คู่มือด�ำเนินงาน ขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน สู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
คู่มือด�ำเนินงาน
ขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ พิมพ์ครั้งที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ จ�ำนวน ๔,๐๐๐ เล่ม บรรณาธิการ นางสาวทัศนีย์ วีระกันต์ กองบรรณาธิการ ดร.กิตติภูมิ ภิญโย ดร.พิทักษ์พงษ์ ป้อมปราณี นางขวัญเรือน โพธิมูล นายฉัตร พรมแตง นายด�ำรง พ่อค�ำจันทร์ นางนวลฉวี ศรีวิพัฒน์ นายน�้ำเพชร สีค�ำ นางสาวพะยอม อินแจ้ง นางภัควดี แย้มชู นายวิสุทธิ์ มโนวงศ์ ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ ชูชื่นบุญ นางสาวสุกัญญา พันธชัย นางสาวอารีรัตน์ กิตติศิริ
ดร.ณัฐสุรางค์ ปุคคละนันทน์ นางกันยา วงศ์ทองดี นายจิรายุทธ ยิ้มละมัย นายชวาล แก้วลือ นางสาวทิชากร สุนทรวิภาค นางนัยนา ศรีเลิศ นายนิธิ พันธุ์มณี นายพิชัย ไผ่พงษ์ นางสาววิภารัตน์ ประสิทธิ์ นางสาววลัยพร อดออมพานิช นายสัจจา พิพัฒน์ผล นางสาวสุดารัตน์ ดวงจันทร์โชติ นางอุมาวดี ภูมิภักดิ์
นางสาวมัทนา ภูครองหิน นายเกริกทัศน์ นวลใยสวรรค์ นางสาวจริยา สุนทวนิค นางสาวณัฐธิดา สุขประเสริฐ นายธีรวัฒน์ ยิ่งเชิดสุข นางนัยนา บุตรสมัน นางสาวพัชรี มีวัฒนะ นายไพโรจน์ พวงทอง นางวณิษฐา ธงไชย นายศิลปชัย นามจันทร์ นางสาวสีฟ้า เกรียงไกรอนันต์ นายสินธพ อินทรัตน์ นายอุดม ทักขระ
คณะผู้อ�ำนวยการพัฒนา นางสาวดวงพร เฮงบุณยพันธ์ รศ.ดร.ขนิษฐา นันทบุตร จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย ส�ำนักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) อาคารศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ เลขที่ ๙๙/๘ ซอยงามดูพลี แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ ๑๐๑๒๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๓๔๓ ๑๕๐๐ www.thaihealth.or.th และ www.punsook.org
ค�ำน�ำ คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ ฉบับนีจ้ ดั ท�ำขึน้ เพือ่ ให้เครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิน่ น่าอยูไ่ ด้ใช้เป็นเครือ่ ง มือหนึ่งในการขับเคลื่อนงานเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะซึ่งเป็น งานเชิงประเด็นโดยใช้พื้นที่เป็นตัวตั้ง และด�ำเนินการให้เกิดผลกระทบต่อ กลุ่มเป้าหมาย ๓ กลุ่มในชุมชนคือ กลุ่มที่ ๑ กลุ่มตามวัย กลุ่มที่ ๒ กลุ่มผู้ ป่วย และกลุ่มที่ ๓ กลุ่มเสี่ยง โดยเชื่อมั่นว่าการขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน สูอ่ าหารเพือ่ สุขภาวะจะน�ำไปสูก่ ารลดปัจจัยเสีย่ งด้านสุขภาพอันเนือ่ งมาจาก กระบวนการผลิตและการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัยและไม่ถูกสุขลักษณะ และสร้างผลกระทบต่อการลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพประเด็นอื่นๆ โดยมี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกส�ำคัญในการขับเคลื่อน คู่มือประกอบด้วยรายละเอียดของ ๕ เมนูและกรณีศึกษาที่เป็นรูป ธรรมของการปฏิบัติการจริงในพื้นที่ ๒๘ กรณี ซึ่งจะเป็นแนวทางให้กับพื้นที่ อื่นๆ ในเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ได้น�ำใช้ให้เหมะสมกับบริบท ทุนทางสังคม และศักยภาพของพื้นที่ต่อไป ทัศนีย์ วีระกันต์และคณะ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
สารบัญ
บทน�ำ
บทน�ำ เมนูที่ ๑ การพัฒนากระบวนการผลิต
๓
เมนูที่ ๒ การเข้าถึงและการกระจายอาหาร
๕๓
เมนูที่ ๓ อาหารจัดการโรค
๘๐
เมนูที่ ๔ การบริหารจัดการทุนและการจัดระบบสวัสดิการ
๑๐๐
เมนูที่ ๕ การบริหารจัดการทุนและการจัดระบบสวัสดิการ
๑๒๓
ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้ก�ำหนด จุดเน้นของแผนอาหารเพือ่ สุขภาวะไว้ในแผนหลักตามทิศทาง เป้าหมาย และ ยุทธศาสตร์ ระยะ ๑๐ ปี (๒๕๕๕ – ๒๕๖๔) คือ เน้นการส่งเสริมให้ประชากร กลุม่ เป้าหมายบนแผ่นดินไทยมีสขุ ภาวะจากการบริโภคอาหารและโภชนาการ ที่เหมาะสม อันหมายถึงการมีอาหารที่มีคุณภาพต่อสุขภาวะและโภชนาการ อย่างเพียงพอ มีการเข้าถึงอาหารที่ปลอดภัย มีความมั่นคงด้านอาหารอย่าง ยัง่ ยืน มีความรู้ ความเข้าใจ และขีดความสามารถด้านการรูเ้ ท่าทันทีจ่ ะเลือก ผลิตเลือกบริโภคอาหารและโภชนาการในปริมาณที่เหมาะสม ไม่ก่อให้เกิด ภาวะทุพโภชนาการทีข่ าดหรือล้นเกินความเสีย่ งและเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ตดิ ต่อ เรื้อรัง โดยเฉพาะโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และหลอด เลือด โรคมะเร็ง และมีพัฒนาการและการเรียนรู้ที่สมวัยด้วยอาหารสุขภาพ และโภชนาการ ซึ่งสอดคล้องกับเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ที่จะ ร่วมกับขับเคลือ่ นงานการพัฒนานวัตกรรมลดปัจจัยเสีย่ งด้านสุขภาพโดยเอา พืน้ ทีเ่ ป็นตัวตัง้ ๑๐ ประเด็น๑ ประเด็นอาหารปลอดภัยเป็น ๑ ใน ๑๐ ประเด็น ที่จะร่วมกันขับเคลื่อนเพื่อให้เกิดการพัฒนาระบบอาหารเพื่อสุขภาวะ โดยมี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกส�ำคัญในการด�ำเนินการ ๑๐ ประเด็น ในการบูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาวะโดยเอาพื้นที่เป็นตัวตั้งประกอบด้วย ๑) การควบคุมการบริโภคยาสูบ ๒) การควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และอุบัติเหตุ ๓) การจัดการภัยพิบัติ ๔) การเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ๕) ครอบครัวอบอุ่นและท้องใน วัยรุ่น ๖) อาหารปลอดภัย ๗) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๘) การดูแล สุขภาพ ๙) การออกก�ำลังกาย และ ๑๐) การลงทุนด้านสุขภาพ ๑
จากการด�ำเนินงานถอดศักยภาพต�ำบลศูนย์เรียนรูเ้ พือ่ สุขภาวะสีม่ ติ ใิ น เครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ที่มีความโดดเด่นในการจัดการตนเอง ด้านเกษตรกรรมยั่งยืนและอาหารปลอดภัย อาทิ ต.อุทัยเก่า อ.หนองฉาง จ.อุทัยธานี ต.ทมอ อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ ต.อุโมงค์ อ.เมือง จ.ล�ำพูน เป็นต้น และจากการวิเคราะห์เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องแสดงสถานะความรู้ที่มีอยู่ พบว่า การขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะมีคุณลักษณะ ที่เป็นผลลัพธ์เชิงสถานะประกอบด้วย ๖ ลักษณะ คือ ๑) มีปริมาณเพียงพอ ๒) มีคุณภาพ ๓) เข้าถึงได้ ๔) สะอาดหรือมีสุขอนามัย ๕) การจัดการโรค ๖) มีความเป็นธรรม และ ๗) การรักษาสภาพแวดล้อม โดยด�ำเนินการกับ กลุ่มเป้าหมาย ๓ กลุ่มคือ กลุ่มที่ ๑ กลุ่มตามวัย ประกอบด้วย เด็ก ๐-๓ ปี เด็ก ๔-๖ ปี เด็ก ๗-๑๒ ปี เยาวชน วัยท�ำงาน กลุ่มที่ ๒ กลุ่มผู้ป่วย ประกอบ ด้วย ผู้ติดเชื้อHIV/TB ผู้ป่วยจิตเวช ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และผู้ป่วยระยะสุดท้าย กลุ่มที่ ๓ กลุ่มเสี่ยง ประกอบด้วยหญิงมีครรภ์ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส ผู้ถูกทอดทิ้ง และพระ และเพื่อให้การขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหาร เพื่อสุขภาวะมีความชัดเจนและมีการปฏิบัติการในพื้นที่ของเครือข่ายร่วม สร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่อย่างต่อเนื่องจึงได้ออกแบบเมนูที่ควรด�ำเนินการ ๕ เมนู ประกอบด้วย เมนู ที่ ๑ การพั ฒ นากระบวนการผลิ ต เป็ น การพั ฒ นาระบบ เกษตรกรรมที่เกี่ยวข้องกับการผสมผสานและเชื่อมโยงระหว่างดิน การ เพาะปลูก และการเลี้ยงสัตว์ การเลิกหรือลดการใช้ทรัพยากรจากภายนอก ระบบที่อาจเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและ/หรือสุขภาพของเกษตรกรและ ผู้บริโภค ตลอดจนเน้นการใช้เทคนิคที่เป็นหรือปรับให้เป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการธรรมชาติของท้องถิ่นนั้นๆ โดยประกอบด้วย ๓ กิจกรรมคือ
กิจกรรมที่ ๑.๑ การจัดระบบการผลิต กิจกรรมที่ ๑.๒ การปรับปรุงบ�ำรุงดิน กิจกรรมที่ ๑.๓ การคัดและพัฒนาพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์
เมนูที่ ๒ การเข้าถึงและการกระจายอาหาร เป็นกระบวนการทีท่ �ำให้ ทุกกลุม่ เป้าหมายในชุมชนได้บริโภคอาหารทีป่ ลอดภัย ทัง้ ในลักษณะของการ สร้างอาหารในระดับครอบครัว ในระดับกลุม่ ในระดับชุมชน การสร้างเงือ่ นไข ปัจจัยให้คนในชุมชนเข้าถึงอาหาร รวมถึงการกระจายอาหารในรูปแบบต่างๆ โดยประกอบด้วย ๓ กิจกรรมคือ กิจกรรมที่ ๒.๑ การสร้างอาหารในระดับครัวเรือน กิจกรรมที่ ๒.๒ การสร้างอาหารในระดับกลุ่มหรือชุมชน กิจกรรมที่ ๑.๓ การจัดการตลาดรูปแบบต่างๆ เมนูที่ ๓ อาหารจัดการโรค ให้ความส�ำคัญกับกระบวนการพัฒนาให้ เกิดการจัดการอาหารเพื่อสุขภาวะที่น�ำไปสู่การป้องกันการเกิดโรค และการ รักษาเยียวยาผู้ป่วย โดยประกอบด้วย ๓ กิจกรรมคือ กิจกรรมที่ ๓.๑ อาหารจัดการโรคโดยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและ โรงเรียน กิจกรรมที่ ๓.๒ อาหารจัดการโรคโดยหน่วยบริการสาธารณสุข กิจกรรมที่ ๓.๓ อาหารจัดการโรคโดยชุมชน เมนูที่ ๔ การบริหารจัดการทุนและการจัดระบบสวัสดิการ เป็นการ สร้างและการบริหารจัดการสถาบันการเงินที่มีอยู่ในชุมชน รวมถึงระบบ สวัสดิการช่วยเหลือดูแลกันของคนในชุมชนที่สนับสนุนให้เกิดอาหารเพื่อ สุขภาวะ โดยประกอบด้วย ๓ กิจกรรมคือ
กิจกรรมที่ ๔.๑ กองทุนเฉพาะด้านเพือ่ การสร้างและสนับสนุนให้ เกิดอาหารปลอดภัย กิจกรรมที่ ๔.๒ การจัดการกองทุนเพื่ออาหารปลอดภัย กิจกรรมที่ ๔..๓ การจัดระบบสวัสดิการโดยชุมชนเพือ่ อาหาร ปลอดภัย เมนูที่ ๕ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมเพือ่ อาหาร เพือ่ สุขภาวะ มุง่ เน้นกระบวนการจัดการและน�ำใช้ทรัพยากรธรรมชาติทมี่ อี ยู่ ในชุมชนให้เกิดการสร้างและการเข้าถึงอาหารเพือ่ สุขภาวะของกลุม่ คนต่างๆ ในชุมชน ประกอบด้วย ๒ กิจกรรมคือ กิจกรรมที่ ๕.๑ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม กิจกรรมที่ ๕.๒ การมีกฎ ระเบียบ กติกา หรือข้อตกลงร่วมใน การลดมลภาวะและพิษภัยจากสารเคมีทางการ เกษตร
เมนูที่ ๑
การพัฒนากระบวนการผลิต องค์การสหประชาชาติได้ให้ความหมายของเกษตรกรรมยัง่ ยืนว่า เป็น ระบบเกษตรกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับการผสมผสานและเชือ่ มโยงระหว่างดิน การ เพาะปลูก และการเลี้ยงสัตว์ การเลิกหรือลดการใช้ทรัพยากรจากภายนอก ระบบที่อาจเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและหรือสุขภาพของเกษตรกรและ ผูบ้ ริโภค ตลอดจนเน้นการใช้เทคนิคทีเ่ ป็นส่วนหนึง่ หรือปรับให้เป็นส่วนหนึง่ ของกระบวนการธรรมชาติของท้องถิน่ นัน้ ๆ ซึง่ มีหลักการพืน้ ฐาน ๓ ประการคือ ๑. ความยั่งยืนด้านเศรษฐกิจ ในระบบการผลิตทางเกษตรโดยทั่วไป ราคาของผลผลิตและรายได้ เป็นแรงจูงใจให้เกษตรกรตัดสินใจว่าจะผลิตอะไร ระบบการผลิตแบบนีเ้ รียก ว่า “เศรษฐกิจการตลาด” (market economy) ซึง่ จะไม่คอ่ ยค�ำนึงถึงสภาวะ อื่น ๆ นอกจากผลตอบแทนในรูปของผลผลิตและรายได้ ในขณะที่ระบบการผลิตแบบเกษตรกรรมยั่งยืนจะมุ่งผลิตเพื่อความ อยู่รอด (survival economy) ของเกษตรกรเอง เกษตรกรจะผลิตหรือ เปลี่ยนแปลงการผลิตขึ้นอยู่กับสภาพทางกายภาพ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ผลผลิตที่เพียงพอบริโภคภายในครอบครัว ส่วน ทีเ่ หลือเป็นส่วนของสวัสดิการ (อาจจ�ำหน่ายเพือ่ แลกเปลีย่ นเป็นปัจจัยอืน่ ๆ) คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 11
กระบวนการผลิตจะให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาและจัดการเรือ่ งการ ปรับปรุงบ�ำรุงดิน การหมุนเวียนปลูกพืชที่หลากหลายเพื่อช่วยเพิ่มผลผลิต การลดพึ่งพาเครื่องจักรกลการเกษตรขนาดใหญ่ การลด เลิก ละใช้สารเคมี การเกษตรทั้งปุ๋ยเคมีและสารป้องกันก�ำจัดวัชพืชและศัตรูพืช ๒. ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติเป็นปัจจัยส�ำคัญในการผลิตทางการเกษตร โดย เฉพาะดินและน�้ำ แต่ระบบเกษตรกรรมที่มุ่งเน้นการผลิตเพื่อตลาดมีการใช้ ปุ๋ยเคมี สารเคมีปราบศัตรูพืช เครื่องจักรกลการเกษตรขนาดใหญ่ ฯลฯ นั้น ส่งผลให้ทรัพยากรธรรมชาติ ดิน น�้ำ ป่า เสื่อมโทรมลง ส�ำหรับการผลิตในระบบเกษตรกรรมยั่งยืนจะเน้นการผสมผสาน เกื้อกูลและหมุนเวียนการใช้ทรัพยากรและกิจกรรมในแปลงเกษตร รวมทั้ง สร้างความหลากหลายทั้งชนิดพืชและสัตว์ ที่สำ� คัญต้องเลิก ลด ละการใช้ สารเคมีทางเกษตรที่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม โครงสร้างของดินและความหลาก หลายทางชีวภาพ ๓. ความยั่งยืนด้านสังคม การพัฒนาการเกษตรภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมกว่า ๕๐ ปีที่ผ่านมาพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ยากจนลง ไม่สามารถฟื้นฟูสภาพความ เป็นอยู่ให้ดีขึ้น ระบบการผลิตเกษตรกรรมแบบยั่งยืนจึงเป็นทางเลือกให้กับ เกษตรกรที่ต้องการเปลี่ยนแปลงระบบการผลิต เพื่อก่อให้เกิดคุณภาพชีวิต ที่ยั่งยืน เป็นการสร้างครอบครัว ชุมชน และสังคมให้มีความแข็งแกร่ง
ระบบเกษตรกรรมยั่งยืน๒ เกี่ยวข้องกับความเป็นอยู่ของชุมชนหลาย ระดับตั้งแต่ครัวเรือน ชุมชน จนถึงระดับประเทศ ความหมายจึงแตกต่าง กันออกไป อย่างไรก็ตาม ผลรวมของระบบจะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันต่อ ผลกระทบอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอก โดยแยกแยะ ความหมายของเกษตรกรรมยั่งยืนที่น�ำไปปฏิบัติใน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับแปลง : เกษตรกรรมยัง่ ยืนอิงหลักการของนิเวศเกษตร เช่น การ ไหลเวียนของธาตุอาหาร ความสัมพันธ์ระหว่างพืชปลูกและศัตรูพชื และการ ใช้ประโยชน์จากความหลากหลายชีวภาพทางเกษตร ระดับครัวเรือน : เกษตรกรรมยั่งยืนค�ำนึงถึงการจัดการทรัพยากร อย่างเหมาะสมที่จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด บทบาทของภูมิปัญญาท้องถิ่น ความหลากหลายของระบบการผลิตที่น�ำไปสู่ความมั่นคงของอาหาร รายได้ และกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ครัวเรือนมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างความเข้ม แข็งในระดับชุมชน ระดับชุมชน : เกษตรกรรมยั่งยืนเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจชุมชน สิทธิ การจัดการ และการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นธรรม พร้อมทั้ง การสร้างสิ่งจูงใจเพื่อให้เกิดการร่วมทุนระหว่างชุมชนกับภาคเอกชน กล่าวได้วา่ เกษตรกรรมยัง่ ยืนมีรปู แบบการท�ำการเกษตรทีส่ อดคล้อง กับระบบนิเวศ มีความเป็นไปได้ทางเศรษฐกิจ มีความเป็นธรรมทางสังคม และมีมนุษยธรรม ระบบการเกษตรกรรมยั่งยืนเป็นระบบการเกษตรที่รักษา จากhttp://www.mcc.cmu.ac.th/agsust/ ศูนย์วิจัยระบบทรัพยากรเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
๒
12 |
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 13
อัตราการผลิตพืชและสัตว์ให้อยูใ่ นระดับทีไ่ ม่กอ่ ให้เกิดความเสียหายในระยะ ยาว ภายใต้สภาพแวดล้อมทีเ่ ลวร้ายหรือไม่เหมาะสม นอกจากนี้ เกษตรกรจะ ต้องปรับเปลีย่ นวิถชี วี ติ และพฤติกรรมการบริโภคเพือ่ ให้สอดคล้องกับการท�ำ เกษตรกรรมยั่งยืน ดั ง นั้ น การท� ำ เกษตรกรรมยั่ ง ยื น จึ ง ไม่ ไ ด้ ห มายความเพี ย งการ ปรับเปลีย่ นเทคนิควิธกี ารท�ำการเกษตร หากยังหมายรวมถึง การสอนให้มกี าร ปรับเปลี่ยนระบบคุณค่าและกฎเกณฑ์การใช้ชีวิตไปในเวลาเดียวกัน
กิจกรรมที่ ๑.๑ การจัดระบบการผลิต การจัดระบบการผลิตเกษตรกรรมยั่งยืนเป็นการจัดระบบการผลิตที่ ค�ำนึงถึงวิถเี กษตรกรรมทีฟ่ น้ื ฟูทรัพยากรธรรมชาติและด�ำรงรักษาไว้ซงึ่ ความ สมดุลของระบบนิเวศ สามารถผลิตอาหารทีม่ คี ณ ุ ภาพและพอเพียงตามความ จ�ำเป็นพืน้ ฐานเพือ่ คุณภาพชีวติ ทีด่ ขี องเกษตรกรและผูบ้ ริโภค พึง่ พาตนเองได้ ในทางเศรษฐกิจ รวมทั้งเอื้ออ�ำนวยให้เกษตรกรและชุมชนท้องถิ่นสามารถ พัฒนาได้อย่างเป็นอิสระ การจัดระบบการผลิต ประกอบด้วยรูปแบบของการผลิตต่างๆ ที่ เกษตรกรปรับให้เหมาะสมกับระบบนิเวศ สังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม ของชุมชน๓ ๑. ระบบเกษตรผสมผสาน (Integrated farming) ระบบเกษตรที่มีการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์หลากหลายชนิดในพื้นที่ เดียวกัน โดยที่กิจกรรมการผลิตแต่ละชนิดเกื้อกูลประโยชน์ต่อกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ มีการใช้ทรัพยากรทีม่ อี ยูใ่ นไร่นาอย่างเหมาะสม เกิดประโยชน์ สูงสุด มีความสมดุลต่อสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง และเกิดการเพิ่มพูนความ อุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ การเกือ้ กูลกันระหว่างพืชและสัตว์ เศษ ซากและผลพลอยได้จากการปลูกพืชจะเป็นประโยชน์ต่อกิจกรรมการเลี้ยง สัตว์ ในทางตรงกันข้ามผลทีไ่ ด้จากการเลีย้ งสัตว์กจ็ ะเป็นประโยชน์ตอ่ พืชด้วย ปรับปรุงจาก วิฑูรย์ เลี่ยนจ�ำรูญเกษตรกรรมทางเลือก ความหมาย ความเป็นมา และ เทคนิควิธี,๒๕๓๕ และทัศนีย์ เศรษฐ์บุญสร้าง มูลนิธิวนชีวัน ๓
14 |
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 15
หลักการพื้นฐานของระบบเกษตรกรรมแบบผสมผสานมี ๒ ประการ ส�ำคัญ คือ ๑) ต้องมีกิจกรรมการเกษตรตั้งแต่ ๒ กิจกรรมเป็นต้นไป โดยการ ท�ำการเกษตรทั้ง ๒ กิจกรรมนั้น ต้องท�ำในพื้นที่และระยะเวลาเดียวกัน ซึ่ง กิจกรรมเหล่านั้นควรประกอบไปด้วยการปลูกพืชและการเลี้ยงสัตว์ และ สามารถผสมผสานระหว่างการปลูกพืชต่างชนิด หรือการเลี้ยงสัตว์ต่างชนิด กันได้ ๒) การเกื้อกูลประโยชน์ระหว่างกิจกรรมเกษตรต่างๆ และการใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรในระบบเกษตรแบบผสมผสานนั้น เกิดขึ้นทั้งจาก วงจรการใช้แร่ธาตุอาหาร รวมทั้งอากาศและพลังงาน เช่น การหมุนเวียนใช้ ประโยชน์จากมูลสัตว์ให้เป็นประโยชน์กับพืช และให้เศษพืชเป็นอาหารสัตว์ โดยที่กระบวนการใช้ประโยชน์เป็นไปทั้งโดยตรงหรือโดยอ้อม เช่น ผ่านการ ย่อยสลายของจุลินทรีย์เสียก่อน ทั้งนี้ ลักษณะการผสมผสานในระบบเกษตร สามารถแบ่งออกได้เป็น ๓ กลุ่มใหญ่ คือ การปลูกพืชแบบผสมผสานเป็นการอาศัยหลักการความสัมพันธ์ ระหว่างพืช สิง่ มีชวี ติ และจุลนิ ทรียต์ า่ งๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในระบบนิเวศตามธรรมชาติ มาจัดการและปรับใช้ในระบบการเกษตร ตัวอย่างเช่น การปลูกตาลโตนด ในนาข้าว การปลูกพริกไทยร่วมกับมะพร้าว การปลูกพืชไร่ผสมกับถั่ว การ ปลูกทุเรียนร่วมกับสะตอ การปลูกระก�ำในสวนยาง เป็นต้น โดยที่ยิ่งมีความ หลากหลายของพืชปลูกมากเท่าใดก็จะสามารถเพิ่มเสถียรภาพให้กับระบบ มากขึ้นเท่านั้น 16 |
การผสมผสานการเลี้ยงสัตว์ หลักการผสมผสานเป็นไปเช่นเดียวกับ การผสมผสานระหว่างพืช เนื่องจากสัตว์ชนิดหนึ่งจะมีความสัมพันธ์กับสัตว์ อีกชนิดหนึ่งและเกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ เช่น พืช และจุลินทรีย์ ตัวอย่าง ของระบบการผสมผสานการเลี้ยงสัตว์ เช่น การเลี้ยงหมูควบคู่กับปลา การ เลี้ยงเป็ดหรือไก่ร่วมกับปลา การเลี้ยงปลาแบบผสมผสาน เป็นต้น อย่างไร ก็ตาม การผสมผสานการเลี้ยงสัตว์เพียงอย่างเดียวอาจจะไม่สามารถสร้าง ระบบที่สมบูรณ์ได้เหมือนกับการผสมผสานการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ การปลูกพืชผสมผสานกับการเลี้ยงสัตว์ เป็นรูปแบบการเกษตรที่ สอดคล้องกับสมดุลของแร่ธาตุพลังงาน และมีการเกื้อกูลประโยชน์ระหว่าง กิจกรรมการผลิตต่างๆ มากขึน้ ใกล้เคียงกับระบบนิเวศตามธรรมชาติมากยิง่ ขึ้น ตัวอย่างของระบบการปลูกพืชผสมผสานกับการเลี้ยงสัตว์ เช่น การเลี้ยง ปลาในนาข้าว การเลีย้ งเป็ดในนาข้าว การเลีย้ งหมูและปลูกผัก การเลีย้ งสัตว์ และปลูกพืชไร่ เป็นต้น ๒. ระบบไร่นาป่าผสมหรือวนเกษตร (Agro Forestry) ระบบไร่นาป่าผสมหรือ “วนเกษตร” เป็นระบบเกษตรกรรมที่น�ำเอา หลักการความยั่งยืนของระบบป่าธรรมชาติมาเป็นแนวทางในการท�ำการ เกษตร และมีการจัดองค์ประกอบการผลิตทางการเกษตรให้มีความหลาก หลายชนิดของพืชและสัตว์อย่างเหมาะสมและสมดุล ค�ำว่า “วนเกษตร” มาจากค�ำว่า “วน” ที่หมายถึง ป่าที่มีความหลากหลายของทรัพยากรที่มี ชีวิตและไม่มีชีวิต และค�ำว่า “เกษตร” ที่หมายถึง การใช้ที่ดินในการผลิต พืชหรือสัตว์ เช่น การเพาะปลูกพืช การท�ำป่าไม้ ประมง ปศุสัตว์ต่างๆ ดังนั้น วนเกษตร จึงหมายถึง การใช้ที่ดินในการผลิตพืชและสัตว์ให้มากชนิด คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 17
หรือมีความซับซ้อนและหลากหลายทางชีวภาพใกล้เคียงธรรมชาติมากที่สุด หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า เป็นการท�ำเกษตรร่วมกับการอนุรักษ์ป่าไม้ โดย มีรากฐานหรือปัจจัยการผลิตที่มาจากท้องถิ่นเอง ทั้งนี้ การท�ำวนเกษตร จะมีลักษณะแตกต่างหรือผันแปรไปตามสภาพพื้นที่ รวมถึงทัศนคติ ความ เชื่อ วัฒนธรรม ประเพณี และความรู้ความสามารถในการจัดการของแต่ละ ท้องถิ่นเอง วนเกษตรเป็นแนวคิดและทางเลือกปฏิบตั ทิ างการเกษตรแบบหนึง่ ซึง่ รูปแบบจะแตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่นและสภาพพื้นที่ โดยสามารถแบ่ง เป็นหลายประเภท ดังนี๔้ ๑) วนเกษตรแบบบ้านสวน มีต้นไม้และพืชผลหลายชั้นความสูง โดย ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น สมุนไพร และพืชผักสวนครัวในบริเวณบ้าน ๒) วนเกษตรที่มีต้นไม้แทรกในไร่นาหรือทุ่งหญ้า เหมาะกับพื้นที่ซึ่งมี ลักษณะสูงๆ ต�่ำๆ โดยปลูกต้นไม้เสริมในที่ไม่เหมาะสมกับพืชผล เช่น ที่เนิน หรือที่ลุ่มน�้ำขัง และปลูกพืชในที่ราบหรือที่สม�่ำเสมอ ๓) วนเกษตรที่มีต้นไม้ล้อมไร่นา เหมาะกับพื้นที่ที่มีลมแรง พืชผล มักได้รับความเสียหายจากลมพายุอยู่เสมอ จึงต้องปลูกต้นไม้เป็นแนวก�ำบัง ลมรวมถึงสามารถเพิ่มความชุ่มชื้น บังแดดบังลมให้กับพืชผลที่ต้องการร่ม เงาและความชื้น ๔) วนเกษตรที่มีแถบต้นไม้และพืชผลสลับกัน เหมาะกับพื้นที่มีความ ลาดชันเป็นแนวยาวน�ำ้ ไหลเซาะหน้าดินมาก แถบต้นไม้ซงึ่ ปลูกไว้สองถึงสาม
เรียบเรียงจากหนังสือผู้ใหญ่วิบูลย์กับการเรียนรู้เพื่อการพึ่งตนเองและพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน; ฉันทนา บรรพศิริโชติ และคณะ; ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนป่าตะวันออก (วนเกษตร).
๔
18 |
แถวสลับกับพืชผลเป็นช่วงๆ ขวางความลาดชันจะช่วยรักษาหน้าดิน และใน ระยะยาวจะท�ำให้เกิดขั้นบันไดดินแบบธรรมชาติให้กับพื้นที่ ส�ำหรับแถบพืช อาจมีความกว้าง ๕-๒๐ เมตร ตามความเหมาะสมของพื้นที่ ๕) วนเกษตรใช้พื้นที่หมุนเวียนปลูกไม้ยืนต้น พืชผล และเลี้ยงสัตว์ เหมาะกับพื้นที่ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ซึ่งมีพื้นที่พอปลูกพืชผลเป็นแปลง หมุนเวียน โดยมีไม้ยืนต้นร่วมกับเลี้ยงสัตว์แบบหมุนเวียนเพื่อฟื้นฟูดิน ๓. ระบบไร่หมุนเวียน ระบบไร่หมุนเวียนเป็นระบบเกษตรกรรมพื้นบ้านที่ท�ำกันในหลาย วัฒนธรรมในอดีต แต่ปจั จุบนั พอจะหลงเหลือให้เห็นได้ในหมูช่ าวปกาเกอะญอ บนพืน้ ทีส่ งู ทางภาคเหนือและภาคตะวันตกของประเทศไทย เป็นวิธกี ารเพาะ ปลูกพืชในพืน้ ทีห่ นึง่ ในช่วงฤดูการผลิตหนึง่ โดยปลูกพืชแบบผสมผสานทัง้ ข้าว ผัก และพืชใช้สอยต่างๆ รวมกันในบริเวณพืน้ ทีเ่ ดียวกัน เมือ่ เก็บผลผลิตแล้วก็ จะปล่อยทิ้งเพื่อให้ทรัพยากรฟื้นคืนมา พอถึงฤดูการผลิตรอบใหม่จะใช้พื้นที่ ที่เคยท�ำการผลิตและได้ปล่อยให้ดินฟื้นความอุดมสมบูรณ์คืนกลับมาตาม ธรรมชาติในระยะเวลาหนึง่ มาท�ำการผลิตอีกครัง้ หมุนเวียนกันไป ดังนัน้ ระบบ ไร่หมุนเวียนจึงถือเป็นรูปแบบเกษตรกรรมยั่งยืนที่รักษาความหลากหลาย ทางชีวภาพและฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดินไว้ได้มากที่สุดระบบหนึ่ง ๔. เกษตรธรรมชาติ (Natural farming) เกษตรธรรมชาติเป็นระบบเกษตรกรรมที่ค�ำนึงถึงระบบนิเวศและ สภาพแวดล้อมเป็นส� ำคัญ และพยายามเข้าใจกระบวนการท� ำงานของ ธรรมชาติอย่างแท้จริง โดยมองว่าธรรมชาติได้จดั ทุกสิง่ ทุกอย่างไว้อย่างสมดุล ดีแล้ว จึงควรให้ความส�ำคัญกับธรรมชาติและใช้ประโยชน์จากธรรมชาติอย่าง คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 19
เต็มที่ โดยรบกวนธรรมชาติให้น้อยที่สุด พร้อมกับการอนุรักษ์และฟื้นฟู ธรรมชาติอย่างสม�่ำเสมอต่อเนื่อง แนวคิดการท�ำเกษตรธรรมชาติถูกน�ำมาเผยแพร่จากแนวคิดของ หลายๆ คน เช่น มาซาโนบุ ฟูกูโอกะ ผู้เขียนหนังสือ “ปฏิวัติยุคสมัยด้วยฟาง เส้นเดียว” โมกิจิ โอกาดะ ผู้ให้ก�ำเนิดกลุ่มเกษตรธรรมชาติเอ็มโอเอ (MOA) ศ.ดร.เทรุ โอะไฮกะ ผู้นำ� แนวคิดเกษตรธรรมชาติคิวเซ ฮาน คิว โช ผู้ค้น พบเทคนิคการใช้จุลินทรีย์ท้องถิ่นและเขียนหนังสือเรื่อง “เกษตรธรรมชาติ แนวคิดหลักการและจุลินทรีย์ท้องถิ่น” เป็นต้น ซึ่งต่างมีหลักการเกษตร ธรรมชาติที่คล้ายคลึงกันคือ การเลียนแบบธรรมชาติของป่าที่สมบูรณ์ โดย จะรบกวนหรือแทรกแซงการท�ำงานของธรรมชาติให้น้อยที่สุดเท่าที่จ�ำเป็น ให้ความส�ำคัญกับการฟื้นฟูความสมบูรณ์ของดินเป็นอันดับแรก เพราะดิน เป็นปัจจัยส�ำคัญสุดของระบบเกษตร พืชจะเติบโตแข็งแรงได้ดีถ้าดินมีความ สมบูรณ์ ระบบเกษตรธรรมชาติจึงเป็นวิธีการที่ไม่ก่อให้เกิดผลเสียต่อสภาพ แวดล้อม ไม่เป็นอันตรายต่อเกษตรกรและผูบ้ ริโภค สามารถให้ผลผลิตทีม่ ที งั้ ปริมาณและคุณภาพ เป็นระบบเกษตรกรรมทีม่ คี วามยัง่ ยืนมัน่ คงในระยะยาว หลักการของเกษตรธรรมชาติ ตัวอย่างจากประสบการณ์ของ ฟูกุโอกะ ที่ถ่ายทอดไว้ในหนังสือ ปฏิวัติยุคสมัยด้วยฟางเส้นเดียวนั้น ได้วางรากฐานของเกษตรธรรมชาติไว้ ๔ ประการคือ ๑) ไม่ไถพรวนดิน การไม่ไถพรวนดินเป็นบทแรกแห่งเกษตรธรรมชาติ เนื่องจากในธรรมชาตินั้นพื้นดินมีการไถพรวนโดยตัวของมันเองอยู่แล้วจาก การชอนไชของรากพืช สัตว์ แมลง และสิง่ มีชวี ติ เล็กๆ ทีอ่ ยูใ่ นดิน กระบวนการ เหล่านี้ดำ� เนินไปอย่างสัมพันธ์กัน พืชรากลึกจะช่วยไถพรวนดินชั้นล่าง พืช รากตื้นก็จะช่วยพรวนดินบริเวณดินชั้นบน 20 |
๒) งดเว้นการใส่ปยุ๋ เคมี เนือ่ งจากการใส่ปยุ๋ เคมีเป็นการเร่งการเจริญ เติบโตของพืชแบบชั่วคราวในขอบเขตแคบๆ เท่านั้น ธาตุอาหารที่พืชได้รับก็ ไม่สมบูรณ์ พืชจะอ่อนแอส่งผลให้เกิดโรคและแมลงได้งา่ ย ดินจะมีสภาพเป็น กรดและเนื้อดินเหนียวไม่ร่วนซุยจากการใช้ปุ๋ยเคมีอย่างต่อเนื่อง ๓) ไม่ก�ำจัดวัชพืช เนื่องจากการก�ำจัดวัชพืชเป็นงานหนักถึงแม้จะ คิดค้นวิธีการต่างๆ ก็ไม่สามารถท�ำให้วัชพืชหมดสิ้นไปได้ ดังนั้น จ�ำเป็นต้อง ยอมรับการด�ำรงอยู่ของวัชพืช เช่นเดียวกับธรรมชาติที่ปล่อยให้พืชพรรณ หลากหลายชนิดเติบโตและควบคุมวัชพืชได้ ดังนั้นในระบบเกษตรธรรมชาติ สามารถจัดการวัชพืชได้โดยการปลูกพืชหลากหลายชนิดและการปลูกพืช เพื่อคลุมและต้องมองประโยชน์ของวัชพืชที่ช่วยลดการชะล้างหน้าดิน ลด การระเหยของน�้ำได้ด้วย ๔) ไม่ใช้สารเคมีก�ำจัดศัตรูพืช สารเคมีไม่เคยก�ำจัดศัตรูพืชได้ได้โดย เด็ดขาด เพียงแต่หยุดได้ชั่วครั้งชั่วคราวเท่านั้น และผลกระทบที่เกิดจากสาร เคมีนั้นเกิดขึ้นทั้งระบบนิเวศและมนุษย์ ฟูกุโอกะไม่เห็นด้วยแม้การใช้แมลง และจุลินทรีย์มาควบคุมแมลงด้วยกันเอง เนื่องจากการท�ำเช่นนั้นมนุษย์ได้ แทรกแซงธรรมชาติมากเกินไป และส่งผลกระทบต่อห่วงโซ่สมั พันธ์ของสรรพ ชีวติ ในระบบนิเวศได้ เนือ่ งจากในโลกแห่งความจริงไม่มที างบอกได้วา่ อะไรคือ แมลงศัตรูพืช อะไรคือแมลงที่เป็นประโยชน์ ๕.เกษตรทฤษฏีใหม่ เกษตรทฤษฎี ใ หม่ เ ป็ น แนวทางการเกษตรที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลฯ ได้ทรงพระราชด�ำริและพระราชทานไว้แก่พสกนิกร ชาวไทยเมือ่ วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๐ ซึง่ เป็นช่วงทีป่ ระเทศได้รบั ผลกระทบจาก วิกฤตเศรษฐกิจ แนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่เป็นวิธีท�ำการเกษตรที่สอดคล้อง คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 21
กับสภาพความเป็นอยู่และระบบนิเวศ มีการหมุนเวียนการใช้ทรัพยากรที่มี อยู่ให้เกิดประโยชน์และมีประสิทธิภาพสูงสุดไม่ว่าที่ดิน แรงงาน ทุน ปัจจัย การผลิต หรือเศษเหลือใช้จากพื้นที่หนึ่งไปยังอีกพื้นที่หนึ่ง สร้างกิจกรรมที่ หลากหลายและมีจัดสรรแบ่งพื้นที่ท�ำเกษตรอย่างเหมาะสมระหว่างแหล่ง น�้ำ นาข้าว พืชผัก ไม้ผล เลี้ยงสัตว์ โครงสร้างพื้นฐาน และที่พักอาศัยใน สัดส่วน ๓๐/๓๐/๓๐/๑๐ ทั้งนี้เพื่อให้เกษตรกรมีอาหารที่ผลิตเองไว้บริโภค อย่างเพียงพอ ๖. เกษตรประณีต เกษตรประณีตเป็นรูปแบบการท�ำเกษตรที่เกิดจากบทเรียนและ ประสบการณ์ของปราชญ์ชาวบ้านภาคอีสาน ๑๒ ท่าน ร่วมกับนักวิจัยระดับ ชาวบ้านอืน่ ๆ เพือ่ ตอบค�ำถามถึงขนาดและการจัดการพืน้ ทีก่ ารท�ำเกษตรทีม่ ี ผลผลิตเพียงพอต่อครอบครัวและปลดภาระหนี้สินได้ ซึ่งค�ำตอบคือ มีที่ดิน ท�ำกิน ๑ ไร่ก็เพียงพอ
ส�ำหรับการพิจารณาว่าจะปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตว์ชนิดใดในพื้นที่ ๑ ไร่ นัน้ ขึน้ กับความเหมาะสมของสภาพพืน้ ทีแ่ ละความชอบของตัวเกษตรกรเอง ๗. เกษตรอินทรีย์ (Organic farming) เกษตรอินทรีย์เป็นระบบการเกษตรที่เน้นและให้ความส�ำคัญในการ ปรับปรุงบ�ำรุงดิน เคารพต่อศักยภาพทางธรรมชาติของพืช สัตว์ และระบบ นิเวศ ลดการใช้ปัจจัยการผลิตจากภายนอก และไม่ใช้สารเคมีทั้งปุ๋ยเคมีและ สารเคมีก�ำจัดศัตรูพืชรวมทั้งฮอร์โมนสังเคราะห์ที่กระตุ้นการเจริญเติบโตใน การเกษตร ตลอดจนสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม ระบบเกษตรอินทรียเ์ ชือ่ ว่า ดินทีส่ มบูรณ์ทำ� ให้พชื และสัตว์เจริญเติบโต แข็งแรงและสมบูรณ์ โดยมีวธิ กี ารปรับปรุงบ�ำรุงดินทีห่ ลากหลาย เช่น การใช้ ปุ๋ยพืชสด ปลูกพืชหมุนเวียน การท�ำปุ๋ยหมัก การท�ำปุ๋ยชีวภาพ ตลอดจนใช้ ธาตุอาหารเสริมจากหินแร่ต่างๆ รวมถึงมีการควบคุมศัตรูพืชโดยวิธีชีวภาพ หรือใช้สารสกัดจากพืชที่ไม่เป็นอันตรายต่อตัวห�้ำตัวเบียนที่เป็นประโยชน์
การท�ำเกษตรประณีตจึงเป็นการใช้ประโยชน์จากที่ดิน ๑ ไร่ให้เกิด ความคุ้มค่าสูงสุด โดยมีหลักการส�ำคัญ ๔ ออม คือ ออมดิน ออมน�้ำ ออม ต้นไม้ ออมสัตว์ และต้องยึดมั่นในหลักอิทธิบาท ๔ คือ ต้องมีฉันทะ หรือ ความพอใจรักในการท�ำเกษตร ต้องมีวริ ยิ ะหรือความพากเพียรในการท�ำงาน ตามแผนซึ่งรวมถึงแรงงานและการจัดการปัจจัยการผลิตต่าง ๆ ต้องมีจิตตะ หรือความตั้งใจใส่ใจในงานที่ท�ำด้วยศรัทธา ใฝ่ศึกษาสังเกตเรียนรู้เพือ่ พัฒนา ปรับปรุงสิ่งที่ท�ำอยู่ให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลเพิ่มขึ้น และต้องมี วิมังสาหรือรู้จักตรวจสอบประเมินผลโดยใช้ปัญญา
22 |
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 23
ฐานเรียนรู้ของกิจกรรมที่ ๑.๑
ตัวอย่าง แกนน�ำในชุมชนที่ท�ำเกษตรกรรมยั่งยืน เช่น
ฐานเรียนรู้ที่ ๑ กลุ่มเกษตรกรรมยั่งยืน ต�ำบลคลองน�ำ้ ไหล อ�ำเภอคลองลาน จังหวัดก�ำแพงเพชร
•
บ้านไร่อุดม หมู่ที่ ๑๘ และบ้านมอมะปรางทอง หมู่ที่ ๕ ได้การ ปลูกผักปลอดสารพิษอย่างน้อย ๕ ชนิดไว้บริโภคในครัวเรือน มี การตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการ คณะกรรมการประเมินผล มีการประชุมหมู่บ้านก�ำหนด กฎ กติกา มีการระดมทุนและการ สร้างเงื่อนไขในการมีส่วนร่วมของชุมชน กิจกรรมส่งเสริมสุข ภาพการออกก�ำลังกายด้วยการเปิดเสียงตามสาย และกิจกรรม ค้นหาครอบครัวต้นแบบไร้พุง โดยจะใช้สัญลักษณ์เป็นธงสีต่างๆ เพื่อแสดงสถานะ
•
ที่บ้านคลองด้วน หมู่ที่ ๒๘ ครอบครัวนายประพนธ์ เพิ่มสมบัติ เป็นตัวอย่างทีป่ ระสบความส�ำเร็จด้านการท�ำเกษตรกรรมยัง่ ยืน มี การเลี้ยงหมู เลี้ยงปลา ปลูกพืชผักผลไม้ และท�ำไร่มันส�ำปะหลัง ทั้งนี้มีการน�ำวัสดุจากการเกษตรมาใช้ในแปลง เช่น การท�ำน�้ำ หมักชีวภาพจากรกหมูเพื่อใช้แทนฮอร์โมนขับไล่ศัตรูพืชทั้งใน แปลงเกษตร ไร่มันส�ำปะหลัง และสวนยางพารา มีการน�ำขี้หมู ท�ำปุ๋ยคอกและผลิตแก๊สชีวภาพ เป็นตัวอย่างการลดต้นทุนการ ผลิตได้เต็ม ๑๐๐ %
•
บ้านบึงทรัพย์เจริญ หมู่ที่ ๒๖ ครอบครัวนายพล มะโรงมืด ได้ มีการจัดสรรพื้นที่เพื่อปลูกผลไม้ เช่น แก้วมังกร มะละกอ และ ผักตามฤดูกาล เช่น พริก มะเขือ ถั่วฝักยาว มีการขุดบ่อเลี้ยง ปลา เลี้ยงไก่ควบคู่กันไปด้วย ทั้งนี้ครอบครัวนายพลได้รับการ สนับสนุนพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์บางชนิด เช่น มะพร้าว มะม่วง
วิทยากร นายณัฐนนท์ จักกระโทก และ นายประพนธ์ เพิ่มสมบัติ
ต�ำบลคลองน�้ำไหลมี ๒๘ หมู่บ้าน ประชากรในพื้นที่กว่า ร้อยละ ๙๐ มีอาชีพการเกษตรและจากการส�ำรวจการท�ำเกษตรในระดับชุมชนของกลุ่ม แกนน�ำพบว่า การท�ำเกษตรส่วนใหญ่ต้องพึ่งพาสารเคมีทางการเกษตรทั้ง ปุ๋ยและยาก�ำจัดศัตรูพืช ท�ำให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพทั้งผู้ใช้ ผู้บริโภค และ สิ่งแวดล้อม ดังนั้นทางแกนน�ำจึงได้ปรึกษาหาทางแก้ปัญหากับ อบต.คลอง น�้ำไหล เพื่อขับเคลื่อนเรื่องเกษตรกรรมยั่งยืน โดยชุมชนได้มีกระบวนการ ด�ำเนินงาน เช่น สร้างและสนับสนุนการท�ำเกษตรกรรมยั่งยืนในระดับ ครอบครัว สร้างการรวมกลุ่มในระดับชุมชน และร่วมกันวางแผนการท�ำ กิจกรรมต่างๆ รวมทัง้ ขยายผล แลกเปลีย่ นประสบการณ์การท�ำเกษตรกรรม ยั่งยืนร่วมกัน ผลจากด�ำเนินงานท�ำให้มีสมาชิกกลุ่มเกษตรกรรมยั่งยืนจ�ำนวน ๓๐ ครอบครัว มีพนื้ ทีท่ ำ� เกษตรกรรมยัง่ ยืน ๓๑๕ ไร่ มีตวั อย่างแกนน�ำเกษตรกรรม ยั่งยืน ๕ ครอบครัว มีแหล่งน�้ำขนาดใหญ่ที่ใช้ส�ำหรับภาคเกษตรของชุมชน ได้ตลอดปี เกิด “ตลาดสีเขียวบ้านบึงหล่ม” เพื่อจ�ำหน่ายผลผลิต ทั้งนี้ได้ส่ง ผลให้คนในชุมชนต�ำบลคลองน�้ำไหลได้บริโภคอาหารปลอดภัยมีสุขภาพดี ขึ้น ลดค่าใช้จ่ายในครอบครัว เกิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่า อีก ทัง้ เกษตรกรยังสามารถเรียนรูว้ ธิ กี ารจัดการพืน้ ทีใ่ ห้เกิดประโยชน์สงู สุด และ ท�ำให้เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกัน 24 |
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 25
•
สุกร ไก่ ปลาดุก กบ จาก อบต. คลองน�้ำไหลและยกระดับให้ เป็นสถานที่ศึกษาดูงานของผู้ที่สนใจเพื่อน�ำไปปรับใช้ในพื้นที่ ของตนเอง
ฐานเรียนรู้ที่ ๒ กลุ่มเลี้ยงแพะครบวงจร ต�ำบลหนองงูเหลือม อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม
บ้านบึงหล่ม หมู่ที่ ๖ ครอบครัวนางสมจิต กลิ่นซ้อน ซึ่งเป็น ผู้ใหญ่บ้านและนายเฉลียว กลิ่นซ้อน ประธานกลุ่มเตาเผา ถ่าน ๒๐๐ ลิตร ได้เป็นตัวอย่างและแกนน�ำในการเลี้ยงหมูหลุม การเลี้ยงไก่ไว้กินไข่ การเลี้ยงกบ การท�ำน�้ำส้มควันไม้จากเตา เผาถ่าน ๒๐๐ ลิตร
กลุ่มเลี้ยงแพะครบวงจร ต.หนองงูเหลือม อ.เมือง จ.นครปฐม เป็น กลุ่มที่มีระบบการผลิตแบบเกษตรผสมสาน โดยมี นายนคร บุบประเสริฐ เป็นแกนน�ำ
จากการทบทวนสรุปบทเรียนของการด�ำเนินงานนัน้ ท�ำให้ชมุ ชนเรียน รู้ว่า ปัจจัยที่ส่งผลให้การด�ำเนินงานประสบความส�ำเร็จก็คือ การมีแกนน�ำที่ เข้มแข็งเป็นตัวอย่างให้กับคนในชุมชน มีความร่วมมือจากคนในชุมชนที่เห็น และตระหนักถึงความส�ำคัญของการท�ำเกษตรกรรมยัง่ ยืน ว่าเป็นทางออกใน การท�ำการเกษตร รวมทัง้ การบูรณาการท�ำงานร่วมกันอย่างต่อเนือ่ งของกลุม่ ต่างๆ ทั้งข้าราชการ เจ้าหน้าที่ของ อบต. อย่างไรก็ตาม ในชุมชนยังคงมีเกษตรกรที่ยังคงใช้สารเคมีในการท�ำ เกษตรอยู่ จึงจ�ำเป็นทีต่ อ้ งสร้างกระบวนการแลกเปลีย่ นเรียนรูแ้ ละสนับสนุน ด้านเกษตรกรรมยั่งยืนให้กับกลุ่มเกษตรกรเหล่านี้ เพื่อสร้างให้เกิดต�ำบล “เกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย” ทั้งในระดับครัวเรือนและชุมชน ท้องถิ่น สร้างความเข้มแข็งและต่อยอดกองทุนเกษตรกรรมยั่งยืนต�ำบล คลองน�้ำไหลอย่างแท้จริง
วิทยากร นายนคร บุบประเสริฐ
นายนครเคยท�ำงานในบริษัทจนเกิดความเบื่อหน่ายระบบการท�ำงาน และมีปัญหาสุขภาพ จึงตัดสินใจลาออกจากงานและเปลี่ยนวิถีชีวิตมาเป็น เกษตรกร โดยตัดสินใจซื้อที่ดินจ�ำนวน ๒ ไร่ในต�ำบลหนองงูเหลือมในปี ๒๕๔๗ จากคนท�ำงานบริษัทที่ไม่มีประสบการณ์ท�ำเกษตรเลย นายนคร เริ่มท�ำเกษตรตามข้อมูลที่ค้นหามาและเลือกปลูกพืชเชิงเดี่ยว เช่น กระชาย ตะไคร้ ดาวเรือง ฯลฯ ตามที่เกษตรกรแถบนั้นท�ำกัน ผลปรากฏว่าได้ผลผลิต ในปริมาณมาก แต่รายได้ไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่ายในครอบครัว โดยเฉพาะ ค่าใช้จ่ายหลักด้านอาหาร ต่อมาในปี ๒๕๔๘ ได้หาข้อมูลการเลี้ยงสัตว์เพื่อ เป็นรายได้เสริม นายนครตัดสินใจเลือกการเลี้ยงแพะเพราะเห็นว่าต้นทุนต�่ำ และพื้นที่เหมาะสม มีอาหารตามธรรมชาติเป็นจ�ำนวนมากไม่ว่า หญ้า ใบกระถิน ฯลฯ และเห็นว่ามูลแพะสามารถน�ำมาใช้เป็นปุ๋ยในแปลงเกษตร ได้ นายนครเริ่มเลี้ยงแพะเนื้อตัวเมีย ๑๕ ตัวและตัวผู้ ๑ ตัว เพียงแค่ระยะ เวลา ๒ ปีเท่านั้น ปรากฏผลแพะขยายปริมาณอย่างรวดเร็วเพิ่มเกือบ ๓๐๐ ตัว แต่ก็ต้องประสบกับปัญหาการปลูกพืชผักและแหล่งอาหารส�ำหรับแพะ ถึงปี ๒๕๕๑ นายนครมีโอกาสได้ศึกษาดูงานการท�ำเกษตรตามแนว ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหลายพื้นที่ท�ำให้ได้คิดทบทวนถึงชีวิตจากการ
26 |
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 27
ลาออกจากงานและอยากมีอาชีพการเกษตรที่อิสระ จากนั้นจึงตัดสินใจ ขายแพะเกือบหมดและเหลือแพะนมไว้เพียง ๖ ตัวเอาไว้รีดนมบริโภคใน ครอบครัว และได้ท�ำบัญชีครัวเรือนตามที่ได้ไปเรียนรู้มา พร้อมทั้งปรับ เปลีย่ นแปลงเกษตรให้เป็นเกษตรผสมผสาน โดยมีการวางแผนแบบการผลิต จากการดูบญ ั ชีครัวเรือน ค�ำนวณปริมาณการบริโภคข้าวของครอบครัว ลดค่า ใช้จ่ายที่ไม่จ�ำเป็น จากนั้นจัดสรรที่ดิน ๒ ไร่ที่มีอยู่ทั้งท�ำนา ปลูกผักสวนครัว พึ่งตนเองด้านปัจจัยการผลิต เช่น ท�ำปุ๋ยอินทรีย์ และเพิ่มรายได้ด้วยการ แปรรูปผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ จากนมแพะ เช่น สบูน่ มแพะ นมพาสเจอร์ไรส์ ไอศกรีม ฯลฯ จ�ำหน่ายในชุมชน ด้วยวิธีดังกล่าวท�ำให้คนอื่นๆ ในชุมชนให้ความสนใจ มีการเลี้ยงแพะ ตาม จนในปี ๒๕๕๓ เกิดการรวมกลุ่มเป็น “กลุ่มผู้เลี้ยงแพะครบวงจร ต�ำบล หนองงูเหลือม” มีสมาชิก ๑๕ คน และยังสร้างความร่วมมือกับกลุม่ เกษตรกร เลี้ยงแพะกลุ่มอื่นๆ ในเขตปริมณฑลเพื่อส่งนมให้กับบริษัทและแลกเปลี่ยน เรียนรู้ช่วยเหลือกัน ปัจจุบันกลุ่มเกษตรผสมผสานและเลี้ยงแพะครบวงจรมีสมาชิก ๖ คน มีการท�ำกิจกรรมในแปลงเกษตรที่หลากหลาย เช่น ปลูกพืชผักปลอด สารเคมี ท�ำนาข้าวอินทรีย์ และกิจกรรมการเลี้ยงแพะจะเกี่ยวเนื่องเกื้อกูล ภายในฟาร์ม มีการรีดนมแพะบริโภคในครัวเรือน จ�ำหน่ายในชุมชน และ แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ จ�ำหน่ายภายในชุมชนและตลาดสีเขียว มูลแพะ ใช้เป็นปุย๋ ในการปลูกผัก เศษเหลือจากพืชผักต่างๆ ในไร่นาน�ำมาใช้เป็นอาหาร แพะ นอกจากนัน้ กลุม่ ยังได้ทำ� กิจกรรมต่างๆ ทีใ่ ห้ประโยชน์กบั ชุมชน เช่น น�ำ ความรูถ้ า่ ยทอดให้กบั เกษตรกรในชุมชนทีส่ นใจและนักเรียนในโรงเรียนบ้าน ปลักไม้ลาย โดยใช้บ้านของนายนครเป็นแหล่งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสร้าง 28 |
ตลาดสีเขียวในโรงพยาบาลนครปฐม โดยจะน�ำมาจ�ำหน่ายทุกวันพุธ และ ตลาดสุขใจ สวนสามพราน ทุกวันอาทิตย์ และเป็นแหล่งอาหารสุขภาพของ คนในชุมชน รวมทัง้ ตัวนายนครยังน�ำผลผลิตและผลิตภัณฑ์ในแปลงสนับสนุน การท�ำกิจกรรมของชุมชนที่จัดขึ้น เงื่ อ นไขส� ำ คั ญ ที่ ท� ำ ให้ ก ารท� ำ เกษตรกรรมยั่ ง ยื น ของกลุ ่ ม ประสบ ความส�ำเร็จคือ ผลผลิตเป็นที่ต้องการของคนในชุมชน มีตลาดสีเขียวรองรับ เนื่องจากผลผลิตมีคุณภาพ ตัวเกษตรกรเองมีความรู้ความช�ำนาญ มั่นศึกษา หาความรู้ มีการท�ำงานที่ช่วยเหลือและเกื้อหนุนกัน มีการเชื่อมโยงงาน คน ภาคีภายนอกและทุนทางสังคมอืน่ ๆ ทัง้ ในและนอกพืน้ ที่ มีหน่วยงานภายนอก สนับสนุนการให้ความรูท้ งั้ ทีเ่ ป็นหน่วยงานภาครัฐ เช่น กรมปศุสตั ว์ ฯลฯ และ บริษัทเอกชน กลุ่มเลี้ยงแพะครบวงจร ต.หนองงูเหลือม อ.เมือง จ.นครปฐม จึงถือ เป็นตัวอย่าง ส�ำหรับการจัดการฟาร์มขนาดเล็กทีส่ ามารถจัดการพืน้ ทีแ่ ละท�ำ ระบบเกษตรกรรมยัง่ ยืนได้อย่างส�ำเร็จ รวมทัง้ มีการสร้างกระบวนการเรียนรู้ ให้กับคนในและนอกชุมชนอย่างต่อเนื่อง
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 29
กิจกรรมที่ ๑.๒ การปรับปรุงบ�ำรุงดิน การปรับปรุงดินมีความส�ำคัญต่อระบบเกษตรกรรมยั่งยืน ถ้าดินมี ความสมบูรณ์ส่งผลให้พืชแข็งแรง มีความต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูพืช ผลผลิตที่ได้จะดีมีคุณภาพสูง ต้นทุนการผลิตต�่ำ และช่วยให้งานในไร่นาเบา ลง การปรับปรุงบ�ำรุงดินจึงมีบทบาทส�ำคัญในระบบการเกษตรที่สร้างความ ปลอดภัยของอาหารและสุขภาวะของคนในชุมชน การปรับปรุงบ�ำรุงดินในระบบเกษตรกรรมยัง่ ยืน๕ ประกอบด้วยความ รู้หลักคือ ๑. ลั ก ษณะของดิ น ดิ น ที่ เ หมาะสมส� ำ หรั บ การเพาะปลู ก นั้ น จะ ประกอบด้วยคุณสมบัติส�ำคัญ ๓ ประการ คือ
๑.๒ คุณสมบัติทางกายภาพ คือ ดินต้องมีความสมดุลของอากาศ และน�้ำ กล่าวคือ ดินต้องมีโครงสร้างที่ดี ร่วนซุย อากาศถ่ายเทได้ดี มีความ สามารถในการอุ้มน�้ำได้ดี เม็ดดินเกาะกันอย่างหลวมๆ เพื่อช่วยให้รากพืช สามารถแผ่ขยาย และชอนไชไปหาแร่ธาตุอาหารพืชได้ง่าย ในระยะที่กว้าง และไกล เป็นดินที่อ่อนนุ่มไม่แข็งกระด้าง ๑.๓ คุณสมบัติทางชีวภาพ คือ เป็นดินที่มีจุลินทรีย์และสิ่งที่มีชีวิต เล็กๆ ในดินที่เป็นประโยชน์ในปริมาณมาก ซึ่งสามารถควบคุมจุลินทรีย์ และสิง่ ทีม่ ชี วี ติ เล็กๆ ในดินทีเ่ ป็นโทษแก่พชื ได้เป็นอย่างดี และจุลนิ ทรียท์ เี่ ป็น ประโยชน์ในดิน สามารถสร้างกิจกรรมต่างๆ ทีก่ อ่ ให้เกิดประโยชน์แก่พชื ได้ดี เช่น สามารถย่อยแร่ธาตุในดินให้เป็นประโยชน์แก่พชื และเพิม่ ปริมาณทีม่ าก ขึ้น ตรึงธาตุอาหารพืชจากอากาศให้เป็นประโยชน์แก่พืช สร้างสารปฏิชีวนะ ปราบโรคและศัตรูพืชในดินได้ เสริมสร้างพลังให้แก่พืช และท�ำลายสารพิษ ในดินได้ ๒. ปัญหาของดิน๖
๑.๑ คุณสมบัตทิ างเคมี คือ ดินต้องมีความสมดุลของแร่ธาตุอาหาร พื ช ซึ่งประกอบด้วย ธาตุอาหารพืชหลัก ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ โพแทสเซี่ยม ธาตุอาหารรอง ประกอบด้วย แคลเซียม แมกนีเซียม ก�ำมะถัน ธาตุอาหารเสริมประกอบด้วย เหล็ก สังกะสี ทองแดง โบรอน โมลิบดินัม แมงกานี ส และคลอรี น และมี ป ฏิ กิ ริ ย าของดิ น ที่ เ ป็ น กลางคื อ ดิ น ต้ อ ง ไม่เป็นกรด เป็นด่าง หรือมีความเค็มจนเกินไป
ดินที่ใช้ท�ำการเพาะปลูกทั่วไปของประเทศไทยส่วนใหญ่มักจะขาด ความอุดมสมบูรณ์ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต�่ำ โครงสร้างของดินไม่ดี แน่น ทึบ ไม่อุ้มน�้ำ มีจุลินทรีย์ในดินน้อย อันเนื่องจากการใช้ดินเพื่อการเพาะปลูก อย่างต่อเนือ่ งโดยขาดการปรับปรุงและบ�ำรุงรักษา การท�ำการเกษตรกรรมที่ ไม่เหมาะสม ใช้ทดี่ นิ ผิดประเภท รวมทัง้ แหล่งก�ำเนิดของดินทีม่ โี ครงสร้างดิน
ปรับปรุงข้อมูลจาก วารสารชมรมเกษตรอินทรีย์แห่งประเทศไทย ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ เดือน กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๔๕
ข้อมูลจาก กองส�ำรวจและจ�ำแนกดิน กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ : ดิน ที่มีปัญหาต่อการใช้ประโยชน์ด้านเกษตรกรรมของประเทศไทย, สิงหาคม ๒๕๔๔
๕
30 |
๖
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 31
แตกต่างกัน เช่น ดินทราย ดินลูกรัง ดินเปรีย้ ว ดินเค็ม ดินด่าง ท�ำให้ขาดความ สมดุลในด้านสมบัตทิ างเคมี กายภาพ และชีวภาพ จ�ำเป็นต้องท�ำการปรับปรุง และหาทางแก้ไขเพื่อให้เกิดประโยชน์ในการเพาะปลูกต่อไป จากการส� ำ รวจของกองส� ำ รวจและจ� ำ แนกดิ น กรมพั ฒ นาที่ ดิ น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์พบว่า ทรัพยากรดินของประเทศไทยมีปัญหา ด้านกายภาพหรือด้านคุณภาพ ซึ่งจ�ำแนกได้ดังต่อไปนี้ ๒.๑ ปัญหาความอุดมสมบูรณ์ของดินต�่ำและเสื่อมลง จากรายงาน การส�ำรวจและจ�ำแนกชนิดดินของกรมพัฒนาที่ดินที่ด�ำเนินการในจังหวัด ต่าง ๆ ของประเทศไทยพบว่า ดินส่วนใหญ่มีความอุดมสมบูรณ์ต�่ำ โดย ธรรมชาติ ทั้งนี้เนื่องจากประเทศตั้งอยู่ในเขตศูนย์สูตร อุณหภูมิสูง และมี ปริมาณฝนตกมาก การสลายตัวของหินแร่ที่เป็นวัตถุต้นก�ำเนิดของดินเป็นไป อย่างรวดเร็ว และมีการชะล้างแร่ธาตุอาหารพืชออกไปจากดินในอัตราสูง ใน ช่วงฤดูฝนถูกพัดพาไปกับน�ำ้ ทีไ่ หลลงสูท่ ตี่ ำ�่ ได้แก่ แม่นำ�้ ล�ำคลองและลงสูท่ ะเล ในทีส่ ดุ จากการสลายตัวของหินแร่ในดินด�ำเนินไปอย่างมากและรวดเร็วนีเ้ อง ท�ำให้ดินในประเทศไทยส่วนใหญ่ประกอบไปด้วยแร่ดินเหนียว เคโอลิไนท์ (Kaolinite) แร่เหล็ก และอลูมินัมออกไซด์ ซึ่งแร่ดินเหนียวเหล่านี้มีบทบาท ในการดูดซับแร่ธาตุอาหาร และการเปลี่ยนประจุบวกต�่ำ จึงท�ำให้ความอุดม สมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติต�่ำด้วย ๒.๒ ดินที่มีปัญหาพิเศษ จากการส�ำรวจและท�ำแผนที่ดินของกรม พัฒนาที่ดินพบว่า มีดินบางชนิดที่มีสมบัติทางกายภาพและทางเคมีเป็น อุปสรรคหรือข้อจ�ำกัดในการใช้ประโยชน์ในการเกษตร โดยเฉพาะการเพาะ ปลูกพืช จ�ำเป็นต้องมีการพัฒนาหรือปรับปรุงแก้ไขเพื่อเพิ่มศักยภาพในการ 32 |
ผลิตของดินเหล่านั้น ดินที่มีปัญหาพิเศษที่กล่าวนี้ พอแยกออกได้ตามสภาพ ของปัญหาหรือข้อจ�ำกัด ดังต่อไปนี้ ๑) ดินเปรี้ยวจัด หรือดินกรดก�ำมะถัน (acid sulphate soils) เป็นดิ นทีม่ คี า่ ของความเป็นกรด (pH) ต�ำ่ กว่า ๔.๐ ตัง้ แต่ชนั้ ถัดจากผิวดินลงไปและ ในชั้นที่มีสารสีเหลืองฟางข้าวเกิดขึ้น ค่าของ PH อาจลงต�่ำถึง ๓.๕ หรือต�่ำ กว่า ดินเปรีย้ วจัดหรือดินกรดก�ำมะถันดังกล่าวนีพ้ บมีเนือ้ ทีป่ ระมาณ ๙.๐ ล้าน ไร่ หรือ ร้อยละ ๒.๘๑ ของพื้นที่ประเทศ พบมากในที่ราบภาคกลางตอนใต้ ภาคตะวันออก และภาคใต้ พบกระจัดกระจายบริเวณชายฝั่งทะเล ในสภาพ พื้นที่ที่น�้ำทะเลเคยท่วมถึงมาก่อน ๒) ดินเค็ม (saline and sodic soils) เป็นดินที่มีเกลือที่ละลาย น�้ำได้เป็นองค์ประกอบอยู่สูงจนเป็นอันตรายต่อพืชที่ปลูก ดินเค็มที่พบใน ประเทศไทยพบมากที่สุด ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ประมาณ ๑๗ ล้านไร่ หรือ ร้อยละ ๕.๕ ของพื้นที่ทั้งประเทศ ๓) ดินทรายจัด (sandy soils) ที่พบในประเทศไทยแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ ดินทรายธรรมดาทีม่ เี นือ้ ทีเ่ ป็นทรายจัดลงไปลึก และดินทราย ที่มีชั้นดานจับตัวกันแข็ง โดยเหล็กและฮิวมัสเป็นตัวเชื่อม เกิดขึ้นภายใน ความลึก ๒ เมตร แต่ส่วนใหญ่เกิดขึ้นต�่ำกว่า ๑ เมตรจากผิวดิน ดินทรายทั้ง ๒ ประเภทนีม้ คี วามอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต�่ำ และมีความสามารถในการ อุม้ น�ำ้ ต�ำ่ ด้วย นอกจากนีด้ นิ ทรายทีม่ ชี นั้ ดินดานแข็ง เมือ่ น�ำ้ ไหลซึมลงไปจะไป แช่ขงั อยู่ เพราะชัน้ ดินดานน�ำ้ ซึมผ่านได้ยาก ท�ำให้เกิดสภาพน�ำ้ ขัง รากพืชขาด อากาศ ท�ำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต ๔) ดินปนกรวด (skeletal soils) เป็นดินที่มีชั้นลูกรัง เศษหิน กรวดกลม และเศษหินอื่นๆ เกิดขึ้น ในความลึก ๕๐ เซนติเมตรจากผิวดินบน และในชั้นที่มีดินปนกรวดนั้น จะประกอบไปด้วยกรวดและเศษหินต่างๆ ที่มี คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 33
ขนาด ๒ มิลลิเมตรอยู่มากกว่าร้อยละ ๓๕ โดยปริมาตรชั้นกรวดหินนี้จะเป็น อุปสรรคต่อการชอนไชของรากพืช ท�ำให้พชื ชะงักการเจริญเติบโต นอกจากนี้ ดินทีม่ ชี นั้ กรวดหินอยูม่ กั เป็นดินทีข่ าดความชุม่ ชืน้ ในดินได้งา่ ย ดินปนกรวดที่ พบในประเทศไทย มีเนื้อที่ประมาณ ๕๒ ล้านไร่ หรือ ร้อยละ ๑๖.๓ ของพื้นที่ ทั้งประเทศ พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ ๕) ดินบริเวณพื้นที่พรุ หรือ ดินอินทรีย์ (organic soils) เป็นดินที่เกิ ดในที่ลุ่มต�่ำ มีน�้ำเค็มและน�้ำกร่อยจากทะเลเข้าท่วมถึง มีชั้นเศษพืชหรือชั้น อินทรียสารที่สลายตัวดีแล้ว และก�ำลังสลายตัวสะสมกันเป็นชั้นหินตั้งแต่ ๕๐ เซนติเมตร ถึง ๓ เมตร หรือหนากว่า เป็นดินที่มีศักยภาพเป็นกรดจัด มีสภาพไม่อยู่ตัวขึ้นอยู่กับระดับน�้ำใต้ชั้นอินทรีย์สาร และเป็นดินที่ขาดธาตุ อาหารที่จ�ำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชค่อนข้างรุนแรง การพัฒนาหรือ ปรับปรุงแก้ไขค่อนข้างยากและลงทุนสูง พบมากในภาคใต้มีพื้นที่รวมกัน ประมาณ ๕ แสนไร่ แต่ที่พบมากและเป็นพื้นที่แปลงใหญ่ ได้ แก่ จังหวัด นราธิวาส มีเนื้อที่ประมาณ ๔ แสนไร่ ๖) ดินเหมืองแร่ร้าง (Tin – mined tailing lands) ส่วนใหญ่พบใน ภาคใต้ โดยเฉพาะ ในจังหวัดพังงา ภูเก็ต และระนอง มีเนือ้ ทีร่ วมกันประมาณ ๑๕๙,๐๐๐ ไร่ นอกจากนี้ยังพบในภาคตะวันออกและภาคเหนือที่มีการท�ำ เหมืองแร่ ๒.๓ ปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน (soil erosion) การชะล้าง พังทลายของดินในประเทศไทยเกิดขึ้นใน ๒ ลักษณะใหญ่ๆ คือ การชะล้าง พังทลายที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เนื่องจากประเทศไทยตั้งอยู่ศูนย์สูตรและมี ปริมาณฝนตกมาก ดินบริเวณที่ลาดเทจะถูกน�้ำฝนกัดกร่อนชะล้างออกไปสู่ที่ ต�ำ่ เมือ่ น�ำ้ ฝนไหลบ่าบนผิวดินในขณะฝนตกและหลังฝนตก เกิดขึน้ มากบริเวณ 34 |
ที่เป็นภูเขา มีความลาดเทของพื้นที่สูง และมีป่าไม้คลุมไม่หนาแน่น อย่างไร ก็ตาม การชะล้างพังทลายแบบเกิดขึ้นตามธรรมชาติจะเกิดขึ้นมากน้อยขึ้น อยูก่ บั ปัจจัยหลายอย่าง เช่น ชนิดหรือลักษณะของดิน ความลาดเทของพืน้ ที่ ความหนาแน่นของพืชพรรณที่ขึ้นปกคลุม และปริมาณฝนที่ตก ส�ำหรับการ ชะล้างพังทลายอีกลักษณะหนึ่งนั้น เกิดขึ้นจากการกระท�ำของมนุษย์ การ ชะล้างพังทลายในลักษณะนีน้ บั ว่าเกิดขึน้ มากและรุนแรงในประเทศไทย โดย เฉพาะบริเวณพืน้ ทีด่ นิ ดอนทีม่ คี วามลาดเทตัง้ แต่รอ้ ยละ ๕ ขึน้ ไป ทีใ่ ช้ในการ เพาะปลูก โดยไม่มีการอนุรักษ์ดินและน�้ำที่เหมาะสม และจะมีความรุนแรง มากขึ้น ในบริเวณบนพื้นที่ภูเขา ที่เปิดป่าท�ำการเพาะปลูก หรือบริเวณที่ท�ำ ไร่เลื่อนลอย ๓. แนวทางการปรับปรุงบ�ำรุงดินในระบบเกษตรกรรมยั่งยืน ดินทีใ่ ช้ทำ� การเพาะปลูกทีม่ ปี ญ ั หาไม่วา่ จะเป็นดินทีเ่ สือ่ มค่า ขาดความ อุดมสมบูรณ์ มีเนื้อดินเป็นดินเหนียว ดินทราย ดินกรวด ดินลูกรัง ดินเหมือง แร่ ดินพรุ ดินเปรี้ยว ดินเค็ม ดินที่มีหน้าดินถูกชะล้าง ดินเหล่านี้สามารถ ปรับปรุงให้เกิดประโยชน์ใช้ในการเพาะปลูกได้ แนวทางการปรับปรุงบ�ำรุง ดินในระบบเกษตรกรรมยั่งยืนเป็นการปรับปรุงบ�ำรุงดินโดยวิธีธรรมชาติ ซึ่ง เป็นหนทางหนึ่งที่สามารถน�ำมาใช้ได้ เป็นวิธีที่ท�ำได้ง่าย เป็นการใช้วัสดุที่ เกิดขึน้ โดยธรรมชาติ หรือวัสดุเหลือใช้มาท�ำให้เกิดประโยชน์ในการปรับปรุง บ�ำรุงดิน เป็นการใช้พชื และสัตว์เป็นแหล่งของธาตุอาหารพืชในดิน ตลอดจน การเขตกรรมและระบบการจัดการเกษตรทีเ่ หมาะสม เป็นการหลีกเลีย่ งการ ใช้สารเคมีสังเคราะห์มาใช้เป็นวัสดุปรับปรุงบ�ำรุงดิน ท�ำให้เกิดผลผลิตที่เป็น ประโยชน์และปลอดภัยต่อผู้ผลิตและผู้บริโภค ช่วยลดต้นทุนการผลิต และ ลดปัญหาสิ่งแวดล้อมอีกด้วย คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 35
อย่างไรก็ตาม การปรับปรุงบ�ำรุงดินโดยวิธีธรรมชาตินั้นจะต้องค�ำนึง ถึงความสมดุลทางเคมี ชีวะ และ กายภาพเป็นหลัก ซึ่งสามารถด�ำเนินการ ได้โดยวิธีต่างๆ ดังนี้ ๓.๑ การปรับปรุงบ�ำรุงดินโดยใช้ระบบพืช ประกอบด้วย ๑) การปลูกพืชต่างชนิดแบบผสมผสาน ๒) การปลูกพืชหมุนเวียน ๓) การปลูกพืชสดเป็นปุ๋ยปรับปรุงบ�ำรุงดิน ๔) การปลูกพืชคลุมดิน วิธีดังกล่าวจะให้ประโยชน์ดังนี้ ๑) เพิ่มอินทรียวัตถุให้แก่ดิน ๒) สะสมธาตุอาหารให้แก่ดิน ๓) เพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ให้แก่ดิน ๔) ป้องกันดินเป็นโรค ๕) ป้องกันการชะล้างและพังทลายของดิน ๖) ลดศัตรูพืชในดิน ๗) ท�ำให้ดินร่วนซุยอ่อนนุ่มไม่แข็งกระด้าง ๓.๒ การปรับปรุงบ�ำรุงดินโดยใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ๑) การใช้ปุ๋ยคอก ๒) การใช้ปุ๋ยหมัก ๓) การใช้เศษพืช การใช้วัสดุดังกล่าวปรับปรุงบ�ำรุงดินจะก่อให้เกิดประโยชน์คือ ๑) เพิ่มอินทรียวัตถุให้แก่ดินและเพิ่มธาตุอาหารพืชให้แก่ดิน ๒) เพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ให้แก่ดิน ๓) ช่วยลดความเปรีย้ ว ความเค็ม ความเป็นด่าง ของดินให้นอ้ ยลง 36 |
๔) ลดศัตรูพืชในดิน ๕) ช่วยให้ดินร่วนซุย ดินอุ้มน�้ำได้ดีขึ้น ดินไม่แข็ง ๖) ช่วยดินมีพลังสามารถรับพลังงานจากแสงอาทิตย์ได้มากขึ้น ๗) รักษาอุณหภูมิดิน ๓.๓ การใช้จุลินทรีย ์ (microorganisms) การใช้จุลินทรีย์ปรับปรุง บ�ำรุงดินจะช่วย ๑) สร้างธาตุอาหาร ๒) แก้ไขการขาดสมดุลของจุลินทรีย์ในดิน ๓) ช่วยป้องกันดินเป็นโรค ลดสารพิษในดิน ๔) ช่วยย่อยอินทรียส์ ารและอนินทรียส์ ารในดินให้เกิดประโยชน์ ๓.๔ การปรับปรุงบ�ำรุงดินโดยใช้วัสดุที่เกิดจากแหล่งธรรมชาติ ๑) การใช้ปุ๋ยมาร์ล (Mar) โดโลไมท์ (Dolomite) หินฟอสเฟต (Rock phosphate) หิ น ฝุ ่ น ปะการั ง และเปลื อ กหอย กระดูกป่น (Ground bone) เป็นวัสดุปรับปรุงดินเปรีย้ ว เพือ่ ลดความเปรีย้ วของดินให้นอ้ ยลง และเป็นการเพิม่ ธาตุอาหาร พืช เช่น แคลเซี่ยม แมกนีเซียม และฟอสฟอรัสให้แก่ดิน ๒) การใช้แร่ยปิ ซัม (CaSO ๔ ๒H๒O) ลดความเค็มและเพิม่ ธาตุ อาหาร เช่น แคลเซียม และก�ำมะถัน ๓.๕ การใช้เขตกรรม (Deep Cultivation) การไถพรวนลึกช่วย ปรับปรุงดินได้ คือ ๑) ป้องกันการเกิดโรคในดิน ๒) ปรับปรุงสมบัติทางกายภาพของดิน ๓) เพิ่มชั้นดินให้สูงขึ้น
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 37
๓.๖ การใช้นำ�้ ฝน (Rain water) น�ำ้ ฝนเป็นน�ำ้ ทีเ่ กิดขึน้ โดยธรรมชาติ ขณะทีฝ่ นตกมีฟา้ แลบ ท�ำให้กา๊ ซไนโตรเจนท�ำปฏิกริ ยิ ากับก๊าซไฮโดรเจนเป็น แอมโมเนีย (NH๓) ก๊าซนีล้ ะลายปะปนมากับน�ำ้ ฝนช่วยเพิม่ ธาตุไนโตรเจนใน ดินเป็นประโยชน์ต่อพืชที่ปลูกได้ ๓.๗ การปรับปรุงดินโดยใช้ไส้เดือน (Eargth worm) ประโยชน์คือ ๑) พรวนดินท�ำให้ดินร่วนซุย เพิ่มช่องอากาศในดิน ๒) สร้างอินทรียวัตถุ ๓) เพิ่มธาตุอาหารพืช กล่าวโดยสรุปคือ การปรับปรุงบ�ำรุงดินในระบบเกษตรกรรมยั่งยืน เป็นการปรับปรุงบ�ำรุงดินโดยวิธีธรรมชาติซึ่งมีความส�ำคัญ เพราะเป็นวิธี การที่ช่วยให้เกิดความสมดุลภายในดิน เป็นการช่วยรักษาทรัพยาดินให้เกิด ประโยชน์ในการเพาะปลูกได้อย่างถาวร ผลผลิตทางการเกษตรที่ได้เป็น ผลผลิตทีม่ คี ณ ุ ภาพและปลอดภัยเป็นคุณประโยชน์ตผ่ ผู้ ลิตและผูบ้ ริโภค ช่วย ลดต้นทุนในการผลิตและช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมด้วย
38 |
ฐานเรียนรู้ของกิจกรรมที่ ๑.๒ ฐานเรียนรู้ที่ ๓ กลุ่มเกษตรกรมืออาชีพ ต�ำบลนาบัว อ�ำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
วิทยากร นางสมคิด ฉิมมากรม
กลุ่ม“นักเกษตรกรมืออาชีพ” ต.นาบัว อ.นครไทย จ.พิษณุโลก เป็นการจัดตั้งกลุ่มของเกษตรกรที่มีใจการรักเรียนรู้และมีแนวคิดต้องการที่ จะแสวงหาทางทีจ่ ะยกระดับการประกอบอาชีพให้มกี �ำไรหรือมีเงินเหลือมาก ขึน้ เมือ่ หักต้นทุนการผลิต เป็นรายได้เพิม่ จากการขายผลผลิตทางการเกษตร จึงมีการเรียนรู้เรื่องคุณภาพของดิน โดยการแสวงหาความรู้จากนักวิชาการ เกษตรของส�ำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ ๒ (สวพ.๒) พิษณุโลก โครงการเกษตรยัง่ ยืน กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ภาย ใต้โครงการแดนเซ็ทประเทศเดนมาร์ค เกิดเป็นกลุ่มเกษตรกรแนวใหม่ซึ่ง เป็นกลุ่มเกษตรกรรมยั่งยืนในชุมชน จ�ำนวน ๓ กลุ่ม คือ กลุ่มนาน�้ำฝน กลุ่ม นาชลประทาน และกลุ่มผักปลอดสารพิษ มีกระบวนการเรียนรู้ภายใต้การ สนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และต่อมาแกนน�ำต�ำบลนาบัวได้เรียน รู้ การจัดเก็บข้อมูลรายรับ-รายจ่ายครัวเรือน บัญชีการเก็บต้นทุนการผลิต พืชทางการเกษตร เรียนรู้การใช้ปุ๋ยเคมีแบบ “สั่งตัด” คือ การใช้ปุ๋ยเคมีตาม ชุดดินและค่าวิเคราะห์ดินปัจจุบัน ซึ่งพัฒนาโดยน�ำข้อมูลดิน พืชที่ปลูก การ จัดการดิน รวมทัง้ ผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์มาค�ำนวณในคอมพิวเตอร์ที่ ท�ำได้ง่ายส�ำหรับเกษตรกร การตรวจหาธาตุอาหารในดินเกษตรกรสามารถ เก็บตัวอย่างดิน และใช้ชุดตรวจสอบธาตุอาหารพืชในดินได้ด้วยตนเอง การ ใช้ตารางวิเคราะห์การใช้ปยุ๋ ให้ตรงกับชนิดพืชทีป่ ลูก ในประเด็นกิจกรรมการ คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 39
ตรวจวิเคราะห์ธาตุอาหารในดินนั้น กลุ่มได้รับการสนับสนุนงบประมาณใน การด�ำเนินงานจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ส�ำนักงาน การปฏิรปู ทีด่ นิ เพือ่ การเกษตรกรรม (สปก.)ทีจ่ ดั ทุนสนับสนุนค่าชุดตรวจและ วิเคราะห์ธาตุอาหาร N P K โดยมีความร่วมมือกับโครงการวิจัยข้าวโพดครบ วงจรของจังหวัดพิษณุโลกรวมทั้งแกนน�ำหรือนักเกษตรกรมืออาชีพ จะเป็น ผู้ถ่ายทอดกระบวนการตรวจวิเคราะห์ธาตุอาหาร N P K ให้กับเกษตรกร โดยไม่มีค่าใช้จ่าย การบริหารและจัดการกลุ่มนักเกษตรกรมืออาชีพ ต�ำบลนาบัวนั้น ไม่มีโครงสร้างกลุ่มที่เป็นทางการ แต่จะเป็นการรวมกลุ่มของเกษตรกร ที่มี ความคิดก้าวหน้าและรักการเรียนรู้ เป็นการรวมตัวกันตามภารกิจเท่านัน้ เช่น การตรวจวิเคราะห์ดินจะมีการนัดหมายเกษตรกรที่สนใจเข้าร่วมประมาณ ๒๐-๕๐ คน น�ำดินที่เก็บอย่างถูกวิธีมาส่งตรวจ ในส่วนการขุดวิเคราะห์หา ชุดดินจะมีผรู้ ใู้ ช้การเทียบสีชนั้ ดิน และลักษณะดินเปรียบเทียบแล้ววิเคราะห์ หากเป็นกิจกรรมทีเ่ ป็นงานชุมชนหรืองานส่วนรวมทุกคนจะเข้ามาช่วยเหลือ ตามความถนัดหรือความรู้ที่มี
อย่างไรก็ตาม การด�ำเนินงานทีผ่ า่ นมาพบปัญหาอุปสรรคทีเ่ กิดขึน้ โดย เฉพาะการปลูกจิตส�ำนึกและท�ำความเข้าใจให้คนในชุมชนเข้ามามีสว่ นร่วมใน การเรียนรู้การปฏิบัติงาน ซึ่งการด�ำเนินงานนั้นมีข้อจ�ำกัดของการเรียนรู้ใน การใช้เครื่องมือวิเคราะห์อย่างถูกวิธี ท�ำให้รู้สึกยุ่งยากต่อการท�ำการเกษตร ดังนั้นสิ่งที่ทางกลุ่มต้องการให้เกิดขึ้นต่อไปคือ การจัดการเรียนรู้ที่ สร้างนักเกษตรกรมืออาชีพ ให้มผี รู้ ทู้ สี่ ามารถตรวจวิเคราะห์ธาตุอาหารในดิน โดยใช้ชุดตรวจวิเคราะห์ดินของคณะปฐพีวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นที่ปรึกษา สร้างกระบวนการเรียนรู้ให้เกษตรกรมีความเข้าใจตระหนักถึง ความส�ำคัญการจัดการดิน ปุ๋ย โรค และแมลงศัตรูพืช โดยมีความสามารถใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อน�ำสู่ระบบเกษตรกรรมยั่งยืนได้อย่างแท้จริง
ผลที่เกิดขึ้นของการด�ำเนินกิจกรรมของกลุ่มนักเกษตรกรในต�ำบล นาบัวนั้น ท�ำให้เกิดการพูดคุยแลกเปลี่ยนเพื่อหาทางแก้ปัญหาของอาชีพ ที่เกิดขึ้น ท�ำให้เกษตรกรมีความภูมิใจที่สามารถอนุรักษ์อาชีพเกษตรกรรม ให้คงอยู่คู่สังคมไทย ท�ำให้เกิดการปรับเปลี่ยนการท�ำการเกษตรมาสู่ระบบ เกษตรกรรมยั่งยืน เกิดการท�ำงานรวมกลุ่มและหนุนเสริมซึ่งกันและกัน สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน
40 |
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 41
ฐานเรียนรู้ที่ ๔ กลุ่มปุ๋ยพืชสด ต�ำบลร�ำแดง อ�ำเภอสิงหะนคร จังหวัดสงขลา วิทยากร นายอุดม ทักขระ ร�ำแดงเป็นต�ำบลเล็กๆ ตัง้ อยูจ่ ดุ ศูนย์กลางของอ�ำเภอสิงหะนคร จังหวัด สงขลา เป็น ๑ ใน ๔ ของอ�ำเภอที่เรียกว่า คาบสมุทรสทิงพระอยู่ในเขต ลุ่มน�้ำทะเลสาบสงขลา ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพท�ำการเกษตรไม่ว่าท�ำนา การประมง เลี้ยงสัตว์ ท�ำน�้ำตาลโตนด และไร่นาสวนผสม ต�ำบลร�ำแดงมี พื้นที่ ๙,๐๐๐ ไร่ แบ่งเป็นพื้นที่การเกษตร ๗,๕๐๐ ไร่ มีจ�ำนวนครัวเรือน ๖๐๐ ครัวเรือน ประชากร ๒,๘๐๐ คน ซึ่งร้อยละ ๙๐ ของจ�ำนวนครัวเรือน ประกอบอาชีพท�ำนาที่ต้องอาศัยน�้ำฝน ปัญหาแหล่งน�้ำและจ�ำนวนพืน้ ทีท่ ำ� เกษตรทีไ่ ม่เพียงพอ อีกทัง้ มีสภาพ เป็นดินเค็มถือเป็นปัญหาหลักส�ำคัญของชุมชน ชุมชนยังต้องพึง่ พาสารเคมีใน การท�ำเกษตรที่ท�ำให้ต้นทุนสูงขึ้นและยังเป็นอันตรายต่อสุขภาพด้วย จากสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นนั้น ในส่วนขององค์การบริหารส่วนต�ำบล ร�ำแดงจึงได้กำ� หนดวิสยั ทัศน์เพือ่ มุง่ พัฒนาคุณภาพชีวติ แบบยุทธศาสตร์สร้าง เศรษฐกิจพอเพียงสู่ความเข้มแข็งของชุมชนให้ได้ภายในปี ๒๕๕๙ โดยมีการ ก�ำหนดแนวทางหลักเพื่อให้ต�ำบลร�ำแดงน่าอยู่ คือ สร้างเศรษฐกิจและสังคม เข้มแข็ง เป็นต�ำบลอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม ใช้พลังงานทางเลือก การจัดการระบบ สุขภาพโดยชุมชน และเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นต้น เพื่อให้บรรลุผลการ ด�ำเนินงานทางองค์การบริหารส่วนต�ำบลร�ำแดงได้รว่ มกับหลายภาคส่วน เช่น
42 |
• ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีศรีวชิ ยั เพือ่ ศึกษาวิจยั ค้นหาอัต ลักษณ์ของต�ำบล ซึ่งพบว่า โหนด–นา–ไผ่–คน เป็นสิ่งส�ำคัญ ซึง่ ต่อมาทางต�ำบลจึงก�ำหนดให้ ตาลโตนด ข้าว กล้วย บัว และ ไผ่ เป็นพืชหลักประจ�ำถิ่นที่ต้องพัฒนาเพิ่มมูลค่าผลผลิต • ปัญหาสภาพดินเค็ม ทางองค์การบริหารส่วนต�ำบลได้ประสาน กับกรมพัฒนาที่ดินเพื่อแก้ปัญหา โดยจัดท�ำโครงการปลูก ปอเทืองมาเป็นพืชปรับปรุงบ�ำรุงดิน เนื่องจากปอเทืองให้น�้ำ หนักต่อหน่วยพื้นที่สูง คือ ๒,๐๐๐ กิโลกรัมต่อไร่ อีกทั้งเป็น แนวทางลดต้นทุนการผลิต โดยจัดหาเมล็ดพันธุม์ าปลูกในพืน้ ที่ นาข้าว ทีส่ ำ� คัญเมือ่ ปอเทืองเจริญเติบโตและออกดอกสีเหลือง แล้ว ท�ำให้เพิ่มความสวยงามให้กับท้องทุ่งที่มีต้นตาลโตนดขึ้น แซม ต�ำบลร�ำแดงได้กลายเป็นแหล่งท่องเทีย่ วอีกแห่งหนึง่ และ สอดคล้องกับการวางวิสัยทัศน์ของชุมชน การใช้ปอเทืองในการแก้ปัญหาดินเค็มและบ�ำรุงดินนั้น ท�ำให้ดินมี คุณภาพดีขนึ้ สามารถรวมกลุม่ เกษตรกรและหันมาผลิตข้าวอินทรียไ์ ด้เพราะ ปอเทืองเป็นพืชที่ไม่ทนต่อน�้ำท่วมขัง จึงเป็นปุ๋ยได้อย่างดี ดังนั้น การด�ำเนินต่อไปขององค์การบริหารส่วนต�ำบลร�ำแดงก็คือ การรณรงค์ให้เกษตรกรปลูกปอเทือง เพื่อการปรับปรุงบ�ำรุงดินครอบคลุม ทั้งต�ำบล พัฒนาพืชส�ำคัญของพื้นที่ตาลโตนด ข้าว ไผ่ บัว และการจัดท�ำ ฐานข้อมูล การแปรรูป การใช้ประโยชน์โดยยึดแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 43
กิจกรรมที่ ๑.๓ การคัดและพัฒนาพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์
ปรับประยุกต์ ให้มีคุณสมบัติที่เหมาะสมทั้งในเชิงนิเวศ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม การบริโภค ประเพณี ความเชื่อ และความต้องการที่หลากหลาย บทบาทของชุมชนท้องถิ่นต่อการจัดการพันธุกรรม๗
ถึงแม้ประเทศไทยมีพนื้ ทีเ่ พียง ๐.๓๖ ของผืนแผ่นดินโลกแต่ดว้ ยเหตุที่ ตัง้ อยูใ่ นระบบนิเวศป่าฝนเขตร้อนของโลก ส่งผลมีความหลากหลายของพันธุ์ พืชและสัตว์ ถึงร้อยละ ๒.๖-๑๐ ของโลก ซึ่งความหลากหลายทางชีวภาพที่ เกิดขึน้ และด�ำรงอยูน่ นั้ เป็นผลจากปฏิสมั พันธ์อนั ลึกซึง้ กับวัฒนธรรม วิถชี วี ติ ของชุมชนท้องที่มีส่วนในการปรับประยุกต์ให้กับธรรมชาติ ระบบการผลิตพื้นบ้านของชุมชนท้องถิ่นในสังคมไทยเป็นระบบที่ พึง่ พิงวงจรความสมดุลของระบบนิเวศ ดังเช่น ไร่หมุนเวียนของกลุม่ ชาติพนั ธุ์ ปะกาเกอญอ ลาหู่ แถบภาคเหนือและตะวันตก ระบบนาด�ำ สวนเมี่ยง และ ป่าคนพื้นเมืองภาคเหนือ ระบบนาในป่าบุ่งป่าทามของชุมชนน�้ำสงคราม น�้ำมูนในอีสาน ระบบนา และสวนยกร่องในภาคกลาง และสวนสมรมอัน หลากหลายในภาคใต้ นอกเหนือจากการออกแบบระบบการผลิตที่สัมพันธ์กับการใช้น�้ำ ป่า และดิน ที่เป็นการจัดการทรัพยากรร่วมกันของชุมชน ปัจจัยส�ำคัญประการ หนึง่ ต่อการด�ำรงอยูข่ องระบบการผลิตพืน้ บ้านทีห่ ลากหลายก็คอื ความหลาก หลายของทรัพยากรพันธุกรรม อันรวมทั้งพืชและสัตว์ ที่เป็นตัวบ่งบอกถึง ความสัมพันธ์ระหว่างนิเวศกับวัฒนธรรมได้อย่างชัดเจน ในขณะที่นิเวศป่า เขตร้อนชื้นเป็นปัจจัยที่เอื้อให้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพ พลังทาง วัฒนธรรมการผลิตของชุมชนท้องถิ่นก็เป็นคัดสรรฐานพันธุกรรมจากป่ามา 44 |
บทบาทของชุมชนท้องถิ่นกลับแตกต่างจากนักปรับปรุงพันธุ์สมัย ใหม่อย่างมาก เพราะชุมชนไม่ได้จัดการเฉพาะตัวพันธุกรรมพืชเท่านั้น แต่ ต้องจัดการกับระบบนิเวศ ระบบการผลิต เศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ทาง สังคมที่มีต่อการพัฒนาและกระจายพันธุกรรมพืชที่หลากหลาย ซึ่งจ�ำแนก เป็นประเด็นได้ดังต่อไปนี้ ๑. การจัดการทรัพยากรอันเป็นฐานแห่งพันธุกรรม พันธุกรรมข้าวในไร่หมุนเวียน พันธุ์ไม้ผลในสวนสมรม พืชผักในป่า ชุมชน จะด�ำรงอยู่ได้ก็ต่อเมื่อมีการจัดการกับดิน ป่า และน�้ำ ซึ่งเป็นฐาน ของระบบการผลิตเหล่านี้ โดยวัฒนธรรมการจัดการทรัพยากรชุมชนท้อง ถิ่นในแต่ละภาค แม้จะมีความแตกต่างกันในรายละเอียด แต่ก็มีฐานร่วมกัน ประการหนึง่ ก็คอื สิทธิการจัดการทรัพยากรร่วมกันของท้องถิน่ บนฐานระบบ นิเวศที่เหมาะสม ระบบการผลิตต่างๆ เหล่านี้ถูกออกแบบภายใต้ระบบการจัดการ ทรัพยากรร่วมกัน แม้ระบบการผลิตของชุมชนต่างๆ จะเป็นเรื่องแต่ละ ครอบครัว แต่การจัดการทรัพยากรป่า ดิน และน�้ำ กลับเป็นสิ่งที่ต้องท�ำ ร่วมกัน เช่น การจัดการป่าชุมชน การจัดการน�้ำโดยองค์กรเหมืองฝาย ปรั บ ปรุ ง จากมู ล นิ ธิ เ กษตรกรรมยั่ ง ยื น ชุ ด โครงการวิ จั ย พั น ธุ ก รรมพื้ น บ้ า นในระบบ เกษตรกรรมยั่งยืน , ๒๕๔๗
๗
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 45
ด้วยเหตุนจี้ งึ อาจกล่าวได้วา่ ชุมชนไม่สามารถจัดการพันธุกรรมโดยโดดๆ หรือ ท�ำการผลิตโดยล�ำพัง แต่ตอ้ งมีระบบรองรับจัดการทรัพยากรร่วมกัน บทบาท ของชุมชนต่อพันธุกรรมท้องถิ่น จึงไม่อาจมองข้ามสิทธิร่วมในการจัดการ ทรัพยากรภายใต้ระบบนิเวศที่เหมาะสมได้ ๒. การแสวงหา คัดเลือกคัดสรรพันธุกรรมที่เหมาะสม แม้ปัจจุบัน เราจะเห็นตัวอย่างที่ชาวบ้านเข้าไปเสาะแสวงหาพันธุ์พืช จากป่าที่โดดเด่นมาปลูกไม่มากนัก เนื่องจากต้องใช้ระยะเวลาการปรับตัว เป็นเวลานาน แต่การเสาะแสวงหาพันธุ์พืชที่เหมาะสมไม่ว่าจะเพื่อนบ้าน ใกล้เคียง หรือจากแดนไกลข้ามจังหวัดข้ามภาคยังเป็นสิ่งที่ชาวบ้านจ�ำนวน ไม่น้อยยังกระท�ำอยู่ เกณฑ์ในการใช้คัดเลือกพันธุ์พืชมีหลายประการ ขึ้นอยู่กับเงื่อนไข ในแต่ละชุมชน เช่น คัดเลือกพันธุ์ให้เหมาะกับระบบนิเวศ เหมาะกับผืนดิน สภาพน�้ำ คัดเลือกพันธุ์ให้เหมาะกับประเภทของระบบการผลิต เช่น ระบบ นา ระบบไร่ ระบบสวน เป็นต้น คัดพันธุ์ให้เหมาะกับความสามารถในการ จัดการแรงงาน หากเป็นพืช เช่น ข้าวต่างพันธุ์กันเติบโตไม่พร้อมกัน ก็ง่าย ที่จะจัดสรรแรงงานในชุมชนมาช่วยกันได้ คัดเลือกพันธุ์ให้เหมาะกับรสนิยม การบริโภค ซึ่งความอร่อยอันประกอบด้วยความนิ่ม กลิ่น รสชาติ คัดเลือก พันธุ์ให้เหมาะกับเศรษฐกิจและความต้องการบริโภค เช่น ต้องการพันธุ์ข้าว ที่โตเร็วในช่วงที่มีปันเวลาไปท�ำการผลิตอื่น หรือต้องการพันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูง เป็นต้น คัดเลือกพันธุ์ที่สามารถน�ำมาใช้ในประเพณี พิธีกรรม เช่น พันธุ์ข้าว ก�่ำส�ำหรับเป็นพญาข้าวในนา เป็นต้น
46 |
ยิ่งเกณฑ์ที่หลากหลายไปตามเงื่อนไขทางสังคม วัฒนธรรม และ เศรษฐกิจท้องถิ่น เราจะได้พันธุกรรมพืชที่หลากหลาย แต่หากเกณฑ์ลด รูปเหลือเพียงแบบใดแบบหนึ่ง ฐานพันธุกรรมพืชก็จะลดลง ดังที่ปรากฏใน ปัจจุบันว่า เกณฑ์ทางเศรษฐกิจเป็นเงื่อนไขส�ำคัญในการคัดพันธุ์ข้าวทั้งพันธุ์ พื้นบ้านและพันธุ์ส่งเสริม ท�ำให้พันธุ์พืชท้องถิ่นลดลงอย่างรวดเร็ว ๓. การแลกเปลี่ยนพันธุกรรมพื้นบ้าน การแลกเปลีย่ นพันธุพ์ นื้ บ้านเป็นส่วนหนึง่ ของวัฒนธรรมชาวนาชาวไร่ แทบทุกแห่ง ชุมชนไม่ได้ถือว่าพันธุ์ข้าวหรือองค์ความรู้เกี่ยวกับการปลูกพืช พันธุ์นั้นๆ เป็นทรัพย์สินของปัจเจกชน ตรงกันข้ามพวกเขาถือว่าพันธุ์และ องค์ความรู้เป็นทรัพย์สินรวมของชุมชนหรือของเผ่า และสามารถถ่ายโอน แลกเปลี่ยนกับชุมชนรอบข้าง โดยไม่จ�ำกัดว่า ชุมชนเหล่านั้นเป็นชุมชนใน เผ่าหรือนอกเผ่า ดังนั้น คนที่ไม่ได้ปลูกพืชชนิดหนึ่งในปีก็สามารถขอเมล็ด พันธุ์จากเพื่อนบ้านหรือญาติมาปลูกในปีถัดไปได้
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 47
ฐานเรียนรูข้ องกิจกรรมที่ ๑.๓ การคัดและพัฒนาพันธุพ์ ชื พันธุส์ ตั ว์ ฐานเรียนรู้ที่ ๕ กลุ่มแสงทองเพาะพันธุ์ปลา ต�ำบลโพรงมะเดื่อ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม
วิทยากร นายธนพล มีตังค์
แนวคิดจากกลุ่มแสงทองพันธุ์ปลาเริ่มต้นเกิดจากปัญหาตลาดปลา สวยงามที่เคยท�ำแคบไม่สามารถขยายตลาดได้ จึงเกิดความคิดเปลี่ยนเส้น ทางอาชีพใหม่ มีการปรับพืน้ ทีจ่ ากทีเ่ คยเลีย้ งปลาสวยงามเป็นการเพาะพันธุ์ ปลาน�ำ้ จืดแทน และท�ำให้เกิดอาชีพเพาะพันธุป์ ลาน�ำ้ จืด มีการปรึกษาเพือ่ หา แนวทางพัฒนาและแก้ไขปัญหาการเพาะพันธุ์ปลากับหน่วยงานภาครัฐ เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เกิดแนวคิดในการจัดตั้งเป็น “วิสาหกิจชุมชน แสงทองพันธุป์ ลา” เพือ่ เพิม่ อ�ำนาจการต่อรองราคากับผูซ้ อื้ โดยใช้พนื้ ทีบ่ า้ น นายธนพล สมาชิกในกลุม่ ยังคงมีการเลีย้ งปลาแบบเดิม แต่มกี ารใช้ภมู ปิ ญ ั ญา ท้องถิน่ เข้ามาปรับใช้ในการพัฒนา โดยแกนน�ำและสมาชิก นอกจากนีใ้ นพืน้ ที่ มีแหล่งน�้ำสะอาด มีน�้ำไหลผ่านตลอดปี
ผลทีเ่ กิดขึน้ คือ เกิดอาชีพเพาะพันธุป์ ลาน�้ำจืดเพิม่ ขึน้ มีสมาชิก ๑๒ คน ผลผลิตเป็นไปตามเป้าหมายพันธุป์ ลาทีไ่ ด้โตเร็ว เป็นทีต่ อ้ งการของตลาดและ เกิดการบอกต่อของสมาชิกเกษตรกรลูกข่าย ท�ำให้สามารถจ�ำหน่ายผลผลิต ไปยังเขตพื้นที่ข้างเคียง ความส�ำเร็จที่เกิดขึ้นนี้เกิดจากความมุ่งมั่นตั้งใจในการแก้ไขปัญหา สภาพน�้ำในแม่น�้ำล�ำคลองและการอนุรักษ์พันธุ์ปลาของแกนน�ำ ความยุ่ง ยากในการเพาะพันธุ์ปลาคือการเปลี่ยนแปลงสภาพดินฟ้า โดยเฉพาะในช่วง ฤดูหนาวจะท�ำให้เพาะพันธุ์ปลาไม่ไปตามเป้าหมาย ส�ำหรับปัญหาในการด�ำเนินงานคือ กลุ่มยังขาดคนที่มีความรู้ในการ เพาะพันธุ์ปลาและสมาชิกในการรวมกลุ่มยังมีน้อย ดังนั้น แผนการด�ำเนิน งานในอนาคตของกลุม่ คือ การสร้างความตระหนักให้คนในชุมชนบริโภคปลา ที่ปลอดภัย ซึ่งทางกลุ่มยังจ�ำเป็นต้องสร้างกระบวนการถ่ายทอดองค์ความรู้ ไปสู่กลุ่มสมาชิกและคนในชุมชนเพื่อให้เกิดการขยายผลมากขึ้น
การด�ำเนินการของสมาชิกคือ ปรับพื้นที่จากที่เคยเลี้ยงปลาสวยงาม เป็นการเพาะพันธุ์ปลาน�้ำจืดแทน หาแนวทางพัฒนาและวิธีการแก้ปัญหา โดยเข้าหาหน่วยงานทางภาครัฐที่เกี่ยวข้อง เช่น คณะประมง มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยคลอง ๕ ปทุมธานี ศูนย์วิจัยประมงชายฝั่งแหลม ผักเบี้ย มีการด�ำเนินการจัดตั้งกลุ่ม มีการประสานประสานมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ก�ำแพงแสนเพื่อขอค�ำแนะน�ำในการขยายพื้นที่การผลิต ปลานิลแปลงเพศ จัดอบรมและให้กรมประมงเข้ามาตรวจสอบในเรื่องของ การผลิตและปรับปรุงฟาร์มเพื่อของรับรอง GAP 48 |
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 49
กลุ่มที่ ๖ กลุ่มอนุรักษ์พันธุกรรมข้าวพื้นบ้าน ต�ำบลก�ำแมด อ�ำเภอปราสาท จังหวัดยโสธร วิทยากร นายดาวเรือง พืชผล ต�ำบลก�ำแมด อ�ำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร ประกอบด้วย ๑๘ หมู่บ้าน สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ลุ่มสลับดอน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ท�ำนาข้าวเป็นหลักและมีอาชีพอื่นๆ เป็นอาชีพเสริมบ้าง เช่น ค้าขาย งาน ก่อสร้าง เลี้ยงสัตว์ เป็นต้น การท�ำอาชีพทางการเกษตรของต�ำบลก�ำแมดไม่ ว่าจะเป็นการท�ำนา การปลูกผัก โดยส่วนใหญ่ทำ� เพือ่ บริโภคและขายเป็นราย ได้บางส่วน ส่วนปัญหาในภาคการเกษตรที่ผ่านมาเกิดขึ้นจากการใช้สารเคมี โดยเฉพาะปุ๋ย การใช้พันธุ์พืชพันธุ์สัตว์จากภายนอก มีการจ้างแรงงานสูง ซึ่ง เป็นระบบที่เกษตรกรต้องพึ่งพิงปัจจัยจากภายนอกเป็นส่วนใหญ่ไม่สามารถ พึ่งตนเองได้ในระดับครัวเรือนและชุมชน ก่อให้เกิดปัญหาหนี้สินและปัญหา อื่นๆ ตามมา อย่างไรก็ตาม ได้มเี กษตรกรกลุม่ หนึง่ ได้มกี ารทบทวนการท�ำนาในอดีต ซึ่งพบว่า เกษตรกรมีการเก็บรักษาพันธุกรรมพื้นบ้านทั้งข้าว ผัก สัตว์ ไม้ผล ไว้ในครัวเรือนของตนเอง มีการวางแผนการผลิตที่สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ และธรรมชาติ ใช้แรงงานในครัวเรือนอย่างเพียงพอต่อการผลิต มีการวาง ระบบการท�ำนาที่สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ เช่น ในที่ลุ่มมีน�้ำขังยาวนานก็จะ ปลูกข้าวทีเ่ ป็นข้าวหนัก เช่น ข้าวสันป่าตอง ข้าวทีป่ ลูกในนาดอนก็จะเป็นข้าว เบา ต้องการน�ำ้ น้อย อายุสั้น เป็นต้น ท�ำให้ไม่มีปัญหาในเรื่องแรงงานและ ปัญหาผลผลิตไม่เพียงพอ แต่ปัจจุบันเกษตรกรในต�ำบลก�ำแมดส่วนมากไม่มี พันธุกรรมพื้นบ้านไว้ ระบบการผลิตลืมภูมิปัญญาพื้นบ้านในการเก็บรักษา 50 |
เมล็ดพันธุ์ไว้ใช้เอง จนเป็นค�ำพูดกับชาวนาด้วยกันว่า “พันธุ์เราดี ไม่เท่า ของเขา” เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้ข้าวพันธุ์ใหม่ที่ได้รับการส่งเสริมจากภาครัฐ คือ พันธุ์ข้าว กข. ๖ กข.๑๕ และข้าวหอมมะลิ ๑๐๕ การปลูกผักก็ต้องไป ซื้อเมล็ดพันธุ์ผักกระป๋องจากร้านค้าธุรกิจเกษตรเป็นหลัก เมื่อเกิดการทบทวนแล้วจึงเห็นร่วมกันถึงความส�ำคัญของพันธุกรรม พื้นบ้านจึงได้จัดตั้ง “กลุ่มอนุรักษ์พันธุกรรมข้าวพื้นบ้าน” ขึ้นในปี ๒๕๔๗ มี สมาชิกในต�ำบลก�ำแมดจ�ำนวน ๑๖ คนและเกษตรกรที่ท�ำเกษตรกรรมยั่งยืน ที่สนใจเรื่องพันธุกรรมจากต�ำบลอื่นด้วย กิ จ กรรมการด�ำ เนิ น งานกลุ ่ ม เริ่ ม ต้ น จากการศึ ก ษาข้ อ มู ล สถานะ ของพันธุกรรมข้าวพื้นบ้าน และปัจจัยที่ส่งผลต่อการคงอยู่และหายไปของ พันธุกรรมข้าวพื้นบ้านในต�ำบลก�ำแมด มีการสืบค้นและน�ำพันธุ์ข้าวพื้นบ้าน ที่เคยปลูกในพื้นที่กลับมาปลูกใหม่ รวมทั้งพันธุ์ข้าวที่ได้จากการแลกเปลี่ยน กันในเครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือก จากการท�ำงานเรือ่ งพันธุกรรมพืน้ บ้าน มาเกือบ ๑๐ ปี ท�ำให้กลุ่มสามารถฟื้นฟูข้าวพื้นบ้านให้กลับมาปลูกในแปลง นาได้จ�ำนวน ๑๓ สายพันธุ์ จากที่เคยมีมากกว่า ๕๐ สายพันธุ์ เช่น ขาวใหญ่ เล้าแตก สันป่าตอง หอมเสงี่ยม นางนวล ข้าวก�่ำ มะลิด�ำ โสมมาลี มะลิแดง เหนียวแดง แสนสบาย ดอฮี จ้าวแดง โดยปลูกรักษาพันธุ์ไว้ในแปลงเกษตร พื้นที่ ๓๕ ไร่ นอกจากนั้น กลุ่มมีการรณรงค์ให้ชาวบ้านทั่วไปเห็นคุณค่าข้าว พื้นบ้าน โดยการร่วมจัดนิทรรศการข้าวพื้นบ้าน ประกวดหุงข้าวและนึ่งข้าว พื้นบ้าน ชิมข้าวพื้นบ้านในงานบุญเดือนสาม (บุญกุ้มข้าว) ที่บ้านก�ำแมด นอกจากนั้น ยังได้มีการสร้างแปลงเรียนรู้ในนาม “กลุ่มอาสาสมัครอนุรักษ์ พัฒนาและปรับปรุงพันธุกรรมพื้นบ้าน เครือข่ายเกษตรทางเลือกยโสธร” ที่ บ้านก�ำแมด จ�ำนวน ๑ ไร่ เพื่อเป็นสถานที่ให้ชาวบ้านมาเรียนรู้พันธุกรรม คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 51
ข้าวพื้นบ้านความตั้งใจของกลุ่มอาสา ฯ คือ การคัดเมล็ดพันธุ์ข้าวเพื่อให้เกิด เมล็ดพันธุ์บริสุทธิ์และอนุรักษ์พันธุ์ข้าวพื้นบ้าน เพื่อให้เกิดความหลากหลาย ทางพันธุกรรม เมื่อมีมากในระดับหนึ่งก็จะแบ่งปันให้แก่ผู้สนใจ การท�ำนา รวมนีไ้ ม่ได้เพียงแค่การช่วยกันอนุรกั ษ์เมล็ดพันธุพ์ นื้ บ้าน แต่หมายถึงเวทีการ ท�ำงาน การเรียนรู้ เวทีการพบปะพูดคุย การแลกเปลี่ยนประสบการณ์และ สถานการณ์ตา่ งๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับวิถชี วี ติ ของเกษตรกร การแลกเปลีย่ นเทคนิค การเพาะปลูก การแลกเปลีย่ นพันธุกรรมทีใ่ ครมีพรรณไม้แปลก ๆ หรือมีมาก แล้วก็น�ำมาแบ่งให้เพื่อนสมาชิกน�ำไปปลูกและเป็นเวทีส�ำหรับการวางแผน แนวทางการท�ำงานร่วมกัน การพบปะหารือของสมาชิกเพือ่ แลกเปลีย่ นเรียน รู้และช่วยเหลือกันในทุกด้าน
เมนูที่ ๒
นอกจากนั้น กลุ่มยังสนใจในประเด็นเรื่องสิทธิในการดูแลพันธุกรรม พืน้ บ้านของชุมชน เรือ่ งความมัน่ คงทางอาหารของครอบครัวและชุมชน และ ให้ความส�ำคัญกับการขยายฐานตลาดพันธุกรรมพืน้ บ้าน โดยเฉพาะพันธุข์ า้ ว มะลิด�ำและข้าวมะลิแดงที่ก�ำลังได้รับความนิยม
จากการศึกษาของรพิจันทร์ ภูริสัมบรรณ๘ พบว่า สภาพสังคมและ เศรษฐกิจไทยภายใต้กระแสโลกาภิวตั น์สง่ ผลให้การบริโภคอาหารในปัจจุบนั อิงกับความสะดวก รวดเร็ว และราคาถูก การโฆษณาของร้านอาหารฟาสต์ฟดู้ และธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่จงึ ยิง่ ตอกย�ำ้ ให้การบริโภคแบบ “อิม่ สะดวก” กลาย เป็นวิถชี วี ติ ของคนไทยในเมือง ซึง่ แนวคิดนีก้ �ำลังกระจายไปสูช่ มุ ชนต่างๆ ทัว่ ประเทศ ในขณะที่ในปี ๒๕๕๓ รายงานของส�ำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่า ค่า ใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือนไทยมีสัดส่วนเป็นค่าอาหารส�ำเร็จรูป ร้อย ละ ๑๓ โดยเฉพาะในเขตเทศบาล มีสัดส่วนนี้ถึง ร้อยละ ๑๖ ซึ่งมากกว่า การบริโภคอาหารปรุงที่บ้าน ด้านครัวเรือนนอกเขตเทศบาลมีค่าใช้จ่ายด้าน อาหารสูงถึง ร้อยละ ๓๓ และเป็นค่าอาหารส�ำเร็จรูปประมาณ ร้อยละ ๑๐ แม้ว่าพื้นที่เหล่านี้ส่วนใหญ่จะเป็นพื้นที่เกษตรกรรมที่ประชากรเคยสามารถ พึ่งพาตนเองด้านอาหารได้
การเข้าถึงและการกระจายอาหาร การเข้าถึงและการกระจายอาหารเป็นกระบวนการที่ท�ำให้คนใน ชุมชนได้บริโภคอาหารทีป่ ลอดภัย ทัง้ ในลักษณะของการสร้างอาหารในระดับ ครอบครัว การสร้างอาหารในระดับกลุ่มหรือชุมชน รวมถึงการพัฒนาระบบ การตลาดรูปแบบต่างๆ
๘
52 |
รพิจันทร์ ภูริสัมบรรณ (๒๕๕๔) ระบบการกระจายอาหาร: ปัญหาและแนวทางการพัฒนา
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 53
บริษัทขนาดใหญ่มีแนวโน้มเข้ามาครอบครองและผูกขาดกลไกการ กระจายอาหารมากยิ่งขึ้นเป็นล�ำดับ ตัวอย่างเช่น การขยายตัวของกิจการ ไฮเปอร์มาร์เก็ต ฟู๊ดสโตร์ คอนวีเนี่ยนสโตร์ ที่เข้ามาแทนที่ตลาดสด ตลาด นัด แผงเนื้อสัตว์ และร้านขายของช�ำขนาดเล็กอย่างรวดเร็ว โดยในกรณี ประเทศไทยนั้นกิจการโมเดิร์นเทรดเหล่านี้มีมูลค่าทางตลาดสูงถึง ๕.๔๕ แสนล้านบาท ใน ขณะที่ธุรกิจค้าปลีกแบบดั้งเดิม (traditional trade) ที่มี มูลค่าทางตลาดลดลงเหลือเพียง ๒.๒ แสนล้านบาทเท่านัน้ เมือ่ ปี ๒๕๕๐๙ แต่ สิง่ ทีค่ วรตระหนักมากขึน้ ก็คอื สัดส่วนของสินค้าในห้างขนาดใหญ่ดงั กล่าวส่วน ใหญ่เป็นสินค้าประเภทอาหารสูงถึง ร้อยละ ๗๕ และกิจการเหล่านี้ล้วนแล้ว แต่ผูกขาดอยู่ในมือของบริษัทข้ามชาติ การรวมศูนย์การกระจายอาหารโดยธุรกิจค้าปลีกดังกล่าว ท�ำให้เกิด ปัญหาการเข้าถึงอาหารและความมั่นคงทางอาหารของคนไทย ดังปรากฏ ว่าในขณะเกิดน�้ำท่วมใหญ่ในประเทศไทยปี ๒๕๕๔ ที่ผ่านมา ประชาชน ในกรุงเทพมหานครและในจังหวัดภาคกลาง รวมถึงบริเวณเขตชุมชนเมือง ในหลายจังหวัดของประเทศไม่สามารถหาซื้อข้าวสาร ไข่ น�้ำมันพืช และ อาหารส�ำเร็จรูปอื่นๆ ได้ เนื่องจากศูนย์กระจายสินค้าของโมเดิร์นเทรด ซึ่ง รวมศูนย์อยู่เพียงไม่กี่แห่งดังกล่าว ถูกน�ำ้ ท่วมจนเสียหายและไม่อาจด�ำเนิน ธุรกิจต่อไปได้ ประกาศของ Via Campesinas (DECLARATION OF NYÉLÉNI) องค์กรชาวนาโลกวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ ได้กล่าวถึงแนวคิดอธิปไตยทาง อาหารระบุว่า สิทธิของประชาชนมาก่อนเป็นอันดับแรกที่จะมีสิทธิก�ำหนด ๙
54 |
ข้อมูลจากกระทรวงพาณิชย์ อ้างใน ฐานเศรษฐกิจ, ๒๗-๓๐ ธ.ค. ๒๕๕๒
นิยามอาหารที่สร้างเสริมสุขภาพให้กับตนเอง เพราะอาหารผ่านการผลิตที่ มีรากฐานจากระบบนิเวศวัฒนธรรมที่มีความแตกต่างกันจึงมีนิยามเฉพาะ ต่างกัน และรัฐควรมีการจัดการให้มกี ารกระจายอาหารอย่างทัว่ ถึง โดยเสนอ ให้มีการปกป้องประชาชนจากบรรษัทข้ามชาติและโครงสร้างการจัดการ อาหารในปัจจุบันที่ครอบง�ำและผูกขาด แนะน�ำให้มีการจัดการอาหารจาก ระดับล่างที่มาจากผู้คนที่ทำ� ปศุสัตว์ เกษตร ประมงพื้นบ้าน โดยสนับสนุน ให้ชุมชนสามารถตัดสินใจเลือกระบบการผลิตของตนเอง มีระบบตลาดใน ท้องถิ่นที่เป็นธรรม และการผลิตจัดการอาหารตั้งอยู่บนฐานที่ไม่ท�ำลายสิ่ง แวดล้อม ด�ำรงความหลากหลายทางชีวภาพวัฒนธรรมสังคม และสร้างระบบ เศรษฐกิจที่ยั่งยืนเป็นธรรมดังกล่าว มีนัยการจัดการสัมพันธ์ทางอ�ำนาจที่ไม่ กดขี่ข่มเหง สลายการมีชนชั้นและขจัดความไม่เป็นธรรมระหว่างชายหญิง และกลุ่มชาติพันธุ์ ดังนั้นแล้ว แนวทางของการแก้ปัญหาการเข้าถึงและการกระจายอา หารทีส่ ำ� คัญคือ การสร้างการพึง่ ตนเองด้านอาหารทัง้ ในระดับครอบครัวและ ระดับชุมชน รวมถึงการยกระดับและเพิม่ จ�ำนวนตลาดชุมชนและตลาดผูผ้ ลิตผูบ้ ริโภค ซึง่ เป็นกลไกการบริหารจัดการความสัมพันธ์ของระบบการผลิตและ ตลาดที่ลดการผูกขาดของผู้ผลิตรายใหญ่ พร้อมกับการเกื้อกูลเกษตรกรราย ย่อยและวัฒนธรรมอาหารท้องถิน่ เกษตรกรและผูบ้ ริโภคสามารถต่อรองและ ตกลงราคาได้โดยตรง และลดต้นทุนการจ�ำหน่ายผ่านพ่อค้าคนกลาง ความ ใกล้ชดิ ของแหล่งผลิต ตลาด และชุมชน ช่วยลดการใช้ทรัพยากรในการขนส่ง และจัดเก็บรักษาอาหาร ตลาดเหล่านี้ยังเป็นช่องทางการกระจายผลผลิต ในระบบเกษตรทางเลือก เนื่องจากเกษตรกรไม่ถูกกีดกันด้วยมาตรฐานของ ห้างค้าปลีกสมัยใหม่และสามารถเข้าถึงผู้บริโภคที่ห่วงใยเรื่องสุขภาพและ สิ่งแวดล้อมได้ง่ายขึ้น คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 55
กิจกรรมที่ ๒.๑ การสร้างอาหารในระดับครัวเรือน
การประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ ครั้งที่ ๖๖ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๔ ได้ก�ำหนดให้ปี ๒๕๕๗ เป็นปีสากลแห่งเกษตรกรรมแบบ ครอบครัวหรือ International Year of Family Farming และได้จดั กิจกรรม เปิดปีสากลแห่งเกษตรกรรมแบบครอบครัว ที่สำ� นักงานใหญ่สหประชาชาติ ณ เมื อ งนิ ว ยอร์ ค สหรั ฐ อเมริ ก า ในวั น ที่ ๒๒ พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๖ เนื่องด้วยประชากรโลกกว่า ๑,๕๐๐ ล้านครอบครัวเป็นครอบครัวที่อยู่ใน ภาคการเกษตรหรือประมาณ ร้อยละ ๔๓ หากคิดเฉพาะกลุ่มประเทศก�ำลัง พัฒนาจะพบว่าประชากรถึง ร้อยละ ๕๓ ทีอ่ ยูใ่ นภาคการเกษตร และหากมอง ลึกลงไปอีกในกลุ่มของประเทศยากจนเขต Sub Sahara ของทวีปแอฟริกา พบว่า ร้อยละ ๘๐ ของประชากรอยู่ในภาคการเกษตรและเป็นเจ้าของฟาร์ม เอง รวมทั้งใช้แรงงานในครัวเรือนท�ำการเกษตรทั้งหมด ซึ่งแสดงให้เห็น ว่า ระบบการท�ำการเกษตรแบบครอบครัวมีความส�ำคัญต่อความยั่งยืนและ มั่นคงทางด้านอาหาร รวมทั้งการรักษาสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ระบบการเกษตรแบบครอบครัวเป็นระบบการท�ำการเกษตรที่ตั้งอยู่ บนพื้นฐานการผลิตอาหารที่ยั่งยืน มีการจัดการสิ่งแวดล้อมและความหลาก หลายทางชีวภาพในระบบการผลิต โดยยังคงรักษาวิถชี วี ติ และวัฒนธรรมอันดี งามของสังคมไว้ได้และเป็นหลักส�ำคัญในการสร้างความเข้มแข็งในการพัฒนา ประเทศ การเกษตรแบบครอบครัวได้รับการยอมรับว่าเป็นระบบการเกษตร 56 |
ที่น�ำไปสู่ความยั่งยืน เนื่องจากเป็นระบบที่มุ่งเน้นความยั่งยืนในการผลิต แต่มีข้อจ�ำกัดทางด้านการเงิน แรงงาน การเข้าถึงตลาด และอ�ำนาจต่อรอง ส่ ง ผลให้ สั ด ส่ ว นของมู ล ค่ า เพิ่ ม ที่ ไ ด้ รั บ ในห่ ว งโซ่ ก ารผลิ ต อาหารลดลง รวมทั้งคนรุ่นใหม่ไม่ประกอบอาชีพการเกษตร ท�ำให้แรงงานภาคการเกษตร เป็นแรงงานผู้สูงอายุ ดังนั้น จึงมีความเป็นไปได้สูงที่ระบบการเกษตรแบบ ครอบครัวจะล่มสลาย ซึ่งจะน�ำไปสู่ความอ่อนแอของสังคมชนบทในที่สุด จากข้อมูลสถิติการเกษตรประเทศไทย ปี ๒๕๕๔ ของส�ำนักงาน เศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประเทศไทยมีพนื้ ทีท่ งั้ หมด ประมาณ ๓๒๑ ล้านไร่ เป็นพื้นที่การเกษตร ๑๕๐ ล้านไร่ ขนาดฟาร์มเฉลี่ย ประมาณ ๒๕ ไร่ต่อครัวเรือน จ�ำนวนฟาร์มประมาณ ๕.๘๗ ล้านฟาร์ม มี ความพยายามจากหลายฝ่าย ในการส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรกรรม แบบครอบครัวและเกษตรกรรายย่อยมาอย่างต่อเนือ่ ง แต่ยงั คงประสบปัญหา หลายประการ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การขาดแคลนเกษตรกรรุน่ ใหม่และปัญหา ความสามารถในการแข่งขันทีไ่ ม่สามารถแข่งขันกับระบบการเกษตรแบบเข้ม ข้นในตลาดเดียวกันได้ นอกจากนี้การศึกษาวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการ ผลิตส�ำหรับระบบเกษตรกรรมแบบครอบครัว ยังไม่สามารถตอบสนองต่อ ความต้องการของเกษตรกรที่อยู่ในระบบดังกล่าวได้อย่างทั่วถึง เนื่องจาก แต่ละพื้นที่ต่างมีระบบการผลิต-ระบบการตลาดที่มีลักษณะเฉพาะตน ทั้ง กลไกการพัฒนาของรัฐที่ไม่สนับสนุนการท�ำการเกษตรแบบครอบครัวยังมี การแยกส่วนงานในการส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรที่อยู่ในระบบดังกล่าว ท�ำให้เกิดช่องว่างในการพัฒนามากยิ่งขึ้น
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 57
ฐานเรียนรูข้ องกิจกรรมที่ ๒.๑ การสร้างอาหารในระดับครัวเรือน ฐานเรียนรู้ที่ ๑ เกษตรผสมผสาน ต�ำบลพิมาน อ�ำเภอนาแก จังหวัดนครพนม
วิทยากร นายด�ำรง พ่อค�ำจันทร์
กลุ่มเกษตรผสมผสาน ต.พิมาน ก่อตั้งในปี ๒๕๕๓ โดยมีสมาชิกแรก เริ่มประมาณ ๑๐ คน เนื่องจากปัญหาพันธุ์ข้าวไม่ได้มาตรฐานและต้องซื้อ พันธุ์ข้าวจากที่อื่น อีกทั้งต้องการรักษาพันธุ์ข้าวไว้ใช้เองในชุมชน ทั้งนี้ กลุ่ม มีข้อตกลงร่วมกันว่า สมาชิกห้ามเอาเงินมาเป็นตัวน�ำทางความคิดและการ บริหารจัดการ สมาชิกต้องแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นร่วมกัน โดยต้องไม่คิดว่าปัญหา ชุมชนเป็นเรือ่ งของใครคนใดคนหนึง่ โดยกลุม่ ได้น�ำหลักคิดปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงมาใช้ในการด�ำเนินงาน การด�ำเนินงานของกลุ่ม มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการท�ำการ เกษตรในรูปแบบต่างๆ ทั้งในระดับกลุ่มกันเองและภายนอก มีการถ่ายทอด ความรู้เรื่องการเกษตรให้ผู้ที่สนใจ เช่น การท�ำฮอร์โมนไข่ ปุ๋ยชีวภาพ การ อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับเตาเผาถ่าน ๒๐๐ ลิตร และการท� ำน�้ำส้มควันไม้ มีเวทีวิเคราะห์ปัญหาในการเกษตร เช่น ปัญหาพันธุ์ข้าวปนจากการเก็บ พันธุ์ข้าวเอง มีการพัฒนาศักยภาพสมาชิกกลุ่มโดยไปศึกษาดูงานการคัด พันธุ์ข้าว จังหวัดขอนแก่น การอบรมข้าวพันธุ์ดีจากกรมการข้าว โดยทุก กิจกรรมเน้นการมีส่วนร่วมของคนเข้าร่วม
58 |
ผลการด�ำเนินที่ผ่านมา ปัจจุบันกลุ่มเกษตรผสมผสานมีสมาชิกทั้ง ต�ำบล ประมาณ ๑๐๐ คน และมีการเชื่อมโยงกับกลุ่มธนาคารโคกระบือ กลุ่มโรงเรียนชาวนา กลุ่มเกษตรอินทรีย์ กลุ่มปุ๋ยอัดเม็ดชีวภาพ กลุ่มฐาน เรียนชีวิตข้าวชีวิตคน หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่ม อสม. กลุ่มกู้ชีพกู้ภัย และกลุ่มอื่นๆ ซึ่งท�ำให้สมาชิกในชุมชนและครอบครัวมีความอบอุ่นมากขึ้น คนในชุมชนมีงานท�ำและมีรายได้ตลอด หนี้สินลดลง มีรายได้เพิ่มขึ้นและมี เงินออม รวมถึงการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน เงือ่ นไขความส�ำเร็จของการด�ำเนินงานนัน้ เกิดขึน้ จากสมาชิกทีม่ าเข้า ร่วมกลุ่มมีความพอใจ ภูมิใจและรักในการท�ำการเกษตรเป็นทุนอยู่แล้ว การ รวมกลุม่ จึงมีพลังส่งผลกระทบต่อชุมชนหลายด้าน เช่น การเปลีย่ นแปลงจาก การใช้สารเคมีสกู่ ารใช้เกษตรอินทรีย์ การรูจ้ กั อนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม การมีน�้ำใจ ต่อกัน เอื้อเฟื้อแบ่งปัน ท�ำให้ชุมชนมีความน่าอยู่อย่างแท้จริง อย่างไรก็ตาม ปัญหาและอุปสรรคของการท�ำเกษตรที่เกิดขึ้นก็คือ ปัญหาการขาดน�้ำท�ำการเกษตร เนื่องจากสภาพพื้นที่ของต�ำบลพิมานติดกับ เทือกเขาภูพาน และมีแหล่งน�ำ้ เพียง ๒ แห่งทีใ่ ช้ในการท�ำการเกษตรได้ ดังนัน้ ในอนาคตกลุ่มจ�ำเป็นต้องสร้างกระบวนการเรียนรู้และรณรงค์เพื่อให้ชุมชน หันมาท�ำการเกษตรกรรมยัง่ ยืนมากขึน้ เพราะเชือ่ ว่าการท�ำการเกษตรกรรม ยั่งยืนท�ำให้ชุมชนเข้มแข็งและมีความยั่งยืน
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 59
ฐานเรียนรู้ที่ ๒ ศูนย์ ๘๔ ครัวเรือนเศรษฐกิจพอเพียง ต�ำบลอุโมงค์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำพูน
วิทยากร นายอุทิศ จันทะอุโมงค์
กลุม่ ๘๔ ครัวเรือนเศรษฐกิจพอเพียงเทศบาลต�ำบลอุโมงค์ เกิดจากการ รวมตัวของเกษตรกรทีส่ นใจการด�ำเนินชีวติ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ทัง้ ด้าน ความพอประมาณ มีเหตุมีผล ภูมิคุ้มกัน ความรู้และคุณธรรม โดยการสมัคร ใจเข้าร่วมเป็นสมาชิก ทั้งนี้กลุ่มมีกิจกรรมการฝึกอบรมการท�ำเกษตรกรรม ยั่งยืนและการด�ำเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง มีการส่งเสริมและ สนับสนุนการท�ำเกษตรกรรมยัง่ ยืน และสร้างเครือข่ายสมาชิกในหมูบ่ า้ นต่างๆ สนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน หนุนเสริมความรู้ทางเทคนิค วิชาการต่างๆ มีการประสานความร่วมมือกับเทศบาลต�ำบลอุโมงค์ในหลายๆ ด้าน เช่น การท�ำตลาดนัดสีเขียว (กาดนัดถนนคนเดิน) ตัวอย่างการน้อมน�ำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ของกลุม่ เช่น กลุ่มได้ร่วมกันท�ำความดี ๗ ประการ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในวโรกาสที่พระองค์ท่านมีพระชนมายุครบ ๘๔ พรรษา ในปี ๒๕๕๔ โดย ๑) เพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวในพืน้ ทีท่ ำ� กินของตนตามแนวคิด “ย้ายป่ามาอยูบ่ า้ น” ปลูกป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่างและใช้ระบบเกษตร อินทรียห์ รือเกษตรธรรมชาติในการท�ำเกษตร ๒) เข้ารวมกลุ่มกับสมาชิกครัวเรือน อืน่ เพือ่ แลกเปลีย่ นเรียนรู้ แก้ไขปัญหาและช่วยเหลือซึง่ กันและกัน ๓) ลดราย จ่าย เพิ่มรายได้ โดยใช้หลักพึ่งตนเองตามแนวพระราชด�ำริปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ๔) จัดท�ำบัญชีครัวเรือนเพื่อให้ทราบข้อมูลรายรับ-รายจ่ายใน ครัวเรือนของตนเอง ๕) คัดแยกขยะโดยน�ำของอินทรีย์ (ที่ย่อยสลายได้) 60 |
มาเป็นปุ๋ยหมักในครัวเรือน ๖) ประหยัดพลังงานได้แก่ไฟฟ้าประปาและ โทรศัพท์ ๗) จัดครัวเรือนให้สะอาด ร่มรื่น ถูกสุขอนามัย กลไกการบริหารจัดการของกลุ่มนั้นด�ำเนินงานในรูปแบบขององค์กร ชาวบ้าน คือ มีคณะกรรมการด�ำเนินงานที่มาจากการคัดเลือกของสมาชิก มีบทบาทหน้าที่ในการบริหารจัดการกลุ่มให้สามารถด�ำเนินงานตามความ ต้องการของสมาชิกบนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีการระดม หุน้ จากสมาชิกเพือ่ จัดตัง้ เป็นกองทุน เป็นแหล่งเงินทุนให้กบั สมาชิกทีต่ อ้ งการ ปรับเปลี่ยนระบบมาสู่เกษตรกรรมยั่งยืน ซึ่งมีการคิดอัตราดอกเบี้ยที่ต�่ำกว่า ธนาคาร ปัจจุบัน กลุ่มมีสมาชิกที่ผ่านเข้าผ่านกระบวนการฝึกอบรมจ�ำนวน ๒๕๒ ครัวเรือน และเกิดการตัวเป็นกลุ่มต่างๆ เช่น กลุ่มปศุสัตว์อินทรีย์ กลุ่มท�ำนา กลุ่มพืชผัก กลุ่มพลังงานทดแทน กลุ่มผลิตปุ๋ยอินทรีย์ กลุ่มผลิต น�้ำหมักชีวภาพ กลุ่มแปรรูปผลผลิต ที่ส�ำคัญกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้สร้าง ความมั่นคงทางด้านอาหารของชุมชนเกิดการแบ่งปันเกื้อกูลด้านอาหารของ คนในชุมชน ทั้งนี้ กลุ่มได้รับการสนับสนุนงบประมาณการด�ำเนินกิจกรรมทั้งจาก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แกนน�ำชุมชน หน่วยงานทั้งภายในและนอก พื้นที่ รวมทั้งได้ประสานความร่วมมือกับองค์กรภาคีต่าง ๆ ในการจัดท�ำแผน แม่บทชุมชน เช่น เทศบาลต�ำบลอุโมงค์ สถาบันวิชาการ และภาคีเครือข่าย ภาครัฐในพื้นที่
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 61
ความส�ำเร็จของกลุ่มเกิดขึ้นได้ด้วยปัจจัยหลายประการ เช่น การมี กลุ่มแกนน�ำที่เข้มแข็ง เสียสละ ขยันใฝ่หาความรู้ มีสมาชิกที่ให้ความร่วมมือ ในการด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ อย่างไรก็ตาม พบว่าปัญหาทีเ่ กิดขึน้ คือ การขยายผลตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงยังอยู่ในวงจ�ำกัด ทั้งนี้เนื่องจากคนในชุมชนยังไม่เข้าใจต่อ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างแท้จริง ซึง่ จ�ำเป็นต้องสร้างการเรียน รู้เพิ่มเติม
62 |
ฐานเรียนรู้ของกิจกรรมที่ ๒.๒ การสร้างอาหารในระดับชุมชน ฐานเรียนรู้ที่ ๓ การใช้พื้นที่สาธารณะสร้างอาหาร ต�ำบลสมอแข อ�ำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
วิทยากร นางกันยา วงศ์ทองดี
ต�ำบลสมอแขเป็นชุมชนกึง่ เมืองกึง่ ชนบทตัง้ อยูใ่ กล้เมืองจึงท�ำให้มกี าร โยกย้ายเข้าตั้งถิ่นฐานของประชากรอย่างรวดเร็ว มีการใช้พื้นที่การเกษตร เป็นทีอ่ ยูอ่ าศัย ส่งผลกระทบในด้านต่างๆ เช่น ขยะมูลฝอยในทีม่ ปี ริมาณมาก ขึน้ ปัญหาด้านสุขภาพจากสถิตแิ ละข้อมูลจ�ำนวนผูม้ าใช้บริการรักษาของโรง พยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลสมอแข พบว่ามีผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาโรค ได้แก่ โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และจากสถานการณ์ปัญหาดังกล่าวท�ำให้นางทองม้วน พันธุรี นายกองค์การ บริหารส่วนต�ำบลสมอแข ได้มีแนวคิดในการดูแลสุขภาพของประชาชน ต�ำบลสมอแขเพิ่มขึ้นจากการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน โดยเฉพาะการดูแล สุขภาพนางทองม้วนเริ่มต้นโดยการรณรงค์และส่งเสริมให้ทุกครัวเรือน ปลูกพืชผักไม่ใช้สารเคมีไว้กินเอง และปี ๒๕๕๓ องค์การบริหารส่วนต�ำบล สมอแขได้ใช้งบประมาณส่วนหนึง่ สนับสนุนกล้าผักผ่านเวทีประชุมประชาคม ของแต่ละหมูบ่ า้ นและโครงการ อบต.สัญจร เช่น พริก มะเขือ ดอกแค มะรุม กระเพรา โหระพา มะเขือเทศ ฯลฯ ให้กับคนในชุมชนปลูก ส่งผลให้เกิดการ ตื่นตัวและร่วมโครงการอย่างต่อเนื่อง
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 63
ต่อมาในปี ๒๕๕๔ อบต.สมอแขได้จัดท�ำโครงการถนนกินได้ โดยมี การเพาะกล้าต้นแคและน�ำไปปลูกบริเวณริมถนนทั้งสองฝั่งทางเข้าหมู่ที่ ๑ และ ๖ และสร้างข้อตกลงร่วมกันว่าชุมชนต้องช่วยกันบ�ำรุงรักษาดูแล จาก นั้นมาจึงมีโครงการถนนกินและมีพืชผักหลากชนิดไม่ว่า กระเพรา โหระพา พริก ข่า ตะไคร้ เพิ่มขึ้นในบ้านและริมถนนของทุกหมู่บ้าน ปี ๒๕๕๖ อบต. สมอแขได้สนับสนุนงบประมาณท�ำโครงการอุทยานผักพื้นบ้าน มีการจัดหา และรวบรวมพันธุผ์ กั พืน้ บ้านกว่า ๑๐๐ ชนิดทัง้ ไม้ยนื ต้น ไม้เลือ้ ย ไม้น�้ำ ไม้พมุ่ เพื่อปลูกในโรงเรียนวัดศรีวนาราม หมู่ที่ ๓ เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับคนใน ชุมชนโดยเฉพาะเด็กและเยาวชน ผลการด� ำ เนิ น งานที่ เ กิ ด ขึ้ น ท� ำ ให้ ค นในชุ ม ชนตื่ น ตั ว และเข้ า มามี ส่วนร่วมเห็นความส�ำคัญของการปลูกพืชผักกินเองและการใช้ประโยชน์จาก พืน้ ทีท่ งั้ ส่วนตัวและสาธารณะ ท�ำให้มแี หล่งอาหารปลอดภัยเพิม่ ขึน้ ชุมชนเกิด การร่วมมือร่วมใจ เกิดความรักสามัคคีและความรูส้ กึ เป็นเจ้าของร่วมกัน รวม ทั้งได้เกิดการรวมกลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษและกลุ่มตลาดสีเขียว
อุปสรรคในการด�ำเนินงาน คือ ชาวบ้านในต�ำบลยังไม่ค่อยเห็นความ ส�ำคัญในการปลูกพืชผักกินเองมากนัก เนื่องจากวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปและมี ความเป็นเมืองสูง รวมถึงค่านิยมในการบริโภคอาหารแบบเร่งด่วน ดังนั้น องค์การบริหารส่วนต�ำบลสมอแขจึงมีศูนย์สาธิตการตลาดหรือตลาดหนอง ปรือ เพือ่ เป็นแหล่งเรียนรูใ้ นเรือ่ งพืชผัก เป็นแหล่งธนาคารผัก เป็นจุดรวบรวม และจ�ำหน่ายพืชผัก นอกจากนี้ บริเวณตลาดมีบึงน�้ำขนาดใหญ่ ทางองค์การ บริหารส่วนต�ำบลสมอแขปลูกบัวแดงเพื่อสร้างทัศนีย์ภาพและแหล่งอาหาร ส�ำหรับคนและสัตว์ โดยบริเวณรอบๆ บึงเป็นแปลงปลูกผักหลากหลายชนิด ส่วนการบริหารจัดการนั้น อยู่ในรูปแบบคณะกรรมการด�ำเนินงาน เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนในต�ำบลสมอแขเข้ามามีส่วนรวมในการใช้พื้นที่ ซึ่งในอนาคต องค์การบริหารส่วนต�ำบลสมอแขมมีนโยบายจัดท�ำโครงการ CSA (community supported agriculture) เพือ่ เป็นแนวทางในการจัดการ อาหารปลอดภัยภายในชุมชนต่อไป
สิง่ ทีส่ ง่ ผลให้เกิดความส�ำเร็จนัน้ นายก อบต.และมีแนวคิดการส่งเสริม สนับสนุนการปลูกพืชผักกินได้แล้ว ยังได้รับความร่วมมือจากทีมคนท�ำงาน ผู้น�ำท้องถิ่น แกนน�ำ ประชาชนในชุมชน และหน่วยงานอื่นๆ ที่เข้ามามีส่วน ร่วมและสนับสนุนงบประมาณ รวมถึงงานด้านวิชาการเพือ่ ให้การด�ำเนินงาน เกิดความเข้มแข็ง เช่น ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) มหาวิทยาลัยนเรศวร ฯลฯ และสิ่งส�ำคัญคือการประชาสัมพันธ์เชิญ ชวนอย่างต่อเนื่องสม�่ำเสมอเพื่อสร้างความตื่นตัวของคนในชุมชน
64 |
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 65
ฐานเรียนรู้ที่ ๔ กลุ่มเกษตรผสมผสาน ต�ำบลกะปาง อ�ำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช
วิทยากร นายสัจจา พิพฒ ั น์ผล
กลุ่มเกษตรผสมผสาน หมู่ ๔ ต�ำบลกะปาง อ�ำเภอทุ่งสง จังหวัด นครศรีธรรมราช ก่อตั้งปี ๒๕๔๓ มีสมาชิกก่อตั้ง ๕๐ คน โดยเกิดขึ้นจาก ปัญหาการปลูกยางพาราและปาล์มน�้ำมัน ที่ท�ำให้แต่ละครอบครัวต้องซื้อ อาหารจากตลาดนอกชุมชนเกือบทุกอย่าง จึงได้รวมคนที่มีความคิดเห็นตรง กันจัดเวทีพูดคุยตามกลุ่มบ้านต่างๆ จนตกผลึกสร้างกิจกรรมร่วมกันเพื่อ ปากท้องของตัวเองเป็นหลัก ทางกลุม่ ได้มกี ลไกและโครงสร้าง คือ มีคณะกรรมการจ�ำนวน ๑๖ คน ซึง่ จะมีการเลือกตัง้ ทุก ๒ ปี ทัง้ นีค้ ณะกรรมการกลุม่ เกษตรผสมผสานถือเป็น กลุม่ หลักและต้องกระจายตัวเป็นคณะกรรมการกลุม่ ในลูกข่ายทีม่ อี ยู่ ๘ กลุม่ ซึ่งในกลุ่มลูกข่ายนี้มีคณะกรรมการในการจัดการอีก ทุกวันที่ ๒๗ ของเดือน คณะกรรมการเกษตรผสมผสานต้องเข้าร่วมประชุมทีท่ ำ� การกลุม่ เพือ่ รับทราบ ปัญหาและร่วมวางแผนของแต่ละกลุ่มกิจกรรม ส�ำหรับกลุ่มลูกข่ายอีก ๙ กลุ่มนั้นมี ๑) กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต บ้านกะโสม มีสมาชิก ๑,๓๒๒ คน มีเงินทุน ๑,๐๗๒,๙๐๐ บาท มีวิสาหกิจ โรงน�้ำดื่ม การจ�ำหน่ายมอเตอร์ไซค์ให้สมาชิก มีสวัสดิการให้สมาชิก ๒) กลุ่ม ผลิตน�้ำยางสด มีสมาชิก ๖๑ คน เงินทุน ๖๕๐,๐๐๐ บาท เพื่อรับซื้อน�้ำยาง ขายส่งโรงงานและปล่อยเงินกู้ให้สมาชิก ๓) กลุ่มรับซื้อมูลสัตว์จากในชุมชน เพื่อผลิตปุ๋ยหมักปุ๋ยน�้ำแจกจ่ายให้สมาชิกปีละ ๑ ครั้ง ๔) กลุ่มปุ๋ยเคมี มีสมาชิก ๖๖ คน มีเงินทุน ๖๕๔,๐๐๐ บาท กิจกรรมคือ ซื้อปุ๋ยเคมีมา 66 |
จ�ำหน่ายให้สมาชิกช�ำระแบบผ่อนส่ง ๖ งวด ๓ เดือน ๕) กลุ่มอนุรักษ์และ แปรรูปสาคู เนื่องจากพื้นที่บ้านกะโสมมีสาคูอยู่ ๖๐๐ ไร่ ชุมชนใช้ประโยชน์ เฉพาะใบอย่างเดียว กลุ่มมีสมาชิก ๓๓ คน เงินทุน ๑๓,๐๐๐ บาท กิจกรรม ทีท่ ำ� คือ ผลิตแป้งสาคู เพาะเลีย้ งด้วงสาคู แปรรูปขนมจากแป้งสาคูชนิดต่างๆ ๖) กลุ่มพันธุกรรมพืชท้องถิ่น มีสมาชิก ๒๕ คน เงินทุน ๕๖,๐๐๐ บาท กิจกรรมทีท่ ำ� คือ รวบรวมผักพืน้ บ้าน สมุนไพร ไม้ใช้สอย ขยายพันธุใ์ ห้สมาชิก ปลูกในพืน้ ทีข่ องตนเอง ๗) ศูนย์เรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียง เป็นแหล่งเรียนรูก้ าร ท�ำเกษตรผสมผสาน เป็นแหล่งเรียนรูก้ ารปลูกพืช เลีย้ งสัตว์ โรงเรียนในชุมชน และบุคคลทั่วไปที่สนใจ ๘) ธนาคารต้นไม้ต�ำบลกะปาง มีสมาชิก ๒๑๑ คน กิจกรรมให้สมาชิกปลูกไม้ใช้สอยริมห้วยริมแดนระหว่างพืชเชิงเดีย่ ว ๙) กลุม่ กองทุนปุ๋ยหมัก มีสมาชิก ๓๕ คน มีเงินทุน ๓๕,๔๐๐ บาท อย่างไรก็ตามทุก กิจกรรมของกลุ่มเกษตรผสมผสาน เกิดขึ้นเพื่อต้องการให้สมาชิกมีอาหาร ที่ปลอดภัยไว้บริโภค ลดปัจจัยเสี่ยงทางการผลิต มีรายได้เสริมจากกิจกรรม ต่างๆ และมีสวัสดิการชีวิต ปัจจัยที่สนับสนุนระยะแรก มาจากการระดมหุ้นในหมู่สมาชิก ต่อมา อบต. และหน่วยงานต่างๆ เข้ามาสนับสนุน เช่น อบต.ได้สนับสนุนงบสร้าง โรงเรือนออมทรัพย์ ๓๐๐,๐๐๐ บาทและ ส่งเสริมกลุม่ อาชีพ ๘๐๐,๐๐๐ บาท กองทุนพัฒนาศักยภาพหมู่บ้านและชุมชน (SML) สนับสนุนเงิน ๒๐๐,๐๐๐ บาทเพื่อซื้ออุปกรณ์ผลิตแป้งสาคู ส�ำนักงานบริหารอนุรักษ์พื้นที่สนับสนุน ๑๕๐,๐๐๐ บาท เพือ่ อุปกรณ์เพาะด้วงในแปลงสาคู ชุมชนพอเพียงสนับสนุน ๓๐๐,๐๐๐ บาท เพือ่ ซือ้ เครือ่ งจักรอุปกรณ์ผลิตปุย๋ หมัก และส�ำนักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.ส�ำนัก ๖) สนับสนุน ๑๒,๐๐๐ บาท รวมทั้งมหาวิทยาลัยราชมงคลศรีวิชัย จังหวัดนครศรีธรรมราช สนับสนุน คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 67
เครื่องจักรผลิตแป้งสาคู ๒ เครื่อง พร้อมงานวิชาการ และเทศบาลต�ำบล กะปางสนับสนุนตู้อบแป้ง ๑ เครื่อง ปัญหาและอุปสรรคของกลุ่มต่างๆ คือ กิจกรรมที่ท�ำอยู่บางกิจกรรม ขาดความรู้ทางวิชาการ ดังนั้นแนวทางการพัฒนาในภายหน้าคือ การสร้าง ความเข้าใจให้กับคนในชุมชนเพื่อตระหนักและเห็นความส�ำคัญของการท�ำ เกษตรผสมผสานให้มากขึ้น
กิจกรรมที่ ๒.๓ การจัดการตลาดรูปแบบต่างๆ
ความหมายของระบบการตลาดผลิตภัณฑ์เกษตรกรรมยั่งยืน ช่วง ๒๐ ปีที่ผ่านมามีผู้ให้นิยามความหมายของระบบการตลาด ผลิตภัณฑ์เกษตรกรรมยั่งยืนที่หลากหลาย และได้เรียกระบบตลาดของ ผลผลิตเช่นนี้ว่าเป็น “ตลาดทางเลือก” ในที่นี้จะยกตัวอย่างของความหมาย เช่น ตลาดทางเลือก๑๐ หมายถึง รูปแบบความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรมแบบใหม่ระหว่างผูผ้ ลิตและผูบ้ ริโภคทีค่ �ำนึงถึงสุขภาพและสิง่ แวดล้อม เกื้อหนุนให้เกิดความเข้าใจเห็นอกเห็นใจและรับผิดชอบซึ่งกันและ กัน อันเป็นรากฐานของการสร้างสรรค์สงั คมและธรรมชาติทดี่ แี ละงดงาม โดย กิจกรรมการซือ้ ขายตลาดทางเลือกจะตัง้ อยูบ่ นพืน้ ฐานคติทวี่ า่ ทัง้ ผูผ้ ลิตและ ผูบ้ ริโภคต่างต้องพึง่ พาซึง่ กันและกัน และการพัฒนาไปสูก่ ารมีคณ ุ ภาพชีวติ ที่ ดีของทั้งสองฝ่ายจะด�ำเนินไปโดยการประสานเชื่อมโยงกัน ซึ่งจิตส�ำนึกของ ผู้ผลิตต้องพัฒนาระบบการผลิตที่ไม่ท�ำลายธรรมชาติ ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ ปลอดภัย ด้วยว่าการผลิตอาหารที่มีคุณภาพนั้น เปรียบเสมือนการให้ชีวิต ที่สมบูรณ์แก่ผู้บริโภคซึ่งเป็นหุ้นส่วนชีวิตของตนด้วยเช่นกัน ส่วนจิตส� ำนึก ของผู้บริโภคที่ให้ราคาที่เป็นธรรมต่อเกษตรกรและผู้ผลิตเป็นการสนับสนุน โอกามา จ่าแกะการจัดการตลาดทางเลือกเกษตรอินทรีย์ : กรณีศกึ ษาสหกรณ์การเกษตร ยั่งยืนแม่ทา จ�ำกัด ต�ำบลแม่ทา กิ่งอ�ำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่วิทยานิพนธ์คณะ สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ๒๕๕๐ ๑๐
68 |
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 69
ระบบการผลิตที่ค�ำนึงถึงสุขภาพและไม่ท�ำลายสิ่งแวดล้อมให้ขยายตัวออก ไป ซึ่งกิจกรรมในตลาดทางเลือกนั้นจะเป็นเวทีท�ำให้เกิดการปะทะสังสรรค์ แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน เพื่อสร้างความเข้าใจและมีจิตส�ำนึก ของการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน อันเป็นรากฐานของการสร้างสังคมใหม่ ที่ เป็นอิสระจากระบบเศรษฐกิจและวัฒนธรรมแบบ “บริโภคนิยมวัตถุ” ดังที่ เป็นอยู่ในปัจจุบัน เป้าหมายร่วมของการท�ำตลาดผลิตภัณฑ์เกษตรกรรมยั่งยืน ๑) การปรับปรุงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของผู้ผลิต สนับสนุนให้เกิดการ ท�ำในแนวทางที่สอดคล้องและเป็นประโยชน์กับมาตรฐานการผลิตสินค้า เกษตรกรรมยั่งยืน และสอดคล้องกับสภาพสังคม วัฒนธรรมท้องถิ่น ซึ่ง ผสมผสานกับการด�ำรงชีวิตในชุมชนนั้นๆ ๒) สร้างเสริมปริมาณอาหารพื้นเมืองและสนับสนุนให้เกิดความ ปลอดภัยของอาหารในทุกระดับ ๓) ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต เทคนิค การตลาด ระบบความรู้ ทีเ่ กีย่ วข้องกับเกษตรกรรมยัง่ ยืน รวมถึงการเผยแพร่สนับสนุนและเสริมสร้าง เครือข่าย ๔) เสริมความเข้มแข็งและศักยภาพในท้องถิ่น มีการพัฒนากลไก การตรวจสอบและรับรองขึ้นในท้องถิ่น การสร้างเครื่องหมายทางการค้าที่ เกีย่ วโยงกับโครงสร้างทางเศรษฐกิจสังคมของผูผ้ ลิต เพือ่ แสดงให้เห็นถึงความ แตกต่างจากผลิตภัณฑ์ทั่วๆ ไป ๕) สนับสนุนการอนุรักษ์และฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง ๖) สนับสนุนการค้าและราคาสินค้าที่เป็นธรรม มีการเปิดเผยหรือ สนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยนพูดคุยในหมู่ผู้บริโภค สนับสนุนนโยบาย 70 |
เปิดเผยข้อมูลในหมู่ผู้ผลิต ผู้แปรรูป พ่อค้า และผู้บริโภค ผู้ผลิตจะต้องได้รับ ราคาผลผลิตที่เป็นธรรมที่สามารถรักษาระบบการเกษตรและมีคุณภาพชีวิต ที่ดีเช่นเดียวกับผู้บริโภคสามารถเข้าถึงอาหารที่มีคุณภาพ มีความปลอดภัย ได้อย่างทั่วถึง ช่องทางการตลาดของผลิตภัณฑ์เกษตรกรรมยั่งยืน๑๑ ช่องทางการตลาดของผลิตภัณฑ์เกษตรกรรมยัง่ ยืนส่วนใหญ่มลี กั ษณะ คล้ายกับการตลาดของสินค้าเกษตรทั่วไป อาจจะแตกต่างที่กลุ่มผู้บริโภค เป้าหมาย ซึ่งท�ำให้ช่องทางการตลาดของเกษตรกรรมยั่งยืนมีลักษณะเฉพาะ ตัวที่แตกต่างไปบ้างบางส่วน โดยรวมแล้วอาจจะแบ่งได้เป็น ๒ แบบหลักๆ คือ ตลาดทางเลือกและตลาดกระแสหลัก ๑. ตลาดทางเลือก คือ รูปแบบความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรมแบบใหม่ระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภคที่ค�ำนึงถึงสุขภาพและ สิ่งแวดล้อม เกื้อหนุนให้เกิดความเข้าใจ เห็นอกเห็นใจ และรับผิดชอบซึ่ง กันและกัน กิจกรรมการซื้อขายในระบบตลาดทางเลือกต้องอยู่บนคติที่ ว่าทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภคต่างต้องพึ่งพาซึ่งกันและกัน และพัฒนาไปสู่การ มีคุณภาพชี วิ ต ที่ ดี ข องทั้ ง สองฝ่ า ย จุ ด เริ่ ม ของการท�ำตลาดทางเลื อ กใน สังคมไทย สามารถสรุปได้ใน ๒ รูปแบบ คือ
ศุภชัย หล่อโลหการและคณะ ธุรกิจเกษตรอินทรีย์ ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ กระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย. ๒๕๕๐ ๑๑
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 71
• เริม่ ต้นจากผูผ้ ลิตในพืน้ ทีท่ มี่ พี ฒ ั นาการมาจากการท�ำเกษตรกรรม ยั่งยืน หรือกลุ่มออมทรัพย์ หรือกลุ่มแม่บ้าน รวมตัวกันท�ำการ ตลาด โดยประสานงานกั บ องค์ ก รพั ฒ นาและกลุ ่ ม ผู ้ บ ริ โ ภค ลักษณะการขายมีทั้งการเปิดร้านค้าปลีก การขายตามตลาดนัด ในท้องถิ่น ตั้งแผงขายในสถาบันการศึกษาและโรงพยาบาล การ ขายส่งพ่อค้า การออกร้านตามงานต่างๆ ขายตรงตามบ้าน ส่ง ขายระหว่างองค์กรชาวบ้านด้วยกันเอง • เริ่ ม ต้ น จากผู ้ บ ริ โ ภคที่ มี ส� ำ นึ ก ในด้ า นการคุ ้ ม ครองผู ้ บ ริ โ ภค และพิทักษ์รักษาสิ่งแวดล้อม โดยมีรูปแบบเปิดร้านค้าปลีก เฉพาะด้านเป็นรูปแบบหลัก หรือประสานกับกลุ่มผู้ผลิตในการ กระจายผลผลิตในหน่วยงานต่างๆ โดยรูปแบบของตลาดทางเลือกสามารถสรุปได้ดังนี้ ๑) ตลาดท้องถิ่น ตลาดท้ อ งถิ่ น มี แ นวโน้ ม ที่ จ ะเป็ น ที่ นิ ย มและให้ ค ่ า ตอบแทนต่ อ เกษตรกรสูงกว่าตลาดแบบอื่น เนื่องจากเกษตรกรสามารถจําหน่ายผลผลิต ให้กับผู้บริโภคได้โดยตรง ถึงแม้ว่าจะมีค่าใช้จ่ายในเรื่องค่าขนส่งและค่าแรง เพิ่มขึ้นแต่จัดว่าไม่สูงมาก เพราะตลาดเหล่านี้มักไม่ได้อยู่ห่างไกลกับแหล่ง ผลิตและด้วยปริมาณการขายที่น้อย แรงงานที่ใช้ในการจัดเตรียมผลผลิตมัก เป็นแรงงานในครัวเรือน ประโยชน์อีกด้านหนึ่งของตลาดท้องถิ่นคือ ช่วยท�ำให้ผู้ผลิตและ ผู้บริโภคเกิดความรู้สึกร่วมกันในชุมชน มีเอกลักษณ์ และมีความผูกพันกัน เป็นการสร้างกระบวนการเรียนรู้ของเกษตรกรจากการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ผูผ้ ลิตและผูบ้ ริโภค ท�ำให้เกษตรกรมีโอกาสทีจ่ ะเรียนรูเ้ กีย่ วกับความต้องการ ของผู้บริโภคและความเปลี่ยนแปลงของตลาด 72 |
๒) ตลาดในชุมชน ตลาดในชุมชนส่วนใหญ่เป็นตลาดทีเ่ ปิดขายในช่วงเช้าตรูห่ รือช่วงเย็น และมักจะเปิดขายในช่วงระยะเวลาสั้นๆ เพียง ๑-๒ ชั่วโมง สมาชิกในชุม ชนนําสินค้าที่ผลิตได้ในครอบครัวมาจ�ำหน่าย สินค้าส่วนใหญ่มักเป็นอาหาร สดหรืออาหารแปรรูปอย่างง่าย ตลาดในชุมชนเหมาะกับผลผลิตจากเกษตรกร รายย่อย เป็นผลผลิตทีไ่ ม่คอ่ ยมีการผลิตในชุมชนมากนัก และควรเป็นผลิตผล ที่มีความต่อเนื่อง แต่ไม่เหมาะกับผลผลิตที่ปริมาณมาก เพราะตลาดชุมชน มักมีขนาดเล็ก ข้อดีของตลาดในชุมชนคือ เกษตรกรผู้ผลิตเสียค่าใช้จ่ายในการขาย ผลผลิตต�่ำมาก ทําให้เกษตรกรได้รับรายได้เต็มจากการขาย ซึ่งได้เงินสดเป็น รายได้ประจ�ำ และช่วยแบ่งเบาภาระส�ำหรับค่าใช้จา่ ยประจําวันของครอบครัว เกษตรกรได้ แต่ราคาผลิตผลที่จ�ำหน่ายในตลาดชุมชนมักจะมีราคาค่อนข้าง ต�่ำ เพราะความสามารถในการซื้อสินค้ามีอยู่น้อย นอกจากนี้ตลาดในชุมชน มักจะไม่ใช่ตลาดเฉพาะผลผลิตเกษตรกรรมยั่งยืนเท่านั้น ๓) ตลาดนัดท้องถิ่น ตลาดนัดในท้องถิ่นส่วนใหญ่เป็นตลาดคล้ายกับตลาดชุมชน แต่อาจ มีขนาดใหญ่กว่า และมักจัดในที่มีผู้บริโภคอยู่หนาแน่น เช่น โรงพยาบาล สถานที่ราชการต่างๆ ตลาดนัดจะเปิดขายเฉพาะวันที่กำ� หนดไว้ ระยะเวลา ในการเปิดขายอาจเพียงครึง่ วันหรือเต็มวันขึน้ อยูก่ บั ปริมาณของผูบ้ ริโภคและ ข้อจ�ำกัดของสถานที่ ในตลาดนัดเช่นนี้มักจะต้องการกลุ่มบุคคลหรือองค์กรใดองค์กรหนึ่ง ทําหน้าที่ในการประสานงานกับเจ้าของพื้นที่ และประชาสัมพันธ์ให้กับผู้ บริโภค ซึง่ กลุม่ บุคคลหรือองค์กรทีเ่ ป็นผูจ้ ดั ตลาดนัดนีอ้ าจมีนโยบายทีช่ ดั เจน เกี่ยวกับคุณสมบัติของเกษตรกรที่จะน�ำผลผลิตเข้ามาจ�ำหน่ายในตลาดนัด คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 73
ความชัดเจนในนโยบายลักษณะนี้จะช่วยให้ตลาดนัดเป็นเครื่องมือในการส่ง เสริมเกษตรกรรมยั่งยืนที่ส�ำคัญเช่นกัน ๔) ตลาดสมาชิก ตลาดระบบนี้ได้รับอิทธิพลมาจากระบบเกษตรในต่างประเทศ เช่น ระบบชุมชนสนับสนุนการเกษตรในสหรัฐอเมริกา (Community supported agriculture, CSA) ระบบเตเกในญี่ปุ่น (Teikie) และระบบกล่องผักในยุโรป (Box scheme) ตลาดสมาชิกเน้นที่สร้างความสัมพันธ์ระหว่างเกษตรกรผู้ ผลิตและผู้บริโภคโดยมีการวางแผนการผลิตร่วมกันระหว่างเกษตรกรเพื่อใช้ ลงทุนในการผลิต โดยผู้ผลิตจะจัดส่งผลิตผลให้กับผู้บริโภคโดยตรง ระบบ สมาชิกจะเน้นผลิตผลที่เป็นผักสดเป็นส่วนใหญ่หรืออาจมีผลไม้ร่วมบ้างเล็ก น้อย นอกจากนี้ เกษตรกรผูผ้ ลิตหรือผูจ้ ดั ส่งจ�ำเป็นต้องมีพาหนะและแรงงาน ในการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว ๕) ร้านค้าปลีกเฉพาะด้าน ร้านค้าปลีกเฉพาะด้าน (Specialized shop) อาจเป็นร้านค้าที่มี นโยบายในการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์โดยตรง หรืออาจเป็นร้าน สุขภาพและมีผลผลิตเกษตรกรรมยั่งยืนร่วมจ�ำหน่ายด้วย ความแตกต่างของ ร้านเกษตรอินทรียแ์ ละร้านสุขภาพอยูท่ คี่ วามเข้มงวดในการคัดสรรสินค้าเข้า มาจ�ำหน่าย ในร้านเกษตรอินทรียส์ นิ ค้าทีม่ จี ะต้องมาจากกระบวนการผลิตที่ เป็นเกษตรอินทรียท์ ตี่ รวจสอบได้ ในขณะทีร่ า้ นสุขภาพอาจยอมรับสินค้าทีไ่ ด้ จากการผลิตที่ควบคุมการใช้สารเคมีก�ำจัดศัตรูพืช หรือการผลิตที่ปลอดสาร เคมีเข้ามาจ�ำหน่ายได้ สินค้าที่มีจ�ำหน่ายในร้านค้าปลีกเฉพาะด้านมักได้จาก การรวบรวมมาจากแหล่งต่างๆ กัน ไม่จ�ำกัดเฉพาะในละแวกของชุมชนตัว เอง บางร้านอาจมีสินค้าน�ำเข้าจากต่างพื้นที่หรือต่างประเทศ กลุ่มผู้บริโภค ทีส่ นใจในผลผลิตเกษตรกรรมยัง่ ยืนส่วนใหญ่จะเป็นผูท้ มี่ คี วามสนใจด้านการ 74 |
รักษาสุขภาพ มีการศึกษา ร้านค้าปลีกเฉพาะด้านเหล่านี้มักพบได้ในตัวเมือง ที่เป็นชุมชนของผู้บริโภคเป็นหลัก ๖) ตลาดขายส่งเฉพาะด้าน ลักษณะตลาดขายส่งเฉพาะด้าน คือ การขายผลผลิตให้กับร้าน อาหาร โรงแรม หรือโรงครัวขององค์กร เช่น โรงเรียน โรงพยาบาล เป็นต้น ตลาดประเภทนี้จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อผู้บริโภคโดยรวมมีความตื่นตัวเรื่อง เกษตรกรรมยั่งยืนค่อนข้างสูง เพราะทั้งผู้บริหารและผู้บริโภคที่มาใช้บริการ ต้องเข้าใจและมีความสนใจเรื่องเกษตรกรรมยั่งยืน โดยเฉพาะอย่างยิ่งราคา ของผลผลิตเกษตรกรรมยั่งยืนที่สูงกว่าผลผลิตทั่วไป ๒. ตลาดกระแสหลัก มีทั้งซุปเปอร์มาเกตในประเทศและตลาดส่ง ออก ซึง่ ต้องมุง่ เน้นการเสนอสินค้าทีม่ คี ณ ุ ภาพสม�ำ่ เสมอกว่า และถึงแม้ตลาด กระแสหลักจะมีศักยภาพในการขยายตลาดให้ครอบคลุมผู้บริโภคให้กว้าง ขวางขึน้ แต่มกั จะเสียค่าใช้จา่ ยสูง ผูผ้ ลิตจะต้องเสียค่าใช้จา่ ยในการวางสินค้า ต้องดูแลในการส่งและจุดวางสินค้าเอง นอกจากนีร้ ะบบการชําระเงินใช้เวลา นาน นับเป็นข้อจ�ำกัดส�ำหรับเกษตรกรและผู้ค้ารายย่อย ส่วนตลาดส่งออก ประเทศไทยส่งออกผลผลิตเกษตรอินทรียส์ ว่ นใหญ่ ให้กับสหภาพยุโรป (EU) รองลงมา คือ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และสิงคโปร์ โดยมีข้าวเป็นพืชส�ำคัญที่สุดตามมาด้วยผัก ผลไม้ ข้าวโพด สมุนไพร และ เครื่องเทศ (ส�ำนักข่าวพาณิชย์, ๒๕๕๐)
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 75
ฐานเรียนรู้ของกิจกรรมที่ ๒.๓ การจัดการตลาดรูปแบบต่างๆ ฐานเรียนรู้ที่ ๕ ตลาดนัดสีเขียว ต�ำบลบางปิด อ�ำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด
วิทยากร นายจรัญ ทองปาน
คนส่วนใหญ่ของต�ำบลบางปิดมีอาชีพเกษตรกรรมท�ำการเพาะปลูกผล ไม้ต่างๆ และประมง เช่น การเลี้ยงกุ้ง หอย ปู และปลา แต่ด้วยสภาพพื้นที่ที่ ห่างไกลจากตัวจังหวัดท�ำให้ผลผลิตล้นเกิน นายจรัญ ทองปาน สารวัตรก�ำนัน ต�ำบลบางปิดซึง่ เป็นผูม้ ปี ระสบการณ์ในการค้าขายจึงเกิดแนวคิดว่า ถ้าชุมชน มีแหล่งทีว่ างขายผลผลิตจะช่วยการจัดการผลผลิตและท�ำให้ชาวบ้านมีรายได้ เพิม่ ขึน้ ดังนัน้ นายจรัญจึงได้เสนอแนวทางและปรึกษาหารือกับคณะกรรมการ หมูบ่ า้ นและชาวบ้านในเวทีประชาคมหมูบ่ า้ น เพือ่ จัดหาพืน้ ทีจ่ �ำหน่ายสินค้า ในหมู่บ้าน ซึ่งที่ประชุมมีมติให้มีตลาดนัดชุมชนที่หมู่ ๒ บ้านบางปิด ซึ่งเป็น สถานทีส่ าธารณะประโยชน์ของหมูบ่ า้ นให้เป็นพืน้ ทีใ่ นวางจ�ำหน่ายผลผลิตซึง่ ได้ด�ำเนินการมาถึงปัจจุบัน หลังการมีพนื้ ทีว่ างจ�ำหน่ายสินค้าเกษตรแล้วได้มกี ารประชาสัมพันธ์ให้ ประชาชนในต�ำบลบางปิดที่มีผลผลิตจากการท�ำสวน ท�ำประมง พืชผักสวน ครัว ที่เหลือจากการบริโภคในครัวเรือน น�ำมาวางจ�ำหน่ายที่ตลาดนัด เมื่อมี ประชาชนให้ความสนใจมาซื้อขายสินค้าที่ตลาดนัดชุมชนมากขึ้น สถานที่จึง คับแคบ ที่จอดรถไม่เพียงพอ ที่ประชุมประชาคมจึงมีมติให้ก่อสร้างอาคาร หลังใหม่
76 |
ผลการด�ำเนินการของตลาดนัดชุมชนท�ำให้คนในต�ำบลบางปิดมีอาชีพ ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัว และเป็นแหล่งอาหารที่ปลอดภัยของ ประชาชนต�ำบลบางปิด ผู้บริโภคมีตลาดนัดที่สะอาด สะดวก มีอาหารสด สะอาด ปลอดสารพิษ มีสุขภาพอนามัยที่ดี คนในต�ำบลมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ปัจจัยสนับสนุนตลาดนัดสีเขียวคือ การสนับสนุนงบประมาณจาก อบต.บางปิดในการจัดตั้งตลาดนัดเพื่อทดลองขาย หลังจากนั้นได้รับงบ ประมาณจากรัฐบาล “งบอยู่ดีมีสุข” ในการสร้างอาคารตลาดนัดขึ้นใหม่ เป็นอาคารถาวรในพื้นที่เดิมและได้มีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอาสาสมัคร สาธารณสุข อบต.บางปิด สนับสนุนอุปกรณ์ตรวจสอบสินค้าทีน่ �ำมาจ�ำหน่าย ในตลาดนัดว่า มีความปลอดภัยจากสารปนเปื้อนในอาหารหรือไม่ เช่น สารกันรา สารเร่งเนื้อแดง สารบอแรกซ์ สารฟอกขาว ฟอร์มาลีน และ สารเคมี ต กค้ า ง ท� ำ ให้ ป ระชาชนในชุ ม ชนได้ บ ริ โ ภคอาหารที่ มี คุ ณ ภาพ ปลอดสารปนเปื้อน และสารเคมีตกค้างในอาหารทั้งในผัก เนื้อสัตว์ และ อาหารทะเล ซึ่งจะด�ำเนินการตรวจปีละ ๑ ครั้ง อุปสรรคในการด�ำเนินการ ตลาดนัดสีเขียวคือ การเข้ามาขายของแม่ค้าภายนอกจ�ำนวนมากขึ้น ส่วน แนวทางในอนาคตคือ การยกระดับตลาดนัดชุมชนให้มมี าตรฐานขยายบริเวณ จ�ำหน่ายให้เพียงพอต่อผู้จ�ำหน่ายและผู้บริโภคต่อไป
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 77
ฐานเรียนรู้ที่ ๖ ตลาดนัดสีเขียว ต�ำบลอุทัยเก่า อ�ำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี
วิทยากร นายธาดา อ�ำพิน
ต�ำบลอุทัยเก่า อ�ำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานีเป็นต�ำบลที่ท�ำการ เกษตรเป็นอาชีพหลัก มีการใช้สารเคมีการเกษตรในปริมาณสูง ในปี ๒๕๕๑ องค์การบริหารส่วนต�ำบลอุทยั เก่าได้มกี ารตรวจสารเคมีในเลือดพบว่า มีสาร เคมีตกค้างในเลือดเป็นจ�ำนวนมาก องค์การบริหารส่วนต�ำบลอุทยั เก่าเห็นถึง ความส�ำคัญของการท�ำการเกษตรปลอดสารเคมีจึงจัด “โครงการชีววิถีคน อุทัยเก่า” จัดตลาดผักปลอดสารเคมีและอาหารปลอดภัยขึ้นที่ริมถนนหมู่ ๔ บ้านหนองจิกยาว รวมทัง้ เพือ่ สนับสนุนให้เกษตรกรหันมาปลูกผักและผลไม้ที่ ปลอดสารพิษมากขึ้น และสร้างช่องทางการตลาดให้กับชุมชน ทั้งนี้ปัจจุบัน ได้มกี ารขยายตลาดนัดชุมชนเพิม่ ขึน้ ในทุกวันศุกร์ทอี่ งค์การบริหารส่วนต�ำบล อุทยั เก่า ซึง่ ถือเป็นจุดเริม่ ต้นของการจัดการระบบตลาดสีเขียวโดยมีองค์การ บริหารส่วนต�ำบลอุทัยเก่าสนับสนุน
ตลาดไปทีต่ า่ ง ๆ เพิม่ ขึน้ เพือ่ เพิม่ ช่องทางในการจ�ำหน่าย เช่น องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นในอ�ำเภอหนองฉางโดยแบ่งโซนพื้นที่ตลาดของอ�ำเภอหนองฉาง จัดตลาดนัดสีเขียวทุกเย็นวันพุธ ผลการจัดตั้งตลาดนัดสีเขียว ภายใต้การสนับสนุนของ อบต.อุทัยเก่า นัน้ ท�ำให้คนในชุมชนมีรายได้เพิม่ ขึน้ ผูผ้ ลิตและผูบ้ ริโภคมีสขุ ภาพทีด่ ขี นึ้ และ เกษตรกรให้ความสนใจและหันมาท�ำเกษตรปลอดสารเคมีมากขึ้น
บทเรียนส�ำคัญของการด�ำเนินงานด้านตลาดทีเ่ กิดขึน้ เช่น ในปี ๒๕๕๔ มีผลผลิตจ�ำนวนมาก ท�ำให้ราคาผลผลิตตกต�ำ่ ทางกลุม่ จึงได้คดิ ถึงการแปรรูป แล้วส่งขายไปยังตลาด ร้านอาหาร และร้านค้าทัง้ ในและนอกต�ำบล และทีส่ ดุ แล้วตลาดที่หมู่ ๔ และที่องค์การบริหารส่วนต�ำบลอุทัยเก่าก็ได้ปิดตัวลง ต่อมาใน ปี ๒๕๕๕ องค์การบริหารส่วนต�ำบลอุทัยเก่าได้จัดสร้าง ตลาดสีเขียวขึ้นอีกครั้งที่บริเวณสระน�้ำหน้าวัดแจ้ง โดยจัดทุกเย็นวันศุกร์ ซึ่งผลผลิตที่น�ำมาจ�ำหน่ายต้องปลอดสารเคมีเท่านั้น โดยผู้จำ� หน่ายจะต้อง สวมผ้ากันเปื้อนเป็นสัญลักษณ์ ทั้งนี้ทาง อบต.อุทัยเก่าได้วางแผนการขยาย 78 |
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 79
เมนูที่ ๓
อาหารจัดการโรค
กิจกรรมที่ ๓.๑ อาหารจัดการโรคโดยศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียน ฐานเรียนรู้ของกิจกรรมที่ ๓.๑ ฐานเรียนรู้ที่ ๑ โรงเรียนเศรษฐกิจพอเพียง ต�ำบลบักได อ�ำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์
อาหารจัดการโรคเป็นเมนูที่ให้ความส�ำคัญกับกระบวนการพัฒนาใน การจัดการอาหารเพื่อสุขภาวะอันจะน�ำไปสู่การป้องกันการเกิดโรคและการ รักษาเยียวยาผู้ป่วยอย่างถูกวิธี รูปธรรมที่เกิดขึ้นมีความหลากหลาย ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรในโรงเรียนเพื่อสร้างอาหารจากวัตถุดิบในชุมชน การ พัฒนาเมนูอาหารทีเ่ หมาะสมกับผูป้ ว่ ยและคนในช่วงวัยต่างๆ การสร้างอาสา สมัคร การพัฒนาทักษะของผู้ป่วยและผู้ดูแลในการจัดการอาหาร เป็นต้น
80 |
วิทยากร ว่าที่ร้อยตรีสิริพงษ์ ชูชื่นบุญ
ในอดีตโรงเรียนบ้านอุโลก ต�ำบลบักได อ�ำเภอพนมดงรัก จังหวัด สุรินทร์ ได้รับการจัดสรรงบประมาณอาหารกลางวันจากกรมส่งเสริมการ ปกครองท้องถิ่นเพียง ร้อยละ ๖๐ ของจ�ำนวนนักเรียนทั้งหมด ซึ่งไม่เพียงพอ กับจ�ำนวนนักเรียน ยิ่งไปกว่านั้นนักเรียนบางคนมาจากครอบครัวยากจนจึง ประสบปัญหาทุพโภชนาการ ท�ำให้สุขภาพไม่แข็งแรง น�้ำหนักต�่ำกว่าเกณฑ์ มาตรฐาน เป็นปัญหาของครัวเรือนและชุมชนทีโ่ รงเรียนตระหนักและให้ความ ส�ำคัญที่จะจัดการแก้ไขให้เป็นรูปธรรม ดังนั้น ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน คณะครู และกรรมการสถานศึกษาจึงมีความคิดในการน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียงมาบูรณาการกับกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการงานและเทคโนโลยี เพื่อให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริง คือ การให้นักเรียนได้ท� ำกิจกรรมทางการ เกษตรทีเ่ น้นกิจกรรมการปลูกผักสวนครัวตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบริเวณ รอบโรงเรียนและหลังโรงเรียน เป้าหมายที่ส�ำคัญคือ การน�ำผลผลิตที่ได้มา ประกอบอาหารกลางวันเพื่อให้น ักเรียนมีอาหารปลอดภัยไว้บริโภค อีกทั้ง ยังเป็นการลดรายจ่ายให้กบั ทางโรงเรียน นอกจากนีย้ งั มีการแบ่งผลผลิตส่วน ที่เหลือให้นักเรียนน�ำไปรับประทานที่บ้าน รวมทั้งจ�ำหน่ายให้ผู้ปกครองและ
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 81
จ�ำหน่ายที่ตลาดนัดในหมู่บ้าน โดยรายได้จากการจ�ำหน่ายน�ำมาฝากออม ทรัพย์เป็นการส่งเสริมให้นักเรียนเกิดนิสัยรักการออม รายละเอียดของกิจกรรมที่ด� ำเนินการเน้นการมีส่วนร่วมจากครู ผู้ปกครอง และนักเรียน โดยนักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมตลอดทั้งกระบวนการ ตั้งแต่การช่วยกันท�ำแปลงผัก ปลูกผักสวนครัว เลี้ยงปลา เลี้ยงไก่ไข่ เลี้ยงหมู เลี้ยงกบ เพาะเห็ด เก็บผลผลิต และน�ำไปจ�ำหน่าย ส่วนผู้ปกครองมีส่วนร่วม ในการช่วยนักเรียนท�ำแปลงผักสวนครัว รดน�้ำผัก ก่ออิฐ ท�ำเป็นแปลงผัก รวมทั้งช่วยซื้อผลิตผลทางการเกษตรของนักเรียน ขณะเดียวกัน ครูประจ�ำ ชั้นจะท�ำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาเรื่องการปลูกผักสวนครัว รวมทั้งการควบคุม และก�ำกับการท�ำกิจกรรมของนักเรียนในการท�ำแปลงผัก รดน�้ำผัก จัดหา ตลาด และช่วยอุดหนุนผลผลิตของนักเรียน โดยมีการมอบหมายเขตบริเวณ ให้นกั เรียนแบ่งกลุม่ รับผิดชอบท�ำแปลงผัก และแบ่งหน้าทีใ่ ห้แต่ละคนปลูกผัก และดูแลแปลงผัก การให้อาหารไก่และเก็บไข่ไก่ การให้อาหารปลา อาหารหมู และดูแลหมู ในการท�ำงานมีการแบ่งหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของนักเรียนตาม ระดับชั้น เช่น นักเรียนระดับชั้น ป.๑ ถึง ป.๓ ปลูกผักอย่างเดียวเนื่องจากยัง เล็กอยู่ นักเรียนชั้น ป.๔ เลี้ยงไก่และปลูกผัก ชั้น ป.๕ เลี้ยงปลาและปลูกผัก ส่วนชั้น ป.๖ เลี้ยงหมูและปลูกผัก โดยครูที่รับผิดชอบในแต่ละระดับชั้นจะ ช่วยกันดูแลและให้คำ� แนะน�ำแก่นกั เรียน ในด้านงบประมาณ ทางโรงเรียนใช้ งบประมาณของโรงเรียนเป็นหลัก รวมทัง้ ได้รบั การสนับสนุนงบประมาณบาง ส่วนในด้านเมล็ดพันธุแ์ ละอุปกรณ์ทางการเกษตร จากส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ าร ศึกษาประถมศึกษา และองค์การบริหารส่วนต�ำบลบักได ผลจากการท�ำ กิ จ กรรมท�ำ ให้ โ รงเรี ย นสามารถน�ำ ผลผลิ ต ที่ ไ ด้ ม า ประกอบอาหารกลางวั น ให้ แ ก่ นั ก เรี ย น ลดรายจ่ายให้กับทางโรงเรียน 82 |
ส่วนที่เหลือจัดสรรให้นักเรียนน�ำไปรับประทานที่บ้าน จ�ำหน่ายให้ผู้ปกครอง ในหมู่บ้าน และจ�ำหน่ายในตลาดนัดหมู่บ้าน ส่วนรายได้จากการจ�ำหน่ายน�ำ มาฝากออมทรัพย์เป็นการส่งเสริมให้นักเรียนเกิดนิสัยรักการออม โดยทาง โรงเรียนแบ่งผลทีไ่ ด้จากการจ�ำหน่ายสินค้าของนักเรียนออกเป็นดังนี้ ร้อยละ ๒๐ ทางโรงเรียนจะหักเป็นของโรงเรียนเพื่อเป็นทุนในการด�ำเนินโครงการ ต่อไป ส่วน ร้อยละ ๘๐ จะมอบให้นักเรียนและด�ำเนินการหักเข้าออมทรัพย์ นอกจากนี้ยังด�ำเนินการจัดตั้งกองทุนไข่ไก่เพื่อมอบไข่ไก่ให้เด็กนักเรียนที่ ยากจนและเด็กนักเรียนที่ประสบปัญหาทุพโภชนาการทุกๆ อาทิตย์ กิจกรรมดังกล่าวเป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี เสริมสร้างการมีส่วน ร่วม และสร้างการเรียนรู้ร่วมกันของเด็ก ผู้ปกครอง และครูประจ�ำชั้น เช่น การท�ำกิจกรรมปลูกผักสวนครัวท�ำให้เด็กนักเรียนมีความรูใ้ นเรือ่ งการท�ำการ เกษตรปลอดสารพิษ เกิดการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การปรึกษาหารือกัน ระหว่างเพื่อนนักเรียน นอกจากนี้นักเรียนบางคนยังน�ำความรู้ที่ได้ไปท�ำเอง ที่บ้านได้ ท�ำให้เกิดกิจกรรมร่วมกับผู้ปกครอง การปลูกผักสวนครัวในบ้าน ช่วยประหยัดค่าใช้จา่ ยในครัวเรือน และเมือ่ มีผลผลิตมากขึน้ นักเรียนสามารถ น�ำไปจ�ำหน่ายเป็นการสร้างรายได้ระหว่างเรียน ในด้านอาหารปลอดภัยและ การแก้ปญ ั หาภาวะทุพโภชนาการในกลุม่ เด็กยากจน โครงการอาหารกลางวัน ท�ำให้นักเรียนได้บริโภคอาหารปลอดภัยและครบคุณค่าทางอาหาร การเข้า ร่วมกิจกรรมกลุ่มท�ำให้เด็กนักเรียนรู้จักการช่วยเหลือตัวเอง การใช้เวลาว่าง ให้เกิดประโยชน์ การท�ำงานร่วมกับเพื่อนนักเรียน นอกจากนี้การเรียนรู้ผ่าน ประสบการณ์ในการท�ำงานท�ำให้นกั เรียนมีความอดทนต่อการท�ำงาน อดทน ต่อหน้าทีต่ นเองได้รบั มอบหมาย การเรียนรูท้ จี่ ะช่วยเหลือเพือ่ นร่วมงานด้วย กัน สร้างวินัยและความมีน�้ำใจในการท�ำงาน และที่ส�ำคัญยังเป็นการส่งเสริม คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 83
การประกอบอาชีพที่สุจริตและรู้จักการอยู่อย่างพอเพียงตามพระราชด�ำริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในขณะที่ครูและนักเรียนยังได้เรียนรู้ผ่าน กิจกรรมการเรียนการสอนแบบเศรษฐกิจพอเพียง ซึง่ เป็นประโยชน์อย่างมาก ปัจจัยสนับสนุนที่ท�ำให้กิจกรรมประสบความส�ำเร็จ คือ ความมุ่งมั่น ของผู้บริหารสถานศึกษา ความร่วมมือร่วมใจของครู ผู้ปกครอง และเด็ก นักเรียน ที่เห็นความส�ำคัญของกิจกรรมกลุ่มเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งการ สนับสนุนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และ องค์การบริหารส่วนต�ำบล การพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรูก้ ลุม่ เศรษฐกิจพอเพียง ศูนย์การเรียนรูช้ มุ ชนและเยาวชนโรงเรียนบ้านอุโลก จึงเป็นรูปธรรมตัวอย่าง ที่ปฏิบัติได้จริง มีความยั่งยืน และต่อเนื่อง โดยการตระหนักถึงความส�ำคัญ และการมีส่วนร่วมจากชุมชน นักเรียน ผู้ปกครอง โรงเรียน รวมทั้งกลุ่ม องค์กรในท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างแหล่งอาหารที่ปลอดภัย อุดมด้วย คุณค่าทางโภชนาการ ท�ำให้เด็กนักเรียน คนในครอบครัวและชุมชนมีสขุ ภาพ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
84 |
ฐานเรียนรู้ที่ ๒ โครงการอาหารกลางวันโรงเรียนบ้านนาทุ่งกลาง ต�ำบลเกาะกลาง อ�ำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่
วิทยากร นางนัยนา บุตรสมัน
นักเรียนโรงเรียนบ้านนาทุ่งกลาง ร้อยละ ๙๐ มาจากครอบครัว ชาวสวนยางและสวนปาล์ม ผู้ปกครองมีฐานะปานกลางถึงยากจน นักเรียน ส่วนใหญ่จึงมีภาวะทุพโภชนาการ สุขภาพร่างกายไม่แข็งแรง และมีน�้ำหนัก ต�่ำกว่าเกณฑ์ โรงเรียนจึงด�ำเนินการหาทางแก้ไข โดยการจัดท�ำโครงการ อาหารกลางวันเพือ่ บริการอาหารให้นกั เรียนได้รบั ประทานทุกวันตลอดปีการ ศึกษา โดยการสนับสนุนงบประมาณจากองค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะกลาง อย่างไรก็ตาม โรงเรียนยังขาดแคลนวัตถุดิบในการประกอบอาหารที่มาจาก กระบวนการผลิตที่ไม่ใช้สารเคมี รวมทั้งการลดต้นทุนการประกอบอาหาร โรงเรียนจึงด�ำเนินโครงการอาหารกลางวันขึ้น เมื่อโครงการอาหารกลางวันด�ำเนินการมาได้ระยะเวลาหนึ่ง จนถึงปี ๒๕๕๐ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีกระบี่ได้เข้ามาให้ความรู้เกี่ยวกับการ ด�ำเนินงานโครงการอาหารกลางวันแบบยัง่ ยืน โดยการท�ำการเกษตรและเรียน รู้การบริหารจัดการตนเองให้สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน โรงเรียนจึง ด�ำเนินการอย่างเต็มรูปแบบโดยเน้นการบริหารจัดการโครงการแบบมีส่วน ร่วมของทุกฝ่าย มีการวิเคราะห์และวางแผนการด�ำเนินงานร่วมกันระหว่าง โรงเรียน (ผู้บริหาร ครู นักเรียน) ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชน ผู้น�ำท้องถิ่น และ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ การเตรียมการจึงเกิดขึน้ โดยเริม่ จากการประชุม การศึกษาแหล่งเรียนรูโ้ ดยเฉพาะแหล่งเรียนรูใ้ นชุมชนคือ กลุม่ เกษตรอินทรีย์ และการเชิญนักวิชาการเกษตรในระดับต�ำบล อ�ำเภอ และจังหวัดที่มีความรู้ คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 85
เฉพาะด้าน มาให้ความรู้แก่ครูและนักเรียน ในเรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่น หลัง จากนั้นโรงเรียนจึงได้ก�ำหนดรูปแบบการท�ำการเกษตรดังนี้ คือ การปลูก ผักพื้นเมืองในพื้นที่ว่าง (ชั้น ป. ๒) การปลูกไม้ผล กล้วย และมะละกอ (ชั้น ป.๕-๖) การเพาะเห็ดนางฟ้า (ชั้น ป.๔) การเลี้ยงปลาดุก (ชั้น ป.๖) และการ ปลูกผักหมุนเวียนในแปลงเกษตร จ�ำนวน ๔๐ แปลง โดยครูและนักเรียน ทุกคนในโรงเรียนร่วมกันรับผิดชอบและด�ำเนินกิจกรรม ทัง้ นีผ้ ลผลิตทีไ่ ด้แบ่ง ออกเป็น ๔ ส่วนคือ จ�ำหน่ายให้แก่โรงอาหารเพื่อผลิตเป็นอาหารกลางวันให้ แก่นกั เรียนและครู ให้นกั เรียนน�ำกลับบ้าน จ�ำหน่ายในชุมชน และแปรรูป ใน รายละเอียดของการท�ำกิจกรรมแต่ละห้องเรียนจะมีการจัดท�ำบัญชีรายรับ รายจ่ายและบริหารจัดการในห้องของตนเองโดยมีครูประจ�ำชัน้ เป็นทีป่ รึกษา ผลก�ำไรทีน่ กั เรียนได้รบั จะฝากเข้าสูร่ ะบบบัญชีธนาคาร และส่วนหนึง่ นักเรียน รวมกลุ่มกันผลิตสินค้าเพื่อจ�ำหน่าย ได้แก่ กลุ่มอาหารและขนม กลุ่มแปรรูป น�ำ้ หมักชีวภาพ (แชมพู ครีมอาบน�ำ้ น�ำ้ ยาอเนกประสงค์) กลุม่ ของใช้สวยด้วย รีไซเคิล ซึ่งเป็นการสร้างรายได้ให้กับนักเรียนอีกแนวทางหนึ่งด้วย ผลจากการด�ำเนินงานตามโครงการส่งผลให้นักเรียนทุกคนได้รับ ประทานอาหารกลางวันทีม่ คี ณ ุ ภาพอย่างเพียงพอ เหมาะสมต่อความต้องการ ของร่างกายและมีสุขอนามัยที่ดี ไม่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนได้รับความรู้ด้านโภชนาการ ด้านเกษตรกรรม และ ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่มีคุณภาพ ถูกหลักโภชนาการ มีสุขนิสัย ในการรับประทานอาหาร และมีความรู้ด้านเกษตรกรรม รวมถึงนักเรียนได้ ปฏิบัติกิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพ โดยการปฏิบัติจริง รู้จักวิธีการผลิตอาหาร และบริโภคอาหารถูกหลักอนามัยและถูกสุขนิสัยที่ดี ที่ส�ำคัญคือสถานศึกษา สามารถจัดอาหารกลางวันได้เองอย่างยั่งยืน 86 |
การด�ำเนินกิจกรรมโครงการอาหารกลางวันของนักเรียนและครู รวมถึงบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนบ้านนาทุ่งกลางท�ำให้นักเรียนมี อาหารที่ดีและมีคุณภาพบริโภคอย่างเพียงพอ และเป็นกิจกรรมสร้างความรู้ โดยเฉพาะกิจกรรมการปลูกผัก นักเรียนเกิดความรู้จากการลงมือปฏิบัติด้วย ตนเอง ส่งผลให้นักเรียนได้รับรางวัลในการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับ เหรียญทองในระดับชาติ และมีโอกาสได้เข้าเฝ้าถวายรายงานการด�ำเนินงาน แด่องค์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ดังนี้ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ องค์ความรู้เรื่อง “ไม่เอาแล้วสารเคมี” เพื่อแก้ปัญหาดินเสื่อมสภาพ จากการใช้สารเคมี ปีการศึกษา ๒๕๕๔ องค์ความรูเ้ รือ่ ง “ น�ำ้ จ๋า อย่าไปไหน” เพื่อแก้ปัญหาขาดแคลนน�้ำในช่วงหน้าแล้ง ปีการศึกษา ๒๕๕๕ องค์ความรู้ เรื่อง “ผักหนีตาย” เพื่อแก้ปัญหาน�้ำท่วมผักในแปลงเกษตรในช่วงหน้าฝน ปี การศึกษา ๒๕๕๖ องค์ความรูเ้ รือ่ ง “ผักหนีตาย ภาค ๒” ซึง่ เป็นกิจกรรมต่อย อดจากปี ๒๕๕๕ โดยเน้นปลูกผักวอเตอร์เครสแบบไร้ดินด้วยวัสดุธรรมชาติ (ใยมะพร้าว) เและใช้น�้ำหมักชีวภาพจากปลาแทนการใช้สารเคมี นอกจากนี้ ยังมีการน�ำ ผักวอเตอร์เครสมาแปรรูปเป็นอาหาร ขนม เครื่องดื่ม กว่า ๒๐ ชนิด ให้นกั เรียนได้รบั ประทานในโรงเรียน และขยายผลสูช่ มุ ชนด้วยการแจก กิ่งพันธุ์ และสอนการท�ำอาหารแปรรูป ปัจจัยสนับสนุนคือ พื้นที่ของโรงเรียนกว้างขวาง มีที่ส�ำหรับการ ท�ำการเกษตรอย่างเพียงพอ มีบุคลากรในชุมชนที่มีความรู้การท�ำการเกษตร อินทรีย์ การให้ความส�ำคัญของครู นักเรียน ผูป้ กครอง ชุมชน ตลอดจนองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การสนับสนุนเงินทุนจากวิทยาลัย เกษตร และ องค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะกลาง และปัจจัยที่ส�ำคัญอีก ประการหนึ่ง นักเรียนมีใจรักในการท�ำเกษตร ส่วนอุปสรรคของโครงการคือ คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 87
ปัญหาการขาดแคลนน�้ำในช่วงหน้าแล้ง ส่วนแนวทางในอนาคตคือ โรงเรียน มุ่งหวังการพัฒนาตนเองให้เป็นศูนย์เรียนรู้ของคนในชุมชน ต�ำบล และใน ระดับอื่นๆ ต่อไป
กิจกรรมที่ ๓.๒ อาหารจัดการโรคโดยหน่วยบริการสาธารณสุข ฐานเรียนรู้ของกิจกรรมที่ ๓.๒ ฐานเรียนรู้ที่ ๓ กลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน ต�ำบลโพนทอง อ�ำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ
วิทยากร นายศานิต กล้าแท้
ในปี ๒๕๓๖ – ๒๕๕๒ ต�ำบลโพนทองมีงานด้านการดูแลสุขภาพคนใน ชุมชนตามนโยบายรัฐมากขึน้ แต่มผี ทู้ ำ� งานด้านจิตอาสาน้อย ประกอบกับเกิด ปัญหาด้านสุขภาพของคนในชุมชนและโรคภัยไข้เจ็บ เช่น ไข้เลือดออก ไข้ฉี่ หนู เบาหวาน ความดัน ฯลฯ หน่วยงานของรัฐจึงฝึกอบรม อสม. และขยาย เครือข่ายจิตอาสา มีการไปดูงานต่างจังหวัดตามโอกาสและงบประมาณของ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องท�ำให้ชุมชนมีจิตอาสาและ อสม. เพิ่มขึ้นแต่ท�ำงานตาม นโยบายของรัฐและสถานการณ์ปัญหา ในปี ๒๕๕๓ ส�ำนักงานหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ร่วมกับ องค์การบริหารส่วนต�ำบลโพนทอง ให้การ สนับสนุนงบประมาณผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพต� ำบลเพื่อพัฒนา เครือข่ายกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีการจัดอบรมแกนน�ำ อาสาสมัครและแกนน�ำผู้ป่วยเบาหวานและความดัน โดยมีวิทยากรจาก โรงพยาบาลชัยภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชน (รพ.สต.) มาให้ ความรู้ในการดูแลผู้ป่วยฯ การดูแลตัวเองของผู้ป่วยฯ การดูแลเท้า การออก ก�ำลังกาย อาหาร อารมณ์ ท�ำให้เกิดกลุม่ แกนน�ำพีเ่ ลีย้ ง อาสาสมัครและแกนน�ำ ผู้ป่วยเบาหวานและความดัน กลุ่มแกนน�ำให้ค�ำแนะน�ำพูดคุย ออกแนะน�ำ และถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้ป่วยเบาหวานและความดันร่วมกับโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบล (รพ.สต.) ในวันทีม่ กี ารนัดผูป้ ว่ ยฯ มาตรวจสุขภาพและ 88 |
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 89
แจกจ่ายยา ท�ำให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันได้รับค�ำแนะน�ำในการดูแล ตัวเองมากขึน้ แต่ไม่ตอ่ เนือ่ ง เนือ่ งจากผูป้ ว่ ยจ�ำนวนเพิม่ มากขึน้ การดูแลและ ให้ค�ำแนะน�ำยังไม่ทั่วถึง และยังใช้เวลานานในการรอตรวจรักษาและรับยา แกนน�ำกลุ่มและผู้ป่วยฯ ร่วมกับเจ้าหน้าที่ อบต. จึงปรึกษาหารือกันเพื่อหา กิจกรรมที่มีประโยชน์มาให้ผู้ป่วยท�ำในช่วงระหว่างที่รอตรวจ ท�ำให้มีการ จัดตั้งกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนขึ้นมา รวมถึงมีการจัดตั้งคณะกรรมการเพื่อ บริหารงาน ต่อมามีความต้องการพัฒนางานของกลุ่มจึงไปดูงานการท� ำ สวนสมุนไพรตามแนวพระราชด�ำริของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรม ราชินีนาถที่จังหวัดกาญจนบุรี และกลับมาท�ำสวนสมุนไพรรอบๆ ศูนย์เพื่อ น�ำมาปรุงอาหาร ผลิตยาสมุนไพร รวมถึงจ�ำหน่ายน�ำเงินเข้ากองทุนของกลุม่ ปี ๒๕๕๔ กลุ่มขาดงบประมาณสนับสนุนกิจกรรม แต่สมาชิกในกลุ่ม เห็นว่าเป็นโครงการที่ดีและมีประโยชน์ต่อเพื่อนที่เป็นผู้ป่วย จึงได้มีการ ปรึกษาหารือพูดคุยกันของแกนน�ำและสมาชิกในกลุ่มเพื่อหาแนวทางร่วม กันว่าจะท�ำยังไงให้กลุ่มมีความเข้มแข็งขึ้นและยังคงอยู่ต่อไปแม้จะไม่มีงบ ประมาณสนับสนุน กลุ่มเริ่มเก็บเงินออมจากสมาชิกเดือนละ ๑๐ บาทตาม ความสมัครใจ เพื่อใช้ในการด�ำเนินงานและเป็นกองทุนสวัสดิการเวลาที่เจ็บ ป่วยและเสียชีวิต เป็นการเสริมสร้างให้ก�ำลังใจกันระหว่างเพื่อนผู้ป่วย และ มีการเพิ่มกิจกรรมให้หลากหลายและครอบคลุมมากยิ่งขึ้น เน้นการท�ำงาน เชิงลึกเพือ่ ให้ความรูด้ า้ นต่างๆ ประกอบกับการลงมือปฏิบตั จิ ริง โดย ๑) ด้าน อาหาร อาหารประเภทใดที่ควรหรือไม่ควรรับประทานและใช้สมุนไพรเข้า มาเสริม ๒) ด้านการออกก�ำลังกายที่เหมาะสมกับผู้ป่วย เช่น โยคะ การร�ำ ไม้พลอง การออกก�ำลังกายส�ำหรับผู้สูงอายุ ๓) ด้านอารมณ์มีการเล่านิทาน คลายเครียด สวดมนต์ นัง่ สมาธิ ร�ำวงชาวบ้านประยุกต์ หมอล�ำพืน้ บ้าน มีการ 90 |
แต่งเพลงและกลอนร�ำทีม่ เี นือ้ หาทีใ่ ห้ความรูด้ า้ นต่างๆ เกีย่ วกับผูป้ ว่ ยโรคเบา หวานและความดัน ๔) การดูแลเท้าไม่ให้เป็นแผลให้ความรูเ้ รือ่ งการท�ำความ สะอาด การตัดเล็บ แช่เท้าด้วยน�้ำสมุนไพร การนวดฝ่าเท้า และการเดินนวด ฝ่าเท้าเปิดจุดปลายประสาทบริเวณฝ่าเท้า ซึง่ ในตอนแรกจะใช้กะลามะพร้าว แต่กะลามะพร้าวค่อนข้างจะหายากและยังช�ำรุดแตกหักได้ง่ายอาจจะเป็น อันตรายกับผู้ป่วยเบาหวานที่แผลหายยาก กลุ่มได้คิดค้นทางเดินที่ปูด้วย ก้อนหินที่ไปช่วยกันเก็บและหามาได้จากในพื้นที่รอบๆหมู่บ้าน ท�ำลานเขย่ง เท้า รวมถึงได้รบั การสนับสนุนอุปกรณ์ออกก�ำลังกายจากองค์การบริหารส่วน ต�ำบลโพนทอง ท�ำให้กลุม่ มีความเข้มแข็งและมีกจิ กรรมอย่างต่อเนือ่ ง และใน ปี พ.ศ.๒๕๕๔ มีการดูแลด้านอาหาร ด้านการออกก�ำลังกาย ด้านอารมณ์ และ การดูแลเท้าไม้ให้เป็นแผล และปรับปรุงเปลีย่ นแปลงแนวทางการด�ำเนินงาน ของกลุ่มเป็น ๖ อ. คือ ๑) ด้านอบายมุข คือประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกห่างไกล จากสิ่งไม่ดี ๒) ด้านอารมณ์ คือไม่ควรให้ผู้ป่วยเครียด ควรจะมีอารมณ์เบิก บานแจ่มใส ๓) ด้านอาหาร คือให้ผู้ป่วยรู้ว่าอาหารไหนควรทาน และไม่ควร ทาน ๔) ด้านออกก�ำลังกาย คือมีการแนะน�ำการออกก�ำลังกายให้ผปู้ ว่ ยในถ้า ที่เหมาะสม ๕) ด้านการออม คือต้องการให้ผู้ป่วยรู้จักการออมแลประโยชน์ ของการออม ๖) องค์การบริหารส่วนต�ำบลโพนทอง(อบต.) เป็นหน่วยงานที่ สนับสนุนงบประมาณและให้ค�ำปรึกษากับกลุ่ม
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 91
ฐานเรียนรู้ที่ ๔ กลุ่ม อสม.จิตอาสา ต�ำบลวังหลุม อ�ำเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร
วิทยากร นายบุญเลีย้ ง แดงทองดีและนายฉัตร พรมแตง
ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการสื่อสารที่ทันสมัย ท�ำให้ คนในชุมชนต�ำบลวังหลุม อ�ำเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร มีวิถีการบริโภคที่ เปลี่ยนแปลงไป จากการบริโภคพืชผักและอาหารพื้นบ้านเปลี่ยนมาเป็นการ เลือกบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์อาหารตามความสะดวกสบายและรวดเร็ว โดยขาดความใส่ใจในเรื่องอาหารไม่ปลอดภัย อาหารที่มีสารพิษตกค้างจาก สารเคมีกำ� จัดศัตรูพืช มีไขมัน น�ำ้ ตาล และเกลือในปริมาณมาก ซึ่งส่งผลก ระทบต่อระบบต่างๆ ร่างกายจนท�ำให้เจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ เช่น ไขมันใน เลือดสูง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง รวมถึงมีสารพิษตกค้างในกระแสเลือด และเป็นสาเหตุส�ำคัญประการหนึ่งของโรคมะเร็ง หรือโรคอุบัติใหม่อื่น ๆ อีก มากมาย เมื่อทีมอาสาสมัครสาธารณะสุขประจ�ำหมู่บ้าน (อสม.) บ้านเขารวก สังกัดโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพสุขภาพต�ำบลบ้านเขารวก ต�ำบลวังหลุม จ�ำนวน ๑๐๔ คนได้รับทราบข้อมูลปัญหาดังกล่าวจากเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบล (รพ.สต.) จึงตระหนักและมีแนวคิดที่จะท�ำกิจกรรม อาหารจัดการโรค โดยการใช้เกษตรกรรมยัง่ ยืนในการบ�ำบัดโรค โดยเริม่ จาก การส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารเคมีไว้กินเองที่บ้าน ซึ่งเป็นพืชผักสวนครัว และผักตามฤดูกาล โดยไม่ใช้สารเคมี และปลูกพืชที่เป็นอาหารและสมุนไพร รักษาโรค ตามภูมปิ ญ ั ญาไทย และผลผลิตทีเ่ หลือน�ำไปจ�ำหน่าย หรือแจกจ่าย ให้กับเพื่อนบ้าน 92 |
กิจกรรมของ อสม. ส่งผลให้ครอบครัวในต�ำบลวังหลุมมีพืชผักสวน ครัวไว้รับประทานกันเอง และใช้เป็นสมุนไพรในการรักษาโรคเมื่อยามเจ็บ ไข้หรือป่วย ยกตัวอย่างเช่น เมื่อท้องอืดก็ต้มน�้ำขิงหรือกระชายดื่ม หรือรับ ประทานใบโหระพา กระเพรา หากท้องผูกไม่มากทานมะละกอสุก ส่วนใน กรณีท้องผูกมากสามารถทานมะขามเปียกหรือน�้ำมะขามเปียกแล้วทานน�้ำ มากๆเพือ่ ช่วยระบาย ส่วนในเรือ่ งของสารพิษตกค้างในกระแสเลือดจากการ ทานผักและอาหารที่มีสารเคมีตกค้างอยู่ รพ.สต. ตรวจพบสารพิษตกค้างใน เลือด ที่ระดับความเสี่ยงต่างๆกัน คือตั้งแต่ระดับเสี่ยงน้อย ระดับเสี่ยงปาน กลาง จนถึงระดับความเสี่ยงที่ไม่ปลอดภัย อสม.จึงได้แนะน�ำให้ทานรางจืด เป็นเวลา ๕-๗ วัน และเจาะเลือดซ�้ำอีกครั้งเพื่อยืนยันผล นอกจากนี้ อสม. ยังได้แนะน�ำให้ชาวบ้านหันมาบริโภคพืชผักสวนครัวที่ปลูกไว้กินเอง รวมทั้ง สนับสนุนพฤติกรรมการเลือกกินให้เป็นและปลอดภัย อีกทัง้ ยังด�ำเนินงานร่วม กับชุมชนในการส่งเสริมการปลูกพืชผักและสมุนไพรไว้ทกุ ครัวเรือน ส่งผลให้ คนในต�ำบลวังหลุมมีสขุ ภาพดี เจ็บป่วยน้อยลง รวมทัง้ เป็นการลดรายจ่าย เพิม่ รายได้ให้กับครอบครัว ที่ส่งผลต่อสุขภาพจิตที่ดีขึ้นของคนในต�ำบลอีกด้วย ปัจจัยส�ำคัญที่สนับสนุนการท�ำงานของ อสม. คือ การได้รับข้อมูล ข่าวสารด้านสภาวะของโรค คุณประโยชน์ของพืชผักที่ปลอดสารพิษและพืช สมุนไพรที่ใช้บ�ำรุงร่างกายและป้องกันรักษาโรคจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุข ภาพต�ำบลบ้านเขารวก นอกจากนี้องค์การบริหารส่วนต�ำบลวังหลุม อ�ำเภอ ตะพานหิน จังหวัดพิจิตร ได้ให้การสนับสนุนงบประมาณ และส่งเสริมการ ปลูกพืชผักสวนครัวปลอดสารเคมี รวมทั้งสนับสนุนความรู้เรื่องสมุนไพรจาก ศูนย์เรียนรูแ้ พทย์แผนไทยและภูมปิ ญ ั ญาต�ำบลวังหลุม ท�ำให้กจิ กรรมดังกล่าว ด�ำเนินไปอย่างราบรื่น คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 93
ส่วนแนวทางในอนาคตที่กลุ่ม อสม. วางไว้ร่วมกันคือ การปลูกพืช ผักสวนครัวและพืชสมุนไพรไว้บริโภค และจ�ำหน่ายในตลาดนัดชุมชนของ หมูบ่ า้ นเพือ่ กระจายพืชผักปลอดสารเคมีในวงกว่าง โดยมีโรงเรียน เป็นแหล่ง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และมีฐานเรียนรู้ โดย อสม.จิตอาสา เพื่อแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ในการท�ำงาน และร่วมกิจกรรมต่างๆในชุมชนและต่างพืน้ ที่ รวม ทั้งมีศูนย์เรียนรู้แพทย์แผนไทยและภูมิปัญญาไทยซึ่งให้การสนับสนุนความรู้ เรือ่ งสมุนไพรใกล้ตวั ทีอ่ ยูใ่ นครัว และผลิตสมุนไพรส�ำหรับแจกจ่ายให้กบั ชาว บ้านในชุมชน รวมทั้งจะเป็นศูนย์แลกเปลี่ยนขยายพันธุ์พืชสมุนไพรในชุมชน และต่างพื้นที่เพื่อให้เกิดการขยายผล
94 |
กิจกรรมที่ ๓.๓ อาหารจัดการโรคโดยชุมชน ฐานเรียนรู้ของกิจกรรมที่ ๓.๓ ฐานเรียนรู้ที่ ๕ ศูนย์อาหารเพื่อสุขภาพ ต�ำบลเกาะคา อ�ำเภอเกาะคา จังหวัดล�ำปาง จุดเริ่มต้นของศูนย์อาหารเพื่อสุขภาพต�ำบลเดาะคาเกิดขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๔๘ เนื่องจากมีแผงลอยจ�ำหน่ายอาหารของพ่อค้าแม่ค้าทั้งหมด ๕๘ ราย ที่จ�ำหน่ายอาหารบนรถเข็นและจอดไม่เป็นระเบียบ อีกทั้งอาหารที่น�ำ มาจ�ำหน่ายไม่ถูกหลักสุขาภิบาล และมีปัญหาทางด้านมลพิษทางอากาศ จากการ ปิ้ง ย่าง และเผา รวมถึงสร้างปัญหาสิ่งแวดล้อมอื่นๆ เช่น น�้ำเสีย ขยะ แมลงพาหะน�ำโรค ทางเทศบาลต�ำบลเกาะคา โดยกองสาธารณสุขและ สิ่งแวดล้อม จึงได้ปรึกษาหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง คือ โรงพยาบาล เกาะคา สาธารณสุขอ�ำเภอเกาะคา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล เพื่อ แก้ไขปัญหาดังกล่าว และได้ข้อตกลงร่วมกันในการสร้างอาคารขนาดกว้าง ๑๐ เมตร ยาว ๑๑๐ เมตร เพื่อจัดท�ำเป็นศูนย์อาหารเพื่อสุขภาพ โดยแบ่ง พื้นที่การจ�ำหน่ายอาหารออกเป็น ๓ ส่วน ได้แก่พื้นที่จ�ำหน่ายอาหารตามสั่ง พื้นที่จ�ำหน่ายอาหารปรุงสุก และพื้นที่จ�ำหน่ายผักผลไม้และน�้ำดื่ม นอกจาก นี้ยังได้จัดให้มีการจัดอบรมเสริมความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบ การร้านค้าแผงลอย ในการด�ำเนินงานมีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร ศูนย์อาหารเพื่อสุขภาพ โดยมีวาระการท�ำงาน ๒ ปี มีการพัฒนาศักยภาพ ผูป้ ระกอบการอย่างต่อเนือ่ งเป็นประจ�ำทุกปีโดยการประชุม อบรม การชีแ้ จง และพูดคุยปรึกษาหารือกันเป็นประจ�ำ คือ อย่างน้อยทุก ๔ - ๖ เดือน รวม ทัง้ มีการก�ำหนดระเบียบการปฏิบตั ขิ องพ่อค้าแม่คา้ ร่วมกันโดยเป็นทีย่ อมรับ คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 95
ของทุกคน และจัดให้มีการตรวจประเมินคุณภาพการจ�ำหน่ายอาหารตาม มาตรฐาน “อาหารสะอาด รสชาติอร่อย Clean Food Good Taste” โดย ผู้ประกอบการได้ประสานและท�ำงานร่วมกับเกษตรกรเพื่อน�ำผักปลอดสาร เคมีการเกษตรมาปรุงอาหาร รวมทั้งจัดให้มีอาสาสมัครดูแลสุขภาพและ หน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่อ�ำเภอเกาะคาร่วมรณรงค์ในเรื่องการบริโภค อาหารที่ปราศจากสารเคมีปนเปื้อนให้กับผู้ขายและผู้บริโภคในศูนย์อาหาร จากการด�ำเนินงานของศูนย์อาหารเพื่อสุภาพท�ำให้ประชาชนมีทาง เลือกในการบริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย มีคุณภาพ และได้มาตรฐาน ส่งผลต่อสุขภาพอนามัยที่ดีของคนในชุมชน สามารถลดโรคอุจจาระร่วง ซึ่งเป็นโรคประจ�ำถิ่นได้ โดยพิจารณาได้จากรายงานการระบาดวิทยาของ โรงพยาบาลเกาะคา ซึง่ ไม่เกินมาตรฐาน และไม่ปรากฎโรคอุจาระร่วงเกิดขึน้ จากการรับประทานอาหารที่จ�ำหน่ายในศูนย์อาหาร
สุขาภิบาล ใส่อาหารไว้ในตูอ้ ยูเ่ สมอ ห้ามน�ำอาหารค้างคืนมาขายโดยเด็ดขาด เนือ่ งจากเคยมีกรณีการร้องเรียนเกิดขึน้ และได้มกี ารตรวจสุขภาพอนามัยสิง่ แวดล้อม ทุก ๖ เดือน หรือ ที่เรียกอีกชื่อว่า นโยบาย ๓ บ ๒ ต ๑ อ. นอกจากนั้น เทศบาลต�ำบลเกาะคายังได้รณรงค์ให้ชุมชนปลูกผัก ปลอดสารพิษและก� ำหนดเป็นนโยบายสาธารณะหมู่บ้านจัดการตนเอง ด้านสุขภาพ ซึ่งได้ประกาศเป็นนโยบายว่า “ทุกครัวเรือนต้องปลูกผักกินเอง อย่างน้อย ๕ ชนิด และน�ำมาจ�ำหน่ายในศูนย์อาหารเพื่อสุขภาพ”
การพัฒนาศูนย์อาหารเพื่อสุขภาพได้สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมที่ เปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการได้เข้าใจเกิดจิตส�ำนึกรับผิดชอบต่อผู้บริโภคมี การก�ำหนดกติกาหรือระเบียบการบริหารจัดของการศูนย์อาหารเพือ่ สุขภาพ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน รวมทั้งมีการสร้างเป้าหมายร่วมกันให้เห็น ประโยชน์ของการด�ำเนินงานด้านอาหารปลอดภัย จนผู้บริโภคไว้วางใจใน ความปลอดภัยของอาหารที่จ�ำหน่ายในศูนย์อาหารเพื่อสุขภาพด้วย ปัญหาอุปสรรคที่พบส่วนใหญ่เป็นเรื่องของโครงสร้างของตัวอาคาร เนื่องจากอยู่ติดถนนมีรถวิ่งผ่านเป็นจ�ำนวนมาก สุ่มเสี่ยงต่อการมีฝุ่นละออง อย่างไรก็ตามได้ดำ� เนินการแก้ไขโดยให้มนี โยบายสาธารณะ คือ นโยบายการ ดูแลพืน้ ทีบ่ นพืน้ บนโต๊ะ บนเพดาน เน้นการแต่งตัวของผูป้ ระกอบอาหารทีถ่ กู 96 |
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 97
ฐานเรียนรู้ที่ ๖ กลุ่มสมุนไพร ต�ำบลหนองสาหร่าย อ�ำเภอดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี
วิทยากร นายโสภณ ปานส�ำเนียง
ต�ำบลหนองสาหร่ายมีแกนน�ำผู้สูงอายุที่เข้มแข็งหลายท่าน แกนน�ำ เหล่านี้จึงได้ร่วมกับรพ.สต.ห้วยม้าลอย องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนอง สาหร่าย และเจ้าอาวาสวัดห้วยม้าลอย ประชุมจัดตั้ง ชมรมผู้สูงอายุตำ� บล หนองสาหร่าย ขึ้น โดยองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองสาหร่ายได้จัดสรรงบ ประมาณสนับสนุนใน ๒ ส่วน คือ ส่วนที่หนึ่ง การจัดท�ำสวนสมุนไพรโดยการ ตั้งงบประมาณเพื่อจัดท�ำสวนสมุนไพร โดยตราเป็นข้อบัญญัติและสนับสนุน ด้านงบประมาณ ส่วนที่สอง ได้จัดสรรงบประมาณขององค์การบริหารส่วน ต�ำบลหนองสาหร่ายให้กับแกนน�ำสมุนไพรกว่า ๑๐๐ คนประกอบไปด้วย แกนน�ำชมรมผู้สูงอายุ ๗๐ คน อสม. ๒๐ คน สภาองค์การบริหารส่วนต�ำบล ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองสาหร่าย พนักงานงานองค์การ บริหารส่วนต�ำบล ๑๐ คน เพื่อเดินทางไปศึกษาดูงาน ณ บ้านดงบัง จังหวัด ปราจีนบุรี ในด้านการจัดการสมุนไพรครบวงจร นอกจากนีช้ มรมผูส้ งู อายุได้ประสานงานกับองค์การบริหารส่วนต�ำบล เพือ่ ขอรับการจัดสรรงบประมาณเพือ่ จัดท�ำสวนสมุนไพร มีการติดต่อขอพืน้ ที่ จากผู้อุทิศให้จำ� นวน ๒ ไร่ เพื่อปลูกสมุนไพร อีกทั้งติดต่อรถไถ เตรียมดิน จัดท�ำอุปกรณ์เพื่อจ่ายน�้ำ นัดวันปลูกสมุนไพรโดยใช้วิธีการลงแขก เพื่อร่วม กันปลูกพืชสมุนไพร จัดสรรก�ำลังคนเพือ่ ดูแลสมุนไพร ให้มคี วามยัง่ ยืน ด�ำเนิน การศึกษาหาความรู้และจัดท�ำแผนควบคู่กับการปฏิบัติในแปลงสาธิต. รวม ทั้งมีส่วนร่วมในการผลักดันด้านการผลิตสมุนไพรและค้นหาองค์ความรู้และ 98 |
ขัน้ ตอนการผลิต ให้แก่ชมรมฯ และด�ำเนินการในการจัดส่งสมุนไพรไปยังกลุม่ ผู้ป่วยเรื้อรัง ต่อไป ในระยะแรก ชมรมฯสามารถผลิตรางจืดเพื่อแจกจ่ายให้ แก่แรงงานนอกระบบ ผลจากการบริหารจัดการสวนสมุนไพร ท�ำให้มสี วนสมุนไพร จ�ำนวน ๒ ไร่ เกิดแหล่งเรียนรู้เรื่องการแพทย์ทางเลือก ซึ่งสามารถดูแลผู้สูงอายุจ�ำนวน ๑,๒๐๐ คน และเกิดองค์ความรู้เรื่องสมุนไพรรักษาโรค อย่างไรก็ตามชุมชนยังมิได้ดำ� เนินการเก็บรวบรวมความรูด้ า้ นสมุนไพร หรือภูมปิ ญ ั ญาของบรรพบุรษุ ไว้ ดังนัน้ ชมรมผูส้ งู อายุจงึ วางแผนทีจ่ ะให้มกี าร จัดการความด้านสมุนไพรไว้เป็นหมวดหมู่ภายในศูนย์เพื่อให้เกิดการเรียน รู้และถ่ายทอดความรู้ควบคู่กับการผลิตเพื่อรักษา ซึ่งจะเป็นการสืบทอด ทางด้านภูมิปัญญาสมุนไพรให้แก่ชุมชนในอนาคต ในการด�ำเนินงานของ ชมรมฯ ปัจจัยเงือ่ นไขทีส่ ำ� คัญคือ การพัฒนาและบูรณาการการท�ำงานระหว่าง ภาคีต่างๆ ได้แก่ชมรมผู้สูงอายุ อบต.หนองสาหร่าย โรงเรียนบุตรเกษตรกร วัด รพ.สต.บ้านห้วยม้าลอย รพ.สต.บ้านหนองสาหร่าย จิตอาสาของชมรม ผู้สูงอายุ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข เจ้าอาวาส เจ้าของที่ที่อุทิศที่ดินในการจัดท�ำ สวนสมุนไพร นอกจากนีส้ ภาองค์การบริหารส่วนต�ำบล ยังร่วมในการผลักดัน งบประมาณและการตราข้อบัญญัติเพื่อน�ำงบประมาณมาสนับสนุนสวน สมุนไพรให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไป
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 99
เมนูที่ ๔
การบริหารจัดการทุนและ การจัดระบบสวัสดิการ การบริหารจัดการทุนและการจัดระบบสวัสดิการ เป็นกระบวนการ สร้างหลักประกันทางการเงินและระบบช่วยเหลือดูแลซึง่ กันและกันของคนใน ชุมชนเพื่อสนับสนุนให้เกิดอาหารเพื่อสุขภาวะในชุมชน ด้วยกระบวนการ ต่างๆ ทีห่ ลากหลาย โดยปรากฏเป็นรูปธรรมอย่างน้อย ๓ เรือ่ งคือ ๑) กองทุน ทั้งที่เป็นเงินและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ๒) การออมเพื่อเป็นทุน และ ๓) ระบบ สวัสดิการทีท่ �ำให้เกิดการจัดการช่วยเหลือดูแลซึง่ กันและกันในรูปแบบต่างๆ ความหมายของกองทุน กองทุนเพือ่ เกษตรกรรมยัง่ ยืน หมายถึง สถาบันทางเศรษฐกิจฐานราก ที่จัดตั้งขึ้นจากการบูรณาการเชื่อมโยงการบริหารจัดการของกลุ่ม องค์กร กองทุนการเงินต่างๆ โดยร่วมกันบริหารจัดการทุนในชุมชนเพื่อให้เกิดการ ใช้ทุนในชุมชนอย่างคุ้มค่าเกิดประโยชน์สูงสุดในการขับเคลื่อนเกษตรกรรม ยั่งยืน แนวคิดของกองทุน แนวคิดหลักของกองทุนเพือ่ เกษตรกรรมยัง่ ยืนคือ การสร้าง “ทุนชุมชน” ทีม่ ใิ ช่เงินตราเพียงอย่างเดียว แต่หมายรวมถึงสิง่ อืน่ ๆ ทีม่ คี วามส�ำคัญต่อชีวติ 100 |
ความเป็นอยู่ของเกษตรกรและชุมชน เช่น ทุนทรัพยากรที่ก่อให้เกิดผลผลิต รวมถึงความรู้ ภูมิปัญญา ประสบการณ์ ทุนทางสังคม วัฒนธรรมประเพณี ปัจจัยบริการทางโครงสร้างพื้นฐาน ทุนเหล่านี้จะร่วมกันและมีระบบการ บริหารจัดการแบบกองทุนที่มุ่งสร้างกระบวนการเรียนรู้ ร่วมกันโดยอาศัย หลักของการเอื้ออาทร แนวคิดในการจัดกองทุนและสถาบันการเงินในชุมชน ๑๒ มีหลาย แนวทางโดยเป็นแนวคิดที่ทำ� ให้เกิดรูปแบบของกองทุนและสถาบันการเงิน รูปแบบต่างๆ ในชุมชน เช่น กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต สหกรณ์การเกษตร เครดิตยูเนี่ยนสินเชื่อการเกษตร เป็นต้น โดยในที่นี้จะกล่าวถึงแนวคิดหลักๆ กล่าวคือ แนวคิดที่ ๑ แนวความคิดเรือ่ งการรวมคนในชุมชนให้ชว่ ยเหลือซึง่ กัน และกันโดยรวมคนทีม่ ฐี านะแตกต่างกันเพือ่ ใช้ความต่างทางเศรษฐกิจเป็นทุน และเงื่อนไขในการด�ำเนินการ แนวคิดที่ ๒ แนวความคิดการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนเงิน เพราะ คนจนในชุมชนยังคงอยูใ่ นวงจรแห่งความยากจน จึงขาดแคลนเงินทุนเพือ่ การ ลงทุน ดังนัน้ จึงเป็นสิง่ จ�ำเป็นมากในการให้คนในชุมชนรวมกลุม่ ออมเงินแล้ว กู้ไปท�ำทุน ซึ่งเป็นทางออกแนวทางหนึ่งของการแก้ไขปัญหาความยากจน แนวคิดที่ ๓ แนวความคิดในการน�ำเงินทุนไปด�ำเนินการด้วยความ ขยันประหยัดและถูกต้องเพื่อให้ได้ทุนคืนและมีก�ำไรเป็นรายได้
ปรับปรุงข้อมูลจากกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
๑๒
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 101
แนวคิดที่ ๔ แนวความคิดในการลดต้นทุนในการครองชีพโดยการรวม ตัวกันซือ้ และขายสามารถลดต้นทุนในการซือ้ สินค้าในการอุปโภคบริโภคและ ปัจจัยการผลิตได้ การบริหารจัดการทุนและการจัดระบบสวัสดิการมีกลุ่มงาน ๓ กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ ๔.๑ กองทุนเฉพาะด้านเพื่อการสร้างและสนับสนุนให้เกิด อาหารปลอดภัย กลุ่มที่ ๔.๒ การบริหารจัดการกองทุนเพื่ออาหารปลอดภัย กลุ่มที่ ๔.๓ การจัดระบบสวัสดิการโดยชุมชนเพื่ออาหารปลอดภัย
กิจกรรมที่ ๔.๑ กองทุนเฉพาะด้านเพื่อการสร้างและ สนับสนุนให้เกิดอาหารเพื่อสุขภาวะ ฐานเรียนรู้ของกิจกรรมที่ ๔.๑ ฐานเรียนรู้ที่ ๑ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพยายแพง ต�ำบลบางคนที อ�ำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม
วิทยากร นายโชติวิชญ์ เสือเล็ก
ในอดีตชาวบ้านหมู่ ๔ ต�ำบลยายแพง มีการใช้สารเคมีทางการท�ำ เกษตรในพืน้ ทีเ่ ป็นจ�ำนวนมาก ผลผลิตทางการเกษตรตกต�่ำเนือ่ งจากคุณภาพ ของดินในพื้นที่เสื่อมโทรม และคนในชุมชนมีหนี้สินจากการลงทุนท�ำการ เกษตรที่ปัจจัยการผลิตที่มีราคาเพิ่มสูงขึ้น ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ คนใน ชุมชนจึงจัดกิจกรรมประชาคมหมู่บ้านเพื่อหาแนวทางการแก้ปัญหา และได้ จัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพยายแพงขึ้น กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ หมู่ที่ ๔ มีการบริหาร จัดการออกเป็น๒ ส่วน คือโรงปุ๋ยที่ สมาชิกในชุมชนทุกคนเป็นเจ้าของ โดย ใช้กองทุนหมู่บ้าน SML เป็นทุนในการด�ำเนินงาน มีการปันผลปีละ ๑ ครั้ง ซึง่ ผลก�ำไรทีไ่ ด้แบ่งเป็น ๒ ส่วนคือ ส่วนทีห่ นึง่ เป็นเงินทุนจัดสรรเป็นของขวัญ และอาหารให้กับผู้เข้าร่วมประชุมประจ�ำปี และใช้ในการปรับปรุงพัฒนา สถานที่ ส่วนที่ ๒ จะน�ำมาเป็นเงินปันผลให้กับชุมชนโดยน�ำยอดเงินมาหาร ตามจ�ำนวนครัวเรือนของหมู่ ๔ ต�ำบลยายแพง ส่วนโรงปุ๋ยที่ ๒ เป็นการรวม หุ้นจากสมาชิกที่สนใจในราคา หุ้นละ ๑๐๐ บาท แต่ไม่เกินคนละ ๒๐ หุ้น โดยจะมีการปันผลทุกครั้งที่มีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ คิดเป็น ร้อยละ
102 |
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 103
๒๐ ของรายได้ โดยจะรวมจ่ายเป็นรายปี ทั้งนี้ผู้ที่มาท�ำงานผลิตปุ๋ยจะได้รับ ค่าตอบแทน ไม่น้อยกว่า ๒๕๐ บาทต่อวัน ส่วนสมาชิกจะได้สิทธิพิเศษคือ ซื้อปุ๋ยได้ในราคาที่ถูกกว่าคนที่ไม่ได้เป็นสมาชิก และถ้าสมาชิกรายใดติดต่อ ขายปุ๋ยได้จะได้รับเปอร์เซ็นต์ในการขาย เพื่อให้การท�ำงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการกลุ่มฯ ได้รับการพัฒนาศักยภาพจากหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น การจัดอบรม เพิ่มความรู้ด้านการเกษตรและการจัดท�ำบัญชี รายรับ-รายจ่ายให้กับคณะ กรรมการ ส่วนผลิตภัณฑ์ของกลุ่มวิสาหกิจกลุ่มปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพได้รับการ รับรองจาก กรมส่งเสริมสหกรณ์และส�ำนักงานสหกรณ์การเกษตร นอกจากนี้ ยังมีการพัฒนาศักยภาพของสมาชิกอีกด้วย โดยคณะกรรมการฯ จัดให้มกี าร จัดประชุมประจ�ำปีเพื่อแจ้งผลการประกอบการของกลุ่มให้กับสมาชิกได้รับ ทราบ และมีการถ่ายทอดความรู้และฝึกปฏิบัติจริงในการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ให้ กับสมาชิก โดยให้สมาชิกได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากคณะกรรมการฯ เป็นการ แลกเปลีย่ นประสบการณ์ตรงในการผลิตและใช้ผลิตภัณฑ์ทตี่ นเองเป็นผูผ้ ลิต จากผลการด�ำเนินงานของกลุ่มปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพยายแพง หมู่ ๔ นอกจากสมาชิกได้รับสิทธิพิเศษในการซื้อปุ๋ยราคาถูกกว่าคนที่ไม่ได้เป็น สมาชิกแล้ว กลุ่มได้แบ่งเงินปันผลก�ำไรให้กับสมาชิกทุกปี และผลก�ำไรที่ได้ ก่อให้เกิดกลุม่ อาชีพและกิจกรรมช่วยเหลือชุมชน เช่น กลุม่ เต้นท์ ซึง่ เป็นการ บริการช่วยเหลือตามงานต่าง ๆ การสนับสนุนงบประมาณการซ่อมแซมระบบ ประปาหมูบ่ า้ น สนับสนุนการถมทีด่ นิ เพือ่ ก่อสร้างศาลาอเนกประสงค์หมูบ่ า้ น สนับสนุนงบในการจัดกิจกรรมพัฒนาหมู่บ้านในวันส�ำคัญต่างๆ ฯลฯ
104 |
ความส�ำเร็จของกลุ่มมาจากศักยภาพของแกนน�ำและแนวคิดในการ อนุรักษ์สภาพดินให้สมบูรณ์โดยการใช้อินทรียวัตถุมาปรับปรุงสภาพดินและ เสริมสร้างคุณภาพของผลผลิตโดยไม่ใช้สารเคมีจนเป็นทีป่ ระจักษ์และยอมรับ จากประชาชนในพืน้ ที่ และความรูใ้ นการผลิตปุย๋ โดยการใช้เศษวัสดุในพืน้ ทีซ่ งึ่ ส่วนใหญ่คนในต�ำบลประกอบอาชีพการเกษตร เช่น ปลูกมะพร้าว ซึ่งได้น�ำ น�ำ้ มะพร้าวมาเป็นส่วนประกอบของปุย๋ ซึง่ ท�ำให้การหมักปุย๋ ไม่สง่ กลิน่ รบกวน นอกจากนี้แกนน�ำมีจิตส�ำนึกรักบ้านเกิดและมีแนวคิดในการสร้างงานให้กับ คนในชุมชน โดยท�ำให้เกิดการกระจายรายได้ให้กับผู้ที่ว่างจากงานประจ�ำ ในช่วงที่กลุ่มท�ำการลงปุ๋ย กลับกองปุ๋ย ลงกระสอบ โดยเน้นการใช้แรงงาน คนเป็นหลักแกนน�ำ มีการถ่ายทอดความรู้จากประสบการณ์ของตนเองแก่ ผูท้ สี่ นใจโดยไม่มกี ารปิดบังข้อมูลและเป็นแบบอย่างในการท�ำเกษตรอินทรีย์ เพื่อให้ชาวชุมชนได้เห็นถึงผลส�ำเร็จแล้วน�ำความรู้นั้นน�ำไปปรับใช้และก่อให้ เกิดประโยชน์มากทีส่ ดุ ยิง่ ไปกว่านัน้ การด�ำเนินงานของคณะกรรมกลุม่ มีการ บริหารกลุ่มอย่างโปร่งใสและยุติธรรม โดยเปิดให้มีการตรวจสอบได้ ในด้าน การปันผล กลุ่มฯมีการปันผลตามจ�ำนวนหุ้นโดยก�ำหนดให้ถือหุ้นได้ไม่เกิน คนละ ๒๐ หุ้น รวมทั้งมีการปันผลและให้ส่วนแบ่งกับสมาชิกที่แนะน�ำให้ ประชาชนทั่วไปมาซื้อปุ๋ยจากกลุ่มท�ำให้ประชาชนเกิดความรู้สึกในการเป็น เจ้าของและมีรายได้ ในส่วนของคนในชุมชนมีสว่ นร่วมในการผลิตปุย๋ ชีวภาพ ท�ำให้ทราบข้อดีของปุ๋ยและมีความรู้สามารถถ่ายทอดความรู้แก่คนทั่วไป ใน เรือ่ งส่วนประกอบและข้อดีของปุย๋ รวมทัง้ หน่วยงานภาครัฐ เช่นเกษตรอ�ำเภอ ผูว้ า่ ราชการจังหวัด ทีไ่ ด้เห็นความส�ำคัญของกลุม่ และพร้อมให้การสนับสนุน การด�ำเนินกิจกรรมกลุม่ ในทุกๆด้าน รวมทัง้ มีการประชาสัมพันธ์กลุม่ ให้เป็นที่ รู้จักของคนทั่วไปทั้งในหนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ และทางอินเตอร์เน็ต
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 105
สิ่งที่เป็นอุปสรรคในการด�ำเนินงานของกลุ่มพบว่า ความไม่เข้าใจกัน ภายในกลุ่ม ซึ่งมีความจ�ำเป็นที่จะต้องสื่อสารและสร้างความเข้าใจ เพื่อให้ เกิดการแก้ไขได้อย่างทันท่วงที ส่วน แนวทางและเป้าหมายในอนาคตของ กลุ่ม คือ การขยายก�ำลังการผลิตเพื่อให้สามารถรองรับความต้องการของ ตลาดอย่างเพียงพอ และเพื่อเป็นการสร้างผลประกอบการให้กับกองทุนให้ มีศักยภาพเพิ่มขึ้น อันจะน�ำไปสู่กิจกรรมที่ตอบสนองความต้องการในพื้นที่ และแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ
ฐานเรียนรู้ที่ ๒ กองทุนข้าว ต�ำบลคอรุม อ�ำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์
วิทยากร นายศิริชัย เหรียญทองชัย
ต�ำบลคอรุมเป็นต�ำบลที่คนในชุมชนส่วนใหญ่ ร้อยละ ๘๐ มีอาชีพ ทางการเกษตร คือท�ำนา ปัญหาที่เกษตรกรในชุมชนประสบคือ ต้นทุนการ ผลิตสูง และปัญหาจากการใช้สารเคมีทสี่ ง่ ผลกระทบต่อสุขภาพ ดังจะเห็นได้ จากการตรวจสารเคมีการเกษตรตกค้างในเลือดของโรงพยาบาลส่งเสริมสุข ภาพต�ำบลคอรุมใน พ.ศ. ๒๕๔๙ พบว่าเกษตรกรในพื้นที่มีสารเคมีตกค้าง ในเลือดสูงถึง ร้อยละ ๙๐ นอกจากนี้เกษตรกรยังมีหนี้สินจากการท�ำนา ดังนัน้ ผลผลิตทีจ่ ำ� หน่ายได้สว่ นหนึง่ เกษตรกรจึงต้องน�ำมาช�ำระค่าปุย๋ เคมีและ สารเคมี ปัญหาที่พบอีกประการหนึ่งคือ ปัญหาข้าวปนของเมล็ดพันธุ์มีสูง (ข้าวดีดข้าวเด้ง) ท�ำให้ผลผลิตที่ได้ไม่มีคุณภาพและมีปริมาณลดลง จากสถานการณ์ดังกล่าว ใน พ.ศ. ๒๕๔๙ คนในชุมชนจึงรวมตัวกัน จัดตั้งเป็นกลุ่ม “โรงเรียนข้าว” เพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ กิจกรรมหลักของกลุ่ม คือ การผลิตเมล็ดพันธุ์คุณภาพดีให้กับเกษตรกรในชุมชน การจัดการโรค และแมลงด้วยสารชีวภาพ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด การแปรรูปข้าว รวม ทั้งด�ำเนินการจัดตั้ง “กองทุนข้าว” ขึ้น เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรในการลงทุน ด้านเมล็ดพันธุ์ ทัง้ นีใ้ นการด�ำเนินการเกษตรกรทีเ่ ข้าร่วม เมือ่ เก็บเกีย่ วผลผลิต ข้าวแล้ว ต้องคัดพันธุ์ข้าวเพื่อจ�ำหน่ายคืนให้แก่โรงเรียนข้าว ในส่วนของกอง ทุนข้าว สมาชิกสามารถยืมเมล็ดพันธุ์ข้าวจากกองทุนได้ แต่มีเงื่อนไขคือ การ ยืมเมล็ดพันธุ์จากกองทุนข้าวจะต้องเป็นสมาชิกไม่น้อยกว่า ๖๐ วัน ส่วนการ พิจารณาเงินกูม้ เี งือ่ นไขส�ำคัญคือ สมาชิกต้องปลูกผักเพือ่ บริโภคในครัวเรือน
106 |
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 107
นอกจากนีค้ ณะกรรมการกองทุน ยังท�ำหน้าทีต่ รวจสอบแปลงนาของสมาชิก ที่ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโดยมีการตรวจแปลงตามระยะเวลาที่ก�ำหนดไว้ร่วมกัน ตั้งแต่ระยะหว่านไถ ไปจะกระทั่งระยะการเก็บเกี่ยวผลผลิต เพื่อให้ได้เมล็ด พันธุ์ที่มีคุณภาพจ�ำหน่ายคืนให้แก่กลุ่ม รวมทั้งหากเป็นโครงการที่ท�ำเกษตร ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจะได้รับการพิจารณาในล�ำดับต้นๆ การด� ำ เนิ น งานของกองทุ น ได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากหน่ ว ยงานที่ เกีย่ วข้องได้แก่ ศูนย์วจิ ยั พันธุข์ า้ ว จังหวัดแพร่ และศูนย์วจิ ยั พันธุข์ า้ ว จังหวัด สุโขทัย ที่ให้การสนับสนุนด้านความรู้ในกระบวนการผลิต และรับซื้อเมล็ด พันธุ์ข้าวคืน นอกจากนั้น องค์การบริหารส่วนต�ำบล มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุตรดิตถ์ยังให้การสนับสนุนในการพัฒนาด้านองค์ความรู้ และการเพิ่มขีด ศักยภาพในการด�ำเนินงานให้เกิดรูปธรรมในพื้นที่ รวมทั้งเครือข่ายร่วมสร้าง ชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ที่ร่วมในการศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ ก่อให้เกิดรูปธรรมในการขับเคลื่อนเกษตรกรรม ยัง่ ยืนร่วมกันต่อไป และยังเกิดระบบการผลิตเมล็ดพันธุข์ า้ วในชุมชนเอง โดย มีเมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีคุณภาพดีใช้เองในชุมชน ลดปัญหาด้านต้นทุนการผลิต การใช้สารเคมีในพื้นที่ รวมถึงปัญหาด้านสุขภาพของเกษตรกรได้เป็นอย่างดี ทิศทางในการด�ำเนินงานของกลุม่ ในอนาคต กลุม่ จะมุง่ เน้นการพัฒนา กลุม่ ให้เกิดการรวมกลุม่ เฉพาะของกองทุนเพือ่ การปรับเปลีย่ นสูเ่ กษตรกรรม ยั่งยืน ผลักดันให้เกิดกองทุนเฉพาะของเกษตรกรในพื้นที่ในการเข้าถึง และ การใช้ประโยชน์จากกองทุนเพื่อเกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาไปสู่ เกษตรกรรมยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
ปัจจัยที่สนับสนุนให้การด�ำเนินงานของกลุ่มประสบผลส�ำเร็จ ได้แก่ การสร้างการมีส่วนร่วม ท้องที่ ท้องถิ่น ชุมชน การประสานภาคีทั้งในพื้นที่ และนอกพืน้ ที่ การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การสร้างการเรียนรูอ้ ย่างต่อเนือ่ ง โดยมีการพัฒนาศักยภาพแกนน�ำ ชุมชนผ่านเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อย่างสม�่ำเสมอมีการสร้างเงื่อนไข ข้อตกลงของกลุ่มที่มีความชัดเจน และ หลักการบริหารงานโดยความโปร่งใส ผลจากการขับเคลื่อนงานของกลุ่ม ท�ำให้กลุ่มเกษตรกรมีกองทุนข้าว ที่เป็นแหล่งเมล็ดพันธุ์ในการตั้งต้น เกษตรกรสามารถเข้าถึงกองทุน เกิดการ พัฒนาด้านการเกษตรทั้งในระบบผลิต ระบบการตลาดรวมไปถึงการสร้าง ระบบทุนด้านการเกษตรในพื้นที่ อีกทั้งยังสร้างให้เกิดเครือข่ายเกษตรกร 108 |
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 109
กิจกรรมที่ ๔.๒ การบริหารจัดการกองทุนเพือ่ อาหารปลอดภัย ฐานเรียนรู้ของกิจกรรมที่ ๔.๒ กลุ่มที่ ๓ กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน บ้านโคกเจริญ ต�ำบลบ้านยาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
วิทยากร นายเชิด นกโยธิน
หมู่บ้านโคกเจริญ หมู่ที่ ๑๕ มีลักษณะเป็นพื้นที่ราบสูง ติดกับแนว เขตภูเขากระโดง ปัญหาหลักของชุมชนคือ การขาดแคลนน�้ำในการประกอบ อาชีพเกษตรกรรม ชาวบ้านประกอบอาชีพเสริมเพือ่ แก้ปญ ั หาความเดือดร้อน ในเรือ่ งปากท้อง โดยการรวมกลุม่ เฉพาะตามทีแ่ กนน�ำมีความรูภ้ มู ปิ ญ ั ญาและ ทักษะ หรือความสนใจ และมีการช่วยเหลือเกื้อกูลกันในกลุ่ม และระหว่าง กลุ่มในหมู่บ้าน ซึ่งกลุ่มต่างๆที่ก่อตั้งขึ้น เช่น กลุ่มทอผ้าพื้นเมือง เกษตรผสม ผสาน (ข้าวอินทรีย์ เลี้ยงปลา เลี้ยงหมู) กลุ่มดอกไม้ประดิษฐ์ กลุ่มหาของป่า (ไข่มดแดง พืชสมุนไพรตีผึ้ง) กลุ่มสานแห กลุ่มสานตะกร้า กลุ่มภูมิปัญญา หมอพื้นบ้าน (หมอต�ำแย หมอเป่า หมอบุญ)เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ปัญหา ของกลุ่มส่วนใหญ่คือ ขาดทุนและงบประมาณในการด�ำเนินงาน จากปัญหาดังกล่าว ใน พ.ศ. ๒๕๔๔ รัฐบาลมีนโยบายจัดตั้งกองทุน หมู่บ้าน จ�ำนวน ๑ ล้านบาทหรือที่เรียกกันทั่วไปว่า “กองทุนเงินล้าน” คณะ กรรมการจึงมีมติร่วมกันที่จะน�ำเงินกองทุนดังกล่าวมาเป็นแหล่งทุนให้กับ คนในชุมชน โดยให้ชาวบ้านเป็นผู้เลือกคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านด้วย ตนเอง บ้านโคกเจริญ หมู่ ๑๕ ได้ตั้งคณะกรรมการ ๑๐ คนขึ้นมาบริหาร จัดการเงินเพื่อประโยชน์ต่อชาวบ้านทุกคน รวมทั้งระดมทุนเพิ่มจากแต่ละ 110 |
ครัวเรือน โดยมีครัวเรือนสมัครเป็นสมาชิกครั้งแรก จ�ำนวน ๗๗ ราย กลุ่มได้ น�ำเงินจากการระดมหุ้นเข้าสมทบกับกองทุนหมู่บ้าน เป็นเงินหุ้น ๆ ละ ๕๐ บาท และตัง้ สัจจะออมทรัพย์เดือนละ ๑๐ บาท พร้อมกับเปิดรับสมัครสมาชิก ทุกเดือน เพื่อเป็นการปลุกจิตส�ำนึกในการออมเงิน และการวางแผนใช้จ่าย เงิน และจากการบริหารงานของคณะกรรมการฯ ที่ท�ำงานอย่างโปร่งใสและ ตรวจสอบได้ท�ำให้ชาวบ้านเกิดความไว้ใจ และสมัครเข้าเป็นสมาชิดเพิ่มขึ้น พ.ศ. ๒๕๕๐ มีชาวบ้านมาสมัครเป็นสมาชิกเพิ่มขึ้นเป็น ๑๖๐ ครัว เรือนจากครัวเรือนทัง้ หมดในหมูท่ ี่ ๑๕ ประมาณ ๑๗๖ ครัวเรือน จากจ�ำนวน สมาชิกที่เพิ่มขึ้นส่งผลให้กองทุนหมู่บ้านบ้านโคกเจริญไม่มีเงินทุนหมุนเวียน เพียงพอกับความต้องการกู้ยืมของสมาชิก ดังนั้น แกนน�ำชุมชนทั้งที่เป็น คณะกรรมการหมู่บ้านและผู้น�ำไม่เป็นทางการของหมู่ ๑๕ จึงจัดการประชุม ประชาคมขึน้ เพือ่ หาวิธกี ารในการแก้ปญ ั หา โดยให้คนในชุมชนระดมทุนเพิม่ เพือ่ เป็นเงินทุนหมุนเวียนจากเงินของตนเอง โดยมีการระดมทุนทุกวันอาทิตย์ เริ่มต้นจาก ๑๐ บาทขึ้นไป ภายหลังจากการออมเพียง ๓ เดือน ท�ำให้ชุมชน มีเงินออมเพิ่มขึ้นเป็น ๑๒๐,๐๐๐ บาท และสามารถให้สมาชิกกู้ยืมได้ โดย เรียงล�ำดับตามความจ�ำเป็นเร่งด่วน และให้ช�ำระคืนทุกเดือนทั้งเงินต้น ร้อย ละ ๑๐ และจ่ายดอกเบี้ย ร้อยละ ๑ ต่อเดือน เพื่อหมุนเวียนให้สมาชิกคน อื่นๆ ได้กู้ยืมต่อ เมือ่ กิจการของกองทุนหมูบ่ า้ นบ้านโคกเจริญมีความมัน่ คงขึน้ ใน พ.ศ. ๒๕๕๒ คณะกรรมการมีมติร่วมกันที่จะกู้ยืมเงินจากธนาคารออมสินเพื่อเป็น ทุนหมุนเวียนให้สมาชิกเพิ่ม ทางธนาคารออมสินได้อนุมัติเงิน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาทให้กับกลุ่ม โดยสมาชิกของกองทุนได้ขยายเพิ่มเป็น ๒๘๕ คน มีเงิน ทุนหมุนเวียนจากรัฐบาล เงินออม ดอกเบี้ย และเงินกู้จากธนาคารออมสิน คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 111
รวมประมาณ ๔,๔๐๐,๐๐๐ บาท และต่อมาใน พ.ศ. ๒๕๕๕ กองทุนหมู่บ้าน บ้านโคกเจริญจึงได้จดทะเบียนตั้งเป็นสถาบันการเงินชุมชนบ้านโคกเจริญ และได้รับเงินบริจาคจากสมาชิกและคณะกรรมการจ�ำนวน ๗๐,๐๐๐ บาท เพื่อตั้งส�ำนักงานของกองทุนโดยใช้ศาลากลางหมู่บ้าน และท�ำพิธีเปิดใน วันที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๕ กองทุนหมู่บ้านบ้านโคกเจริญมีการจัดการเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ โดยใช้ ๔ แนวทางหลัก คือ ๑) การแก้ปัญหาปากท้องของชาวบ้านโดยใช้ภูมิปัญญา ท้องถิน่ ทีส่ บื ทอดกันมา โดยให้แต่ละคุม้ ของหมูบ่ า้ นเลือกงานทีม่ คี วามโดดเด่น ของคุ้ม มีการรวมกลุ่มตั้งวิสาหกิจชุมชนเพื่อสร้างอาชีพ สร้างรายได้ จัดหา ตลาดแลกเปลีย่ นและซือ้ ขายสินค้า โดยมีกองทุนเป็นทีพ่ งึ่ ยามทีไ่ ม่มเี งินลงทุน ท�ำให้ลูกหลานไม่ต้องออกไปท�ำงานที่อื่น ๒) การแก้ปัญหาความขัดแย้งของ คนในชุมชนที่ผู้น�ำมีปัญหาระหว่างกันแบ่งแยกเป็น ๒ ฝ่าย และลาออกจาก การเป็นคณะกรรมการยกชุด ท�ำให้แต่ละคุม้ ในหมูบ่ า้ นต้องเลือกตัวแทนหญิง ชายคุ้มละ ๒ คนมาเป็นกรรมการร่วม ซึ่งเป็นการแก้ไขปัญหาและบริหาร จัดการตนเองของคนในชุมชนอย่างมีส่วนร่วม และสามารถคลี่คลายคามขัด แย้งได้ในที่สุด ๓) การสร้างความมั่นคงให้กับคนในหมู่บ้านโดยการสนับสนุน ของผูน้ ำ� ให้มกี ารออมเพือ่ เอาไว้ใช้จา่ ยในยามจ�ำเป็น ท�ำให้ประชาชนในชุมชน รู้จักการใช้ชีวิตอย่างพอเพียง รักการออม เกิดความรัก ความสามัคคี ความ เอื้ออาทรช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และมีความซื่อสัตย์สุจริต เช่น เมื่อต้องการ ไปหาของป่าก็ไปรถคันเดียวกันช่วยกันออกค่าใช้จ่ายต่างๆ เป็นต้น และ สิ่งส�ำคัญที่ท�ำให้กองทุนหมู่บ้านโคกเจริญประสบความส�ำเร็จคือ การสร้าง ความไว้วางใจ จริงใจ เชือ่ ใจซึง่ กันและกัน และการสร้างให้ลกู หลานมีจติ ส�ำนึก รักบ้านเกิดของตนเอง และ ๔)การสร้างการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาโดย 112 |
การบริหารจัดการ บ้านโคกเจริญ หมูท่ ี่ ๑๕ ได้รบั ความร่วมมือจากประชาชน และผู้น�ำในหมู่บ้านโคกเจริญ หมู่ที่ ๑๕ โดยทุกเดือนจะมีการจัดการประชุม ประจ�ำเดือน เพื่อชี้แจงและรับฟังปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นภายในหมู่บ้านและ ผู้เข้าร่วมประชุ ม ทุ ก คนจะช่ ว ยกั น ระดมความคิ ด ร่ ว มกั น แก้ ป ั ญ หาและ สร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆให้เกิดประโยชน์ หลังจากเสร็จสิ้นการประชุมในแต่ละ ครั้งผู้น�ำจะน�ำผลการประชุมประชาสัมพันธ์และชี้แจงให้ประชาชนที่ไม่ได้ เข้าร่วมประชุมได้รับทราบเพื่อกระตุ้นให้เกิดความกระตือรือร้นในการเข้า ร่วมประชุมในครั้งต่อไป ผลจากการด�ำเนินงานของกองทุนท� ำให้เกิดเครือข่ายการท� ำงาน จากการที่ประชาชนได้ร่วมคิดร่วมแก้ไขปัญหาร่วมกันเป็นประจ�ำทุกเดือน เกิดผู้น�ำหลักของกลุ่มที่มีความสามารถด้านการบริหารจัดการ และมีความ สามารถในด้านการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ผู้น�ำบางคนเป็นผู้ ทีม่ คี วามรูห้ ลากหลายในทุกกลุม่ อาชีพของหมูบ่ า้ น นอกจากนีป้ ระชาชนยังมี ส่วนร่วมในการก�ำหนดกติการะเบียบข้อบังคับร่วมกัน ข้อตกลงและนโยบาย ของกลุม่ โดยเน้นการมีสว่ นร่วมของชุมชนเป็นหลัก มีการรวมกลุม่ และจัดตัง้ ธนาคารหมู่บ้านการด�ำเนินงานของกลุ่มสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ได้อย่าง ยั่งยืน รวมทั้งผลักดันให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือกับสถาบันการเงินชุมชน ของหมู่บ้านข้างเคียงอีกด้วย
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 113
ฐานเรียนรู้ที่ ๔ การบริหารกองทุน SML สนับสนุนกลุม่ ผลิตปุย๋ อินทรียช์ วี ภาพอัดเม็ดบ้านวังแดง ต�ำบลวังน�้ำเย็น อ�ำเภอวังน�้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
วิทยากร นายพุทธา จันทะสิงห์
พ.ศ. ๒๕๔๗ ชาวบ้านวังแดงได้รับการอบรมความรู้ เรื่องวิธีการผลิต ปุย๋ อินทรียช์ วี ภาพจากเกษตรอ�ำเภอวังน�ำ้ เย็น และได้รบั การสนับสนุนหัวเชือ้ จุลินทรีย์ (พ.ด.) ซึ่งเป็นสารตั้งต้นในการหมักปุ๋ยจากส�ำนักงานพัฒนาที่ดิน จังหวัดสระแก้ว ชาวบ้านจึงรวมกลุ่มผลิตปุ๋ยชีวภาพจากมูลสัตว์ที่เลี้ยงไว้ ตามบ้าน เช่น มูลเป็ด มูลไก่ มูลวัว ไว้ใช้ในครัวเรือน ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ รัฐบาล ได้จัดสรรงบประมาณ SML จ�ำนวน ๕๐๐,๐๐๐ บาทเพื่อให้หมู่บ้านเสนอ โครงการพัฒนาหมู่บ้าน ชาวบ้านวังแดงจึงมีมติให้น�ำงบประมาณดังกล่าวมา ด�ำเนินโครงการปุ๋ยอินทรีย์ โดยแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารกองทุน จ�ำนวน ๑๕ คน และได้ขอการสนับสนุนวิทยากรจากส�ำนักงานพัฒนาที่ดินจังหวัด สระแก้วในการอบรมให้ความรูเ้ รือ่ งการผลิตปุย๋ ชีวภาพ และการใช้ปยุ๋ ชีวภาพ แต่ละสูตรให้ตรงกับสภาพของดินแต่ละแปลงเพือ่ เพิม่ ผลผลิตให้เกษตรกรผูใ้ ช้ ปุย๋ จากเกษตรอ�ำเภอวังน�ำ้ เย็น และเนือ่ งจากต�ำบลวังน�ำ้ เย็นมีการเลีย้ งโคนม ควบคู่กับการท�ำการเกษตร ดังนั้นคณะกรรมการกองทุน SML จึงต่อยอดวิถี ชาวบ้านในการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพอัดเม็ดบ้านวังแดง โดยใช้วัตถุดิบจาก มูลวัวนมในพืน้ ทีต่ �ำบลวังน�้ำเย็นในการผลิต ท�ำให้กลุม่ สามารถลดต้นทุนการ ผลิตและจ�ำหน่ายปุ๋ยคุณภาพดีในราคาที่ถูกลง มีการสั่งซื้อเป็นจ�ำนวนมาก จากชาวสวนผลไม้ ดังนั้นเมื่อกลุ่มมีเงินทุนมากพอจึงได้จัดสรรงบประมาณ ส่วนหนึ่งเพื่อซื้อเครื่องอัดปุ๋ยและก่อสร้างสถานที่ผลิตปุ๋ยเพื่อความสะดวก ในการใช้ เนื่องจากปุ๋ยแบบเม็ดจะไม่ปลิวเวลาหว่าน นอกจากนี้ยังมีการผลิต 114 |
ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพอัดเม็ดทั้งสูตรมูลไก่ส�ำหรับผลไม้ที่มีรสเปรี้ยวเช่น มะม่วง มะขาม และสูตรมูลวัว ส�ำหรับผลไม้ทมี่ รี สหวาน เช่น มะขามหวาน แก้วมังกร และปุย๋ ชีวภาพสูตรส�ำหรับข้าวและพืชไร่ ประเภท อ้อย ข้าวโพด มันส�ำปะหลัง ต่อมาคณะกรรมการกลุ่มผลิตปุ๋ยอินทรีย์ได้เข้ารับการอบรมวิธีการ ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพเพิ่มเติมจากเกษตรอ�ำเภอวังน�้ำเย็นและศึกษาวิธีการ บริหารกองทุนจากพัฒนาชุมชนอ�ำเภอวังน�้ำเย็น และได้น�ำความรู้มาผลิต เพื่อทดลองใช้ท�ำการเกษตรในครัวเรือนก่อน เมื่อได้ผลดีและมีเกษตรกรมา สมัครสมาชิกด้วยความสนใจจะใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพด้วย จึงฝึกอบรมให้ สมาชิกเกษตรกรในกลุ่มบ้านวังแดงจ�ำนวน ๒๕ ครัวเรือน โดยมีการจัด สวัสดิการให้ยมื ปุย๋ ไปใช้ในการเกษตรเป็นระยะเวลา ๑ ปี และมีการจ้างแรงงาน ในหมูบ่ า้ นในการผลิตปุย๋ โดยใช้งบประมาณจากเงินกองทุนหมุนเวียนเป็นต้น ทุนในการผลิตปุ๋ย ซึ่งได้รับงบประมาณส่วนนี้จากโครงการเศรษฐกิจชุมชน พอเพียงและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นเงินจ�ำนวน ๒๐๐,๐๐๐.- บาท เมื่ อ ด� ำ เนิ น การครบรอบปี ส มาชิ ก จะน� ำ เงิ น ค่ า ปุ ๋ ย มาจ่ า ยคื น ฃกองทุ น คณะกรรมการจะน�ำงบประมาณส่วนหนึ่งจัดซื้อวัตถุดิบในพื้นที่ต�ำบลเพื่อ ผลิตปุย๋ ส�ำหรับจ�ำหน่ายและให้สมาชิกยืมงวดต่อไป ในด้านความรู้ เกษตรกร ที่เป็นสมาชิกกลุ่มมีความรู้ในการผลิตและใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ให้เหมาะสมกับ ชนิดของพืชและสภาพดินของพื้นที่ตนเอง ท�ำให้สามารถลดต้นทุนการผลิต ลดการใช้ปุ๋ยและสารเคมีทางการเกษตร ส่งผลให้ผลผลิตทางการเกษตร ปลอดสารพิษ ปลอดภัยส�ำหรับผู้บริโภค ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมอีกทั้งยัง เป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับมูลวัวซึ่งจากเดิมมีราคาถูก ให้สามารถจ�ำหน่ายได้ ราคาเพิ่มขึ้น และมีคุณภาพในการปรับปรุงบ�ำรุงดินช่วยเพิ่มผลผลิตทางการ เกษตรให้มากขึ้นด้วย คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 115
การบริหารกองทุน SML มีการต่อยอดพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรูท้ างการ เกษตร โดยสร้างเงื่อนไขผู้ที่จะเป็นสมาชิกคือเกษตรกรทุกคนในหมู่บ้านวัง แดงสามารถยืมปุ๋ยไปใช้ และได้รับการอบรมความรู้ในการท�ำการเกษตร ชีวภาพ ทัง้ นีเ้ กิดจากการสนับสนุนจากหน่วยงานของทางราชการซึง่ ประกอบ ด้วย หน่วยงานที่สนับสนุนงบประมาณ ได้แก่ พัฒนาชุมชนอ�ำเภอวังน�้ำเย็น เทศบาลเมืองวังน�้ำเย็น หน่วยงานทีส่ นับสนุนองค์ความรู้ ได้แก่ เกษตรอ�ำเภอ วังน�้ำเย็น (กลุ่มหมอดิน) และพัฒนาที่ดินจังหวัดสระแก้ว สนับสนุนสาร พ.ด.เป็นสารตั้งต้นในการหมักปุ๋ย และที่ส�ำคัญคือความเสียสละของคณะ กรรมการกองทุนซึ่งท�ำงานด้วยจิตสาธารณะ ไม่มีค่าตอบแทนใดๆ ปัญหาที่พบคือ เกษตรกรบางส่วนยังขาดความเข้าใจเรื่องสภาพของ ดินในพื้นที่ทำ� การเกษตรของตนเอง ท�ำให้การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพไม่ได้ผล รวมถึงทัศนคติของเกษตรกรในยุคปัจจุบันมีความต้องการผลผลิตทางการ เกษตรในปริมาณมากในระยะเวลาสั้นๆ จึงพึ่งสารเคมีทางการเกษตร ใน อนาคตกองทุนจะมีการสร้างเครือข่ายการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพอัดเม็ดไป ยังหมู่บ้านอื่นๆ ในต�ำบลวังน�้ำเย็นและจะพัฒนาเป็น แหล่งเรียนรู้เรื่องการ ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพอัดเม็ด โดยเน้นให้ความรู้เรื่องเกษตรชีวภาพกับการ บริหารกองทุนในหมู่บ้านเพื่อให้สมาชิกกองทุนปรับเปลี่ยนวิธีคิดและรู้จักวิธี การผลิตปุย๋ เพือ่ ใช้ในการท�ำเกษตรกรรมด้วยธรรมชาติ โดยการรักษาคุณภาพ ของดินและรักษาสิ่งแวดล้อม ตามหลักการ ร่วมคิด ร่วมท�ำ ร่วมแก้ปัญหา ร่วมพัฒนาเพื่อต�ำบลสุขภาวะ
116 |
กิจกรรมที่ ๔.๓ การจัดระบบสวัสดิการโดยชุมชนเพื่อ อาหารปลอดภัย ฐานเรียนรู้ที่ ๕ กองบุญหนุนเกื้อ ต�ำบลศรีฐาน อ�ำเภอป่าติ้ว จังหวัดยโสธร
วิทยากร นายสุทัศน์ วันเที่ยง
พ.ศ.๒๕๔๘ กลุม่ เกษตรอินทรีย์ ต�ำบลศรีฐาน มีแนวคิดทีจ่ ะช่วยเหลือ สมาชิกในรูปแบบการจัดสวัสดิการโดยจัดตัง้ กองบุญหนุนเกือ้ ซึง่ เป็นกองทุนที่ เกิดขึน้ จากสมาชิกกลุม่ เกษตรอินทรียท์ เี่ ห็นความส�ำคัญของผูป้ ระกอบอาชีพ เกษตรกรรมที่ไม่มีสวัสดิการรองรับเมื่อเจ็บป่วย เสียชีวิตหรือเมื่อสูงอายุไม่ สามารถท�ำงานได้ ดังนั้นจึงได้รวมกลุ่มกันจัดตั้งกองบุญหนุนเกื้อ ระดมเงิน ออมจากสมาชิก วันละ ๑ บาท เพื่อให้การช่วยเหลือสมาชิกเมื่อความจ�ำเป็น ได้แก่ คลอดบุตร เจ็บป่วยนอนรักษาในโรงพยาบาล สูงอายุ และเสียชีวิต หลังจากมีการปรึกษาหารือวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งกองทุนเพื่อจัด สวัสดิการแก่สมาชิกกลุม่ เกษตรอินทรียใ์ นระดับอ�ำเภอแล้ว โดยมีนายสุทศั น์ วันเที่ยง ประธานกลุ่มเกษตรอินทรีปุ๋ยชีวภาพต�ำบลศรีฐาน ได้รับคัดเลือก เป็นประธานคณะกรรมการระดับอ�ำเภอ ชาวบ้านและแกนน�ำจึงได้รว่ มกันตัง้ กองทุนชือ่ “กองบุญหนุนเกือ้ ” ขึน้ เริม่ ด�ำเนินงานในระดับต�ำบล โดยสมาชิก จากแต่ละต�ำบลกลับไปจัดประชุมหารือ ชี้แจงแนวคิดและวัตถุประสงค์ให้ สมาชิกทราบ และให้แต่ละต�ำบลคัดเลือกตัวแทนเพื่อร่วมเป็นตัวแทนระดับ อ�ำเภอ ในการออมเงินตัวแทนแต่ละต�ำบลด�ำเนินการเก็บเงินจากสมาชิก สัจจะวันละบาท สมาชิกสามารถส่งเป็นรายเดือน หรือรายปีก็ได้ และจะ ท�ำการรวบรวมเงินส่งอ�ำเภอทุกเดือน โดยกลไกการท�ำงานได้จัดให้มีการ คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 117
ประชุมเป็นประจ�ำทุกเดือน รวมถึงการจัดสวัสดิการแก่สมาชิกตามเงื่อนไข ข้อตกลง นอกจากนั้นยังได้แต่งตั้งคณะกรรมการด�ำเนินงานในระดับต�ำบล แต่ละต�ำบลระดมทุนสมาชิกวันละ ๑ บาท สมาชิกต�ำบลศรีฐานเริ่มต้นมี ๔๐ คน สมาชิกภาพรวมอ�ำเภอ ๓๐๐ คน สมาชิกระดมทุนได้ ปีแรก ๑๒๐,๐๐๐ บาทต่อมาช่วงปี๒๕๔๙ ถึง ๒๕๕๒ มีนโยบายขยายกลุ่มสมาชิก และมุ ่ ง พั ฒ นาศั ก ยภาพคณะกรรมการบริ ห ารกองบุ ญ หนุ น เกื้ อ มี ก าร ประชาสัมพันธ์ผ่านบุคคลและวิทยุชุมชนของวัดเอง ต่อมากรรมการได้ไป ศึกษาดูงานที่จังหวัดน่าน หลังจากนั้นจึงได้ก�ำหนดระเบียบกองทุนใหม่คือ ๑) การเกิด ๒) แก่ จัดสวัสดิการเมื่อครบ ๑๕ ปี ๓) เจ็บเมื่อนอนโรงพยาบาล และ ๔) การจัดสวัสดิการเมื่อสมาชิกตาย ปัจจุบันสมาชิกเพิ่มขึ้นในอ�ำเภอ ต่างอ�ำเภอ และต่างจังหวัด ๒,๙๗๐ คน เฉพาะสมาชิกต�ำบลศรีฐานมีทั้งสิ้น ๑๓๐ คน มีเงินหมุนเวียน ๓ ล้านบาท การด�ำเนินงานประกอบด้วย การประชุมคณะกรรมการระดับอ�ำเภอ การเก็บเงินสมาชิก การจัดสวัสดิการสมาชิกในเรื่องต่างๆ ได้แก่ ๑) การเกิด บุตรได้รับเงิน ๗๐๐ บาท มารดาได้รับ ๓๐๐ บาท ๒) แก่ จัดสวัสดิการเมื่อ ครบ ๑๕ ปี ๓) ป่วย นอนโรงพยาบาล ๑๐๐ บาทต่อคืน ๔) เสียชีวิต เริ่มที่ ๒,๕๐๐-๓๐,๐๐๐ บาท และ ๕) หนุนเกื้อสมาชิกให้กลุ่มกู้ยืมเพื่อการเกษตร ในระบบเกษตรกรรมยั่งยืน เป็นต้น นอกจากนี้ องค์ ก รและหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งในการพั ฒ นางาน ประกอบด้วย ๑) กลุ่มองค์กรในพื้นที่ ได้แก่ กลุ่มอนุรักษ์ธรรมชาติต�ำบล ศรีฐาน กลุ่มเกษตรอินทรีย์ปุ๋ยชีวภาพ ซึ่งองค์กรเหล่านี้เป็นสมาชิกที่ร่วม กองทุน โดยออกเงินสัจจะวันละบาทและส่งตัวแทนร่วมเป็นคณะกรรมการ ระดับอ�ำเภอ ๒) องค์กรหน่วยงานนอกพื้นที่ ได้แก่ วัดสวนธรรมร่วมใจ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการด�ำเนินงาน 118 |
ผลจากการด�ำเนินงานท�ำให้กองทุนมีสมาชิกเพิ่มขึ้นทุกปี มีการจ่าย สวัสดิการให้แก่สมาชิกอย่างต่อเนื่อง กองทุนสามารถสนับสนุนสมาชิกให้ กลุ่มกู้ยืมรายกลุ่มเพื่อส่งเสริมอาชีพเกษตรกรรมยั่งยืน ปัจจุบันสมาชิกระดับ อ�ำเภอเพิม่ ขึน้ เป็น ๒,๙๗๐ คน สมาชิกต�ำบลศรีฐาน ๑๓๐ คน มีเงินหมุนเวียน ๓ ล้านบาท และผลการด�ำเนินงานท�ำให้สมาชิกมีความเป็นอยู่ดีขึ้น มีความ รู้สึกมั่นคงปลอดภัย การด�ำเนินงานของกองบุญหนุนเกื้ออาศัยปัจจัยหรือเงื่อนไขที่จะ ท�ำให้การจัดสวัสดิการในชุมชนประสบผลส�ำเร็จ คือ ต้องมีแนวคิดเบื้องต้น ที่ส�ำคัญที่จะ “ให้เพื่อเป็นบุญ” โดยการ “ออมเพื่อให้” ส�ำหรับสมาชิกและ ผู้มีความทุกข์ยากล�ำบาก ผู้ยากจน และกรรมการมีความเสียสละ เพราะไม่มี ค่าตอบแทนในการเก็บเงินและน�ำส่ง นอกจากนี้ กรรมการฯ ยังเป็นผู้ที่มี ความรู้ความเข้าใจ มีการร่วมประชุมสม�่ำเสมอ รวมทั้งการเสริมความรู้ เช่น การศึกษาดูงานและการแลกเปลี่ยนในเครือข่าย และสมาชิกท�ำให้เกิดความ เข้าใจร่วมกันที่จะช่วยเหลือสมาชิก การพัฒนางานให้ต่อเนื่องในอนาคต โดยกองทุนเน้นการต่อยอด กิจกรรมที่สนองตอบความต้องการของสมาชิก นอกจากการกู้ยืมเพื่อผลิต ปุ๋ยอินทรีย์ในกลุ่มต่างๆ แล้ว คณะกรรมการมีมติที่จะสนับสนุนให้สมาชิก รวมกลุ่มกู้ยืมเพื่อการท�ำวิสาหกิจแปรรูปผลผลิตข้าวและพืชผัก ได้แก่ บรรจุ ภัณฑ์ข้าวกล้อง ข้าวกล้องงอก น�้ำข้าวกล้อง ขนมครกข้าวกล้อง เป็นต้น ซึ่งส่งผลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อการพัฒนาระบบเกษตรกรรมยั่งยืนและ การมีอาหารเพื่อสุขภาวะของชุมชน
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 119
ฐานเรียนรู้ที่ ๖ กลุ่มผู้มีที่ดินท�ำกินน้อย ต�ำบลทมอ อ�ำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์
วิทยากร นางกัญญา อ่อนศรี
การส่งเสริมการเกษตรในกลุม่ ผูม้ ที ดี่ นิ น้อย เริม่ ต้นจากการด�ำเนินงาน ของกลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอาชีพทางเลือกบ้านทัพไท หมู่ที่ ๑๐ ต.ทมอ ที่ ส่งเสริมให้เกษตรกรมีการผลิตแบบอินทรีย์ ส่งเสริมการท�ำปศุสัตว์อินทรีย์ และการท�ำการตลาด มีการขยายฐานการผลิตสู่ชุมชน ซึ่งจากการประชุม ของกลุ่มเกี่ยวกับข้อมูลการขยายฐานสมาชิกของกลุ่ม พบข้อจ�ำกัดในการ ขยายฐานการผลิตเนื่องจากเกษตรกรบางส่วนมีปัญหาในเรื่องการไม่มีที่ดิน ในการท�ำกินหรือมีที่ดินท�ำกินน้อย โดยในปี พ.ศ.๒๕๔๕ ทางกลุ่มได้มีการ ส�ำรวจข้อมูลของคนทีไ่ ม่มที ดี่ นิ ท�ำกินในหมูบ่ า้ นขึน้ พบว่ามีจำ� นวนครัวเรือน ที่มีปัญหาไม่มีที่ดินท�ำกินหรือมีน้อยกว่า 1 ไร่ จ�ำนวน ๑๕ ครอบครัวทาง กลุ่มจึงมีการประชุมเพื่อหาแนวทางการแก้ปัญหา มีการก�ำหนดแนวทางใน การสนับสนุนครอบครัวเหล่านี้ โดยเชื่อมโยงกับการด�ำเนินงานของตลาดสี เขียวในพื้นที่ต�ำบลทมอ มีการทดลองให้ครอบครัวที่ไม่มีที่ดินท�ำกินเข้าร่วม กิจกรรม โดยการน�ำผลผลิตที่ได้จากการเก็บของป่า อาหารจากธรรมชาติ และแปรรูปอาหารไปขายในตลาดสีเขียว และเมื่อสรุปผลการด�ำเนินงานพบ ว่า ได้รับการตอบรับจากผู้บริโภค เนื่องจากเป็นการเพิ่มความหลากหลาย ของที่มาจ�ำหน่ายในตลาดสีเขียวมีการเปิดรับสมัครสมาชิกครอบครัวที่ไม่มี ที่ดินท�ำกินเข้าร่วมกิจกรรม กลุ ่ ม อนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ มอาชี พ ทางเลื อ กบ้ า นทั พ ไทได้ จั ด สรรงบ ประมาณทีไ่ ด้จากการสนับสนุนของสหกรณ์เกษตรอินทรียก์ องทุนข้าวสุรนิ ทร์ เพื่อจัดสวัสดิการให้กับคนด้อยโอกาส โดยสนับสนุนเป็นอุปกรณ์ในการ 120 |
ประกอบอาชีพ เริ่มแรกมีครอบครัวที่ได้รับการสนับสนุนเพียง ๑ ครอบครัว คือครอบครัวของนางเผือ สุกดาว ก่อนจะมีการขยายไปจนครอบคลุม ๑๕ ครอบครัว ท�ำให้ครอบครัวทีไ่ ม่มที ดี่ นิ ท�ำกินมีรายได้จากการเก็บของป่า หรือ แปรรูปอาหารไปขาย และมีรายได้เพิม่ จากการเข้าร่วมกิจกรรมของกลุม่ เฉลีย่ ๔๐๐-๕๐๐ บาทต่อครั้ง ต่อมาใน พ.ศ. ๒๕๔๘ ทางกลุ่มมีการด�ำเนินงานส่ง เสริมอาชีพให้กบั กลุม่ เกษตรกรทีม่ ที ดี่ นิ น้อยอย่างต่อเนือ่ ง จนกระทัง่ ใน พ.ศ. ๒๕๕๐ มีการเข้าร่วมกิจกรรมตลาดสีเขียวร่วมกับองค์กรต่าง ๆ ในพืน้ ทีจ่ งั หวัด สุรินทร์ ทางกลุ่มจึงส่งเสริมอาชีพให้เกษตรกรที่มีที่ดินน้อย ด้วยการส่งเสริม การปลูกผักริมรัว้ ท�ำปศุสตั ว์ เช่น การเลีย้ งไก่ เป็ด การสนับสนุนแม่พนั ธุส์ ตั ว์ และเมล็ดพันธุ์ ท�ำให้มีเกษตรกรที่มีที่ดินน้อยจ�ำนวน ๑๐ ครอบครัว เข้าร่วม น�ำผลผลิตไปขายในตลาดสีเขียวเมืองสุรินทร์ และตลาดสีเขียวที่ตำ� บลทมอ จนกระทั่งในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ทางสหกรณ์เกษตรอินทรีย์กองทุนข้าวสุรินทร์ ให้การสนับสนุนงบประมาณในการท� ำกองทุนหมุนเวียนอาชีพ จึงมีการ ด�ำเนินงานในการส่งเสริมให้เกษตรกรที่มีที่ดินน้อยได้ท�ำนาเช่า และหันมา ผท�ำเรื่องปศุสัตว์อินทรีย์ ด้วยการเลี้ยงสัตว์ใช้ที่ดินน้อย โดยกลุ่มสนับสนุน แม่พันธุ์สัตว์ท�ำให้มีเกษตรกรที่มีที่ดินน้อยสนใจหันมาท�ำเรื่องการเลี้ยงสัตว์ ในแปลงเพิ่มมากขึ้น ผลจากการด�ำเนินการของกลุม่ อนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมอาชีพทางเลือกบ้าน ทัพไทส่งผลให้กลุม่ ผูม้ ที ดี่ นิ ท�ำกินน้อยมีรายได้จากการขายอาหารทีห่ ามาจาก ป่า และจากการเลีย้ งสัตว์ซงึ่ ใช้ทดี่ นิ น้อย รวมทัง้ การท�ำปุย๋ คอก ผลอีกประการ หนึ่งคือ ท�ำให้คนในกลุ่มผู้มีที่ดินท�ำกินน้อยมีความมั่นคงทางอาหารมากขึ้น ลดปัญหาการทิ้งครอบครัวเพื่อไปเป็นแรงงานต่างถิ่น และประเด็นส� ำคัญ คือ กลุ่มคนที่มีที่ดินท�ำกินน้อยที่เคยเป็นกลุ่มคนชายขอบของชุมชน ไม่มีใคร เชื่อถือได้กลับมาเป็นบุคคลที่อยู่ในชุมชนอย่างมีศักดิ์ศรี คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 121
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความส�ำเร็จ คือแกนน�ำที่สร้างสรรค์กิจกรรมพัฒนา ระบบเกษตรกรรมยั่งยืนโดยการ แนะน�ำ ให้ค�ำปรึกษา และการจัดสรรงบ ประมาณส�ำหรับผูท้ มี่ ปี ญ ั หาทีด่ นิ ท�ำกิน การรวมกลุม่ เพือ่ พัฒนาและช่วยเหลือ กัน มีโครงสร้างการจัดการของกลุ่มในรูปของคณะกรรมการ มีการก�ำหนด ระเบียบและข้อปฏิบัติที่เกิดจากการมีส่วนร่วมของสมาชิก สนับสนุนให้เกิด อาสาสมัครเฉพาะทางที่มีความรู้ ทักษะ และจิตอาสา และแบ่งปันประโยชน์ ที่เกิดขึ้นให้กับคนในชุมชน รวมถึงการใช้พื้นที่สาธารณะของชุมชนให้เป็น ประโยชน์กับคนยากจน โดยการมีข้อตกลงร่วมในการใช้พื้นที่สาธารณะเพื่อ ระบบเกษตรกรรมยัง่ ยืนและการมีอาหารเพือ่ สุขภาวะ โดยสมาชิกหาของป่า ไปจ�ำหน่ายได้ในปริมาณที่ไม่ทำ� ลาย และการมีการรวมกลุ่มท�ำตลาดสีเขียว ทั้งในระดับต�ำบลและระดับจังหวัดที่เป็นช่องทางส�ำคัญในการสร้างรายได้ ให้กับเกษตรกรกลุ่มนี้
122 |
เมนูที่ ๕
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมเพื่ออาหารปลอดภัย ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมเพือ่ อาหารปลอดภัย นีม้ งุ่ เน้นกระบวนการจัดการและน�ำใช้ทรัพยากรธรรมชาติทมี่ อี ยูใ่ นชุมชนให้ เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น การปลูกพืชอาหารเพิ่มในป่าชุมชน การรักษาแหล่ง น�้ำสาธารณะเพื่อให้มีสัตว์น�้ำเพิ่มขึ้น เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อสร้างหรือเพิ่มอาหาร ปลอดภัยให้กับชุมชน
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 123
กิจกรรมที่ ๕.๑ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ฐานเรียนรู้ของกิจกรรมที่ ๕.๑ ฐานเรียนรู้ที่ ๑ กลุ่มจัดการน�้ำ ต�ำบลชากไทย อ�ำเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี
วิทยากร นายไพบูลย์ สุมิตร
ต�ำบลชากไทย อ�ำเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี มีพื้นที่จ�ำนวน ๕๔,๑๐๐ ไร่ หรือประมาณ ๘๖.๕๖ ตารางกิโลเมตร พืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่มสี ภาพเป็น ทีร่ าบลุม่ ลูกคลืน่ ลาดชัน และทีร่ าบเชิงเขา มีแม่นำ�้ จันทบุรไี หลผ่าน ประชากร ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการท�ำสวนผลไม้ พืน้ ทีเ่ พาะปลูกของต�ำบลชากไทยมี ทั้งหมด ๒๑,๙๘๒ ไร่ เป็นสวนทุเรียน ๘,๓๔๖ ไร่ สวนเงาะ ๕,๐๐๕ ไร่ สวน มังคุด ๔,๐๓๕ ไร่ ยางพารา ๒,๔๒๖ ไร่ สวนลองกอง ๙๒๒ ไร่ อื่นๆ ๑,๒๔๘ ไร่ ประชากรส่วนใหญ่มีที่ดินในการประกอบอาชีพของตนเอง ในการท�ำสวนไม้ผลนั้น น�้ำมีความจ�ำเป็นมากจากพื้นที่เพาะปลูก จ� ำนวน ๒๑,๙๘๒ ไร่ ข องต� ำ บลชากไทยนั้ น มี ค วามต้องการใช้น�้ ำเฉลี่ย ๖๐๐-๘๐๐ ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ตอ่ ปี คิดเป็น ๑๗,๕๘๕,๖๐๐ ลูกบาศก์เมตร/ ปี ซึง่ เป็นปริมาณทีส่ งู มาก โดยเฉพาะในฤดูแล้งช่วงระหว่างเดือนพฤศจิกายน ถึงเมษายน ในบางปีเกษตรกรต้องไปซื้อน�้ำมาจากแม่น�้ำจันทบุรีเพื่อใช้ใน การเกษตรมาท�ำให้เสียค่าใช้จา่ ยสูง หรือไม่กเ็ กิดการแย่งชิงการใช้นำ�้ ระหว่าง เกษตรกรกันเอง นายวิเชียร กลิ่นขจร อดีตก�ำนันต�ำบลชากไทย มองเห็นปัญหาและ ต้องการแก้ไขสถานการณ์ทเี่ กิดขึน้ จึงได้จดั ท�ำโครงการบริหารการจัดการน�ำ้ 124 |
ของต�ำบลชากไทยและขอสนับสนุนงบประมาณจากกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพื่อบริหารจัดการน�้ำ โดยมีกลุ่มบริหารน�้ำดิบต�ำบลชากไทย และกลุ่มจัดการน�้ำเพื่อการเกษตร หมู่ ๔ บ้านชากไทย ส่งผลให้ชุมชนใน ต�ำบลชากไทยกลับมาสามัคคีและเอื้อเฝื้อเผื่อแผ่กันอีกครั้ง ภายใต้แนวคิด การจัดการน�้ำแบบ “สร้าง กระจาย ให้เท่าเทียม” ทัง้ นีแ้ ต่ละกลไกได้มกี ารบริหารเพือ่ ด�ำเนินกิจกรรมโครงการ คือ กลุม่ มีคณะกรรมการบริหารกลุ่มน�้ำดิบ ต�ำบลชากไทยมีคณะกรรมการ ๗ คน ซึ่งคัดเลือกจากการเสนอชื่อสมาชิกในกลุ่มและต้องเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติ เหมาะสม มีประสบการณ์เป็นทีย่ อมรับของสมาชิก และสมาชิกทีเ่ ข้าร่วมกลุม่ ต้องช�ำระค่าสมัครสมาชิกเมื่อแรกเข้าจ�ำนวน ๕๐,๐๐๐ บาทต่อ ๑ ประตูน�้ำ และกลุ่มบริหารจัดการน�้ำเพื่อการเกษตร หมู่ ๔ มีคณะกรรมการ จ�ำนวน ๕ คน โดยมีบทบาทในการวางแผนเส้นทางการจัดส่งน�้ำเพื่อการเกษตรให้กับ กลุ่มสมาชิก ทั้งนี้สมาชิกที่เข้าร่วมกลุ่มนั้นต้องมีพื้นที่การเกษตรอยู่ภายใน พื้นที่ต�ำบลชากไทยและต้องช�ำระค่าสมัครสมาชิกกลุ่มบริหารจัดการน�ำ้ แรก เข้า จ�ำนวน ๖๐๐ บาท/๑ ประตูน�้ำ ในการจั ด การบริ ห ารกลุ ่ ม น�้ ำ ดิ บ และกลุ ่ ม บริ ห ารจั ด การน�้ ำ เพื่ อ การเกษตรนัน้ เมือ่ ถึงฤดูแล้งและสมาชิกต้องการใช้น�้ำ คณะกรรมการบริหาร กลุ่มจะจัดประชุมวางแผนเพื่อการเปิดส่งน�้ำ และจะมีคนที่เข้ามารับผิดชอบ ควบคุมการเปิด-ปิดน�้ำให้กับสมาชิกโดยมีค่าตอบแทน หากเป็นกลุ่มน�ำ้ ดิบ ค่าตอบแทน ๘,๐๐๐ บาทต่อเดือนโดยจะเปิดส่งน�ำ้ ให้สมาชิกคนละ ๘ ชัว่ โมง ต่อครั้ง นอกจากนี้สมาชิกต้องจ่ายค่าไฟและค่าบริการคนละจ�ำนวน ๘,๐๐๐ บาทต่อปี
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 125
ส� ำ หรั บ กลุ ่ ม บริ ห ารจั ด การน�้ ำ เพื่ อ การเกษตร หมู ่ ๔ นั้ น จะมี ค่าตอบแทนส�ำหรับผู้เปิด-ปิดน�้ำจ�ำนวน ๒๐๐ บาทต่อวันและจะเปิดน�้ำให้ แก่สมาชิกให้ครั้งละ ๔ ชั่วโมง และสมาชิกต้องจ่ายค่าไฟตามการใช้ในแต่ละ เดือน โดยจะเอาจ�ำนวนมิเตอร์ใช้หารด้วยจ�ำนวนสมาชิก ในกรณีที่เกิดอุปกรณ์ในการส่งน�้ำเสียหายสมาชิกทุกคนจะช่วยกัน รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการดูแลซ่อมแซมอุปกรณ์ที่เกิดขึ้น ผลการด�ำเนินงานทีเ่ กิดขึน้ สามารถแก้ปญ ั หาการขาดแคลนน�ำ้ ในช่วง แล้งได้ ลดต้นทุนจากเดิมทีต่ อ้ งไปซือ้ น�ำ้ มาจากแม่นำ�้ จันทบุรี และการปัญหา การแย่งชิงการใช้น�้ำของคนในชุมชน บทเรียนส�ำคัญในการบริหารจัดการน�ำ้ เพือ่ การเกษตรนัน้ พบว่า ในช่วงแรก มีสมาชิกบางรายไม่ทำ� ตามข้อตกลงทีใ่ ห้สมาชิกใช้เครือ่ งปัน่ น�ำ้ ของส่วนร่วม และ หมุนเวียนจ่ายน�้ำให้สมาชิกกลุ่มครั้งละ ๔ ชั่วโมง มีการลักลอบเปิดน�ำ้ เกิน ระยะเวลาที่ก�ำหนดท�ำให้การเปิดปิดน�้ำไม่เป็นไปตามแผน ดังนั้นการจ้าง บุคคลภายนอกเข้ามาเพื่อควบคุมเปิดปิดน�้ำจึงสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้ ปัจจัยที่ท�ำให้กลุ่มบริหารจัดการน�้ำประสบความส�ำเร็จคือ ๑) ความ ร่วมมือกันของคนในชุมชนเพือ่ หาทางออกร่วมกัน ๒) ชุมชนได้มกี ารประสาน ความร่วมมือกับหน่วยงานรัฐภายนอกเพือ่ ด�ำเนินกิจกรรม เช่น อบจ.จันทบุรี กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๓) สมาชิกที่ใช้น�้ำเคารพกฎกติกาและ ปฏิบัติตามข้อตกลงร่วมอย่างเคร่งครัด แผนในการด�ำเนินงานต่อไปของคณะกรรมการบริหาร คือต้องการ ขยายท่อน�้ำเพื่อส่งน�้ำการเกษตรให้ครอบคลุมทุกพื้นที่และจัดท� ำข้อมูล ปริมาณการใช้นำ�้ และการลดต้นทุนการซือ้ น�ำ้ ในการเกษตรของต�ำบลชากไทย 126 |
ฐานเรียนรู้ที่ ๒ การจัดโซนพื้นที่สีเขียวต�ำบลแม่ทา อ�ำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่
วิทยากร นายณรงค์เดช บุญมาอูป
ตั้งแต่ปี ๒๕๓๐ ชุมชนแม่ทาได้มีการรวมตัวกันเพื่อแก้ปัญหาที่เกิด ขึ้นทั้งปัญหาที่ดินท�ำกินในเขตป่าและการท�ำการเกษตร เช่น ข้าวไม่พอกิน ราคาผลผลิตตกต�่ำ โดยการผลิตพืชผักอาหารปลอดภัยและซื้อขายกันเองใน ชุมชน และเกิดการรวมตัวเป็นกลุม่ เครือข่ายเกษตรกรรมยัง่ ยืน กลุม่ เครือข่าย ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ในช่วงปี ๒๕๔๖-๒๕๔๘ ได้มกี ารรวมตัว ของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรรมยั่งยืนและเครือข่ายทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมเข้าด้วยกันและตั้งเป็นสถาบันพัฒนาทรัพยากรและเกษตรกรรม ยั่งยืน ปี ๒๕๔๙ เป็นต้นมามีการขุดลอกล�ำน�ำ้ แม่ทาขึน้ ตลอดทัง้ สายรวม ๑๒ กิโลเมตร ท�ำให้เกิดน�ำ้ เซาะตลิง่ พังท�ำลายนาข้าวเสียหายเป็นจ�ำนวนมาก และ มีน�้ำท่วมซ�้ำซากต่อเนื่องและท�ำให้องค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่ทาต้องสิ้น เปลืองงบประมาณในการชดเชยความเสียหายให้กับผู้ได้รับผลกระทบ รวม ทัง้ ปัญหาการผลิตพืชพาณิชย์ทใี่ ช้สารเคมีบริเวณต้นน�้ำและทีล่ าดชัน เมือ่ ฝน ตกสารเคมีถกู ชะล้างลงมาท�ำให้การผลิตอาหารทีป่ ลอดภัยของชุมชนต้องปน เปื้อนสารเคมี รวมทั้งมีปัญหามลภาวะทั้งจากกลิ่นและการปล่อยน�้ำเสียของ ฟาร์มเลี้ยงวัวนมและเลี้ยงหมูลงสู่แม่น�้ำ ล�ำห้วย ปั ญ หาเรื้ อ รั ง มาจนในปี ๒๕๕๔ คณะกรรมการสถาบั น พั ฒ นา ทรัพยากรและเกษตรกรรมยั่งยืนได้หาแนวทางการจัดการปัญหาร่วมกัน
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 127
โดยใช้มติของท้องถิ่นในการจัดการพื้นที่ให้เป็นระบบ เช่น การจัดการที่ดิน อย่างยั่งยืน การแก้ปัญหาที่ดินหลุดมือ การพัฒนาพื้นที่ให้เกิดประโยชน์ สูงสุดด้วยการท�ำเกษตรกรรมยั่งยืน ส่งเสริมการปลูกป่าครัวเรือนในพื้นที่ ว่างเปล่า ฟื้นฟูระบบนิเวศล�ำน�้ำ ทั้งนี้ได้ค�ำนึงถึงความสอดคล้องกับวิถีชีวิต เป็นมิตรต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมเน้นการมีสว่ นร่วมของคนและ ทุกภาคส่วนในชุมชน จนเป็นที่มาของค�ำว่า “ผังต�ำบล-ผังชีวิตคนแม่ทา” ผลการด�ำเนินงานที่เกิดขึ้น สามารถแก้ปัญหามลภาวะของเสียจาก ฟาร์มปศุสัตว์ได้โดยการสนับสนุนการท�ำก๊าซชีวภาพ ในพื้นที่ลาดชันและ ต้นน�ำ้ สนับสนุนปลูกไม้ใช้สอยเพือ่ ป้องกันการปนเปือ้ นสารเคมีทางการเกษตร และการพังทลายหน้าดิน
กิจกรรมที่ ๕.๒ การมีกฎ ระเบียบ กติกา หรือข้อตกลงร่วม ในการลดมลภาวะและพิษภัยจากสารเคมีทางการเกษตร ฐานเรียนรู้ของกิจกรรมที่ ๕.๒ ฐานเรียนรู้ที่ ๓ การประกาศลดการใช้สารเคมีการเกษตร ต�ำบลไทรย้อย อ�ำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก
วิทยากร นายพิชัย ไผ่พงษ์
เมือ่ ปลายปี ๒๕๔๙ เทศบาลต�ำบลไทรย้อย มีการจัดตัง้ กองทุนสุขภาพ ขึ้นและต่อมาเดือนสิงหาคมปี ๒๕๕๐ ต�ำบลไทรย้อยได้ถูกยกให้เป็นต�ำบล น�ำร่องเรือ่ งกองทุนสุขภาพ ซึง่ ในขณะนัน้ คณะกรรมการมีแนวคิดเรือ่ งกองทุน สวัสดิการกับกองทุนสุขภาพไปด้วยกันจึงได้ใช้คณะกรรมการชุดเดียวกันเพือ่ ด�ำเนินการร่วมกัน การด�ำเนินงานมีการจัดตั้งโครงการตลาดนัดสุขภาพภายใต้กองทุน สุขภาพเพื่อดูแลปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน มีการตรวจเช็คสุขภาพและ ตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร ซึ่งพบว่ามีสารเคมีตกค้างใน กระแสเลือดเกินครึ่ง ต่อมา นายสมเกียรติ เกรียงไกรอนันต์ นายกเทศมนตรี ไทรย้อย ได้มกี ารตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดให้กบั ประชนชนทุกกลุม่ รวมถึง เยาวชนในต�ำบล ซึ่งก็พบว่า มีสารเคมีการเกษตรตกค้างในเลือดปริมาณสูง จึงสันนิษฐานว่า เกิดจากการใช้สารเคมีการเกษตรมายาวนานและพฤติกรรม การบริโภคอาหาร
128 |
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 129
เมื่อเป็นเช่นนี้คนในชุมชนจึงมีข้อตกลงร่วมและประกาศให้เป็นวาระ ต�ำบลเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วน โดยการลดการใช้สารเคมี ภายใต้ “โครงการพาใจกลับบ้าน” ซึง่ หมายถึงการทีเ่ อาใจมาดูแลร่างกาย ซึง่ ร่างกาย เปรียบเสมือนบ้านทีถ่ กู ปล่อยละเลย ขาดการดูแลเอาใจใส่ และถูกท�ำลายด้วย การสูบบุหรี่ ดืม่ สุรา รวมทัง้ การใช้สารเคมีในการเกษตร ทัง้ นีไ้ ด้มกี ารประสาน ความร่วมมือจากหลายภาคี เช่น ชมรมผู้สูงอายุ ชมรมผู้พิการ ชมรมเยาวชน ชมรม อสม. ผูน้ �ำท้องถิน่ ในแต่ละหมูบ่ า้ น โรงเรียนระดับประถมและมัธยมใน ต�ำบล กองทุนสุขภาพ และกองทุนสวัสดิการ ปลายปี ๒๕๕๔ หลังประกาศการลดใช้สารเคมีการเกษตร โดยการ ประชาสัมพันธ์ และจัดนิทรรศการ โดยมีประชาชนเข้าร่วมงานประมาณ ๒,๐๐๐ คน จากนั้นได้มีกิจกรรมมากมายเพื่อสนับสนุนแนวคิดดังกล่าว เช่น การศึกษาดูงานแพทย์ทางเลือกของหมอเขียว โครงการปลูกผักกินเอง โครงการขยายแหล่งเพาะพันธุ์ปลา โครงการน�้ำยาอเนกประสงค์ เพื่อลด การใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นสารเคมี การเพาะเห็ดนางฟ้าปลอดสารพิษ โครงการ ผลิตแคปซูลรางจืด น�้ำสมุนไพรฤทธิ์เย็น และผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด เป็นต้น
ปัจจัยที่สนับสนุนการด�ำเนินงานให้ส�ำเร็จ คือ ผู้น�ำให้ความส�ำคัญ รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ เน้นการให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพของ ตนเองเป็นหลัก รวมทั้งคนในชุมชนให้ความร่วมมือในการลดการใช้สารเคมี ตระหนักในพิษภัยของสารเคมีการเกษตร และใส่ใจสุขภาพมากขึ้น และการ สร้างความร่วมมือกับภาคส่วนต่างๆ ของต�ำบล ได้แก่ ชาวบ้าน อปท. รพ.สต และอสม. อุปสรรคในการด�ำเนินงาน พบว่า จากการรณรงค์และการประชาสัมพันธ์ การลดการใช้สารเคมี ชาวบ้านบางส่วนยังขาดการมีส่วนร่วม ในการท�ำการ เกษตรทีล่ ดการใช้สารเคมี ซึง่ แนวทางในอนาคตจึงจ�ำเป็นต้องให้การสนับสนุน อย่างต่อเนื่อง ทั้งในการประชาสัมพันธ์โครงการที่เกี่ยวกับการลดการใช้ สารเคมี รวมทั้งการตรวจร่างกายคนในชุมชนอย่างสม�่ำเสมอ
ผลทีเ่ กิดขึน้ จากรณรงค์และด�ำเนินกิจกรรมร่วมกันของคนในต�ำบลไทร ย้อย ท�ำให้ชาวบ้านหันมาท�ำเกษตรปลอดสารเคมีเพิ่มขึ้น เกิดความห่วงใย และดูแลสุขภาพมากขึ้น ปรับพฤติกรรมการใช้สารเคมี มีการใช้สมุนไพรใน การดูแลสุขภาพมากขึน้ เช่น การพัฒนาผลิตภัณฑ์น�้ำดืม่ สมุนไพรป้องกันโรค ต่างๆ นอกจากนี้ มีการเพาะ และแจกเมล็ดพันธุพ์ นื้ บ้านทีท่ นต่อโรคและแมลง เพื่อลดการใช้สารเคมีให้กับเกษตรกรอีกด้วย
130 |
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 131
ฐานเรียนรู้ที่ ๔ ธรรมนูญสุขภาวะชุมชน ต�ำบลท่าข้าม อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
วิทยากร นายสินธพ อินทรัตน์
องค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าข้าม อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ได้ จัดท�ำยุทธศาสตร์และแผนพัฒนาต�ำบล โดยน้อมน�ำเอาหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงมาเป็นแนวทางในการพัฒนาต�ำบลมาโดยตลอด และหนึง่ ในประเด็น ยุทธศาสตร์ คือเรือ่ งเกษตรกรรมยัง่ ยืน ประกอบกับในช่วงปี ๒๕๔๓ องค์การ บริหารส่วนต�ำบลท่าข้ามได้จดั ท�ำแผนแม่บทชุมชน โดยใช้การจัดท�ำบัญชีครัว เรือนเป็นเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลแล้วน�ำมาวิเคราะห์ให้เห็นปัญหาและ ร่วมหาทางแก้ปัญหาของชุมชน การน�ำยุทธศาสตร์และแผนแม่บทชุมชนมาใช้เป็นแนวทางการแก้ ปัญหาได้เกิดเป็นรูปแบบทีค่ นในชุมชนและเครือข่ายเรียกว่า“ท่าข้ามโมเดล” ซึ่งประกอบด้วย ๙ ระบบ และ ๑ ใน ๙ คือ ระบบการจัดการต�ำบล ซึ่งมีหัวใจ ส�ำคัญคือ การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม ซึ่งคนในชุมชนต้องร่วมคิด ร่วม ท�ำ และร่วมเป็นเจ้าของ โดยทัง้ ๙ ระบบใน“ท่าข้ามโมเดล”จะมีผรู้ บั ผิดชอบ ชัดเจน มีแหล่งเรียนรูท้ คี่ นในชุมชนและเครือข่ายได้เรียนรูแ้ ละถ่ายทอดต่อได้ ต่อมาในปี ๒๕๔๙ มีนโยบายสาธารณะในเรื่องของการดูแลสุขภาพ โดยชุมชนจึงท�ำให้มเี ครือข่ายอืน่ ๆ มาร่วมแลกเปลีย่ นเรียนรูเ้ ป็นจ�ำนวนมาก ซึง่ ท�ำให้ อบต.ท่าข้ามได้พฒ ั นาและปรับปรุงตัวเองไปพร้อมๆ กัน เกิดค�ำถาม จากชุมชนว่า เมื่อเพื่อนเครือข่ายได้มาดูเราแล้ว เราเคยย้อนดูตัวเองหรือไม่ เป็นที่มาของการก�ำหนดกฎ กติกา ในการดูแลชุมชนที่เจาะลึกลงสู่ครัวเรือน โดยมีเป้าหมายที่คนในชุมชนอยู่เย็นเป็นสุขและเพื่อพัฒนาสู่ต�ำบลสุขภาวะ ซึ่งเรียกว่า ธรรมนูญสุขภาวะชุมชนต�ำบลท่าข้าม 132 |
การสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพภายใต้ บ ริ บ ทของพื้ น ที่ ท ่ า ข้ า ม การสร้ า ง กระบวนการเรียนรู้วิถีชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ถือว่าเป็น รากฐานส�ำคัญในการขับเคลื่อนสู่ต�ำบลสุขภาวะ เพื่อให้ชุมชนได้ตระหนัก ร่วมคิด ร่วมท�ำ สูค่ วามเป็นเครือข่าย และเกิดการรวมกลุม่ เช่น ชมรมแอโรบิค ชมรม อสม. ศูนย์พิทักษ์สิทธิผู้บริโภค กลุ่มเกษตรกรรมยั่งยืน ชมรมผู้สูงอายุ ฯลฯ ซึง่ ล้วนเป็นพลังในการขับเคลือ่ นให้ชาวต�ำบลท่าข้ามห่างไกลจากปัญหา สุขภาพ ต่อมาได้เกิดคณะท�ำงานขึน้ มา ๑ ชุด เรียกว่า ธรรมนูญสุขภาวะชุมชน ต�ำบลท่าข้าม เพื่อศึกษาแนวทางและก�ำหนดกติกาให้คนในชุมชนปฏิบัติ อันประกอบด้วยตัวแทน ๕ ภาคส่วน คือ ๑) ตัวแทนภาคประชาชน ๒) ตัวแทน นักวิชาการ ๓) ตัวแทนก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ๔) ตัวแทนสมาชิก อบต. ๕) ที่ ปรึกษา และมีการแบ่งการท�ำงานออกเป็น ๕ ฝ่าย คือ ๑) ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ๒) ฝ่ายเก็บรวบรวมข้อมูล ๓) ฝ่ายวิเคราะห์ข้อมูลและยกร่างธรรมนูญ ๔) ฝ่ายน�ำธรรมนูญไปสู่การปฏิบัติ และ ๕) ฝ่ายติดตามการประเมินผล ตลอดระยะเวลาตลอดระยะเวลาหลายเดือนที่ดำ� เนินการยกร่าง มี การประชุมปรึกษาหารือ เพื่อก�ำหนดกติกาที่สามารถปฏิบัติได้จริง เมื่อสรุป ได้แล้วก็น�ำไปสู่การเปิดเวทีประชาพิจารณ์ ๒ ครั้ง เพื่อน�ำมาปรับปรุง ที่สุด ในวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๕๖ มีการประกาศใช้ธรรมนูญสุขภาวะชุมชนต�ำบล ท่าข้าม ประกอบด้วยเนื้อหา ๖ หมวด จ�ำนวน ๔๐ ข้อ ปัจจัยที่ท�ำให้เกิดธรรมนูญสุขภาวะชุมชนต�ำบลท่าข้าม คือ ความ ร่วมมือ ร่วมใจ ร่วมคิด ร่วมท�ำ ของคนในชุมชน แนวทางข้างหน้าคือ การขับ เคลื่อนธรรมนูญเพื่อน�ำไปสู่การปฏิบัติให้เกิดขึ้นอย่างแท้จริง คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 133
บันทึก
134 |
บันทึก
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 135
บันทึก
136 |
บันทึก
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 137
บันทึก
138 |
บันทึก
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 139
บันทึก
140 |
บันทึก
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 141
บันทึก
142 |
บันทึก
คู่มือด�ำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
| 143
บันทึก
144 |