางโบราณคดีที่พบ เศษภาชนะดินเผาทั้งแบบเนื้อดินธรรมดา และแบบ เนื้อแกร่งเคลือบสีนํ้าตาลแบบเครื่องถ้วยลพบุรี ลักษณะ แผนผัง และตำ�แหน่งที่ตั้งเหมือนกับปราสาทนางรำ�และ กู่พราหมณ์จำ�ศีล อำ�เภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งเป็นศาสนสถาน 2 กลุ่มที่ตั้งอยู่ใกล้กัน ปราสาทบ้าน ปราสาทและปราสาทมีชยั จึงเป็นร่องรอยหลักฐานทีแ่ สดง อิทธิพลวัฒนธรรมขอมทีป่ รากฏขึน้ ในดินแดนแถบนี้ ในราว ปราสาทบ้านปราสาท หรือปราสาทกังเอน ลักษณะ พุทธศตวรรษที่ 15 และต่อเนื่องหรือปรากฏขึ้นอีกครั้งใน ปราสาทตั้งอยู่ทางทิศเหนือ อยู่ห่างจากปราสาทมีชัย 75 พุทธศตวรรษที่ 18 เมตร ที่ตั้ง ลักษณะทางสถาปัตยกรรม หมู่ 5 บ้านถนน ตำ�บลกระเทียม อำ�เภอสังขะ จังหวัด ปราสาทบ้านปราสาท หรือปราสาทกังเอน ตั้งอยู่ สุรินทร์ ทางทิศเหนือ มีลักษณะแผนผังเป็นปราสาทขอมประเภท อโรคยาศาล ศิลปะขอมแบบบายน อายุราวพุทธศตวรรษ การเดินทาง ที่ 18 ซึ่งประกอบไปด้วย จากตั ว เมื อ งสุ ริ น ทร์ ใช้ ท างหลวงหมายเลข 214 ปราสาทประธาน ก่ อ ด้ ว ยศิ ล าแลงปนศิ ล าทราย สุรินทร์-ปราสาท ผ่านอำ�เภอปราสาทพบสี่แยกไฟจราจร แผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุมขนาด 5X5 เมตร ให้เลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 24 เมื่อถึงช่วง มีประตูทางเข้าด้านทิศตะวันออก ซึ่งทำ�เป็นมุขยื่นออกมา กิโลเมตรที่ 98-99 ให้เลี้ยวขวาไปตามทาง สร.2024 เป็น เล็กน้อย ระยะทาง 3 กิโลเมตร เมื่อถึงวัดปราสาทมีชัยให้เลี้ยวซ้าย บรรณาลัย ก่อด้วยศิลาแลง แผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยม ไปอีก 500 เมตร จะพบที่ตั้งปราสาทบ้านปราสาทและ ผืนผ้า ขนาด 3.60 x 6 เมตร หันหน้าเข้าหาปราสาท ปราสาทมีชัย อยู่ห่างจากปราสาทสังข์ศิลป์ชัยไปทางทิศ ประธาน ตะวันตก ประมาณ 5 กิโลเมตร 82 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


Ban Prasat Khmer Ruins or Kung En Khmer Ruins Walls and Kopura (door facade) built with laterite in a 21.3 x 29.4 m. rectangular shape. The kopura is in the east side in a cross layout 8.5 x 12 m. in size. The windows were crafted to be Lukmahuad and half covered with curtains. Rectangular pond with laterite rim outside the wall in the northeast side. Archeological Evidence Fractions of Earthenware with both normal quality and strong ones with brown coats as found in Lopburi pottery. The layout and location is the same as Nang Rum Khmer Ruins and Kubrahmjumsin in Pratai District, Nakorn Ratchasima which are 2 places of worship in the same area. So Ban Prasat Khmer Ruins and Mechai Khmer Ruins are the evidence of Khmer civilization in this region in 15 BE. and continued or reappeared again in 18 BE. Ban Prasat Khmer Ruins or Kung En Khmer Ruins Location Mu 5, Ban Tanon, Tambon Kratiam Sub-district, is located 75 meters North of Mechail Khmer Ruins. Sangkha District, Surin Province Architectural Style Ban Prasat Khmer Ruins or Kung En Khmer Ruins To Go There From Surin city take highway 214 Surin-Prasart. is located in the north. The layout is determined to Passing Prasart District to intersection with traffic be Arokayasala, Bayon Khmer art., 18 BE. light then turn left onto highway 24. At km. 98-99 This place consists of many parts. The main stupa was made with laterite and turn right onto SR 2024 for 3 kilometers when reach sandstones with 5 x 5 m. indented corner layout. Mechai temple turn left for another 500 meters You will see the site of Ban Prasat Khmer Ruins The door is in the east side with a little balcony. Bunnalai (library) built with laterite in a 3.6 x 6 m. or Kung En Khmer Ruins which is 5 kilometers west of Sang Silp Chai Khmer Ruins. rectangular shape. Facing the main stupa. TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 83


ปราสาทมีชัย/หมื่นชัย

ปราสาทมีชัยหรือหมื่นชัย เป็นปราสาทองค์เดียวก่อ พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ตรงกับศิลปะขอมแบบบายน อายุ ด้วยอิฐ มีประตูเข้าทางด้านทิศตะวันออก กรอบประตู ราวพุทธศตวรรษที่ 18 และทับหลังทำ�ด้วยหินทราย มีสระนํา้ ล้อม 3 ด้าน ยกเว้น ทางทิศตะวันออก ปัจจุบนั เหลือเพียงผนังบางส่วนและฐาน ที่ตั้ง ตัง้ อยูท่ หี่ มู่ 5 บ้านถนน ตำ�บลกระเทียม อำ�เภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ หลักฐานทางโบราณคดี พบภาพสลักพระอินทร์​์ทรงช้างเอราวัณ มีท่อนพวง มาลัยออกมาจากจุดกึ่งกลางของทับหลัง อีกชิ้นหนึ่งเป็น การเดินทาง จากตั ว เมื อ งสุ ริ น ทร์ ใช้ ท างหลวงหมายเลข 214 รูปพระกฤษณะปราบนาคกาลียะมีท่อนพวงมาลัยออกมา จากจุดกึ่งกลางของทับหลัง และมีบริวารของพระคเณศ สุรนิ ทร์-ปราสาท ผ่านอำ�เภอปราสาทพบสีแ่ ยกไฟจราจรให้ เลีย้ วซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 24 เมือ่ ถึงช่วงกิโลเมตร อยู่ที่ปลายทั้งสองข้าง ศิลปะขอมแบบแปรรูป ที่ 98-99 ให้เลี้ยวขวาไปตามทาง สร.2024 เป็นระยะ ความสำ�คัญของแหล่งทางประวัตศิ าสตร์โบราณ- ทาง 3 กิโลเมตรเมื่อถึงวัดปราสาทมีชัยให้เลี้ยวซ้ายไปอีก 500 เมตร จะพบที่ตั้งปราสาทบ้านปราสาทและปราสาท คดี ปราสาทมีชัยสร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 15 มี มีชัย อยู่ห่างจากปราสาทสังข์ศิลป์ชัยไปทางทิศตะวันตก ลักษณะแผนผังเป็นอโรคยาศาลหรือศาสนสถานประจำ� ประมาณ 5 กิโลเมตร โรงพยาบาล เนื่องในพุทธศาสนาลัทธิมหายาน ในสมัย 84 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


Mechai Khmer Ruins or Muen Chai

Mechai Khmer Ruins or Muen Chai is a standalone brick stupa with a door in the east side. The doorframe and lintel were made of sandstones. This place is surrounded by ponds except in the east. Now only part of ther walls and the base remain. Architectural Evidence There is an image if Indra on Erawan the elephant with rosary pieces coming from the center of the lintel. Another piece is. Krishna conquering Kaliya Naka with rosary pieces coming from the center of the lentil and Kanesh’s followers at both ends. This is modified Khmer art.

15 BE. as an Arokayasala or the place of worship in the hospital. According to Mahayana Buddhism in the period of Jayavarman VII which is Bayon art in BE. 18. Location Mu 5, Ban Tanon, Kratiam Sub-district, Sangkha District, Surin Province

To Go There From Surin city, take highway 214 Surin-Prasart. Passing Prasart District there will be an intersection with traffic light turn left onto highway 24 until km. 98-99 then turn right onto SR 2024 for 3 km. Turn left at Mechai temple for 500 meters You will see Historical and archeological aspect Ban Prasart Khmer Ruins  and Mechai Khmer Ruins Mechai Khmer Ruins or Muen Chai was built in 5 kilometers west of Sang Silp Chai. TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 85


ปราสาทเบง (ปราสาทเบ็ง) ส่วนหลังคาพังทลายหมดแล้ว คูนาล้อมรอบเป็นรูปสี่เหลี่ยม เว้นทางด้านทิศตะวัน ออกไว้เป็นทางเข้า-ออก ปัจจุบันยังคงปรากฏร่องรอยให้ เห็นอยู่ทุกด้าน ความสำ�คัญของแหล่งทางประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี ปราสาทเบง เป็นปราสาทขอม ที่มีแผนผังเป็นรูป สี่เหลี่ยมจัตุรัสไม่ย่อมุม และมีเสาประดับกรอบประตูเป็น รูปแปดเหลี่ยม ซึ่งกำ�หนดอายุได้ราวพุทธศตวรรษที่ 15 ปราสาทเบงจึ ง เป็ น ร่ อ งรอยหลั ก ฐานที่ แ สดงอิ ท ธิ พ ล วั ฒ นธรรมขอมที่ ป รากฏขึ้ น ในดิ น แดนแถบนี้ ในราว พุทธศตวรรษที่ 15 ปราสาทเบง จัดเป็นปราสาทหลังเดียว มีขนาดเล็ก สภาพปัจจุบันยังไม่ได้รับการขุดแต่งและบูรณะ ปรากฏ ร่องรอยหลักฐานคือส่วนเรือนธาตุและเสาประดับกรอบ ประตูซึ่งยังติดตั้งอยู่ตำ�แหน่งเดิม มีมูลดินทับถมขึ้นมา ถึงส่วนฐาน คูนํ้าตื้นเขิน และถนนเข้าถึงตัวปราสาทเป็น ถนนลูกรัง ในส่วนของการดูแลปัจจุบันได้มีการดูแลรักษา ทำ�ความสะอาดและกำ�จัดวัชพืชอย่างสมํ่าเสมอ ตำ�แหน่งที่ตั้ง บ้ า นปราสาทเบง ตำ � บลกาบเชิ ง อำ � เภอกาบเชิ ง จังหวัดสุรินทร์ ปราสาทเบง ประกอบด้วยปราสาทหลังเดียว ตั้งอยู่ ภายในบริเวณซึ่งมีคูนํ้าล้อมรอบมีรายละเอียดดังนี้ ปราสาทประธาน ก่ออิฐ มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยม จัตรุ สั ไม่ยอ่ มุม ขนาดประมาณ 4 x 4 เมตร มีประตูทางเข้า อยู่ทางด้านทิศตะวันออก มีเสาประดับกรอบประตูเป็น เสาแปดเหลี่ยม แต่ละเหลี่ยมประดับด้วยลายใบไม้รูป สามเหลีย่ ม 1 ใบ ซึง่ เป็นรูปแบบทีน่ ยิ มในราวพุทธศตวรรษ ที่ 15 ผนังด้านที่เหลืออีก 3 ด้านทำ�เป็นประตูหลอก 86 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์

การเดินทาง จากตัวเมืองสุรินทร์ ไปตามทางหลวงหมายเลข 214 (สุรินทร์-ปราสาท) เมื่อผ่านตัวอำ�เภอปราสาทไปเล็กน้อย จะเป็นสีแ่ ยกไฟจราจร ให้เลีย้ วขวาตามทางหลวงหมายเลข 24 จากนั้นเลี้ยวขวาไปตามทาง สร.2022 เป็นระยะทาง 10 กิโลเมตร เมื่อถึงบ้านปราสาทเบง ให้ตรงผ่านหมู่บ้าน ไปอีก 500 เมตร จะพบป้ายบอกทางให้เลี้ยวขวาเป็น ถนนลูกรังอีก 800 เมตร ก็จะถึงปราสาทเบงซึ่งตั้งอยู่ สุดถนน


Beng Khmer Ruins

Beng Khmer Ruins is a single main square-based brick stupa with non-indented corners located in an area surrounded by ditches. It is around 4 x 4 m. in size and the entrance door is in the east. There are eight-faced ornamental pillars at this doorway. On each face of the pillar is the tracery of a triangle-shaped leaf which is a popular pattern around the 15th BE. The rest of the walls in all 3 sides are false doorways and all the roofs are gone. There are ridges surrounding the area in square shape which is still visible today except in the east that is the entry and exit way. Historical and Archeological Aspect Beng Khmer Ruins is a square-based stupa with non-indented corners with eight-faced ornamental pillars at its doorway. It is estimated that this place is built in 15th BE. and is the evidence of the influence of Khmer civilisation in that area in 15th BE. Beng Khmer Ruins is a single stupa small in size. It has never been repaired and the main body of the

stupa and the ornamental pillars at the doorway is what is left to be seen today in the same position as in the past. There are earthwork up to the base of the stupa with shoal canals around. The road to this Khmer Ruins is a dirt road. The place is taken care of and cleaned and weeded regularly. Location Beng Khmer Ruins, Kabcherng Sub-district, Kabcherng District, Surin Province To Go There From Surin City, take highway 214 (SurinPrasart), after passing Prasart District, there will be an intersection with traffic light, take a right turn to highway 24 then turn right to SR 2022 for 10 kilometers After reaching Parsart Beng village, keep going for another 500 meters and follow the signage to turn right on a dirt road for 800 meters to Beng Khmer Ruins at the end of the road.

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 87


ปราสาทหมอนเจริญ หลักฐานทางโบราณคดีที่พบ ฐานประติมากรรมรู ปเคารพศิลาทราย ตั้ งอยู่บน ปราสาท ซึ่งปัจจุบันมีฐานอุโบสถครอบทับอยู่ และก้อน หินทรายขนาดใหญ่มากบางชิ้นยาวถึง 3 เมตร

ตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกันกับวัด มีโครงสร้างฐานและ เสาของอุโบสถซ้อนทับ เนื่องจากกรมศิลปากรได้ระงับ โครงการก่อสร้างอุโบสถนี้ไว้ (ตั้งแต่เมื่อประมาณ 20 ปี มาแล้ว) พื้นที่ล้อมรอบด้วยคูนํ้า สภาพโดยรวมเป็นเนิน ดินสูงกว่าพื้นที่โดยรอบซึ่งเป็นทุ่งนาเล็กน้อย ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ปราสาทหมอนเจริญเดิมคงมีลักษณะเป็นปราสาท ขอมหลังเดียว ตั้งอยู่ภายในพื้นที่ซึ่งมีคูนํ้าล้อมรอบ มีราย ละเอียดดังนี้ ปราสาทประธาน เดิมคงมีลักษณะแบบปราสาทขอม โดยทั่วไปคือ สร้างหันหน้าไปทางทิศตะวันออก มีกรอบ ประตูและทับหลังทำ�ด้วยศิลาทราย สภาพปัจจุบันเหลือ เพียงฐานศิลาแลงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด 11 x 14.35 เมตร ต่อมาทางวัดได้สร้างอุโบสถซ้อนทับลงไปแทนที่ อย่ า งไรก็ ต ามยั ง พบหลั ก ฐานชิ้ น ส่ ว นเครื่ อ งประกอบ สถาปัตยกรรม ได้แก่ ก้อนศิลาทรายและศิลาแลง ตั้งอยู่ รายรอบคูนาํ้ ล้อมรอบพืน้ ทีม่ แี ผนผังเป็นรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า ขนาด 90 x 94 เมตร เว้นทางด้านทิศตะวันออกไว้เป็น ทางเข้า-ออก ยังปรากฏร่องรอยให้เห็นชัดเจนทุกด้าน 88 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์

ความสำ�คัญของแหล่งทางประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี พบหลักฐานเครื่องประกอบสถาปัตยกรรม ที่สำ�คัญ คือก้อนศิลาทรายที่มีขนาดใหญ่มาก อาจเป็นวัสดุเตรียม การสำ�หรับการก่อสร้างปราสาท จึงทำ�ให้อาจสันนิษฐาน ได้ว่าปราสาทแห่งนี้น่าจะอยู่ระหว่างการก่อสร้างคือการ ประกอบหินเป็นตัวปราสาท ยังไม่มีการแกะสลักลวดลาย ใดๆ โดยทีม่ กี ารนำ�ฐานประติมากรรมรูปเคารพมาติดตัง้ ไว้ แล้ว ปราสาทหมอนเจริญจึงเป็นร่องรอยหลักฐานที่แสดง อิทธิพลวัฒนธรรมขอมที่ปรากฏขึ้นในดินแดนแถบนี้ ปัจจุบันปราสาทหมอนเจริญยังไม่ได้รับการบูรณะ ทั้งนี้เนื่องจากมีสภาพที่ถูกทำ�ลายไปมาก และมีโครงการ ก่อสร้างอุโบสถหลังใหม่ซ้อนทับซึ่งกรมศิลปากรได้ระงับ การก่อสร้าง ดังกล่าวไว้ตั้งแต่เมื่อประมาณ 20 ปีมาแล้ว สภาพพื้นที่มีต้นไม้และวัชพืชปกคลุม ตำ�แหน่งที่ตั้ง บ้านหมอนเจริญ ตำ�บลกาบเชิง อำ�เภอกาบเชิง จังหวัด สุรินทร์ การเดินทาง จากตัวเมืองสุรินทร์ ไปตามทางหลวงหมายเลข 214 (สุรินทร์-ปราสาท-กาบเชิง) เป็นระยะทาง 52 กิโลเมตร เมื่อถึงช่วงหลักกิโลเมตรที่ 52 จะพบป้ายบอกทางไป วัดหมอนเจริญให้เลี้ยวขวาตรงไป 800 เมตร จะพบวัด หมอนเจริญตัง้ อยูท่ างขวามือ ซึง่ ปราสาทหมอนเจริญตัง้ อยู่ บริเวณเดียวกันกับวัด


Morn Charoen Khmer Ruins Located superimposed with a base structure and pillars of a chapel of a temple. This is the project owned and canceled by Fine Arts Department around 20 years ago. The place is surrounded by ditches and generally is a mound area higher than the surrounding rice fields. Architectural Style This might be a single structured Khmer Ruins located in the area surrounded by ditches. It might be a normal Khmer Ruins that usually built facing the east. The doorframe and lintel are made of sandstone. The visible part now is only the 11 x 14.35 m. rectangular laterite bases. Later there was an attempt to build a chapel overlapping this structure. However, there are some evidence of architectural fitments i.e. sandstones and laterite scattering around the area. The surrounded rectangular ditches are 90 x 94 m. in size except in the east that is the entry and exit way. This is still clearly visible even today.

So this place is the evidence of Khmer civilisation in the region at that time. Morn Charoen Khmer Ruins has never been repaired and is now in a mostly damaged conditions. The base structure of a chapel of the project to build a temple by Fine Arts Department around 20 years ago is there and the place is cluttered by plants and weeds.

Archeological Evidence There are bases of the sandstone idols in the Location Ban Morn Charoen, Kabcherng Sub-district, stupa which is now covered by the base of the Kabcherng District, Surin Province chapel and big sandstones up to 3 m. in size. Historical and Archeological Aspect There are some evidence of architectural fitments or fixings especially sandstones which is huge in size. This might be intended to be used to build the place. This place might have been in the construction process. There is no crafted pattern on the stones yet but the bases of the sandstone idols are there.

To Go There From Surin City, take highway 214 (SurinPrasart-Kabcherng) for 52 kilometers There will be a signage to Morn Charoen Temple. Turn right and continue for 800 meters Morn Charoen Temple will be on your right and Morn Charoen Khmer Ruins is at the same location.

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 89


ปราสาทเซ็ม

ร่องรอยหลักฐานคือส่วนเรือนธาตุ มีมูลดินทับถมขึ้นมา ถึงส่วนฐาน คูนํ้าตื้นเขิน และถนนเข้าถึงตัวปราสาทเป็น ถนนดินอยู่กลางทุ่งนาและไร่มันสำ�ปะหลัง ในส่วนของ การดูแลพื้นที่นี้ปัจจุบันได้มีการดูแลรักษาทำ�ความสะอาด และกำ�จัดวัชพืชอย่างสมํ่าเสมอ

ปราสาทเซ็ม ประกอบด้วยปราสาทหลังเดียว ตั้งอยู่ ภายในบริเวณซึ่งมีคูนํ้าล้อมรอบ มีรายละเอียดดังนี้ ปราสาทประธาน ก่ออิฐ มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยม จัตุรัส ขนาดประมาณ 4 x 4 เมตร มีประตูทางเข้าอยู่ ทางด้านทิศตะวันออก ผนังด้านที่เหลืออีก 3 ด้านทำ�เป็น ประตูหลอก ส่วนหลังคาพังทลายหมดแล้ว คูนํ้าล้อมรอบเป็นรูปสี่เหลี่ยม เว้นทางด้านทิศตะวัน ออกไว้เป็นทางเข้า-ออก ปัจจุบันยังคงปรากฏร่องรอยให้ เห็นอยู่ทุกด้าน

ตำ�แหน่งที่ตั้ง บ้านบักจรัง ตำ�บลกาบเชิง อำ�เภอกาบเชิง จังหวัด สุรินทร์

ความสำ�คัญของแหล่งทางประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี ปราสาทเซ็ม เป็นปราสาทขอม พื้นที่โดยรอบพบเศษ ภาชนะดินเผาแบบเครื่องถ้วยลพบุรี ในบริเวณใกล้เคียง กันยังมีปราสาทหมอนเจริญ และปราสาทเบง ซึ่งเป็น ร่องรอยหลักฐานที่แสดงอิทธิพลวัฒนธรรมขอมที่ปรากฏ ขึ้นในดินแดนแถบนี้ ปราสาทเซ็ม จัดเป็นปราสาทหลังเดียว มีขนาดเล็ก สภาพปัจจุบันยังไม่ได้รับการขุดแต่งและบูรณะ ปรากฏ

การเดินทาง จากตัวเมืองสุรินทร์ ไปตามทางหลวงหมายเลข 214 (สุรินทร์-ปราสาท-กาบเชิง) เป็นระยะทาง 52 กิโลเมตร เมื่อถึงช่วงหลักกิโลเมตรที่ 52 จะพบป้ายบอกทางไปวัด หมอนเจริญให้เลี้ยวขวาตรงประมาณ 2 กิโลเมตร (ซึ่ง จะผ่านวัดหมอนเจริญก่อน) เส้นทางนี้เป็นถนนดินที่ตัด เข้าทุ่งนาและไร่มันสำ�ปะหลัง ควรสอบถามเส้นทางจาก ชาวบ้าน ปราสาทเซ็มจะตั้งอยู่ใกล้กับต้นยาง ซึ่งมีขนาด สูงใหญ่ที่สุดในบริเวณนี้

90 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


Sem Khmer Ruins Sem Khmer Ruins is a single main square-based brick stupa with located in an area surrounded by ditches. It is around 4 x 4 m. in size and the entrance door is in the east. The rest of the walls in all 3 sides are false doorways and all the roofs are gone. There are ridges surrounding the area in square shape which is still visible today except in the east that is the entry and exit way. Historical and Archeological Aspect Earthenware and pottery fragments in Lopburi style are found in the area of Sem Khmer Ruins. Nearby are Morn Charoen Khmer Ruins and Beng Khmer Ruins which are the evidences of the influence of Khmer civilisation in that area. Sem Khmer Ruins is a single stupa small in size. It has never been repaired and the main body of the stupa is what is left to be seen today. There are earthwork up to the base of the stupa with shoal canals around. The road to this Khmer Ruins is a dirt road surrounded by rice fields and tapioca fields. The place is taken care of and cleaned and weeded regularly. Location Ban Bugjrang, Kabcherng Sub-district, Kabcherng District, Surin Province To Go There From Surin City, take highway 214 (SurinPrasart-Kabcherng) for 52 kilometers There will be a signage to Morn Charoen Temple at 52th kilometers sign. Turn right and continue for 2 kilometers (passing Morn Charoen Temple) This road will cut

through rice fields and tapioca fields. Please ask for additional information for direction from the locals there. Sem Khmer Ruins is located near the biggest and tallest India rubber tree in the area.

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 91


กลุ่มปราสาทตาเมือน

92 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


กลุม่ ปราสาทตาเมือน ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นหนองคันนาสามัคคี ตำ�บลตาเมียง อำ�เภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ ตาม รายทางสู่เมืองพระนครของขอม ในอดีตยังไม่มีความรู้ ในเรื่องพรมแดนต่างประเทศ มีแต่เพียงแนวทิศเขาดงเร็ก เป็ น พรมแดนธรรมชาติ ที่ กั้ น ผู้ ค นสองดิ น แดนไว้ คน โบราณมีการใช้เส้นทางผ่าช่องเขาทีม่ อี ยูต่ ลอดแนว ในบาง ช่องเขามีการสร้างปราสาทหินขนาดเล็ก เช่น ช่องไชตะกูมี ปราสาทแบแบก แต่สำ�หรับที่ช่องตาเมือนหรือตาเมียงนี้มี ลักษณะพิเศษคือ มีปราสาทหินสามหลังอยูใ่ กล้ๆ กัน เรียง ลำ�ดับจากขนาดใหญ่ไปขนาดเล็ก เรียกว่ากลุ่มปราสาท ตาเมือน โดยปราสาทแต่ละหลังมีขนาดและประโยชน์ที่ ใช้สอยแตกต่างกันไป ปราสาทตาเมือนธม เป็นปราสาทขนาดใหญ่ที่สุด ในกลุ่ ม ตั ว ปราสาทอยู่ บ นเนิ น เขาสร้ า งคร่ อ มโขดหิ น ธรรมชาติที่ศักดิ์สิทธิ์ในรูปของ สยัมภูศิวลึงค์ และเป็นที่ สำ�หรับประกอบพิธีกรรม อยู่ใกล้ดินแดนเขมรมากที่สุด ปราสาทแห่งนี้หันหน้าไปทางทิศใต้ ผิดแผกจากแห่งอื่น ซึ่งมักจะหันหน้าไปทางทิศตะวันออก คงจะรับกับเส้นทาง ที่มาจากเขมรตํ่าผ่านมาทางช่องทางตาเมือนนี้ ปราสาท ตาเมือนธม ซึ่งแปลตรงกับภาษาเขมรว่า ใหญ่ นอกจากนี้ ยังมีอาคารอืน่ คือปรางค์กอ่ ด้วยหินทรายสองหลัง อยูท่ าง ด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และตะวันตกเฉียงเหนือของ ปราสาทประธาน บรรณาลัยศิลาแลงสองหลัง และนอก ระเบียงคดทางทิศเหนือมีสระนํ้าขนาดเล็กสองสระ เนือ่ งจากปราสาทแห่งนีอ้ ยูใ่ กล้เขตชายแดน การเทีย่ ว ชมจึงควรอยูเ่ ฉพาะภายในเขตปราสาทเท่านั้น ไม่ควรเดิน ออกไปไกลจากแนวต้นไม้รอบปราสาทเพราะพื้นที่นี้ยังไม่ ปลอดภัยนัก ปราสาทตาเมือนโต๊จอยู่ห่างจากปราสาทตาเมือนธม ประมาณ 750 เมตร ก่อด้วยศิลาแลง มีกำ�แพงล้อมรอบ และมีสระนาํ้ ขนาดเล็กอยูท่ างทิศเหนือหนึง่ สระ โดยเชือ่ ว่า ปราสาทแห่งนี้เป็นอโรคยาศาล รักษาพยาบาลของชุมชน หรือตามรายทางที่เป็นเส้นทางคมนาคม ซึ่งนิยมสร้างใน สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปราสาทตาเมือน (บายกรีม) อยู่ห่างจากปราสาท

ตาเมือนโต๊จ ประมาณ 390 เมตร เป็นปราสาททีเ่ ล็กทีส่ ดุ ก่อด้วยศิลาแลง มีลักษณะเป็นห้องยาว เชื่อว่าเป็นธรรม ศาลา คือที่พักสำ�หรับคนเดินทาง กลุ่มปราสาทตาเมือนนี้นับได้ว่าเป็นกลุ่มปราสาทที่มี ความสมบูรณ์ในด้านของการอำ�นวยประโยชน์แก่ผู้คน ที่ใช้เส้นทางผ่านช่องเขา ซึ่งไม่ปรากฏในถิ่นอื่น การที่มี กลุม่ ปราสาทตาเมือนตัง้ อยูใ่ นบริเวณนีเ้ ป็นประจักษ์พยาน ที่แสดงให้เห็นว่า ในอดีตเส้นทางช่องเขาตาเมือนนี้คงจะ มีชุมชนหรือเป็นเส้นทางผ่านช่องเขาสำ�คัญของภูมิภาค

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 93


Group of Prasat Ta Muan

94 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


Group of Prasat Ta Muan are located at Ban Nong Khan Na, Ta Meang Sub-district, Phanom Dong Rak District, Surin Province on the ancient route to Khmer Empire. In those days, the locals used Phanom Dong Rek as a natural border and travelled through the paths inside the valley. A group of three prasat was built nearby the valley, standing next to each other-from large to small-and named Group of Prasat Ta Muan. Prasat Ta Muan Thom, the largest, was positioned on the hill atop scared stone-a symbol of lingam, and served for the ritual performances. This Prasat face south in which dissimilar to the common Khmer preset (typically face east), possibly turning to the passage from Khmer Empire. In Khmer language, Prasat Ta Muan Thom meant “large.� In addition, two sandstone prang are standing on the northeast and northwest of the main temple. There are two libraries and two small ponds outside the northern gallery. Since this prasat is closed to the border, for safety, visitors should stay only in prasat area during the visits and do not walk into the woods outside the prasat. Prasat Ta Muan Tot, 750 meters distance from Prasat Ta Muan Thom, was constructed with laterite surrounding by walls and having small pond at the north. Historians believed it was an arokayasala (hospital) for serving communities or travelers, typically built during the reign of King Jayavarman VII. Prasat Ta Muan, 390 meters distance from Prasat Ta Muan Tot, the smallest, was constructed with laterite as a long room-possibly serving as a dharmasala (rest house) for travelers. Group of Prasat Ta Muan was a perfect ac-

commodations for travelers in which never found in other regions, suggested once the area was the significant community or important passageway through the borders.

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 95


ปราสาทตาเมือนโต๊จ ตั้ ง อยู่ ใ นช่ อ งเขาตาเมื อ น (หรื อ ช่ อ งเขาตาเมี ย ง) เทือกเขาพนมดงรัก ในเขตบ้านหนองคันนาสามัคคี หมู่ 8 ตำ�บลตาเมียง อำ�เภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ เป็น ปราสาทหลังหนึง่ ในกลุม่ ปราสาทตาเมือน ซึง่ ประกอบด้วย ปราสาทหินสามหลัง เรียงลำ�ดับจากขนาดใหญ่ไปขนาด เล็ก คือ ปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาเมือนโต๊จ และ ปราสาทตาเมือน ปราสาทตาเมือนโต๊จ อยูห่ า่ งจากปราสาทตาเมือนธม ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ประมาณ 750 เมตร และ อยู่ห่างจากปราสาทตาเมือน ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ 390 เมตร ก่อด้วยศิลาแลง มีกำ�แพงล้อมรอบ และมีสระนาํ้ ขนาดเล็กอยูท่ างทิศเหนือหนึง่ สระ เชือ่ กันว่า ปราสาทแห่งนี้เป็นอโรคยาศาล หรือสถานรักษาพยาบาล ของชุมชน หรือตามรายทางที่เป็นเส้นทางคมนาคม ซึ่ง นิยมสร้างในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 การเข้าชม เนื่ อ งจากกลุ่ ม ปราสาทนี้ ตั้ ง อยู่ ใ นเขตชายแดน ประเทศไทย และเคยเป็นเขตอันตราย เพื่อความสะดวก และปลอดภัยในการเดินทางเข้าชม ควรติดต่อหน่วยตำ�รวจ ตระเวนชายแดนที่ตั้งด่านอยู่ที่หมู่บ้าน การเดินทาง การเดินทางตามทางหลวงหมายเลข 214 จนมาถึง ทางแยกตัดกับทางหลวงหมายเลข 24 ให้เลี้ยวขวาไป ตามทางหลวงหมายเลข 24 จนถึงสามแยกบริเวณนิคม ปราสาท ให้เลี้ยวซ้าย ไปตามป้ายบอกทางไปอำ�เภอพนม ดงรัก ตามทางหลวงหมายเลข 2397 จนมาถึงแยกบริเวณ อบต. แนงมุด ให้เลีย้ วขวา ไปตามทางหลวงหมายเลข 224 จนพบป้ายบอกทางไปกลุม่ ปราสาทตาเมือน ให้เลยป้ายไป อีกเล็กน้อยจนถึงแยกบ้านตาเมียง จะพบทางทีม่ ปี า้ ยบอก ไป ฉก. ตชด. 16 เลี้ยวไปตามถนนเส้นนี้ (2407) ตรงมา เรื่อยๆ จนพบห้าแยกเลี้ยวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 2407 ผ่านบ้านหนองคันนา จนพบทางแยก จะพบปราสาท ตาเมือนก่อน ควรติดต่อเจ้าหน้าทีก่ อ่ นเพือ่ ความปลอดภัย 96 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 97


Ta Muen Tot Khmer Ruins

To Go There From Surin City to Prasart District using highway 214 to the intersection with highway 24 and turn right onto highway 24. Continue to the T junction at Nikom Prasart then turn left and follow the sign to Panom Dongrak on highway 2397. Continue to the junction at Nangmood TAO (Tambon Administrative Organization) then turn right on highway 224 until you see the direction sign to Ta Muen group of Khmer Ruins. Continue a little more after the sign you will reach Ban Ta Meang crossroads and see the direction sign to Ranger task force 216, make a turn and continue on this road (2407). Keep going until you reach a 5-way intersection then turn right onto highway 2407. Continue to Ban Nongkanna and keep going forward until reaching a crossroads, Visitor Note Due to the fact that this group Khmer Ruins is you will see Ta Muen Khmer Ruins first. Nearby at the Thai - Cambodia borderline and used to be a there will be the border patrol office in service to danger zone, for your safety and convenience please tourist, contact them for your safety to visit this Khmer Ruins. contact border patrol office sited in the village. Located in the Ta Muen defile (or Ta Meang defile) in Panom Dongrak mountain range, Ban Nongkanna Samakki, Moo 8, Tambon Ta Meang, Panom Dongrak District, Surin. It is one of the Ta Muen group of Khmer Ruins that consists of 3 Ruin structures from big to small i.e. Ta Muen Tom, Ta Muen Tot and Ta Muen Khmer Ruins. Ta Muen Tot Khmer Ruins is 750 m. northwest of Ta Muen Tom and 390 m. southeast of Ta Muen Khmer Ruins. It is built by laterite surrounded by walls and there is a small pond in the north. It is believed that this place is an Arokaya Sala or a community hospital or along the transportation route which is popular in King Jayavarman 7 period.

98 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


ปราสาทตาเมือนธม

จากประวัตเิ ดิม ปราสาทตาเมือนธม (คำ�ว่าตาเมือนธม เป็นภาษาเขมรแปลว่า ตาไก่ใหญ่) เป็นปราสาทหินทราย โบราณขนาดใหญ่ที่สุดในกลุ่มปราสาทตาเมือน โบราณ สถานแบบขอม 3 หลัง อันประกอบไปด้วย ปราสาทตาเมือน ปราสาทตาเมือนโต๊จ และปราสาทตาเมือนธม ปราสาททัง้ สามตัง้ อยูใ่ กล้เคียงกัน บนแนวภูเขาบรรทัด ในตำ�บลตาเมียง กิ่งอำ�เภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ ติดชายแดนกัมพูชา ห่างเพียง 100 เมตรเท่านั้น โดยตัวปราสาทตาเมือนธม สร้างคร่อมโขดหินธรรมชาติที่ศักดิ์สิทธิ์ในรูปของสยัมภู ศิวลึงค์ หรือลึงค์ทเี่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติ และนีเ่ องทีเ่ ป็น เครื่องหมายที่แสดงว่า ปราสาทหลังนี้เป็นศาสนสถาน ในศาสนาพราหมณ์ ลัทธิไศวนิกาย เป็นทีส่ �ำ หรับประกอบ พิธกี รรม แต่ภายหลังได้ถกู ใช้เป็นพุทธสถาน นักโบราณคดี กำ�หนดอายุอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 16-17 ตรงกับศิลปะ ขอมแบบบาปวน ตัวปราสาทตาเมือนธมจะหันหน้าไปทาง ทิศใต้ ต่างจากปราสาทอื่นๆ ที่มักหันหน้าไปทางทิศตะวัน ออก และทิศเหนือ ปราสาทตาเมือนธมถูกสร้างเป็นพระ ตำ�หนักพักผ่อนของกษัตริยข์ อมในยุคโบราณตัง้ อยูร่ มิ ถนน โบราณที่เชื่อมระหว่างเมือง TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 99


ที่ตั้งปราสาทนครวัดกับดินแดนที่เป็นภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือของไทย สิ่งสำ�คัญ​“ปราสาทตาเมือนธม” นั้น ในอดีตสถานที่ แห่งนี้เป็นสิ่งก่อสร้างที่เชื่อว่าเป็นที่พักคนเดินทาง หรือที่ เรียกกันว่า “ธรรมศาลา-บ้านมีไฟ” 1 ในจำ�นวน 121 แห่ง ที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 มหาราชองค์สุดท้ายแห่งเมือง พระนคร โปรดให้สร้างขึน้ จากเมืองยโสธรปุระ เมืองหลวง ของอาณาจักรขอมโบราณไปยังเมืองพิมาย จึงถือว่าเป็น ปราสาทหินที่เชื่อมโยงเส้นทางอารยธรรมขอมโบราณ ระหว่างปราสาทนครวัด-นครธม ประเทศกัมพูชา กับ ปราสาทหินพนมรุง้ จังหวัดบุรรี มั ย์ และปราสาทหินพิมาย ที่ตั้ง ตั้งอยู่ที่ ทางหลวงหมายเลข 2407 ตำ�บลตาเมียง อำ�เภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ 100 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


Ta Muen Tom Khmer Ruins

From historical records, Ta Muen Tom Khmer Ruins (Ta Muen Tom is Khmer language which means big chicken eyes) is the biggest sandstone stupa in the group of Ta Muen Khmer Ruins, the historical site consisting of 3 Khmer Ruins which are Ta Muen, Tamuen Tot and Ta Muen Tom Khmer Ruins. These Khmer Ruins are located in the same vicinity on the Bantad Mountain Range, Tambon Ta Meang, Panom Dongrak Sub-District, Surin. The site is only 100 m. from the borderline. Ta Muen Tom Khmer Ruins is built superimposed a natural rock in the shape of a swayambhu lingam or natural lingam. This is a sign that this Khmer Ruins is a place of worship in Siva Sect in Brahmanism. Later this place is used as Buddhist Place. It is determined by archeologists TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 101


that it was built during 16th-17th BE. which is at the age of Ba Puan Khmer Art. Unlike other typical Khmer Ruins, Ta Muen Tom Khmer Ruins is facing south while most of other Khmer Ruins are facing east or north. Ta Muen Tom was built to be a recreational palace to the Khmer Kings in ancient times and located on the ancient roadside connecting the city in which Angkor Wat is situated and the land of which the Northeastern Part of Thailand is in the present time. What is also important is that Ta Muen Tom Khmer Ruins in the past was a place believed to be an accommodation for travellers which is called “Dhammasala - The House of Fire”. It is 1 of the 121 sites built in the period of the last Great King Jayavarman VII of Phra Nakorn city connecting Yasotorn Pura, the capital of ancient Khmer and Phi Mai. So we can say that this temple is connecting the routes of ancient Khmer civilisations between Angkor Wat-Angkor Tom in Cambodia and Phanom Rung Temple in Buriram and Phi Mai Temple. Location Highway 2407 Ta Meang Sub-district, Phonom Dongrak District, Surin Provience 102 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


ปราสาทตาควาย หรือปราสาทกรอเบย (กระบือ)

ปราสาทตาควายหรือปราสาทกรอเบย (กระบือ) ซึ่ง เป็นภาษาเขมรท้องถิ่นสุรินทร์หมายถึงควาย ปราสาทตาควายเป็นปราสาทหินศิลาแลง ตัง้ ทางด้าน ทิศตะวันออกของปราสาทตาเมือนธม ห่างไปประมาณ 12 กิโลเมตร ตั้งอยู่บนสันเขาห่างจากหน้าผาสูงประมาณ 10 เมตร ของเทือกเขาพนมดงรัก เป็นปราสาทจัตุรมุขตั้งหัน หน้าไปทางทิศตะวันออก ผังของปราสาทเป็นรูปกากบาท ส่วนฐานตํ่า ส่วนล่างสุดก่อด้วยศิลาแลง ส่วนบนก่อด้วย ศิลาทรายทั้งหมด หลังคาห้องครรภคฤหะ ก่อเป็นทรงพุ่ม ยอดปรางค์ ซ้อนลดหลั่นกันขึ้นไป 5 ชั้น ส่วนหลังคามุข ก่อเป็นรูปประทุน จรดหน้าบันทั้ง 4 ด้าน ภายในห้องมี ประติมากรรม ลักษณะคล้ายสยัมภูศิวลึงค์ 1 ชิ้น ปราสาทตาควายเป็นปราสาทหลังเดียวโดดๆ ตัว ปราสาทก่อด้วยหินทรายและศิลาแลง ความสูงประมาณ 12-15 เมตรจากพื้นดิน มีประตูทางเข้าสี่ด้าน ทุกด้านเป็น

ช่องประตูจริง มีมุขยื่นออกมาทางด้านหน้า (ตะวันออก) เป็นมุขสั้นๆ ปัจจุบันพังทลายลงมาบางส่วน สภาพของ ปราสาทตาควายนับว่าสมบูรณ์มาก คือชั้นหลังคายังอยู่ ทั้งหมดจนถึงบัวยอด แต่การก่อสร้างปราสาทแห่งนี้ยังไม่ แล้วเสร็จ เพียงก่อขึ้นรูปไว้เท่านั้น ยังมิได้ขัดแต่งผิวหิน หรือแกะสลักลวดลายใดๆ ซึง่ นัน่ เองอาจเป็นเหตุให้ปราสาท ยังคงรูปอยู่ได้ โดยไม่ถูกทำ�ลาย หรือลักลอบกะเทาะ ชิ้นส่วนต่างๆ ไป เช่นที่เกิดขึ้นกับปราสาทอื่นๆ ตาม แนวชายแดน เช่นปราสาทตาเมือนธมการที่ไม่ปรากฏ ลวดลายอย่างหนึง่ อย่างใดเลยนี้ ทำ�ให้ก�ำ หนดอายุปราสาท ตาควายได้แต่เพียงกว้างๆ จากรูปทรงของตัวปราสาท ว่าน่าจะอยู่ในราวช่วงปลายสมัยนครวัด ต่อตอนต้นสมัย บายน หรือรัชกาลพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ถึงรัชกาล พระเจ้าชัยวรมันที่ 7

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 103


ที่ตั้ง ตั้งอยู่ที่ บ้านไทยนิยมพัฒนา หมู่ 17 ตำ�บลบักได อำ�เภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ การเดินทาง จากตัวเมืองสุรินทร์ไปตามทางหลวงหมายเลข 214 (สุรินทร์-ปราสาท-กาบเชิง) ผ่านอำ�เภอปราสาท จนถึง หลักกิโลเมตรที่ 44 เป็นสามแยกให้เลี้ยวขวา ไปตาม ทางหลวงหมายเลข 224 จนถึงหลักกิโลเมตรที่ 35 ให้เลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวง 2407 ผ่านบ้านไทยสันติสุข เมื่อเลี้ยวซ้ายเข้ามาแล้วตรงไปอีกประมาณ 16 กิโลเมตร ก็จะพบตัวปราสาท การเดินทางไปยังปราสาทตาควาย ต้องประสานงานล่วงหน้ากับฝ่ายกิจการพลเรือนกองกำ�ลัง สุรนารี ค่ายวีรวัฒน์โยธิน อำ�เภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ โทร.044-513502 104 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


Ta Kwai Khmer Ruins or Kraw Boey (Kra Bue) Ta Kwai Khmer Ruins or Kraw Boey (Kra Bue) which is local Khmer Surin language meaning buffalo. Ta Kwai Khmer Ruins was built with laterite and situated about 12 km. east of Ta Muen Tom Khmer Ruins on the ridge away from the 10 m. high cliff of Phanom Dongrak mountain range. Ta Kwai Khmer Ruins is a chaturaphak bay structure facing east. The layout of the temple is a cross shape. The bases part are low, the lowermost part was built by laterite. The upper part was built with all sandstones. The roof of the Garbhagriha room was constructed in 5-tiered pagoda shape in descending order. The porch roof was built like a hood up to all 4 sides of the gable. In this room, there is a sculpture that looks like a swayambhu lingam. Ta Kwai Khmer Ruins is a stand alone stupa built with sandstones and laterite 12-15 m. from the ground in hight. There are 4 real workable gateways covered by partly damaged short porch roof in the front side (east). Ta Kwai Khmer Ruins’ condition is very good. All the roof layers are still there to the top lotus pattern. However, this place was not completely constructed yet. Only the basic formation was built with no stone-polishing or crafting. This might be the reason why it is still in good condition and not damaged due to stealing of parts like in any other Khmer Ruins along the borderline such as Ta Muen Tom. This also makes it pretty broad to estimate when this place was built. Without the crafting patterns and other clues, it is estimated roughly from the shape of the stupa that it might be built between the late Angkor Wat era to the early Bayon period or King Suriyavarman 2 to Jayavarman 7 period.

Location Ban Thai Niyom Pattana, Mu 17, Bakdai Subdistrict, Panom Dongrak District, Surin Province To Go There From Surin City on highway 214 (Surin-Prasart-Kabcherng) to Parsart District until km. 44 turn right at the T shape junction onto highway 224 until km. 35. Turn left onto highway 2407 passing Thai Santisuk Village. Turn left and continue for 16 kilometers to the site. To visit this place, you need to contact and appoint with Suranaree civil affairs forces, Virawat Yotin camp, Surin city. Tel. 044-513502

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 105


ปราสาทบ้านพลวง

ปราสาทบ้านพลวงตั้งอยู่ในบริเวณนี้ ซึ่งกรมศิลปากร ได้ตดิ ตัง้ รัว้ ล้อมรอบแนวเขตโบราณสถานไว้ รอบๆ มีถนน และบ้านเรือนราษฎรตัง้ เรียงรายอยู่ ทางด้านหน้าหรือทาง ทิศตะวันออกมีบารายหรือสระนํ้าขนาดใหญ่ สภาพรอบ หมู่บ้านเป็นป่าโปร่ง และทุ่งนา ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ปราสาทบ้านพลวง ประกอบด้วยปราสาทหลังเดียว ตั้งอยู่บนฐานศิลาแลง พื้นที่ล้อมรอบด้วยคูนํ้า มีราย ละเอียดดังนี้ ปราสาทประธาน ก่อด้วยศิลาทราย แผนผังเป็น รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุม ขนาด 4 x 4 เมตร ตั้งอยู่ 106 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์

บนฐานศิลาแลงแผนผังรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด 8.40 x 23.30 เมตร และมียนื่ ออกมาทางด้านทิศตะวันออก ขนาด 6 x 8 เมตร ปราสาทประธานมีประตูทางเข้าอยูท่ างด้านทิศ ตะวันออก ที่ผนังสองข้างประตูสลักภาพทวารบาลยืน กุมกระบองข้างละ 1 ตน ด้านทิศตะวันออกมีทับหลังสลัก ภาพพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณอยู่เหนือหน้ากาล หน้าบัน สลักภาพพระกฤษณะยกเขา โควรรธนะ ด้านทิศเหนือมี ทับหลังสลักภาพพระกฤษณะปราบนาคกาลียะ หน้าบัน สลักภาพพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ ด้านทิศใต้มีทับหลัง สลักภาพพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ หน้าบันสลัก ภาพ เทพประทับนั่งเหนือหน้ากาล ส่วนด้านทิศตะวันตกทับ หลังและหน้าบันยังไม่ได้สลักภาพ ภายในปราสาทมีฐาน


หลังคาปราสาทแต่อย่างใด พบเพียงกลีบขนุนสลักเป็นรูป นาค 5 เศียรเพียงชิน้ เดียว ซึง่ ยังแกะสลักไม่เสร็จเรียบร้อย ดี ปัจจุบันจัดแสดง ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุรินทร์ ประกอบกับทับหลังและหน้าบันทางด้านทิศตะวันตกที่ยัง ไม่แกะสลัก จึงสันนิษฐานว่าปราสาทบ้านพลวงน่าจะเป็น ปราสาทที่ยังสร้างไม่แล้วเสร็จ และได้พบเศษภาชนะดิน เผาแบบเครือ่ งถ้วยเขมรจำ�นวนมาก ทัง้ จากแหล่งเตาพนม กุเลน แหล่งเตาบุรีรัมย์ เครื่องถ้วยชนิดไม่เคลือบแบบลี เดอแวง (Lie de Vin) ต่อมาปี พ.ศ.2535 กรมศิลปากรได้ท�ำ การขุดแต่งและ บูรณะอีกครั้ง พบเครื่องถ้วยลพบุรี เคลือบสีเขียวและสีดำ� หรือนํ้าตาล ประเภทแจกัน คนโท ไห ครก อายุราวพุทธ ศตวรรษที่ 16-17 ความสำ�คัญของแหล่งทางประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี ปราสาทบ้านพลวงเป็นปราสาทขอมเนื่องในศาสนา พราหมณ์ ศิลปะขอมแบบบาปวน อายุราวพุทธศตวรรษที่ 16-17 ซึ่งเป็นศาสนสถานประจำ�ชุมชน โดยทางด้านหน้า หรือทางทิศตะวันออกของปราสาทมีบารายขนาดใหญ่ อัน แสดงให้เห็นว่าบริเวณนี้เคยเป็นชุมชนที่มีขนาดค่อนข้าง ใหญ่ ปราสาทบ้านพลวงจึงเป็นร่องรอยหลักฐานที่แสดง อิทธิพลวัฒนธรรมขอมที่ปรากฏขึ้นในดินแดนแถบนี้

ประติมากรรมรูปเคารพ คูนํ้าล้อมรอบ มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เว้น ตำ�แหน่งที่ตั้ง ทางด้านทิศตะวันออกไว้เป็นทางเข้าออกปราสาท ห่างออก หมู่ 1 บ้านพลวง ตำ�บลกังแอน อำ�เภอปราสาท ไปประมาณ 100 เมตร จังหวัดสุรินทร์ หลักฐานทางโบราณคดีที่พบ ปราสาทบ้านพลวงได้รบั การบูรณะด้วยวิธอี นัสติโลซิส เมื่อปี พ.ศ.2514-2516 โดยนายแวนส์ เรย์ ซิลเดรส (Childress R. Vance) นักศึกษาปริญญาเอกแห่งมหาวิทยาลัย คอร์แนล สหรัฐอเมริกา โดยได้รับความช่วยเหลือจาก กรมศิลปากร จากการบูรณะไม่ปรากฏร่องรอยของส่วน

การเดินทาง จากตัวเมืองสุรินทร์ ไปตามทางหลวงหมายเลข 214 (สุรินทร์-ปราสาท) ผ่านตัวอำ�เภอปราสาท และสี่แยก ปราสาทไปเล็ ก น้ อ ย เมื่ อ ถึ ง หมู่ บ้ า นพลวง ช่ ว งหลั ก กิโลเมตรที่ 32 ให้เลีย้ วซ้าย เข้าไปอีกประมาณ 600 เมตร จะพบปราสาทบ้านพลวงตั้งอยู่ทางด้านขวามือ

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 107


Prasat Ban Pluang Its location is in the area announced by Fine Arts Department as a national monument surrounding with villagers’ residences, having a barai (water reservoir) on the east. Architectural Construction Prasat Ban Plaung is a single prasat on laterite foundation surrounding with moats. The construction details are cited as following; The main temple was constructed with sandstone in square planning positioned on rectangle latarite foundation with the porch on the east. The entrance was on the east adorned with carving door guardians holding clubs. The eastern lintel depicted scene of Indra atop Elephant Erawan above Kala and Vishnu lifting Mount Govadhana was represented at the eastern tympanum. On the north, scene of Vishnu defeating Kaliya Naga was depicted at the lintel while Indra atop Elephant Erawan was represented at the tympanum. On the south, the lintel depicted scene of Indra atop Elephant Erawan and Cupid sitting on Kala was represented at the tympanum. However, there is no carving at the western lintel and tympanum. Pedestal of scared statue was also found inside the main temple. Rectangle moats were surrounding the Prasat except the eastern part-the entrance. Archeological Evidences Prasat Ban Plaung was reconstructed by anastylosis technique during 1971-1973 by Mr. Childress R. Vance, a PhD. student from Cornell University, 108 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


USA, with an association from Fine Arts Department. From the reconstruction, no evidence of the roof was found. Only Naga carving antefix was discovered (currently displayed at Surin National Museum) and in uncompleted condition. Since the southern lintel and tympanum were also unfinished, possibly, the construction of Prasat was incomplete. Numerous fragments of Khmer earthenware and Lie de Vin pottery were also unearthed in the area. In 1992, the excavation was performed by Fine Arts Department and Lopburi pottery ca 11th-12th centuries were discovered. Archeological and Historical Significances of the Site Prasat Ban Plaung was a Khmer prasat in Brahmanism, Khmer art-Baphuon style, ca 11th-12th centuries, serving as a monastery of the community. Large barai (water reservoir) at the front or on the east suggested the area once was a prosperous community. The Prasat is one of the evidences implied Khmer influences in this region. Location Mu 1 Ban Plaung, Kang An Sub-district, Prasat District, Surin Province To Go There Take the route 214 (Surin-Prasat) passing Prasat District and Prasat Intersection to Ban Plaung for 32 kilometers. Turn left for 600 meters and Prasat Ban Plaung is on the right. TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 109


ปราสาทบ้านไพล ปราสาทบ้านไพล ตั้งอยู่ในบริเวณซึ่งกรมศิลปากรได้ ติดตั้งรั้วล้อมรอบแนวเขตโบราณสถานไว้ รอบๆ มีถนน และบ้านเรือนตั้งอยู่เรียงรายอยู่ ทางด้านหน้าหรือทางทิศ ตะวันออกมีอาคารเสนาสนะของวัด ทางด้านทิศตะวันตก เป็นสวนยูคาลิปตัส และหมูบ่ า้ นซึง่ มีพน้ื ทีโ่ ดยรอบเป็นทุง่ นา ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ปราสาทบ้านไพล ประกอบด้วยปราสาท 3 หลัง ตั้ง เรียงกันในแนวเหนือ-ใต้ หันหน้าไปทางทิศตะวันออก อยู่ บนฐานศิลาแลงเดียวกัน มีบันไดทางขึ้นด้านหน้า 3 ทาง พืน้ ทีล่ อ้ มรอบด้วยคูนาํ้ เป็นรูปสีเ่ หลีย่ ม มีรายละเอียดดังนี้ ปราสาทประธาน (หลังกลาง) ก่ออิฐ แผนผังเป็นรูป สี่เหลี่ยมย่อมุมขนาดประมาณ 4x4 มีประตูทางเข้าด้าน ทิศตะวันออก มีส่วนเรือนธาตุและส่วนหลังคาทำ�ซ้อนชั้น ขึ้นไป ปราสาทหลังใต้ ก่ออิฐ แผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมย่อมุม ขนาดประมาณ 4 x 4 เมตร มีประตูทางเข้าด้านทิศตะวัน ออก สภาพชำ�รุดเหลือเพียงส่วนเรือนธาตุด้านล่าง ลานศิลาแลงหน้าตัวปราสาท มีฐานประติมากรรม รูปเคารพอีก 2 ฐาน และรอยหลุมเสาจำ�นวนมาก ซึ่ง มีระยะห่างสมํ่าเสมออาจเป็นร่องรอยของอาคารที่คงเคย มีอยู่ ณ ที่นั้น คูนาํ้ มีแผนผังเป็นรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้าล้อมรอบปราสาท เว้นด้านทิศตะวันออกไว้เป็นทางเข้า-ออก และสระนํ้ารูป สี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาด 20 x 52 เมตร ตั้งอยู่ทางทิศตะวัน ออกเฉียงเหนือ นอกคูนํ้า หลักฐานทางโบราณคดีที่พบ ทับหลังจำ�นวน 3 ชิ้น คือ ทับหลังจากปราสาทหลัง กลาง สลักภาพเทวดานั่งชันเข่าอยู่ในซุ้มเหนือหน้ากาลที่ กำ�ลังคายท่อนพวงมาลัย ตรงเสี้ยวของท่อนพวงมาลัยจะ แอ่นลงเล็กน้อย เหนือท่อนพวงมาลัยเป็นลายใบไม้ตั้งขึ้น ใต้ท่อนพวงมาลัยเป็นลายใบไม้ม้วน ทับหลังจากปราสาทหลังเหนือ สลักภาพเทวดานัง่ ชัน เข่าอยูใ่ นซุม้ เหนือหน้ากาลทีก่ �ำ ลังคายท่อนพวงมาลัย และ 110 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์

ทับหลังจากปราสาทหลังใต้ สลักภาพพระอินทร์ทรงช้าง เอราวัณเหนือหน้ากาลที่กำ�ลังคายท่อนพวงมาลัย เหนือ ท่อนพวงมาลัยเป็นลายใบไม้ตั้งขึ้น ใต้ท่อนพวงมาลัยเป็น ลายใบไม้ม้วน (ปัจจุบันจัดแสดง ณ พิพิธภัณฑสถานแห่ง ชาติ สุรนิ ทร์) และได้พบชิน้ ส่วนบัวกลุม่ ยอดปราสาท และ แท่นสำ�หรับติดตัง้ ประติมากรรมรูปเคารพ ปัจจุบนั ตัง้ อยูท่ ี่ พื้นดินในบริเวณปราสาท ความสำ�คัญของแหล่งทางประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี ปราสาทบ้านไพล เป็นปราสาทขอม เนื่องในศาสนา พราหมณ์ ลัทธิไศวนิกาย ศิลปะขอมแบบบาปวน อายุราว พุทธศตวรรษที่ 16-17 ซึง่ เป็นศาสนสถานประจำ�ชุมชน โดย ทางด้านหน้าหรือทางทิศตะวันออกของปราสาทมีบาราย ขนาดใหญ่ อันแสดงให้เห็นว่าบริเวณนี้เคยเป็นชุมชน ที่มีขนาดค่อนข้างใหญ่ ปราสาทบ้านไพลจึงเป็นร่องรอย หลักฐานที่แสดงอิทธิพลวัฒนธรรมขอมที่ปรากฏขึ้นใน ดินแดนแถบนี้ ปราสาทบ้ า นไพล ได้ รั บ การประกาศขึ้ น ทะเบี ย น โบราณสถานแล้ว ปัจจุบันปราสาทบ้านไพลได้รับการ พัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมอีกแห่งหนึ่ง ของจังหวัด มีการบูรณะซ่อมแซมโดยกรมศิลปากร มีการ ปรับภูมิทัศน์ต่างๆ ให้สวยงาม ตำ�แหน่งที่ตั้ง หมู่ 6 บ้านปราสาท ตำ�บลบ้านไพล อำ�เภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ การเดินทาง จากตัวเมืองสุรินทร์ ไปตามทางหลวงหมายเลข 214 (สุรนิ ทร์-ปราสาท) เมือ่ ถึงบ้านรำ�เบอะ ช่วงหลักกิโลเมตร ที่ 22 เป็นสีแ่ ยกให้เลีย้ วขวาไปอีกประมาณ 3 กิโลเมตร จะ ถึงหมูบ่ า้ นปราสาท ทางขวามือเป็นทีต่ งั้ ของวัดโคกปราสาท (หรือวัดบ้านปราสาทพรหมคุณ) ปราสาทบ้านไพลอยู่ใน บริเวณเดียวกันกับวัด


Prasat Ban Plai Its location is in the area announced by Fine Arts Department as a national monument surrounding with villagers’ residences. The temple buildings are on the east, eucalyptus plantations and rice fields are on the west. Architectural Construction Prasat Ban Plai is a group of three prasat on the same laterite foundation face east with stairs at the front, surrounded by rectangle moats. The construction details are cited as following; The main temple (at the center) was constructed with brick in square planning having the entrance on the east, room structure and layered roof. The southern prasat was built with brick in square planning having the entrance on the east. It is in deteriorated condition and only the lower wall survived. The laterite court in front of the Prasat is a location of two scared statue pedestals and numerous holes-possibly the pillar supporters of the building. Rectangle moats were surrounded the Prasat except the eastern part-the entrance. Square pond was positioned on the northeast outside the moats. Archeological Evidences Three lintels were discovered including the lintels from the main temple, the northern and southern prasat. The central lintel depicted a scene of Deva sitting above Kala adorned with garland. Resemble the central lintel; the northern lintel also presented a scene of Deva sitting above Kala adorned with garland. The southern lintel depicted scene of Indra atop Elephant Erawan above Kala adorned with garland

(currently displayed at Surin National Museum). Architectural adornments and pedestals of scared statues were also found and placed at the ground nearby the Prasat. Archeological and Historical Significances of the Site Prasat Ban Plai was a Khmer prasat in Shaivism, Khmer art- Baphuon style, ca 11th-12th centuries, serving as a monastery of the community. Large barai (water reservoir) at the front or on the east suggested the area once was a prosperous community. The Prasat is one of the evidences implied Khmer influences in this region. Prasat Ban Plai was registered as a national monument. Nowadays, the site is renovated by Fine Arts Department and served as a tourist attraction of Surin Province. Location Mu 6 Ban Prasat, Ban Plai Sub-district, Prasat District, Surin Province To Go There Take the route 214 (Surin-Prasat) for 22 kilometers, turn right at the intersection for 3 kilometers to Ban Prasat. Wat Khok Prasat and Prasat Ban Plai are on the right.

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 111


ปราสาททนง

ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ปราสาททนง ประกอบด้วย โบราณสถาน 2 กลุ่ม ตัง้ อยูใ่ กล้ๆ กัน เรียงกันในแนว ทิศตะวันออก-ทิศตะวันตก มีรายละเอียดดังนี้ พลับพลา ตั้งอยู่ด้านหน้าสภาพ ชำ�รุดเหลือเพียง ส่วนฐานก่อด้วยศิลาแลงเป็นรูป กำ�แพงหนา ล้อมพื้นที่ ว่างไว้ตรงกลาง มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด 23 x 31 เมตร มีบันไดทางขึ้น-ลงทุกทิศทางกลุ่มปราสาท ประธาน ก่อด้วยศิลาแลง ประกอบด้วยปราสาทประธาน อยูต่ รงกลาง ด้านหน้ามีรอ่ งรอยหลุมเสา เยือ้ งไปทางด้าน หน้ามีบรรณาลัย 2 หลัง ล้อมรอบด้วยกำ�แพงที่มีโคปุระ (ซุ้มประตู) ก่อด้วยอิฐอยู่ทางด้านทิศตะวันออกและทิศ ตะวันตก นอกจากนี้ยังพบทับหลังศิลาทราย สลักเป็นรูป บุคคลนั่งชันเข่าเหนือหน้ากาล และรูปพระอินทร์ทรงช้าง เอราวัณ ศิลปะขอมแบบบาปวน อายุราวพุทธศตวรรษ ที่ 16-17 หลักฐานทางโบราณคดีที่พบ กรมศิลปากรได้ท�ำ การขุดแต่งบูรณะปราสาททนงเมือ่ ปี พ.ศ.2536 พบหลักฐานที่สำ�คัญ ได้แก่ ร่องรอยของ เตาถลุงเหล็กที่มีตะกรัน (ขี้แร่) เหล็กจำ�นวนมาก และ โครงกระดูกมนุษย์ ซึง่ หันศีรษะไปทางทิศใต้ มีสงิ่ ของทีฝ่ งั ร่วมกับศพ ได้แก่ ภาชนะดินเผา ลูกปัดแก้ว แหวนสำ�ริด และขวานเหล็ก กำ�หนดอายุอยูใ่ นสมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ ตอนปลายยุคเหล็ก อายุราว 2,500-1,500 ปีมาแล้ว 112 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์

ความสำ�คัญของแหล่งทางประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี พื้นที่บริเวณปราสาททนง มีหลักฐานการอยู่อาศัย มาแล้วตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย ต่อมา ปราสาททนงได้ ก ลายเป็ น ศู น ย์ ก ลางของชุ ม ชนที่ ไ ด้ รั บ อิทธิพลวัฒนธรรมขอมโบราณ ที่นับถือศาสนาพราหมณ์ ในราวพุทธศตวรรษที่ 16-17 มีการสร้างปราสาทเป็น ศาสนสถานประจำ�ชุมชน ปราสาททนงจึงเป็นร่องรอย หลักฐานที่แสดงอิทธิพลวัฒนธรรมขอมที่ปรากฏขึ้นใน ดินแดนแถบนี้ ตำ�แหน่งที่ตั้ง หมู่ 2 บ้านปราสาททนง ตำ�บลปราสาททนง อำ�เภอ ปราสาท จังหวัดสุรินทร์ การเดินทาง จากตัวเมืองสุรินทร์ ไปตามทางหลวงหมายเลข 214 (สุรินทร์-ปราสาท) ก่อนถึงตัวอำ�เภอปราสาท ประมาณ หลักกิโลเมตรที่ 28 ให้เลี้ยวขวาที่วัดสุวรรณวิจิตร ตรง ไปตามทาง สร.3011 เป็นระยะทาง 8 กิโลเมตร ซึ่งมี ป้ายบอกทางเป็นระยะ ทางด้านซ้ายมือจะเป็นที่ตั้งของ โรงเรียนบ้านปราสาท และถัดไปเป็นทีต่ งั้ ของปราสาททนง


Prasat Thanong with Gopura arch (gate) on the east and the west. Sandstone lintels depicted scenes of figure sitting above Kala and Indra atop Elephant Erawan, Khmer art-Baphuon style, ca 11th-12th centuries, were unearthed in this area. Archeological Evidences The excavations by Fine Arts Department in 1993 revealed significant evidences such as iron smelting furnaces, human skeletons buried with objects-pottery, glass beads, bronze rings and iron axes-dated late Iron Age, about 2,500-1,500 years ago. Archeological and Historical Significances of the Site The evidences of late prehistoric settlements in this area prior to the Prasat’s construction were discovered. During 11th-12th centuries, Prasat Thanong was a center of communities influenced by Khmer culture. The Prasat was served as a monastery in Brahmanism and one of the evidences suggested Khmer influences in this region. Architectural Construction Prasat Thanong includes two groups of buildings standing next to each other. The construction details are cited as following; The pavilion, located at the front, is in deteriorated condition, left only laterite foundation in rectangle layout with stairs. The main temple was constructed with laterite, positioned at the center. Pillar holes can be seen at the front. Two libraries were located at the front surrounding by brick walls

Location Mu 2 Ban Prasat Thanong, Prasat Thanong Sub-district, Prasat District, Surin Province To Go There Take the route 214 (Surin-Prasat) from Surin municipal for 28 kilometers, turn right at Wat Suwan Wichit to the road no.3011. Go straight for 8 kilometers. Ban Prasat School and Prasat Thanong are on the left.

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 113


ปราสาทอังกัญโพธิ์

ชาวบ้านในพื้นที่เล่าว่า เดิมเป็นพื้นที่รกร้าง ชาวบ้าน ฐานทับหลังหรือเสาประดับกรอบประตูสำ�หรับการศึกษา เรียกว่า โคกปราสาท ในปี พ.ศ.2517 ได้มีผู้ลักลอบขุด กำ�หนดอายุสมัย แต่อย่างไรก็ตามปราสาทอังกัญโพธิ์ยัง หาวัตถุโบราณ ซึง่ ได้ท�ำ ลายโบราณสถานไปเป็นอย่างมาก คงเป็นร่องรอยหลักฐานที่แสดงอิทธิพลวัฒนธรรมขอมที่ ปรากฏขึ้นในดินแดนแถบนี้ ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ปราสาทอังกัญโพธิ์ จากคำ�บอกเล่ากล่าวว่า เดิม ตำ�แหน่งที่ตั้ง ประกอบด้วยปราสาท 3 หลัง ก่อด้วยอิฐ ตั้งอยู่บนฐาน หมู่ 4 บ้านอังกัญโพธิ์ ตำ�บลโคกยาง อำ�เภอปราสาท ศิลาแลงเดียวกัน ปัจจุบนั เหลือเพียงส่วนฐานทีก่ อ่ ด้วยศิลา จังหวัดสุรินทร์ แลง พืน้ ทีโ่ ดยรอบเป็นเนินดิน และมีรอ่ งรอยคูนาํ้ ล้อมรอบ ที่ตัวปราสาทมีหลุมลักลอบขุดเป็นจำ�นวนมาก พบเศษ การเดินทาง ศิลาทราย ศิลาแลง และอิฐกระจัดกระจายอยู่ทั่วไป จากตัวเมืองสุรินทร์ ไปตามทางหลวงหมายเลข 214 (สุรินทร์-ปราสาท) เมื่อถึงบ้านรำ�เบอะ ช่วงหลักกิโลเมตร หลักฐานทางโบราณคดีที่พบ ที่ 22 ให้เลี้ยวซ้าย ตรงไปตามทาง สร.3005 เป็นระยะ จากการสำ�รวจพบฐานประติมากรรมรูปเคารพ และ ทาง 6 กิโลเมตร ถึงบ้านอังกัญโพธิ์ ให้เลี้ยวซ้าย (ทาง บัวกลุ่มยอดปราสาท และเศษภาชนะดินเผาเนื้อแกร่ง ไปบ้านสะเกียร์) ไปตามถนนบ้านอังกัญโพธิ์-บ้านโคกบุ เคลือบสีนํ้าตาลแบบเครื่องถ้วยลพบุรีกระจายอยู่ทั่วไป ซึง่ เป็นถนนลูกรังประมาณ 1 กิโลเมตร จากนัน้ ให้เลีย้ วขวา ตัดผ่านทุง่ นาตรงไปอีกประมาณ 500 เมตร จะเห็นเนินดิน ความสำ�คัญของแหล่งทางประวัตศิ าสตร์ โบราณ- มี ต้ น ไม้ ขึ้ น ปกคลุ ม หนาแน่ น เป็ น ที่ ตั้ ง ของปราสาท คดี อังกัญโพธิ์ ปัจจุบนั มีพระสงฆ์เข้าไปตัง้ สำ�นักสงฆ์ทบี่ ริเวณ ปราสาทอั ง กั ญ โพธิ์ เ ป็ น ปราสาทขอม ปั จ จุ บั น ถู ก ดังกล่าวด้วย ลักลอบขุดรื้อทำ�ลายไปเป็นอย่างมาก ไม่ปรากฏหลัก 114 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์


Prasat Ang Kan Pho

ments, fragments of Lopburi pottery were normally discovered in the area.

As told by the villagers, this area was previously deserted and called Khok Prasat. In 1974, the looters came in, searched for artifacts and destroyed the site.

Archeological and Historical Significances of the Site Prasat Ang Kan Pho was a Khmer prasat. It is in a damage condition at present in which resulted in no evidence of lintel or colonnette to identify the date. However, the Prasat is still one of the evidences suggested Khmer influences in this region. Location Mu 4 Ban Ang Kan Pho, Khok Yang Sub-district, Prasat District, Surin Province

Architectural Construction Prasat Ang Kan Pho, upon the story being told, was a group of three prasat constructed with brick on the same laterite foundation. At present, only the laterite foundation remained. The evidences of mounds and moats were found in the surrounding To Go There area along with pieces of laterite, sandstone and Take the route 214 (Surin-Prasat) for 22 kilomebrick. ters, turn left to the road no.3005 for 6 kilometers to Ban Ang Kan Pho. Take the road Ban Ang Kan Archeological Evidences Pho-Ban Khok Bu for 1 kilometer, turn right passing Pedestals of scared statues, architectural adorn- the fields for 500 meters to Prasat Ang Kan Pho. TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 115


แผนที่จังหวัดสุรินทร์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37

116 | เส้นทางอารยธรรม มรดกล้ำ�ค่าสุรินทร์

ปราสาทนางบั วตูยมง/ Prasat (Khmer Ruins) Nang Bua Tum ปราสาทบ้ านเฉนี โนนแท่น/ Non Than ปราสาทพนมสวาย ปรางค์วัดบ้านหนองหิน/ Prang of Wat Ban Nong Hin ปราสาทโอรงา ปรางค์วัดโพธิ ปราสาทเมื องที์ศรีธาตุ/ Prang of Wat Pho Si Tat ปราสาทบ้านสนม/ Prasat (Khmer Ruins) Ban Sanom ปราสาทเบง ปราสาทจอมพระ/ ญPrasat (Khmer Ruins) Chom Phra ปราสาทหมอนเจริ ปราสาทพระปื ปราสาทเซ็ ม ด/ Prasat Phra Puet ปราสาททอง/ Prasat Thong ปราสาททอง ปราสาทเมืองทีด/ Prasat Mueang Thi ปราสาทพระปื ปราสาทช่างปี่/ Prasat ปราสาทจอมพระ Chang Pi ปราสาทศีขรภูวมตูิ/มPrasat Sikhoraphum ปราสาทนางบั ปราสาทอารนาร์ / Prasat Ar Na โนนแท่ น ปราสาทหมื่นศรีน้อย/ Prasat Mon Sri Noi ปราสาทตามอญ ปราสาทพนมสวาย/ Prasat Phanom Sawai รอยพระพุ ทธบาท เขาศาลา ปราสาทบ้าานพลวง นเฉนียง/ Prasat Ban Chaniang ปราสาทบ้ ปราสาทอโรงา/ ปราสาทบ้ านไพลPrasat Oranga ปราสาทตระเบียงบัลลังก์/ Prasat Trapeang Banlang ปราสาททนง ปราสาทตระเปี ยงเตีิ ย/ Prasat Trapeang Tia ปราสาทอั งกัญโพธ์ เจดีย์ลำ�ดวน/ อLamduan Chedi ปราสาทตาเมื น ปราสาททนง/อPrasat ปราสาทตาเมื นโต๊จ Thanong ปราสาทบ้านไพล/ ปราสาทตาเมื อนธมPrasat Ban Plai ปราสาทอังกัญโพธิ- ์/ตาเมี Prasat ปราสาทตาควาย ยง Ang Kan Pho ปราสาทบ้ านปราสาท/ ปรางค์ วัดโพธ์ ิศรีธาตุ Prasat Ban Prasat ปราสาทมี / PrasatนMechai ปรางค์ วัดบ้ชาัยนหนองหิ ปราสาทสังข์ศิลยป์งเตี ชัยย/ Prasat Sang Silp Chai ปราสาทตระเปี ปราสาทยายเหงา/ ปราสาทตระเปี ยงบัลPrasat ลังก์ Yai Ngao ปราสาทตามอญ/ เจดี ย์บ้านลำ�ดวน Prasat Ta Morn ปราสาทภูขมรภู ิโปน/ ปราสาทศี มิ Prasat Phum Pon พระพุทธบาทเขาศาลา/ Kao Sala Buddha’s Footprint ปราสาทช่ างปี่ ปราสาทเบง/ Prasat Beng ปราสาทอานาร์ ปราสาทเซ็ามนสนม / Prasat Sem ปราสาทบ้ ปราสาทหมอนเจริ ปราสาทภู มิโปน ญ/ Prasat Morn Charoen ปราสาทบ้านพลวง/ Prasat Ban Plaung ปราสาทยายเหงา ปราสาทตาเมื ปราสาทสั งข์ศอิลน/ ป์ชัยPrasat Ta Muan ปราสาทตาเมื อนธม/ Prasat Ta Muen Tom ปราสาทบ้ านปราสาท ปราสาทตาเมื ปราสาทมี ชัย อนโต๊จ/ Prasat Ta Muen Tot ปราสาทตาควาย/ Ta Kwai ปราสาทหมื ่นศรีน้อPrasat ย


2

3

1 4

6

5

8 10 7 13

9 12 11 15 21

14 18

19

17 16 20

33 22

23

24

26 25

32 27

30 31

36

34

37

28

29

35

TrACKING DOWN THE GLORIOUS PATHS

of SURIN CIVILAZATION | 117


ผู้จัดทำ�/ Credits จัดทำ�โดย Published by

จังหวัดสุรินทร์ Surin Province

บรรณาธิการ Editor ผู้เรียบเรียง Rewriter ประสานงาน Coordinator ผู้แปลภาษา Interpreter ช่างภาพ Photographer

โชติกา วีรนะ Chotika Weerana ทิพย์วรรณ แสวงศรี Thipwan Swaengsri อัศม์กรณ์ จันทร์เสวก Atsakorn Chansawek กชพร ธรรมจริยา Kotchaporn Thamachariya ปรีดาวรรณ บูรณะรุ่งเรืองกิจ Preedawan Buranarungruengkij สุระ สายยศ Sura Saiyos ภาคภูมิ น้อยวัฒน์ Pakpoom Noywat นฤพนธ์ สายเสมา Narupon Saisema

ภาพประกอบแผนที่ อ.วรงค์ วงศ์ลังกา Map Illustrstion by Warong Wonglangka ภาพประกอบสีนํ้า อ.เสกสรร สิงห์อ่อน Watercolor illustrations by Sekson sing-on ศิลปกรรม กัมปนาท ศิลาวรรณ Art Director Kampanat Silawan พิสูจน์อักษร ณรงค์ พึ่งบุญพา Proofreader Narong Puengboonpa เลขมาตรฐานสากลหนังสือ ISBN 978-974-458-435-9 พิมพ์ครั้งแรก 6,000 เล่ม ธันวาคม 2556 First Printed December 2013, 6,000 copies สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย

สำ�นักงานจังหวัดสุรินทร์ ศาลากลางจังหวัดสุรินทร์ อำ�เภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ 32000 หนังสืออ้างอิง กรมศิลปากร. ทำ�เนียบโบราณสถานขอมในประเทศไทย เล่ม 3 จังหวัดสุรินทร์. กรุงเทพฯ: กอง โบราณคดี กรม ศิลปากร, 2538. พุฒ บุตรรัตน์. “การศึกษารูปแบบปราสาทอิฐแบบเขมรแบบบาปวนในจังหวัดสุรินทร์” สารนิพนธ์ ศศ.บ. (โบราณคดี) คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2528. กองบรรณาธิการ. "ปราสาทบ้านไพล อำ�เภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์" เมืองโบราณ. ปีที่ 30 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม - ธันวาคม 2547), หน้า 147. เฉลิมเกียรติ กิจตระกูลรัตน์. “ปราสาทหินบ้านพลวง ตำ�บลกังแอน อำ�เภอปราสาท จังหวัด สุรินทร์” สารนิพนธ์ ศศ.บ.(โบราณคดี) คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัย ศิลปากร, 2528. อนงค์ หนูแป้น. “การศึกษากลุ่มปราสาทตาเมือน อำ�เภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์” วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศิลปากร, 2535. กรมศิลปากร. แหล่งโบราณคดีประเทศไทยเล่ม 4 (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง). กรุงเทพฯ: กองโบราณคดี กรมศิลปากร, 2533. กฤช เหลือลมัย. "เรื่องเก่า ๆ ที่วัดพระปืด" เมืองโบราณ. ปีที่ 26 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มีนาคม 2543), หน้า 122 - 126. ภาณุวัฒน์ เอื้อสามาลย์. “การศึกษาพัฒนาการชุมชนโบราณบ้านพระปืด ตำ�บลบ้านแร่ กิ่งอำ�เภอเข วาสินรินทร์ จังหวัดสุรินทร์”. การศึกษาเฉพาะบุคคล ศศ.บ. (โบราณคดี) คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2545. กรมศิลปากร. วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดสุรินทร์. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2544. กรมศิลปากร. ประวัติศาสตร์เมืองสุรินทร์. สำ�นักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร, 2550.




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.