ข่าวประกันคุณภาพ ม.อ. 1/2559

Page 1


แนวปฏิบตั ิทเี่ ป็นเลิศ (Best Practice) ประจําปี 2559 ด้านบริหารจัดการ

กระบวนการพัฒนาระบบงานตามแนวทางของเกณฑ์ EdPEx ของคณะวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ ดําเนินการด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายใต้ กรอบของมหาวิทยาลัยฯ ตั้งแต่ปี 2543 โดยมีผลการประเมินคุณภาพภายใน/ ภายนอก อยู่ ใ นระดั บ ดี -ดี ม าก และในขณะเดี ย วกั น องค์ ก รที่ มี คุ ณ ภาพใน ประเทศได้นําเอาระบบ TQA มาใช้บริหารจัดการองค์กร คณะวิทยาศาสตร์ได้ ตระหนัก ว่าผลประเมินคุณ ภาพการศึกษายัง ไม่ไ ด้แสดงความเป็น ตัวตนหรือ เอกลักษณ์ที่ชัดเจน ผู้นําคณะฯ ในยุคก่อนหน้านี้ จึงได้เริ่มอบรมระบบ TQA ให้ กั บ บุ ค ลากรตั้ ง แต่ ป ลายปี 2554 เพื่ อ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพการบริ ห ารจั ด การศึกษาให้มีคุณภาพอย่างก้าวกระโดด ซึ่งผู้นําในปัจจุบันคิดว่าการใช้ระบบ TQA อาจจะยังกว้างเกินไปสําหรับองค์กรการศึกษา จึงต้องการเน้นให้ใช้ระบบ คุณภาพที่ตรงกับการศึกษามากขึ้น ดังนั้น ในปี 2557 คณะฯ จึงจัดโครงการ อบรม การประเมินตนเองตามเกณฑ์ EdPEx โดยมุ่งเน้นความยั่งยืนของความรู้และการปฏิบัติ จึงให้หัวหน้างาน หัวหน้าหน่วย หัวหน้าภาควิชา และทีมบริหารเข้าร่วมอบรม และดําเนินการพัฒนาองค์กรตามแนวทางของเกณฑ์ EdPEx ร่วมกัน และในที่สุด จึงจัดทํารายงานการประเมิน ตนเองร่วมกัน เพื่อเข้าร่วมโครงการ EdPEx200 โดยมี ศาสตราจารย์ นายแพทย์สงวนสิน รัตนเลิศ เป็นที่ปรึกษา ด้วยการพัฒนาอย่างต่อเนื่องดังกล่าว ส่งผลให้คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้รบั พิจารณาให้เป็น 1 ใน 3 ของหน่วยงาน ที่ผ่านการคัดเลือกจากคณะกรรมการของ สกอ. ให้เข้าร่วมโครงการ EdPEx200 ครั้งที่ 2 (2554 - 2558)

• การวางแผน (Approach) และการดําเนินงาน (Deploy) การวางแผน 1. การให้ความรู้เรื่อง เกณฑ์ TQA 2. การนําเกณฑ์ TQA มาใช้ในการพัฒนา ระบบงาน 3. การเรียนรู้และใช้ เกณฑ์ EdPEx 4. การจัดทํารายงาน การประเมินตนเอง

การดําเนินการ

2555

จัดอบรมเรื่อง "การพัฒนาองค์กรตามแนวทางเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA)", ส่งบุคลากรอบรม TQA-Criteria, ฝึกเขียนรายงาน เขียนโครงร่างองค์กร (OP), สรุประบบงาน (Work System), เขียน SIPOC, วิเคราะห์มุมมอง 6 มิติ และ SWOT, ปรับปรุงกระบวนการ, ทบทวนแผนกลยุทธ์คณะฯ, ฝึกเขียนรายงานตามเกณฑ์ อบรม "เกณฑ์คุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ (EdPEx)", วิเคราะห์ ระบบงาน, ปรับปรุงระบบงาน, ฝึกเขียนรายงานตามเกณฑ์ EdPEx ส่งบุคลากรเข้าอบรมหลักสูตร TQA Report Writing, เขียนรายงานการ ประเมินตนเอง (SA), ทีมบริหารและกรรมการประจําคณะฯ พิจารณา SA, จัดกิจกรรม pre-audit โดย TQA Assessor สมัครเข้าร่วมโครงการ, รับการตรวจประเมินจากคณะกรรมการ สกอ.

5. การเข้าร่วมโครงการ EdPEx200 6. การปรับปรุงพัฒนา ประชุมทีมคณะทํางาน, จัดทําแผนปรับปรุง OFI, ดําเนินการปรับปรุง ตามข้อเสนอแนะ (OFI) ตามแผน

การเตรียมความรู้ระบบ TQA ในองค์กร

ปีงบประมาณ 2556 2557

3

3

3

3

2558

3

3 3

3

3

การเตรียมความรู้ระบบ EdPEx ในองค์กร

3


ตัวอย่างการปรับปรุงและพัฒนาระบบงาน หมวด 1 การนําองค์กร • จัดทําแผนการสื่อสารโดยผูน้ ํา • รณรงค์คา่ นิยม SPIRIT • นโยบาย "คณะสีเขียว" หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ • ทบทวนและปรับปรุงแผน • กลยุทธ์คณะฯ ฉบับปรับปรุงปี 2558 • กําหนดทิศทางและกรอบการวิจัยเฉพาะทางที่ชัดเจน หมวด 3 การมุ่งเน้นลูกค้า • ทบทวนคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ • จัดทํา skill matrix ที่สอดคล้องกับ ELO • เพิ่มช่องทางการรับนักศึกษา และประเมินความผูกพัน • จัดทําแผนบริการวิชาการชุมชนที่ครอบคลุมชุมชนเป้าหมาย หมวด 4 การวัดวิเคราะห์และการจัดการความรู้ • แต่งตั้งคณะกรรมการวัดและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงาน • จัดทําระบบสารสนเทศการจัดการความรู้ (Sc-KM) หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร • ใช้ระบบประเมิน TOR online และ competency online • ปรับปรุงกระบวนการสนับสนุนเพื่อการขอตําแหน่งทางวิชาการ • จัดระบบพี่เลี้ยงสายวิชาการและสายสนับสนุน หมวด 6 กระบวนการทํางาน • นํา VOC มาใช้ในการปรับปรุงระบบงาน • กําหนดให้ใช้ PDCA และ LEAN ในการพัฒนาระบบงาน • ดําเนินการเชิงรุกเพื่อสร้างเครือข่ายนักวิจัยเพิ่มขึน้ หมวด 7 ผลลัพธ์ คัดเลือกผลลัพธ์ทสี่ ําคัญตามหมวดต่าง ๆ เพื่อนําเสนอ เช่น • ผลประเมินความสามารถของบัณฑิต • การได้งานทําของบัณฑิตปริญญาตรี • ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติและนานาชาติ


• การเรียนรู้ (Learning) จุดแข็ง (Strength) หรือสิ่งที่ทําได้ดีในประเด็นที่นําเสนอ 1) ผู้นําและผู้บริหารทุกระดับให้ความสําคัญกับการพัฒนา คุณภาพ และดําเนินการด้วยตัวเองในการส่งเสริมและ สร้างบรรยากาศของการทํางานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ 2) บุคลากรให้ความร่วมมือในการร่วมกันพัฒนาระบบงาน ในส่วนที่รับผิดชอบ ด้วยความมุ่งมั่นและตั้งใจเพื่อให้ องค์กรบรรลุวิสัยทัศน์ และพันธกิจ ทําให้เกิดการ บูรณาการงานร่วมกันอย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพ 3) SPIRIT ของผู้ร่วมงานในการมุ่งพัฒนาคุณภาพ

กลยุทธ์ หรือปัจจัยที่นําไปสู่ความสําเร็จ 1) วิสัยทัศน์ของผู้นําองค์กรที่ชัดเจนและมุ่งสู่ความเป็นเลิศ 2) การมุ่งเน้นคุณภาพอย่างเป็นระบบในกระบวนการ ทํางานของทุกหน่วยงาน 3) การสร้างและพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร จัดการองค์กร 4) สร้างและพัฒนาบุคลากรที่มีคุณภาพเพื่อมุ่งสู่ ความเป็นเลิศ 5) SPIRIT ของคนในองค์กรจะสามารถทําให้องค์กรมีความ ยั่งยืนและประสบความสําเร็จได้

แผน/แนวทางการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องในอนาคต 1) สร้างนวัตกรรมจากการทํางานประจํา โดยใช้ระบบ LEAN 2) ปรับปรุงระบบงานตามแผนพัฒนาคุณภาพ และรายงาน ความก้าวหน้า โดยมีการประเมินคุณภาพภายใน (IQA) ทุกปี 3) กําหนดเป้าหมายในการรับการประเมินจาก คณะกรรมการประเมินคุณภาพองค์การด้วยเกณฑ์ EdPEx (สกอ.) โดยมีผลการประเมินระดับ 300 คะแนน (เต็ม 1,000) ภายในปีการศึกษา 2560

ความยั่งยืนของการพัฒนาคุณภาพขององค์กร 1) มีเป้าประสงค์ชัดเจนในการนําองค์กร 2) มีระบบบุคลากร ระบบงาน และระบบสารสนเทศที่ดี อย่างต่อเนื่องในการสนับสนุนการบริหาร 3) มีกระบวนการพัฒนาที่เป็นวงล้อตามวงจรคุณภาพที่ ขับเคลื่อนได้เองโดยบุคลากรทุกคนในองค์กร 4) มีการคํานึงถึงการสร้าง Successor ในองค์กร

• บทสรุป คณะวิทยาศาสตร์ใช้กลไกการพัฒนาระบบงานเพื่อให้เกิดคุณภาพตามเกณฑ์ EdPEx ผ่านกระบวนการให้ความรู้เพื่อให้บุคลากรมีความ เข้าใจ และเห็นภาพเป้าหมายความสําเร็จร่วมกัน ใช้กระบวนการอบรมเชิงปฏิบัติการเป็นเครื่องมือในการทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ และปรับปรุง กระบวนการควบคู่ไปกับการรายงานผลการดําเนินงานและการประเมิน ซึ่งทําให้มองเห็นโอกาสในการพัฒนา/ปรับปรุง (OFI) และจัดทําแผนการ ปรับปรุงผ่านที่ประชุมคณะกรรมการชุดต่าง ๆ รวมถึงมีการพัฒนาระบบสารสนเทศที่จําเป็นหลายระบบงาน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการจัดเก็บ ข้อมูลผลการดําเนินงานและการบริหารจัดการของคณะฯ ส่งผลให้คณะวิทยาศาสตร์ได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมโครงการ EdPEx200 ของ สกอ. โดยมีผลการประเมินคุณภาพตามเกณฑ์ EdPEx ผ่านเกณฑ์ 200 คะแนน


Roadmaap AUNQAA หลักสูตร โดย รศ.นพ.ธวัช ชาญชญานนนท์ ผู้ชว่ ยออธิการบดีฝ่ายประกั า นคุณภาพ การเขียนแบบประเมินตนนเอง SAR ประกอบดด้วย ส่วนนํา ราายงานผลการดําเนิ า นงานของหหลักสูตรตามเกณ ณฑ์มาตรฐานหลลักสูตร ผลการดําเนินงาน c ผลกการดําเนินงาน หลั ห กฐาน Diagnnostic Questioons) ตามเเกณฑ์ AUN QAA (ผลการประเมิมินตนเองตาม checklist, า นงานตามเกกณฑ์มาตรฐานหหลักสูตร ผลการดําเนิ


ผลการดําาเนินงานตามเกกณฑ์ AUN QAA


การประเมิมิน ห อประเมินจากต่างคณะ และะส่งผลการ - ดําเนินการรในระดับคณะ ประเมินข้ามหลลักสูตรภายในคคณะเดียวกัน หรื ภ 30 กันยายน ย 2559 ประเมิน ภายใน - ดําเนินการโดยสํานักงานประะกันคุณภาพ ผ่านกิ า จกรรม sitee visit พิจารณาจาก SAR ผลกการประเมินจากกกรรมการ า ของกรรรมการกลาง ประเมินคุณภาพภายในของคณะ และผ่านเกณฑ์ ผู้ประเมิน แ รับการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประเมินคุณภาาพภายในของมหาวิทยาลัย - เป็นผู้ที่ผ่านการอบรมเกณฑ์และได้ ร นที่ ทปอ. หรือมหาวิทยาลัยจัด และได้รัรับการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประเมิมินคุณภาพ - ผ่านการอบรมหลักสูตรผู้ประเมิ ภายในของมหาวิทยาลัย การรายงาานผลการประเมิน อ GAP เมื่อเทียบกับเกณฑ์ - จุดแข็ง จุดอ่อน - ข้อเสนอแนะเเพื่อการพัฒนาหหลักสูตร - ไม่เน้นคะแนนน การประเมิมินคุณภาพหลักสู ก ตรภายนอก - ต้องดําเนินกาารให้เสร็จภายในน 5 ปี โดย AUNQA Assessor ประเทศไทย - ขั้นเทพ ประเเมินจาก AUNQQA Assessor ต่างประเทศ า เพือ่ accreditation (นโยบาย สมัมัครใจ)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.