แนวทางการส่งเสริม การพัฒนาระบบการดูแล เด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริม การเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน โดยชุมชนท้องถิ่น
ขนิษฐา นันทบุตร และ คณะ
แนวทางการส่งเสริมการพัฒนาระบบการดูแล เด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น พิมพ์ครั้งที่ ๑
กันยายน ๒๕๕๙ จ�ำนวน ๓,๐๐๐ เล่ม
บรรณาธิการ ขนิษฐา นันทบุตร กองบรรณาธิการ พีรพงษ์ บุญสวัสดิ์กุลชัย สมปรารถนา ดาผา พัชรินทร์ พูลทวี อรุณณี ใจเที่ยง รัตน์ดาวรรณ คลังกลาง นิตยา พันธ์งาม จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ส�ำนักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (สน.๓) อาคารศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ เลขที่ ๙๙ ซอยงามดูพลี แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ ๑๐๑๒๐ โทรศัพท์ ๐ ๒ ๓๔๓ ๑๕๐๐ www.Thaihealth.or.th ศูนย์วิจยั และพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (ศวช.) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๐๐๒ โทรศัพท์/แฟกซ์ ๐ ๔๓ ๒๐ ๒๑๔๒
ค�ำน�ำ การส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการส�ำหรับเด็ก ช่วงอายุ ตั้งแต่เกิดจนกระทั่ง ๕ ปี ให้ มีความสมบูรณ์ครอบคลุมด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และ สติปญ ั ญา ต้องการการจัดการทีส่ ำ� คัญหลาย ส่วนเช่น การส่งเสริมพัฒนาการทุกด้าน การเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรค การดูแลเมื่อเจ็บป่วย เป็นต้น โดยใช้ศักยภาพในการจัดการหลายด้าน คือ การจัดการเรื่องอาหาร การจัดการหลักสูตรและ การเรียนรูเ้ พือ่ ส่งเสริมพัฒนาการด้านต่างๆ การจัดการด้านการดูแลสุขภาพ และการจัดการสิง่ แวดล้อม เพื่อควบคุม ป้องกัน และ เฝ้าระวังโรคติดต่อและสร้างการเรียนรู้ รวมทั้งการจัดการข้อมูลเด็กและ ศักยภาพของชุมชนท้องถิ่นในการจัดการการดูแลเด็กให้ครอบคลุม เป็นต้น เหล่านี้ต้องมีการท�ำงาน เชื่อมต่อกันของหลายองค์กร ตั้งแต่ ครอบครัว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล องค์กรชุมชน สถานศึกษา ทัง้ ทีเ่ ป็นองค์กรในพืน้ ทีแ่ ละองค์กรจากภายนอก โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ซึง่ เป็น องค์กรที่มีภารกิจโดยตรงในการดูแลเด็กเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนให้องค์กรชุมชน ท้องที่ หน่วยงานอืน่ ในพืน้ ทีไ่ ด้รว่ มกันสร้างงานและกิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมสุขภาวะเด็กกลุม่ นีไ้ ด้อย่างครอบคลุม ต่อไป ทัง้ นีเ้ ป็นการพัฒนาทีเ่ น้นการน�ำใช้ทนุ ทางสังคมและศักยภาพของพืน้ ทีเ่ ป็นส�ำคัญในการจัดการ กับปัญหาและความต้องการของประชากรกลุ่มเด็กปฐมวัยและเด็กและเยาวชน ส่วนการพัฒนา ระบบนั้นเป็นการพัฒนาทุกด้านที่เกี่ยวกับคุณภาพชีวิตของประชากรส�ำคัญเหล่านี้ ตั้งแต่ด้านสังคม ซึ่งเน้นการช่วยเหลือเกื้อกูลกันของคนในชุมชน ด้านสภาพแวดล้อมที่เน้นการจัดการสิ่งแวดล้อมทาง กายภาพ ขยะ และทรัพยากรธรรมชาติให้เอื้อต่อการด�ำเนินชีวิตและการเรียนรู้ ด้านเศรษฐกิจเน้น การส่งเสริมการพึ่งตนเองให้ได้มากที่สุด ด้วยการเพิ่มการออม การลดค่าใช้จ่าย และการเพิ่มรายได้ ทั้งในระดับบุคคล ครัวเรือน และกลุ่มองค์กรต่างๆ รวมทั้งด้านการดูแลสุขภาพ ทั้งนี้เป็นไปตามบริบท ปัญหาและข้อจ�ำกัดพร้อมทั้งทุนทางสังคมและศักยภาพของชุมชนท้องถิ่น
แนวทางการส่งเสริมการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย และระบบการส่งเสริมการเรียนรูข้ อง เด็กและเยาวชน จัดท�ำขึน้ เพือ่ ให้เครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิน่ น่าอยูไ่ ด้ใช้สร้างการเรียนรู้ จุดประกาย ความคิดสร้างสรรค์ เกิดจินตนาการ จนสามารถน�ำไปขับเคลื่อนทุนทางสังคมให้เกิดงานและกิจกรรม รวมทั้งนวัตกรรมในพื้นที่ของตนได้ สาระส�ำคัญของเอกสารประกอบด้วย ส่วนที่ ๑ บทน�ำ ส่วนที่ ๒ รูปธรรมการด�ำเนินงานการ พัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น ส่วนที่ ๓ รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบ การส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น และส่วนที่ ๔ รูปธรรมการด�ำเนินงาน ส�ำหรับการพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และ การพัฒนายุววิจัย โดยชุมชนท้องถิ่น
ขนิษฐา นันทบุตร และคณะ กันยายน ๒๕๕๙
สารบัญ ส่วนที่ ๑ บทน�ำ
๑๕
ส่วนที่ ๒ รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแล เด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
๕๕
๒.๑ พื้นที่การพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
๕๘
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กกับการดูแลสุขภาวะเด็กปฐมวัยทุกมิติ องค์การบริหารส่วนต�ำบลแก้งแก อ�ำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม บทบาทอาสาสมัครในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
๕๘
องค์การบริหารส่วนต�ำบลไหล่ทุ่ง อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี
การจัดการอาหารส�ำหรับเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
๘๗
การส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กตามบริบทสังคมวัฒนธรรมของพื้นที่โดยชุมชนท้องถิ่น
๙๙
องค์การบริหารส่วนต�ำบลวังดิน อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์
๗๒
เทศบาลต�ำบลเหล่าใหญ่ อ�ำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
การส�ำรวจสุขภาพและป้องกันโรคของเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
องค์การบริหารส่วนต�ำบลหินลาด อ�ำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก
๑๑๔
การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้และเป็นพื้นที่สร้างสรรค์ส�ำหรับเด็กปฐมวัย
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเสม็ดใต้ อ�ำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา
๑๒๙
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่น
องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก อ�ำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
๑๔๓
องค์การบริหารส่วนต�ำบลผาสิงห์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน
การส่งเสริมพัฒนาการ
๑๕๘
การส่งเสริมสุขภาพและการดูแลเพื่อป้องกันโรค การเจ็บป่วย อุบัติเหตุ
เทศบาลต�ำบลเชียงเคี่ยน อ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
๑๗๒
การจัดการอาหารเพื่อสุขภาพเด็ก
องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าสัก อ�ำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา
๑๘๗
การจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพเด็กและการเรียนรู้ของเด็ก
๑๙๙
องค์การบริหารส่วนต�ำบลสถาน อ�ำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน
ส่วนที่ ๓ รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ ๒๑๗ ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
เยาวชนร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่
เทศบาลต�ำบลบางไผ่ อ�ำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร
๒๑๙
การส่งเสริมการเรียนรู้การจัดการตนเอง
๒๓๔
องค์การบริหารส่วนต�ำบลตากตก อ�ำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก
เทศบาลต�ำบลพุเตย อ�ำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบุรี
การส่งเสริมการพัฒนาอาชีพร่วมสร้างเศรษฐกิจพอเพียง
๒๕๑
การสร้างเยาวชนอาสา
องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนแก้ว อ�ำเภอแม่รมิ จังหวัดเชียงใหม่
๒๖๗
การพัฒนาเยาวชนนักรณรงค์
องค์การบริหารส่วนต�ำบลมหาชัย อ�ำเภอไทรงาม จังหวัดก�ำแพงเพชร
๒๙๐
การสร้างวินัยการออม
๓๑๑
องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียน อ�ำเภอศรีบญ ุ เรือง จังหวัดหนองบัวล�ำพู
ส่วนที่ ๔ รูปธรรมวิธีการท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
๓๒๗
๔.๑ รูปธรรมการด�ำเนินงานของการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
องค์การบริหารส่วนต�ำบลวังดิน อ�ำเภอเมือง จังหวัด ฉะเชิงเทรา
๓๓๑
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเสม็ดใต้ อ�ำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา
๓๔๑
องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก อ�ำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
๓๕๓
เทศบาลต�ำบลด่านช้าง อ�ำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี
๓๖๖
องค์การบริหารส่วนต�ำบลไหล่ทุ่ง อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี
๓๘๒
องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาเชือก อ�ำเภอบรบือ จังหวัดกาฬสินธุ์
๓๙๔
องค์การบริหารส่วนต�ำบลสันทราย อ�ำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่
๔๐๘
องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองกุงใหญ่ อ�ำเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น
๔๒๒
๔.๒ รูปธรรมการด�ำเนินงานของการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชน หลักสูตรยุววิจัย
เทศบาลต�ำบลเขมราฐ อ�ำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี
๔๓๙
สารบัญตาราง ตารางที่ ๑ พื้นที่รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบ การดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
๕๗
ตารางที่ ๒ พื้นที่รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบ การส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๒๑๘
ตารางที่ ๓ การน�ำใช้ทุนทางสังคมและรูปธรรม
๒๗๗
ตารางที่ ๔ พื้นที่รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย การส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน และการพัฒนาระบบ การดูแลผู้สูงอายุ
๓๒๙
สารบัญตาราง ภาพที่ ๑ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้านระบบการดูแลเด็กปฐมวัย
๖๙
ภาพที่ ๒ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัย
๗๐
ภาพที่ ๓ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กกับการดูแลสุขภาวะเด็กปฐมวัยทุกมิติ
๗๑
ภาพที่ ๔ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้านระบบการดูแลเด็กปฐมวัย
๘๔
ภาพที่ ๕ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัย
๘๕
ภาพที่ ๖ บทบาทอาสาสมัครในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
๘๖
ภาพที่ ๗ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้านระบบการดูแลเด็กปฐมวัย
๙๖
ภาพที่ ๘ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
๙๗
ภาพที่ ๙ การจัดการอาหารส�ำหรับเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
๙๘
โดย ชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลแก้งแก อ�ำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม
โดย ชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลแก้งแก อ�ำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม องค์การบริหารส่วนต�ำบลแก้งแก อ�ำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม โดย ชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลไหล่ทุ่ง อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี โดย ชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลไหล่ทุ่ง อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี องค์การบริหารส่วนต�ำบลไหล่ทุ่ง อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี โดย ชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลวังดิน อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ องค์การบริหารส่วนต�ำบลวังดิน อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ องค์การบริหารส่วนต�ำบลวังดิน อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์
ภาพที่ ๑๐ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้านระบบการดูแลเด็กปฐมวัย
๑๑๑
ภาพที่ ๑๑ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
๑๑๒
ภาพที่ ๑๒ การส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กตามบริบทสังคมวัฒนธรรมของพื้นที่
๑๑๓
โดย ชุมชนท้องถิ่น เทศบาลต�ำบลเหล่าใหญ่ อ�ำเภอกุฉนิ ารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เทศบาลต�ำบลเหล่าใหญ่ อ�ำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ โดย ชุมชนท้องถิ่น เทศบาลต�ำบลเหล่าใหญ่ อ�ำเภอกุฉนิ ารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
ภาพที่ ๑๓ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้านระบบการดูแลเด็กปฐมวัย
๑๒๖
ภาพที่ ๑๔ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัย
๑๒๗
ภาพที่ ๑๕ การส�ำรวจสุขภาพและป้องกันโรคของเด็กปฐมวัย โดย ชุมชนท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนต�ำบลหินลาด อ�ำเภอวัดโบสถ์
๑๒๘
ภาพที่ ๑๖ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้านระบบการดูแลเด็กปฐมวัย โดย ชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลเสม็ดใต้ อ�ำเภอบางคล้า
๑๔๐
ภาพที่ ๑๗ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัย โดย ชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลเสม็ดใต้ อ�ำเภอบางคล้า
๑๔๑
ภาพที่ ๑๘ การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้และเป็นพื้นที่สร้างสรรค์ ส�ำหรับเด็กปฐมวัย
๑๔๒
ภาพที่ ๑๙ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้านระบบการดูแลเด็กปฐมวัย โดย ชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก อ�ำเภอเขื่องใน
๑๕๕
ภาพที่ ๒๐ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัย โดย ชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก อ�ำเภอเขื่องใน
๑๕๖
ภาพที่ ๒๑ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่น
๑๕๗
ภาพที่ ๒๒ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้านระบบการดูแลเด็กปฐมวัย
๑๖๙
ภาพที่ ๒๓ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัย
๑๗๐
ภาพที่ ๒๔ การส่งเสริมพัฒนาการ
๑๗๑
โดย ชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลหินลาด อ�ำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก โดย ชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลหินลาด อ�ำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก
จังหวัดพิษณุโลก
จังหวัดฉะเชิงเทรา
จังหวัดฉะเชิงเทรา
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเสม็ดใต้ อ�ำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา
จังหวัดอุบลราชธานี
จังหวัดอุบลราชธานี
องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก อ�ำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี โดย ชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลผาสิงห์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน โดย ชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลผาสิงห์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน องค์การบริหารส่วนต�ำบลผาสิงห์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน
ภาพที่ ๒๕ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้านระบบการดูแลเด็กปฐมวัย
๑๘๔
ภาพที่ ๒๖ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัย
๑๘๕
โดย ชุมชนท้องถิ่น เทศบาลต�ำบลเชียงเคี่ยน อ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย โดย ชุมชนท้องถิ่น เทศบาลต�ำบลเชียงเคี่ยน อ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
ภาพที่ ๒๗ การส่งเสริมสุขภาพและการดูแลเพื่อป้องกันโรค การเจ็บป่วย อุบัติเหตุ ๑๘๖
เทศบาลต�ำบลเชียงเคี่ยน อ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
ภาพที่ ๒๘ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้าน ระบบการดูแลเด็กปฐมวัย
๑๙๖
ภาพที่ ๒๙ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัย โดย ชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าสัก อ�ำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา
๑๙๗
โดย ชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าสัก อ�ำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา
ภาพที่ ๓๐ การจัดการอาหารเพื่อสุขภาพเด็ก โดย ชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าสัก
๑๙๘
ภาพที่ ๓๑ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้าน ระบบการดูแลเด็กปฐมวัย
๒๑๓
ภาพที่ ๓๒ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัย
๒๑๔
ภาพที่ ๓๓ การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพเด็กและและการเรียนรู้ของเด็ก
๒๑๕
ภาพที่ ๓๔ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้าน
๒๓๑
ภาพที่ ๓๕ ระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชน
๒๓๒
ภาพที่ ๓๖ เยาวชนร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่
๒๓๓
ภาพที่ ๓๗ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้าน ระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชน
๒๔๘
อ�ำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา
โดย ชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลสถานอ�ำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน โดย ชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลสถาน อ�ำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน โดย ชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลสถาน อ�ำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน ระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชน เทศบาลต�ำบลบางไผ่ อ�ำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร
เทศบาลต�ำบลบางไผ่ อ�ำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร เทศบาลต�ำบลบางไผ่ อ�ำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร
องค์การบริหารส่วนต�ำบลตากตก อ�ำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก
ภาพที่ ๓๘ ระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชน
๒๔๙
ภาพที่ ๓๙ การส่งเสริมการเรียนรู้การจัดการตนเอง
๒๕๐
ภาพที่ ๔๐ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้าน ระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชน
๒๖๔
ภาพที่ ๔๑ ระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชน
๒๖๕
ภาพที่ ๔๒ การส่งเสริมการพัฒนาอาชีพร่วมสร้างเศรษฐกิจพอเพียง
๒๖๖
ภาพที่ ๔๓ กรอบแนวคิดการสร้างต�ำบลวัฒนธรรมจิตอาสา
๒๗๐
ภาพที่ ๔๔ กรอบแนวคิดการดูแลเด็กปฐมวัย ภาพที่ ๔๕ กรอบแนวคิดศูนย์วัยใส ๕ Q
๒๗๑
องค์การบริหารส่วนต�ำบลตากตก อ�ำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก องค์การบริหารส่วนต�ำบลตากตก อ�ำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก
เทศบาลต�ำบลพุเตย อ�ำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบุรี เทศบาลต�ำบลพุเตย อ�ำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบุรี เทศบาลต�ำบลพุเตย อ�ำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบุรี
๒๗๒
ภาพที่ ๔๖ กรอบแนวคิดแนวทางการส่งเสริมพัฒนาทักษะชีวิตให้กบั เด็กและเยาวชน ๒๗๙ ภาพที่ ๔๗ ผลลัพธ์ ผลผลิต การดูแลสุขภาพเด็กและเยาวชน
๒๘๐
ภาพที่ ๔๘ สถิติการส�ำเร็จการศึกษาวิทยาลัยจิตอาสา ต�ำบลดอนแก้ว
๒๘๒
ภาพที่ ๔๙ จ�ำนวนอาสาดอนแก้วสร้างสุข
๒๘๒
ภาพที่ ๕๐ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้าน ระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชน
๒๘๗
ภาพที่ ๕๑ ระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชน
๒๘๘
ภาพที่ ๕๒ การสร้างเยาวชนอาสา
๒๘๙
องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนแก้ว อ�ำเภอแม่รมิ จังหวัดเชียงใหม่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนแก้ว อ�ำเภอแม่รมิ จังหวัดเชียงใหม่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนแก้ว อ�ำเภอแม่รมิ จังหวัดเชียงใหม่
ภาพที่ ๕๓ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้าน ระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชน
๓๐๘
ภาพที่ ๕๔ ระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชน
๓๐๙
ภาพที่ ๕๕ การพัฒนาเยาวชนนักรณรงค์
๓๑๐
ภาพที่ ๕๖ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้าน ระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชน
๓๒๓
องค์การบริหารส่วนต�ำบลมหาชัย อ�ำเภอไทรงาม จังหวัดก�ำแพงเพชร องค์การบริหารส่วนต�ำบลมหาชัย อ�ำเภอไทรงาม จังหวัดก�ำแพงเพชร องค์การบริหารส่วนต�ำบลมหาชัย อ�ำเภอไทรงาม จังหวัดก�ำแพงเพชร
องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียน อ�ำเภอศรีบญ ุ เรือง จังหวัดหนองบัวล�ำพู
ภาพที่ ๕๗ ระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชน
๓๒๔
ภาพที่ ๕๘ การสร้างวินัยการออม
๓๒๕
ภาพที่ ๕๙ การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
๓๔๐
ภาพที่ ๖๐ การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
๓๕๒
ภาพที่ ๖๑ การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
๓๖๕
ภาพที่ ๖๒ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้าน ระบบการดูแลเด็กปฐมวัย
๓๗๙
ภาพที่ ๖๓ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัย
๓๘๐
ภาพที่ ๖๔ การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลต�ำบลด่านช้าง อ�ำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี
๓๘๑
องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียน อ�ำเภอศรีบญ ุ เรือง จังหวัดหนองบัวล�ำพู องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียน อ�ำเภอศรีบญ ุ เรือง จังหวัดหนองบัวล�ำพู องค์การบริหารส่วนต�ำบลวังดิน อ�ำเภอเมือง จังหวัด ฉะเชิงเทรา องค์การบริหารส่วนต�ำบลเสม็ดใต้ อ�ำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก อ�ำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
โดย ชุมชนท้องถิ่น เทศบาลต�ำบลด่านช้าง อ�ำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี โดย ชุมชนท้องถิ่น เทศบาลต�ำบลด่านช้าง อ�ำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี
ภาพที่ ๖๕ การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๓๙๓ องค์การบริหารส่วนต�ำบลไหล่ทุ่ง อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี
ภาพที่ ๖๖ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้าน ระบบการดูแลเด็กปฐมวัย โดย ชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาเชือก อ�ำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์
๔๐๕
ภาพที่ ๖๗ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาเชือก อ�ำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์
๔๐๖
ภาพที่ ๖๘ การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาเชือก อ�ำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์
๔๐๗
ภาพที่ ๖๙ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้าน ระบบการดูแลเด็กปฐมวัย โดย ชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลสันทราย อ�ำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่
๔๑๙
ภาพที่ ๗๐ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัย โดย ชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลสันทราย อ�ำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่
๔๒๐
ภาพที่ ๗๑ การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนต�ำบลสันทราย อ�ำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่
๔๒๑
ภาพที่ ๗๒ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้าน ระบบการดูแลเด็กปฐมวัย โดย ชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองกุงใหญ่ อ�ำเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น
๔๓๒
ภาพที่ ๗๓ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น ๔๓๓ องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองกุงใหญ่ อ�ำเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น ภาพที่ ๗๔ การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๔๓๔ องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองกุงใหญ่ อ�ำเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น
บ ท น�ำ ส่วนที่ ๑
๑. สถานการณ์และความส�ำคัญ การดูแลเด็กปฐมวัย เป็นยุทธศาสตร์ที่ส�ำคัญของชาติ ๑ และเป็นการพัฒนาที่น�ำไปสู่การ สร้างความมั่นคงของประเทศ ลักษณะการดูแลเด็กปฐมวัยมีความแตกต่างกันอย่างน้อยใน ๒ ช่วงอายุ ได้แก่ ช่วงอายุ ๐-๓ ปี และช่วงอายุ ๓-๕ ปี ซึ่งทั้ง ๒ ช่วงวัยนี้ยังคงอยู่ในภาวะของการ พึ่งพิงเป็นหลักจากผู้ปกครอง รวมทั้ง อาสาสมัคร องค์กรชุมชน และหน่วยงานในพื้นที่ให้การดูแล ช่วยเหลือ โดยการดูแลเด็กปฐมวัยในช่วงอายุ ๐-๓ ปี ต้องการได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด ตั้งแต่ระยะ ตัง้ ครรภ์ จนกระทัง่ เด็กเกิดมีชวี ติ และมีการเจริญเติบโตจนกระทัง่ เข้าสู่วยั ก่อนเรียน ซึง่ เด็กในช่วงวัยนี้ ต้องให้การดูแลเกี่ยวกับ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การกินอาหารที่ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตทางด้าน ร่างกาย การได้รับการส่งเสริมพัฒนาการที่สอดคล้องตามวัย และการได้รับวัคซีนเพื่อสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรคต่างๆ ส�ำหรับการดูแลเด็กปฐมวัยในช่วงอายุ ๓-๕ ปี เป็นช่วงของวัยก่อนเรียนและ เตรียมความพร้อมเข้าสู่การเรียนในระดับอนุบาลและประถมศึกษา จะต้องเน้นในด้านการส่งเสริมการ เจริญเติบโตทางด้านร่างกาย การได้รับวัคซีนเพื่อสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคต่างๆ และการส่งเสริมการ เรียนรูใ้ นรูปแบบต่างๆ ทีเ่ หมาะสมตามช่วงอายุ และบริบทของพืน้ ที่ อีกทัง้ ยังต้องค�ำนึงถึงสภาพปัญหา และความต้องการของครอบครัวและชุมชนในบริบทที่แตกต่างกัน เช่น ปัญหาการหย่าร้าง การ กระท�ำรุนแรง การขาดผู้ดูแล ภาระหนี้สิน สภาพบ้านที่ไม่ปลอดภัย ชุมชนมีพื้นที่ไม่ปลอดภัยทีก่ ่อให้ เกิดอุบัติเหตุต่างๆ เป็นต้น นอกจากนี้ในกลุ่มของเด็กและเยาวชน ซึ่งมีอายุระหว่าง ๑๕-๒๔ ปี เป็น กลุ่มที่สำ� คัญเช่นเดียวกัน โดยในกลุ่มนี้ต้องการได้รับการดูแลช่วยเหลือ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ที่สร้าง ความเป็นพลเมือง และเป็นก�ำลังส�ำคัญของชุมชน สังคม และประเทศ ภารกิจการดูแลเด็กปฐมวัย รวมทัง้ การส่งเสริมการเรียนรูส้ ำ� หรับเด็กและเยาวชน เป็นบทบาท หน้าที่ส�ำคัญขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและพัฒนาบริการ สาธารณะให้กบั ประชาชนในพื้นที่ ซึ่งเป็นไปตาม พรบ.ก�ำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอ�ำนาจให้ แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ พ.ศ.๒๕๔๒ ภายใต้ศกั ยภาพและความพร้อม ตลอดจนบริบทของแต่ละ พื้นที่ จึงท�ำให้การดูแลเด็กปฐมวัยและการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนขององค์กรปกครอง
แผนยุทธศาสตร์ชาติดูแลเด็กปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ มีเป้าหมาย ๕ ประการ คือ ๑.เด็กปฐมวัยทุกคน ได้รับรับบริการด้านสุขภาพ ภายในปี ๒๕๕๙ ๒.เด็กปฐมวัยร้อยละ ๙๐ มีพัฒนาตามวัย ๓. เด็กในช่วงอายุ ๓ ปี ถึงก่อนเข้าประถมศึกษาปีท่ี ๑ ที่มีความต้องการ ได้รับการพัฒนาในถนนพัฒนาเด็กปฐมวัยในทุกรูปแบบ ๔. การได้รับไอโอดีนของเด็กแรกเกิด หญิงตั้งครรภ์ และหญิงเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และ ๕. เด็กปฐมวัยได้รับการ เลี้ยงดูอย่างมีคุณภาพ
๑
16
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ส่วนท้องถิ่นมีทั้งที่เหมือนและแตกต่างกัน ซึ่งในระยะที่ผ่านมาเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ได้มีกระบวนการขับเคลื่อนและพัฒนาชุมชนท้องถิ่นให้มีศักยภาพและความสามารถในการจัดการ ตนเอง โดยบูรณาการแนวคิดการพัฒนาทัง้ การใช้พนื้ ทีเ่ ป็นฐานในการพัฒนา และการค�ำนึงถึงสุขภาพ ในทุกนโยบาย เพือ่ ให้เกิดการทบทวนทุนทางสังคมและศักยภาพของพืน้ ที่ ตลอดจนการวิเคราะห์ปญ ั หา และความต้องการของผูท้ เี่ กีย่ วข้อง และน�ำมาใช้ในการวิเคราะห์ เทียบเคียง วางแผนส�ำหรับการพัฒนา ออกแบบกิจกรรมการดูแลเด็กปฐมวัยและการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ที่สอดคล้องกับ ความต้องการภายใต้บริบททางด้านสังคม วัฒนธรรม รวมถึงการลดปัจจัยสังคมทีก่ �ำหนดสุขภาพ การ ลดปัจจัยเสี่ยงและสร้างปัจจัยส่งเสริมทางสุขภาพ ทั้งนี้ได้ยดึ แนวทางการพัฒนาเด็กปฐมวัยภายใต้ ๖ ชุดกิจกรรมหลัก ได้แก่ (๑) การพัฒนา ศักยภาพส�ำหรับเด็กปฐมวัยหรือผูท้ เี่ กีย่ วข้องกับการดูแลเด็กปฐมวัย (๒) การพัฒนาหรือปรับปรุงสภาพ แวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรู้หรือการดูแลเด็กปฐมวัย (๓) การพัฒนาบริการส�ำหรับการดูแลเด็กปฐมวัย (๔) การจัดตั้งกองทุนหรือจัดให้มีสวัสดิการช่วยเหลือกันเพื่อการดูแลเด็กปฐมวัย (๕) การพัฒนาและ น�ำใช้ข้อมูลในการส่งเสริมแก้ไขหรือจัดการปัญหาเด็กปฐมวัย และ(๖)การพัฒนากฎ กติกา ระเบียบที่ สนับสนุนการดูแลเด็กปฐมวัย ส่วนการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ได้ยึดแนวทางการ ส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ใน ๕ ด้าน ได้แก่ (๑) การเพิ่มทักษะและสร้างการเรียนรู้ของ เด็กและเยาวชน (๒) การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาของเด็กและเยาวชน (๓) การบริหาร จัดการกองทุนและสวัสดิการส�ำหรับกิจกรรมสร้างสรรค์ (๔) การพัฒนาระบบข้อมูลด้านเด็กและเยาวชน และการน�ำใช้ และ (๕) การก�ำหนดกฎ กติกา หรือข้อบัญญัติท้องถิ่น เพื่อเฝ้าระวังปัญหาและปกป้อง สิทธิของเด็กและเยาวชน พร้อมทั้งได้กำ� หนดแนวทางการด�ำเนินงานที่ส�ำคัญซึ่งครอบคลุมงานและ กิจกรรม ๕ ชุดกิจกรรม ประกอบด้วย (๑) การเพิ่มทักษะและสร้างการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน (๒) การมีสว่ นร่วมของชุมชนในการแก้ไข ปัญหาของเด็กและเยาวชน (๓) การจัดสวัสดิการและการออม (๔) การส่งเสริมอาชีพ (๕) การดูแลและส่งเสริมสุขภาพ และ (๖) การพัฒนาจิตอาสา ภายใต้การหนุนเสริม และสร้างกระบวนการเรียนรู้ ตลอดจนการสนับสนุนเครื่องมือ และ กลไกในการด�ำเนินงานจากหลายภาคส่วน ทั้งจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยส�ำนักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (ส�ำนัก ๓) และส�ำนักสนับสนุนสุขภาวะเด็ก เยาวชน และ ครอบครัว (ส�ำนัก ๔) ซึง่ ท�ำหน้าทีก่ ำ� หนดทิศทาง นโยบายในการขับเคลือ่ นงานพัฒนาเด็กปฐมวัย และ ให้การสนับสนุนงบประมาณในการด�ำเนินการ ศูนย์สนับสนุนวิชาการภาค (ศวภ.) ศูนย์จัดการ เครือข่าย (ศจค.) ศูนย์สนับสนุนวิชาการเฉพาะประเด็น (ศวฉ.) และศูนย์วิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ
บทน�ำ
17
ชุมชน(ศวช.) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ท�ำหน้าที่หนุนเสริมทางด้านวิชาการ การสร้างองค์ความรู้จากการจัดการความรู้ และการจัดกระบวนการเรียนรู้ และนอกจากนี้ยังมีองค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ ในหลายพืน้ ทีภ่ ายใต้เครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิน่ น่าอยู่ ให้การสนับสนุนพืน้ ที่ เรียนรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการพัฒนาเด็กปฐมวัย ผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการด�ำเนินงานทั้งในส่วนของการดูแลเด็กปฐมวัยและการ ส่งเสริมการเรียนรูข้ องเด็กและเยาวชน ได้สง่ ผลกระทบโดยตรงและโดยอ้อมต่อการพัฒนาในหลายส่วน ทั้งในส่วนของเด็กปฐมวัย เด็กและเยาวชน ผู้ปกครอง สมาชิกในครอบครัว อาสาสมัคร ผู้ดูแล ช่วยเหลือ ผู้น�ำชุมชน กลุ่ม องค์กรชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็ก ศูนย์พัฒนาครอบครัว โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพต�ำบล และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่สะท้อนถึงความครอบคลุมการดูแลเด็กปฐมวัยและ การส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนอย่างรอบด้าน ตัวอย่างเช่น การส่งเสริมพัฒนาการและ การเจริญเติบโต การมีแนวทางในการดูแลของพ่อแม่ อาสาสมัคร กลุม่ องค์กรต่างๆ การพัฒนาหลักสูตร สื่อ และนวัตกรรมต่างๆ การส่งเสริมบทบาทและศักยภาพของผู้ที่เกี่ยวข้อง การมีเวทีและพื้นที่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสร้างการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของเด็กและเยาวชน และการพัฒนา จิตอาสา เป็นต้น ซึง่ ผลทีเ่ กิดขึน้ ดังกล่าว ได้กอ่ ให้เกิดพืน้ ทีจ่ ดั การตนเองด้านการพัฒนาระบบการดูแล เด็กปฐมวัยและการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน พร้อมทัง้ ได้รบั ยกระดับให้เป็นพืน้ ทีต่ ้นแบบ ทั้งการเป็นศูนย์ศูนย์เรียนรู้ (ศรร.) ศูนย์ประสานงานเครือข่ายและจัดการเรียนรู้ (ศปง.) และ ศูนย์เชีย่ วชาญ (ศชช.) ประเด็นการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยและการส่งเสริมการเรียนรูข้ องเด็ก และเยาวชน ตามศักยภาพและความพร้อมของแต่ละพื้นที่ต่อไป
๒. เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการถอดบทเรียน ๑. เพือ่ วิเคราะห์และสรุปบทเรียนการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริม การเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ๒. เพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และจัดการความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาระบบการดูแล เด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ซึง่ จะน�ำไปสู่การพัฒนาและยกระดับ การเป็นพื้นที่เรียนรู้ และสร้างเครือข่ายการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริม การเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน
18
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๓. กระบวนการถอดบทเรียน ๑. องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิน่ น่าอยูท่ เี่ ข้าร่วมกระบวนการ พัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ส่งตัวแทน นักวิชาการ บุคลากร และผูบ้ ริหารชุมชนท้องถิน่ ของแต่ละพืน้ ที่ ท�ำการรวบรวมข้อมูลจากการวิจยั ชุมชน (RECAP) ระบบข้อมูลต�ำบล(TCNAP) และแหล่งข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งเข้าร่วมประชุมและ เตรียมความพร้อมเพื่อจัดท�ำเอกสารและแผนภาพประกอบการน�ำเสนอข้อมูลในเวทีสานพลังจัดการ ตนเอง เสริมความเข้มแข็งชุมชนท้องถิ่น สร้างสุขภาวะทุกมิติ ๒. นักวิชาการ บุคลากร ผูบ้ ริหารชุมชนท้องถิน่ ของแต่ละพืน้ ที่ ด�ำเนินการสรุปข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้อง กับการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน จากนั้น ท�ำการวิเคราะห์ข้อมูล ตามแบบฟอร์มการวิเคราะห์ข้อมูลในคู่มือแนวทางการด�ำเนินงานส�ำหรับ คณะท�ำงานประเด็นการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็ก และเยาวชน ซึ่งประกอบด้วย ๓ ส่วน ได้แก่ (๑)ระบบการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยและ ระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน (๒)การสรุปทุนทางสังคมและศักยภาพของชุมชนใน พื้นที่ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็ก และเยาวชน ทั้งทางตรงและทางอ้อม (๓)การสรุปงานและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเด่นในการ พัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ๓. นักวิชาการ บุคลากร ผู้บริหารชุมชนท้องถิ่นของแต่ละพื้นที่ ด�ำเนินการพัฒนาแผนภาพที่ แสดงการด�ำเนินงานและกิจกรรมการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียน รู้ของเด็กและเยาวชน ซึง่ ประกอบด้วย ๓ แผนภาพ ได้แก่ (๑)แผนภาพระบบการพัฒนาระบบการดูแล เด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรูข้ องเด็กและเยาวชน (๒)แผนภาพทุนทางสังคมและศักยภาพ ของชุมชนในพื้นที่ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ ของเด็กและเยาวชน ทั้งทางตรงและทางอ้อม และ (๓)แผนภาพงานและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ เรือ่ งเด่นในการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย และระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ๔. นักวิชาการ บุคลากร ผู้บริหารชุมชนท้องถิ่นของแต่ละพื้นที่ ด�ำเนินการสรุปข้อมูลจากการ ถอดบทเรียนโดยเขียนเป็นเอกสารสรุปการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริม การเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน
บทน�ำ
19
๔. พื้นที่เป้าหมาย ประกอบด้วย ๒ กลุ่ม ได้แก่ ๑. อปท.ทีเ่ ข้าร่วมขับเคลือ่ นการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย ประกอบด้วย อปท. จ�ำนวน ๑๖ แห่ง ได้แก่ อบต.แก้งแก อบต.ไหล่ทงุ่ อบต.วังดิน ทต.เหล่าใหญ่ อบต.หินลาด อบต.เสม็ดใต้ อบต. แม่พริก อบต.ยางขีน้ ก อบต.ผาสิงห์ ทต.เชียงเคียน อบต.ป่าสัก อบต.สถาน ทต.ด่านช้าง อบต.นาเชือก อบต.สันทราย และอบต.หนองกุงใหญ่ ๒. อปท. ที่เข้าร่วมขับเครือการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน จ�ำนวน ๖ แห่ง ได้แก่ ทต.บางไผ่ อบต.ตากตก ทต.พุเตย อบต.ดอนแก้ว อบต.มหาชัย และอบต.กุดสะเทียน
๕. ชุดกิจกรรมหลักการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย และและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน
๕.๑ ชุดกิจกรรมหลักการดูแลเด็กปฐมวัย (กลุ่มเด็ก ๐-๓ ปี) ชื่อองค์ประกอบ ของชุดกิจกรรม หลัก ๑. การพัฒนา ศักยภาพ
20
ชื่อองค์ประกอบของ ชุดกิจกรรมย่อย ๑. ฝึกอบรมผู้ปกครอง/ ผู้ดูแลให้ดูแลเด็ก ๐-๓ ปีได้
รายละเอียด
๑. ฝึกผู้ปกครอง/ผู้ดูแลในครอบครัวเด็ก ๐-๓ ปี ให้เข้าใจ ความจ�ำเป็นของการสร้างเสริมภูมคิ ุมกันโรค การ ส่งเสริมการเรียนรู้พัฒนาการทางปัญญาและอารมณ์ เช่น ส่งเสริมการเรียน ส่งเสริมการเล่น เป็นต้น และ ให้การดูแลช่วยเหลือเมื่อพบความผิดปกติ เช่น พฤติกรรมและการเรียนรู้ผิดปกติ มีความพิการทางสติ ปัญญา พิการด้านร่างกาย เพื่อให้การดูแลช่วยเหลือ อย่างถูกต้อง เช่น การดูแลเรื่องอาหาร การกระตุ้นพัฒ นาการ กล้ามเนื้อต่างๆ การประสานหน่วยงานที่จัด บริการเฉพาะด้าน เช่น ด้านสวัสดิการ การดูแลส่งเสริม การเรียนรู้ออทิสติก โรงเรียนสอนคนตาบอด เป็นต้น
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ชื่อองค์ประกอบ ของชุดกิจกรรม หลัก
ชื่อองค์ประกอบของ ชุดกิจกรรมย่อย
รายละเอียด
๒. ฝึกทักษะอาสาสมัคร อื่นๆเพื่อการดูแลช่วย เหลือ และส่งเสริม สุขภาพเด็ก ๐-๓ ปี
๑. ฝึกอบรมอาสาสมัครในชุมชน เช่น อาสาสมัคร สาธารณสุข อาสานมแม่กลุ่มเด็ก ๐-๓ ปี เป็นต้น เพื่อ ให้มีความรู้เข้าใจเรือ่ งการประเมินและส่งเสริม พัฒนาการ การเจริญเติบโต การรับภูมิคุ้มกัน ให้การ ดูแลช่วยเหลือตามสภาพทั้งในภาวะปกติ เช่น การจัด กิจกรรมหรือกระตุ้นผู้ปกครอง ส่งเสริมพัฒนาการเด็กใน ครอบครัว และชุมชน กลุ่มที่มคี วามผิดปกติ พิการ เช่น การประเมินให้ความช่วยเหลือ การสนับสนุนให้ ครอบครัวให้การดูแลได้เหมาะสม การประสานส่งต่อ หน่วยงานที่มีความช�ำนาญเฉพาะ เช่น ศูนย์ออทิสติก โรงเรียนสอนภาษามือ เป็นต้น
๓. ฝึกทักษะผู้รบั ผิดชอบ ดูแลเด็ก ๐-๓ ปี โดยตรงในชุมชน
๑. การฝึกอบรมหรือส่งเสริมให้ผู้ท่มี ีหน้าที่รับผิดชอบดูแล เด็กเฉพาะกลุ่ม ๐-๓ ปี ในชุมชนมีการเรียนต่อ เช่น ผู้ให้บริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ครูผู้ดูแล เด็กในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก เจ้าหน้าที่ขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น เป็นต้นเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเฉพาะ ด้านเด็ก ๐-๓ ปี เช่น การจัดการเรียนรู้ส�ำหรับเด็ก ๐-๓ ปี (การกระตุ้นส่งเสริมกล้ามเนื้อมัด ต่างๆ,อุบัติเหตุ,พัฒนาการทางอารมณ์,การจัดอาหาร ส�ำหรับเด็ก,การใช้ยาในเด็กการดูแลเด็ก ๐-๓ ปีท่คี วาม เจ็บป่วย พิการ เช่นการกระตุ้นพัฒนาการ การบริหาร กล้ามเนื้อ การให้อาหารหรือการจัดอาหารส�ำหรับ เด็กป่วย เป็นต้น ๒. สนับสนุนให้เพิ่มกลุ่มหรือจ�ำนวนสมาชิกในกลุ่ม เพิ่มจ�ำนวนเครือข่ายกลุ่มผู้ดูแลเฉพาะด้านเด็ก ๐-๓ ปี เช่น กลุ่มเยี่ยมบ้านเด็ก ๐-๓ ปี เครือข่ายดูแลช่วยเหลือ สร้างเครือข่ายการช่วยเหลือกันโดยเชื่อมประสานแหล่ง เรียนรู้อื่นๆ ในพื้นที่เช่น กศน. กลุ่มสูงอายุ นักจิตวิทยา หรือนักสังคมสงเคราะห์ เป็นต้น
๔. มีหลักสูตรการฝึกอบรม ๑. จัดท�ำหลักสูตรและคู่มอื การอบรมผู้เกี่ยวข้องในการดูแล และคู่มือการดูแล เด็ก ๐-๓ ปี เช่น หลักสูตรและคู่มอื การดูแลเด็ก ๐-๓ ปี ช่วยเหลือ ที่พกิ ารร่างกาย สติปัญญา หลักสูตรและคู่มอื การดูแล ส่งเสริมกลุ่มเด็ก ๐-๓ ปีที่มีพฤติกรรมการเรียนรู้ผิดปกติ เป็นต้น
บทน�ำ
21
ชื่อองค์ประกอบ ของชุดกิจกรรม หลัก
ชื่อองค์ประกอบของ ชุดกิจกรรมย่อย
รายละเอียด
๒. จัดท�ำหรือสนับสนุนให้มีสมุดประจ�ำตัวเด็กที่ระบุ ประวัติการได้รบั วัคซีนที่จ�ำเป็นระดับพัฒนาการทั้งด้าน ร่ายกายสติปัญญาและอารมณ์ (IQ EQ) การดื่มนมแม่ ๖ เดือน การฝึกใช้กล้ามเนื้อในเด็ก การดูแลเรื่องฟัน และช่องปาก ๒. การพัฒนา ๑. มีบ้านที่เอื้อต่อการ สภาพ ด�ำเนินชีวิตของเด็ก แวดล้อม ที่ ๐-๓ ปี เอื้อต่อเด็ก ๐-๓ ปี
๑. มีกลุ่มบริการจัดปรับบ้านและสิ่งแวดล้อมภายในบ้านให้ เอื้อต่อการด�ำเนินชีวิตของเด็ก ๐-๓ ปี เช่น การปรับ ปลั๊กไฟที่สูงจากพื้นการจัดวางเครื่องใช้ไฟฟ้า ของมีคม เครื่องเล่นเด็กที่ได้มาตรฐานปลอดภัย เป็นต้น ๒. มีศูนย์หรือแหล่งประสานที่พักพิงชั่วคราวหรือจัดให้มี ครอบครัวอุปการะส�ำหรับเด็ก ๐-๓ ปี ที่ไร้ที่พึ่งพิงหรือ ได้รับความเดือดร้อนจากปัญหาครอบครัว เช่น ผู้ปกครองทุพพลภาพ เสียชีวิต ถูกกระท�ำรุนแรง ครอบครัว เป็นต้น
๒. ปรับพื้นที่บริการเด็ก ๐-๓ ปี ได้แก่ ศูนย์ พัฒนาเด็กฯ
๑. ปรับโครงสร้างในอาคารทีจ่ ัดบริการส�ำหรับเด็ก๐-๓ ปี เช่น ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก Day care ให้เอื้อต่อเด็ก ๐-๓ ปี เช่น ของเล่นเด็ก ปลั๊กไฟ อุปกรณ์ท่ไี ม่ก่อให้เกิด อันตราย เช่น อุปกรณ์หรือวัสดุที่ใส่สีที่เป็นอันตราย เลื่อนหลุดง่าย เป็นต้น
๓. มีศูนย์บริการให้ยมื อุปกรณ์ส�ำหรับช่วย เหลือดูแลเด็ก ๐-๓ ปี ที่มีความผิดปกติ
๑. มีศูนย์บริการให้ยมื อุปกรณ์จ�ำเป็นช่วยเหลือในการ ด�ำเนินชีวิตของเด็ก ๐-๓ ปี เช่นอุปกรณ์บริหาร กล้ามเนื้อมัดต่างๆ เครื่องฝึกยืน เครื่องดูดเสมหะ ถังออกซิเจน เป็นต้น ๒. มีศูนย์ประสานงานหรือผู้รบั ผิดชอบในการช่วยเหลือ เรื่องการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือเด็ก ๐-๓ ปี
๔. มีกลุ่มช่วยเหลือกัน
22
๑. สนับสนุนให้มกี ลุ่มอื่นๆ ช่วยดูแลเด็ก ๐-๓ ปี เช่น กลุ่มท�ำอาหารส�ำหรับเด็ก ทั้งเด็กป่วย พิการ และกลุ่ม ปกติ กลุ่มเพื่อนบ้านช่วยเหลือกันดูแลกันในการรับยา การส่งเสริมพัฒนาการกิน กอด เล่น เล่าเยี่ยมให้ ก�ำลังใจผู้ดูแลเฝ้าระวังความรุนแรงในครอบครัว เป็นต้น
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ชื่อองค์ประกอบ ของชุดกิจกรรม หลัก
ชื่อองค์ประกอบของ ชุดกิจกรรมย่อย
รายละเอียด
๒. สร้างวัฒนธรรมในการช่วยเหลือเด็ก ๐-๓ ปี ในชุมชน เช่น การเปิดพื้นที่ช่วยเหลือสนับสนุนการดูแลกลุ่มเด็ก ที่มีความผิดปกติ ได้แก่ การรับบริจาคของเล่นเด็ก ผ้าอ้อมส�ำเร็จรูปส�ำหรับเด็กที่เจ็บป่วยพิการ เสื้อผ้า เป็นต้น สร้างเครือข่ายช่วยเหลือดูแลเด็ก ๐-๓ ปี ให้สวัสดิการส�ำหรับครอบครัวที่มีเด็กป่วย เช่นการซื้อ สินค้าในร้านค้าของชุมชนในราคาถูก การแบ่งปัน ผลก�ำไรของกองทุนชุมชนช่วยเหลือครอบครัวที่มี เด็กป่วยหรือพิการ เป็นต้น ๓. การพัฒนา ๑. บริการเด็ก ๐-๓ ปี ระบบบริการ ที่บ้าน
๑. จัดบริการดูแลเด็ก ๐-๓ ปี ที่บ้านเป็นบริการตามภาวะ สุขภาพตั้งแต่ปกติ เจ็บป่วย พิการ เป็นการจัดการ บริการดูแลทางร่างกายและจิตใจ เช่น การดูแลกิจวัตร ประจ�ำวันเรื่องการรับประทานอาหาร อาบน�้ำ ท�ำความ สะอาดร่างกาย ออกก�ำลังกายพื้นฟู ส่งเสริมพัฒนาการ การเจริญเติบโต การได้รับภูมคิ ุ้มกันตามมาตรฐาน การดูแลสายสวนต่างๆ การดูแลท่อช่วยหายใจ การให้ อาหารทางสายยาง ท�ำแผลพลิกตะแคงตัว เป็นต้น รวมไปถึงการเพิ่มสมรรถนะของผู้ดูแลในการช่วยเหลือ ดูแลเด็ก ๐-๓ ปี ที่บ้านได้เหมาะสม ๒. การให้การบริการอื่นๆ เช่น ค�ำปรึกษาผู้ปกครอง ผู้ดูแล เด็กเรื่องสุขภาพอย่างน้อย๑ครั้งต่อปี การเบิกรับยา การบริการอื่นๆ เช่น การจัดบริการอาหารเฉพาะหรือ ตามความต้องการรวมทั้งการดูแลเด็ก๐-๓ ปีที่มี ความผิดปกติ พิการ
๒. บริการรับ-ส่ง ๒๔ ช.ม. ๑. จัดการบริการรับ-ส่ง ๒๔ ชม.เพื่อการรักษาช่วยเหลือ เพื่อการรักษาช่วยเหลือ และกรณีอุบัติเหตุฉุกเฉิน ชัก ถูกกระท�ำรุนแรงโดย และกรณีอุบัติเหตุ ครอบครัว ชุมชน ฉุกเฉิน ชัก ถูกกระท�ำ รุนแรง
บทน�ำ
23
ชื่อองค์ประกอบ ของชุดกิจกรรม หลัก
ชื่อองค์ประกอบของ ชุดกิจกรรมย่อย
รายละเอียด
๓. จัดบริการของศูนย์เด็ก ๑. จัดบริการเพื่อให้เด็ก ๐-๓ ปี เข้ารับบริการในช่วงเวลา ๐-๓ ปี (Day Care) กลางวัน มีบริการรับ-ส่ง มีการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย ภายในรพ.สต. ไว้บริการภายในศูนย์ฯ เช่น การดูแลสุขภาพทั่วไปการ รพ.อปท. หรือองค์กร ดูแลกิจวัตรช่วงกลางวัน จัดให้มีนักจิตวิทยาส่งเสริม ของชุมชน เช่น วัด พัฒนาการ เช่น ฝึกกล้ามเนื้อมัดต่างๆ การฝึกสมอง เป็นต้น และสามารถให้บริการทั้งในภาวะปกติฉุกเฉิน ๒. มีการจัดพื้นที่ Day Care เพื่อส่งเสริมด้านพัฒนาการเด็ก ในด้านต่างๆ เช่น ของเล่นที่ส่งเสริมการมองเห็น การ บริหารกล้ามเนื้อตา บริหารกล้ามเนื้อแขน ขา ส่งเสริม ด้านอารมณ์เช่นเสียงดนตรี เสียงสัตว์ เป็นต้น ๔. บริการให้ค�ำปรึกษาทาง ๑. จัดให้มีระบบTelemedicine เพื่อประสานการดูแลรักษา ไกล ระหว่างเครือข่ายบริการสุขภาพและบริการให้ค�ำปรึกษา แก่ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแลเด็ก ๐-๓ ปี แบบHotline ใน เรื่องต่างๆเช่นสุขภาพการเข้าถึงสิทธิต่างๆ เป็นต้น ๕. เปิดช่องทางพิเศษ ส�ำหรับการให้บริการ เด็ก ๐-๓ ปี
๑. หน่วยงานที่ให้การบริการแก่เด็ก ๐-๓ ปี เช่นรพ.สต. รพ. อปท.จัดพื้นที่เฉพาะไว้รองรับเด็ก ๐-๓ ปี เช่น การ จัดที่นั่งเฉพาะห้องตรวจ จุดมุมให้นมแม่ เป็นต้น ที่เป็น ช่องทางพิเศษเพื่อลดระยะเวลาบริการ
๔. การจัดตั้ง ๑. กิจกรรมการดูแลเด็ก ๑. ร่วมสร้างกิจกรรมของกองทุนเพื่อดูแลเด็ก ๐-๓ ปีด้าน กองทุนหรือ ๐-๓ ปีเป็นส่วนหนึ่งของ การดูแลสุขภาพ การเพิ่มรายได้ให้ผู้ปกครอง ผู้ดูแล จัดให้มี สวัสดิการของกองทุน กลุ่มเด็กที่เจ็บป่วย พิการ เช่น สถาบันการเงินของ สวัสดิการ ในชุมชน ชุมชนกองทุนสัจจะออมทรัพย์ กลุ่มสหกรณ์ออมทรัพย์ ช่วยเหลือกัน กองทุนเพื่อช่วยเหลือผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือตาม ความจ�ำเป็น กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ เป็นต้น ๒. เพิ่มช่องทางในการระดมทุนอื่นๆ เช่น การท�ำบุญ กฐิน-ผ้าป่าเพื่อการดูแลเด็ก ๐-๓ ปีโดยเฉพาะกลุ่มที่ เจ็บป่วย ๒. สบทบทุนการสร้าง บุคคลากรสหสาขา วิชาชีพในการดูแล สุขภาพเด็ก ๐-๓ ปี
24
๑. จัดสรรงบประมาณเพื่อสบทบทุนการสร้างบุคคลากร สหสาขาวิชาชีพในการดูแลสุขภาพเด็ก ๐-๓ ปีในชุมชน เช่น แพทย์ พยาบาล ทันตแพทย์ เภสัชกร สาธารณสุข นักจิตวิทยา กายภาพบ�ำบัด ทันตาภิบาล เป็นต้น
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ชื่อองค์ประกอบ ของชุดกิจกรรม หลัก
ชื่อองค์ประกอบของ ชุดกิจกรรมย่อย
รายละเอียด
๓. สมทบทุนเพื่อจัดตั้ง ๑. การจัดตั้งศูนย์บริการหรือสนับสนุนการบริการแก่เด็ก ศูนย์บริการหรือ ๐-๓ ปีในภาวะปกติพิการ เจ็บป่วย ได้แก่ เด็กมี สนับสนุนการบริการแก่ พัฒนาการผิดปกติ ทุพโภชนาการ พิการสติปัญญา เด็ก ๐-๓ ปีในภาวะ ร่างกาย หรือถูกกระท�ำรุนแรงจากครอบครัว เป็นต้น ปกติพิการ เจ็บป่วย ๕. การพัฒนา ๔. การพัฒนาระบบข้อมูล ๑. มีการจัดท�ำข้อมูลโดยคนในชุมชนและมีส่วนร่วมจาก และน�ำใช้ เพื่อการดูแลเด็ก ๐-๓ ทุกฝ่ายตั้งแต่ขั้นตอนการเก็บการตรวจสอบความ ข้อมูลในการ ปี ถูกต้องการวิเคราะห์เพื่อใช้จัดการดูแลและประเมินผล ส่งเสริมแก้ไข/ การดูแล จัดการปัญหา เด็ก ๐-๓ ปี ๒. มีข้อมูลเด็ก ๐-๓ ปีที่ครบถ้วน ครอบคลุม เพื่อใช้จัดการ ดูแล เช่น ๑) มีข้อมูลพื้นฐาน เช่นพัฒนาการการเจริญ เติบโต การได้รบั ภูมิคุ้มกันโรค เป็นต้น ๒) ข้อมูลสถานะ สุขภาพเด็ก ๐-๓ ปี ทั้งที่เป็นกลุ่มปกติกลุ่มเสี่ยงกลุ่ม ป่วย พิการมีแผนที่เด็ก ๐-๓ ปี จ�ำแนกสถานะสุขภาพ เป็นต้น ๓) ข้อมูลทุนและศักยภาพที่ใช้เพื่อจัดการดูแล ตามปัญหาความต้องการและความจ�ำเป็น เช่น ข้อมูล กลุ่มอาสาสมัครช่วยเหลือเด็ก ๐-๓ ปี กลุ่มอาชีพแหล่ง สนับสนุนอุปกรณ์ช่วยเหลือในชีวิตประจ�ำวัน เช่น ของ เล่นเด็กเครื่องฝึกยืน ฝึกเดิน เป็นต้น ๔) มีแผนการดูแล เด็ก ๐-๓ ปี ที่มาจากการใช้ข้อมูลและชุมชนจัดท�ำแบบ มีส่วนร่วม ๕) ข้อมูลผลที่เกิดจากการใช้ข้อมูลดูแล เช่น แนวโน้มภาวะสุขภาพการเพิ่มขึ้นของความผิดปกติ ด้านพัฒนาการ ข้อมูลการเกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ข้อมูลโรคระบาดเช่น ไข้เลือดออก มือเท้าปาก การเพิ่ม ขึ้นของอาสาสมัคร เป็นต้น ๕. การน�ำใช้ข้อมูลทุนทาง ๑. มีการใช้ข้อมูลทุนทางสังคมและแหล่งประโยชน์จดั ท�ำ สังคมและแหล่ง แผนโครงการในการจัดสวัสดิการท้องถิ่นจัดบริการช่วย ประโยชน์ในการด�ำเนิน เหลือ ดูแลเด็ก ๐-๓ ปีตามสภาพปัญหาความจ�ำเป็น กิจกรรมและการบริการ และความต้องการของเด็ก ๐-๓ ปี เช่น จัดบริการ ส�ำหรับเด็ก ๐-๓ ปี ให้การดูแลตามสภาพที่ประเมินใช้ข้อมูลกลุ่มอาสา สมัครช่วยเยี่ยมบ้านเพื่อช่วยเหลือเด็ก ๐-๓ ปีท่เี จ็บป่วย พิการ หรือถูกกระท�ำรุนแรงในครอบครัว เป็นต้น
บทน�ำ
25
ชื่อองค์ประกอบ ของชุดกิจกรรม หลัก
ชื่อองค์ประกอบของ ชุดกิจกรรมย่อย
รายละเอียด
๖. มีช่องทางการเรียนรู้ ๑. สร้างและเพิ่มช่องทางการเรียนรู้ข้อมูลการดูแลเด็ก ๐-๓ ข้อมูลเพื่อการดูแลเด็ก ปี ให้กับผู้ปกครองและผู้ดูแลอย่างหลากหลายช่องทาง ๐-๓ ปี เช่น การประชาคมการประชุม การปรึกษาหารือ การจัดท�ำแผนการดูแล การบอกปากต่อปาก วิทยุชุมชน หอกระจายข่าว เอกสารหนังสือพิมพ์เพื่อกระจายข่าว เป็นต้น
26
๖. การพัฒนา ๑. มีข้อบัญญัตทิ ้องถิ่น กฎกติกา และแผนงบประมาณ ระเบียบแนว ในการสนับสนุนการ ปฏิบัติเพื่อ ดูแลเด็ก ๐-๓ ปี หนุนเสริมการ ด�ำเนิน กิจกรรมเสริม ความเข้มแข็ง ชุมชนท้องถิ่น
๑. มีข้อบัญญัตทิ ้องถิ่นแผนการดูแลจัดสรรงบประมาณ ในการสนับสนุนการดูแลเด็ก ๐-๓ ปีท่คี รอบคลุมทั้ง งานบริการ กิจกรรมกองทุนสวัสดิการ เช่น ข้อบัญญัติ ท้องถิ่นส�ำหรับดูแลเด็ก ๐-๓ ปี แผนการดูแลเด็ก ๐-๓ ปี ที่พิการโครงการคัดกรองเด็กที่มีการเรียนรู้ ผิดปกติโครงการส่งเสริมการกระตุ้นพัฒนาการเด็ก Cerebral palsy เป็นต้น
๒. ธรรมนูญสุขภาพเพื่อ การดูแลสุขภาพเด็ก ๐-๓ ปี
๑. มีธรรมนูญสุขภาพก�ำหนดการจัดระบบบริการเพื่อดูแล เด็ก ๐-๓ ปี เช่น ก�ำหนดให้มกี ารพัฒนากระบวนการ บริการสาธารณสุขเชิงรุกอย่างต่อเนื่องส�ำหรับการดูแล เด็ก ๐-๓ ปีโดยการจัดแพทย์และพยาบาลให้เพียงพอ ต่อการดูแลส่งเสริมสนับสนุนและร่วมกันดูแลช่วยเหลือ เด็ก เช่น การกระตุ้นพัฒนาการที่บ้าน การประเมิน พฤติกรรม EQ IQ โดยนักจิตวิทยา ในกลุ่มเด็ก ๐-๓ ปี เป็นต้น
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๕.๒ ชุดกิจกรรมหลักการดูแลเด็กปฐมวัย (กลุ่มเด็ก ๓-๕ ปี) ชื่อองค์ประกอบ ของชุดกิจกรรม หลัก ๑. การพัฒนา ศักยภาพ
ชื่อองค์ประกอบของ ชุดกิจกรรมย่อย
รายละเอียด
๑. ฝึกหัดให้เด็ก ๓-๕ ปีมี ๑. มีการฝึกหัดให้เด็ก ๓-๕ ปี ได้มกี ารออกก�ำลังกายเพิ่ม พัฒนาการการเจริญ ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อมัดต่างๆ เช่น การท�ำ เติบโตที่สมวัย กิจกรรมตามจังหวะดนตรี การจัดอาหารที่เหมาะสม ส�ำหรับเด็ก ฝึกการรับประทานอาหารที่เหมาะสม เป็นต้น ๒. ฝึกอบรมผู้ปกครอง/ ๑. ฝึกผู้ปกครอง/ผู้ดูแลในครอบครัวเด็ก ๓-๕ ปี ให้เข้าใจ ผู้ดูแลให้ดูแลเด็ก ๓-๕ ความจ�ำเป็นของการสร้างเสริมภูมคิ ุมกันโรค การ ปี ได้ ส่งเสริมการเรียนรู้พัฒนาการทางปัญญาและอารมณ์ เช่น ส่งเสริมการเรียน ส่งเสริมการเล่น ส่งเสริมการอ่าน ส่งเสริมการอ่าน เป็นต้น และให้การดูแลช่วยเหลือเมื่อ พบความผิดปกติ เช่น พฤติกรรมและการเรียนรู้ผดิ ปกติ มีความพิการทางสติปัญญา พิการด้านร่างกาย เพื่อ ให้การดูแลช่วยเหลืออย่างถูกต้อง เช่น การดูแลเรื่อง อาหาร การกระตุ้นพัฒนาการ กล้ามเนื้อต่างๆ การประสานหน่วยงานที่จัดบริการเฉพาะด้าน เช่น ด้านสวัสดิการ การดูแลส่งเสริมการเรียนรู้ออทิสติก โรงเรียนสอนคนตาบอด โรงเรียนสอนภาษามือ เป็นต้น ๓. ฝึกทักษะอาสาสมัคร อื่นๆเพื่อการดูแลช่วย เหลือ และส่งเสริมสุข ภาพเด็ก ๓-๕ ปี
๑. ฝึกอบรมอาสาสมัครในชุมชน เช่น อาสาสมัคร สาธารณสุข กลุ่มแม่อาสา เป็นต้น เพื่อให้มคี วามรู้ เข้าใจเรื่องการประเมินและส่งเสริมพัฒนาการ การ เจริญเติบโต การรับภูมิคุ้มกัน ให้การดูแลช่วยเหลือ ตามสภาพทั้งในภาวะปกติ เช่น การจัดกิจกรรมหรือ กระตุ้นผู้ปกครอง ส่งเสริมพัฒนาการเด็กในครอบครัว และชุมชน กลุ่มที่มีความผิดปกติ พิการ เช่น การประเมินให้ความช่วยเหลือ การสนับสนุนให้ ครอบครัวให้การดูแลได้เหมาะสม การประสานส่งต่อ หน่วยงานที่มีความช�ำนาญเฉพาะ เช่น ศูนย์ออทิสติก โรงเรียนสอน ภาษามือ เป็นต้น
บทน�ำ
27
ชื่อองค์ประกอบ ของชุดกิจกรรม หลัก
ชื่อองค์ประกอบของ ชุดกิจกรรมย่อย ๔. ฝึกทักษะผู้รบั ผิดชอบ ดูแลเด็ก ๓-๕ ปี โดยตรงในชุมชน
รายละเอียด
๑. การฝึกอบรมหรือส่งเสริมให้มกี ารเรียนต่อเฉพาะกลุ่ม เด็ก ๓-๕ ปีในผู้ท่มี ีหน้าที่รบั ผิดชอบดูแลเด็กในชุมชน เช่นผู้ให้บริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เจ้าหน้าที่ของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นต้นเพื่อให้มคี วามรู้ ความเข้าใจเฉพาะด้านเด็ก ๓-๕ ปี เช่น การจัดการ เรียนรู้สำ� หรับเด็ก ๓-๕ ปี เช่น การกระตุ้นส่งเสริม กล้ามเนื้อมัดต่างๆ, อุบัติเหตุ, พัฒนาการทาง อารมณ์,การจัดอาหารส�ำหรับเด็ก,การใช้ยาในเด็กการ ดูแลเด็ก ๓-๕ ปีท่คี วามเจ็บป่วย พิการ เช่นการกระตุ้น พัฒนาการ การการบริหารกล้ามเนื้อ การให้อาหารหรือ การจัดอาหารส�ำหรับเด็กป่วย เป็นต้น ๒. สนับสนุนให้เพิ่มกลุ่มหรือจ�ำนวนสมาชิกในกลุ่ม เพิ่ม จ�ำนวนเครือข่ายการดูแลเฉพาะด้านเด็ก ๓-๕ ปี เช่น กลุ่มเยี่ยมบ้านเด็ก ๓-๕ ปี เครือข่ายดูแลช่วยเหลือสร้าง เครือข่ายการช่วยเหลือกันโดยเชื่อมประสานแหล่งเรียนรู้ อื่นๆ ในพื้นที่ เช่น กศน. กลุ่มสูงอายุ นักจิตวิทยา หรือ นักสังคมสงเคราะห์ เป็นต้น
๕. มีหลักสูตรการฝึกอบรม ๑. จัดท�ำหลักสูตรและคู่มอื การอบรมผู้เกี่ยวข้องในการดูแล และคู่มือการดูแล เด็ก ๓-๕ ปี เช่น หลักสูตรและคู่มอื การดูแลเด็ก ๓-๕ ปี ช่วยเหลือ ที่พกิ ารร่างกาย สติปัญญา หลักสูตรและคู่มอื การดูแล ส่งเสริมกลุ่มเด็ก ๓-๕ ปีที่มีพฤติกรรมการเรียนรู้ผิดปกติ เป็นต้น ๒. จัดท�ำหรือสนับสนุนให้มีสมุดประจ�ำตัวเด็กที่ระบุ ประวัติการได้รบั วัคซีนที่จ�ำเป็นระดับพัฒนาการทั้งด้าน ร่ายกายสติปัญญาและอารมณ์ (IQ EQ) การดื่มนมแม่ ๖ เดือนการฝึกใช้กล้ามเนือ้ ในเด็กการดูแลเรื่องฟันและ ช่องปาก ๖. ศพด. มีการพัฒนา ๑. การจัดท�ำหลักสูตรที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยทั้ง หลักสูตรที่ส่งเสริม ๔ ด้านคือ ร่างกาย จิตใจ-อารมณ์สงั คม และสติปัญญา พัฒนาการเด็กปฐมวัย โดยใช้กิจกรรม ๖ หลักที่ครอบคลุม ๔ สาระ ๒ ให้ สอดคล้องกับบริบทของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
28
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ชื่อองค์ประกอบ ของชุดกิจกรรม หลัก
ชื่อองค์ประกอบของ ชุดกิจกรรมย่อย
รายละเอียด
๒. การจัดหา/ผลิตสื่อและใช้สื่อในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนเพื่อส่งเสริมพัฒนาการทุกด้านอย่างเหมาะสม และสอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ ๓. การจัดท�ำระบบการคัดกรองพัฒนาการและการสังเกต พฤติกรรมของเด็กได้อย่างต่อเนื่อง ๔. การช่วยเหลือเด็กที่มีพัฒนาการไม่สมวัยอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง (ในกรณีที่ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กมีเด็กพิเศษ ในการดูแล ต้องมีการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้เพื่อ ส่งเสริมให้เด็กสามารถเรียนร่วมได้) ๕. การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสูตรเพื่อส่งเสริม พัฒนาการด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ ๖. การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสูตรเพื่อมุ่ง ส่งเสริมพัฒนาการด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก ที่มุ่งเน้น การท�ำงานประสานกันระหว่างมือและตาในการท�ำตาม แบบได้อย่างถูกต้อง ๗. การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสูตรเพื่อส่งเสริม พัฒนาการด้านความคิดสร้างสรรค์ ๘. การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสูตรเพื่อส่งเสริม ลักษณะนิสัยให้เด็กได้แสดงอารมณ์และความรู้สกึ ด้าน ศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหวและได้สมั ผัสกับธรรมชาติ อย่างต่อเนื่อง ๙. การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสูตรเพื่อส่งเสริม ให้เด็กมีคณ ุ ธรรมจริยธรรมให้เด็กปฏิบัติตามหลัก ศาสนา รู้จกั ถูกผิด และรู้จกั การควบคุมอารมณ์
กิจกรรม ๖ หลัก ได้แก่ ๑) การพัฒนาด้านร่างกาย ๒) การพัฒนาด้านอารมณ์ จิตใจและปลูกฝั่งคุณธรรม ๓)การพัฒนาสังคมนิสัย ๔) การพัฒนาการคิด ๕) การพัฒนาภาษา และ๖)การส่งเสริมจิตนาการและความคิด สร้างสรรค์ และ ๔ สาระ ได้แก่ ๑) เรื่องราวเกี่ยวกับเด็ก ๒) เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคล และลักษณะแวดล้อม ตัวเด็ก ๓) ธรรมชาติรอบตัว และ ๔) เรื่องต่างๆ รอบตัวเด็ก (ที่มา: หลักสูตรการศึกษาเด็กปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรฐานการด�ำเนินงานของศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก กรมการปกครองส่วนท้องถิ่น ปี ๒๕๕๑)
๒
บทน�ำ
29
ชื่อองค์ประกอบ ของชุดกิจกรรม หลัก
ชื่อองค์ประกอบของ ชุดกิจกรรมย่อย
รายละเอียด
๑๐. การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสูตรเพือ่ เตรียม ความพร้อมให้เด็กมีคุณลักษณะที่ดีทางสังคมเบื้องต้น เช่น ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี มีน�้ำใจรู้จกั การรอคอยและรู้จกั การปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบ กติกาของห้องเรียนและศูนย์พัฒนา เด็กเล็กเหมาะสมตามวัย ๑๑. การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสูตรให้เด็กได้ เรียนรู้และร่วมกิจกรรมด้านวัฒนธรรมท้องถิ่นประเพณี และภูมิปัญญาไทยตามบริบทอย่างต่อเนื่อง ๑๒. การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสูตรเพื่อ ส่งเสริมให้เด็กมีความกระตือรือร้น ช่างซักถามและ กล้าแสดงออก เหมาะสมกับวัยและกาลเทศะ ๑๓. การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสูตรเพื่อเสริม ประสบการณ์ให้เด็กมีทักษะในการสังเกต การจ�ำแนก และเปรียบเทียบจ�ำนวน มิติสัมพันธ์และเวลา ผ่าน ประสาทสัมผัส ๑๔. การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสูตรเพื่อให้เด็ก มีทักษะด้านการคิด และการแก้ปัญหาได้อย่าง เหมาะสมตามวัยผ่านกิจกรรมเล่านิทาน ๑๕. การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสูตรเพื่อเสริม ประสบการณ์ให้เด็กมีความเข้าใจภาษาและมีทักษะใน การเข้าใจภาษาในการสื่อความหมาย ฟัง พูด อ่าน เขียน ได้อย่างเหมาะสมตามวัย ๒. การพัฒนา ๒.๑ มีบ้านที่เอื้อต่อการ สภาพแวด ด�ำเนินชีวิตของเด็ก ล้อมที่เอื้อต่อ ๓-๕ ปี เด็ก ๓-๕ ปี
๑. มีกลุ่มบริการจัดปรับบ้านและสิ่งแวดล้อมภายในบ้านให้ เอื้อต่อการด�ำเนินชีวิตของเด็ก ๓-๕ ปี เช่น การปรับ ปลั๊กไฟที่สูงจากพื้น การจัดวางเครื่องใช้ไฟฟ้า ของมีคม เครื่องเล่นเด็กที่ได้มาตรฐานปลอดภัย เป็นต้น ๒. มีศูนย์หรือแหล่งประสานที่พักพิงชั่วคราวหรือจัดให้มี ครอบครัวอุปการะส�ำหรับเด็ก ๓-๕ ปีท่ไี ร้ที่พึ่งพิงหรือได้ รับความเดือดร้อนจากปัญหาครอบครัว เช่น ผู้ปกครอง ทุพพลภาพ เสียชีวิต ถูกกระท�ำรุนแรงครอบครัว เป็นต้น
30
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ชื่อองค์ประกอบ ของชุดกิจกรรม หลัก
ชื่อองค์ประกอบของ ชุดกิจกรรมย่อย
รายละเอียด
๒.๒ ปรับพื้นที่บริการเด็ก ๓-๕ ปีได้แก่ศูนย์ พัฒนาเด็กฯ
๑. ปรับโครงสร้างในอาคารทีจ่ ัดบริการส�ำหรับเด็ก ๓-๕ ปี เช่น ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ให้เอื้อต่อเด็ก ๓-๕ ปี เช่น ของเล่นเด็ก ปลั๊กไฟ อุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดอันตราย เช่น อุปกรณ์หรือวัสดุที่ใส่สที ี่เป็นอันตราย เลื่อนหลุด ง่าย เป็นต้น ๒. ปรับโครงสร้างภายในและภายนอกให้เหมาะสมต่อ การเรียนรู้ของเด็ก เช่น สนามเด็กเล่น การจัดมุมสาระ กิจกรรม เป็นต้น ๓. การดูแลสภาพแวดภายในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กให้ ถูกสุขลักษณะและเป็นระเบียบเรียบร้อย - มีพื้นที่เก็บสิ่งปฏิกูลที่เหมาะสมและถูกสุขลักษณะ - มีพื้นที่เก็บสิ่งปฏิกูลเพียงพอ - มีการก�ำจัดสิ่งปฏิกูลที่เพียงพอ ๔. การดูแลความปลอดภัยของพื้นที่ภายในอาคาร - ตัวอาคารมั่นคง แข็งแรง และปลอดภัย - ประตู หน้าต่าง เพดาน อยู่ในสภาพดี - มีทางเข้า – ออกอย่างน้อย ๒ ทางหรือถ้ามีทางเข้า – ออกทางเดียวต้องกว้างอย่างน้อย ๒๐๐ เมตร ๕. การจัดท�ำห้องน�้ำ/ห้องส้วมให้เพียงพอ เหมาะสมกับวัย และถูกสุขลักษณะ ๖. การจัดท�ำจุดล้างมือให้เพียงพอ เหมาะสมกับวัยและ ถูกสุขลักษณะ ๗. การจัดการน�้ำดื่มให้สะอาดและเพียงพอ ๘. การจัดการน�้ำใช้ให้สะอาดและเพียงพอ ๙. การจัดท�ำสถานที่ส�ำหรับการจัดเตรียมอาหาร เครื่องดื่ม และของว่าง ที่ถูกสุขลักษณะและมีสถานที่รับประทาน อาหาร โต๊ะ เก้าอี้ อุปกรณ์ ภาชนะใส่อาหารที่ปลอดภัย สะอาด และขนาดเหมาะสม เพียงพอกับเด็ก ๑๐. การประกอบอาหารที่ถูกสุขลักษณะ ๑๑. การรักษาความสะอาดภายในและภายนอกอาคารตาม เกณฑ์ของศูนย์เด็กปลอดโรค
บทน�ำ
31
ชื่อองค์ประกอบ ของชุดกิจกรรม หลัก
ชื่อองค์ประกอบของ ชุดกิจกรรมย่อย
รายละเอียด
๑๒. การจัดท�ำพื้นที่สำ� หรับดูแลเด็กป่วยที่เป็นสัดส่วนมีการ จัดเตรียมอุปกรณ์ส�ำหรับดูแลเด็กป่วยและเด็กที่ได้รับ อุบัติเหตุให้เพียงพอ ๑๓. การก�ำหนดมาตรการด้านความปลอดภัยของศูนย์ฯ ในเรื่องระบบป้องกันภัยและรับรองเหตุฉุกเฉิน ระบบ ป้องกันภัยจากอุปกรณ์ ระบบป้องกันภัยจากสัตว์ ระบบป้องกันภัยจากบุคคล และระบบความปลอดภัย ในการเดินทาง ๒.๓ มีศูนย์บริการให้ยมื อุปกรณ์ส�ำหรับช่วย เหลือ ดูแลเด็ก ๓-๕ ปีที่มีความผิดปกติ
๑. มีศูนย์บริการให้ยมื อุปกรณ์จ�ำเป็นช่วยเหลือในการ ด�ำเนินชีวิตของเด็ก ๓-๕ ปีเช่นอุปกรณ์บริหารกล้ามเนื้อ มัดต่างๆ เครื่องฝึกยืน เครื่องดูดเสมหะถังออกซิเจน เป็นต้น ๒. มีศูนย์ประสานงานหรือผู้รบั ผิดชอบในการช่วยเหลือ เรื่องการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือเด็ก ๓-๕ ปี
๒.๔ มีกลุ่มช่วยเหลือกัน
๑. สนับสนุนให้มกี ลุ่มอื่นๆ ช่วยดูแลเด็ก ๓-๕ ปี เช่น กลุ่ม ท�ำอาหารส�ำหรับเด็ก ทั้งเด็กป่วย พิการ และกลุ่มปกติ กลุ่มเพื่อนบ้านช่วยเหลือกันดูแลกันในการรับยาการ ส่งเสริมพัฒนาการกิน กอด เล่น เล่าเยี่ยมให้ก�ำลังใจ ผู้ดูแลเฝ้าระวังความรุนแรงในครอบครัวเป็นต้น ๒. สร้างวัฒนธรรมในการช่วยเหลือเด็ก ๓-๕ ปีในชุมชน เช่น การเปิดพื้นที่ช่วยเหลือสนับสนุนการดูแลกลุ่มเด็ก ที่มีความผิดปกติ ได้แก่ การรับบริจาคของเล่นเด็ก ผ้าอ้อมส�ำเร็จรูปส�ำหรับเด็กที่เจ็บป่วยพิการ เสื้อผ้า เป็นต้น สร้างเครือข่ายช่วยเหลือดูแลเด็ก ๓-๕ ปี ให้ สวัสดิการส�ำหรับครอบครัวที่มีเด็กป่วย เช่น การซื้อ สินค้าในร้านค้าของชุมชนในราคาถูก การแบ่งปัน ผลก�ำไรของกองทุนชุมชนช่วยเหลือครอบครัวที่มี เด็กป่วยหรือพิการ เป็นต้น
32
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ชื่อองค์ประกอบ ของชุดกิจกรรม หลัก
ชื่อองค์ประกอบของ ชุดกิจกรรมย่อย
รายละเอียด
๓. การพัฒนา ระบบบริการ
๓.๑ บริการเด็ก ๓-๕ ปีท่ี บ้าน
๑. จัดบริการดูแลเด็ก ๓-๕ ปีที่บ้านเป็นบริการตามภาวะ สุขภาพตั้งแต่ปกติ เจ็บป่วย พิการ เป็นการจัดการ บริการดูแลทางร่างกายและจิตใจ เช่น การดูแลกิจวัตร ประจ�ำวันเรื่องการรับประทานอาหาร อาบน�้ำ ท�ำความ สะอาดร่างกาย ออกก�ำลังกายพื้นฟู ส่งเสริมพัฒนาการ การเจริญเติบโต การได้รับภูมคิ ุ้มกันตามมาตรฐาน การดูแลสายสวนต่างๆ การดูแลท่อช่วยหายใจ การให้ อาหารทางสายยาง ท�ำแผลพลิกตะแคงตัว เป็นต้น รวมไปถึงการเพิ่มสมรรถนะของผู้ดูแลในการช่วยเหลือ ดูแลเด็ก ๓-๕ ปีท่บี ้านได้เหมาะสม ๒. การให้การบริการอื่นๆ เช่น ค�ำปรึกษาผู้ปกครอง ผู้ดูแล เด็กเรื่องสุขภาพอย่างน้อย ๑ ครั้งต่อปี การเบิกรับยา การบริการอื่นๆ เช่น การจัดบริการอาหารเฉพาะหรือ ตามความต้องการ รวมทั้งการดูแลเด็ก ๓-๕ ปีที่มีความ ผิดปกติ พิการ
๓.๒ บริการรับ-ส่ง ๒๔ ช.ม. เพื่อการรักษา ช่วยเหลือและกรณี อุบัติเหตุ ฉุกเฉิน ชัก ถูกกระท�ำรุนแรง
๑. จัดการบริการรับ-ส่ง ๒๔ ชม.เพื่อการรักษาช่วยเหลือ และกรณีอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน ชัก ถูกกระท�ำรุนแรงโดย ครอบครัว ชุมชน
๓.๓ จัดบริการของศูนย์ ๑. จัดบริการเพื่อให้เด็ก ๓-๕ ปีเข้ารับบริการในช่วงเวลา เด็ก ๓-๕ ปี (Day กลางวันมีบริการรับ-ส่ง มีการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย Care) ภายในรพ.สต. ไว้บริการภายในศูนย์ฯ เช่น การดูแลสุขภาพทั่วไป การ รพ.อปท. หรือองค์กร ดูแลกิจวัตรช่วงกลางวัน จัดให้มีนักจิตวิทยาส่งเสริม ของชุมชน เช่น วัด พัฒนาการ เช่น ฝึกกล้ามเนื้อมัดต่างๆ การฝึกสมอง เป็นต้น และสามารถให้บริการทั้งในภาวะปกติ ฉุกเฉิน ๒. มีการจัดพื้นที่ Day Careเพื่อส่งเสริมด้านพัฒนาการเด็ก ในด้านต่างๆ เช่น ของเล่นที่ส่งเสริมการมองเห็น การ บริหารกล้ามเนื้อตา บริหารกล้ามเนื้อแขน ขา ส่งเสริม ด้านอารมณ์เช่นเสียงดนตรี เสียงสัตว์ เป็นต้น
บทน�ำ
33
ชื่อองค์ประกอบ ของชุดกิจกรรม หลัก
ชื่อองค์ประกอบของ ชุดกิจกรรมย่อย
รายละเอียด
๓.๔ บริการให้ค�ำปรึกษา ทางไกล
๑. จัดให้มีระบบTelemedicine เพื่อประสานการดูแลรักษา ระหว่างเครือข่ายบริการสุขภาพและบริการให้ค�ำปรึกษา แก่ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแลเด็ก ๓-๕ ปี แบบ Hotline ใน เรื่องต่างๆเช่นสุขภาพการเข้าถึงสิทธิต่างๆ เป็นต้น
๓.๕ เปิดช่องทางพิเศษ ๑. หน่วยงานที่ให้การบริการแก่เด็ก ๓-๕ ปี เช่น รพ.สต. ส�ำหรับการให้บริการ รพ. อปท.จัดพื้นที่เฉพาะไว้รองรับเด็ก ๓-๕ ปี เช่น การ เด็ก ๓-๕ ปี จัดคิวที่น่งั เฉพาะห้องตรวจเป็นต้น ที่เป็นช่องทางพิเศษ เพื่อลดระยะเวลาบริการ ๓.๖ การดูแลสุขภาพเด็ก ใน ศพด.
๑. การดูแล ให้เด็กมีน�้ำหนัก ส่วนสูง เป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐาน การดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน ๒. การตรวจร่างกายเด็ก ๓. การดูแลให้เด็กนอนพักผ่อนกลางวันอย่างเพียงพอ (อย่างน้อย ๑-๒ ชั่วโมงต่อวัน) ๔. การดูแลให้เด็กได้เล่นออกก�ำลังกาย ๕. การป้องกันโรคติดต่อ ๖. การช่วยเหลือเมื่อมีปัญหาสุขภาพเฉียบพลันหรือเรื้อรัง หรือการช่วยเหลือเบื้องต้นในกรณีเด็กเจ็บป่วยหรือได้รับ อุบัติเหตุอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ๗. การจัดท�ำระบบฐานข้อมูลการเจ็บป่วยของเด็กและ ข้อมูลการส่งต่อของเด็กที่ทนั สมัยและเป็นระบบ
๓.๗ พัฒนาการบริหาร จัดการใน ศพด.
๑. การจัดท�ำแผนพัฒนาที่สอดคล้องกับปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของศูนย์พฒ ั นาเด็กและ สอดคล้องกับนโยบายต้นสังกัดและหน่วยงานของรัฐ ๒. การจัดท�ำแผนการจัดหลักสูตร รวมทั้งมีการก�ำกับนิเทศ ก�ำกับติดตาม ประเมินผลการใช้หลักสูตร ๓. การพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่สะท้อนถึง เอกลักษณ์ของศูนย์ฯ
34
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ชื่อองค์ประกอบ ของชุดกิจกรรม หลัก
ชื่อองค์ประกอบของ ชุดกิจกรรมย่อย
รายละเอียด
๔. การจัดท�ำแผนการบริหารบุคลากร และแผนการพัฒนา บุคลากรที่มีความรู้ความสามารถด้านการพัฒนา เด็กปฐมวัยอย่างมีคุณภาพและเพียงพอ ๕. การเสริมสร้างขวัญและก�ำลังใจและประเมินผลการ ปฏิบัติงานของบุคคลากรทุกฝ่ายอย่างเหมาะสม ๖. การส่งเสริมให้บุคลากรมีคุณธรรม จริยธรรมเป็นแบบ อย่างที่ดีแก่เด็กและผู้ปกครอง ๗. การส่งเสริมให้บุคลากรมีการท�ำงานเป็นทีม (team learning) ๘. การบริหารจัดการงานธุรการ การเงิน พัสดุ อย่างเป็น ระบบ มีการใช้งบประมาณอย่างเหมาะสมเป็นระบบ โปร่งใส และตรวจสอบได้ ๙. การจัดท�ำฐานข้อมูลที่ครอบคลุมในด้านข้อมูลเด็ก ครอบครัว บุคลากร สิ่งแวดล้อม สุขภาพ อุบัติเหตุและ ความปลอดภัย มีการจัดเก็บข้อมูลที่มีความถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน ๑๐. การประกันคุณภาพภายใน ๑๑. การส่งเสริมให้คณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็ก เล็กท�ำงานอย่างมีประสิทธิภาพและมีการประชุมอย่าง สม�่ำเสมอ ๓.๘ ศพด. มีการพัฒนา เครือข่ายในการ ท�ำงาน
๑. การส่งเสริมการท�ำงานของเครือข่ายในการพัฒนา เด็กปฐมวัย
๔. การจัดตั้ง ๔.๑ กิจกรรมการดูแลเด็ก ๑. ร่วมสร้างกิจกรรมของกองทุนเพื่อดูแลเด็ก ๓-๕ ปีด้าน กองทุนหรือ ๓-๕ ปีเป็นส่วนหนึ่ง การดูแลสุขภาพการเพิ่มรายได้ให้ผู้ปกครอง ผู้ดูแลกลุ่ม จัดให้มี ของสวัสดิการ เด็กที่เจ็บป่วย พิการ เช่น สถาบันการเงินของชุมชน สวัสดิการ ของกองทุนในชุมชน กองทุนสัจจะออมทรัพย์ กลุ่มสหกรณ์ออมทรัพย์ ช่วยเหลือกัน กองทุนเพื่อช่วยเหลือผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือตาม ความจ�ำเป็น กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ เป็นต้น
บทน�ำ
35
ชื่อองค์ประกอบ ของชุดกิจกรรม หลัก
ชื่อองค์ประกอบของ ชุดกิจกรรมย่อย
รายละเอียด
๒. เพิ่มช่องทางในการระดมทุนอื่นๆ เช่น การท�ำบุญ กฐิน-ผ้าป่าเพื่อการดูแลเด็ก ๓-๕ ปี โดยเฉพาะกลุ่มที่ เจ็บป่วย ๔.๒ สบทบทุนการสร้าง บุคคลากรสหสาขา วิชาชีพในการดูแล สุขภาพเด็ก ๓-๕ ปี
๑. จัดสรรงบประมาณเพื่อสบทบทุนการสร้างบุคคลากร สหสาขาวิชาชีพในการดูแลสุขภาพเด็ก ๓-๕ ปี ใน ชุมชน เช่น แพทย์ พยาบาล ทันตแพทย์ เภสัชกร สาธารณสุขนักจิตวิทยา กายภาพบ�ำบัด ทันตาภิบาล เป็นต้น
๔.๓ สมทบทุนเพื่อจัดตั้ง ศูนย์บริการหรือ สนับสนุนการบริการ แก่เด็ก ๓-๕ ปีใน ภาวะปกติพิการ เจ็บป่วย
๑. การจัดตั้งศูนย์บริการหรือสนับสนุนการบริการแก่เด็ก ๓-๕ ปีในภาวะปกติ พิการ เจ็บป่วยได้แก่ เด็กมี พัฒนาการผิดปกติ ทุพลโภชนาการ พิการสติปัญญา ร่างกาย หรือถูกกระท�ำรุนแรงจากครอบครัว เป็นต้น
๕. การพัฒนา ๕.๒ การพัฒนาระบบ และน�ำใช้ ข้อมูลเพื่อการดูแล ข้อมูลใน การ เด็ก ๓-๕ ปี ส่งเสริมแก้ไข/ จัดการปัญหา เด็ก ๓-๕ ปี
36
๑. มีการจัดท�ำข้อมูลโดยคนในชุมชนและมีส่วนร่วมจาก ทุกฝ่ายตั้งแต่ขั้นตอนการเก็บการตรวจสอบ ความถูก ต้องการวิเคราะห์เพื่อใช้จดั การดูแลและประเมินผล การดูแล
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ชื่อองค์ประกอบ ของชุดกิจกรรม หลัก
ชื่อองค์ประกอบของ ชุดกิจกรรมย่อย
รายละเอียด
๒. มีข้อมูลเด็ก ๓-๕ ปีที่ครบถ้วน ครอบคลุมเพื่อใช้จัดการ ดูแล เช่น ๑) มีข้อมูลพื้นฐานเช่นพัฒนาการการเจริญ เติบโต การได้รบั ภูมิคุ้มกันโรค เป็นต้น ๒) ข้อมูลสถานะ สุขภาพเด็ก ๓-๕ ปีท้งั ที่เป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่ม ป่วย พิการ มีแผนที่เด็ก ๓-๕ ปีจ�ำแนกสถานะสุขภาพ เป็นต้น ๓) ข้อมูลทุนและศักยภาพที่ใช้เพื่อจัดการดูแล ตามปัญหาความต้องการและความจ�ำเป็นเช่นข้อมูล กลุ่มอาสาสมัครช่วยเหลือเด็ก ๓-๕ ปีกลุ่มอาชีพแหล่ง สนับสนุนอุปกรณ์ช่วยเหลือในชีวิตประจ�ำวันเช่นของเล่น เด็กเครื่องฝึกยืน ฝึกเดิน เป็นต้น ๔) มีแผนการดูแล เด็ก ๓-๕ ปีที่มาจากการใช้ข้อมูลและชุมชนจัดท�ำแบบมี ส่วนร่วม ๕) ข้อมูลผลที่เกิดจากการใช้ข้อมูลดูแล เช่น แนวโน้มภาวะสุขภาพการเพิ่มขึ้นของความผิดปกติด้าน พัฒนาการ ข้อมูลการเกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ข้อมูลโรคระบาด เช่น ไข้เลือดออก มือเท้าปาก การเพิ่ม ขึ้นของอาสาสมัคร เป็นต้น ๖.๒ การน�ำใช้ข้อมูลทุน ๑. มีการใช้ข้อมูลทุนทางสังคมและแหล่งประโยชน์จดั ท�ำ ทางสังคมและแหล่ง แผนโครงการในการจัดสวัสดิการท้องถิ่นจัดบริการ ประโยชน์ในการ ช่วยเหลือ ดูแลเด็ก ๓-๕ ปีตามสภาพปัญหาความ ด�ำเนินกิจกรรมและ จ�ำเป็นและความต้องการของเด็ก ๓-๕ ปีเช่นจัดบริการ การบริการส�ำหรับเด็ก ให้การดูแลตามสภาพทีป่ ระเมินใช้ข้อมูลกลุ่มอาสา ๓-๕ ปี สมัครช่วยเยี่ยมบ้านเพื่อช่วยเหลือเด็ก ๓-๕ ปีท่เี จ็บป่วย พิการ หรือถูกกระท�ำรุนแรงในครอบครัวเป็นต้น ๒. ศพด. มีการใช้ทนุ ทางสังคมเพื่อพัฒนาศักยภาพเด็ก/ครู/ ผู้ดูแลเด็กในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก และผู้ปกครอง ๗.๒ มีช่องทางการเรียนรู้ ข้อมูลเพื่อการดูแล เด็ก ๓-๕ ปี
๑. สร้างและเพิ่มช่องทางการเรียนรู้ข้อมูลการดูแลเด็ก ๓-๕ ปี ให้กับผู้ปกครองและผู้ดูแลอย่างหลากหลายช่องทาง เช่น การประชาคม การประชุมการปรึกษาหารือ การจัด ท�ำแผนการดูแล การบอกปากต่อปาก วิทยุชุมชน หอกระจายข่าว เอกสารหนังสือพิมพ์เพื่อกระจายข่าว เป็นต้น
๘.๒ ศพด. มีช่องทาง สื่อสารกับผู้ปกครอง อย่างสม�่ำเสมอ
๑. การติดต่อสื่อสาร/การแลกเปลี่ยนเรียนระหว่างศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก และผู้ปกครองและชุมชนที่ส่งผลต่อการ ดูแลและพัฒนาเด็กอย่างสม�่ำเสมอ และมีการให้บริการ วิชาการ แก่ผู้ปกครอง/ชุมชน บทน�ำ
37
ชื่อองค์ประกอบ ของชุดกิจกรรม หลัก
ชื่อองค์ประกอบของ ชุดกิจกรรมย่อย
รายละเอียด
๖. การพัฒนากฎ ๑. มีข้อบัญญัตทิ ้องถิ่น ๑. มีข้อบัญญัตทิ ้องถิ่นแผนการดูแลจัดสรรงบประมาณใน กติกา และแผนงบประมาณใน การสนับสนุนการดูแลเด็ก ๓-๕ ปีท่คี รอบคลุมทั้งงาน ระเบียบแนว การสนับสนุนการดูแล บริการ กิจกรรมกองทุนสวัสดิการ เช่น ข้อบัญญัติ ท้อง ปฏิบัติเพื่อ เด็ก ๓-๕ ปี ถิ่นส�ำหรับดูแลเด็ก ๓-๕ ปี แผนการดูแลเด็ก ๓-๕ ปี หนุนเสริมการ ที่พิการ โครงการคัดกรองเด็กที่มีการเรียนรู้ผิดปกติ ด�ำเนิน โครงการส่งเสริมการกระตุ้นพัฒนาการเด็ก Cerebral กิจกรรมเสริม palsy เป็นต้น ความเข้มแข็ง ชุมชนท้องถิ่น ๒. ธรรมนูญสุขภาพเพื่อ การดูแลสุขภาพเด็ก ๓-๕ ปี
๑. มีธรรมนูญสุขภาพก�ำหนดการจัดระบบบริการเพื่อดูแล เด็ก ๓-๕ ปี เช่น ก�ำหนดให้มกี ารพัฒนากระบวนการ บริการสาธารณสุขเชิงรุกอย่างต่อเนื่องส�ำหรับการดูแล เด็ก ๓-๕ ปี โดยการจัดแพทย์และพยาบาลให้เพียงพอ ต่อการดูแลส่งเสริมสนับสนุนและร่วมกันดูแลช่วยเหลือ เด็ก เช่น การกระตุ้นพัฒนาการที่บ้าน การประเมิน พฤติกรรม EQ IQ โดยนักจิตวิทยา ในกลุ่มเด็ก ๓-๕ ปี เป็นต้น
๕.๓ ชุดกิจกรรมหลักการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชน ชุดกิจกรรมที่ ๑. การเพิ่มทักษะและสร้างการ เรียนรู้ของเด็กและเยาวชน
งาน/กิจกรรม ๑. จัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนหรือองค์กรด้านเด็กและเยาวชนให้มี ส่วนร่วมท�ำกิจกรรมของชุมชนอย่างน้อย ๑ องค์กร ๒. จัดกิจกรรม โครงการ ให้เด็กและเยาวชนร่วมเป็นผู้น�ำในการ พัฒนากิจกรรมในพื้นที่ ๓. สร้างภาคีเครือข่ายและจัดตั้งกลไกการขับเคลื่อนเพื่อส่งเสริม การเรียนรู้ในการเพิ่มสมรรถนะเด็กและเยาวชนทุกด้านเช่น การ แต่งตั้งคณะกรรมการ การมีเครือข่ายจากสถาบันการศึกษา เป็นต้น ๔. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการขับเคลื่อนการเพิ่มสมรรถนะเด็ก และเยาวชนอย่างน้อย ๑ ครั้ง เช่น การจัดค่ายเด็กและเยาวชน เป็นต้น
38
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ชุดกิจกรรมที่
งาน/กิจกรรม ๕. จัดค่ายเพื่อสร้างการเรียนรู้ให้กบั เครือข่ายเด็กและยาวชนอย่าง น้อย ๑ ค่าย ๖. จัดตั้งเครือข่ายเด็กและเยาวชนในระดับพื้นที่ที่มีเด็กและเยาวชน ร่วม ไม่น้อยกว่า ๑ ๐คน ๗. จัดกิจกรรมให้เด็กและเยาวชนร่วมมีบทบาทในการพัฒนากิจกรรม ในพื้นที่ ๘. จัดฝึกอบรมพัฒนาศักยภาพแกนน�ำเด็กและเยาวชนให้มภี าวะ ผู้น�ำและมีบทบาทในการพัฒนากิจกรรมในพื้นที่ ๙. จัดโครงการ กิจกรรม ที่สร้างให้เกิดการเรียนรู้และเพิ่มทักษะชีวิต ฝึกอบรม กีฬา ศิลปะ ค่ายฤดูร้อนการฝึกอาชีพ หรือกิจกรรมอื่นๆ ตามความสนใจให้เด็กและเยาวชน ๑๐. จัดค่าย เพื่อสร้างการเรียนรู้และเพิ่มทักษะชีวิต ให้กับเครือข่าย เด็กและเยาวชน จ�ำนวน ๑ ค่าย ๑๑. จัดโครงการให้เด็กและเยาวชนได้มบี ทบาทในการร่วมพัฒนา กิจกรรมในพื้นที่ ๑๒. สร้างนวัตกรรมที่สร้างให้เกิดการเรียนรู้และเพิ่มทักษะชีวติ ที่ ด�ำเนินการโดยเครือข่ายเด็กและเยาวชนในพื้นที่ ๑๓. จัดท�ำนโยบายส่งเสริม สนับสนุนให้เด็กและเยาวชนมีการ ประกอบอาชีพตามบริบทพื้นที่ ที่เหมาะสมกับวัย เพศ และ พัฒนาการของเด็กและเยาวชน ๑๔. จัดอบรม เรื่องการสนับสนุนให้เด็กและเยาวชนมีการประกอบ อาชีพตามบริบทพื้นที่ที่เหมาะสมกับวัย เพศ และพัฒนาการ ๑๕. พัฒนากระบวนการจัดการ กลไกทางการตลาดให้กบั กลุ่มของ เด็กและเยาวชน
๒. การมีส่วนร่วมของชุมชนในการ แก้ไข ปัญหาของเด็กและ เยาวชน
๑. จัดตั้งกลุ่มหรือกิจกรรมเพื่อสร้างจิตส�ำนึกรักบ้านเกิด เช่น การ ตั้งกลุ่มอนุรักษ์ผ้าทอในหมู่บ้าน การละเล่นพื้นบ้าน ๒. สร้างนวัตกรรมที่ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่เกิดการออม (เช่น ธนาคารเด็ก)อย่างน้อย ๑ เรื่อง ๓. จัดท�ำแผนสนับสนุน ส่งเสริม ให้เครือข่ายเด็กและเยาวชนในพื้นที่ พัฒนานวัตกรรมการจัดการปัจจัยเสี่ยงทางด้านสุขภาพ
บทน�ำ
39
ชุดกิจกรรมที่
งาน/กิจกรรม ๔. จัดโครงการกิจกรรม ฝึกอบรมเพิ่มทักษะการสร้างเสริมพฤติกรรม ที่เหมาะสมให้กบั เด็กและเยาวชน ๕. จัดกิจกรรม โครงการ เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชน โดยเน้นการ สืบทอดและอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณีของชุมชน ๖. สร้างนวัตกรรมเด็กและเยาวชน ที่เชื่อมโยงสถาบัน บ้าน องค์กร ศาสนา โรงเรียน โดยเน้นการสืบทอดและอนุรกั ษ์ขนบธรรมเนียม ประเพณีของชุมชน
๓. การบริหารจัดการกองทุนและ สวัสดิการส�ำหรับกิจกรรม สร้างสรรค์
๑. จัดตั้งกองทุนหรือสวัสดิการชุมชนที่สนับสนุนการจัดกิจกรรม สร้างสรรค์ของเด็กและเยาวชน ๒. รณรงค์และขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านการพัฒนาสุขภาวะ เด็กและเยาวชน ที่น�ำสู่การปฏิบัติในพื้นที่ อย่างน้อย ๓ นโยบาย ๓. จัดตั้งกองทุนและสวัสดิการชุมชนขยายครอบคลุมกิจกรรม สร้างสรรค์ของเด็กและเยาวชน ๔. จัดกิจกรรม โครงการ ให้เด็กและเยาวชน มีส่วนร่วมในการบริจาค และช่วยเหลือเงินทุน อุปกรณ์ ทรัพยากรรวมถึงบุคลากร แก่ผู้ท่ี ขัดสน ด้อยโอกาส ยากจน และพิการเพื่อให้เด็กและเยาวชนมี กิจกรรมร่วมกัน ๕. จัดตั้งกองทุนชุมชนเพื่อช่วยเหลือเยียวยาสงเคราะห์ เด็กและ เยาวชนที่ขัดสน ยากจน พิการ เป็นต้น
๔. การพัฒนาระบบข้อมูลด้านเด็ก ๑. ด�ำเนินการทบทวนข้อมูลวิจัยชุมชน (RECAP) และข้อมูลพื้นฐาน และเยาวชนและการน�ำใช้ ต�ำบล (TCNAP )สังเคราะห์ข้อมูลทุนและศักยภาพต�ำบล เพื่อน�ำ ไปใช้ในงานพัฒนาสุขภาวะเด็กและเยาวชน และมีการทบทวน ทุกรอบปี ๒. สร้างช่องทางในการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ข้อมูลการด�ำเนิน งานด้านเด็กและเยาวชน เช่น เว็บไซด์ จดหมายข่าว หอกระจาย ข่าว เป็นต้น ๓. จัดท�ำรายงานการประเมินผลและรายงานสถานการณ์ ปัญหา และคุณภาพชีวิตของเด็กและเยาวชน
40
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ชุดกิจกรรมที่
งาน/กิจกรรม
๕. การก�ำหนดกฎ กติกา หรือข้อ บัญญัติท้องถิ่น เพื่อเฝ้าระวัง ปัญหาและปกป้องสิทธิของเด็ก และเยาวชน
๑. จัดท�ำกฎ กติกาชุมชน หรือข้อบัญญัติท้องถิ่นว่าด้วยการเฝ้าระวัง ปัญหาและปกป้องสิทธิของเด็กและเยาวชน เช่น ยาเสพติด อบายมุข การทะเลาะวิวาท การมั่วสุม ท้องไม่พร้อม เป็นต้น โดย เด็กและเยาวชนเข้าไปมีส่วนร่วมในการพัฒนา ๒. จัดท�ำนโยบายเพื่อจัดระเบียบชุมชนให้ปลอดภัยและมีการกวดขัน การใช้ชวี ิตของเด็กและเยาวชนในสถานที่ไม่เหมาะสม
๕.๔ ตัวชีวัดการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยในส่วนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตัวชี้วัดที่ ๑. การส่งเสริม การเรียนรู้
องค์ประกอบ ๑.๑ การจัดท�ำ หลักสูตร
รายละเอียด ๑) การจัดท�ำหลักสูตรการเรียนรู้ที่ครอบคลุม การเรียนรู้ด้าน ร่างกาย สังคม สติปัญญา ๑.๑) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ส�ำหรับเด็กเพื่อการส่งเสริม การเรียนรู้และพัฒนาการโดยการจัดกิจกรรมในแต่ละ วันผ่านการจัดกิจกรรมผ่านการเล่นส�ำหรับเด็กที่ เหมาะสมตามวัยเพื่อตอบสนองความต้องการพื้นฐาน ของชีวิต ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา เด็กร่วมกับทางศพด. ๑.๒) แนวทางการจัดกิจกรรม เพื่อตอบสนองต่อการเรียนรู้ ด้านร่างกาย ผ่านกิจกรรมการเคลื่อนไหว คลาน ยืน เดิน ด้านจิตใจ อารมณ์ ผ่านการตอบสนองความ ต้องการดนตรี เพลง ด้านสังคม การใช้ภาษา และสติ ปัญญา ผ่านการเล่นของเล่น การเล่านิทาน การเข้า กลุ่มท�ำกิจกรรม ด้านสติปัญญา ผ่านการคิด การมอง ฟัง สัมผัสสิ่งของ สถานที่จริง การใช้ภาษาผ่านการฟัง นิทาน การเขียน การอ่าน การสังเกตเปรียบเทียบ สิ่งของ จ�ำนวน การตอบสนองความต้องการพื้นฐาน ผ่านการดูแลในเรื่องของอาหาร การนอนหลับ การ ขับถ่าย ๑.๓) สาระการเรียนรู้ ได้แก่ เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก บุคคล สถานที่ สิ่งแวดล้อม ธรรมชาติ สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก ๑.๔) การจัดหา/ผลิตสื่อในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ทุกด้านอย่างเหมาะสมและ สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ ๑.๕) การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ส�ำหรับเด็ก
บทน�ำ
41
ตัวชี้วัดที่
องค์ประกอบ
รายละเอียด
๑.๒ มีแผนการ ๑) มีแผนการด�ำเนินกิจกรรมตามหลักสูตรที่วางไว้ แผนในการ ด�ำเนินกิจกรรม จัดหลักสูตรมีตั้งแต่การจัดกิจกรรมตาม หลักสูตรรายวัน ตามหลักสูตร รายสัปดาห์ รายเดือน ตามตัวอย่าง หน้าที่ ๓๘๐-๓๘๒ ๑.๓ การประเมินผล ๑) การประเมินผลการเรียนรู้ โดยสามารถใช้แบบประเมิน TDSI, DSPM, DENVER, DENVER, อนามัย ๕๕, กรมปกครอง ส่วนท้องถิ่น ๒) การส่งเสริม พัฒนาการ
๒.๑ การจัดท�ำ หลักสูตร
๑) มีการจัดท�ำหลักสูตรที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยทั้ง ๔ ด้าน คือ ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา สามารถบูรณาการร่วมกับหลักสูตรการส่งเสริมการเรียนรู้ โดยมีหลักในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก คือ ๑.๑) มีการส่งเสริมทั้งด้าน IQ, EQ, MQ ๑.๒) มีการจัดท�ำตารางกิจกรรมการเล่นที่เหมาะสมกับวัย ๑.๓) มีการส่งเสริมการเรียนรู้ท่รี อบด้าน ๑.๔) จัดให้มีอุปกรณ์การเล่นที่ส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสม และเพียงพอ ๑.๕) จัดสถานที่และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริม พัฒนาการ ๑.๖) จัดกิจกรรมการส่งเสริมพัฒนาการโดยการบูรณาการให้ มีการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมท้องถิ่น ตามบริบทอย่างต่อเนื่อง ๒) การจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการตามหลักสูตร
๒.๒. มีแผนการ จัด ๑. น�ำหลักสูตรทีจ่ ดั ไว้มาออกแบบกิจกรรมการส่งเสริมพัฒนาการ กิจกรรมเพื่อส่ง โดย เสริม ๑.๑) กิจกรรมเสรี/กิจกรรมกลางแจ้ง โดยการเล่นอิสระ พัฒนาการ การปรับตัวทางด้านจิตใจ อารมณ์สังคม การพัฒนา กล้ามเนื้อมัดใหญ่ การส่งเสริมทักษะด้านการช่วยเหลือ ตนเองและสังคม ๑.๒) กิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อให้เด็กได้แสดงออกทางอารมณ์ ความรู้สกึ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้เด็กมี คุณลักษณะที่ดีทางสังคมเบื้องต้น เช่น การรู้จกั รอคอย การมีวินยั การรู้จักกฎ ระเบียบ กติกา ของห้องเรียน ๑.๓) เกมส์การศึกษา เพื่อพัฒนาสติปัญญา ความคิดของ เด็ก ช่วยในการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก ๑.๔) การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ด้านการเข้าใจภาษา ๑.๕) กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อ มัดใหญ่รายละเอียดดังตัวอย่างการจัดกิจกรรมเพื่อ ส่งเสริมพัฒนาการ หน้าที่ ๓๘๓
42
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ตัวชี้วัดที่
องค์ประกอบ
รายละเอียด
๒.๓ มีการตรวจ คัด ๑) คัดกรองพัฒนาการตั้งแต่แรกรับเด็กเข้ามาที่ศพด. กรอง ๒) เมื่ออยู่ในศพด. มีการตรวจคัดกรอง ปีละ ๒ ครั้ง โดยการ พัฒนาการ ตรวจคัดกรองพัฒนาการปีละ ๒ ครั้ง โดยการตรวจสอบ พัฒนาการเด็กทั้ง ๔ ด้าน คือ ๑) ด้านสังคมและการช่วย เหลือตนเอง ๒) ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและการปรับตัว ๓) ด้านภาษา ๔) ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ ๓) เมื่อพบว่าเด็กมีพัฒนาการที่ล่าช้า มีการรายงานให้ผู้ปกครอง ทราบ เพื่อวางแผนร่วมกันกับทาง ศพด. ในการส่งเสริมและ กระตุ้นพัฒนาการในด้านที่ล่าช้าร่วมกัน มีการประเมินซ�้ำทุก ๒ สัปดาห์ หากพบว่ายังมีพัฒนาการล่าช้าแนะน�ำให้ไปพบ กุมารแพทย์ท่เี ชี่ยวชาญเรื่องพัฒนาการ ๒.๔ การประเมิน พัฒนาการ
หลังจากมีการจัดกิจกรรมตามหลักสูรทางศพด.ต้องมีการประเมิน พัฒนาการเด็ก ปีละ ๒ ครั้ง โดยสามารถเลือกใช้แบบประเมิน พัฒนาการ ได้แก่ TDSI, DENVER, DSPM, อนามัย ๕๕
๓) สิ่งแวดล้อมที่ ๓.๑ สิ่งแวดล้อม ๑) การจัดพื้นที่ภายในอาคารให้มคี วามเพียงพอและมีความ เอื้อต่อการ ภายในอาคาร ปลอดภัย โดย เรียนรู้ท่เี ป็น ๑.๑) ตัวอาคาร มั่นคงแข็งแรงปลอดภัย พื้นที่สร้าง ๑.๒) ประตู หน้าต่าง เพดานอยู่ในสภาพดี สรรค์หรือ ๑.๓) มีทาง เข้าออกอย่างน้อย ๒ ทางหรือถ้ามีทางออกอย่าง สนามเด็กเล่น เดียวต้องกว้างอย่างน้อย ๒๐๐ เซนติเมตร ๑.๔) การจัดพื้นที่ภายในอาคารให้เพียงพอ เหมาะสมต่อการ จัดกิจกรรมและการเรียนรู้ของเด็ก โดย - พื้นที่ในห้องเรียนแบ่งเป็นสัดส่วนส�ำหรับการท�ำ กิจกรรมที่หลากหลายรูปแบบ มีพื้นที่ว่างส�ำหรับนั่ง ท�ำงาน มีพื้นที่ส�ำหรับเก็บอุปกรณ์ของเด็กและครู หรือผู้ดูแลเด็ก - มีพื้นที่ห้องส�ำหรับจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริม ประสบการณ์การเรียนรู้ที่พอเพียงและเหมาะสมโดย มีพื้นที่ไม่น้อยกว่า ๒ ตารางเมตรต่อเด็ก ๑ คน - ภายในห้องมีแสงสว่างเพียงพอและอากาศถ่ายเทดี - โต๊ะ เก้าอี้ ของเล่นและของใช้มขี นาดที่เหมาะสมกับ จ�ำนวนของเด็ก - มีถังขยะที่เก็บมิดชิดอยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดี มีเพียง พอและมีการเก็บขยะที่ออกนอกตัวอาคารทุกวันเพื่อ น�ำไปก�ำจัดอย่างถูกต้อง
บทน�ำ
43
ตัวชี้วัดที่
องค์ประกอบ
รายละเอียด ๑.๕) มีห้องน�้ำ ห้องส้วมที่เพียงพอเหมาะสมกับวัยและถูก สุขลักษณะ - มีปริมาณโถส้วมส�ำหรับเด็ก โดยเฉลี่ยอย่างน้อย ๑ โถ ต่อเด็ก ๑๐-๑๒ คน - ห้องน�้ำกับห้องส้วมแยกออกจากกัน เพื่อให้พื้นแห้ง ท�ำความสะอาดให้ และมีแผ่นยางกันลื่นในห้องน�้ำ ๑.๖) การจัดจุดล้างมือให้เพียงพอ เหมาะสมกับวัย ถูกสุขลักษณะ - มีก๊อกน�้ำล้างมือ โดยเฉลี่ย ๑ จุดต่อเด็ก ๑๐ คน - จัดให้มีอ่างส�ำหรับล้างมือและแปรงฟัน มีความสูง และความกว้างที่เหมาะสมกับเด็ก มีสบู่ส�ำหรับล้าง มือ และแยกจากอ่างล้างมือที่ใช้ในห้องน�้ำ - จัดให้มีผ้าเช็ดมือที่จัดเก็บในที่สะอาด ไม่อับชื้น ไม่ ปนเปื้อน และซักท�ำความสะอาดทุกครั้ง ๑.๗) การจัดหาน�้ำดื่ม น�ำ้ ใช้ให้สะอาดและเพียงพอ - มีปริมาณน�้ำดื่มที่เพียงพอส�ำหรับเด็กทุกคน โดย เฉลี่ยไม่น้อยกว่า ๕๐๐ มิลลิเมตรต่อคนต่อวัน - ภาชนะบรรจุน�้ำดื่มสะอาด มีฝาที่ปิดมิดชิด ไม่มี คราบสกปรก - ภาชนะที่ใช้บรรจุน�้ำดื่มและแก้วน�้ำดื่มต้องสูงจากพื้น มากกว่า ๖๐ เซนติเมตร - มีการแยกแก้วน�้ำส่วนตัวหรือใช้แล้วต้องน�ำไปล้าง ทุกครั้ง ไม่มกี ารผูกแก้วน�้ำติดกับภาชนะบรรจุน�้ำดื่ม ๑.๘) มีการท�ำความสะอาดของเล่นเด็กทุกสัปดาห์ เช่น ของเล่นที่ท�ำจากไม้ พลาสติก ล้างด้วยน�้ำยาท�ำความ สะอาดหรือน�้ำยาฆ่าเชื้อ และผึ่งแดดให้แห้ง ของเล่น ประเภทกระดาษมีการปัดฝุ่น และผึ่งแดด ของเล่น ประเภทผ้า ตุ๊กตา ซักด้วยน�้ำยาท�ำความสะอาดหรือ น�้ำยาฆ่าเชื้อ และผึ่งแดดให้แห้ง ๑.๙) การจัดท�ำสถานที่ส�ำหรับการจัดเตรียมอาหาร เครื่องดื่ม และของว่างที่ถูกสุขลักษณะและมีสถานที่รับประทาน อาหาร โต๊ะ เก้าอี้ อุปกรณ์ภาชนะที่ใส่อาหารที่ ปลอดภัย มีฝาปิดมิดชิด สะอาดและเหมาะสม เพียง พอกับเด็ก ๑.๑๐) สถานที่ประกอบอาหารถูกสุขลักษณะ
44
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ตัวชี้วัดที่
องค์ประกอบ
รายละเอียด ๑.๑๑) เมื่อเกิดโรคระบาดมีแนวทางการท�ำความสะอาด สถานที่ ของเล่น สื่อการเรียนการสอน เพื่อป้องกัน การแพร่ระบาดของโรค ๑.๑๑) เมื่อเกิดโรคระบาดมีแนวทางการท�ำความสะอาด สถานที่ ของเล่น สื่อการเรียนการสอน เพื่อป้องกัน การแพร่ระบาดของโรค ๑.๑๒) จัดให้มีพ้นื ที่ส�ำหรับเด็กที่ป่วย เพื่อให้การดูแลที่เป็น สัดส่วนและเป็นการแยกเด็กออกจากเด็กสุขภาพดี เพื่อป้องกันการแพร่กระจายโรค มีอุปกรณ์ส�ำหรับ ดูแลเด็กป่วยและเด็กที่ได้รับอุบัตเิ หตุ มีตู้เก็บยา กล่องยา ที่เก็บยา ควรอยู่สูงจากพื้นอย่างน้อย ๑.๕ เมตร กรณีเป็นตู้ยาที่อยู่ตดิ พื้น ควรมีกุญแจล็อค ป้องกันไม่ให้เด็กหยิบจับโดยง่าย มีชุดท�ำแผล ได้แก่ ส�ำลี ผ้าก๊อซ พลาสเตอร์ปิดแผล น�้ำยาท�ำความ สะอาดแผล (เช่น น�้ำเกลือนอร์มลั เบตาดีน เป็นต้น) เจลประคบเย็น มีอุปกรณ์วัดไข้และยาสามัญประจ�ำ บ้านที่เพียงพอพร้อมใช้งานไม่หมดอายุ ๑.๑๓) มีระบบป้องกันภัยและรองรับเหตุฉุกเฉิน ระบบ ป้องกันภัยจากไฟฟ้า ระบบป้องกันภัยจากอุปกรณ์ ระบบป้องกันภัยจากสัตว์ ระบบป้องกันภัยจากบุคคล และระบบความปลอดภัยจากการเดินทาง - มีแผนป้องกันภัย และรับรองเหตุฉุกเฉิน เช่น กรณีเกิดไฟไหม้ น�้ำท่วม พายุ สึนามิ เป็นต้น - มีการซ้อมอพยพเด็กและครูผู้ดูแลเด็ก ครูพี่เลี้ยง ในกรณีไหม้ ภัยพิบัติ อย่างน้อยปีละ ๒ ครั้ง - มีการยึดตู้หรือชั้นวางของ ให้ตดิ กับผนังอย่าง มั่นคงปลอดภัย - มีอุปกรณ์ป้องกันการกระแทกในจุดเสี่ยงต่างๆ เช่น เหลี่ยมเสา มุมโต๊ะ - ปลั๊กไฟติดตั้งอยู่สูงจากพื้นมากกว่า ๑.๕ เมตร และมีฝาปิดป้องกันเด็กเล่น - มีการติดตั้งเครื่องตัดไฟ และมีการตรวจสอบ คุณภาพสายไฟ ปลั๊กไฟเครื่องตัดไฟ - มีการติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิงที่มองเห็นได้ชัดเจน หยิบใช้ได้สะดวก มีสภาพพร้อมใช้งานได้ตลอด เวลาและครูผู้ดูแลเด็ก ครูพี่เลี้ยงเด็กต้องใช้ อุปกรณ์ดงั กล่าวได้
บทน�ำ
45
ตัวชี้วัดที่
องค์ประกอบ
รายละเอียด - มีการติดหมายเลขโทรศัพท์ฉกุ เฉินของหน่วยงาน ในระดับพื้นที่ เช่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ต�ำบล โรงพยาบาล เทศบาล องค์การบริหาร ส่วนต�ำบล ที่ท�ำการก�ำนัน ที่ท�ำการผู้ใหญ่บ้าน โรงเรียน วัด ศูนย์ป้องกันสาธารณภัย
๓.๒ สิ่งแวดล้อม ภายนอก อาคาร
46
การจัดพื้นที่ภายนอกอาคารให้มคี วามเพียงพอต่อการดูแลและ ปลอดภัย โดย ๑) ศพด.ตั้งอยู่ในพื้นที่ห่างจากมลพิษ ฝุ่นละออง เสียงดังรบกวน ๒) มีรั้วและประตูท่มี ั่นคงแข็งแรง เพื่อป้องกันไม่ให้เด็กออกนอก ศพด.และป้องกันไม่ให้บุคคลภายนอกที่ไม่ส่วนเกี่ยวข้องเข้า มาในศพด. ๓) มีระบบการคัดกรองบุคคลภายนอกที่จะเข้ามาในศพด. เพื่อ ป้องกันอันตรายที่จะเกิดกับเด็ก ๔) ผู้ปกครองเมื่อมารับ ส่งเด็กมีการลงลายมือชื่อไว้เป็นลาย ลักษณ์อักษร เพื่อป้องกันการลักพาตัวเด็ก ๕) มีจุดจอดรถส�ำหรับผู้ปกครองเมื่อมาส่งเด็ก พร้อมกับมี สัญลักษณ์บนพื้นถนน ฟุตบาท หรือป้ายบอกจุด จอดรถ เส้นทางการเดินรถ เพื่อให้เด็กและผู้ปกครองได้ทราบถึง กฎจราจรในศพด.และเพื่อความปลอดภัยของเด็ก โดยจุดจอดรถต้องอยู่ห่างจากพื้นที่การท�ำกิจกรรมของเด็ก ๖) กรณีที่ทางศูนย์ มีรถ รับ ส่ง สภาพรถต้องอยู่ในสภาพดี ถูก ต้องตามกฎระเบียบของกรมขนส่งทางบก ตนขับรถมีสุขภาพ ดี ไม่ดื่มแอลกอฮอล์และสารเสพติด มีผู้ดูแลเด็กประจ�ำรถ เพื่อรับ ส่งเด็กอย่างปลอดภัยก่อนขึ้นรถ ระหว่างอยู่ในรถและ หลังจากลงรถ มีระบบตรวจสอบว่าเด็กลงจากรถทุกคน ๗) มีการรณรงค์สวมหมวกกันน็อคส�ำหรับผู้ปกครองและเด็ก ส�ำหรับผู้ปกครองที่ใช้รถจักรยานยนต์มาส่งเด็ก ๘) จุดคัดกรองสุขภาพเด็ก จุดล้างมือ ก่อนเข้ามาในศพด. เพื่อ ป้องกันการแพร่ระบาดของโรค ๙) มีพื้นที่สนามเด็กเล่นที่ป้องกันการบาดเจ็บ เช่น พื้นทราย สนามหญ้า พื้นยางสังเคราะห์ ๑๐) จัดให้มขี องเล่นที่ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาการ ที่พอ เพียง เหมาะสมกับวัย และมีการตรวจสภาพให้พร้อมใช้งาน มีการซ่อมแซมบ�ำรุงตามระยะเวลาที่ก�ำหนด โดยมี ผู้รับผิดชอบตรวจสอบชัดเจน และมีการบันทึกการตรวจสอบ
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ตัวชี้วัดที่
องค์ประกอบ
รายละเอียด ๑๑) มีการป้องกันจุดเสี่ยงที่อาจเกิดอันตราย บริเวณรอบศพด. หากมีแม่น้ำ� สระน�ำ้ บ่อน�้ำ คลอง ต้องท�ำรั้วกั้นล้อมรอบ บริเวณที่อาจเกิดอันตราย กรณีในศพด.มีอ่างน�้ำ โอ่งน�้ำควร มีฝาปิดเพื่อป้องกันการพลัดตกลงไปของเด็ก ๑๒) มีมาตรการป้องกันและก�ำจัดแหล่งเพาะพันธุ์แมลง พาหะน�ำ โรค สัตว์เลี้ยงและสัตว์มีพิษ
๔) การ เฝ้าระวัง ๔.๑ มาตรการเบื้อง ๑) มีมาตรการเบื้องต้นในการป้องกันควบคุมโรค ได้แก่ การแยก ป้องกันโรคให้ ต้นในการ เด็กป่วย การป้องกัน การแพร่กระจายเชื้อ และการท�ำความ เด็ก ๐-๕ ปี ป้องกันควบคุม สะอาดและการท�ำลายเชื้ออย่างถูกต้อง โรค ๒) มีแนวทางปฏิบัติในการการป้องกัน การแพร่กระจายเชื้อ และ การท�ำความสะอาดและการท�ำลายเชื้ออย่างถูกต้อง ๔.๒ เสริมสร้างให้ ๑) การจัดกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพ เด็กมีสขุ ภาพดี ๒) ส่งเสริมการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ครบ ๕ หมู่ ๓) ส�ำรวจข้อมูลการได้รบั วัคซีน และดูแลให้เด็กได้รบั วัคซีนครบ ตามเกณฑ์ท่กี �ำหนด ๔) ส่งเสริมให้เด็กรับประทานอาหารที่สะอาดปรุงสุกใหม่ๆ ให้ ครบ ๕ หมู่ ในปริมาณเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย ๕) แนะน�ำให้สวมใส่เสื้อผ้าให้เหมาะสมตามฤดูกาล ออกก�ำลังกายอย่างสม�่ำเสมอ และพักผ่อนให้เพียงพอ ๔.๓ การเสริมสร้าง ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัย ที่เหมาะสมส�ำหรับเด็ก ได้แก่ พฤติกรรม ๑) ล้างมือด้วยสบู่หรือเจลล้างมือบ่อยๆ โดยเฉพาะ อนามัย ก่อนรับประทานอาหารและหลังขับถ่าย ๒) หรือสัมผัสสิ่งสกปรกทุกครั้ง จะช่วยลดการติดเชื้อและ การแพร่กระจายเชื้อได้เป็นอย่างดี ๓) ปิดปาก ปิดจมูกด้วยผ้าหรือกระดาษทิชชู เวลาไอ จาม แล้ว ทิ้งลงถังขยะที่มีฝาปิด ๔) ล้างมือด้วยสบู่หรือเจลล้างมือให้สะอาดทุกครั้ง รวมถึงการ สวมหน้ากากอนามัยเวลาเจ็บป่วยด้วยโรคทางเดินหายใจ จะช่วยลดการแพร่กระจายเชื้อให้ผู้อื่น ๕) ขับถ่ายในห้องส้วมที่ถูกสุขลักษณะ ๖) ทิ้งขยะในถังที่มีฝาปิด ๗) หลีกเลี่ยงการอยู่และหลับนอนในที่แออัด ๘) ไม่ไปแหล่งที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ง่าย เช่น ชุมชนแออัด จะช่วยลดการติดเชื้อทางเดินหายใจได้
บทน�ำ
47
ตัวชี้วัดที่
องค์ประกอบ
รายละเอียด
๔.๔ มีการป้องกัน ๑) การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค โดยเด็กต้องได้รบั วัคซีนป้องกัน ในระยะก่อนได้ โรคครบตามเกณฑ์ รับเชื้อ ๒) การดูแลเรื่องสุขอนามัยส่วนบุคคล ๓) การท�ำความสะอาดและการท�ำลายเชื้อ การท�ำความสะอาด สิ่งของ เครื่องใช้ และของเล่นส�ำหรับเด็ก/อาคารสถานที่ ๔) เสริมสร้างพฤติกรรมอนามัย ๕) ส่งเสริมพฤติกรรมของเด็กเพื่อป้องกันควบคุมโรค ตรวจ คัดกรองเด็กก่อนเข้าเรียน เช่น ไม่ใช้ของใช้รว่ มกัน เช่น แก้วน�ำ้ ผ้าเช็ดหน้า แปรงสีฟัน ใช้ ผ้า หรือ กระดาษทิชชู ปิดปาก และจมูกทุกครั้ง เวลาไอ จามล้างมือทุกครั้ง ก่อนรับประทาน อาหาร หลังการขับถ่าย และการเล่น รับประทานอาหารปรุง สุกใหม่ ๆ ๖) ครูและผู้ดูแลเด็กจัดกิจกรรมให้ความรู้ผู้ปกครองในเรื่อง โรคติดต่อที่พบบ่อยในเด็กโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ๔.๕ ควบคุมการ แพร่กระจาย ของเชื้อโรค
๑) ครูและผู้ดูแลเด็กมีการคัดกรองเด็กป่วย โดยการตรวจและ บันทึกสุขภาพเด็กทุกคน ทุกวันเพื่อค้นหาเด็กป่วยที่มีอาการ ไข้ ไอ น�้ำมูกไหล แผลในปาก อุจจาระร่วง และอาการผิด ปกติอื่นๆ เช่น ตาแดง คางทูม ผิวหนังบวมแดงอักเสบ ตุ่มน�้ำพอง ตุ่มหนอง หรือบาดแผลตามร่างกาย เป็นต้น ๒) เมื่อพบเด็กป่วยต้องป้องกันควบคุมโรค เพื่อไม่ให้เชื้อแพร่ กระจายไปสู่เด็กอื่นๆ โดยการแยกเด็กป่วยไม่ให้คลุกคลีและ ใช้สิ่งของร่วมกับเด็กปกติ เช่น จัดให้อยู่ในห้องแยก แยกของ เล่น และของใช้ส่วนตัว เป็นต้น ๓) แยกเด็กป่วยไม่ให้เชื้อแพร่กระจายและให้การดูแลเบื้องต้น เช่น หากมีอาการน้อยสามารถดูแลที่บ้านได้ หากมีอาการ มาก ส่งต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และแจ้ง ผู้ปกครองให้มารับ กลับบ้าน
๔.๖ ความปลอดภัย ๑) จัดกระบวนการเรียนรู้ท่เี กี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพและ และการส่ง อนามัยสิ่งแวดล้อม เช่น จัดกิจกรรมการล้างมือ การใช้ เสริมอนามัย หน้ากากอนามัยจัดกิจกรรมการแยกสิ่งของสกปรกออกจาก สิ่งแวดล้อม สิ่งของเครื่องใช้ท่สี ะอาด จัดกิจกรรมท�ำความสะอาดของเล่น เครื่องใช้ส่วนตัวโต๊ะ เก้าอี้ พื้นและผนังห้องต่างๆ ๒) การบริหารจัดการของผู้บริหาร เพื่อให้สถานที่ไม่แออัด อากาศถ่ายเทได้สะดวก แสงแดดส่องถึง ของเล่น ของใช้ สะอาด มีการท�ำความสะอาดของเล่นทุกวันหลังการใช้งาน ด้วยน�ำ้ ยาท�ำความสะอาดที่ปลอดภัย
48
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ตัวชี้วัดที่
องค์ประกอบ
รายละเอียด ๓) ส่งเสริมให้มสี ิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการป้องกันการแพร่กระจาย เชื่อ เช่น จุดล้างมือควรมีอย่างเพียงพอ (๑ จุดต่อเด็ก ๑๐ คน) มีผ้าเช็ดมือที่บรรจุในที่แห้ง ไม่อับชื้น และซักท�ำความ สะอาดทุกครั้ง มีการให้ผู้ปกครองน�ำอุปกรณ์การนอนไปซัก ทุกสัปดาห์ ๔) มีการติดตามตรวจสอบสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกัน และควบคุม การติดเชื้ออย่างสม�่ำเสมอ ๕) มีตารางกิจกรรมให้ความรู้ เรื่อง การป้องกันควบคุมโรคติดต่อ ส�ำหรับเด็ก ซึ่งก�ำหนดให้สอน อย่างน้อยสัปดาห์ละ ๑ ครั้ง หรือสอนควบคู่ในระหว่างการดูแลเด็กอย่างต่อเนื่อง ๖) ปรับปรุงสภาพอาคารให้ถูกสุขลักษณะโดยเฉพาะด้านสัดส่วน เด็กต่อพื้นที่ช่องทางหนีภัย โถส้วม ๗) ส่งเสริมให้มกี ารจัดท�ำแผนกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินเพิ่มขึ้น
๕) ระบบการ ๕.๑ การบริหาร มีการบริหารจัดการอาหารปลอดภัย เช่น จัดการอาหาร จัดการอาหาร ๑) มีนโยบาย แผนงานการจัดการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน ปลอดภัย ๒) แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการคุณภาพอาหารในโรงเรียน ๓) มีการคัดเลือกวัตถุดิบอาหารปลอดภัยส�ำหรับปรุงประกอบ อาหาร หรือมีหลักฐานการรับซื้อจากแหล่งวัตถุดิบที่ได้ มาตรฐาน ๔) มีการปรุงประกอบอาหารที่ถูกสุขลักษณะ ๕) ด�ำเนินการร่วมกับภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนจัดท�ำแผนพัฒนา คุณภาพอาหารและโภชนาการแบบบูรณาการสู่ความยั่งยืน เช่น ร่วมกับโภชนากร รพ.สต. รพ.ชุมชนในพื้นที่ ๖) จัดทําแฟ้มประวัติผู้ประกอบอาหารหรือผู้จัดเตรียมอาหาร เป็นต้น ๕.๒ การเตรียม อาหาร
๑) มีการการคัดเลือกผู้ประกอบอาหารประจ�ำโดยเฉพาะ มีผล การตรวจสุขภาพประจ�ำปีและมีสุขภาพดีตามเกณฑ์มาตรฐาน ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ อบรมด้านสุขาภิบาลอาหารของผู้ท�ำหน้าที่ ประกอบอาหารทุกปี ๒) การจัดเตรียมอาหารเองทุกขั้นตอน ๓) จัดทําเมนูอาหารที่หลากหลายมีคุณค่าทาง โภชนาการ เมนู อาหารไม่ควรซ�้ำกันในรอบ ๑ สัปดาห์และจัดให้มีปริมาณ เหมาะสมกับจํานวนเด็ก ๔) จัดทําแนวทาง/ข้อปฏิบัติต่างๆ ในการเตรียมอาหาร การปรุง อาหารให้ผู้ประกอบอาหาร รวมทั้งผู้เกี่ยวข้องทราบ เป็นต้น
บทน�ำ
49
ตัวชี้วัดที่
องค์ประกอบ
รายละเอียด
๕.๓ วัตถุดิบในการ ๑) ผักสดผลไม้เนื้อสัตว์เครื่องปรุง และการเก็บอาหาร ควรล้าง ประกอบ ๒ รอบด้วยระบบน�้ำไหล หากมีการใช้สารเคมีในการล้างต้อง อาหาร เป็นสารเคมีที่ปลอดภัย ๒) การใช้เครื่องปรุงที่มีสารไอโอดีนในการประกอบอาหารทุกครั้ง เช่น เกลือ น�้ำปลา ซีอิ้ว ๓) เนื้อสัตว์ทกุ ชนิดต้องปรุงให้สกุ ด้วยความร้อนอย่างทั่วถึง ๔) อาหารที่พร้อมบริโภคต้องปกปิดด้วยฝาชีหรือฝาภาชนะ ไม่ใช้ผ้าขาวบาง ๕) กรณีที่ไม่ได้ปรุงอาหารเอง ให้ไปตรวจสอบสถานที่ผลิตอาหาร ๖) ตามมาตรฐานข้างต้น พร้อมทั้งการขนส่งอาหารที่พร้อม บริโภคต้องมีการปกปิด ๕.๔ อุปกรณ์ และ ๑) อุปกรณ์ในการท�ำอาหารมีคุณภาพ ถูกหลักสุขาภิบาล มีการ เครื่องมือใน จัดเก็บอย่างเป็นระเบียบ การเตรียม ๒) จัดภาชนะใส่อาหาร นม และน�้ำ ดื่มที่ท�ำ จากวัสดุที่สะอาด อาหารส�ำหรับ และคงทน เช่น สแตนเลส เมลามีนสีขาวหรือสีอ่อนไม่แตก เด็ก ง่ายหรือมีความคม ๓) มีฝาปิดมิดชิดหลังการเตรียมอาหาร ๔) ที่ล้างภาชนะอุปกรณ์ควรใช้ก๊อกน�้ำ และท่อระบายน�้ำที่วางสูง จากพื้นอย่างน้อย ๖๐ ซม. และ บริเวณที่ล้างต้องมีการ ระบายน�ำ้ ที่ดีไม่เฉอะแฉะ ๕) ล้างภาชนะ อุปกรณ์ด้วยน�้ำยาล้างภาชนะและน�้ำสะอาดอีก อย่างน้อย ๒ ครั้ง หรือล้างด้วยน�้ำไหล ๖) ภาชนะ อุปกรณ์เมื่อล้างเสร็จแล้วต้องคว�่ำให้แห้งห้ามเช็ดวาง ในตะแกรงโปร่งสะอาดสูงจากพื้น ๖๐ ซม ๕.๕ สถานที่ และ ๑) สภาพโดยทั่วไปห้องเตรียมอาหาร เช่น พื้น ผนัง เพดาน สิ่งแวดล้อมใน เตาไฟ ทําด้วยวัสดุ ที่แข็งแรงคงทนทําความสะอาดง่าย เป็น การจัดการ ระเบียบ กั้นห้องไม่ให้เด็กเข้าถึงได้ อาหาร ๒) อุปกรณ์ในการท�ำอาหารไม่ชาํ รุดและทําความสะอาดหลัง ประกอบอาหารทุกครั้ง ๓) โต๊ะที่ใช้ประกอบอาหารแข็งแรงสภาพดีพื้นผิวเรียบ ไม่ดูดซึม น�้ำ เช่น กระเบื้องเคลือบสเตนเลส โฟไมก้า พื้นผิวโต๊ะหรือ เคาน์เตอร์ประกอบอาหารต้องสูงจากพื้น อย่างน้อย ๖๐ ซม. เพื่อความสะดวกขณะยืนปฏิบัตงิ าน โต๊ะควรสูง ๘๐-๘๕ ซม. และควรทําความสะอาดโต๊ะ เคาน์เตอร์ประกอบอาหารก่อน และหลังปฏิบตั ิงานทุกครั้ง
50
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ตัวชี้วัดที่
องค์ประกอบ
รายละเอียด ๔) มีการจัดสิ่งแวดล้อมติดมุ้งลวดในห้องปรุงและห้องรับประทาน อาหารครบทุกห้อง จัดให้มหี ้องรับประทานอาหารโดยเฉพาะ แยกจากห้องกิจกรรมอื่น
๕.๖ ผู้ประกอบ อาหารหรือ ผู้จัดเตรียม อาหาร
๑) ผู้ประกอบอาหารแต่งกายสะอาด สวมเสื้อมีแขน ใส่หมวก คลุมผมและผ้ากันเปื้อนขณะปฏิบัติงานและซักทําความ สะอาดทุกวัน ๒) ผู้ประกอบอาหารหรอจัดเตรียมอาหารเป็นประจํามีสุขภาพดี และมีผลการตรวจสุขภาพประจาปี เช่น ตรวจร่างกายทั่วไป ตรวจ x-ray ปอด ตรวจอุจจาระ ุ และโรคติดต่อทางอาหาร ตรวจผิวหนัง ๓) ได้รับการอบรมด้านสุขาภิบาลอาหารและโภชนาการภายใน ๒ ปี
๕.๗ การส่งเสริม ๑) มีกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องอาหารส�ำหรับเด็ก เช่น การเรียนรู้เรื่อง มีเมนูอาหารแต่ละมื้อให้เห็นชัดเจน มีการค�ำนวณพลังงาน อาหารส�ำหรับ หรือวัตถุดิบในการผลิต มีการสอนมารยาทในการรับประทาน เด็ก อาหาร และการช่วยเหลือตนเองขณะรับประทานอาหาร การเลือกอาหารที่มีประโยชน์และอาหารปลอดภัย เป็นต้น ๒) มีการกําหนดข้อปฏิบัติในการไม่ให้เด็กนําขนมมาจากบ้าน, ไม่นําขวดนมมาศูนย์ฯ หลังจากเข้ามาอยู่ในศูนย์ฯ ๑ เดือน เป็นต้น ๕.๘ จัดท�ำทะเบียน ๑) มีการจัดทะเบียนบันทึกเหตุการณ์โรคอาหารเป็นพิษหรือโรค บันทึก อุจจาระร่วง มีแนวทางในการปฏิบัติ และมีการรายงานตาม เหตุการณ์โรค ขั้นตอน อาหารเป็นพิษ หรือโรค อุจจาระร่วง ๕.๙ มีการก�ำกับ ดูแล และ ประเมินผล
๑) มีกระบวนการติดตาม ตรวจสอบเรื่องการเลือกวัตถุดิบ การคัดเลือกผู้ประกอบอาหาร มาตรฐานกระบวนการปรุง อาหาร และ การประเมินคุณภาพมาตรฐานการจัดการอาหาร ส�ำหรับเด็กเล็ก ๒) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กท�ำการประเมินคุณภาพอาหาร และน�ำผล การประเมินมาพัฒนางานทั้งในระดับปฏิบัติการ และระดับ นโยบาย
บทน�ำ
51
ตัวชี้วัดที่
องค์ประกอบ
รายละเอียด
๖) การบริหาร ๖.๑ การมีส่วนร่วม ๑) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมขั้นตอนของการค้นหาปัญหา การตัดสิน จัดการของ ขั้นตอนของการ ใจเพื่อก�ำหนดแนวทางการแก้ปัญหา หรือพัฒนาศูนย์พัฒนา ศูนย์พัฒนา ค้นหาปัญหา เด็กเล็ก เช่น เด็กเล็กอย่าง และสาเหตุ ๒) จัดเวทีประชาคม หรือเวทีประชุมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ปัญหา มีส่วนร่วม ตลอดจนการ และกระบวนการมีส่วนร่วม ตัดสินใจ ๓) การจัดท�ำแผนพัฒนาศูนย์เด็กเล็กอย่างมีส่วนร่วม เป็นต้น ก�ำหนดความ ต้องการและ จัดล�ำดับความ ส�ำคัญของ ความต้องการ
52
๖.๒ การบริหาร จัดการศูนย์ เด็กเล็กอย่าง มีส่วนร่วม
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในขั้นตอนของการบริหารจัดการ เช่น ๑) มีการส่งเสริมในขั้นของการเข้ามามีส่วนร่วมในการก�ำหนด นโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการก�ำหนดวิธีการแนวทาง การงาน ๒) ก�ำหนดทรัพยากรที่ใช้ในการส่งเสริมการน�ำภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการดูแลการน�ำภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือ นวัตกรรมใหม่ๆ มาใช้ในการส่งเสริมการเลี้ยงดูเด็ก เช่น การผลิตสื่อ-ของเล่น การเล่านิทานการประกอบอาหาร การออกก�ำลังกาย เป็นต้น ๓) มีการส่งเสริมให้ปราชญ์ชาวบ้าน หรือแกนน�ำชุมชนร่วม กิจกรรมการเรียนการสอน หรือการจัดการภายในศูนย์
๖.๓ สร้างกลไก ให้ชุมชนมี ส่วนร่วม
๑) มีการสร้างกลไกให้ชมุ ชนมีส่วนร่วม เช่น มีการด�ำเนินงาน จัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาศูนย์เด็กที่มาจากชุมชน ๑ ใน ๓ และมีการประชุมอย่างสม�่ำเสมอ ๒) มีการจัดกิจกรรมที่เข้าไปร่วมกับชุมชน หรือส่งเสริมให้ชมุ ชนมี ส่วนร่วม เช่น การส่งเสริมการน�ำภูมิปัญญาชาวบ้านมาผนวก ในหลักสูตรการเรียนการสอน เป็นต้น
๖.๔ ส่งเสริมการมี ส่วนร่วมของ ผู้ปกครอง
๑) มีการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง เช่น มีศูนย์บริการ ยืมสื่อการเรียนรู้ส�ำหรับผู้ปกครอง การสนับสนุนให้ผู้ปกครอง มามีส่วนร่วมในการเรียนการสอน และจัดอบรมการพัฒนา ศักยภาพส�ำหรับผู้ปกครองในการดูแลเด็ก ๐-๕ ปี เป็นต้น
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ตัวชี้วัดที่
องค์ประกอบ
รายละเอียด
๖.๕ ส่งเสริมการมี ๑) มีกระบวนการส่งเสริมให้หน่วยงานภาครัฐมาร่วมบริหาร ส่วนร่วมของ จัดการ หรือสร้างข้อตกลงในการดูแลเด็ก ๐-๕ ปีร่วมกัน เช่น หน่วยงานภาค การ MOU การก�ำหนดบทบาทหน้าที่ การแบ่งงานแบ่งหน้าที่ รัฐ เอกชน การใช้กลไกการประชุมร่วมอย่างต่อเนื่องเป็นต้น หรือองค์กรที่ เกี่ยวข้องทั้งใน และนอกพื้นที่ ๖.๖ การส่งเสริม ๑) มีการส่งเสริมให้ผู้ปกครอง แกนน�ำ หรือตัวแทนชุมชน ตัวแทน การมีส่วนร่วม หน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมเป็นคณะกรรมการในการก�ำกับ ในขั้นตอนของ ติดตาม ประเมินผลการด�ำเนินงานของศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก การก�ำกับ ติดตาม ประเมินผล ครูผู้ดูแลเด็ก
๑.๑ การพัฒนา ศักยภาพ
๑) ผ่านการอบรมการพัฒนาระบบการแลเด็กปฐมวัยโดยใช้พ้นื ที่ เป็นตัวตั้ง ๑๐๐ % ๒) ผ่านการอบรมการเขียนหลักสูตรการศึกษาเด็กปฐมวัย ๑๐๐ % ๓) ได้รับการพัฒนาอบรม ในเรื่องเกี่ยวกับเด็กปฐมวัยอย่างน้อย ปีละ ๒๐ ชั่วโมง
ครูผู้ดูแลเด็กและ ๑.๑ การพัฒนา บุคลากรใน ศพด. ทักษะ
๑) ครูผู้ดูแลเด็กและบุคลากรในศพด. ได้รบั การฝึกอบรมการดูแล ช่วยเหลือเด็กเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การให้การปฐมพยาบาล เบื้องต้น ๑๐๐ % ๒) มีแผนป้องกันภัยและรองรับเหตุฉุกเฉิน เช่น กรณีไฟไหม้ น�้ำท่วม แผ่นดินไหว ภัยพิบัติอื่นๆ ๓) มีการซ้อมอพยพเด็กและครูผู้ดูแลเด็ก ครูพี่เลี้ยง ในกรณี ไฟไหม้ ภัยพิบัติอย่างน้อยปีละ ๒ ครั้ง
บทน�ำ
53
ส่วนที่ ๒
รูปธรรมการด�ำเนินงาน การพัฒนาระบบ การดูแลเด็กปฐมวัย โดยชุมชนท้องถิ่น
แนวคิดหลักการ การพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นได้ส�ำรวจทุนทางสังคมและศักยภาพพร้อมทั้งวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาและ ความจ�ำเป็น เพื่อร่วมกันจัดงานและกิจกรรมให้เหมาะสมกับการดูแล ส่งเสริม และ ช่วยเหลือ ให้เด็ก ปฐมวัยมีพฒ ั นาการตามวัยทุกด้าน มีทกั ษะการเรียนรู้ การอยูร่ ว่ มกับคนอืน่ ในสังคม มีการป้องกันโรค และการเจ็บป่วยหรืออุบัติเหตุ ตลอดจนสร้างความสัมพันธ์ให้เกิดขึ้นกับครอบครัว และ ชุมชน จนเกิด เป็นวิถีการท�ำงานของทุกฝ่ายอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาศักยภาพชุมชนท้องถิ่นที่เป็นสมาชิกเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ในการ พัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย ได้รับการสนับสนุนจากส�ำนักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (ส�ำนัก ๓) ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาวะ (สสส.) และอาศัยกระบวนการเรียนรู้ทั้งในพื้นที่ ตนเองและในพืน้ ทีอ่ งค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เครือข่าย ในรูปแบบทีค่ รอบคลุมการเรียนรูห้ ลายลักษณะ กล่าวคือ การเรียนรูผ้ า่ นการปฏิบตั กิ ารจริงในพืน้ ทีต่ นเอง การเรียนรูผ้ า่ นประสบการณ์ของผูป้ ฏิบตั กิ าร จริง การเรียนรู้ผ่านนวัตกรรม การเรียนรู้ร่วมกับเครือข่าย เป็นต้น กลไกหลักในการขับเคลือ่ นการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิน่ ได้แก่ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล โรงเรียน ก�ำนัน ผู้ใหญ่ บ้าน ศูนย์พฒ ั นาครอบครัว และทุนทางสังคมอืน่ ในพืน้ ที่ ด้วยกระบวนการพัฒนาทีเ่ ป็นการต่อยอดงาน เดิม พัฒนางานใหม่ สร้างนวัตกรรมให้เห็นการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น ทั้งนี้ให้สามารถตอบสนอง ต่อความต้องการและปัญหาของการดูแลเด็กปฐมวัยในพื้นที่ได้ แนวทางการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น สรุปเป็น๖ ชุดกิจกรรมหลัก ได้แก่ (๑) การพัฒนาศักยภาพส�ำหรับเด็กปฐมวัยหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลเด็กปฐมวัย (๒) การ พัฒนาหรือปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้หรือการดูแลเด็กปฐมวัย (๓) การพัฒนาบริการ ส�ำหรับการดูแลเด็กปฐมวัย (๔) การจัดตั้งกองทุนหรือจัดให้มีสวัสดิการช่วยเหลือกันเพื่อการดูแลเด็ก ปฐมวัย (๕) การพัฒนาและน�ำใช้ขอ้ มูลในการส่งเสริมแก้ไขหรือจัดการปัญหาเด็กปฐมวัย และ (๖) การ พัฒนากฎ กติกา ระเบียบที่สนับสนุนการดูแลเด็กปฐมวัย ซึ่งรูปธรรมการด�ำเนินการที่เกิดขึ้นมีความ แตกต่างกันด้วยดังปรากฏในกรณีตัวอย่างแต่ละชุดกิจกรรม
56
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ตารางที่ ๑ ตัวอย่างพื้นที่รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชน ท้องถิ่น ล�ำดับที่
พื้นที่
ประเด็นการพัฒนา
๑.
องค์การบริหารส่วนต�ำบลแก้งแก อ�ำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กกับการดูแลสุขภาวะเด็กปฐมวัย ทุกมิติ
๒.
องค์การบริหารส่วนต�ำบลไหล่ทุ่ง บทบาทอาสาสมัครในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี
๓.
องค์การบริหารส่วนต�ำบลวังดิน อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์
การจัดการอาหารส�ำหรับเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
๔.
เทศบาลต�ำบลเหล่าใหญ่ อ�ำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
การส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กตามบริบทสังคม วัฒนธรรมของพื้นที่โดยชุมชนท้องถิ่น
๕.
องค์การบริหารส่วนต�ำบลหินลาด อ�ำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก
การส�ำรวจสุขภาพและป้องกันโรคของเด็กปฐมวัยโดย ชุมชนท้องถิ่น
๖.
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเสม็ดใต้ อ�ำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา
การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้และเป็นพื้นที่ สร้างสรรค์สำ� หรับเด็กปฐมวัย
๗.
องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้น อ�ำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่น
๘.
องค์การบริหารส่วนต�ำบลผาสิงห์ อ�ำเภอ การส่งเสริมพัฒนาการ เมือง จังหวัดน่าน
๙
เทศบาลต�ำบลเชียงเคี่ยน อ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
การส่งเสริมสุขภาพและการดูแลเพื่อป้องกันโรค การเจ็บป่วย อุบัติเหตุ
๑๐.
องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าสัก อ�ำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา
การจัดการอาหารเพื่อสุขภาพเด็ก
๑๑.
องค์การบริหารส่วนต�ำบลสถาน อ�ำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน
การจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพเด็กและ การเรียนรู้ของเด็ก
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
57
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กับการดูแลสุขภาวะเด็กปฐมวัยทุกมิติ องค์การบริหารส่วนต�ำบลแก้งแก อ�ำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม
๑. ที่มาหรือฐานคิดของการด�ำเนินกิจกรรม ต�ำบลแก้งแก มีประชากรตามทะเบียนบ้าน ณ เดือนสิงหาคม ๒๕๕๙ รวมทัง้ สิน้ ๔,๓๓๒ คน แยกเป็นชาย ๒,๑๒๑ คน หญิง ๒,๒๑๑ คน จ�ำนวนครัวเรือนทั้งหมดในพื้นที่รับผิดชอบ ๑,๒๕๖ ครัวเรือน ประชากรเด็กปฐมวัย จ�ำนวน ๓๐๑ คน แยกเป็นคนเด็ก ๐-๓ ปี จ�ำนวน ๑๒๓ คน เด็ก ๓-๕ ปี จ�ำนวน ๑๗๘ คน สภาพการอยู่อาศัย อาศัยอยู่กับพ่อแม่ จ�ำนวน ๑๕๓ คน อาศัยอยู่กับปู่ย่า ตายาย จ�ำนวน ๑๓๙ คน อาศัยอยู่กับญาติ ๙ คน ด้านสุขภาพ เป็นเด็กขาดสารอาหาร ๔ คน ฟันผุ ๑๙ คน หอบหืด ๗ คน สมาธิสั้น ๓ คน (ข้อมูลจาก รพ.สต.บ้านขิงแคง) จากสถานการณ์ดังกล่าว องค์การบริหารส่วนต�ำบลแก้งแก ได้เล็งเห็นความส�ำคัญของการ ดูแลสุขภาวะที่ดีของเด็กปฐมวัย ให้มีพัฒนาการที่สมบูรณ์ใน ๔ มิติ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปญ ั ญา จึงได้มกี ารค้นหาศักยภาพชุมชนและความเชีย่ วชาญทีม่ ใี นการจัดการตามประเด็น ปัญหาและความต้องการของเด็กปฐมวัย ในพื้นที่ เพื่อน�ำมาเป็นข้อมูลประกอบการวางแผนและการ ออกแบบการพัฒนากิจกรรมการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยที่สอดคล้องกับ ๖ ชุดกิจกรรมการ พัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย และครอบคลุม ๖ ด้านการพัฒนาศักยภาพศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อีก ทั้งสามารถออกแบบและพัฒนานวัตกรรมใหม่ หรือการพัฒนาต่อยอดงานเดิมทั้งที่เป็นการขยายงาน และขยายกลุ่มประชากร รวมถึงเป็นการพัฒนาให้เกิดเครื่องมือ คู่มือ สร้างกลไกและวิธีการท�ำงานที่ ตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการของเด็กปฐมวัยและผูด้ แู ล ทัง้ ทีเ่ ป็นสมาชิกในครอบครัวและผูท้ มี่ ี ส่วนเกีย่ วข้องทัง้ หมดได้อย่างสอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ทมี่ คี วามหลากหลายตามบริบท ของพื้นที่
58
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๒. งานและกิจกรรม ๒.๑. ภาพรวมระบบการดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบล ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแก้งแกมีการท�ำงานเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.บ้านขิงแคง เพื่อดูแล สุขภาพคนในชุมชนเด็กเล็ก และโรงเรียน มีสมุดบันทึกสุขภาพเด็กหลังคลอดเพือ่ เป็นข้อมูลพืน้ ฐานทาง สุขภาพของเด็ก และมีการประเมินพัฒนาการของเด็กทั้ง ๔ ด้าน ได้แก่ ร่างกาย อารมณ์ สังคม และ สติปญ ั ญา พร้อมกับเชิญเจ้าหน้าทีส่ าธารณสุขมาร่วมให้ความรูแ้ ก่ผปู้ กครอง และข้อมูลของเด็กจะถูก ส่งต่อไปยัง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ท�ำให้เด็กได้รับดูแลอย่างต่อเนื่อง ครูท่ีรับช่วงดูแลต่อจะได้ทราบ พัฒนาการของเด็กเพื่อดูแลเป็นรายกรณี มีการเชื่อมต่อการท�ำงานเป็น “ภาคีเครือข่ายสุขภาพ” โดย มีคณะกรรมการที่มาจากการแต่งตั้งของนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล สมาชิกสภาองค์การบริหาร ส่วนต�ำบล ผู้ใหญ่บ้าน ก�ำนัน ผู้นำ� ภูมิปัญญาพื้นบ้าน เจ้าหน้าที่รพ.สต. และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ซึ่ง รพ.สต.ด�ำเนินการคัดกรองสุขภาพเด็กประเมินพัฒนาการว่าล่าช้าหรือไม่และเป็นผูค้ ดั กรองเด็กทีม่ คี วาม ผิดปกติ นอกจากนีไ้ ด้มกี ารเยีย่ มบ้านร่วมกับครูในกรณีทพี่ บว่าเด็กมีปญ ั หา เช่น เด็กสมาธิสนั้ เด็กขาด สารอาหาร เด็กฟันผุ มีการเชื่อมต่อการดูแลกับครอบครัวของเด็ก เพื่อความต่อเนื่องในการดูแล ๒.๒. ประเด็นเด่นของระบบการดูแลเด็กปฐมวัย การดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบลแก้งแกเพื่อสุขภาวะทุกมิติ มีงานและกิจกรรมในการดูแล ดังนี้ ๑) งานและกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย ได้แก่ การชั่งน�ำ้ หนัก วัดส่วนสูง ตรวจสุขภาพช่องปาก การจัดตารางโภชนาการ การตรวจคัดกรองโรคระบาด เช่น โรคมือ เท้า ปาก โรคไข้หวัดใหญ่ การเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมกลางแจ้ง การกระตุ้นให้ใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก การ วาดภาพ การระบายสี การกระตุน้ ให้ใช้กล้ามเนือ้ มัดใหญ่ เช่น การกระโดดขึน้ ลง การกลิง้ กับพืน้ การ ทรงตัวบนเชือก การโยนและรับ การเหวี่ยง การแกว่ง การพักผ่อนของเด็กปฐมวัย การสร้างเสริม สุขนิสัยทีด่ ี เช่น การสร้างนิสยั ในการล้างมือให้สะอาดอยู่เสมอ การล้างหน้า แปรงฟันอย่างถูกวิธี การ ดูแลรักษาความสะอาดของร่างกาย เสื้อผ้า เครื่องใช้ รวมถึงที่อยู่อาศัยให้สะอาด ปลอดภัย ก�ำจัด แหล่งขยะให้ถูกสุขลักษณะเป็นประจ�ำ ๒) งานและกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา ได้แก่ การเล่น เกมการศึกษา การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ เช่น การสังเกต การจ�ำแนก การเปรียบเทียบส่งเสริมการอ่าน (หนูน้อย รักการอ่าน นิทานกลับบ้าน) กิจกรรมนักวิทยาศาสตร์น้อย เกมนับเหรียญ เกมแยกรูปทรงเลขาคณิต ๓) งานและกิจกรรมทีส่ ง่ เสริมพัฒนาการด้านจิตใจ ได้แก่ กิจกรรมวันแม่ วันพ่อ กิจกรรม วันครู กิจกรรมวันส�ำคัญทางศาสนา เช่น การท�ำบุญตักบาตร การเวียนเทียน การส่งเสริมคุณธรรม
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
59
จริยธรรม การแข่งขันกีฬา การแสดงความเคารพต่อผู้ใหญ่ การสวดมนต์ไหว้พระ การนั่งสมาธิ การ วาดภาพระบายสี กิจกรรมเสรี กิจกรรมวันปีใหม่ การเล่านิทานก่อนนอน ๔) งานและกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม ได้แก่ การควบคุมจิตใจของตนเอง เช่น การรอคอย การอดทน การเรียนรู้ตนเองและบุคคลในครอบครัว เช่น การท�ำสมุดประวัติตนเอง ชือ่ พ่อแม่ ปูย่ า่ ตายาย ฝึกฝนให้เด็กรูจ้ กั เชือ่ ฟัง เช่น การเรียนรู้ ข้อตกลงในชัน้ เรียน กติกา และมารยาท ในสังคม การอยูร่ ว่ มกับผูอ้ นื่ เช่น การอยูร่ ว่ มกับญาติ การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การท�ำความ ดี ละเว้นความชั่ว ท�ำจิตใจให้ผ่องใส การปฏิบัติตนด้านศาสนา วัฒนธรรม และประเพณี เช่น วันแม่ วันพ่อ วันครู วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา ฮีต ๑๒ ครอง ๑๔ รดน�ำ้ ด�ำหัวผู้สูงอายุ การให้เด็กพึ่งพาตนเอง เช่น การแต่งตัว การอาบน�้ำ การรับประทานอาหาร การเรียนรู้ชุมชน เช่น สถานที่ส�ำคัญในชุมชน บุคคลส�ำคัญในชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน
๓. ทุนทางสังคม ๓.๑ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการ พืน้ ทีอ่ งค์การบริหารส่วนต�ำบลแก้งแกมีทนุ ทางสังคมทีด่ �ำเนินการหลักในการดูแลเด็กปฐมวัย ดังนี้ ๑) กลุ่มปราชญ์ชาวบ้าน ภูมิปัญญาชาวบ้าน ส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับเด็ก และผลิตสื่อใน การจัดการเรียนการสอน เช่น มาเล่านิทานให้เด็กฟัง สอนเด็กท�ำของเล่นจากวัสดุเหลือใช้ สอนเด็กท�ำ ของเล่นแบบง่ายๆ ด้วยตนเอง ๒) กลุม่ จิตอาสา ให้ความรูใ้ นการดูแลสุขภาพแม่และเด็ก เช่น แนะน�ำเรือ่ งอาหาร โภชนาการ การรักษาความสะอาด สร้างสุขลักษณะที่ดี ๓) กลุม่ ผูน้ ำ� เป็นแกนน�ำในการบริหารจัดการในชุมชน ดูแลด้านความปลอดภัยในชุมชน ด้าน สวัสดิการต่างๆ ให้เหมาะสม ๔) กองทุนหมู่บ้าน จัดสวัสดิการให้กับสมาชิกในกลุ่ม เป็นแหล่งทุน มีเงินปันผลให้สมาชิก มีการมอบทุนการศึกษาให้แก่บตุ รของสมาชิกทุกปี ๕) กองทุนหลักประกันสุขภาพต�ำบลแก้งแก จัดสรรงบประมาณในการส่งเสริมสุขภาพเด็ก จัดสวัสดิการ เสริมสร้างสุขภาพ ป้องกันโรค และการรักษาระดับปฐมภูมิ ที่จ�ำเป็นต่อสุขภาพและการ ด�ำรงชีวติ ส�ำหรับเด็กปฐมวัย ๖) องค์การบริหารส่วนต�ำบลแก้งแก ส่งเสริมและพัฒนา สนับสนุนงบประมาณ แก่ ศพด. เพือ่ ให้เด็กได้รบั การพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพและได้มาตรฐาน แนวทางในการด�ำเนินงานพัฒนา ศพด.
60
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ของ อบต.แบ่งออกได้ ๔ ด้าน คือ (๑) ด้านบุคลากร และการบริหารจัดการ เป็นการก�ำหนดมาตรฐาน การด�ำเนินงานส�ำหรับ ศพด. เช่น คุณสมบัติ และบทบาทหน้าที่ของบุคลากร (๒) ด้านอาคารสถานที่ สิง่ แวดล้อมและความปลอดภัย ก�ำหนดมาตรฐานเกีย่ วกับพืน้ ทีข่ อง ศพด. จ�ำนวนชัน้ เรียน ทางเข้าออก ตลอดจนพืน้ ทีใ่ ช้สอยอืน่ ๆ ด้านสิง่ แวดล้อม ทัง้ ภายในและภายนอกตัวอาคาร เช่น แสงสว่าง การถ่ายเท อากาศ สภาพแวดล้อมและมลภาวะ เป็นต้น (๓) ด้านวิชาการ กิจกรรมตามหลักสูตร เช่น คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ๑๒ ประการ คุณลักษณะตามวัย ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ตลอดจนการจัดประสบการณ์และจัดกิจกรรมประจ�ำวันส�ำหรับเด็ก เป็นต้น (๔) ด้านการมีสว่ นร่วมและ การสนับสนุนจากชุมชน จัดการประชุมชี้แจงให้ประชาชนทราบถึงประโยชน์และความจ�ำเป็นของการ ด�ำเนินงาน ประชาสัมพันธ์ สนับสนุนการด�ำเนินงาน ตลอดจนติดตามประเมินผลรวมถึงการมีสว่ นร่วม ของชุมชน ซึ่งทั้งหมดก่อให้เกิดประโยชน์ต่อเด็กปฐมวัยทั้งสิ้น ๗) ฌาปนกิจหมู่บ้าน สร้างวัฒนธรรมในการช่วยเหลือกัน กรณีเสียชีวติ เป็นเงินสวัสดิการ แก่ครอบครัวสมาชิก ๘) รถพยาบาลฉุกเฉิน ๑๖๖๙ บริการรับส่งตลอด ๒๔ ชั่วโมง ในภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ ช่วยเหลือดูแลเรื่องบริการการแพทย์ฉุกเฉิน อย่างทันท่วงที ๙) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแก้งแก เป็นสถานศึกษา อบรมเลี้ยงดู จัดประสบการณ์และ ส่งเสริมพัฒนาการ เรียนรู้ ทัง้ ด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และสติปญ ั ญา ทีเ่ หมาะสมตามวัยและศักยภาพ ของแต่ละคน ๓.๒ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการรอง พื้นที่องค์การบริหารส่วนต�ำบลแก้งแก มีทุนทางสังคมที่สนับสนุนการดูแลเด็กปฐมวัย ดังนี้ ๑) กลุ่ม อปพร. ดูแลความปลอดภัยของเด็กปฐมวัย ทั้งเวลาปกติและฉุกเฉิน ๒) กลุ่มคัดแยกขยะ สร้างเสริมการเรียนรู้ การคัดแยกขยะ การน�ำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ สร้างเสริมรายได้แก่เด็กปฐมวัย ๓) กลุ่มผู้ใช้น�้ำ ผลิตน�้ำทีส่ ะอาดให้เด็กได้ดมื่ เพือ่ สุขภาพทีด่ ขี องเด็กปฐมวัย ๔) กลุ่มอาชีพต่าง ๆ เช่น กลุ่มทอเสื่อ กลุ่มเลี้ยงปลาบ่อดิน กลุ่มจักสาน กลุ่มปลูกเห็ด กลุ่มเลี้ยงโค กลุ่มสวัสดิการร้านค้า กลุ่ม เลี้ยงสุกร เพื่อส่งเสริมการมีรายได้ของครอบครัวเด็กปฐมวัย เป็นต้น
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
61
๔. วัตถุประสงค์ ๔.๑ เพื่อให้การด�ำเนินงานดูแลช่วยเหลือเด็กปฐมวัยเป็นไปอย่างมีระบบ มีประสิทธิภาพและ มีสุขภาวะครบทุกมิติ ๔.๒ เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กปฐมวัยระหว่างโรงเรียน กรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีการท�ำงานร่วมกัน โดยผ่านกระบวนการท�ำงาน ที่ชัดเจน สามารถตรวจสอบและประเมินผลได้ ๔.๓ เด็กปฐมวัยได้รับการดูแลช่วยเหลืออย่างทั่วถึง และตรงตามสภาพปัญหา
๕. วิธีการท�ำงาน ๕.๑ มีการส�ำรวจข้อมูล น�้ำหนัก ส่วนสูง การเจริญเติบโต และพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ๕.๒ น�ำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ หาปัญหา สาเหตุของปัญหา วิธีการแก้ไขร่วมกัน ๕.๓ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ สร้างทีมและก�ำหนดคณะท�ำงานพัฒนาระบบการดูแลเด็ก ปฐมวัย ๕.๔ ออกแบบกิจกรรม การท�ำงาน เตรียมความพร้อมและสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน ให้ มีการน�ำทุนทางสังคมมาใช้มากที่สุด ๕.๕ สร้างความรูแ้ ละการขับเคลือ่ นการท�ำงาน พร้อมด�ำเนินกิจกรรมในการสร้างสุขภาวะทุก มิติ ๕.๖ ประเมินผลการจัดกิจกรรม การท�ำงาน และสรุปบทเรียน เพื่อพัฒนาและปรับปรุงแก้ไข
๖. การเชื่อมโยงหรือส่งผลที่เอื้อต่อการท�ำงานกับกลุ่มงานและกิจกรรมอื่นๆ การพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย มีความสัมพันธ์และเชื่อมโยงกับกลุ่มงานต่างๆ ดังนี้ ๖.๑ รพ.สต.บ้านขิงแคง มีการด�ำเนินการบริการสาธารณสุขผสมผสาน ทั้งด้านการสร้าง เสริมสุขภาพ การควบคุมและป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสภาพ รวมทั้งการจัดการ ปัจจัยเสีย่ ง สร้างปัจจัยเสริม ต่อสุขภาพในพืน้ ทีจ่ งึ เป็นแหล่งข้อมูลเพือ่ น�ำมาวิเคราะห์ด้านสุขภาพและ พัฒนาการของเด็กปฐมวัย ๖.๒ โรงเรียนในพืน้ ทีต่ �ำบลแก้งแก ซึง่ เป็นแหล่งข้อมูล ทัง้ ด้านพัฒนาการของเด็ก และปัญหา สุขภาพของเด็กปฐมวัย
62
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๗. ผลผลิตและผลลัพธ์ ๗.๑ ผลต่อประชากรเป้าหมาย ๑) เด็กปฐมวัยได้รับการดูแลสุขภาวะทุกมิติ และตามมาตรฐาน ๒) ผู้ดูแลเด็กปฐมวัย มีความรู้ ด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การส่งเสริมการเรียนรู้ พัฒนาการทางปัญญาและอารมณ์ และให้การดูแลช่วยเหลือเมือ่ พบความผิดปกติ เช่น พฤติกรรมและ การเรียนรู้ผดิ ปกติ มีความพิการด้านร่างกาย และสติปัญญา เพื่อให้การดูแลช่วยเหลืออย่างถูกต้อง ๓) อาสาสมัครสาธารณสุข ทุนทางสังคมอืน่ ทีเ่ ข้าร่วมงานและกิจกรรมในการส่งเสริมการดูแล เด็กปฐมวัย มีความรู้ความเข้าใจเรือ่ งการส่งเสริมพัฒนาการ การเจริญเติบโต การเฝ้าระวังและการรับ ภูมิคุ้มกัน ให้การดูแลช่วยเหลือตามสภาพทั้งในภาวะปกติและฉุกเฉิน ๗.๒ ผลต่อคุณภาพชีวิตของกลุ่มประชากร ๕ มิติ ๑) ด้านสังคม มีการช่วยเหลือดูแลกันผ่านการจัดการสวัสดิการ โดยการรวมกลุม่ กันของคนใน ชุมชน จัดตั้งเป็นกองทุน กลุ่มหรือองค์กรชุมชนที่มีการจัดการเงินต่างๆ เช่น กลุ่ม อปพร.ที่ ดูแลความ ปลอดภัยของเด็กปฐมวัย ทั้งเวลาปกติและฉุกเฉิน กลุ่มฌาปนกิจหมู่บ้าน ที่สร้างวัฒนธรรมในการ ช่วยเหลือกัน กรณีเสียชีวติ เป็นเงินสวัสดิการแก่ครอบครัวสมาชิก กลุม่ กองทุนหมู่บา้ น ทีจ่ ดั สวัสดิการ ให้กบั สมาชิกในกลุม่ เป็นแหล่งทุน มีเงินปันผลให้สมาชิก มีการมอบทุนการศึกษาให้แก่บตุ รของสมาชิก ทุกปี เป็นต้น ๒) ด้านเศรษฐกิจ ท�ำให้เกิดการจัดการเงินอย่างเป็นระบบ มีเงินทุนหมุนเวียนของกลุ่ม องค์การทางการเงินชุมชนทุกหมู่บ้าน มีสวัสดิการจากกองทุนที่มีการกู้ยืมเงินในการลงทุนประกอบ อาชีพ ก่อให้เกิดการสร้างรายได้ ลดรายจ่าย ส่งเสริมการประกอบอาชีพ ลดการเป็นหนี้นอกระบบ ส่งเสริมการออมในครัวเรือน แก่ครอบครัวของเด็กปฐมวัย เช่น กองทุนหมู่บ้าน กลุ่มอาชีพต่างๆ ๓) ด้านสภาวะแวดล้อม ท�ำให้มีระบบการจัดการน�้ำอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบท่อน�้ำ เพื่อการเกษตร น�้ำประปาหมู่บ้าน น�้ำอุปโภคบริโภค รวมทั้งมีกฎกติกาในการใช้ทรัพยากรน�้ำเพื่อ ประโยชน์ต่อสุขภาวะที่ดีของเด็กปฐมวัย การจัดให้มีลานเอนกประสงค์ที่ใช้ในกิจกรรมต่างๆ รวมทั้ง การออกก�ำลังกาย ส�ำหรับเด็กปฐมวัย ๔) ด้านสุขภาพ ท�ำให้เกิดกิจกรรมการดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัย ทีต่ อ้ งการช่วยเหลือโดยรพ.สต. บ้านขิงแคง ซึง่ ท�ำงานร่วมกับ อสม. อผส. และ อบต.แก้งแก เช่น การเยีย่ มบ้าน การตรวจคัดกรองสุขภาพ การลดปัจจัยเสี่ยง การรณรงค์การไม่สูบบุหรี่ การรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออก การส่งเสริมการออก ก�ำลังกาย การให้ความรู้ ในการป้องกันอุบัติเหตุ เป็นต้น
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
63
๕) ด้านการเมืองการปกครอง ท�ำให้ชุมชน มีการก�ำหนด กฎ กติกา ข้อตกลง การพัฒนา นโยบายสาธารณะด้านการดูแลเด็กปฐมวัย การจัดท�ำแผนสุขภาพชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการดูแลเด็ก ปฐมวัย การมีสว่ นร่วมในการจัดท�ำแผนต่างๆ ของชุมชน การขจัดวามขัดแย้งในชุมชนเกิดขึน้ โดยชุมชน เอง
๘. กลไก เครื่องมือในการด�ำเนินงาน ๘.๑ มีคณะท�ำงานเพือ่ การดูแลเด็กปฐมวัยในการสร้างสุขภาวะทุกมิตทิ มี่ าจากหลายภาคส่วน ที่เกิดจากกลไกการท�ำงานร่วมกันของ ๓ ระบบ วัด บ้าน โรงเรียน โดยก�ำหนดวิสัยทัศน์ว่า “เด็ก มีพัฒนาการสมวัย ผู้ดูแลเด็กมีศักยภาพ ชุมชนมีส่วนร่วม มุ่งสู่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้นแบบ” ๘.๒ มีการด�ำเนินงาน โดยการแต่งตัง้ คณะกรรมการ สร้างทีมและก�ำหนดคณะท�ำงานพัฒนา ระบบการดูแลเด็กปฐมวัย เสริมสร้างความรู้ จัดการอบรม ศึกษาดูงาน สร้างจิตส�ำนึก จิตอาสา ให้แก่ บุคลากร มีการออกแบบกิจกรรม การท�ำงาน เตรียมความพร้อมและสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน ๘.๓ มีการจัดท�ำข้อบัญญัติสุขภาพ คู่มือประชาชน แผนสุขภาพประจ�ำปี ให้ถือปฏิบัติ ๘.๔ กฎ กติกา นโยบาย ข้อตกลง ของต�ำบลในการบริหารจัดการด้านบุคลากร วิชาการ การ มีส่วนร่วม และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดูแลสุขภาวะเด็กปฐมวัย
๙. ปัจจัยเงื่อนไข ๙.๑ ผู้น�ำ แกนน�ำชุมชน มีศักยภาพและความสามารถเป็นที่ยอมรับของคนในชุมชนในทุกๆ ด้าน ท�ำให้คนในชุมชนเข้ามาร่วมมือ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบดูแลสุขภาวะเด็กปฐมวัย ๙.๒ มีกฎ กติกา นโยบาย ข้อตกลง มีการจัดท�ำข้อบัญญัตสิ ขุ ภาพ คูม่ อื ประชาชน แผนปฏิบตั ิ การประจ�ำปี และมีการแต่งตั้งคณะกรรมการ สร้างทีมและก�ำหนดคณะท�ำงานพัฒนาระบบการดูแล เด็กปฐมวัย ๙.๓ แหล่งทีม่ าของข้อมูลทีน่ ำ� มาวิเคราะห์ตอ้ งครอบคลุมทุกด้าน ได้แก่ ข้อมูลจากระบบข้อมูล ต�ำบล TCNAP ข้อมูลด้านการดูแลสุขภาพจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านขิงแคง ข้อมูล สถานะของครอบครัวจากก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ข้อมูลพัฒนาการเด็กจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ข้อมูลการ รับสวัสดิการเงินช่วยเหลือจากอบต. เป็นต้น ๙.๔ โรงเรียนในพื้นที่ต�ำบลแก้งแก และชุมชน ทั้ง ๑๐ หมู่บ้าน
64
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๙.๕ ทุนทางสังคมในการพัฒนาสุขภาวะเด็กปฐมวัย มีการระดมแรง คือ จิตอาสา ระดม ความคิด ระดมงานของแต่ละทุนทางสังคมให้สามารถพัฒนาเชื่อมต่อกับงานการดูแลเด็กปฐมวัยได้ ๙.๖ การมีส่วนร่วมของชุมชน ความร่วมมือร่วมใจในการพัฒนา ทุนที่เป็นเงิน ได้จากการ จัดสรรงบประมาณ จากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ เพือ่ การพัฒนาเด็กปฐมวัยในด้านต่างๆ กองทุน หลักประกันสุขภาพต�ำบลแก้งแก สนับสนุนงบประมาณเพื่อการดูแลและส่งเสริมสุขภาพ พัฒนาการ เด็กปฐมวัย เป็นต้น
๑๐. ความเชื่อมโยงต่อ ๗ คุณลักษณะการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่น ๑๐.๑ การสร้างการเรียนรู้ การสร้างการเรียนรูป้ ญ ั หาและความต้องการของชุมชน ต�ำบลแก้งแก มีการใช้ขอ้ มูลจากRECAP และ TCNAP ข้อมูลปัญหาสุขภาพของแม่และเด็กปฐมวัยจาก รพ.สต. ในการวางแผนและจัดท�ำโครงการ และกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาเด็กและครอบครัว ทั้งในระดับครัวเรือน กลุ่ม อสม. เครือข่ายครอบครัว ศพด. ศพค. รพสต. อบต. ทั้งในเวทีประชาคม เวทีการจัดท�ำแผนพัฒนาศพด. เวทีการพัฒนาแผน ต�ำบล เป็นต้น ๑๐.๒ การสร้างกลไกการจัดการตนเอง การสร้างกลไกการบริหารจัดการตนเองในทุกระดับ ต�ำบลแก้งแกมีการสร้างกลไกในการบริหาร จัดการในการดูแลเด็กปฐมวัยในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว เพื่อให้ง่ายต่อการบริหารจัดการ และ การแก้ปัญหาในครอบครัวมีผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้น�ำ ผู้เฒ่าผู้แก่ ศูนย์พัฒนาครอบครัว เพื่อเจรจาไกล่เกลี่ย ปัญหาในระดับครอบครัว แกนน�ำและคณะกรรมการบริหารกลุม่ และองค์กรชุมชนต่างๆ เช่น กลุม่ อสม. ชมรมผูส้ งู อายุ ท�ำหน้าทีถ่ า่ ยทอดความรูแ้ ละทักษะในการดูแลเด็กปฐมวัย กลุม่ อาสาสมัคร ได้แก่ กลุม่ อสม. ศูนย์พัฒนาครอบครัว ท�ำหน้าที่ในการเชื่อมประสานการท�ำงานในการดูแลเด็กปฐมวัยในช่วง ปกติ เมือ่ เกิดภัยพิบตั ิ ภาวะฉุกเฉิน ความช่วยเหลือทัง้ ในและนอกต�ำบล ในการให้ความช่วยเหลือเด็ก ปฐมวัยและครอบครัว ๑๐.๓ การสร้างคนให้จัดการตนเอง การจัดการตนเอง ให้มีความรู้สึกเป็นเจ้าของ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดกระบวนการในการผลักดันและ ขับเคลื่อนให้จดั การและแก้ปัญหาในการดูแลเด็กปฐมวัยในพื้นที่ มากกว่าที่จะให้หน่วยงานองค์กรอื่น ภายนอกชุมชน เข้ามาให้การช่วยเหลือ ต�ำบลแก้งแกมีการพัฒนาศักยภาพของแม่และครอบครัว รวมทั้งอาสาสมัคร ให้มคี วามเชี่ยวชาญในงานและกิจกรรมต่างๆ เพื่อเป็นแกนน�ำในการด�ำเนินงาน มี
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
65
การแต่งตั้งผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในการดูแลเด็กปฐมวัยให้เป็นผู้น�ำในการท�ำงาน ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญใน การไกล่เกลี่ยปัญหาในครอบครัว การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การจัดท�ำของเล่นพื้นบ้านเพื่อส่งเสริม พัฒนาการเด็ก การส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมภูมปิ ญ ั ญาพืน้ บ้านในการเลีย้ งเด็ก นอกจากนีย้ งั มีการพัฒนา อาสาสมัครในการดูแลเด็กปฐมวัยและครอบครัว จนมีความสามารถในการแก้ไขความขัดแย้งใน ครอบครัว การจัดให้มีพื้นที่สาธารณะเพื่อกิจกรรมร่วมกันของสมาชิกในครอบครัวและชุมชน เป็นต้น ๑๐.๔ การสร้างการมีส่วนร่วม การสร้างการมีส่วนร่วม ในทุกมิติการดูแลเด็กปฐมวัยในชุมชน โดย การร่วมคิด ร่วมท�ำงาน ร่วมรับประโยชน์ และร่วมปรับแนวทางในการด�ำเนินงานเพือ่ ให้เกิดประโยชน์ตอ่ เด็กปฐมวัย มีการเปิด โอกาสและสร้างกระบวนการให้ครอบครัว กลุ่มองค์กรชุมชน หน่วยงานภาครัฐในพืน้ ที่ สามารถมีส่วน ร่วมในกิจกรรมการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย ได้ตามรูปแบบที่เหมาะสมกับตน เช่น การระดม ความคิดเห็นผ่านเวทีประชาคม การร่วมท�ำกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและพัฒนาการดูแลเด็กปฐมวัย การผลักดันให้เกิดรูปแบบ งานใหม่เพื่อการดูแลเด็กปฐมวัย ทั้งนี้ ครอบครัว ผู้น�ำ แกนน�ำ รวมทั้งชาว บ้านสามารถก�ำหนดบทบาทตนเองในการมีส่วนร่วมได้ เช่น การเป็นผู้นำ� เป็นกรรมการ เป็นสมาชิก คนท�ำงานหลัก คนช่วยท�ำงาน และคนรับประโยชน์ มีการเปิดโอกาสให้ผู้เชี่ยวชาญด้านเด็กปฐมวัย ภายนอกพื้นที่ มามีส่วนร่วมในการพัฒนางานและกิจกรรมเพื่อการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย ในพื้นที่ด้วย ๑๐.๕ การระดมทุนและทรัพยากร การระดมเงินและทรัพยากรเพือ่ เป็นทุนจัดสรรส�ำหรับการดูแลเด็กปฐมวัยและครอบครัว ผ่าน การจัดการหลายลักษณะ เช่น การจัดการกองทุนต่างๆ กลุ่มออมทรัพย์ กองทุนหมู่บ้านทุกหมู่บ้าน กองทุนแม่ของแผ่นดิน เพื่อเป็นแหล่งเงินทุนส�ำหรับออมหรือกู้ยืมในการประกอบอาชีพ และการจัด สวัสดิการการดูแลตั้งแต่เกิดจนตาย การจัดสวัสดิการด้านการศึกษา เป็นต้น ๑๐.๖ การมีข้อตกลง การมีขอ้ ตกลงเป้าหมายเพือ่ สร้างความยัง่ ยืน และสร้างความสัมพันธ์แนวราบ อันเกิดจากการ ช่วยเหลือเกือ้ กูลกันของคนในชุมชน ต�ำบลเสม็ดใต้มกี ารจัดท�ำข้อตกลงทัง้ ในระดับบุคคลและครอบครัว ระดับกลุม่ และองค์กร ระดับหน่วยงาน ระดับหมูบ่ า้ น ระดับต�ำบล และระดับเครือข่าย โดยมีเป้าหมาย ทีก่ ารพัฒนาศักยภาพแม่และครอบครัว ศักยภาพอาสาสมัครในการดูแลเด็กปฐมวัย มีการท�ำวิจยั ชุมชน เพื่อน�ำข้อมูลมาวิเคราะห์ปัญหาและการจัดการแก้ปัญหาในการดูแลเด็กปฐมวัยในพื้นที่ร่วมกันหลาย ฝ่าย มีการเฝ้าระวังความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับเด็กปฐมวัย เช่น การประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการขับขี่ ปลอดภัยในชุมชน เป็นต้น
66
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๑๐.๗ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กรภาครัฐและหน่วยงานอื่นๆ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กร หน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่ตำ� บล แก้งแก มีการจัดการความร่วมมือกับรพ.สต. โดยหน่วยงานดังกล่าวเข้ามาช่วยในการสนับสนุนการดูแล เด็กปฐมวัย เช่น การส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย โครงการเกลือไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ การอบรม พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครในการดูแลเด็กปฐมวัยและครอบครัว
๑๑. การตอบสนองต่อตัวชี้วัดด้านการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กกับการดูแลสุขภาวะเด็กปฐมวัยทุกมิติ ของอบต.แก้งแก ตอบสนอง ๖ ชุด กิจกรรมการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย ดังนี้ ๑๑.๑ ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพ ในตัวชี้วัดที่ ๑ ฝึกอบรมผู้ปกครอง/ผู้ดูแลใน ครอบครัวเด็ก ๓-๕ ปีให้เข้าใจ ความจ�ำเป็นของการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การส่งเสริมการเรียนรู้ พัฒนาการทางปัญญาและอารมณ์ และให้การดูแลช่วยเหลือเมือ่ พบความผิดปกติ เช่น พฤติกรรมและ การเรียนรู้ผิดปกติ มีความพิการด้านร่างกาย และสติปัญญา เพื่อให้การดูแลช่วยเหลืออย่างถูกต้อง ตัวชี้วัดที่ ๒ ฝึกอบรมอาสาสมัครในชุมชนเช่นอาสาสมัครสาธารณสุข กลุ่มแม่อาสา เป็นต้น เพื่อให้มี ความรู้เข้าใจเรื่องการประเมินและส่งเสริมพัฒนาการ การเจริญเติบโต การรับภูมิคุ้มกัน ให้การดูแล ช่วยเหลือตามสภาพทั้งในภาวะปกติ ๑๑.๒ ชุดกิจกรรมที่ ๒ การพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก ตัวชี้วัดที่ ๑๓ จัดบริการปรับ บ้านและสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการด�ำเนินชีวิตของเด็ก ๓-๕ ปี เช่น การติดตั้งปลั๊กไฟที่สูงจากพื้นการ จัดวางเครื่องใช้ไฟฟ้า ของมีคม เครื่องเล่นเด็กที่ได้มาตรฐานปลอดภัย ตัวชี้วัดที่ ๒๐ ศูนย์พัฒนาเด็ก เล็กมีการดูแลสภาพแวดล้อมภายในอาคารให้ถกู สุขลักษณะและเป็นระเบียบเรียบร้อยเช่น มีพนื้ ทีเ่ ก็บ สิ่งปฏิกูลที่เหมาะสมและถูกสุขลักษณะเพียงพอ จัดท�ำจุดล้างมือให้เพียงพอเหมาะสมกับวัยและถูก สุขลักษณะ และมีการรักษาความสะอาดภายในและภายนอกอาคารของศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กตามเกณฑ์ มาตรฐาน ๑๑.๓ ชุ ด กิ จ กรรมที่ ๓ การพั ฒ นาระบบบริ ก าร ตั ว ชี้ วั ด ที่ ๒๖ จั ด บริ ก ารดู แ ลเด็ ก ๓-๕ ปีทบี่ า้ นเป็นบริการตามภาวะสุขภาพ ทัง้ เด็กป่วย พิการ และกลุม่ ปกติ เป็นการจัดการบริการดูแล ทางร่างกายและจิตใจ เช่น การดูแลกิจวัตรประจ�ำวันเรื่องการรับประทานอาหาร อาบน�้ำ ท�ำความ สะอาดร่างกาย ออกก�ำลังกายพื้นฟู ส่งเสริมพัฒนาการ การเจริญเติบโต การได้รับภูมิคุ้มกัน ตามมาตรฐานการดูแลสายสวนต่างๆ การดูแลท่อช่วยหายใจ การให้อาหารทางสายยาง ท�ำแผลพลิก ตะแคงตัว เป็นต้น รวมไปถึงการเพิ่มสมรรถนะของผู้ดูแลในการช่วยเหลือ ดูแลเด็ก ๓-๕ ปีที่บ้านได้
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
67
อย่างเหมาะสม ตัวชี้วัดที่ ๒๗ การให้การบริการอื่นๆ เช่น การให้คำ� ปรึกษาผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็กเรื่อง สุขภาพอย่างน้อย ๑ ครั้งต่อปี การจัดบริการอาหารเฉพาะหรือตามความต้องการรวมทั้งการดูแล เด็ก ๓-๕ ปี ทัง้ เด็กป่วย พิการ และกลุม่ ปกติรวมทัง้ การประเมินพัฒนาการทีบ่ า้ น ตัวชีว้ ดั ที่ ๒๘ จัดการ บริการรับ-ส่ง ๒๔ ชม.เพื่อการรักษาช่วยเหลือและกรณีอุบัติเหตุฉุกเฉิน เช่น ชัก ถูกกระท�ำรุนแรง โดยครอบครัว ชุมชนเป็นต้น ๑๑.๔ ชุดกิจกรรมที่ ๔ การจัดตั้งกองทุนหรือจัดให้มีสวัสดิการช่วยเหลือกัน ตัวชี้วัดที่ ๔๕ เพิ่มช่องทางในการระดมทุนอื่นๆ เช่นการท�ำบุญกฐินผ้าป่าเป็นต้นเพื่อการดูแลเด็ก ๓-๕ปี โดยเฉพาะ กลุ่มที่เจ็บป่วย ๑๑.๕ ชุดกิจกรรมที่ ๕ การพัฒนาและน�ำใช้ข้อมูลในการส่งเสริมแก้ไข จัดการปัญหาเด็ก ๓-๕ ปี ตัวชี้วัดที่ ๔๗ มีการจัดท�ำข้อมูลโดยคนในชุมชนและมีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายตั้งแต่ขั้นตอน การเก็บ การตรวจสอบความถูกต้อง การวิเคราะห์เพื่อใช้จัดการดูแลและประเมินผลการดูแล ตัวชี้วัด ที่ ๔๙ ศพด.มีการจัดท�ำฐานข้อมูลที่ครอบคลุมในด้านข้อมูลเด็ก ครอบครัว บุคลากร สิ่งแวดล้อม สุขภาพ อุบัติเหตุและความปลอดภัย มีการจัดเก็บข้อมูลที่มีความถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน ตัวชี้วัดที่ ๕๑ สร้างและเพิ่มช่องทางการเรียนรู้ข้อมูลการดูแลเด็ก ๓-๕ ปีให้กับผู้ปกครองและผู้ดูแลอย่าง หลากหลายช่องทางเช่นการประชาคมการประชุมการปรึกษาหารือการจัดท�ำแผนการดูแล การบอก ปากต่อปาก วิทยุชุมชน หอกระจายข่าว เอกสาร หนังสือพิมพ์เพื่อกระจายข่าวเป็นต้น
68
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
69
ภาพที่ ๑ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้านระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลแก้งแก อ�ำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม
ภาพที่ ๒ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลแก้งแก อ�ำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม
70
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ภาพที่ ๓ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กกับการดูแลสุขภาวะเด็กปฐมวัยทุกมิติ องค์การบริหารส่วนต�ำบลแก้งแก อ�ำเภอโกสุมพิสัย จังหวัด มหาสารคาม
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
71
บทบาทอาสาสมัครในการส่งเสริม การพัฒนาการเด็กปฐมวัย องค์การบริหารส่วนต�ำบลไหล่ทุ่ง อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี
๑. ที่มาหรือฐานคิดของการด�ำเนินกิจกรรม จากข้อมูลโครงการจัดเก็บข้อมูลต�ำบลไหล่ทุ่ง (TCNAP) พบว่าประชากรภายในต�ำบลไหล่ทุ่ง มีประชากรทัง้ หมด ๘,๔๙๐ คน แยกเป็นชาย ๔,๒๗๒ คน หญิง ๔,๒๑๘ คน และมีเด็ก ๐-๓ ปี จ�ำนวน ๑๖๑ คน แยกเป็นชาย ๘๖ คน หญิง ๗๕ คน เด็ก ๓-๕ ปี จ�ำนวน ๑๔๗ คน แยกเป็นชาย ๗๔ คน หญิง ๗๓ คน มีจ�ำนวนครัวเรือน ๑,๙๕๙ ครัวเรือน ในปัจจุบันพบว่าการศึกษาในระดับปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ ทุกฝ่ายต้องให้ความส�ำคัญ เนื่องจากเด็กในระดับปฐมวัยต้องมีการเตรียมความพร้อมตั้งแต่อายุ ๒-๕ ปี การเตรียมความพร้อมของเด็กในวัยนี้จะอยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เนือ่ งจากความเร่งรีบในการท�ำงานการประกอบอาชีพของผูป้ กครอง ท�ำให้ไม่สามารถดูแลเด็กได้ตลอด ทัง้ วัน ดังนัน้ เพือ่ แก้ไขปัญหาและตอบสนองความต้องการของประชาชน เพือ่ ให้มสี ถานทีด่ แู ลเด็กและ ให้เด็กได้รบั การศึกษาอย่างทั่วถึง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จึงให้มีการสร้างศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขึ้น รวมถึงการจัดให้มีแกนน�ำชุมชน เช่น ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ปราชญ์ชาวบ้าน เข้ามาเป็นคณะกรรมการ สถานศึกษา เพื่อมีส่วนในการบริหารจัดการการศึกษาร่วมกับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และจัดให้มีกลุ่ม อาสาสมัครต่างๆ ภายในชุมชน เข้ามามีบทบาทส�ำคัญในการส่งเสริมการพัฒนาการเด็กปฐมวัย ซึ่ง อาสาสมัครในชุมชน มีดงั ต่อไปนี้ ๑) อาสาสมัครดูแลสุขภาพ ได้แก่ กลุม่ อาสานมแม่ กลุ่มแม่ร่วมดูแล เด็ก กลุ่ม อสม. ๒) จิตอาสาปฐมวัย ได้แก่ กลุ่มสตรี กลุ่มอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ จิตอาสาเยาวชน ๓) จิตอาสาพัฒนาชุมชน ได้แก่ กลุ่ม อปพร. กลุ่มอาสาสมัครพัฒนาชุมชน กลุ่มอาสาสมัครลงแรง มี ส่วนดูแลช่วยเหลือในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยเป็นอย่างมาก
72
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ในอดีตที่ผ่านมาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลไหล่ทุ่ง ไม่ได้น�ำเอาศักยภาพของผู้ปกครองและ อาสาสมัครต่างๆ ในชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมการพัฒนาการของเด็กปฐมวัย โดยปกติ เข้าใจว่าภารกิจในการจัดการศึกษาและดูแลเด็กเป็นหน้าทีข่ องครูศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ท�ำให้ประชาชน และกลุ่มอาสาสมัครด้านต่างๆในชุมชนขาดการเข้ามามีส่วนร่วม ขาดความร่วมมือ ท�ำให้ศูนย์พัฒนา เด็กเล็กไม่ได้รับการพัฒนาจากกลุ่มอาสาสมัครเท่าที่ควร จนกระทั่งประเทศไทยได้ประกาศใช้ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติซึ่งเชื่อว่า พ่อแม่เป็นครูที่ดีที่สุด มีพลังมีทุกสิ่งทุกอย่างรวมทั้ง ความตั้งใจและความปรารถนาดีต่ออนาคตของลูกหลานตนเอง มีสาระส�ำคัญที่เกี่ยวกับผู้ปกครอง ๒ ส่วนคือ ๑) การจัดการศึกษาเป็นสิทธิของผู้ปกครองที่จะเข้าไปใช้สิทธิแทนลูกหลาน ๒) ทุกฝ่าย ในสังคมจะต้องมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา เพราะฉะนั้นผู้ปกครองและอาสาสมัครจึงได้เข้ามามี บทบาทในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยมากขึ้น ต�ำบลไหล่ทุ่ง จึงได้เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองและอาสาสมัครต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยมีการก�ำหนดช่วงเวลาในการจัดการเรียนการสอน ก�ำหนดให้เข้าร่วม ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยสัปดาห์ละ ๑ ครัง้ เช่น กลุม่ แม่รว่ มดูแลเด็ก มีการจัดกิจกรรมอ่านหนังสือ นิทานประกอบภาพให้กับเด็กเพื่อฝึกทักษะการฟังและการคิด กิจกรรมช่วยคุณแม่อาบน�้ำให้เด็ก การร้องเพลงเสียงสูงๆ ต�่ำๆ ช่วยฝึกทักษะด้านภาษา กลุ่มอาสานมแม่ มีการให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง และผู้ดูแลเด็กในการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ กิจกรรมชวนเด็กเขียนภาพระบายสีเพื่อส่งเสริม ความคิดสร้างสรรค์ การปั้นดินน�้ำมันเพื่อส่งเสริมพัฒนาการกล้ามเนื้อ มีกลุ่ม อสม.ที่เข้ามาให้ความรู้ เรื่องสุขภาพเหงือกและฟัน รวมถึงการป้องกันและควบคุมโรคที่มักพบบ่อยในเด็กปฐมวัย
๒. งานและกิจกรรม ๒.๑ ภาพรวมระบบการดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบล ต�ำบลไหล่ทุ่งมีการก�ำหนดเป้าหมายเพื่อการดูเด็กปฐมวัย ได้แก่ มีส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัย การส่งเสริมศักยภาพการดูแลเด็กปฐมวัยของแม่และครอบครัว การส่งเสริมศักยภาพ อาสาสมัครในชุมชน โดยการใช้ข้อมูลจาก RECAP และ TCNAP น�ำข้อมูลปัญหาสุขภาพของแม่และ เด็กปฐมวัยจาก รพ.สต.ไหล่ทุ่งและรพ.สต.บ่อหิน เพื่อจัดการต่อปัญหาและความต้องการในการดูแล เด็กปฐมวัย มีแกนน�ำและคณะกรรมการบริหารกลุ่มและองค์กรชุมชนต่างๆ ได้แก่ กลุ่ม อสม. กลุ่มชมรมผู้สูงอายุ เพื่อถ่ายทอดความรู้และทักษะในการดูแลเด็กปฐมวัย มีกลุ่มอาสาสมัคร ได้แก่ กลุ่ม อปพร. กลุ่มอาสาสมัครพัฒนาชุมชน ท�ำหน้าที่ในการเชื่อมประสานการท�ำงานในการดูแล
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
73
เด็กปฐมวัยในช่วงปกติ เมื่อเกิดภัยพิบัติหรือภาวะฉุกเฉิน มีการประสานความช่วยเหลือทั้งในและ นอกต�ำบล นอกจากนี้ต�ำบลไหล่ทุ่งยังมีกระบวนการในการด�ำเนินงานโดยมีการพัฒนาศักยภาพของ แม่และครอบครัว อาสาสมัครให้มีความเชี่ยวชาญในงานและกิจกรรมต่างๆ เพื่อเป็นแกนน�ำในการ ด�ำเนินงาน มีการแต่งตั้งผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในการดูแลเด็กปฐมวัยให้เป็นผู้นำ� ในการท�ำงาน ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญในการไกล่เกลี่ยปัญหาในครอบครัว การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การจัดท�ำของเล่นพื้นบ้าน เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็ก การส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาพื้นบ้านในการเลี้ยงเด็กและสร้าง การมีส่วนร่วมในทุกมิติ การดูแลเด็กปฐมวัยในชุมชน โดยการร่วมคิด ร่วมท�ำงาน ร่วมรับประโยชน์ และร่วมปรับแนวทางในการด�ำเนินงานเพือ่ ให้เกิดประโยชน์ต่อเด็กปฐมวัย โดยต�ำบลไหล่ท่งุ มีการเปิด โอกาสให้ครอบครัว กลุ่มองค์กรชุมชน หน่วยงานภาครัฐในพื้นที่ โดยเน้นการสร้างกระบวนการที่ให้ แต่ละฝ่ายสามารถมีส่วนร่วมได้ตามรูปแบบที่เหมาะสมกับตน ได้แก่ การระดมความคิดเห็นผ่านเวที ประชาคม การร่วมท�ำกิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมและพัฒนาการดูแลเด็กปฐมวัย มีการระดมเงินและทรัพยากร เพื่อเป็นทุนจัดสรรการดูแลเด็กปฐมวัยและครอบครัว จากการที่ทุกหมู่บ้านมีกองทุนสวัสดิการชุมชน กลุ่มออมทรัพย์ กลุ่มออมวันละบาท กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน และมีข้อตกลงเป้าหมายเพื่อสร้างความ ยั่งยืน สร้างความสัมพันธ์เพื่อน�ำสู่การจัดการแก้ปัญหาในการดูแลเด็กปฐมวัยในพื้นที่ มีการสร้าง ข้อตกลงและกติกาเพื่อการดูแลเด็กปฐมวัยและครอบครัว ได้แก่ การเฝ้าระวังความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น กับเด็กปฐมวัย การขับขี่ปลอดภัยในชุมชน การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กร หน่วยงานภาครัฐ และหน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่ ๒.๒ ประเด็นเด่นของระบบการดูแลเด็กปฐมวัย ต�ำบลไหล่ทุ่งมีอาสาสมัครเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย ดังนี้ ๑) อาสาสมัครดูแลสุขภาพ ได้แก่ (๑) กลุ่มอาสานมแม่ จัดกิจกรรมส่งเสริมการเลี้ยงเด็ก ด้วยนมแม่ ฝึกทักษะการดูแลสุขภาพของเด็กและการป้องกันโรค ชวนเด็กเขียนภาพระบายสี ปั้นดิน น�้ำมัน การเล่านิทาน อ่านค�ำคล้องจองและค�ำกลอนให้เด็กฟัง (๒) กลุ่มแม่ร่วมดูแลเด็ก มีการอ่าน หนังสือนิทานภาพกับเด็ก การร้องเพลงเสียงสูงๆ ต�่ำๆ เปิดกล่องเพลงแสนสนุก เพื่อช่วยในการฝึก ภาษาและพัฒนาด้านการฟังที่ดีของเด็ก ฝึกให้เด็กหยิบของเล่นออกจากกล่องเพื่อฝึกการหยิบจับ มีกิจกรรมช่วยคุณแม่อาบน�้ำให้เด็กและแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการดูแลเด็กร่วมกัน (๓) กลุ่มอาสาสมัคร สาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน ท�ำหน้าที่แจ้งข่าวสารสาธารณสุข การให้ภูมิคุ้มกันโรค การสุขาภิบาล สิง่ แวดล้อม การจัดหาน�ำ้ สะอาด การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ การอนามัยแม่และเด็ก การวางแผน ครอบครัว การดูแลรักษาและป้องกันสุขภาพเหงือกและฟัน และการดูแลส่งเสริมสุขภาพจิต
74
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๒) จิตอาสาพัฒนาชุมชน ได้แก่ (๑) กลุ่ม อปพร. มีการดูแลความปลอดภัยเมื่อมีการ จัดงานกิจกรรมส�ำหรับเด็ก เช่น งานวันปีใหม่ งานวันสงกรานต์ งานวันผู้สูงอายุ การเป็นจิต อาสาช่วยเหลือผูท้ ปี่ ระสบภัยพิบตั ิ เช่น อุทกภัย อัคคีภยั และวาตภัย การเข้าเวรยามเมือ่ มีงานเทศกาล ต่างๆ เช่น งานวันปีใหม่ งานวันสงกรานต์ (๒) กลุ่มอาสาสมัครพัฒนาชุมชน มีการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. การจั ด ท� ำ แผนชุ ม ชน การจั ด เวที ป ระชาคม เผยแพร่ ค วามรู ้ ด ้ า นปราชญ์ ช าวบ้ า น การ ส่งเสริมประชาธิปไตยในต�ำบล รณรงค์ป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน การอนุรักษ์ฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น การปลูกป่า (๓) อาสาสมัครลงแรง มีการพัฒนาด้านโครงสร้างชุมชน ได้แก่ การวางท่อประปา การขนดิน สร้างถนน การขุดบ่อน�ำ้ เพือ่ ใช้ในการเกษตร การก�ำจัดขยะมูลฝอย ท�ำความสะอาดในชุมชน big cleaning day ทุกวันศุกร์ รณรงค์ส� ำรวจลูกน�้ำยุงลายป้องกันโรค ไข้เลือดออก เยี่ยมผู้สูงอายุ ผู้ยากไร้และผู้พิการ พร้อมทั้งให้การดูแลช่วยเหลือ ๓) จิตอาสาปฐมวัย ได้แก่ (๑) กลุ่มสตรี รณรงค์ป้องกันการมีเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ ก่อนวัยอันควร อบรมหลักธรรมะและหลักคุณธรรมจริยธรรม เช่น การรักษาศีล ๕ อาสาท�ำดี จัดกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ในครัวเรือน เช่น การรับประทานอาหารร่วมกัน (๒) กลุม่ อาสาสมัครดูแล ผู้สูงอายุ(อผส.) ดูแลด้านอาหาร เช่น แนะน�ำการเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง การจัดกิจกรรมเข้าจังหวะ เช่น การร�ำไม้พลอง การออกก�ำลังกายท่าฤาษีดัดตน จัดกิจกรรมนันทนาการ เช่น ปลูกต้นไม้ อ่านหนังสือธรรมะ (๓) จิตอาสาเยาวชน ด้านอาคารสถานที่ เช่น การทาสีห้องเรียนและห้องน�้ำ ด้านการจัดท�ำครุภัณฑ์ เช่น การสร้างตู้ ชั้นวางสื่อให้กับเด็ก ด้านการผลิตสื่อ เช่น จัดมุมการเรียนรู้ มุมบทบาทสมมติ มุมหนังสือ มุมสร้างสรรค์ เป็นต้น
๓. ทุนทางสังคม ๓.๑ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการหลัก องค์การบริหารส่วนต�ำบลไหล่ทงุ่ มีทนุ ทางสังคมทีด่ ำ� เนินการหลักทีส่ อดคล้องกับการดูแลเด็ก ปฐมวัยดังนี้ ๑) องค์การบริหารส่วนต�ำบลไหล่ทงุ่ รวบรวมข้อมูลและแต่งตัง้ คณะกรรมการสถานศึกษา พร้อมทั้งสนับสนุนงบประมาณในการด�ำเนินงาน การออกประชาคม การจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์การ พัฒนาการศึกษา แผนสามปี ข้อบัญญัติ แผนพัฒนาการศึกษาและการจัดท�ำหลักสูตรปฐมวัย ๒) กลุม่ อสม.ท�ำหน้าทีใ่ นการการส่งเสริมและพัฒนาเกีย่ วกับพัฒนาการและการดูแลสุขภาพ ของเด็กในด้านการเจริญเติบโต การประเมินผลและส่งเสริมการพัฒนาการของเด็ก การตรวจคัดกรอง
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
75
โรค และรณรงค์ป้องกันด้านสุขภาพ พร้อมทั้งให้ความรู้ด้านสุขภาพ เช่น การชั่งน�ำ้ หนัก วัดส่วนสูง การประเมินพัฒนาการ เป็นต้น ๓) กลุ่มอาสานมแม่ ท�ำหน้าที่ส่งเสริมการเลี้ยงเด็กด้วยนมแม่ ฝึกทักษะการดูแลสุขภาพ ของเด็กและป้องกันการเกิดโรค กิจกรรมชวนเด็กเขียนภาพระบายสี ปั้นดินน�้ำมัน การเล่านิทาน อ่านค�ำคล้องจอง ค�ำกลอนให้เด็กฟัง ๔) กลุ่มแม่ร่วมดูแลเด็ก ท�ำหน้าที่ส่งเสริมการพัฒนาการเรียนรู้ เช่น การอ่านหนังสือนิทาน ประกอบภาพกับเด็ก การร้องเพลงเสียงสูงๆ ต�่ำๆ ช่วยฝึกภาษา ฝึกให้เด็กหยิบของเล่นออกจาก กล่องเพื่อฝึกการหยิบจับ กิจกรรมช่วยคุณแม่อาบน�้ำให้เด็กแลกเปลี่ยนเรียนรู้วธิ ีการดูแลเด็กร่วมกัน ๕) กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน ท�ำหน้าที่แจ้งข่าวสารสาธารณสุข การ รักษาอนามัยของร่างกาย การให้ภูมิคุ้มกันโรค การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม เช่น การจัดหาน�ำ้ สะอาด การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ การอนามัยแม่และเด็ก การวางแผนครอบครัว การดูแลรักษาและ ป้องกันสุขภาพเหงือกและฟัน ๖) กลุ่ม อปพร. ท�ำหน้าที่ดูแลความปลอดภัยเมื่อมีการจัดงานส�ำหรับเด็ก เช่น งานปีใหม่ งานวันสงกรานต์ งานวันผู้สูงอายุ การเป็นจิตอาสา ช่วยเหลือผู้ที่ประสบภัยพิบัติ เช่น อุทกภัย อัคคีภัย เข้าเวรยามเมื่อมีงานเทศกาล เช่น งานปีใหม่ งานวันสงกรานต์ ๗) กลุ่มอาสาสมัครพัฒนาชุมชน ท�ำหน้าที่จัดเก็บข้อมูล จปฐ. การจัดท�ำแผนชุมชน การ จัดเวทีประชาคม เผยแพร่ความรู้ ปราชญ์ชาวบ้าน การส่งเสริมประชาธิปไตยในต�ำบล รณรงค์ ป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน การอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ เช่น การปลูกป่า ๘) กลุม่ อาสาสมัครลงแรง ท�ำหน้าทีก่ ารพัฒนาด้านโครงสร้างชุมชน เช่น การวางท่อประปา การขนดิน สร้างถนน การขุดบ่อน�้ำ เพื่อใช้ในการเกษตร การก�ำจัดขยะมูลฝอย ท�ำความสะอาดใน ชุมชน big cleaning day ทุกวันศุกร์ รณรงค์สำ� รวจลูกน�้ำยุงลาย ป้องกันโรคไข้เลือดออก เยี่ยมผู้สูงอายุ ผู้ยากไร้ และผู้พกิ าร พร้อมทั้งให้การดูแลช่วยเหลือ ๙) กลุ่มสตรี ท�ำหน้าที่รณรงค์ป้องกันการมีเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร อบรมหลักธรรมะและหลักคุณธรรมจริยธรรม เช่นการรักษาศีล ๕ จัดกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ ในครัวเรือน เช่น การรับประทานอาหารร่วมกัน ๑๐) กลุ่มอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) ท�ำหน้าที่การดูแลด้านอาหาร เช่น แนะน�ำการ เลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง การจัดกิจกรรมเข้าจังหวะ เช่น การร�ำไม้พลอง การออกก�ำลังกายท่าฤาษี ดัดตน จัดกิจกรรมนันทนาการ เช่น ปลูกต้นไม้ อ่านหนังสือธรรม ๑๑) กลุ่มจิตอาสาเยาวชน ท�ำหน้าที่ด้านอาคารสถานที่ เช่น การทาสีห้องเรียนและห้องน�ำ้ ด้านการจัดท�ำครุภัณฑ์ เช่น การสร้างตู้ ชั้นวางสื่อ ให้กับเด็ก ด้านการผลิตสื่อ เช่น จัดมุมการเรียนรู้
76
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
มุมบทบาทสมมติ มุมหนังสือ มุมสร้างสรรค์ ด้านการจัดบรรยากาศตกแต่งห้องด้วยวัสดุ ธรรมชาติ เช่น ปลาตะเพียนใบมะพร้าว โมบายเปลือกหอย ด้านสุขอนามัย เช่น จัดมุมน�้ำดื่ม จัดยาประจ�ำห้อง ๑๒) ผู้น�ำชุมชนดูแลและบริหารจัดการ รวมทั้งร่วมจัดการและสนับสนุนการออกแบบ กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย เช่น โครงการปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้ ๑๓) ปราชญ์ชาวบ้าน ให้ความรูเ้ กีย่ วกับภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ เพือ่ พัฒนาการเรียนรูข้ องเด็ก ปฐมวัย ๑๔) ผูส้ งู อายุ ให้ความรู้เกีย่ วกับส่งเสริมการพัฒนาเด็ก เช่น การเล่านิทาน การสร้างสัมพันธ์ คนในครอบครัว ๑๕) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไหล่สูง ท�ำหน้าที่ในการจัดท�ำหลักสูตรเพื่อการพัฒนาและ การออกแบบการจัดการเรียนรูข้ องเด็กปฐมวัย รวมทัง้ ส่งเสริมและดูแลด้านสุขภาพและการส่งเสริมและ พัฒนาเกี่ยวกับพัฒนาการและการดูแลสุขภาพของเด็ก ๑๖) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไหล่ทุ่ง ท�ำหน้าที่ในการจัดท�ำหลักสูตรเพื่อการพัฒนาและ การออกแบบการจัดการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย รวมทั้งส่งเสริมและดูแลด้านสุขภาพและการส่งเสริม และพัฒนาเกี่ยวกับพัฒนาการและการดูแลสุขภาพของเด็ก ๑๗) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านดอนงัว ท�ำหน้าที่ในการจัดท�ำหลักสูตรเพื่อการพัฒนาและ การออกแบบการจัดการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย รวมทั้งส่งเสริมและดูแลด้านสุขภาพและการส่งเสริม และพัฒนาเกี่ยวกับพัฒนาการและการดูแลสุขภาพของเด็ก ๑๘) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบ่อหิน ท�ำหน้าที่ในการจัดท�ำหลักสูตรเพื่อการพัฒนาและ การออกแบบการจัดการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย รวมทั้งส่งเสริมและดูแลด้านสุขภาพและการส่งเสริม และพัฒนาเกี่ยวกับพัฒนาการและการดูแลสุขภาพของเด็ก ๑๙) คณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ดูแลและบริหารจัดการรวมทั้งร่วมจัดกา รและสนับสนุนการออกแบบกิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ๒๐) คณะครูผู้ดูแลเด็กด�ำเนินการศึกษา รวบรวมข้อมูล จัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษา ออกแบบกิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ของเด็ก จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กและรวมทั้งการ ประเมินผลพัฒนาการของเด็ก ๓.๒ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการรอง ๑) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลไหล่ทุ่ง รวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพและการส่งเสริม พัฒนาระบบการดูแลสุขภาพ เช่น การตรวจสุขภาพในช่องปาก การตรวจพัฒนาการเด็ก การให้วคั ซีน และให้ความรู้ในการควบคุมโรคเป็นต้น
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
77
๒) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลบ่อหิน รวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพและการ ส่งเสริมพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพ เช่น การตรวจสุขภาพในช่องปาก การตรวจพัฒนาการเด็ก การ ให้วัคซีน และให้ความรู้ในการควบคุมโรคเป็นต้น ๓) กองทุนหมู่บ้านสนับสนุนทุนการศึกษาให้กับเด็กปฐมวัย
๔. วัตถุประสงค์ ๔.๑ เพื่อพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น ๔.๒ เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการร่วมดูแลเด็กปฐมวัยร่วมกันผ่านอาสมัครใน รูปแบบต่างๆ มาร่วมดูแล ๔.๓ เพื่อให้เด็กปฐมวัยในชุมชนได้รับการดูแลอย่างครอบคลุมตลอดเวลา เพื่อส่งเสริม การเรียนรู้และส่งเสริมพัฒนาการของเด็กให้เป็นไปตามช่วงวัย ๔.๔ เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ๔.๕ เพือ่ สร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างครูและทุนทางสังคมในการจัดการเรียนรูแ้ ละการดูแล เด็กปฐมวัยในชุมชนท้องถิ่นตนเอง
๕. วิธีการท�ำงาน ๕.๑ การสร้างทีมและก�ำหนดคณะท�ำงาน โดยการรับสมัครอาสาสมัครเข้าร่วมกิจกรรมประชุม อาสาสมัครกลุ่มต่างๆ เพื่อก�ำหนดบทบาทหน้าที่และกิจกรรมที่ส่งผลต่อการพัฒนาการของเด็ก ๕.๒ การพัฒนาศักยภาพคณะท�ำงาน โดยมีการจัดประชุมและอบรมให้ความรูแ้ ก่คณะท�ำงาน ๕.๓ การติดตามและประเมินผลปีละ ๒ ครั้ง
๖. การเชื่อมโยงหรือส่งผลที่เอื้อต่อการท�ำงานกับกลุ่มงานและกิจกรรมอื่นๆ การก�ำหนดบทบาทอาสาสมัครในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ซึง่ ร่วมกับองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลไหล่ทุ่งและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองและอาสาสมัครต่างๆ เข้ามามี ส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยมีการเชื่อมการดูแลกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ต�ำบล โรงพยาบาลชุมชนตระการพืชผล พัฒนาสังคมและความต้องการของมนุษย์จงั หวัดอุบลราชธานี และกลุ่มต่างๆ ในชุมชน เช่น กลุ่มชมรมผู้สูงอายุ ปราชญ์ชาวบ้าน กลุ่มกองทุนสวัสดิการต�ำบล ไหล่ทุ่ง ในการร่วมกันพัฒนาบทบาทอาสาสมัครในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยของต�ำบล 78
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๗. ผลผลิตและผลลัพธ์ ๗.๑ ผลต่อประชากรเป้าหมาย ๑) เด็กปฐมวัย ได้มกี ารพัฒนาทัง้ ทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปญ ั ญาโดยการ ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ ปูพ้นื ฐานทักษะด้านต่างๆ เพื่อให้มีความพร้อมในการพัฒนาระดับสูงขึ้นไป ๒) เด็กปฐมวัยได้รับการดูแลที่ครอบคลุม นอกเหนือจากการดูแลของผู้ปกครอง ๓) ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาการของเด็กในด้านสังคม ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และจิตใจ ๗.๒ ผลต่อคุณภาพชีวิตของกลุ่มประชากร ๕ มิติ ๑) ด้านสังคม มีการสนับสนุนให้เพิม่ กลุม่ หรือจ�ำนวนสมาชิกในกลุม่ ขยายเครือข่ายการดูแล เฉพาะกลุ่มเด็ก ๐-๕ ปี และมีเครือข่ายดูแลช่วยเหลือกันโดยเชื่อมประสานแหล่งเรียนรู้อื่นๆใน พื้นที่ ได้แก่ กศน.ต�ำบลไหล่ทุ่ง ชมรมผู้สูงอายุ ๒) ด้านเศรษฐกิจ การเพิ่มรายได้ให้กับผู้ปกครองเด็ก คือ การส่งเสริมอาชีพ เช่น การเลี้ยง ปลา เลี้ยงไก่ การเลี้ยงเป็ด การเลี้ยงสุกร การเลี้ยงโค-กระบือ โดยมีแหล่งเงินที่เข้ามาเป็นทุนในการ สนับสนุนเพื่อการประกอบอาชีพ ได้แก่ กองทุนสวัสดิการชุมชนต�ำบลไหล่ทุ่ง เพื่อการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตที่ดขี องเด็กปฐมวัยและครอบครัว ๓) ด้านสภาวะแวดล้อม จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและ คนในครอบครัวเด็กให้มคี วามรูใ้ นเรือ่ งของการจัดการขยะและมลพิษ โดยมีการจัดกิจกรรมการคัดแยก ขยะ กิจกรรมสร้างจิตส�ำนึก กิจกรรมการผลิตสื่อการเรียนจากวัสดุเหลือใช้ ๔) ด้านสุขภาพ การจัดการบริการดูแลทางด้านร่างกาย จิตใจ การให้คำ� ปรึกษาผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก ให้การช่วยเหลือกรณีมีอุบัติเหตุฉุกเฉิน มี อบต. ด�ำเนินการและมีทุนทางสังคมอื่นร่วมด้วย ได้แก่ ศพด. รพ.สต. อสม. กู้ชพี กู้ภัย ๑๖๖๙ การจัดบริการเพื่อปรับพฤติกรรมเสี่ยงด้านสุขภาพ ๕) ด้านการเมืองการปกครอง มีการจัดการด้านการเมืองการปกครองที่สอดรับกับภารกิจ ๗ ด้าน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่แสดงให้เห็นการจัดการตนเองในการดูแลเด็กปฐมวัยของ ต�ำบลไหล่ทงุ่ โดยการมีศนู ย์พฒ ั นาเด็กเล็กอยูใ่ นด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวติ ได้แก่ จัดให้มกี ารจัดการ ศึกษาส�ำหรับเด็กปฐมวัย
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
79
๘. กลไก เครื่องมือในการด�ำเนินงาน ๘.๑ ผลักดันให้กลุ่มอาสาสมัครในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบการดูแลเด็ก ปฐมวัย ๘.๒ การประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภายในและภายนอกองค์กรให้เข้ามา สนับสนุนในการดูแลเด็กปฐมวัย ๘.๓ การส�ำรวจข้อมูลเด็กปฐมวัย เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการพัฒนางานระบบการดูแล เด็กปฐมวัย
๙. ปัจจัยเงื่อนไข ๙.๑ คณะท�ำงานมีความเข้มแข็งซึ่งการด�ำเนินการครั้งนี้ คณะกรรมการประกอบด้วยคณะ ผูบ้ ริหาร นักวิชาการ แกนน�ำ การจัดประชุม ๓ เดือน/ครัง้ เพือ่ สร้างความเข้าใจในแผนปฏิบตั กิ าร และ วางแผนการจัดกิจกรรมในพื้นที่ ๙.๒ การท�ำงานเป็นเครือข่าย ความร่วมมือของท้องถิ่น ท้องที่ องค์กรชุมชน โดยมีหน่วยงาน ภาครัฐให้การสนับสนุน ภายใต้วิถีชีวิตประเพณี วัฒนธรรมของชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่นตามวิถี ต�ำบลไหล่ทุ่ง
๑๐. ความเชื่อมโยงต่อ ๗ คุณลักษณะการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่น ๑๐.๑ การสร้างการเรียนรู้ การสร้างการเรียนรู้ปัญหาและความต้องการของชุมชน ต�ำบลไหล่ท่งุ มีการก�ำหนดเป้าหมาย เพือ่ การดูเด็กปฐมวัย ได้แก่ มีสง่ เสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย การส่งเสริมศักยภาพการดูแลเด็กปฐมวัย ของแม่และครอบครัว การส่งเสริมศักยภาพอาสาสมัครในชุมชน โดยการใช้ข้อมูลจาก RECAP และ TCNAP ข้อมูลปัญหาสุขภาพของแม่และเด็กปฐมวัยจาก รพ.สต.ไหล่ทุ่ง เพื่อจัดการต่อ ปัญหาและ ความต้องการของชุมชนในการการดูแลเด็กปฐมวัย ๑๐.๒ การสร้างกลไกการจัดการตนเอง การสร้างกลไกลการบริหารจัดการตนเองในทุกระดับ ต�ำบลไหล่ทุ่งมีการสร้างกลไกในการ บริหารจัดการในการดูแลเด็กปฐมวัยในทุกระดับ ตัง้ แต่ระดับครอบครัว เพือ่ ให้งา่ ยต่อการบริหารจัดการ และการแก้ปัญหาในครอบครัวมีผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้น�ำ ผู้เฒ่าผู้แก่ ศูนย์พัฒนาครอบครัว เพื่อเจรจา
80
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ไกล่ เ กลี่ ย ปั ญ หาในระดั บ ครอบครั ว มี แ กนน� ำ และคณะกรรมการบริ ห ารกลุ ่ ม และองค์ ก รชุ ม ชน ต่างๆ ได้แก่ กลุ่มอสม. ชมรมผู้สูงอายุ เพื่อถ่ายทอดความรู้และทักษะในการดูแลเด็กปฐมวัย มีกลุ่ม อาสาสมัคร ได้แก่ กลุ่มอสม. ศูนย์พัฒนาครอบครัว ท�ำหน้าที่ในการเชื่อมประสานการท�ำงานในการ ดูแลเด็กปฐมวัยในช่วงปกติ เมื่อเกิดภัยพิบัติ ภาวะฉุกเฉิน มีการประสานความช่วยเหลือทั้งในและ นอกต�ำบล ในการให้ความช่วยเหลือเด็กปฐมวัยและครอบครัว นอกจากนี้ครอบครัวของเด็กปฐมวัย ยังมี ส่วนร่วมกับการบริหารและจัดการตนเองของต� ำบลโดยการเข้าร่วมเวทีประชาคมหมู่บ้าน อบต.เคลื่อนที่ การประชุมของกลุ่มต่างๆ และองค์กรที่เป็นสมาชิก ๑๐.๓ การสร้างคนให้จัดการตนเอง การจัดการตนเอง ให้มคี วามรูส้ กึ เป็นเจ้าของ ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้เกิด กระบวนการในการผลักดันและ ขับเคลื่อนให้จดั การและแก้ปัญหาในการดูแลเด็กปฐมวัยในพื้นที่ มากกว่าที่จะให้หน่วยงานองค์กรอื่น ภายนอกชุมชน เข้ามาให้การช่วยเหลือ ต�ำบลไหล่ทงุ่ มีกระบวนการใน การด�ำเนินงานโดย มีการพัฒนา ศักยภาพของแม่และครอบครัว อาสาสมัครให้มีความเชี่ยวชาญในงาน และกิจกรรมต่างๆ เพื่อเป็น แกนน�ำในการด�ำเนินงาน มีการแต่งตั้งผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในการดูแลเด็ก ปฐมวัยให้เป็นผู้นำ� ในการ ท�ำงาน ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญในการไกล่เกลี่ยปัญหาในครอบครัว การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การจัดท�ำของ เล่นพืน้ บ้านเพือ่ ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก การส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมภูมปิ ญ ั ญา พืน้ บ้านในการเลีย้ งเด็ก นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาอาสาสมัครในการดูแลเด็กปฐมวัยและครอบครัว ซึ่งมีการเรียนรู้จากการ ปฏิบัติงานจริง โดยการถ่ายถอดบทเรียนและความรู้ผ่านจากท�ำงานจริง จากการที่ได้เข้ามาร่วมเป็น คณะกรรมการ สมาชิก และอาสมัครในด้านต่างๆ ในการร่วมกันก�ำหนดแนวทาง หาทางออกร่วมกัน จนทุกคนในชุมชนมีความตระหนักถึงปัญหาการดูแลเด็กปฐมวัยที่เกิดขึ้นเป็นปัญหาของส่วนรวม ที่ทุกฝ่ายต้องร่วมกันแก้ไข ได้แก่ การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว การจัดให้มีพื้นที่สาธารณะเพื่อ การมีกิจกรรมร่วมกันของสมาชิกในครอบครัวและชุมชน ๑๐.๔ การสร้างการมีส่วนร่วม การสร้างการมีส่วนร่วม ในทุกมิติการดูแลเด็กปฐมวัยในชุมชน โดยการร่วมคิด ร่วมท�ำงาน ร่วมรับประโยชน์ และร่วมปรับแนวทางในการด�ำเนินงานเพือ่ ให้เกิดประโยชน์ตอ่ เด็กปฐมวัย โดยต�ำบล ไหล่ทุ่งมีการเปิดโอกาสให้ครอบครัว กลุ่มองค์กรชุมชน หน่วยงานภาครัฐในพื้นที่ โดยเน้นการสร้าง กระบวนการที่ให้แต่ละฝ่ายสามารถมีส่วนร่วมได้ตามรูปแบบที่เหมาะสมกับตน ได้แก่ การระดมความ คิดเห็นผ่านเวทีประชาคม การร่วมท�ำกิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมและพัฒนาการดูแลเด็กปฐมวัย การผลักดัน ให้เกิดรูปแบบงานใหม่เพื่อการดูแลเด็กปฐมวัย ทั้งนี้ ครอบครัว ผู้นำ� แกนน�ำรวมทั้ง ชาวบ้านสามารถ
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
81
ก�ำหนดบทบาทตนเองในการมีส่วนร่วมได้ เช่น การเป็นผู้นำ� เป็นกรรมการ เป็นสมาชิก คนท�ำงาน หลัก คนช่วยท�ำงาน และคนรับประโยชน์ มีการเปิดโอกาสให้ผู้เชี่ยวชาญด้านเด็กปฐมวัย ภายนอก พื้นที่ มามีส่วนร่วมในการพัฒนางานและกิจกรรมเพื่อการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยในพื้นที่ ๑๐.๕ การระดมทุนและทรัพยากร การระดมเงินและทรัพยากรเพื่อเป็นทุน เพื่อจัดสรรการดูแลเด็กปฐมวัยและครอบครัว จากการมีกองทุนสวัสดิการชุมชนต�ำบลไหล่ทงุ่ กลุม่ ออมทรัพย์ กองทุนหมูบ่ า้ น เพือ่ เป็นกลไกสนับสนุน การพัฒนาเศรษฐกิจของครอบครัวเด็กปฐมวัย มีแหล่งเงินทุนเพื่อกู้ยืมในการประกอบอาชีพ ของ ครอบครัวเด็กปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้มีเงินทุนหมุนเวียนของชุมชนเพื่อการดูแลเด็กปฐมวัย ครอบครัวและชุมชน ถูกน�ำมาใช้ในการท�ำเป็นทุนเพือ่ ต่อยอดและขยายงานในกลุม่ อาชีพเดิม และสร้าง กลุม่ อาชีพใหม่ในครอบครัวเด็กปฐมวัย มีการจัดสวัสดิการเพือ่ การดูแลเด็กปฐมวัยและครอบครัว ได้แก่ การจัดสวัสดิการดูแลตั้งแต่เกิดจนตาย การจัดสวัสดิการเงินทุนเพื่อประกอบอาชีพ การจัดสวัสดิการ ทางด้านการศึกษา เป็นการเพิ่มศักยภาพให้กับครอบครัว แกนน�ำกลุ่ม ในการดูแลช่วยเหลือกัน ๑๐.๖ การมีข้อตกลง การมีข้อตกลงเป้าหมายเพื่อสร้างความยั่งยืน และสร้างความสัมพันธ์ แนวราบ อันเกิดจาก การช่วยเหลือเกื้อกูลกันของคนในชุมชน ต�ำบลไหล่ทุ่งได้มีการจัดท�ำข้อตกลงทั้งใน ระดับบุคคลและ ครอบครัว ระดับกลุม่ และองค์กร ระดับหน่วยงาน ระดับหมูบ่ า้ น ระดับต�ำบล และระดับ เครือข่าย โดย มีเป้าหมาย ในการพัฒนาศักยภาพแม่และครอบครัว อาสาสมัครในการดูแลเด็กปฐมวัย มี การท�ำวิจยั ชุมชน เพือ่ น�ำสูก่ ารจัดการแก้ปญ ั หาในการดูแลเด็กปฐมวัยในพืน้ ที่ มีการสร้างข้อตกลงและ กติกาเพือ่ การดูแลเด็กปฐมวัยและครอบครัว ได้แก่ การเฝ้าระวังความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับเด็กปฐมวัย การขับขี่ ปลอดภัยในชุมชน ซึ่งกระบวนการการจัดท�ำข้อตกลงและกติกา ถือเป็นกระบวนการเรียนรู้และ การจัดการความรู้โดยเฉพาะการจัดการเงื่อนไขของการท�ำงานและการจัดกิจกรรมทั้งหลายของชุมชน ๑๐.๗ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กรภาครัฐและหน่วยงานอื่นๆ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กร หน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานต่างๆ ในพืน้ ที่ ต�ำบล ไหล่ทุ่งได้เข้ามาช่วยในการสนับสนุนการดูแลเด็กปฐมวัยในพื้นที่ ได้แก่ การส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัย โครงการเกลือไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ การอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครในการดูแล เด็กปฐมวัยและครอบครัว การส่งเสริมอาชีพ ศักยภาพการจัดการตนเองของต�ำบลในการดูแลเด็ก ปฐมวัย
82
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๑๑. การตอบสนองต่อตัวชี้วัด ๘ ตัวชี้วัด ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กกับการดูแลสุขภาวะเด็กปฐมวัยทุกมิตขิ อง อบต.ไหล่ท่งุ ตอบสนอง ๖ ชุด กิจกรรมการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยดังนี้ ๑๑.๑ ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพ ตัวชี้วัดที่ ๑ ฝึกอบรมผู้ปกครองหรือผู้ดูแลใน ครอบครัวเด็ก ๓-๕ ปีให้เข้าใจ ความจ�ำเป็นของการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การส่งเสริมการเรียนรู้ พัฒนาการทางปัญญาและอารมณ์ ตัวชี้วัดที่ ๒ ฝึกอบรมอาสาสมัครในชุมชนเช่นอาสาสมัคร สาธารณสุข กลุ่มแม่อาสา เป็นต้น เพื่อให้มีความรู้เข้าใจเรื่องการประเมินและส่งเสริมพัฒนาการ การ เจริญเติบโต การรับภูมคิ ุ้มกัน ให้การดูแลช่วยเหลือตามสภาพทั้งในภาวะปกติ ตัวชี้วดั ที่ ๔ สนับสนุน ให้เพิ่มกลุ่มทางสังคม องค์กรชุมชนหรือจ�ำนวนสมาชิกในกลุ่มขยายเครือข่ายการดูแลเฉพาะด้านเด็ก ๓-๕ ปี เช่น กลุ่มเยี่ยมบ้านเด็ก ๓-๕ ปี เครือข่ายดูแลช่วยเหลือสร้างเครือข่ายการช่วยเหลือกัน โดยเชื่อมประสานทุนทางสังคมอื่นๆ ในพื้นที่ ๑๑.๒ ชุดกิจกรรมที่ ๒ การพัฒนาสภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อเด็ก ๓-๕ ปี ตัวชีว้ ดั ที่ ๑๗ สนับสนุน ให้มีกลุ่มช่วยดูแลเด็ก ๓-๕ ปี เช่น กลุ่มท�ำอาหารส�ำหรับเด็ก ทั้งเด็กป่วย พิการ และกลุ่มปกติกลุ่ม เพื่อนบ้านช่วยเหลือกันดูแลกันในการรับยา การส่งเสริมพัฒนาการกิน กอด เล่น เล่าเยี่ยมให้กำ� ลังใจ ผู้ดูแลเฝ้าระวังความรุนแรงในครอบครัวเป็นต้น ๑๑.๓ ชุดกิจกรรมที่ ๓ การพัฒนาระบบบริการ ตัวชี้วัดที่ ๓๓ หน่วยงานที่ให้การบริการแก่ เด็ก ๓-๕ ปี เช่น รพ.สต. รพ. อปท. จัดพื้นที่เฉพาะไว้รองรับเด็ก ๓-๕ปี เช่น การจัดที่นั่งเฉพาะห้อง ตรวจ จุดมุมให้นมแม่ เป็นต้น ที่เป็นช่องทางพิเศษเพื่อลดระยะเวลาบริการ ๑๑.๔ ชุดกิจกรรมที่ ๕ การพัฒนาและน�ำใช้ข้อมูลในการส่งเสริมแก้ไข จัดการปัญหาเด็ก ๓-๕ ปี ตัวชี้วัดที่ ๕๐ มีการใช้ข้อมูลทุนทางสังคมและแหล่งประโยชน์จัดท�ำแผนโครงการในการจัด สวัสดิการท้องถิน่ จัดบริการช่วยเหลือ ดูแลเด็ก ๓-๕ ปี ตามสภาพปัญหาความจ�ำเป็นและความต้องการ ของเด็ก ๓-๕ ปี ๑๑.๕. ชุดกิจกรรมที่ ๖ ด้านการพัฒนากฎกติการะเบียบแนวปฏิบตั เิ พือ่ หนุนเสริมการด�ำเนิน กิจกรรมเสริมความเข้มแข็งชุมชนท้องถิ่น ตัวชี้วัดที่ ๕๓ มีข้อบัญญัติท้องถิ่นแผนการดูแลจัดสรรงบ ประมาณในการสนับสนุนการดูแลเด็ก ๓-๕ ปี ทีค่ รอบคลุมทัง้ งานบริการกิจกรรมกองทุนสวัสดิการเช่น ข้ อ บั ญ ญั ติ ท ้ อ งถิ่ น ส� ำ หรั บ ดู แ ลเด็ ก ๓-๕ ปี แผนการดู แ ลเด็ ก ๓-๕ ปี ที่ พิ ก ารโครงการ คัดกรองเด็กที่มีการเรียนรู้ผิดปกติโครงการส่งเสริมการกระตุ้นพัฒนาการเด็ก เป็นต้น ตัวชี้วัดที่ ๕๔ มีธรรมนูญสุขภาพก�ำหนดการจัดระบบบริการเพื่อดูแลเด็ก ๓-๕ ปี เช่น ก�ำหนดให้มีการพัฒนา กระบวนการบริการสาธารณสุขเชิงรุกอย่างต่อเนื่องส�ำหรับการดูแลเด็ก ๓-๕ ปี โดยการจัดให้มี อาสาสมัครให้เพียงพอต่อการดูแลส่งเสริมสนับสนุนและร่วมกันดูแลช่วยเหลือเด็ก
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
83
84
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ภาพที่ ๔ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้านระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลไหล่ทุ่ง อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
85
ภาพที่ ๕ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลไหล่ทุ่ง อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี
ภาพที่ ๖ บทบาทอาสาสมัครในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก องค์การบริหารส่วนต�ำบลไหล่ทงุ่ อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี
86
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
การจัดการอาหารและโภชนาการ ของเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลวังดิน อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์
๑. ที่มาหรือฐานคิดของการด�ำเนินกิจกรรม ต�ำบลวังดิน อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ มีการแบ่งเขตการปกครองเป็น ๑๐ หมู่บ้าน ประชากรทัง้ สิน้ จ�ำนวน ๔,๒๙๙ คน แยกเป็นเพศชาย ๒,๑๑๑ คน เพศหญิง ๒,๑๘๘ คน สถานการณ์ จ�ำนวนเด็กปฐมวัยในพืน้ ที่ตำ� บลวังดินมีกลุ่มเด็กอายุ ๐-๓ ปี จ�ำนวน ๙๓ คน ร้อยละ ๒.๑๖ และกลุ่ม เด็กอายุ ๓-๕ ปี จ�ำนวน ๘๕ คน ร้อยละ ๑.๙๘ ของประชากรทั้งหมดในต�ำบล จากข้อมูลสถานะ สุขภาพ พบว่า เด็ก ๐-๕ ปี มีปัญหาด้านสุขภาพปากและฟัน จ�ำนวน ๒๕ คน มีปัญหาเด็กอ้วน จ�ำนวน ๓๖ คน มีปญ ั หาเรือ่ งพัฒนาการล่าช้า จ�ำนวน ๑ คน และมีปญ ั หาการได้รบั สารอาหารไม่ครบ ๕ หมู ่ นอกจากนั้น จากสภาพครอบครัว และชุม ชน พบว่ า ครัว เรือนส่ ว นใหญ่ มีฐ านะค่ อนข้ า งยากจน มีรายได้น้อย และผู้ปกครองส่วนใหญ่ต้องออกไปประกอบอาชีพนอกบ้านทุกวันจึงท�ำให้ไม่มี เงินและไม่มีเวลาดูแลเรื่องการรับประทานอาหารของเด็กให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการได้ทุกมื้อ และยังพบเด็กในชุมชนส่วนใหญ่นิยมรับประทานที่ไม่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ทั้งนี้ผู้ปกครองมักจะ ตามใจและเห็นว่ามีความสะดวกในการซือ้ ให้เด็กรับประทานได้งา่ ย จากสภาพปัญหาดังกล่าวอาจท�ำให้ เด็กมีภาวะทุพโภชนาการหรือภาวะโภชนาการเกิน ซึ่งส่งผลต่อพัฒนาการในด้านการเจริญเติบโตและ สติปัญญาของเด็กปฐมวัย จากปัญหาดังกล่าวครอบครัว ชุมชนและองค์การบริหารส่วนต�ำบลวังดินได้ให้ความสนใจและ ตระหนักในปัญหาที่จะตามมา จึงได้มีแนวคิดในการจัดการอาหารในชุมชน จึงได้มีการท�ำประชาคม เพื่อท�ำความเข้าใจถึงปัญหาในเรื่องอาหารโดยเฉพาะส�ำหรับเด็ก ซึ่งผู้บริหารของ อบต. ได้มีนโยบาย ในการขับเคลือ่ นการจัดการอาหารส�ำหรับเด็กปฐมวัยในพืน้ ทีต่ ำ� บลวังดินขึน้ โดยเริม่ ด�ำเนินการในเรือ่ ง ของอาหารทั้งในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ศพด.)และในชุมชน ทั้งนี้เนื่องจาก ศพด. เป็นหน่วยงานที่มี
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
87
บทบาทส�ำคัญในการจัดบริการอาหารกลางวันแก่เด็กปฐมวัยและเป็นผูท้ มี่ สี ว่ นร่วมรับผิดชอบเกีย่ วกับ สุขภาพอนามัยของเด็ก ซึ่งเมื่อเด็กมาอยู่ ศพด. การดูแลเรื่องอาหารและโภชนาการส�ำหรับเด็กจึงเป็น เรื่องที่ต้องท�ำอย่างจริงจัง มีหลักการและด�ำเนินการอย่างถูกต้อง โดยที่เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่เจริญ เติบโตอย่างรวดเร็วและใช้ชวี ิตที่ศพด. อย่างน้อยวันละ ๘ ชั่วโมง และวัยเด็กเป็นวัยที่ต้องใช้พลังงาน จากอาหารในการท�ำกิจกรรมต่างๆ เพือ่ ส่งเสริมพัฒนาการ การเรียนรู้ในทุกๆ ด้าน ซึง่ ผู้ทเี่ กีย่ วข้องควร ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว อีกส่วนหนึ่งคือการจัดการอาหารในชุมชน ตั้งแต่กระบวนการผลิตอาหาร ขึ้นใช้ในชุมชน เป็นอาหารที่สะอาด ปลอดภัย และปลอดสารพิษไม่ว่าจะเป็นการปลูกข้าวอินทรีย์ การเพาะเห็ด การปลูกพืชผักสวนครัวเพือ่ รับประทานในครัวเรือน และมีการก�ำหนดแนวทางการจัดการ หมู่บ้านอาหารปลอดภัยให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน มีการจัดหาอาหารที่ปลอดภัย มีการผลิตอาหาร ขึน้ รับประทานเองในครัวเรือนโดยใช้วตั ถุดบิ ทีม่ ใี นครัวเรือนและในชุมชน มีการลดการบริโภคเครือ่ งปรุง รส ขนมกรุบกรอบ น�้ำอัดลม รวมทั้งมีการส่งเสริมความรู้เรื่องของอาหารและโภชนาการที่ปลอดภัย ส�ำหรับสมาชิกในครอบครัว ผูป้ กครอง และสมาชิกในชุมชน การให้ความรูแ้ ก่ชมุ ชนในการควบคุมการ ผลิตอาหารที่ปลอดภัยส�ำหรับสมาชิกและเด็กปฐมวัย ด้วย
๒. งานและกิจกรรม ๒.๑ ภาพรวมระบบการดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบลวังดิน อบต.วั ง ดิ น ได้ ใ ห้ ค วามส�ำ คั ญ ในการดู แ ลคุ ณ ภาพชี วิ ต ของคนตั้ ง แต่ แ รกเกิ ด จนถึ ง ตาย ครอบคลุมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และอารมณ์ และยึดหลักการมีส่วนร่วมของทุกภาคีในท้องถิ่น ในสี่มิติของภาวะสุขภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการส่งเสริมในเรื่องอาหารและโภชนาการของเด็กตั้งแต่ อยู่ในครรภ์เพือ่ เป็นการเตรียมความพร้อมของเด็กก่อนเข้าสู่ช่วงปฐมวัย จากแนวคิดดังกล่าวท�ำให้เกิด ระบบการดูแลที่ยึดการมีส่วนร่วมและการบูรณาการงานเข้าด้วยกัน อบต.วังดินได้มีกิจกรรมร่วมกับ บุคคล หน่วยงาน หรือองค์กรต่างๆ ทั้งภายใน และภายนอกท้องถิ่นในการดูแลเรื่องอาหารและ โภชนาการของเด็ก โดยในส่วนของ ศพด. มีการด�ำเนินการร่วมกับอบต.วังดินในการฝึกอบรมอาสาสมัคร ในชุมชน ได้แก่ อาสาสมัครสาธาณสุขประจ�ำหมู่บ้าน (อสม.) มีการฝึกอบรม อสม. ให้มีความรู้เข้าใจ ในเรื่องการประเมินและการส่งเสริมพัฒนาการ การเจริญเติมโต การได้รับภูมิคุ้มกันในการดูแลช่วย เหลือตามสภาพทั้งในภาวะปกติ มีการจัดกิจกรรมเพื่อการกระตุ้นผู้ปกครองในการช่วยส่งเสริม พัฒนาการเด็กในครอบครัวและชุมชน รวมถึงการให้การดูแลช่วยเหลือเมื่อพบความผิดปกติ โดยเมื่อ เด็กมีพฤติกรรมและการเรียนรู้ผิดปกติ มีความพิการทางสติปัญญา พิการด้านร่างกาย เพื่อเป็นการ
88
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ดูแลช่วยเหลืออย่างถูกต้องทัง้ ในการดูแลเรือ่ งอาหาร การกระตุน้ พัฒนาการ การกระตุน้ กล้ามเนือ้ ต่างๆ ของร่างกาย อบต.วังดินร่วมกับครู ศพด.บ้านวังดิน ผู้ปกครองเด็ก ชมรมผู้สูงอายุ และโรงพยาบาลส่ง เสริมสุขภาพต�ำบล (รพ.สต.) มีการติดตามดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และสุขภาพของเด็กที่อยู่ใน ครรภ์ การดูแลแม่ตั้งครรภ์ การดูแลเรื่องอาหารและโภชนาการ ได้มีโครงการแจกเนื้อ นม ไข่ ซึ่งได้รับ การสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับต�ำบล (สปสช.) การปฏิบัติตัวที่ถูกต้องซึ่งจะส่งผล ถึงเด็กในครรภ์ การให้ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวในขณะตั้งครรภ์และการให้ความรู้เตรียมพร้อม เบื้องต้นในการคลอดบุตรและการดูแลบุตร การส่งเสริมความรู้ในเรื่องการจัดการอาหารส� ำหรับ เด็กปฐมวัย ๒.๒ การจัดการอาหารและโภชนาการของเด็กปฐมวัยโดยชุมชน อบต.วังดินร่วมด้วย ศพด.บ้านวังดิน มีการจัดการอาหารและโภชนาการของเด็กปฐมวัยโดย ชุมชน แบ่งเป็นในส่วนของการจัดการอาหารและโภชนาการใน ศพด. ซึง่ มีการน�ำวัตถุดบิ ทีม่ อี ยูใ่ นชุมชน มาใช้ในการท�ำอาหาร ข้าวอินทรีย์ เห็ด ผักปลอดสารพิษ โดยมีกลุ่มแม่บ้านเข้ามามีส่วนร่วมในการ ปรุงและท�ำอาหารร่วมกับครูและแม่ครัวประจ�ำ ศพด. การปลูกฝังในเรื่องของการรับประทานอาหาร การปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ การเพาะเห็ด การสอนเรื่องประโยชน์ของการรับประทานอาหารให้ ครบ ๕ หมู่ มีการฝึกอบรมเรือ่ งของคุณค่าและโภชนาการของอาหารส�ำหรับเด็ก ครูผ้ดู แู ลเด็กมีการฝึก อบรมหลักการจัดอาหารส�ำหรับเด็ก ส่งเสริมให้ผู้ที่มหี น้าที่รับผิดชอบดูแลเด็กเฉพาะกลุ่ม ๐-๕ ปี ใน ชุมชนเช่นผูใ้ ห้บริการของ รพ.สต.วังดิน ส่งเสริมสุภาพครูผดู้ แู ลเด็กใน ศพด. เจ้าหน้าทีข่ อง อปท.เป็นต้น เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเฉพาะด้านเด็ก เช่น การกระตุ้นพัฒนาการ การบริหารกล้ามเนื้อ การให้ อาหารหรือการจัดอาหารทีม่ ปี ระโยชน์ถูกสุขลักษณะของเด็กในต�ำบลเพือ่ ลดปัญหาทางด้านสุขภาพที่ อาจเกิดขึ้นกับเด็กในด้านโภชนาการให้น้อยลง
๓. ทุนทางสังคม ๓.๑ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการหลัก ประกอบด้วย ๑) อบต.วังดินให้การสนับสนุนในเรื่อง งบประมาณ ค่าวัสดุอุปกรณ์ สนับสนุนค่าอาหารเสริมและนมของเด็กใน ศพด. ๒) ศพด. ด�ำเนินการ จัดรายการอาหารให้ครบ ๕ หมู่ และจัดการเรือ่ งอาหารภายใน ศพด. และด�ำเนินร่วมกับแม่ครัวในการ ปรุงอาหารตามรายการอาหารในแต่ละวัน ๓) รพ.สต. และ อสม. ด�ำเนินการในเรื่องการตรวจสอบ คุณภาพของอาหาร และการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
89
๓.๒ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการรอง ประกอบด้วย กลุ่มวิสาหกิจชุมชน และกลุ่มโรงสีข้าว ชุมชนต�ำบลวังดิน ผลิตข้าวอินทรีย์ปลอดสารพิษที่ใช้เป็นวัตถุดิบที่น� ำมาใช้ปรุงเป็นอาหารหลัก การเพาะเห็ด และการปลูกผักปลอดสารพิษจากครัวเรือน ศูนย์ปราชญ์ต�ำบลวังดิน ด�ำเนินการให้ ความรู้เรื่องการก�ำจัดศัตรูพชื จากควันไม้ ชมรมผู้สูงอายุดูแลเรื่องเด็กที่มีปัญหาทางด้านร่างกาย และ มีการจัดซื้อนมเยี่ยมตามบ้านหญิงตั้งครรภ์
๔. วัตถุประสงค์ ๔.๑ เพื่อให้เด็กปฐมวัยใน ศพด. มีการเจริญเติบโตที่เหมาะสมตามพัฒนาการโดยได้รับ ประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายสะอาดและปลอดภัย ๔.๒ เพื่อให้เด็กปฐมวัยและประชาชนในต�ำบลได้เรียนรู้พร้อมฝึกพฤติกรรมการบริโภคที่ ถูกต้อง เห็นความส�ำคัญและสามารถน�ำหลักโภชนาการไปใช้ในชีวิตประจ�ำวันได้ ๔.๓ เพื่อส่งเสริมและปรับปรุงอาหารของชุมชนให้มีคุณภาพมากขึ้น ส่งเสริมแหล่งอาหาร ปลอดภัยในชุมชน ๔.๔ เพื่อลดค่าใช้จ่ายและเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัวผู้ปกครอง เนื่องจากลดการซื้อวัตถุดิบ ในการประกอบอาหารนอกพื้นที่ หันมาใช้วัตถุดิบในพื้นที่ที่มาราคาถูกกว่า หากเหลือก็สามารถน�ำไป จ�ำหน่ายในชุมชนได้
๕. วิธีการท�ำงาน ๕.๑ การเตรียมผูท้ มี่ สี ว่ นเกีย่ วข้องทัง้ ในภาคขององค์การบริหารส่วนต�ำบลวังดิน ศพด.บ้านวัง รพ.สต.วังดิน ตัวแทนผู้ปกครอง ผู้นำ� ชุมชนต�ำบลโดยการประชุมชี้แจงเกี่ยวกับการจัดการอาหารและ โภชนาการในชุมชน มีการแต่งตั้งคณะกรรมการการด�ำเนินการ การจัดการอาหารส�ำหรับเด็ก ๕.๒ อบต.วางแผนเรือ่ งงบประมาณร่วมกับคณะกรรมการเกีย่ วกับหลักการการจัดการอาหาร ส�ำหรับเด็กปฐมวัย ๕.๓ ด�ำเนินการในเรือ่ งของการจัดบริการอาหารส�ำหรับเด็กปฐมวัยโดยครูผดู้ เู ด็กเป็นผูก้ ำ� หนด รายการอาหารในแต่ละวัน และมีการจัดอบรมส่งเสริมความรู้ในเรื่องของโภชนาการและอาหาร ๕.๔ การประเมินและการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานของการจัดอาหารและโภชนาการ โดย อสม.และ รพ.สต.
90
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๖. การเชื่อมโยงหรือส่งผลที่เอื้อต่อการท�ำงานกับกลุ่มองค์กรงาน และกิจกรรมอื่นๆ
๖.๑ อปท. สนับสนุนงบประมาณในการจัดการอาหารกลางวันและอาหารเสริมนมให้กับเด็ก ใน ศพด. จ�ำนวน ๓๑ คน และจัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนการจัดการตนเองในด้านการผลิต อาหารในชุมชน ๖.๒ อสม. และ รพ.สต. ตรวจสอบคุณภาพอาหารของ ศพด. อย่างสม�ำ่ เสมอ และเชิญชวน ให้คนในชุมชนหันมาปลูกพืชผักสวนครัวเป็นการผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษเพื่อรับประทานเองใน ครัวเรือนและจ�ำหน่าย ๖.๓ วัตถุดบิ ทีน่ ำ� มาประกอบอาหารส่วนใหญ่เป็นวัตถุดบิ ทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ทีก่ ไ็ ด้มาจากเกษตรกรใน ต�ำบลที่เพาะปลูกขึ้นเอง และเป็นอาหารที่ปลอดสาร ๖.๔ ผูน้ ำ� ชุมชนมีการสบทบทุนในการผลิตวัตถุดบิ ในการประกอบอาหารกลางวันให้กบั ศพด. ซึ่ง ผู้ประกอบอาหารเป็นคนในชุมชน วัตถุดบิ ในการประกอบอาหารได้มาก็มาจากเกษตรกรในชุมชน ๖.๕ กศน.จัดนิทรรศการแหล่งเรียนรูใ้ นด้านการเกษตรทีใ่ ช้เป็นการผลิตอาหารทีอ่ าศัยปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
๗. ผลผลิตและผลลัพธ์ ๗.๑ ผลต่อประชากรเป้าหมาย ๑) เด็กปฐมวัยใน ศพด. มีการเจริญเติบโตที่เหมาะสมตามพัฒนาการ โดยได้รับประทาน อาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย สะอาดและปลอดภัย ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาด้านร่างกายที่เหมาะสม สุขภาพร่างกายแข็งแรง มีนำ�้ หนักตามเกณฑ์มาตรฐาน จากข้อมูลการตรวจสุขภาพและการเจริญเติบโต ๒) เด็กปฐมวัยใน ศพด. ได้รับการฝึกพฤติกรรมการบริโภคที่ดี มีความรู้ถึงการบริโภคอาหาร ที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ๓) ชุมชนมีการปรุงอาหารส�ำหรับเด็กทีค่ ำ� นึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ และพัฒนาคุณภาพของ อาหารให้เหมาะสม โดยเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทมี่ อี ยูใ่ นชุมชนน�ำมาประกอบอาหาร ส่งเสริมการบริโภคผัก และผลไม้ทมี่ อี ยู่ในชุมชน มีการแปรรูปอาหารทีค่ งคุณภาพ สนับสนุนแหล่งอาหารทีป่ ลอดภัยในชุมชน ๔) ลดค่าใช้จ่ายของครอบครัวในการซื้อวัตถุดิบและอาหาร ส่งเสริมการเพิ่มรายได้ให้กับ ครอบครัว โดยการขายวัตถุดบิ และน�ำวัตถุดบิ ทีเ่ หลือจากการแปรรูปมาแปรรูปและน�ำมาอุปโภคบริโภค และจ�ำหน่ายได้
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
91
๗.๒ ผลต่อคุณภาพชีวิตของกลุ่มประชากร ๕ มิติ (สังคม เศรษฐกิจ สภาวะแวดล้อม สุขภาพ และการเมืองการปกครอง) ๑) ด้านสังคม เกิดการรวมกลุ่มในการผลิตอาหารของชุมชนในการผลิตข้าวอินทรีย์โดยกลุ่ม วิสาหกิจชุมชน กลุ่มน�้ำพริก โดยกลุ่มผลิตน�้ำพริกหมูที่ ๘ ในการบริโภคและจ�ำหน่ายทั้งในและ นอกต�ำบล ๒) ด้านเศรษฐกิจ ลดภาระค่าใช้จ่ายและเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัวผู้ปกครอง คนในชุมชน สามารถแปรรูปจากผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ในชุมชนมาผลิตและแปรรูปน�ำมาอุปโภคบริโภคละจ�ำหน่ายได้ และส่งเสริมอาชีพจากการท�ำการเกษตรการปลูกข้าวอินทรีย์ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวเพือ่ จ�ำหน่าย เป็น OTOP และการผลิตน�้ำพริกที่วตั ถุดิบมาจากวัสดุในชุมชนเพื่อจ�ำหน่าย สร้างงานเป็นอาชีพให้กับ คนในชุมชน ๓) ด้านสภาวะแวดล้อม ในเรื่องการปลูกข้าวอินทรีย์ปลอดสารพิษส่งผลให้ชุมชนมีสภาพ แวดล้อมที่ดีและน่าอยู่ และการปลูกพืชผักสวนครัวโดยเกษตรอินทรีย์ไม่ใช้สารเคมีเป็นการเพิ่ม ออกซิเจนในต�ำบลให้น่าอยู่ ปลูกจิตส�ำนึกให้กับเด็กและคนในชุมชนให้รู้จักหวงแหนรักษาสิ่งแวดล้อม ๔) ด้านสุขภาพ เมื่อเด็กและคนในชุมชนในต�ำบลได้รับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะก็ ส่งผลถึงสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์การเจ็บป่วยลดน้อยลง ภาวะเด็กขาดสารอาหารและรับประทาน อาหารที่ไม่มีประโยชน์กล็ ดลงซึ่งสามารถตรวจสอบได้จากข้อมูลของ รพ.สต.บ้านวังดิน และดูได้จาก สุขภาวะของชุมชน ๕) ด้านการเมืองการปกครอง อบต.วังดิน ได้มีการประชุมท้องที่ท้องถิ่นประจ�ำเดือนเพื่อ ชีน้ �ำให้ผู้นำ� ชุมชนได้กลับไปประชุมประชาคมประจ�ำเดือนในหมู่บ้านของตนเองในเรือ่ งของการบริโภค อาหารทีป่ ลอดภัยและถูกสุขลักษณะ และมีมาตรฐานส�ำหรับเด็กปฐมวัยในการได้รบั อาหารให้ครบทัง้ ๕ หมู่ จากวัตถุดิบที่น�ำมาประกอบอาหารที่ได้มาจากแหล่งชุมชน ๗.๓ ผลต่อทุนทางสังคมอื่นๆ การจัดการอาหารและโภชนาการของเด็กปฐมวัยโดยชุมชนส่งผลกระทบต่อทุนทางสังคม ทั้ง ๕ มิติ มีแนวทางการบริหารจัดการที่สอดคล้องเชื่อมโยงต่อกันเป็นชุมชนที่เข้มแข็ง
92
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๘. ปัจจัยเงื่อนไข ปัจจัยด้านต่างๆ ที่มีผลต่อความส�ำเร็จของแหล่งเรียนรู้ ได้แก่ ๘.๑ มีระบบการจัดการอาหารปลอดภัยต�ำบลวังดิน โดยการมีส่วนร่วมของกลุ่มทางสังคม และสมาชิกกลุ่ม ประกอบด้วย (๑) พนักงาน อบต.วังดิน (๒) ครูของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังดิน (๓) ศูนย์พฒ ั นาครอบครัวต�ำบลวังดิน (๔) รพ.สต.บ้านวังดิน (๕) อาสาสมัคร และ (๖) ทุนทางสังคม ต่างๆ ในชุมชน ได้แก่ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน โดยมีการจัดประชุมวางแผนการด�ำเนินงานแต่งตั้ง คณะท�ำงานก�ำหนดบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีการส�ำรวจและวิเคราะห์ปัญหาวิธีการ ด�ำเนินงานตามแผน ๘.๒ มีระบบในการขับเคลือ่ นงานและการน�ำใช้ข้อมูลในการจัดการอาหารส�ำหรับเด็กปฐมวัย มีการร่วมด�ำเนินในการจัดการอาหารทีป่ ลอดภัยและใช้ข้อมูลด้านสุขภาพในการจัดแผนการจัดอาหาร จากการวิจยั ชุมชน (RECAP) และระบบข้อมูลต�ำบล (TCNAP) การสัมภาษณ์ สังเกต สนทนากลุม่ สังเกต เด็ก ๘.๓ มี ร ะบบการสนั บ สนุ น ทุ น และงบประมาณในการขั บ เคลื่ อ นการจั ด การอาหาร ภายใต้ความร่วมมือขององค์กรหลักในชุมชน ประกอบด้วย (๑) อปท. เป็นหน่วยงานที่สนับสนุน งบประมาณ (๒) องค์กรชุมชน มีการจัดตั้งกองทุนและสวัสดิการส�ำหรับเด็ก ๐-๕ ปี การเพิ่มรายได้ให้ ผู้ปกครองผู้ดูแลกลุ่มเด็กที่เจ็บป่วย พิการ โดยมีกองทุนสัจจะออมทรัพย์ กองทุนเพื่อช่วยเหลือผู้ที่ ต้องการความช่วยเหลือ ส่วนหนึ่งของทุนได้มาจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีที่ได้ตั้งไว้ เพื่อพัฒนาดูแลเด็กปฐมวัยในต�ำบลและเงินนอกงบประมาณที่ได้จากเครือข่าย
๙. ความเชื่อมโยงต่อ ๗ คุณลักษณะการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่น ๙.๑ การสร้างการเรียนรู้ การจัดการตนเองด้านอาหารส�ำหรับเด็กของชุมชนท้องถิ่น มีการ ให้ความรู้ในเรื่องของอาหาร คุณค่าของอาหาร การอบรมให้ความรู้กับครูใน ศพด. และผู้ปกครอง ในเรื่องของการผลิตอาหารและจัดหาอาหารที่มีประโยชน์และมีคุณค่า ๙.๒ การสร้างกลไกการจัดการตนเอง ชุมชนมีกลไกการจัดการตนเองเป็นตัวขับเคลื่อน แนวทางการดูแลสุขภาพตนเองในเรื่อการกินอาหารที่ปลอดภัย สะอาดและมีประโยชน์ มีการออก ก�ำลังกายสม�ำ่ เสมอ การรวมกลุ่มท�ำกิจกรรมของแม่บ้านในการจัดการอาหาร โดยการท�ำอาหารเพื่อ สุขภาพและเลือกใช้วตั ถุดบิ จากชุมชน โดยกลุม่ วิสาหกิจชุมชน องค์การบริหารส่วนต�ำบลวังดิน รพ.สต. และ อสม.เข้ามามีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนเรื่องการจัดการอาหาร
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
93
๙.๓ การสร้างคนให้จัดการตนเอง สร้างความมีระเบียบวินัยในการกินอาหารที่ถูก สุขลักษณะและชีน้ ำ� แนวทางในการพึง่ พาตนเองในเรือ่ งการจัดการอาหาร การใช้เกษตรทีย่ งั ยืนและเน้น ในเรื่องการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในการปลูกพืชผักสวนครัว ๙.๔ การสร้างการมีส่วนร่วม การมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการจัดการเรื่องอาหาร กลุ่ม ปราชญ์ชาวบ้านและผู้สูงอายุมาร่วมจัดกิจกรรมให้ความรู้ในด้านอาหาร การกินที่ถูกสุขลักษณะมา บรรยายให้ความรู้กบั เด็กและผู้ปกครอง ๙.๕ การระดมทุนและทรัพยากร มีการระดมทุนจากข้อบัญญัติงบประมาณขององค์การ บริหารส่วนต�ำบลวังดิน และการรวมทุนจากผ้าป่าและจัดสรรสวัสดิการจากกองทุนต่างๆ เข้ามามี ส่วนร่วมในการเรียนรู้ทางด้านการผลิตอาหารที่สะอาดและมีประโยชน์ วิธีการอุปโภคบริโภคที่ถูก สุขลักษณะให้กบั ผู้ปกครองและคนในชุมชน ๙.๖ การมีข้อตกลง ศพด. บ้านวังดินโดยแต่งตั้งคณะกรรมการสถานศึกษา รพ.สต. บ้านวังดิน มีการประชุมร่วมกันและจัดท�ำประชาคมหมู่บ้านในเรื่องการจัดการอาหารที่ปลอดภัย ๙.๗ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กรภาครัฐและหน่วยงานอื่นๆ รพ.สต. บ้านวังดิน ร่วมกับ อสม. และอบต.วังดินมีการตรวจสอบคุณภาพอาหาร การตรวจสุขภาพช่องปาก ชัง่ น�ำ้ หนัก วัดส่วนสูงของเด็กใน ศพด. และเด็กในชุมชนเพือ่ ท�ำเป็นประวัตเิ พือ่ เป็นติดตามภาวะโภชนาการ
๑๐ การตอบสนองต่อ ๖ ชุดกิจกรรม และตัวชี้วัดการพัฒนาระบบการดูแล เด็กปฐมวัย ๑๐.๑ ด้านการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยในช่วงอายุเด็ก ๐-๓ ปี และ ๓-๕ ปี ตามตัวชี้ ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพ ได้แก่ ข้อ ๓ การฝึกอบรมหรือส่งเสริมให้มีการศึกษา อบรมต่อเฉพาะกลุ่มเด็ก ๓-๕ ปี ในผู้ท่มี ีหน้าที่รับผิดชอบดูแลเด็กในชุมชน เช่น ผู้ให้บริการของโรง พยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล ครูผดู้ แู ลเด็กในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก เจ้าหน้าทีข่ ององค์ปกครองส่วนท้อง ถิ่นเป็นต้นเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเฉพาะด้านเด็ก ๓-๕ ปี การจัดอาหารส�ำหรับเด็ก การให้อาหาร หรือการจัดอาหารส�ำหรับเด็กป่วย เป็นต้น ชุดกิจกรรมที่ ๒ การพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก ๓-๕ ปี และ ข้อ ๒๓ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กมีการจัดสถานทีส่ �ำหรับจัดเตรียมอาหารเครือ่ งดืม่ และของว่าง
94
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ที่ถูกสุขลักษณะและมีสถานที่รับประทานอาหารโต๊ะเก้าอี้อุปกรณ์ภาชนะใส่อาหารที่ปลอดภัยสะอาด และขนาดเหมาะสมเพียงพอกับเด็ก รวมถึงการประกอบอาหารทีถ่ กู สุขลักษณะ และการจัดการน�้ำดืม่ น�้ำใช้ให้สะอาดและเพียงพอ ๑๐.๒ ชุดกิจกรรมที่ ๓ การพัฒนาระบบบริการ ข้อ ๓๙ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กมีแนวทางการ บริหารจัดการอาหารปลอดภัย ตัง้ แต่การเลือกวัตถุดบิ ในการประกอบอาหาร การเตรียมอาหาร อุปกรณ์ และเครื่องมือในการเตรียมอาหารได้มาตรฐานและมีคุณภาพถูกสุขาภิบาล
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
95
96
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ภาพที่ ๗ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้านระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลวังดิน อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
97
ภาพที่ ๘ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลวังดิน อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์
ภาพที่ ๙ การจัดการอาหารส�ำหรับเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลวังดิน อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์
98
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
การส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กตามบริบท สังคมวัฒนธรรมของพื้นที่ โดยชุมชนท้องถิ่น เทศบาลต�ำบลเหล่าใหญ่ อ�ำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
๑. ที่มาหรือฐานคิดของการด�ำเนินกิจกรรม สถานการณ์เด็ก อายุ ๐-๕ ปี ต�ำบลเหล่าใหญ่ ทั้งหมด ๒๗๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๔.๒๑ ของ ประชากรทัง้ หมด จ�ำแนกตามกลุม่ อายุ ระหว่าง ๐-๓ ปี จ�ำนวน ๑๕๔ คน อายุระหว่าง ๓-๕ ปี จ�ำนวน ๑๒๓ คน จ�ำแนกตามการเข้ารับบริการ พบว่า เข้ารับบริการในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก จ�ำนวน ๑๗๙ คน สถานศึกษาของรัฐและเอกชนอื่น จ�ำนวน ๖๓ คน และยังไม่เข้ารับบริการในสถานศึกษา จ�ำนวน ๓๕ คน เด็กส่วนมากอาศัยอยู่กบั ปู่ ย่า ตา ยาย จ�ำนวน ๑๖๕ คน และอาศัยอยู่กับพ่อ แม่ จ�ำนวน ๑๑๒ คน และจ�ำแนกสถานะด้านสุขภาพ พบว่า เด็กภาวะสุขภาพปกติ จ�ำนวน ๒๔๗ คน เด็กที่มีปัญหา สุขภาพจ�ำนวน ๒๕ คนเด็กที่มีภาวะเจ็บป่วย จ�ำนวน ๓ คน และเด็กที่มีความต้องการพิเศษ จ�ำนวน ๒ คน จะเห็นได้ว่าเด็กส่วนมากมีสุขภาพปกติ อาศัยอยู่กับญาติ ที่เป็นปู่ย่า ตายายเพราะพ่อแม่ไป ท�ำงานต่างถิน่ เข้ารับการดูแลในสถานศึกษาซึง่ เป็นกลุ่มทีไ่ ด้รบั การดูแลจากสถานศึกษาทัง้ หมดได้รบั การดูแล ทัง้ ด้านสุขภาพและการเรียนรู้ ส่วนเด็กทีม่ ปี ญ ั หาสุขภาพ ผูป้ กครองและ อาสมัครสาธารณสุข ประจ�ำหมู่บ้าน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลเหล่าใหญ่ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้าน กุดฝั่งแดง ต�ำบลเหล่าใหญ่มเี อกลักษณ์เฉพาะคือการเป็นกลุม่ ชาติพนั ธุผ์ ไู้ ททีม่ วี ฒ ั นธรรมเป็นของตนเอง มีการสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน เช่น การแต่งกาย ภาษาพูด การผลิตเครื่องเครื่องใช้ในครัวเรือน เช่น การจักสาน การทอผ้าโดยเฉพาะลายขิด การละเล่น เช่น การฟ้อนภูไท การล�ำภูไท การเล่นดนตรีพื้น เมือง งานประเพณี เป็นต้น ต�ำบลเหล่าใหญ่ตระหนักในการสืบสาน และสืบทอดศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น จากสถานการณ์ดังกล่าวท�ำให้เทศบาลต�ำบลเหล่าใหญ่ จึงได้ก�ำหนดยุทธศาสตร์ ในการพัฒนาการศึกษา โดยจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา แผนพัฒนาการศึกษาสามปี
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
99
ภายใต้วิสัยทัศน์ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ สู่ความเป็นเลิศด้านศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ท้องถิ่น ส่งเสริมการท่องเที่ยวสู่อู่อารยะธรรม ก้าวล�้ำสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยวิถีเศรษฐกิจพอเพียง และจัดท�ำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลต�ำบลเหล่าใหญ่ โดยการเพิ่ม ความเป็นท้องถิ่นของเหล่าใหญ่ ประกอบด้วย วัฒนธรรม การแต่งกาย การผลิตเครื่องมือเครื่องใช้ใน ครัวเรือนสืบทอดจากบรรพบุรุษ เช่น การจักสาน การทอผ้า การท�ำอาหารท้องถิ่น การส่งเสริมการ เรียนรู้ในสถานที่ต่างๆ ในท้องถิ่น เช่น ดอนปู่ตา (ป่าชุมชน) รวมถึงการส่งเสริมให้เด็กปฐมวัย ได้ร่วมงานประเพณีท้องถิ่นเป็นประจ�ำทุกปี เช่น บุญเดือนสี่ บุญบั้งไฟ บุญข้าวจี่ บุญข้าวสาก บุญข้าวประดับดิน ท�ำให้เกิดการเรียนรู้ตามบริบทสังคมวัฒนธรรมของพื้นที่โดยชุมชนท้องถิ่น
๒. งานและกิจกรรม ๒.๑ ภาพรวมระบบการดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบลเหล่าใหญ่ ประกอบด้วย ๑) ระบบอาสาสมัครและการส่งเสริมการเรียนรู้ แบ่งเป็นระบบย่อย ดังนี้ (๑) ศิลปวัฒนธรรม มีการน�ำใช้ทุนทางสังคมในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมภูไท การ ส่งเสริมการแต่งกาย ประเพณี ดนตรี โดยมีสภาวัฒนธรรมต�ำบล ชมรมผู้สูงอายุ กลุ่มดนตรี กลุ่ม สภาวัฒนธรรม กลุ่มเหล่าใหญ่ร่วมพัฒนา เด็กและเยาวชน น�ำใช้ทุนทางสังคมในการอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมภูไท ส่งเสริมการเรียนรูเ้ ด็กปฐมวัย โดยการแต่งกาย การพูด ผญาค�ำกลอน บุญประเพณี ดนตรีพื้นเมือง พิณ แคน โหวต (๒) ส่งเสริมคุณภาพชีวติ ศูนย์พฒ ั นาครอบครัวส่งเสริมการสร้างครอบครัวอบอุน่ เฝ้าระวัง ความรุนแรงในครอบครัว ศูนย์ยตุ ธิ รรมต�ำบลเหล่าใหญ่กำ� หนดกฎกติกาในชุมชน แก้ไขปัญหาข้อพิพาท ในชุมชน ส่งเสริมการเคารพกฎกติกาชุมชน กลุ่มอาสาสมัคร กลุ่มสตรี กลุ่มเด็กและเยาวชน การ เตรียมความพร้อมก่อนมีครอบครัว ก่อนมีบุตร แกนน�ำกลุ่มเยี่ยมบ้าน (๓) การพัฒนาศักยภาพ มีพ่อล่าม แม่ล่ามให้ความรู้พ่อแม่มือใหม่ในการดูแลสุขภาพ ตั้งแต่ตั้งครรภ์ ปราชญ์ชาวบ้าน ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในครอบครัว ถ่ายทอดความรู้การครองเรือน และมีโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา จ�ำนวน ๒ แห่ง โรงเรียนสังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา จ�ำนวน ๖ แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จ�ำนวน ๖ แห่ง ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย จ�ำนวน ๑ แห่ง พัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้ ตามมาตรฐานการศึกษา ศูนย์พัฒนาครอบครัวในการฝึกอบรมครู ผู้ปกครอง อสม. ผู้ที่ทำ� หน้าที่รับผิดชอบดูแลเด็กตามรวมถึง การผลิตสื่อร่วมกับชุมชน
100
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
(๔) สวัสดิการเด็กปฐมวัย จัดตัง้ กองทุนและสวัสดิการส�ำหรับเด็ก ๐-๕ ปี กองทุนสุขภาพ ต�ำบล จัดสวัสดิการผูกแขนรับขวัญ เด็กแรกเกิดนอนรักษาพยาบาลและเสียชีวิต กองทุนออมวันละ ๑ บาท จัดสวัสดิการผูกแขนรับขวัญเด็กแรกเกิดนอนโรงพยาบาล เมื่อเจ็บป่วยและเสียชีวิต จัด โครงการถนนสายบุญ น�ำสิ่งของให้เด็กที่ต้องการความช่วยเหลือ ๒) ระบบเศรษฐกิจชุมชน มีการส่งเสริมอาชีพเพือ่ เพิม่ รายได้ให้แก่ พ่อแม่ ผู้ปกครองในการ ดูแลเด็กปฐมวัย เช่น การจักสาน การเย็บผ้า การทอผ้าลายขิดเก็บจก เป็นต้น การมีแหล่งเงินทุน โดยการรวมกลุ่มกันของคนในพื้นที่ เช่น กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต สถาบันการเงิน กองทุนเงินล้าน เป็นต้น ๓) ระบบการจัดการสภาวะแวดล้อม ประกอบด้วยการปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อ การเรียนรู้ของเด็ก เช่น สนามกีฬา ห้องสมุด สนามเด็กเล่น เป็นต้น การจัดการขยะ เช่น การท�ำปุ๋ย หมัก การขายขยะเพื่อน�ำเงินที่ได้มาช่วยเหลือเด็กในพื้นที่ การจัดการป่าชุมชนที่มีอยู่ในหมู่ที่ ๑ ๒ ๓ ๕ ๖ ๘ ๙ เพือ่ เป็นแหล่งอาหารและแหล่งเรียนรู้ของคนในชุมชน การจัดการทรัพยากรน�ำ้ จากล�ำพะยัง เป็นต้น ๔) ระบบบริการสุขภาพและส่งเสริมสุขภาพ มีจิตอาสาดูแลสุขภาพ เช่น อสม. เป็นต้น ได้รับการพัฒนาศักยภาพการให้ความรู้ และการคัดกรองพัฒนาการเด็กตามช่วงวัย การเยี่ยมบ้าน ร่วมกับรพ.สต.เหล่าใหญ่ รพ.สต.กุดฝั่งแดง ทุกวันจันทร์ในการติดตามประเมินพัฒนาการเด็ก การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าทีร่ พ.สต. ในการคัดกรองพัฒนาการและลงบันทึกให้โปรแกรม DSPM การ ส่งเสริมการดื่มนมแม่ การได้รับวัคซีน การตรวจสุขภาพปากและฟัน การให้บริการโดยหน่วยแพทย์ ฉุกเฉิน EMS ๕) ระบบการพัฒนาศักยภาพและการน�ำใช้ข้อมูล การท�ำระบบข้อมูล RECAP TCNAP การท�ำบันทึกข้อมูลสุขภาพเด็ก การน�ำใช้ขอ้ มูลทุนทางสังคมและศักยภาพในการจัดท�ำแผนการศึกษา ประจ�ำปี และแผนการแก้ปัญหาและความต้องการ การมีเทศบัญญัติต�ำบล เป็นต้น ๒.๒ ประเด็นเด่นของระบบการดูแลเด็กปฐมวัย การส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กตาม บริบทสังคม วัฒนธรรมของพื้นที่โดยชุมชนท้องถิ่น ๑) ระบบภูมปิ ญ ั ญาพืน้ บ้าน ปราชญ์ชาวบ้านทีม่ คี วามช�ำนาญด้านศิลปะการแสดงพืน้ บ้าน เช่น หมอล�ำภูไท ผญาสอนหลาน ฟ้อน ร�ำภูไท เป็นต้น การแต่งกายด้วยผ้าพื้นเมืองเย็บด้วยมือ การพูดภาษภูไท การเรียนรู้เรื่องบุญประเพณี เดือนสี่ การจักสาน การทอผ้า การท�ำอาหารท้องถิ่น เช่น แกงหวาย กะสูบ ข้าวโจ้ เป็นต้น เด็กได้ไปเรียนรูส้ ถานทีต่ า่ งๆในท้องถิน่ เช่น ดอนปูต่ า (ป่าชุมชน) ในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าและแหล่งอาหารของคนในชุมชน นอกจากนี้ต� ำบลเหล่าใหญ่ จัดงาน
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
101
ประเพณีท้องถิ่นเป็นประจ�ำทุกปี เช่น บุญเดือนสี่ บุญบั้งไฟ บุญข้าวจี่ บุญข้าวสาก บุญข้าวประดับ ดิน เด็กได้เข้าร่วมกิจกรรมงานบุญประเพณี รวมถึงการเรียนรูผ้ า่ นสือ่ การเรียนรูจ้ ากวัสดุพนื้ บ้าน นิทาน พื้นบ้าน ๒) อาสาสมัครและส่งเสริมการเรียนรู้ พัฒนาศักยภาพครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศึกษาแลก เปลีย่ นเรียนรูส้ ามารถน�ำกลับมาปรับใช้ในการบวนการเรียนการสอน มีการถ่ายทอดความรูส้ พู่ อ่ แม่ ผู้ ปกครอง และร่วมมือกับปราชญ์ชาวบ้านผลิตสือ่ การเรียนรูจ้ ากวัสดุทมี่ ใี นชุมชน การถ่ายทอดภูมปิ ญ ั ญา ท้องถิ่น พัฒนาศักยภาพการดูแลเด็กอายุ ๐-๕ ปี ๓) ระบบสวัสดิการชุมชน การจัดตั้งกองทุนและสวัสดิการแก่เด็กอายุ ๐-๕ ปี เช่น กองทุน หลักประกันสุขภาพจัดสวัสดิการ เด็กแรกเกิด และสวัสดิการเสียชีวิต กองทุนสวัสดิการชุมชนออม วันละ ๑ บาท จัดสวัสดิการผูกแขนเด็กแรกเกิด สวัสดิการนอนรักษาพยาบาล สวัสดิการเสียชีวิต มีการจัดโครงการถนนสายบุญต�ำบลเหล่าใหญ่ จัดกิจกรรมท�ำบุญตักบาตร น�ำสิ่งของช่วยเหลือคนใน ชุมชน ๔) ระบบบริการและส่งเสริมสุขภาพ มีการบริการดูแลสุขภาพของคนในชุมชน พัฒนา ศักยภาพเจ้าหน้าที่อาสาสมัคร พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ให้ความรู้ แนะน�ำการดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัย การ คัดกรอง ติดตามดูแลเด็กที่มปี ัญหาเรื่องสุขภาพ ๕) ระบบการส่งเสริมอาชีพ สร้างการเรียนรู้แก่เด็กอายุ ๐-๕ ปี จากสถานการณ์จริง ปลูกฝังการประกอบอาชีพที่สืบทอดกันมา เช่น การผลิตเสื้อเย็บมือ การทอผ้า เครื่องจักสาน การ ปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้ เรียนรู้เรื่องงสมุนไพรพื้นบ้าน จากปราชญ์ชาวบ้าน ๖) การจัดการสภาวะแวดล้อม ส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อน�ำไปปรับใช้ในชีวิตประจ�ำวัน เช่น การจัดการขยะ การจัดการสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม ลานกีฬา สนามเด็กเล่น ได้มาตรฐาน การ อนุรักษ์ป่าโดยจัดกิจกรรมปลูกป่า
๓. ทุนทางสังคม ๓.๑ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการหลัก ต�ำบลเหล่าใหญ่มที นุ ทางสังคม ๖ ระดับ ทีด่ �ำเนินงานและกิจกรรมการส่งเสริมการเรียนรู้ของ เด็ก ดังนี้ ๑) ทุนระดับบุคคลและครอบครัว ปราชญ์ชาวบ้าน จ�ำนวน ๑๕ คน ส่งเสริมการเรียนรู้เด็ก อายุ ๐-๕ ปี ด้วยภูมปิ ัญญาท้องถิ่น เช่น ปราชญ์ด้านสมุนไพร หมอแคน หมอล�ำ เป็นต้น ช่างฝีมือที่ มีความเชีย่ วชาญในการใช้ฝมี อื ด้าน จักสาน เสือ้ เย็บมือ ทอผ้า ร่วมกันผลิตสือ่ การเรียนการสอน จ�ำนวน
102
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๑๓ คน จิตอาสาดูแลสุขภาพดูแลติดตามเยี่ยมบ้านเด็กที่มีปัญหาด้านสุขภาพ ฟื้นฟู แนะน�ำการดูแล สุขภาพ จ�ำนวน ๑๘ คน บุคคลแก้ไขความขัดแย้ง ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทสร้างความอบอุ่นในครอบครัว จ�ำนวน ๓๓ คน ทุนบุคคลที่เชี่ยวชาญด้านการดูแลเด็กปฐมวัย ด้านสุขภาพ การศึกษา พัฒนาการ และการจัดการสภาพแวดล้อม จ�ำนวน ๒๗ คน ๒) ทุนระดับกลุ่มทางสังคม องค์กรชุมชน ดังนี้ (๑) กลุม่ เสือ้ เย็บมือ หมูท่ ี่ ๑ มีการรวมกลุม่ เพือ่ สร้างอาชีพจากภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ เด็กได้ เรียนภูมิปัญญาในการท�ำเสื้อผ้าสวมใส่บรรพบุรุษของตนเอง (๒) กลุ่มจักสาน หมู่ที่ ๑ และ หมู่ที่ ๔ มีการสืบทอดเครื่องจักสานที่ท�ำมาจากไม้ไผ่ ที่หลากหลายสอนให้เด็กและเยาวชน และผู้สนใจฟรี และเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน (๓) กลุ่มดนตรีพื้นเมืองเด็กและเยาวชน หมู่ที่ ๑ มีการสืบสานและอนุรักษ์วัฒนธรรม ศิลปะดนตรีชุมชน ร่วมกิจกรรมงานต่างในชุมชน รับสมัครและสอนให้ฟรี (๔) กลุ่มแม่บ้านทอผ้า หมู่ที่ ๑-๑๒ มีการสืบสานอาชีพการทอผ้า การอนุรักษ์สืบสาน ภูมิปัญญาท้องถิ่น สร้างอาชีพ สร้างรายได้ รวมกลุ่มจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ (๕) กลุม่ ปราชญ์ชาวบ้าน หมูท่ ี่ ๒ มีการอนุรกั ษ์วฒ ั นธรรมประเพณีทอ้ งถิน่ และการรักษา โรคด้วยพืชสมุนไพร (๖) กลุม่ แปรรูปอาหาร หมูท่ ี่ ๒ การแปรรูปอาหารตามฤดูกาลของท้องถิน่ อาหารท้องถิน่ เด็กได้เรียนรู้การแปรรูปอาหาร การท�ำอาหารท้องถิ่น ๓) ทุนระดับหน่วยงาน (๑) เทศบาลต�ำบลเหล่าใหญ่ มี ส�ำนักปลัด กองคลัง กองช่าง กองสาธารณสุข กองการ ศึกษา การบริหารการศึกษาและพัฒนาการศึกษาในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย การจัดการ ศึกษาเด็กปฐมวัย ส่งเสริมศาสนา ศิลปวัฒนธรรม (๒) โรงเรียนสังกัดส�ำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วยโรงเรียนเหล่าใหญ่ วนาสณฑ์ผดุงเวทย์ โรงเรียนดงเหนือประชาสรรค์ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๓๕ (ค�ำกั้ง) โรงเรียนมะนาว วิทยาเสริม โรงเรียนบ้านจอมทอง โรงเรียนบ้านกุดฝัง่ แดง การจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย การจัดการสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเรียนรู้ การจัดการโภชนาการ (๓) ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กสังกัดเทศบาลต�ำบลเหล่าใหญ่ ประกอบด้วย ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ก่อนวัยเรียนแสงส่องหล้า ๙ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กบ้านมะนาว ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กบ้านค�ำกัง้ ศูนย์อบรม เด็กก่อนเกณฑ์ในวัดโพธิช์ ยั ดงเหนือ ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดโพธารามจอมทอง ศูนย์อบรมเด็ก
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
103
ก่อนเกณฑ์ในวัดสีสุกกุดฝั่งแดง มีการพัฒนาศักยภาพเด็กปฐมวัย การจัดการสภาพแวดล้อมให้ เหมาะสมกับการเรียนรู้ และการจัดการโภชนาการ (๔) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลเหล่าใหญ่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านกุด ฝั่งแดง บริการสุขภาพ คัดกรองตรวจสุขภาพเด็กอายุ ๐-๕ ปีป้องกันโรคที่จะเกิดกับเด็กปฐมวัย เช่น ฉีดวัคซีน เกลือไอโอดีน คัดกรองพัฒนาการเด็ก (๕) ศูนย์พฒ ั นาครอบครัวต�ำบลเหล่าใหญ่ การเฝ้าระวังความรุนแรงในครอบครัว ส่งเสริม กิจกรรมสร้างความอบอุ่น (๖) ศูนย์การศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัยต�ำบลเหล่าใหญ่ ส่งเสริมการเรียนรู้ ด้านศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น (๗) หน่วยแพทย์ย่อยบ้านค�ำกั้ง บ้านจอมทอง การรักษาพยาบาลใกล้บ้าน (๘) หน่วยแพทย์ฉกุ เฉิน EMS บริการสายด่วน ๑๖๖๙ ๔) ทุนทางสังคมระดับหมู่บ้าน ชุมชน ดังนี้ (๑) อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมูบ่ า้ น (อสม.) การคัดกรองพัฒนาการเด็ก การติดตาม การรักษาพยาบาลร่วมกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล การให้ความรู้เรื่องโภชนาการ เบื้องต้นกับผู้ปกครอง (๒) กลุ่มจิตอาสาดูแลสุขภาพ พัฒนาทักษะการดูแลเด็กอายุ ๐-๕ ปี การดูแลสุขภาพ คนในชุมชนโดยชุมชน (๓) กลุม่ เติมรักเติมบุญ ส่งเสริมสุขภาพ การติดตามเยีย่ มบ้าน ส่งเสริมอาชีพแก่ผปู้ กครอง ผู้ด้อยโอกาส ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน (๔) กลุ่มนวดแผนไทย ต้นทุนด้านสมุนไพร คลังความรู้ควบคู่การดูแลสุขภาพ (๕) การส่งเสริมอาชีพ สร้างงานสร้างรายได้ให้ครอบครัว เช่น กลุ่มเสื้อเย็บมือ กลุ่ม ทอผ้าลายขิดเก็บจก กลุ่มจักสาน กลุ่มทอผ้าพื้นเมือง กลุ่มเศรษฐกิจพอเพียง ๕) ทุนทางสังคมระดับต�ำบล ดังนี้ (๑) ชมรมผู้สูงอายุ ส่งเสริมการเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน ผลิตสื่อพื้นบ้านส่งเสริม การเรียนรู้ ดนตรีพื้นบ้าน หมอล�ำผญาสอนหลาน การแต่งกายแบบวัฒนธรรมภูไท (๒) กลุ่มไทเหล่าใหญ่ห่วงใยผู้ด้อยโอกาส การบูรณาการงานของ ๔ องค์กรหลัก ใช้ ยุทธศาสตร์ “ใกล้ตวั ใกล้ใจ การดูแลสุขภาพ” (๓) กองทุนสวัสดิการชุมชนออมวันละ ๑ บาท จัดสวัสดิการแก่สมาชิกตั้งแต่เกิดจน เสียชีวิต
104
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
(๔) กองทุนสุขภาพต�ำบล การจัดสวัสดิการเพือ่ ดูแลสุขภาพของสมาชิกในต�ำบล สนับสนุน งบประมาณเพื่อพัฒนาสุขภาพ (๕) กองทุนช่วยเหลือการศึกษา เช่น กองทุนเหลือญาติหมู่๕ กองทุนการศึกษาหมู่ ๖ กลุ่มฌาปนกิจสงเคราะห์ท้งั ๑๒ หมู่บ้าน ๓.๒ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการรอง ๑) ทุนทางสังคมระดับบุคคลและครอบครัว เช่น ผู้นำ� หมู่บ้านมีส่วนร่วมในการสนับสนุนการ เรียนรู้แก่เด็กในพื้นที่ ๒) ทุนทางสังคมระดับกลุ่ม องค์กรชุมชน เช่น กลุ่มอาชีพ สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ เช่น กลุ่มน�้ำดื่มบุปผาทิพย์ กลุ่มปุ๋ยอินทรีย์ กลุ่มหมูหลุม กลุ่มผลิตลวดหนาม กลุ่มหญ้าคา กลุ่ม ทอเสื่อกก กลุ่มแปรรูปอาหาร กลุ่มศึกษาอุทยานภูน้อย หมู่๘ เป็นต้นหลัก ๓) ทุนทางสังคมระดับหมู่บ้านหรือชุมชน แหล่งเงินทุนเพื่อการประกอบอาชีพของพ่อแม่ ผูป้ กครองเช่น กลุม่ ออมทรัพย์เพือ่ พัฒนาชุมชน กองทุนหมูบ่ า้ น ธนาคารหมูบ่ า้ น กองทุนแม่บา้ นยูนเิ ซฟ เป็นต้น ๔) ทุนทางสังคมระดับต�ำบล เช่น สถาบันการเงินต�ำบลเหล่าใหญ่ กลุ่มปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้น
๔. วัตถุประสงค์ ๔.๑ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นแก่เด็กปฐมวัย ๔.๒ เพื่อสร้างการเรียนรู้ให้แก่เด็กปฐมวัยในพื้นที่ โดยบูรณาการงานจาก ๔ องค์กรหลัก ในพื้นที่ภาคประชาชน ภาครัฐ ท้องถิ่น ท้องที่
๕. วิธีการท�ำงาน การด�ำเนินการส่งเสริมการเรียนรูข้ องเด็กตามบริบทสังคมวัฒนธรรมของพืน้ ทีต่ ำ� บลเหล่าใหญ่ ดังนี้ ๕.๑ การแต่งตั้งทีมและคณะท�ำงาน โดยประกอบด้วย ผู้บริหารทต.เหล่าใหญ่ เจ้าหน้าที่ รพ.สต. ครูจากศพด. ตัวแทนผู้ปกครอง ๕.๒ การพัฒนาศักยภาพโดยการอบรมให้ความรู้ การพัฒนาผู้ปกครองเด็กปฐมวัยและ ครูในศพด. ๕.๓ การด�ำเนินกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ ดังนี้
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
105
๑) เด็กวัย ๐-๓ ปี เรียนรูผ้ า่ นกิจกรรมชุมชนท้องถิน่ ร่วมกับผูป้ กครอง เช่นร่วมกิจกรรมประเพณี ท้องถิ่น เรียนรู้จากกลุ่มต่างๆ และกิจกรรมของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๒) เด็กวัย ๓-๕ ปี จัดกิจกรรมตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยเทศบาลต�ำบลเหล่าใหญ่ พ.ศ. ๒๕๕๔ ดังนี้ การจัดท�ำแผนการเรียนรู้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยการเชิญวิทยากรภูมิปัญญาท้องถิ่น และการผลิตสื่อภูมิปัญญาท้องถิ่นประกอบด้วย การแต่งกายแบบวัฒนธรรมภูไท แบบดั้งเดิมและ แบบประยุกต์ อาหารพื้นเมืองภูไท เช่น แกงหวาย กะสูบ ข้าวโจ้ เป็นต้น การละเล่นพื้นเมือง เช่น การเป่าแคน การดีดพิณ การเป่าโหวต การดีดจีดจึ้ง การฟ้อนภูไท การล�ำภูไท การจ่ายผญา เป็นต้น การทอผ้าพื้นเมือง การทอผ้าสีพื้น และการทอผ้าลายขิด การเย็บเสื้อเย็บมือภูไทเหล่าใหญ่ สมุนไพร ในชุมชน เช่น พืชสวนครัว ขมิ้น ตะไคร้ เป็นต้น การเรียนรู้นอกห้องเรียน การน�ำเด็กเข้าร่วมกิจกรรม ต่างๆ ในพื้นที่ เช่น งานประเพณี กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
๕.๔ การติดตามและประเมินผลระหว่างด�ำเนินการ ทุก ๓ เดือน และหลังสิน้ สุดโครงการ
๖. การเชื่อมโยงหรือส่งผลที่เอื้อต่อการท�ำงานกับกลุ่มงานและกิจกรรมอื่นๆ ๖.๑ การเชื่อมโยงทุนระดับบุคคลและครอบครัว โดยมีปราชญ์ชาวบ้าน ผู้สูงอายุ หมอสูตร หมอสมุนไพร ผู้เชี่ยวชาญการจักสาน ดนตรีพื้นบ้าน แกนน�ำหมู่บ้าน ถ่ายทอดภูมปัญญาท้องถิ่น ส่ง เสริมการเรียนรู้ของเด็กตามบริบทสังคมวัฒนธรรมของพื้นที่โดยชุมชนท้องถิ่น ๖.๒ การเชื่อมโยงงาน ด�ำเนินงานโดย ชมรมผู้สูงอายุ กลุ่มดนตรีพื้นเมืองเด็กและเยาวชน กลุ่มนวดแผนไทย กลุ่มจักสาน ปราชญ์ชาวบ้าน พร้อมที่จะเป็นวิทยากร ส่งเสริมการเรียนรู้ของ เด็กตามบริบทสังคมวัฒนธรรมของพื้นที่โดยชุมชนท้องถิ่น ๖.๓ การเชือ่ มโยงข้อมูล กองการศึกษา ครูศนู ย์พฒ ั นาเด็กเล็กมีแผนงานและแผนการสอนส่ง เสริมการเรียนรู้ของเด็กตามบริบทสังคมวัฒนธรรมของพืน้ ทีโ่ ดยชุมชนท้องถิน่ โดยมีการน�ำใช้ข้อมูลทุน และศักยภาพต�ำบลเหล่าใหญ่ในการเชื่อมประสานงานการด�ำเนินกิจกรรม
๗. ผลผลิตและผลลัพธ์
106
๗.๑ ผลต่อประชากรเป้าหมาย เด็กอายุ ๐-๕ ปี จ�ำนวน ๒๗๗ คน ๑) เด็กปฐมวัยเกิดการเรียนรู้ และเกิดความรักหวงแหน ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ๒) เกิดการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการพัฒนาเด็กปฐมวัยในพื้นที่ต�ำบลเหล่าใหญ่
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๓) เทศบาลต�ำบลเหล่าใหญ่มีการน�ำใช้ระบบฐานข้อมูลต�ำบลจากการวิจัยชุมชน (RECAP) และระบบข้อมูลต�ำบล (TCNAP) เพื่อการพัฒนาการดูแลเด็กปฐมวัย ๗.๒ ผลต่อคุณภาพชีวิตของกลุ่มประชากร ๕ มิติ ๑) ด้านสังคม มีการส่งเสริมการเรียนรูใ้ ห้แก่เด็กปฐมวัยในพืน้ ที่ โดยการถ่ายทอดความรูจ้ าก ปราชญ์ชาวบ้านทีม่ ีความเชี่ยวชาญด้านต่างๆ ท�ำให้เกิดการถ่ายทอดภูมิปัญญา ศิลปวัฒนธรรมเกิด การช่วยเหลือดูแลกัน รวมถึงมีการจัดสวัสดิการสังคม โดยกองทุนสวัสดิการต�ำบลเหล่าใหญ่ ธนาคาร หมู่บ้านกลุ่มออมทรัพย์เพื่อพัฒนาชุมชนกลุ่มไทเหล่าใหญ่ห่วงใยผู้ด้อยโอกาสกองทุนสุขภาพต�ำบล ๒) ด้านเศรษฐกิจ สร้างการเรียนรู้จากกลุ่มอาชีพ เช่น กลุ่มเสื้อเย็บมือ กลุ่มจักสาน กลุ่ม เศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มทอผ้า เป็นต้น ท�ำให้เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้วิถีอาชีพที่มีอยู่ในพื้นที่ ๓) ด้านสภาวะแวดล้อม เด็กปฐมวัยในพื้นที่ได้เรียนรู้การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ป่าชุมชน การใช้เป็นแหล่งอาหาร และการฟืน้ ฟูปา่ ทีเ่ ป็นแหล่งหล่อเลีย้ งชีวติ ของคนในพืน้ ที่ การจัดการ ดินโดยการส่งเสริมให้ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ การใช้กฎและกติกาในการใช้น�้ำเพื่อการเกษตรและการบริโภค รวมถึงการปรับสภาพแวดล้อมภายนอกเพื่อความปลอดภัยในการด�ำเนินชีวิตของเด็ก เช่น การติดตั้ง ไฟส่องสว่าง การติดตั้งกระจกโค้ง เป็นต้น การปรับลานกีฬา สนามเด็กเล่นท�ำให้เด็กได้มีพื้นที่ในการ มีกิจกรรมร่วมกันและส่งเสริมการเรียนรู้ ๔) ด้านสุขภาพ ท�ำให้เด็กปฐมวัยได้รับการส่งเสริมสุขภาพทางกาย จิตใจ สังคมอย่าง รอบด้านภายใต้การส่งเสริมการเรียนรู้ตามบริบท สังคม วัฒนธรรมของพื้นที่ เกิดกิจกรรมการดูแล สุขภาพโดยน�ำใช้ภูมปิ ัญญาท้องถิ่นท้องถิ่น ๕) ด้านการเมืองการปกครอง ท�ำให้เกิดการมีสว่ นร่วมในการดูแลเด็กปฐมวัยในพืน้ ที่ กรณี ความขัดแย้งภายในครอบครัวผูไ้ กล่เกลีย่ เบือ้ งต้นจะเป็นพ่อล่ามแม่ลา่ ม และผูอ้ าวุโสทีค่ รอบครัวเคารพ นับถือ และผู้ไกล่เกลี่ยจะเป็นผู้น�ำชุมชน และศูนย์ยุติธรรมต�ำบลเหล่าใหญ่
๘. กลไก เครื่องมือในการด�ำเนินงาน การส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กตามบริบทสังคมวัฒนธรรมต�ำบลเหล่าใหญ่มีกลไก เครื่องมือ ประกอบด้วย ๘.๑ คณะท�ำงานที่เกิดจากการมีส่วนร่วม ทั้งภาคประชาชน รพ.สต. ครูศพด. ทต.เหล่าใหญ่ ๘.๒ แผนการด�ำเนินงาน แนวทางการพัฒนาศักยภาพคณะท�ำงาน และการติดตามประเมินผล ๘.๓ การได้รบั การสนับสนุนงบประมาณจากทต.เหล่าใหญ่
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
107
๙. ปัจจัยเงื่อนไข ๙.๑ การมีส่วนร่วมของบุคคลส�ำคัญในพื้นที่ ปราชญ์ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการส่งเสริม การเรียนรู้ของเด็กตามบริบทสังคมวัฒนธรรมของพื้นที่โดยชุมชนท้องถิ่น เช่น ปราชญ์ชาวบ้านด้าน ดนตรี ด้านจักสาน ด้านการทอผ้า เป็นต้น ผู้น�ำชุมชน คณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เป็นต้น ๙.๒ การน�ำเอกลักษณ์ชาติพันธุ์ผู้ไทเป็นแกนหลักในการส่งเสริมการเรียนรู้ เช่น การแต่งกาย ภาษา จักสาน ทอผ้า น�ำมาประยุกต์ใช้ผลิตสือ่ เพือ่ ส่งเสริมการเรียนรูข้ องเด็ก การจัดบุญประเพณี เช่น บุญเดือนสี่ บุญข้าวจี่ บุญบั้งไฟ เป็นต้น ๙.๓ การน�ำใช้ข้อมูลจากการ RECAP TCNAP ๙.๔ งบประมาณในการสนั บ สนุ น โดยเทศบาลต� ำ บลเหล่ า ใหญ่ การระดมทุ น จาก ประชาชนในชุมชน ภายใต้ความร่วมมือของ ๔ องค์กรหลักในชุมชนและมี อปท.เป็นกลไกส�ำคัญใน การสนับสนุนและเชื่อมประสาน
๑๐. ความเชื่อมโยงต่อ ๗ คุณลักษณะการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่น ๑๐.๑ การสร้างการเรียนรูก้ ารสร้างการเรียนรูป้ ญ ั หาและความต้องการ มีการก�ำหนดเป้าหมาย เพือ่ การดูแลเด็กปฐมวัย การพัฒนาและน�ำใช้ขอ้ มูลของเทศบาลต�ำบลเหล่าใหญ่ การส่งเสริมการเรียน รู้ของเด็กตามบริบทสังคมวัฒนธรรมของพื้นที่โดยชุมชนท้องถิ่น ๑๐.๒ การสร้างคนให้จดั การตนเองกลุม่ ผูส้ งู อายุ ปราชญ์ชาวบ้าน ถ่ายทอดความรูแ้ ละทักษะ ในการดูแลเด็กปฐมวัย มีกลุ่มอาสาสมัคร ศูนย์พัฒนาครอบครัว ท�ำหน้าที่ในการเชื่อมประสานการ ท�ำงานในการดูแลเด็กปฐมวัย ๑๐.๓ การสร้างการมีส่วนร่วม การระดมความคิดเห็นผ่านเวทีประชาคม การร่วมท�ำกิจกรรม เพือ่ ส่งเสริมและพัฒนาการดูแลเด็กปฐมวัย การผลักดันให้เกิดรูปแบบงานใหม่เพือ่ การดูแลเด็กปฐมวัย ๑๐.๔ การมีข้อตกลงมีเป้าหมายในการพัฒนาศักยภาพแม่และครอบครัว อาสาสมัครในการ ดูแลเด็กปฐมวัย มีการท�ำวิจยั ชุมชนเพือ่ น�ำสูก่ ารจัดการแก้ปญ ั หาในการดูแลเด็กปฐมวัยในพืน้ ที่ มีการ สร้างข้อตกลงและกติกาเพื่อการดูแลเด็กปฐมวัยและครอบครัว ๑๐.๕ การระดมเงินและทรัพยากร การระดมเงินและทรัพยากรเพื่อเป็นทุนถือเป็นจุดเด่นของ ต�ำบลเหล่าใหญ่ จากการที่ทุกหมู่บ้านมีการจัดตั้งองค์กรการเงิน กองทุนต่างๆ ของชุมชน การมี ข้อตกลงการช่วยเหลือดูแลกลุ่มผู้ต้องการความช่วยเหลือ เด็กปฐมวัย ผู้สูงอายุ คนพิการ เป็นต้น
108
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๑๐.๖ มีขอ้ ตกลง มีเป้าหมายในการพัฒนาศักยภาพแม่และครอบครัว อาสาสมัครในการดูแล เด็กปฐมวัย มีการท�ำวิจยั ชุมชนเพือ่ น�ำสูก่ ารจัดการแก้ปญ ั หาในการดูแลเด็กปฐมวัยในพืน้ ที่ มีการสร้าง ข้อตกลงและกติกาเพือ่ การดูแลเด็กปฐมวัยและครอบครัว การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กรภาค รัฐและหน่วยงานอื่นๆ ๑๐.๗ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กรภาครัฐและหน่วยงานอื่นๆ มีการจัดการความ ร่วมมือกับโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชอ�ำเภอกุฉนิ ารายณ์ร่วมกับทีมไม้เลือ้ ย ทีมสหวิชาชีพ ร่วมกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลทั้ง ๒ แห่ง ขับเคลื่อนงานร่วมกับอาสาสมัครในต�ำบลร่วมกันดูแล สุขภาพของคนในต�ำบลเหล่าใหญ่และวิทยากรชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการเรียนรู้ของ เด็กปฐมวัย
๑๑. การตอบสนองต่อตัวชี้วัดด้านการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย ๑๑.๑ กลุ่มเด็กอายุ ๐-๓ ปี ๑) ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพ ตัวชีว้ ดั ที่ ๑ ฝึกอบรมผูป้ กครองหรือผูด้ แู ลในครอบครัว เด็ก ๐-๓ ปี ในการส่งเสริมการเรียนรู้ การเล่น ตัวชี้วัดที่ ๑๓ การปรับสิ่งแวดล้อมในชุมชนเพื่อให้เกิด ประโยชน์กบั เด็ก และการมีลานกีฬา สนามเด็กเล่นในการท�ำกิจกรรมร่วมกัน ๒) ชุดกิจกรรมที่ ๔ การจัดตั้งกองทุนหรือจัดให้มีสวัสดิการช่วยเหลือกัน ตัวชี้วัดที่ ๒๓ มีการ เพิม่ ช่องทางการช่วยเหลือเด็ก โดยการด�ำเนินโครงการถนนสายบุญทีเ่ กิดจากวัฒนธรรมการช่วยเหลือ เกื้อกูลกันของคนในชุมชน ๓) ชุดกิจกรรมที่ ๕ การพัฒนาและน�ำใช้ข้อมูลในการส่งเสริมไขหรือจัดการปัญหาเด็กอายุ ๐-๓ ปี ตอบสนองตัวชี้วัดที่ ๒๘ การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น สร้างและเพิ่มช่องทางการเรียนรู้ข้อมูล การดูแลเด็ก ๐-๓ปี ให้กับผู้ปกครองและผู้ดูแลอย่างหลากหลายช่องทาง ๑๑.๒ กลุ่มเด็กอายุ ๓-๕ ปี ๑) ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพ ตอบสนองตัวชี้วัดที่ ๙) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการจัด ท�ำหลักสูตรที่ส่งเสริมการเรียนรู้ หลักสูตรการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยทั้ง ๔ ด้านคือ ร่างกาย จิตใจ อารมณ์สังคม และสติปัญญา โดยใช้กิจกรรม ๖ หลักที่ครอบคลุม ๔ สาระให้สอดคล้องกับ บริบทของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น ส่งเสริมพัฒนาการด้านการใช้ กล้ามเนื้อมัดใหญ่กล้ามเนื้อมัดเล็กความคิดสร้างสรรค์ลักษณะนิสัยให้เด็กได้แสดงอารมณ์และความ
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
109
รูส้ กึ ด้านศิลปะ ดนตรี ด้านคุณธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะทีด่ ที างสังคมเบือ้ งต้น เช่น ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี มีน�้ำใจรู้จักการรอคอยและรู้จักการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ กติกาของห้องเรียนและศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กเหมาะสมตามวัย เป็นต้น ๒) ชุดกิจกรรมที่ ๕ การพัฒนาและน�ำใช้ข้อมูลในการส่งเสริมไขหรือจัดการปัญหาเด็กอายุ ๓-๕ ปี ตอบสนองตัวชี้วัดที่ ๕๑ สร้างและเพิ่มช่องทางการเรียนรู้ข้อมูลการดูแลเด็ก ๓-๕ ปีให้กับผู้ ปกครองและผู้ดูแลอย่างหลากหลายช่องทาง
110
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
111
ภาพที่ ๑๐ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้านระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น เทศบาลต�ำบลเหล่าใหญ่ อ�ำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
ภาพที่ ๑๑ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น เทศบาลต�ำบลเหล่าใหญ่ อ�ำเภอกุฉนิ ารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
112
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ภาพที่ ๑๒ การส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กตามบริบทสังคมวัฒนธรรมของพื้นที่โดยชุมชนท้องถิ่น เทศบาลต�ำบล เหล่าใหญ่ อ�ำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
113
การส�ำรวจสุขภาพและป้องกันโรค ของเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลหินลาด อ�ำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก
๑. ที่มาหรือฐานคิดของการด�ำเนินกิจกรรม การส�ำรวจข้อมูลจ�ำนวนประชากรของต�ำบลหินลาดโดยเฉพาะกลุ่มเด็กปฐมวัย ๐-๕ ปี พบว่ามีเด็กปฐมวัย ๐-๕ ปี จ�ำนวน ๓๕๙ คน โดยแยกเป็น ๒ ช่วงอายุคือ เด็กอายุ ๐-๓ ปี มีจำ� นวน ทั้งสิ้น ๑๗๑ คน โดยแยกเป็นชาย ๘๑ คน และหญิง ๙๐ คน เด็กอายุ ๓-๕ ปี มีจ�ำนวนทั้งสิ้น ๑๘๘ คน โดยแยกเป็น ชาย ๘๓ คน หญิง ๑๐๕ คน เด็กส่วนใหญ่อาศัยอยูก่ บั พ่อแม่ คิดเป็นร้อยละ ๗๑.๓๒ และจากการส�ำรวจภาวะสุขภาพของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจ�ำต�ำบลหินลาดและบ้าน ท่าขอนเบน ร่วมกับศูนย์พัฒนาเด็กอบต.หินลาด และอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้านพบ เด็กช่วงอายุ ๐-๓ ปี มีสขุ ภาพภาวะปกติ จ�ำนวน ๑๒๕ คน กลุ่มเด็กทีม่ ปี ัญหาสุขภาพจ�ำนวน ๔๕ คน เช่น ขาดสารอาหาร จ�ำนวน ๑๓ คน ฟันผุ จ�ำนวน ๓๑ คน และ โรคมะเร็ง ๑ คน ในส่วนเด็กช่วงอายุ ๓-๕ ปี กลุ่มเด็กมีสุขภาพภาวะปกติ จ�ำนวน ๑๒๕ คน กลุ่มเด็กที่มีปัญหาสุขภาพจ�ำนวน ๖๓ คน แยกเป็น ภาวะอ้วน ๑๓ คน น�้ำหนักต�่ำกว่ามาตรฐาน ๖ คน ฟันผุ ๔๔ คน ซึ่งประเด็นสุขภาพที่ส�ำคัญของต�ำบลหินลาดคือ มีเด็กที่มีปัญหาเรื่อง ฟันผุ เป็นจ�ำนวนมาก ทั้งสองช่วงอายุ มีเด็กน�้ำหนักต�่ำกว่ามาตรฐาน และเด็กภาวะอ้วน และยังอีกว่าเด็กปฐมวัยช่วงอายุ ๓-๕ ปี ป่วยเป็นโรคมือ เท้า ปาก และโรคไข้เลือดออกทุกปี ทางอบต.หินลาดร่วมกับ รพ.สต.ทั้ง ๒ แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.หินลาดและแกนน�ำในพื้นที่ทั้ง ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และตัวแทน อสม. ประชุมร่วมกันเพื่อปรึกษาหารือในการแก้ปัญหาสุขภาพของเด็กและการป้องกันโรคเด็กปฐมวัย หาแนวทางดูแลสุขภาพช่องปาก ลดจ�ำนวนการเกิดฟันผุ การส่งเสริมโภชนาการ ลดอัตราเด็กที่มี น�้ำหนักต�่ำและน�้ำหนักเกินมาตรฐาน และการป้องกันโรคที่เกิดขึ้นบ่อยในเด็ก เช่น โรคไข้เลือดออก โรคมือเท้าปาก เป็นต้น
114
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
โดยจากการประชุม มีข้อสรุป ให้อบต.หินลาด รพ.สต.ทั้ง ๒ แห่ง และ อสม.ในพื้นที่เป็นแกน น�ำหลักในการส�ำรวจข้อมูลสุขภาพและการเผยแพร่การป้องกันโรคที่จะเกิดขึ้น และมีหน่วยสนับสนุน คือศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.หินลาด ผู้ปกครอง และจิตอาสาในพื้นที่ให้การช่วยเหลือแกนน�ำหลัก ทั้ง การระดมแรง ระดมทุนเพื่อให้งานประสบผลส�ำเร็จ
๒. งานและกิจกรรม ๒.๑. ภาพรวมระบบการดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบล ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบลหินลาด ประกอบด้วย ๑) สุขภาพและการส่งเสริมสุขภาพ มีการด�ำเนินงานรณรงค์ให้ความรู้ในการป้องกันโรค และการดูแลสุขภาพ เริม่ ตัง้ แต่สตรีทตี่ งั้ ครรภ์ให้มคี วามรูใ้ นการดูแลเลีย้ งดูบตุ ร การดูแลจากอาสาสมัคร ในชุมชนโดยการเยี่ยมบ้าน การให้ค�ำแนะน�ำ การส่งเสริมสุขภาพ การประเมินภาวะโภชนาการ การ ให้วัคซีน การคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการ เป็นต้น ๒) การพัฒนาศักยภาพและการน�ำใช้ข้อมูล การพัฒนาศักยภาพพ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็ก ครู ในการดูแลและการส่งเสริมสุขภาพ ให้เด็กได้เรียนรู้วิถีพุทธจากวัดในพื้นที่ ๓) อาสาสมัครและช่วยเหลือสังคม การส�ำรวจเด็กที่ยากจนที่ต้องได้รับการช่วยเหลือดูแล การดูแลเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การไล่เกลี่ยความขัดแย้งภายในครอบครัวโดยศูนย์ยุตธิ รรม ๔) การส่งเสริมอาชีพ การสอนให้เด็กได้เรียนรู้อาชีพที่มีอยู่ในพื้นที่ เช่น การสานชะลอม สานหมวก ท�ำนา ท�ำไร่ การท�ำขนมไทย และการสนับสนุนให้มารดาที่ตั้งครรภ์ได้ท�ำงานที่บ้าน มีรายได้เพื่อดูแลเด็ก เป็นต้น ๕) กองทุนและสวัสดิการ จัดทุนการศึกษาส�ำหรับเด็กยากจน เป็นสวัสดิการช่วยเหลือกัน ของสมาชิก ให้การช่วยเหลือแก่สมาชิกทุกวัย กรณีเจ็บป่วย นอนโรงพยาบาลเสียชีวติ รวมถึงเป็นแหล่ง กู้ยืมเงินเพื่อการประกอบอาชีพดอกเบี้ยต�่ำ ๖) การจัดการสิ่งแวดล้อม การปรับโครงสร้างอาคารสถานที่ของศพด. อบต.หินลาด ปรับ ลานกีฬาและสนามเด็กเล่น เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย กล้ามเนื้อ การจัดการขยะมีการคัด แยกขยะ การจัดการสภาพแวดล้อมในอาคารให้ปลอดภัย การติดตั้งปลั๊กไฟ การติดตั้งมุ้งลวด
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
115
๒.๒. ประเด็นเด่นของระบบการดูแลเด็กปฐมวัย กรณีการส�ำรวจสุขภาพและป้องกัน โรคของเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น มีการระดมทุน ระดมแรง ขององค์กรภาคีเครือข่าย ทั้ง อบต.หินลาด อสม. รพ.สต.ทั้ง ๒ แห่ง จิตอาสา ปราชญ์ชาวบ้าน แกนน�ำหมูบ่ า้ น ในการส�ำรวจภาวะทุพโภชนาการ การดูแลสุขภาพช่องปาก การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ การสังเกตอาการในการเกิดโรคไข้เลือดออก และโรคมือ เท้า ปาก ดังนี้ ๑) รพ.สต.ทัง้ ๒ แห่ง และ อสม.ในพืน้ ที่ ให้ความรูแ้ ละการดูแลแม่ตงั้ ครรภ์ โดยออกเยีย่ ม บ้านให้ค�ำแนะน�ำในการรับประทานอาหาร การรับวัคซีน การดูแลสุขภาพในระหว่างการตั้งครรภ์ การใช้ยาระหว่างการตั้งครรภ์ ๒) พ่อแม่ ผู้ปกครองได้รับความรู้จากการฝึกอบรมแล้วกลับไปเฝ้าระวังและสังเกตอาการ ของบุตรหลาน ทั้งด้าน การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ไม่ให้เด็กอ้วนหรือผอมเกินไป การสังเกต พฤติกรรม การประเมินพัฒนาการในด้านต่างๆ ในเบื้องต้น หากพบความเสี่ยงปรึกษา อสม.และ รพ.สต.เพื่อการคัดกรองที่ถูกต้องและรวดเร็ว จะได้แก้ปัญหาตั้งแต่ต้นเหตุ ๓) ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กอบต.หินลาด จะต้องประเมินพัฒนาการของเด็กในความรับผิดชอบ ทั้งการตรวจฟัน การสอนวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธี การส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กที่นำ�้ หนักต�่ำกว่า เกณฑ์ให้มีน�้ำหนักตามมาตรฐาน และพยายามควบคุมอาหารของเด็กที่มีภาวะอ้วน โดยประสาน ความร่วมมือกับผู้ปกครอง มีโครงการอาหารกลางวันส�ำหรับเด็กงดอาหาร หวานจัด มันจัด เค็มจัด จัดอาหารที่มีคุณภาพ ครบ ๕ หมู่ ให้กับเด็กในทุกวันที่มาเรียนกับศพด.อบต.หินลาด การเฝ้าระวัง ในการป้องกันโรคทีเ่ กิดขึน้ บ่อยในเด็ก เช่น โรค มือ เท้า ปาก รักษาความสะอาดของของเล่นทีเ่ ด็กเล่น ร่วมกัน การรักษาความสะอาดของร่างกายเด็ก การล้างมือ สอนวิธกี ารล้างมือทีถ่ กู ต้องให้เด็กได้ปฏิบตั ิ การติดตั้งมุ้งลวดเพื่อป้องกันยุง และแมลงที่จะกัดเด็กในระหว่างการจัดการเรียนการสอน เพื่อลดการ เกิดและการระบาดของโรคไข้เลือดออก
๓. ทุนทางสังคม ๓.๑ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการหลัก ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการหลักในต�ำบลหินลาด มีดังนี้ ๑) ทุนทางสังคมระดับบุคคลและครอบครัว แบ่งเป็น กลุม่ จิตอาสา มีจำ� นวน ๒๑ คน โดย แบ่งเป็นผู้น�ำชุมชน แกนน�ำสุขภาพ (อสม.) จะลงพืน้ ทีช่ ่วยให้ความรู้และให้ค�ำแนะน�ำกับหญิงตัง้ ครรภ์ การได้รับวัคซีน การรับประทานยาและอาหารที่มีประโยชน์ การคัดกรองพัฒนาการเด็กในเบื้องต้น
116
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
การรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก เป็นต้น ผู้นำ� ชุมชนช่วยการคัดกรองเด็กยากจน เด็กที่สมควรได้รับ การช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ ๒) ทุนทางสังคมระดับกลุ่มทางสังคมและองค์กรชุมชน มีจำ� นวน ๗ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม อสม.หมู่ท่ี ๑ ช่วยดูแลเรื่อง อนามัยแม่และเด็ก กลุ่มสานตะกร้า หมู่ที่ ๒ กลุ่มพวงหรีด หมู่ที่ ๓ กลุ่ม สตรีแม่บ้าน หมู่ท่ี ๔ ให้ความรู้พร้อมสาธิต เพื่อเป็นอาชีพเสริมรายได้ให้กับแม่ตั้งครรภ์หรือผู้ปกครอง ที่ต้องเลี้ยงลูกอยู่กบั บ้าน กลุ่มออมทรัพย์ หมู่ที่ ๕ กองทุนฌาปนกิจหมู่ที่ ๖ และหมู่ที่ ๘ ให้ทุนการ ศึกษาส�ำหรับเด็กทีย่ ากจนและเป็นสวัสดิการในการช่วยเหลือกันของสมาชิกในกลุ่มซึง่ เด็กปฐมวัยเป็น สมาชิกด้วย ๓) ทุนทางสังคมระดับหมู่บ้านหรือชุมชน มีจ�ำนวน ๖ กลุ่ม ได้แก่ กองทุนหมู่บ้านหมู่ที่ ๑ หมู่ ๓ หมู่ที่ ๔ หมู่ที่ ๖ หมู่ที่ ๗ และหมู่ที่ ๘ เป็นแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต�ำ่ ในการกู้ยืมเงินเพื่อประกอบ อาชีพให้กบั ผู้ปกครองของเด็กและให้ทุนการศึกษาส�ำหรับเด็กที่ยากจน รวมถึงสวัสดิการเพื่อดูแลเมื่อ ยามเจ็บป่วยเข้าโรงพยาบาล ๔) ทุนทางหน่วยงานและแหล่งประโยชน์ มีจ�ำนวน ๘ แหล่ง ได้แก่ โรงเรียนบ้านท่า หนองปากพาน หมู่ที่ ๑ โรงเรียนวัดหินลาด หมู่ที่ ๒ เป็นแหล่งเรียนรู้ในระบบของเด็กปฐมวัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจ�ำต�ำบลหินลาด ดูแลสุขภาพอามัยแม่และเด็ก และการจัดการเฝ้า ระวังรักษาและป้องกันโรคที่เกิดบ่อยในเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนต�ำบลหินลาด ให้ ความรู้และพัฒนาการด้านเด็กปฐมวัย องค์การบริหารส่วนต�ำบลหินลาด จัดให้มีการให้บริการดูแล รักษาสุขภาพและการป้องกันโรคของเด็กปฐมวัย ๐-๕ ปี ลานกีฬาและสนามเด็กเล่นช่วยส่งเสริม พัฒนาการเด็กในด้านร่างกายพัฒนากล้ามเนื้อ การป้องกันโรคโดยการท�ำให้ร่างกายแข็งแรง หมู่ที่ ๓ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านท่าขอนเบน หมูท่ ี่ ๘ เป็นแหล่งดูแลสุขภาพอามัยแม่และเด็ก และ การจัดการเฝ้าระวังรักษาและป้องกันโรคที่เกิดบ่อยในเด็ก ๓.๒ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการรอง ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการรองในต�ำบลหินลาด มีดังนี้ ๑) ทุนทางสังคมระดับบุคคลและครอบครัว แบ่งออกเป็น กลุ่มปราชญ์ชาวบ้าน มีจำ� นวน ๑๕ คน สอนการสานชะลอม การสานตะเข่ง การสานหมวก การนวดแผนไทย เพื่อเป็นการอนุรักษ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้เด็กๆ ได้สนุกสนานและมีกิจกรรมที่หลากหลายในการเรียนรู้ กลุ่มปราชญ์ ชาวบ้าน ให้ความรู้และสาธิต การสอนการสานตะกร้า การให้ความรู้ในการท�ำขนมไทย การสอน วิธีการท�ำบายศรี เพื่อให้ผู้ปกครองที่ไม่สามารถออกไปท�ำงานนอกบ้านได้ เช่น กลุ่มแม่ตั้งครรภ์ กลุ่ม แม่หลังคลอด ได้มรี ายได้เสริม และสามารถดูแลบุตรได้อย่างเต็มที่
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
117
๒) ทุนทางสังคมระดับกลุม่ ทางสังคมและองค์กรชุมชน มีจำ� นวน ๔ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม ไม้ ผล หมูท่ ี่ ๑ กลุม่ บ่อตกปลา หมูท่ ี่ ๒ กลุม่ เลีย้ งไส้เดือน หมูท่ ี่ ๕ กลุม่ น�ำ้ พริกแม่บา้ น และกลุม่ หน่อไม้อดั ปีป๊ หมู่ท่ี ๙ เพื่อเป็นทางเลือกในการประกอบอาชีพเสริมของผู้ปกครองของเด็กปฐมวัย หลังจากว่าง จากการท�ำไร่ ท�ำนา ท�ำให้มีรายได้เพื่อน�ำไปดูแลบุตรหลานของตน ๓) ทุนทางสังคมระดับหมู่บ้านหรือชุมชน มีจำ� นวน ๑ กลุ่ม คือ กลุ่มไม้ผล หมู่ที่ ๗ คือ กลุม่ ทีเ่ ข้มแข็งสามารถก�ำหนดราคาของสินค้า คือมะม่วงนอกฤดูกาลได้ ท�ำให้ผปู้ กครองของเด็กปฐมวัย มีทางเลือกในการประกอบอาชีพเพิ่มมากขึ้น ๔) ทุนทางหน่วยงานและแหล่งประโยชน์ มีจ�ำนวน ๘ แหล่ง ได้แก่ น�ำ้ ตกเขื่อนยอ หมู่ที่ ๑ อ่างเก็บน�้ำ หมู่ที่ ๒ บึงทุ่งโขง และบึงไอ้หมาน หมู่ที่ ๓ ป่าชุมชนและสระน�้ำหนองไผ่ หมู่ท่ี ๙ เป็น แหล่งเรียนรูท้ างธรรมชาติ วัดหินลาดเป็นศูนย์รวมจิตใจของเด็กปฐมวัยและผูป้ กครอง กศน.ต�ำบลหินลาด หมู่ที่ ๕ เป็นแหล่งเรียนนอกระบบของผู้ปกครองของเด็กปฐมวัย
๔. วัตถุประสงค์ ๔.๑ เพื่อลดอัตราการเกิดโรคฟันผุของเด็กปฐมวัย ๐-๕ ปี ในพื้นที่ต�ำบลหินลาด ๔.๒ เพื่อเพิ่มทักษะ ความรู้ ในการดูแลเรื่องสุขภาพของเด็กปฐมวัย การประเมินพัฒนาการ เด็ก การเฝ้าระวังการเกิดโรค เช่น น�้ำหนักต�่ำกว่ามาตรฐาน น�้ำหนักเกินมาตรฐาน ฟันผุ ให้กับ อาสาสมัครสาธารณสุข ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และผู้ปกครองของเด็กปฐมวัย ๔.๓ เพื่อสร้างความร่วมมือในการป้องกันโรค มือ เท้า ปาก และโรคไข้เลือดออกที่เกิดกับ เด็กปฐมวัย ๐-๕ ปี ในพื้นที่ต�ำบลหินลาด
๕. วิธีการท�ำงาน ๕.๑ มีการส�ำรวจข้อมูลสุขภาพและโรคทีเ่ กิดขึน้ บ่อยในเด็กปฐมวัย โดย ทีม อสม.ในพืน้ ทีร่ ว่ ม กับเจ้าหน้าที่ของ รพ.สต.ทั้ง ๒ แห่ง ๕.๒ มีค�ำสั่งแต่งตั้งคณะท�ำงาน ประกอบด้วย บุคลากรของอบต.หินลาด ที่เกี่ยวข้องกับงาน จ�ำนวน ๙ คน แกนน�ำหมู่บ้าน จ�ำนวน ๙ คน อสม. ในพื้นที่ หมู่ละ ๑ คน เจ้าหน้าที่ รพ.สต. แห่งละ ๑ คนครูศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก จ�ำนวน ๒ คน ๕.๓ มีแผนงานของคณะท�ำงาน เพือ่ ก�ำหนดช่วงเวลาและกิจกรรมตัง้ แต่ การส�ำรวจเก็บข้อมูล การวางแผนการปฏิบัติงาน การลงมือปฏิบัตงิ าน การประเมินและสรุปผลการปฏิบัติงาน
118
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๕.๔ มีการประชุมคณะท�ำงาน เพื่อชี้แจงบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบของแต่ละกลุ่ม ใน การท�ำงานร่วมกัน มีการประชุมก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ๑ ครั้ง ระหว่างการท�ำงานอย่างน้อย ๒ ครั้ง เพื่อ ทบทวนปัญหาและอุปสรรค เพือ่ หาทางแก้ไขให้การปฏิบตั งิ านในพืน้ ทีบ่ รรลุตามวัตถุประสงค์ และหลัง การติดตามและประเมินผล ๑ ครั้ง เพื่อสรุปผลการปฏิบัติงาน ๕.๕ มีการบูรณาการการท�ำงานร่วมกับภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ คือ อบต. หินลาด รพ.สต.ทั้ง ๒ แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กอบต.หินลาด ภาคประชาชน แกนน�ำชุมชน (ก�ำนัน ผู้ใหญ่ บ้าน) แกนน�ำสุขภาพ (อสม.) ทุนทางสังคมต่าง ๆ เช่น ปราชญ์ชาวบ้าน กลุ่มจิตอาสา เป็นต้น ๕.๖ มีรายงานสรุปผลลัพธ์การด�ำเนินงานตามแผน เพือ่ รายงานกลับไปให้พนื้ ทีใ่ นแต่ละหมูบ่ า้ น ได้ทราบถึงปัญหาและการแก้ไขปัญหาของแต่ละพืน้ ทีเ่ ป็นอย่างไร มีผลส�ำเร็จอย่างไร เป็นการคืนข้อมูล กลับพื้นที่
๖. การเชื่อมโยงหรือส่งผลที่เอื้อต่อการท�ำงานกับกลุ่มงานและกิจกรรมอื่นๆ การเชือ่ มโยงการท�ำงานงานระหว่าง ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก อบต.หินลาด โดยผูด้ แู ลเด็กในศพด. อบต.หินลาด ส�ำหรับเด็กอายุ ๓-๕ ปี การคัดกรองโรคเบื้องต้นจาก ศพด.อบต.หินลาด ในช่วงที่มีการ ระบาดของโรค เช่น โรคมือ เท้า ปาก การป้องกันโรคโดยการตรวจสุขภาพของเด็กเบือ้ งต้น เช่น ความ สะอาดของ เล็บ ผม เป็นต้น เพือ่ เป็นการป้องกันไม่ให้โรคแพร่กระจาย รพ.สต.ต�ำบลหินลาดและรพ.สต. บ้านท่าขอนเบน มีการบริการในการให้วัคซีนในการป้องกันโรคทั้งคุณแม่ที่ตั้งครรภ์และเด็กแรกเกิด ถึง ๕ ปี การผดุงครรภ์ อนามัยแม่และเด็ก อาสาสมัครสาธารณสุข ในการส�ำรวจสุขภาพเด็กปฐมวัย ๐-๕ ปี การแนะน�ำคุณแม่ต้งั ครรภ์ และการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือกออก และทุนทางสังคมต่างๆ ใน ชุมชน เช่น ในการช่วยเหลือ การสร้างอาชีพให้กับพ่อแม่และผู้ปกครองของเด็กที่ประสบปัญหาเกิด ภาวะเจ็บป่วยหรือหารายได้ระหว่างที่ต้องดูแลเด็กเมื่ออยู่ที่บ้าน โดยมี อบต.หินลาด เป็นตัวเชื่อม ประสานและสนับสนุนงบประมาณ ในการขับเคลือ่ นการดูแลสุขภาพและและป้องกันโรคของเด็กปฐมวัย ๐-๕ ปี โดยชุมชนท้องถิ่น
๗. ผลผลิตและผลลัพธ์ ๗.๑ ผลต่อประชากรเป้าหมาย เด็กอายุ ๐-๕ ปีในพืน้ ทีไ่ ด้รบั การส�ำรวจสุขภาพและป้องกันโรค ผูป้ กครองมีความตืน่ ตัวในการ ตรวจสุขภาพและการป้องกันโรคที่เกิดกับบุตรหลานของตนเองเพิ่มมากขึ้น มีการเฝ้าระวังและการ
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
119
ป้องกันทีถ่ กู วิธี ท�ำให้บตุ รหลานของตนเจ็บป่วยน้อยลง มีภาวะโภชนาการทีส่ มวัยเกิดความร่วมมือกัน ท�ำงานในการตรวจสุขภาพและป้องกันโรค ระหว่าง อสม.ในพื้นที่ ศพด.อบต.หินลาด และ รพ.สต.ทั้ง ๒ แห่ง โดยมี อบต.หินลาดเป็นหน่วยงานเชื่อมประสานและสนับสนุนงบประมาณ ๗.๒ ผลต่อคุณภาพชีวิตของกลุ่มประชากร ๕ มิติ ๑) ด้านสังคม เกิดการรวมกลุ่มของ ผู้ปกครองมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในการรักษา การเฝ้า ระวังการเกิดโรค มีการสร้างเครือข่ายระหว่างครู ศพด.อบต.หินลาด กับผูป้ กครองและทีมบุคลากรด้าน สุขภาพที่ รพ.สต.ทั้ง ๒ แห่ง โดยการตั้งกลุ่มไลน์ เพื่อให้ปรึกษาพูดคุยกันในการดูแลสุขภาพ และการ ป้องกันโรคเช่น ช่วงระบาดของโรค มือ เท้า ปาก สร้างความเข้าใจให้ผู้ปกครองว่าท�ำไมไม่ให้เด็กมา เรียน ความรุนแรงของโรคอยู่ในระดับใด ครูศพด.จะช่วยรายงานการเจ็บป่วยของเด็กระหว่างที่อยู่ใน ความดูแลของ ศพด. ๒) ด้านเศรษฐกิจ กองทุนสวัสดิการมีการจัดสวัสดิการให้กรณีที่สมาชิกเจ็บป่วย และกลุ่ม อาชีพมีการให้ความรูก้ บั ผูป้ กครองหรือคุณแม่ตงั้ ครรภ์ ทีต่ อ้ งอยูก่ บั บ้านให้มรี ายได้เพิม่ ขึน้ จากทุนทาง สังคมด้านบุคลหรือกลุ่ม ในเรือ่ งของอาชีพเสริม เช่น การท�ำพวงหรีด การสานตะกร้าการเลีย้ งไส้เดือน การท�ำน�้ำพริก เป็นต้น ๓) ด้านสภาวะแวดล้อม มีการจัดสภาวะแวดล้อมเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค รวมถึงเอือ้ ต่อการเรียนรูข้ องเด็กปฐมวัย ๐-๕ ปี ดังนี้ มีสนามเด็กเล่นกลางแจ้งทีพ่ นื้ สนามเป็นพืน้ หญ้า ญีป่ นุ่ และมีของเล่นให้เล่นในร่ม มีลานกีฬาท�ำให้เด็กมีความหลากหลายในการเล่น และมีการจัดสภาวะ ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.หินลาด ให้มีความสะอาด มีการติดตั้งปลั๊กไฟสูงขึ้นให้พ้นมือเด็กเพื่อ เป็นการป้องกันอันตรายที่จะเกิดกับเด็กและมีการท�ำความสะอาดของเล่นใน ศพด.อยู่สม�่ำเสมอเพื่อ เป็นการก�ำจัดเชือ้ โรคในเบือ้ งต้น มีการให้ผปู้ กครองได้ทำ� ของเล่นจากเศษวัสดุเหลือใช้ หรือการรีไซเคิล มาให้กับศพด.อบต.หินลาด คนละอย่างน้อย ๑ ชิ้น เช่น รถยนต์จากกล่องนม เครื่องให้จังหวะจากฝา น�้ำอัดลม เป็นต้น ๔) ด้านสุขภาพ เด็ก ๐-๕ ปี ได้รบั การดูแลเพือ่ ป้องกันโรคระบาดตามฤดูกาล และส่งเสริมสุข ภาพให้มีพัฒนาการตามวัย รวมถึงพ่อแม่ ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลบุตรหลานของ ตนเอง ท�ำให้สามารถเฝ้าระวังการเกิดโรค และดูแลเมื่อเจ็บป่วยได้อย่างถูกวิธี ๕) ด้านการเมืองการปกครอง มีการพัฒนากฎระเบียบแนวปฏิบตั เิ พือ่ หนุนเสริมการด�ำเนิน กิจกรรม เสริมความเข้มแข็งชุมชนท้องถิ่น เช่น การตั้งข้อบัญญัติท้องถิ่น แผนงบประมาณในการ สนับสนุนการดูแลเด็กปฐมวัย โดยมีส�ำนักปลัด อบต.หินลาด งานการศึกษาและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.หินลาด เป็นผู้ดำ� เนินการ
120
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๗.๓ ผลต่อทุนทางสังคมอื่นๆ ส่งผลต่อกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข มีความสนใจในการดูแลสุขภาพเด็กและป้องกันโรค ที่ เกิดกับเด็กปฐมวัย ๐-๕ ปี รวมทั้งกลุ่มอาชีพต่างๆ ในชุมชนต�ำบลหินลาด ได้ให้ความร่วมมือในการ ส่งเสริมอาชีพให้กับผู้ปกครองที่มีเด็กปฐมวัยในการดูแลและไม่สามารถออกไปท�ำงานนอกบ้านหรือ นอกพื้นที่ได้
๘. กลไก เครื่องมือในการด�ำเนินงาน ๘.๑ คณะกรรมการในการด�ำเนินงาน ประกอบด้วย บุคลากรของอบต.หินลาด ทีเ่ กีย่ วข้องกับ งาน จ�ำนวน ๙ คน แกนน�ำหมู่บ้าน จ�ำนวน ๙ คน อสม. ในพื้นที่ หมู่ละ ๑ คน เจ้าหน้าที่ รพ.สต. แห่งละ ๑ คนครูศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก จ�ำนวน ๒ คน ๘.๒ แผนงานในการด�ำเนินงานทีช่ ดั เจน เช่น การส�ำรวจลูกน�ำ้ ยุงลายในช่วงก่อนฤดูกาลระบาด ของโรคไข้เลือดออก เป็นต้น ๘.๓ ข้อมูล น�ำใช้TCNAP จาก อบต.หินลาด ข้อมูลการเจ็บป่วย จาก รพ.สต.ทั้ง ๒ แห่ง และ การจัดท�ำฐานข้อมูล เช่น ประวัติครอบครัว ประวัติการรับวัคซีน โรคประจ�ำตัวของเด็ก การแพ้อาการ การแพ้ยา เป็นต้น จากศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กอบต.หินลาด ๘.๔ คู่มือการปฏิบัติงานในการตรวจสุขภาพของเด็กปฐมวัย ๐-๕ ปีและการป้องกันโรคไข้ เลือดออก และโรคมือเท้าปาก
๙. ปัจจัยเงื่อนไข ๙.๑ คณะท�ำงานอย่างมีสว่ นร่วม เกิดจากภาคีเครือข่าย คือ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กอบต.หินลาด รพ.สต.ต�ำบลหินลาด และรพ.สต.บ้านท่าขอนเบน อาสาสมัครสาธารณสุข ทุนทางสังคมต่างๆ ในชุมชน โดยอบต.หินลาดมีหน้าทีใ่ นการประสานงานและเชือ่ มโยงความร่วมมือต่าง ๆ เพือ่ บูรณาการให้เกิดการ ดูแลสุขภาพเด็กและการป้องกันโรคทีเ่ กิดกับเด็กปฐมวัย ๐-๕ ปี ได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยลดอัตราการ เจ็บป่วยของเด็ก และเด็กมีภาวะโภชนาการที่สมวัย อาสาสมัครสาธารณสุขและ รพ.สต.ทั้ง ๒ แห่ง เป็นแกนน�ำในการดูแลเรื่องสุขภาพของเด็กปฐมวัย ๐-๕ ปี ในพื้นที่ต�ำบลหินลาด อบต.หินลาด ได้ ส่งเสริมศักยภาพในการเพิ่มความรู้ให้กับครูศพด.อบต.หินลาด ผู้ปกครอง โดยการอบรม
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
121
๙.๒ งาน มีแผนการด�ำเนินงาน มีแบบคัดกรองสุขภาพ ให้ อสม.ลงพื้นที่ในการคัดกรอง มีการจัดฝึกอบรมให้ความรู้ในการตรวจสุขภาพและการป้องกันโรคไข้เลือดออก โรคมือ เท้าปาก ใน เด็กปฐมวัย ๐-๕ ปี กับผู้ปกครอง แกนน�ำหมู่บ้าน แกนน�ำสุขภาพ และครูศพด. ๙.๓ ข้อมูล TCNAP ข้อมูลบัญชี๑ จาก รพ.สต.ทั้ง ๒ แห่ง และการจัดท�ำฐานข้อมูล เช่น ประวัติครอบครัว ประวัติการรับวัคซีน โรคประจ�ำตัวของเด็ก การแพ้อาการ การแพ้ยา เป็นต้น จาก ศูนย์พัฒนา เด็กเล็กอบต.หินลาด ๙.๔ ทุน ได้มาจากการจัดตั้งข้อบัญญัติจาก อบต.หินลาด เช่น การฉีดพ่นยุงเพื่อป้องกันการ แพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ได้รบั การช่วยเหลือจากกลุม่ ทุนทางสังคมต่างๆ การระดมแรง จากอสม. แกนน�ำชุมชน ผู้ปกครอง และครูศพด.
๑๐. ความเชื่อมโยงต่อ ๗ คุณลักษณะการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่น ๑๐.๑ การสร้างการเรียนรู้ การท�ำให้ชุมชนได้เห็นถึงความส�ำคัญของการส่งเสริมและป้องกันโรคในเด็กปฐมวัย โดยการ ให้ความรูผ้ า่ นอสม.ในการช่วยสือ่ ถึงประชาชนในพืน้ ที่ และการก�ำหนดเป้าหมายเพือ่ การดูแลเด็กปฐมวัย ได้แก่ การส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย การส่งเสริมศักยภาพการดูแลเด็กปฐมวัยของแม่และครอบครัว ของการส�ำรวจสุขภาพและการป้องกันโรคของเด็กปฐมวัย ๑๐.๒ การสร้างกลไกลการจัดการตนเอง การสร้างกลไกการบริหารจัดการตนเองในการดูแลเด็กปฐมวัยในทุกระดับ ตัง้ แต่ระดับครอบครัว เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันโรคไข้เลือดออก และโรค มือ เท้า ปากมีผู้น�ำชุมชน ผู้ใหญ่บ้าน ก�ำนัน เป็น ผู้คอยประสานงานระหว่างผู้ปกครองกับ รพ.สต.ทั้ง ๒ แห่ง หรือกับ ศพด. อบต.หินลาด ในการเข้าถึง ครอบครัวของเด็กปฐมวัย มีแกนน�ำและคณะกรรมการบริหารกลุ่มและองค์กรชุมชนต่างๆ เช่น กลุ่ม อสม. เพื่อการถ่ายทอดความรู้และฝึกทักษะทางด้านการดูแลเด็กปฐมวัยในการตรวจสุขภาพและการ ป้องกันโรคของเด็กปฐมวัย ๑๐.๓ การสร้างคนให้จัดการตนเอง การจัดการตนเองให้มีความรู้สึกเป็นเจ้าของทั้งนี้เพื่อเกิดกระบวนการ ที่ผลักดันและขับเคลื่อนให้ต้อง แก้ปัญหาการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรคที่เกิดในเด็กปฐมวัยในพื้นที่ มากกว่าการรอรับความ ช่วยเหลือจากผู้อื่น ต�ำบลหินลาดมีกระบวนการด�ำเนินงานโดยมีการพัฒนาศักยภาพของแม่และ
122
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ครอบครัว อาสาสมัครให้มคี วามเชีย่ วชาญในงานและกิจกรรมต่างๆ เพือ่ เป็นแกนน�ำในการด�ำเนินงาน มีการแต่งตั้งผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในการดูแลเด็กปฐมวัยให้เป็นผู้น�ำในการท�ำงาน เช่น ผู้เชี่ยวชาญใน การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การจัดท�ำของเล่นพื้นบ้านเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เป็นต้น ๑๐.๔ การสร้างการมีส่วนร่วม การสร้างการมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วน ทั้งอบต.หินลาด รพ.สต.ทั้ง ๒ แห่ง ครูศพด. อบต. หินลาด อสม. แกนน�ำชุมชนในร่วมมือกันดูแลสุขภาพและการป้องกันโรคของเด็กปฐมวัย โดยการ ร่วมคิด ร่วมท�ำ ร่วมรับประโยชน์ การร่วมท�ำกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและพัฒนาการดูแลเด็กปฐมวัย การ ผลักดันให้เกิดรูปแบบในการป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรค มือ เท้า ปาก พร้อมกันทั้งต�ำบล ๑๐.๕ การระดมทุนและทรัพยากร การระดมเงินและทรัพยากรในส�ำรวจสุขภาพและป้องกันโรคของเด็กปฐมวัย ในการระดมแรง จาก อสม. แกนน�ำชุมชน ในการการตรวจสุขภาพ ได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก อบต.หินลาด ใน การจัดโครงการการป้องกันโรคที่เกิดกับเด็กปฐมวัย และโครงการโรงเรียนพ่อแม่ ของ ศพด. อบต. หินลาด เพือ่ เป็นการให้ความรูแ้ ก่ผปู้ กครองในเรือ่ งการส�ำรวจสุขภาพและการป้องกันโรคของเด็กปฐมวัย ๑๐.๖ การมีข้อตกลง การจัดท�ำข้อตกลงกับภาคีเครือข่ายโดยมีเป้าหมายในการพัฒนาศักยภาพแม่และครอบครัว อาสาสมัครในการดูแลเด็กปฐมวัย ได้แก่ การส�ำรวจสุขภาพและการป้องกันโรค โดยเน้นการป้องกัน โรคไข้เลือดออกโรค มือ เท้า ปากและโรคระบาดตามฤดูกาล ๑๐.๗ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กรภาครัฐและหน่วยงานอื่นๆ หน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานต่างๆ ในพืน้ ที่ ต�ำบลหินลาด มีการจัดการความร่วมมือระหว่าง รพ.สต.หินลาด และรพ.สต.บ้านท่าขอนเบน โดยหน่วยงานดังกล่าวเข้ามาช่วยในการสนับสนุนการ ส�ำรวจสุขภาพและการห้องกันโรคที่เกิดกับเด็กปฐมวัยในพื้นที่ ได้แก่ การส�ำรวจสุขภาพเด็กปฐมวัย โครงการเกลือไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ การอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัคร ครูศพด.อบต.หินลาด และผู้ปกครอง ในเรื่องการส�ำรวจสุขภาพและการป้องกันโรคที่เกิดกับเด็กปฐมวัย
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
123
๑๑. การตอบสนองต่อตัวชี้วัด ๑๑.๑ กลุ่มเด็ก ๐-๓ ปี ๑) ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพ ตัวชี้วดั ที่ ๑ การฝึกอบรมผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก และอาสาสมัครในชุมชนอบต.หินลาดและรพ.สต.จัดการฝึกอบรมให้ความรู้ในการดูแลรักษาฟัน การ รับประทานอาหารทีม่ ปี ระโยชน์ การวัดพัฒนาการในด้านต่างๆ ของเด็กกับอสม.ครูศพด.อบต.หินลาด และผู้ปกครอง ตัวชี้วัดที่ ๓ เรื่อง กลุ่มเยี่ยมบ้านเครือข่ายดูแลช่วยเหลือ รพ.สต.และ อสม.ในพื้นที่ให้ ความรู้และการดูแลแม่ตงั้ ครรภ์ โดยออกเยีย่ มบ้านให้คำ� แนะน�ำในการดูแลสุขภาพในระหว่างตัง้ ครรภ์ ตัวชี้วัดที่ ๔ การร่วมกันจัดท�ำคู่มือการตรวจสุขภาพเด็ก ๐-๓ ๒) ชุดกิจกรรมที่ ๒ การพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก ๐-๓ ปี ตัวชี้วัดที่ ๙ เรื่อง ปรับ โครงสร้างอาคารสถานทีม่ กี ารติดตัง้ มุง้ ลวดเพือ่ ป้องกันยุงลายและแมลงทีจ่ ะกัดเด็กในระหว่างการเรียน การสอนรวมถึงการติดตัง้ ปลัก๊ ไฟให้สงู พ้นจากมือเด็ก ตัวชีว้ ดั ที่ ๑๓ เรือ่ ง การปรับสิง่ แวดล้อมในชุมชน มีลานกีฬาและสนามเด็กเล่นช่วยส่งเสริมพัฒนาการเด็กในด้านร่างกายพัฒนากล้ามเนื้อ ตัวชี้วัดที่ ๑๔ เรื่อง การท�ำความสะอาดร่างกาย การส่งเสริมพัฒนาการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.หินลาด ด�ำเนินการประเมินพัฒนาการของเด็กในความรับผิดชอบทั้งตรวจฟัน การสอนวิธีแปรงฟันให้ถูกวิธี ๓) ชุดกิจกรรมที่ ๓ การพัฒนาระบบบริการ ตัวชี้วัดที่ ๑๔ เรื่อง การส่งเสริมพัฒนาการ การเจริญเติบโตการกระตุ้นภาวะโภชนาการในเด็กที่น�้ำหนักต�่ำกว่าเกณฑ์ให้มีน�้ำหนักตามมาตรฐาน ตัวชี้วัดที่ ๑๕ มีการส�ำรวจสุขภาพของเด็กโดยอสม. ๔) ชุดกิจกรรมที่ ๖ การมีกฎระเบียบแนวปฏิบัติเพื่อหนุนเสริมการด�ำเนินกิจกรรมเสริม ความเข้มแข็งชุมชนท้องถิ่น ตัวชี้วัดที่ ๒๙ เรื่อง มีข้อบัญญัติท้องถิ่นเพื่อจัดสรรงบประมาณ อบต. หินลาดสนับสนุนงบประมาณโดยการจัดตั้งในข้อบัญญัติเพื่อจัดกิจกรรม การระดมแรงจากจิตอาสา ในพื้นที่ ๑๑.๒ กลุ่มเด็ก ๓-๕ ปี ๑) ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพ ตัวชี้วัดที่ ๑ เรื่อง การฝึกอบรมผู้ปกครองหรือผู้ดูแล เด็กและอาสาสมัครในชุมชนอบต.หินลาดและรพ.สต.จัดการฝึกอบรมให้ความรู้ในการดูแลรักษาฟัน การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ การวัดพัฒนาการในด้านต่างๆ ของเด็กกับอสม.ครูศพด.อบต.หิน ลาดและผูป้ กครอง ตัวชีว้ ดั ที่ ๕ เรือ่ ง การอบรมผูท้ เี่ กีย่ วข้องในการดูแลเด็กมีการร่วมกันจัดท�ำคูม่ อื การ ตรวจสุขภาพเด็ก ๓-๕ ปี ๒) ชุดกิจกรรมที่ ๒ การพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก ๓-๕ ปี ตัวชี้วัดที่ ๑๖ เรื่อง ปรับ โครงสร้างอาคารสถานทีม่ กี ารติดตัง้ มุง้ ลวดเพือ่ ป้องกันยุงลายและแมลงทีจ่ ะกัดเด็กในระหว่างการเรียน
124
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
การสอนรวมถึงการติดตัง้ ปลัก๊ ไฟให้สงู พ้นจากมือเด็ก ตัวชีว้ ดั ที่ ๑๘ เรือ่ ง การปรับสิง่ แวดล้อมในชุมชน มีลานกีฬาและสนามเด็กเล่นช่วยส่งเสริมพัฒนาการเด็กในด้านร่างกายพัฒนากล้ามเนื้อ ๓) ชุดกิจกรรมที่ ๓ การพัฒนาระบบบริการ ตัวชีว้ ดั ที่ ๓๔ เรือ่ ง การดูแลสุขภาพช่องปากและ ฟันการป้องกันโรคติดต่อศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.หินลาด ด�ำเนินการประเมินพัฒนาการของเด็กใน ความรับผิดชอบการดูแลสุขภาพช่องปาก รวมถึงการสอนวิธแี ปรงฟันให้ถกู วิธี มีการส�ำรวจสุขภาพของ เด็กโดยอสม. ตัวชีว้ ดั ที่ ๓๘ เรือ่ ง การป้องกันโรคระบาดและโรคติดต่อ การจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ สร้างพฤติกรรมอนามัยส�ำหรับเด็กศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก อบต.หินลาด ด�ำเนินการประเมินพัฒนาการของ เด็กในความรับผิดชอบ การสอนวิธกี ารล้างมือทีถ่ กู ต้อง ตัวชีว้ ดั ที่ ๓๙ เรือ่ ง การเตรียมอาหาร อุปกรณ์ และเครื่องมือในการเตรียมอาหารได้มาตรฐาน มีการคัดเลือกวัตถุดิบในการประกอบอาหารในศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก อบต.หินลาด การเตรียมอุปกรณ์และเครื่องมือในการเตรียมอาหารได้มาตรฐาน ๔) ชุดกิจกรรมที่ ๖ การมีกฎระเบียบแนวปฏิบัติเพื่อหนุนเสริมการด�ำเนินกิจกรรมเสริมความ เข้มแข็งชุมชนท้องถิ่น ตัวชี้วดั ที่ ๕๓ เรื่อง มีข้อบัญญัติท้องถิ่นเพื่อจัดสรรงบประมาณ อบต.หินลาด สนับสนุนงบประมาณโดยการจัดตั้งในข้อบัญญัติเพื่อจัดกิจกรรม และมีการระดมแรงจากจิตอาสาใน พื้นที่
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
125
126
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ภาพที่ ๑๓ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้านระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น ต�ำบลหินลาด อ�ำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก
ภาพที่ ๑๔ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น ต�ำบลหินลาด อ�ำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
127
ภาพที่ ๑๕ การส�ำรวจสุขภาพและป้องกันโรคของเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น ต�ำบลหินลาด อ�ำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก
128
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และเป็นพื้นที่สร้างสรรค์ส�ำหรับเด็กปฐมวัย องค์การบริหารส่วนต�ำบลเสม็ดใต้ อ�ำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา
๑. ที่มาหรือฐานคิดของการด�ำเนินกิจกรรม ในพื้นที่ต�ำบลเสม็ดใต้ มีทั้งหมด ๖ หมู่บ้าน มีประชากรทั้งหมด ๔,๘๓๙ คน แบ่งเป็นชาย ๒,๓๓๑ คน หญิง ๒,๕๐๘ คน จ�ำนวนครัวเรือน ๑,๖๖๓ ครัวเรือน มีประชากร อายุ ๐ - ๓ ปี จ�ำนวน ๒๒๔ คน ประชากร อายุ ๓ - ๕ ปี จ�ำนวน ๑๓๙ คน ประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม รับจ้าง ท�ำงานโรงงาน สภาพการอยู่อาศัยของเด็ก อายุ ๐ - ๕ ปี ต�ำบลเสม็ดใต้ อาศัยอยู่กับพ่อแม่ จ�ำนวน ๒๖๐ คน อาศัยกับปู่ย่าตายาย จ�ำนวน ๘๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๒.๘๗ อาศัยกับญาติ จ�ำนวน ๒๐ คน เด็กเข้าเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่ ร้อยละ ๙๐ เด็กเข้าเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก นอกพื้นที่ จ�ำนวน ๑๙ คน มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จ�ำนวน ๔ แห่ง ประกอบด้วย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านหนองโสน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดสนามช้าง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดเสม็ดใต้ และศูนย์พัฒนา เด็กเล็กวัดหัวสวน ซึ่งได้รับถ่ายโอนจากส�ำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ(สปช.) เมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๕ การด�ำเนินงานการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้และเป็นพื้นที่สร้างสรรค์ ส�ำหรับเด็กปฐมวัย ตามนโยบายและวิสัยทัศน์ของผู้บริหารองค์การรบริหารส่วนต�ำบลเสม็ดใต้ เป็น การมุ่งมั่นให้ประชาชน ทุกกลุ่ม ทุกเพศ ทุกวัย มีคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งการที่ทุกคนจะมีคุณภาพชีวิตดี จะต้องเสริมสร้างพัฒนาการตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาจนกระทั่งเข้าสู่วัยเด็ก การส่งเสริมให้มีการจัด สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ทั้งภายในชุมชนเป็นอีกปัจจัยหนึ่งในการส่งเสริมและพัฒนาระบบการ ดูแลเด็กปฐมวัย ในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการที่สมวัย สิ่งที่ส�ำคัญที่สุด คือ ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการจัดสิ่งแวดล้อม ที่จะช่วยกระตุ้นให้เด็ก มีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย เช่น การจัดมุมบล็อก บ่อทราย เครื่องเล่นสนาม และการจัดกิจกรรม ต่างๆ ที่จะพัฒนาเด็กในทุกๆ ด้าน ได้แก่ ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา โดยยึด
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
129
เด็กเป็นศูนย์กลาง เรียนรูจ้ ากประสบการณ์ตรง และฝึกให้เด็กเกิดความรูส้ กึ ทีจ่ ะช่วยจัดสภาพแวดล้อม ดูแลสภาพแวดล้อมให้เป็นระเบียบสวยงาม ถนอมดูแลและใช้สื่อวัสดุอุปกรณ์ เครื่องเล่นอย่างถูกวิธี ต�ำบลเสม็ดใต้ได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญในการเสริมสร้างพัฒนาการเด็กปฐมวัย ๐-๕ ปีทจี่ ะเติบโตเป็น พลเมืองที่ดีในสังคมประเทศชาติ ขึ้นอยู่กับการอบรมเลี้ยงดูเด็กในวัยปฐมวัย จึงได้ร่วมกันพัฒนาการ จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้และเป็นพื้นที่สร้างสรรค์ส� ำหรับเด็กปฐมวัย โดยเริ่มตั้งแต่ สภาพแวดล้อมในทางบ้าน สภาพแวดล้อมนอกบ้าน สภาพแวดล้อมทั้งภายในและนอกศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก ร่วมมือกับทุนทางสังคมทุกระดับที่มีอยู่ในพื้นที่ในการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้และ เป็นพื้นที่สร้างสรรค์ส�ำหรับเด็กปฐมวัย
๒. งานและกิจกรรม ๒.๑ ภาพรวมระบบการดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบล การจัดการดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบลเสม็ดใต้มีการจัดการดูแลดังนี้ ๑) ระบบการจัดสวัสดิการและการช่วยเหลือกัน มีงานและกิจกรรมที่ท�ำร่วมกับทุนทาง สังคม ได้แก่ การดูแลในยามปกติ กลุ่ม อสม. ออกตรวจเยี่ยมตามบ้านเพื่อให้การดูแลสุขภาพ มีการ ฝึกอบรมให้ความรูแ้ ก่ผปู้ กครองและผูด้ แู ลเด็กในการดูแลเด็ก มีการดูแลในยามฉุกเฉิน เช่น การบริการ รถพยาบาล๑๖๖๙ การดูแลยามภัยพิบัติ เช่น หน่วยกู้ชีพกู้ภัย ฝึกอบรมให้ความรู้วิธีปฏิบัติในการ ป้องกันอัคคีภัยและการจมน�้ำ การส่งเสริมศิลปะ วัฒนธรรม เช่น จัดท�ำข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ กองทุน ช่วยเหลือ เช่น กองทุนสวัสดิการชุมชนต�ำบลเสม็ดใต้ ฝึกการออมเงินวันละบาท ให้ทุนการศึกษา ๒) ระบบการพัฒนาศักยภาพ มีงานและกิจกรรม ได้แก่ การจัดท�ำหลักสูตรท้องถิน่ การจัดหา สือ่ ตามหลักสูตรปฐมวัย การจัดประสบการณ์การเรียนรูท้ เี่ หมาะสมกับวัยเด็กปฐมวัย การจัดสิง่ แวดล้อม ที่เหมาะสมตามวัย การจัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก การดูแลสุขภาพเบื้องต้น การดูแลสวัสดิการให้กับครอบครัวเด็กปฐมวัย เช่น กองทุนสวัสดิการชุมชนต�ำบลเสม็ดใต้ ๓) ระบบบริการสุขภาพและการส่งเสริมพัฒนาการมีงานและกิจกรรม ได้แก่ การดูแล เด็กสุขภาพของปฐมวัย เช่น กลุ่ม อสม. และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลเสม็ดใต้ ฝึกอบรมให้ ความรู้แก่ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กในการดูแลเด็ก มีการแพทย์พื้นบ้านเพื่อเป็นทางเลือกในการดูแล สุขภาพ เช่น การดูแลแม่หลังคลอดโดยการอยูไ่ ฟ การใช้ลกู ประคบ กลุม่ อาสา การรักษาพยาบาล เช่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลเสม็ดใต้ มีการเก็บรวมรวมข้อมูลด้านสุขภาพ ตรวจคัดกรอง รณรงค์ ป้องกัน รักษาพยาบาลและให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก
130
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๔) ระบบการพัฒนากฎ กติกา ระเบียบแนวปฏิบตั ิ มีงานและกิจกรรม มีการพัฒนากฎ กติกา ทีม่ าจากการมีสว่ นร่วมของคนชุมชน การบริหารจัดการในชุมชนมาจากการมีรว่ มของประชาชนในต�ำบล เช่น การจัดประชุมประชาคมแสดงความคิดเห็น เพื่อจัดท�ำแผนพัฒนาสามปีในการจัดการดูแล เด็กปฐมวัย ๕) ระบบเศรษฐกิจชุมชน มีงานและกิจกรรม ได้แก่ การจัดให้มีกลุ่มอาชีพ เช่น กลุ่มปุ๋ย หมักชีวภาพ มีผ้นู ำ� เป็นวิทยาการให้ความรู้การท�ำปุ๋ยหมักชีวภาพ มีการจ�ำหน่วยและแจกจ่าย กองทุน สนับสนุน เช่น กองทุนหมูบ่ า้ น กลุม่ ออมทรัพย์ตำ� บลเสม็ดใต้ เป็นแหล่งเงินทุนทีส่ นับสนุนและส่งเสริม อาชีพให้กับผู้ปกครองเด็กปฐมวัย มีกลุ่มเศรษฐกิจพอเพียง เช่น หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ฝึกอบรมให้ความรู้เรือ่ งผัก สวนครัวปลอดสาร โดยมีการเชือ่ มโยงกับกลุ่มท�ำปุ๋ยหมักชีวภาพ เพือ่ สร้าง รายได้ลดรายจ่ายให้กบั ครอบครัวเด็กปฐมวัย ๖) ระบบการพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก มีงานและกิจกรรม ได้แก่ การจัดการ เรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับครอบครัวเด็กปฐมวัย มีการส่งเสริมให้เด็กได้เรียนรู้เรื่องศาสนา และวัฒนธรรมของชุมชน มีการจัดการขยะ การจัดการน�้ำในชุมชน ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการจัดมุม เพื่อการเรียนรู้ส�ำหรับเด็ก เช่น การจัดมุมบล็อค มีบ่อทราย สนามเด็กเล่น สนามกีฬา ลานกิจกรรม สร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ๒.๒. ประเด็นเด่นของระบบการดูแลเด็กปฐมวัย ๑) การจัดการสิ่งแวดล้อมของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อให้เอื้อต่อการเรียนรู้ โดย การจัด สิ่งแวดล้อมภายในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ได้แก่ ๑) สิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมพัฒนาการ เช่น ในห้องเรียนจัด ให้มีมุมบทบาทสมมติ มุมบล๊อค มุมกลุ่มอาชีพ มุมการศึกษา บ่อทราย สนามเด็กเล่น จัดหาสื่อ วัสดุอุปกรณ์ ที่มีความปลอดภัยเหมาะสมกับเด็กปฐมวัย ๒) มีการบริหารจัดการภายในศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก ให้เป็นพื้นที่ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย เช่น การให้เด็กได้อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สะอาด ปลอดภัย โดยการจัดให้มีห้องอาหาร ห้องน�ำ้ ที่ถูกสุขลักษณะ มีห้องปฐมพยาบาลให้เด็กได้นอนพัก เมื่อเจ็บป่วยเพื่อเป็นการป้องกันการแพร่กระจายโรค ๓) การจัดการด้านอาหาร โดยการฝึกอบรมให้ ความรู้แก่ผู้ดูแลเด็กและผู้ประกอบอาหาร จัดเมนูอาหารที่มีประโยชน์ต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย การตรวจสุขภาพผู้ดแู ลเด็กและผู้ประกอบอาหาร อย่างน้อยปีละ ๑ ครัง้ จัดอาหารว่างเป็นขนมอาหาร ลดหวาน มัน เค็ม กิจกรรมลด ละ เลิกน�้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ เพือ่ ให้เด็กได้อยูใ่ นสิง่ แวดล้อมทีม่ กี าร จัดการอาหารที่ปลอดภัยมีคุณภาพเด็กปฐมวัยมีทักษะในการเลือกรับประทานอาหารที่ปลอดภัยและ มีประโยชน์ต่อสุขภาพ ๔) การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เด็กได้เรียนรู้เรื่องการรักษาความสะอาดของ สิ่งแวดล้อม เช่น การทิ้งขยะลงถัง การคัดแยกขยะ และกิจกรรมปลูกผักสวนครัว กิจกรรมการเล่น แล้วเก็บเข้าที่
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
131
๒) การจัดสิ่งแวดล้อมในชุมชนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กและเป็นพื้นที่สร้างสรรค์ เช่น การเข้าไปเรียนรู้เรื่องอาชีพของคนในชุมชน ผ่านกลุ่มทางสังคมในชุมชน โดยได้รับความร่วมมือ เป็นอย่างดีของกลุ่มทางสังคม เช่น กลุ่มปุ๋ยหมักชีวภาพ กลุ่มปลาส้มวังทอง กลุ่มปลาร้าบ้านหนองช�ำ กลุ่มแปรรูปเนื้อสัตว์วิสาหกิจชุมชนบ้านสนามช้าง กลุ่มผ้าบาติก กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้า ฟาร์มอุทัยวรรณ พันธุ์ปลา ฟาร์มเพาะเห็ดแม่ประเทืองชมรมผู้สูงอายุ การท�ำดอกไม้จัน การสานกระเป๋า ท�ำไม้กวาด ก้านมะพร้าว ท�ำปลาแดดเดียว นวดแผนไทย ให้เด็กได้เรียนรู้เรื่องการประกอบอาชีพของคนในชุมชน ๓) การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมการออมโดยความร่วมมือกับกลุ่มกองทุนต่างๆ เช่น กลุ่มออมทรัพย์ต�ำบลเสม็ดใต้ กองทุนสวัสดิการชุมชนต�ำบลเสม็ดใต้ ชมรมผู้สูงอายุ เป็นการ ฝึกทักษะในการออมเงินตั้งแต่วัยเด็ก ๔) การจัดสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการดูแลสุขภาพของเด็กปฐมวัย โดยการส่งเสริมการ ออกก�ำลังกาย เช่น การเต้นแอโรบิค ร�ำวงย้อนยุค เดินกะลา ยางยืดเปลี่ยนชีวิต การเล่นฮูล่าฮูป การ อบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพให้กับผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก จัดท�ำคู่มือแนวทางปฏิบัติการป้องกันโรค ติดต่อ โรคระบาดที่เกี่ยวกับเด็กปฐมวัย ๕) การจั ด สิ่ ง แวดล้ อ มที่ เ อื้ อ ต่ อ การเรี ย นรู ้ ใ นเรื่ อ งศาสนา ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม ภูมปิ ญ ั ญา โดยการส่งเสริมประเพณีทอ้ งถิน่ เช่น ประเพณีแห่พระ งานหล่อเทียนเข้าพรรษา ประเพณี ลอยกระทง การส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม เช่น การบวชเนกขัมมะ การเข้าค่ายธรรมะ จัดการเรียน ธรรมะจากพระสงฆ์ทกุ วันพุธ ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมสภาวัฒนธรรม เก็บรวบรวมข้อมูลทางศาสนา และวัฒนธรรม เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้ซึมซับ ประเพณีวัฒนธรรมต่างๆของชุมชน
๓. ทุนทางสังคม ๓.๑ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการหลัก ๑) องค์การบริหารส่วนต�ำบลเสม็ดใต้ ส่งเสริมและสนับสนุนงบประมาณในการด�ำเนินงาน การจัดพื้นที่สร้างสรรค์ สร้างสนามกีฬา สนามเด็กเล่น เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดเล็ก และกล้ามเนื้อมัดใหญ่ของเด็กปฐมวัย ๒) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีงานและกิจกรรม ได้แก่ จัดมุมบทบาทสมมติ มุมอาชีพ มุมบล๊อค บ่อทราย มุมการศึกษา มุมแต่งตัวจัดหาสื่อที่เหมาะสมกับวัย เพื่อส่งเสริมพัฒนาการกล้ามเนื้อเล็ก กล้ามเนือ้ ใหญ่ จัดประสบการณ์การเรียนรูท้ เี่ หมาะสมกับวัย ส่งเสริมสุขภาพ โดยการส่งเสริมไอคิว(IQ) อีคิว(EQ) ให้กับเด็กปฐมวัยจัดท�ำส่งเสริมสุขภาพ ได้แก่ กิจกรรมการรณรงค์การงดหวาน มัน เค็ม
132
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
อาหาร ขนมอ่อนหวาน การลดการกินขนมกรุบกรอบ การตรวจสุขภาพช่องปากและฟัน ส่งเสริมการ ตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็ก ๓) ชมรมผู้สูงอายุ มีงานและกิจกรรม ได้แก่ การเล่านิทาน การละเล่นพื้นบ้าน เช่น การ เดินกะลา ม้าก้านกล้วย ม่อนซ่อนผ้า รีรีข้าวสาร ๔) กลุม่ อสม. มีงานและกิจกรรม ได้แก่ ตรวจคัดกรองสุขภาพเบือ้ งต้นจัดสิง่ แวดล้อมภายนอก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อป้องกันโรคติดต่อส่งเสริมการออกก�ำลังกายการตรวจเยี่ยมบ้านทั้งเด็กที่ เจ็บป่วย พิการ และกลุ่มปกติแนะน�ำให้ค�ำปรึกษาในการดูแลเด็กปฐมวัยแก่ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก ๓.๒ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการรอง ๑) กลุ่มอผส. มีงานและกิจกรรม ได้แก่ แนะน�ำให้ค�ำปรึกษาในการดูแลเด็กปฐมวัยแก่ผู้ ปกครองและผู้ดูแลเด็ก ส่งเสริม ดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัย ๒) กลุม่ อปพร. มีงานและกิจกรรม ได้แก่ การจัดการจราจรดูแลความสงบและความปลอดภัย แก่เด็กปฐมวัย
๔. วัตถุประสงค์ ๑) เพือ่ ส่งเสริมให้มสี งิ่ แวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรู้และเป็นพืน้ ทีส่ ร้างสรรค์สำ� หรับเด็กปฐมวัย ๒) สร้างเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ สติปัญญา ๓) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของ ชุมชน หน่วยงาน กลุ่มทั้งในและนอกพื้นที่ในการพัฒนางาน และเสริมความเข้มแข็งให้ทนุ ทางสังคมในการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย
๕. วิธีการท�ำงาน ๕.๑ องค์การบริหารส่วนต�ำบลเสม็ดใต้ จัดประชุมประชาคม ผู้น�ำ แกนน�ำ กลุ่มองค์กร
ต่าง ๆ และบุคคลที่เกี่ยวข้องในการเสนองาน กิจกรรม เพื่อจัดท�ำข้อมูลในการสร้างเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัย ทั้ง ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ๕.๒ องค์การบริหารส่วนต�ำบลเสม็ดใต้ แต่งตัง้ คณะกรรมการการศึกษา คณะกรรมการบริหาร ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยมีหน้าที่และบทบาท ให้ค�ำแนะน�ำผู้บริหาร ให้การพิจารณาเห็นชอบในการ จัดท�ำแผนการศึกษาและแผนพัฒนาสามปี เพื่อสนับสนุนงบประมาณ ในการสร้างเสริมการพัฒนา
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
133
ระบบการดูแลเด็กปฐมวัย โดยการจัดสิง่ แวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรู้ และจัดพืน้ ทีส่ ร้างสรรค์ และมีการ ร่วมมือกับทุนทางสังคมทุกระดับในชุมชน ๕.๓ จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก ในการจัดกิจกรรมสร้างเสริมการพัฒนา ระบบการดูแลเด็กปฐมวัย ในการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้และจัดพื้นที่สร้างสรรค์ที่เหมาะสม กับเด็กปฐมวัย ๕.๔ ฝึกให้เด็กเกิดความรู้สึกที่จะช่วยจัดสภาพแวดล้อม ดูแลสภาพแวดล้อมให้เป็นระเบียบ สวยงาม ถนอมดูแลและใช้สอ่ื วัสดุอุปกรณ์ เครื่องเล่นอย่างถูกวิธี ๕.๕ การจัดกิจกรรมสร้างเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย โดยการร่วมมือกับทุนทางสังคมในพืน้ ที่ เพื่อสร้างเครือข่าย ๕.๖ ประเมินติดตามผลของการจัดกิจกรรมเป็นระยะ และมีการปรับปรุงกิจกรรมให้มีความ เหมาะสมกับบริบทของท้องถิ่น
๖. การเชื่อมโยงหรือส่งผลที่เอื้อต่อการท�ำงานกับกลุ่มงานและกิจกรรมอื่นๆ การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้และเป็นพื้นที่สร้างสรรค์ส�ำหรับเด็กปฐมวัย ของต�ำบล เสม็ดใต้ เป็นการเชือ่ งโยงและประสานการท�ำงานในทุกด้านของทุนทางสังคมทีม่ ใี นพืน้ ที่ เพือ่ การพัฒนา ระบบการดูแลเด็กปฐมวัย ส่งผลให้ผปู้ กครองและผูด้ แู ลเด็กเกิดความรูค้ วามเข้าใจในการจัดสิง่ แวดล้อม ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ส�ำหรับเด็กปฐมวัย ได้แก่ ชมรมผู้สูงอายุมีงานและกิจกรรม เช่น การเล่านิทาน การละเล่นพื้นบ้าน ปลูกผักสวนครัว ผลิตสื่อจากวัสดุท้องถิ่น การเรียนรู้ประสบการณ์ตรงจากแหล่ง เรียนรู้ ทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรูแ้ ละเพือ่ สร้างเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย เช่น กลุม่ ปุย๋ หมักชีวภาพ ศูนย์ ICT ศูนย์ กศน. ต�ำบลเสม็ดใต้ ศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิตชุมชนต�ำบลเสม็ดใต้ ฟาร์มเพาะเห็ด ฟาร์ม อุทัยวรรณพันธ์ปลา โบราณสถาน เช่น วัดหัวสวน วัดเสม็ดใต้ วัดสนามช้าง
๗. ผลผลิตและผลลัพธ์ ๗.๑ ผลต่อประชากรเป้าหมาย ผูป้ กครองและผูด้ แู ลเด็กมีความรูค้ วามเข้าใจในการจัดสิง่ แวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรูแ้ ละเป็น พื้นที่สร้างสรรค์ส�ำหรับเด็กปฐมวัย ๐-๕ ปี ท�ำให้การพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยดีขึ้น เด็กมี พัฒนาการที่ดีครบทั้ง ๔ ด้าน คือ ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา โดยการร่วมมือ กับทุนทางสังคมในพื้นที่
134
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๗.๓ ผลต่อคุณภาพชีวิตของกลุ่มประชากร ๕ มิติ ๑) ด้านสังคม มีการช่วยเหลือดูแลกัน ได้แก่ กองทุนสวัสดิการ ให้ทุนการศึกษา กลุ่ม ออมทรัพย์ต�ำบลเสม็ดใต้ อปพร. ต�ำรวจชุมชนต�ำบลเสม็ดใต้ กลุ่มผู้ใช้น�้ำ สภาองค์กรชุมชนต�ำบล เสม็ดใต้ ๒) ด้านเศรษฐกิจ ท�ำให้เกิดการจัดการเงินอย่างเป็นระบบ มีเงินทุนหมุนเวียนของกลุม่ องค์กร ทางการเงินทุกหมู่บ้าน มีสวัสดิการจากกองทุนที่มีการกู้ยืมเงินในการลงทุนประกอบอาชีพ ได้แก่ กองทุนหมู่บ้าน กลุ่มออมทรัพย์ต�ำบลเสม็ดใต้ กองทุนสวัสดิการ กลุ่ม SML ๓) ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม ท�ำให้มีการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยและเป็นพื้นที่สร้างสรรค์ส�ำหรับเด็กปฐมวัย เช่น สนามกีฬา สนามเด็กเล่น มุมบล็อค บ่อทราย ๔) ด้านสุขภาพ มีการเยีย่ มบ้าน ตรวจคัดกรองสุขภาพ ลดปัจจัยเสีย่ ง เช่น การรณรงค์ปอ้ งกัน โรคไข้เลือดออก โรคมือเท้าปาก การส่งเสริมการออกก�ำลังกายด้วยกิจกรรมการร�ำวงยุค การเต้น แอโรบิค การปัน่ จักรยาน การจัดการบริการรับ–ส่ง ๒๔ ชม. โดยรถพยาบาลฉุกเฉิน ๑๖๖๙ ของ อบต. เสม็ดใต้ ๕) ด้านการเมืองการปกครอง เกิดการด�ำเนินงานเพือ่ การจัดสิง่ แวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรู้ และเป็นพื้นที่สร้างสรรค์ส�ำหรับเด็กโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในชุมชน
๘. กลไก เครื่องมือในการด�ำเนินงาน ๘.๑ ต�ำบลเสม็ดใต้ มีแต่งตั้งคณะท�ำงานพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย ประกอบด้วย ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนต�ำบลเสม็ดใต้ สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนต�ำบล โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบลเสม็ดใต้ กลุม่ องค์กร ทุนทางสังคมและผูท้ เี่ กีย่ วข้องทีม่ าจากทุกภาคส่วนในชุมชน ๘. ๒ ต�ำบลเสม็ดใต้ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการการศึกษาองค์การบริหารส่วนต�ำบลเสม็ดใต้ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดท�ำแผนการศึกษา แผนพัฒนาสามปี เพื่อสนับสนุนงบประมาณในการจัด สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้และเป็นพื้นที่สร้างสรรค์ส�ำหรับเด็กปฐมวัย
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
135
๙. ปัจจัยเงื่อนไข ๙.๑ ต�ำบลเสม็ดใต้ มีผู้น�ำที่มีวิสัยทัศน์ ที่ให้ความส�ำคัญกับการส่งเสริมการพัฒนาระบบ การดูแลเด็กปฐมวัย โดยการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้และเป็นพื้นที่สร้างสรรค์ส� ำหรับ เด็กปฐมวัย เพื่อสร้างเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยทั้ง ๔ ด้าน คือ ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ร่วมกับทุนทางสังคมทุกระดับในพื้นที่ ๙.๒ คณะกรรมการต่างๆ ได้แก่ คณะกรรมการพัฒนาระบบเด็กปฐมวัย คณะกรรมการ การศึกษาองค์การบริหารส่วนต�ำบลเสม็ดใต้ คณะกรรมการบริหารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก คณะกรรมการ สภาวัฒนธรรม คณะกรรมการสภาเด็กและเยาวชน เป็นต้น มีความเข้มแข็งในการด�ำเนินงาน มีการ ประชุม ขับเคลื่อนการศึกษาปฐมวัย อย่างน้อยปีละ ๒ ครั้ง ๙.๓ มีการน�ำใช้ขอ้ มูลทุนทางสังคมในพืน้ ที่ โดยการท�ำงานในรูปแบบเครือข่าย ประสาน ความ ร่วมมือกับทุนทางสังคมในพื้นพื้นที่ในการด�ำเนินงานจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ๙.๔ มีการติดตาม วัดและประเมินผลการใช้สื่อ วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ให้มีความพร้อมใน การใช้งานและมีความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของเด็ก ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก เช็คความ ปลอดภัยของเครื่องเล่น
๑๐. ความเชื่อมโยงต่อ ๗ คุณลักษณะการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่น ๑๐.๑ การสร้างการเรียนรู้ปัญหาและความต้องการของชุมชน ต�ำบลเสม็ดใต้ ใช้ข้อมูลจาก RECAP และ TCNAP ในการวางแผนและจัดท�ำโครงการและกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาเด็กและครอบครัว ๑๐.๒ การสร้างกลไกการบริหารจัดการตนเองในทุกระดับ ต�ำบลเสม็ดใต้ มีการสร้างกลไก ในการบริหารจัดการในการดูแลเด็กปฐมวัยในทุกระดับ มีผนู้ �ำ เจรจาไกล่เกลีย่ กรณีมปี ญ ั หา กลุม่ อสม. ชมรมผูส้ งู อายุ กลุม่ อาสาสมัคร ศูนย์พฒ ั นาครอบครัว ท�ำหน้าทีใ่ นการเชือ่ มประสานการท�ำงานในการ ดูแล เด็กปฐมวัยในช่วงปกติ เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินมีการให้ความช่วยเหลือทั้งในและนอกต�ำบล ๑๐.๓ การจัด การตนเอง ต�ำ บลเสม็ดใต้ มีก ารพัฒ นาศัก ยภาพของแม่ แ ละครอบครัว อาสาสมัครให้มคี วามเชีย่ วชาญในงานและกิจกรรมต่างๆ มีการแต่งตัง้ ผูท้ มี่ คี วามเชีย่ วชาญในการดูแล เด็กปฐมวัย ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาพื้นบ้านในการเลี้ยงเด็ก ๑๐.๔ การสร้างการมีส่วนร่วม ในทุกมิตกิ ารดูแลเด็กปฐมวัยในชุมชน โดย การร่วมคิด ร่วม ท�ำงาน ร่วมรับประโยชน์ และร่วมปรับแนวทางในการด�ำเนินงาน เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อเด็กปฐมวัย เปิดโอกาสและสร้างกระบวนการให้ครอบครัว กลุ่มองค์กรชุมชน หน่วยงานภาครัฐในพื้นที่ มามี ส่วนร่วมในการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย เช่น การระดมความคิดเห็นผ่านเวทีประชาคม
136
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๑๐.๕ การระดมเงินและทรัพยากร เพือ่ เป็นทุนจัดสรรส�ำหรับการดูแลเด็กปฐมวัยและครอบครัว เช่น การจัดการกองทุนต่างๆ กลุม่ ออมทรัพย์ กองทุนหมูบ่ า้ นทุกหมูบ่ า้ นกองทุนแม่ของแผ่นดิน ซึง่ เป็น แหล่งเงินทุนส�ำหรับออมหรือกูย้ มื ในการประกอบอาชีพ และการจัดสวัสดิการการดูแลตัง้ แต่เกิดจนตาย ๑๐.๖ การมีข้อตกลงเป้าหมายเพื่อสร้างความยั่งยืน และสร้างความสัมพันธ์แนวราบ ต�ำบล เสม็ดใต้มีการจัดท�ำข้อตกลงทั้งในระดับบุคคลและครอบครัว ระดับกลุ่มและองค์กร ระดับหน่วยงาน ระดับหมู่บ้าน ระดับต�ำบล และระดับเครือข่าย มีการท�ำวิจัยชุมชนในการจัดการแก้ปัญหาในการดูแล เด็กปฐมวัยในพืน้ ที่ มีการเฝ้าระวังความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดขึน้ กับเด็กปฐมวัยเช่นการขับขีป่ ลอดภัยในชุมชน ๑๐.๗ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กร หน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานต่างๆ ได้แก่ โรงพยาบาลบางคล้า โรงพยาบาลพุทธโสธร มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ในการสนับสนุนการดูแล เด็กปฐมวัยในพื้นที่ โดยส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย โครงการเกลือไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ การอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครในการดูแลเด็กปฐมวัยและครอบครัว การส่งเสริมอาชีพ
๑๑. การตอบสนองต่อ ๖ ชุดกิจกรรมการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย โดยชุมชนท้องถิ่น ๑๑.๑ ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพ กลุ่มเด็ก ๐ – ๓ ปี ตัวชี้วัดที่ ๑ คือ ฝึกอบรมผู้ปกครอง/ผู้ดูแลให้ดูแลเด็ก ๐ - ๓ ปีได้ (๑)ฝึก ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลในครอบครัวเด็ก ๐ - ๓ ปี ให้เข้าใจ ความจ�ำเป็นของการสร้างเสริมภูมิคุมกันโรค การส่งเสริมการเรียนรู้พัฒนาการทางปัญญาและอารมณ์ เช่น ส่งเสริมการเรียน ส่งเสริมการเล่น เป็นต้น และให้การดูแลช่วยเหลือเมื่อพบความผิดปกติ เช่น พฤติกรรมและการเรียนรู้ผิดปกติ มีความ พิการทางสติปญ ั ญา พิการด้านร่างกาย เพือ่ ให้การดูแลช่วยเหลืออย่างถูกต้อง เช่น การดูแลเรือ่ งอาหาร การกระตุ้นพัฒนาการ กล้ามเนื้อต่างๆ การประสานหน่วยงานที่จัดบริการเฉพาะด้าน เช่น ด้าน สวัสดิการ (๒) ฝึกอบรมอาสาสมัครในชุมชน เช่น อาสาสมัครสาธารณสุข เพื่อให้มีความรู้เข้าใจเรื่อง การประเมินและส่งเสริมพัฒนาการ การเจริญเติบโต การรับภูมคิ มุ้ กัน ให้การดูแลช่วยเหลือตามสภาพ ทั้งในภาวะปกติ เช่น การจัดกิจกรรมหรือกระตุ้นผู้ปกครอง ส่งเสริมพัฒนาการเด็กในครอบครัว และ ชุมชน กลุ่มที่มคี วามผิดปกติ พิการ เช่น การประเมินให้ความช่วยเหลือ การสนับสนุนให้ครอบครัว ให้การดูแลได้ กลุ่มเด็ก ๓ - ๕ ปี ตัวชี้วัดที่ ๑๐ คือ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการจัดหา/ผลิตสื่อและใช้ส่ือ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมพัฒนาการทุกด้านอย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับ หน่วยการเรียนรู้
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
137
๑๑.๒ ชุดกิจกรรมที่ ๒ การพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็กปฐมวัย กลุ่มเด็ก ๐ – ๓ ปี ตัวชี้วัดที่๙ คือ ปรับโครงสร้างอาคารสถานที่ และสิ่งแวดล้อมในสถานที่ ให้บริการส�ำหรับเด็ก ๐ - ๓ปี เช่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ให้เอื้อต่อการดูแลเด็ก ๐ – ๓ ปี เช่น ของเล่น เด็กที่มีมาตรฐาน ปลอดภัย ปลัก๊ ไฟ อุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดอันตราย อุปกรณ์หรือวัสดุที่ไม่ใส่สีที่เป็น อันตราย เลื่อนหลุดง่าย เป็นต้น กลุ่มเด็ก ๓ - ๕ ปี ตัวชี้วัดที่ ๑๒ คือ จัดบริการปรับบ้านและสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการ ด�ำเนินชีวิตของเด็ก ๓ - ๕ ปี เช่น การติดตั้งปลั๊กไฟที่สูงจากพื้นการจัดวางเครื่องใช้ไฟฟ้า ของมีคม เครื่องเล่นเด็กที่ได้มาตรฐานปลอดภัย เป็นต้น ๑๑.๓ ชุดกิจกรรมที่ ๓ การพัฒนาระบบบริการ กลุ่มเด็ก ๐ - ๓ ปี ตัวชี้วัดที่ ๑๕ คือ การให้การบริการอื่นๆ เช่น การให้คำ� ปรึกษาผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็กเรื่องสุขภาพอย่างน้อย ๑ ครั้งต่อปี การจัดบริการอาหารเฉพาะหรือตามความต้องการ รวมทั้งการดูแลเด็ก ๐ - ๓ ปี ทั้งเด็กป่วย พิการ และกลุ่มปกติ รวมทั้งการประเมินพัฒนาการที่บ้าน กลุม่ เด็ก ๓ - ๕ ปี ตัวชีว้ ดั ที่ ๓๗ คือ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กมีมาตรการและแนวทางในการป้องกัน โรคระบาดและโรคติดต่อมีการจัดกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพการเสริมสร้างพฤติกรรมอนามัยส�ำหรับ เด็ก ๑๑.๔ ชุดกิจกรรมที่ ๔ การจัดตั้งกองทุนหรือสวัสดิการช่วยเหลือ กลุ่มเด็ก ๐ - ๓ ปี ตัวชี้วัดที่ ๒๓ คือ ศูนย์พัฒนาครอบครัวร่วมกับแกนน�ำชุมชนและกลุ่มทาง สังคม เพิ่มช่องทางในการระดมทุนอื่นๆ เช่น การท�ำบุญกฐินผ้าป่า เป็นต้น เพื่อการดูแลเด็ก ๐ - ๓ ปี โดยเฉพาะกลุ่มที่เจ็บป่วย กลุ่มเด็ก ๓ - ๕ ปี ตัวชี้วัดที่ ๔๓ คือ ศูนย์พัฒนาครอบครัวร่วมกับแกนน�ำชุมชนและกลุ่มทาง สังคม จัดตัง้ กองทุนและสวัสดิการส�ำหรับเด็ก ๓ - ๕ปีดา้ นการดูแลสุขภาพการเพิม่ รายได้ให้ผปู้ กครอง ผู้ดูแลกลุ่มเด็กที่เจ็บป่วย พิการเช่น กองทุนสวัสดิการชุมชน สถาบันการเงินของชุมชนกองทุนสัจจะ ออมทรัพย์ ๑๑.๕ ชุดกิจกรรมที่ ๕ การพัฒนาและการน�ำใช้ข้อมูลในการส่งเสริมแก้ไข/จัดการ ปัญหาเด็ก กลุ ่ ม เด็ ก ๐-๓ ปี ตั ว ชี้ วั ด ที่ ๒๖ คื อ มี ก ารจั ด ท� ำ ระบบข้ อ มู ล โดยคนในชุ ม ชนและมี ส่วนร่วมของ ๖ กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ อปท. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาครอบครัว รพ.สต. อาสาสมัครและ ทุนทางสังคมต่างๆ ในชุมชนทุกฝ่ายตั้งแต่ขั้นตอนการเก็บการตรวจสอบความถูก
138
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ต้องการวิเคราะห์เพื่อ ใช้จดั การดูแลและประเมินผลการดูแลมีข้อมูลเด็ก ๐ - ๓ ปี ที่ครบถ้วน กลุ่มเด็ก ๓ - ๕ ปี ตัวชี้วัดที่ ๔๗ คือ มีการจัดท�ำระบบข้อมูลโดยคนในชุมชนและมีส่วนร่วม จากของ ๖ กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ อปท. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาครอบครัว รพ.สต. อาสาสมัครและทุนทางสังคมต่างๆ ในชุมชนทุกฝ่ายตั้งแต่ข้ันตอนการเก็บการตรวจสอบความถูก ต้องการวิเคราะห์เพือ่ ใช้จดั การดูแลและประเมินผลการดูแลมีขอ้ มูลเด็ก ๓ – ๕ ปี ทีค่ รบถ้วน ครอบคลุม เพื่อใช้จัดบริการผิดปกติด้านพัฒนาการ ข้อมูลการเกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ข้อมูลโรคระบาด เช่น ไข้เลือดออก มือเท้าปาก การเพิ่มขึ้นของอาสาสมัครเป็นต้น ๑๑.๖ ชุดกิจกรรมที่ ๖ การพัฒนากฎ กติกา ระเบียบแนวทางปฏิบัติเพื่อหนุนเสริม การด�ำเนินกิจกรรมเสริมความเข้มแข็งชุมชนท้องถิ่น กลุ่มเด็ก ๐ - ๓ ปี ตัวชี้วัดที่ ๒๙ มีข้อบัญญัตทิ ้องถิ่นเพื่อจัดสรรงบประมาณในการสนับสนุน การดูแลเด็ก ๐-๓ปีที่ ทั้งเด็กป่วย พิการ และกลุ่มปกติ กลุ่มเด็ก ๓ – ๕ ปี ตัวชี้วดั ที่ ๕๓ มีข้อบัญญัติท้องถิ่นแผนการดูแลจัดสรรงบประมาณในการ สนับสนุนการดูแลเด็ก ๓-๕ ปีที่ครอบคลุมทั้งงานบริการกิจกรรมกองทุนสวัสดิการ
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
139
140
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ภาพที่ ๑๖ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้าน ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลเสม็ดใต้ อ�ำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา
ภาพรวม ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น ตำบลเสม็ดใต้ อำเภอบางคล้า จังหวัดแผนฉะเชิงเทรา
ภาพที่ ๑๗ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิน่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลเสม็ดใต้ อ�ำเภอบางคล้า จังหวัด ฉะเชิงเทรา
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
141
ภาพที่ ๑๘ การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้และเป็นพื้นที่สร้างสรรค์สำ� หรับเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลเสม็ดใต้ อ�ำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา
142
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และการเล่น
องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก อ�ำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
๑. ที่มาหรือฐานคิดของการด�ำเนินกิจกรรม ต�ำบลยางขี้นก มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จ�ำนวน ๕ แห่ง ได้แก่ (๑) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านยางขี้นก มีเด็กที่เข้ารับการดูแลที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจ�ำนวน ๓๙ คน มีครูผู้ให้การดูแล จ�ำนวน ๒ คน (๒) ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กบ้านผักแว่น มีเด็กทีเ่ ข้ารับการดูแลทีศ่ นู ย์พฒ ั นาเด็กเล็กจ�ำนวน ๘๐ คน มีครูผู้ให้การดูแล จ�ำนวน ๔ คน (๓) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านค�ำสมอ-หนองใหญ่ มีเด็กที่เข้ารับการ ดูแลที่ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กจ�ำนวน ๒๙ คน มีครูผู้ให้การดูแล จ�ำนวน ๒ คน (๔) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้าน โพนสิมมีเด็กที่เข้ารับการดูแลที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จ�ำนวน ๒๖ คน มีครูผู้ให้การดูแล จ�ำนวน ๒ คน (๔) ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดก่อน้อย มีเด็กที่เข้ารับการดูแลที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จ�ำนวน ๒๙ คน มีครูผู้ให้การดูแล จ�ำนวน ๒ คน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้ง ๕ แห่ง บริหารโดย คณะกรรมการพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จ�ำนวน ๔๕ คน โดยในการด�ำเนินงานจัดกิจกรรมเพื่อการ จัดการเรียนรู้เด็กปฐมวัย ด�ำเนินการตามหลักสูตรสถานศึกษาเด็กปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๔๖ ตาม สาระการเรียนรู้ ๔ สาระ ได้แก่ ๑) สาระเรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก ๒) สาระเรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัวเด็ก ๓) สาระเรื่องราวเกี่ยวกับธรรมชาติรอบตัวเด็ก ๔) สาระเรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลส�ำคัญ และสถานที่แวดล้อมเด็ก โดยจัดในรูปแบบการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ๖ กิจกรรมหลัก ได้แก่ ๑) กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ๒) กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ๓) กิจกรรมเสรี ๔) กิจกรรม สร้างสรรค์ ๕) กิจกรรมกลางแจ้ง ๖) กิจกรรมเกมการศึกษา โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาเด็กให้มี พัฒนาการที่เหมาะสมตามวัยให้ครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน คือ พัฒนาการทางด้านร่างกาย พัฒนาการ ทางด้านอารมณ์ จิตใจ พัฒนาการทางด้านสังคม และพัฒนาการทางด้านสติปัญญา ซึ่งการจัด กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ดังกล่าวยังไม่สามารถเข้าถึงการให้บริการหรือการพัฒนาระบบการศึกษา
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
143
เด็กปฐมวัยได้เท่าที่ควร และจากการการประมวลข้อมูลทุนและศักยภาพ และองค์ความรู้ที่เกิดจาก กระบวนการรวบรวมความรู้ การถอดบทเรียนการท�ำงานขององค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นกที่ได้ จากการศึกษาชุมชนด้วยกระบวนการวิจยั ชุมชนเชิงชาติพนั ธุว์ รรณนาแบบเร่งด่วน (RECAP)และการน�ำ ใช้ข้อมูลจากการจัดท�ำระบบข้อมูลต�ำบล (TCNAP)ในการเพิ่มศักยภาพการจัดการตนเองของชุมชนสู่ การพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิน่ โดยจัดท�ำเป็นแนวทางการจัดการเรียนรูภ้ ายใน พื้นที่ (หลักสูตรภายใน) โดยได้เชือ่ มโยงการจัดการเรียนรู้ร่วมกับทุนทางสังคมที่มใี นพืน้ ที่มาจัดท�ำเป็น หลักสูตรท้องถิ่นควบคู่กับหลักสูตรสถานศึกษา ภายใต้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่นเพื่อการ พัฒนาเด็กปฐมวัย
๒. งานและกิจกรรม ๒.๑ ภาพรวมระบบการดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบล ภาพรวมระบบการดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบลยางขีน้ ก ประกอบด้วย (๑) ระบบบริการสุขภาพ และการส่งเสริมพัฒนาการ มี งานและกิจกรรมที่ทำ� มีการทุนทางสังคมที่ร่วมด�ำเนินการ ได้แก่ การ ดูแลสุขภาพเด็กเบื้องต้น การรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขอนามัยแม่และเด็ก การส่งเสริมสุขภาพ โดยปราชญ์ชาวบ้านและหมอพืน้ บ้าน โดยทุนทางสังคมทีร่ ว่ มด�ำเนินการได้แก่ รพ.สต.ยางขีน้ ก รพ.สต. ผักแว่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นกทั้ง ๕ แห่งปราชญ์ชาวบ้าน ด้านสมุนไพร เป็นต้น (๒) ระบบการพัฒนาสภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรูข้ องเด็ก มีงานและกิจกรรม ที่ท�ำ การจัดพื้นที่สร้างสรรค์ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมุมส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้ปกครองใน รพ.สต.ยางขี้นก รพ.สต.ผักแว่น การจัดพื้นที่สีเขียว มุมน�้ำ มุมทราย ไม้ดอก ไม้ประดับ และการจัด วางและส�ำรวจเครื่องเล่นเด็กให้มีความปลอดภัย (๓) ระบบเศรษฐกิจชุมชน งานและกิจกรรมที่ทำ� คือการส่งเสริมอาชีพให้กับผู้ปกครองเด็ก สนับสนุนทุนการศึกษา และการแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต�ำ่ ในการกู ้ ยื ม ประกอบอาชี พ ของผู ้ ป กครอง (๔) ระบบการพั ฒ นากฎกติ ก า ระเบี ย บแนวปฏิ บั ติ งานกิจกรรมที่ท�ำคือ การมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นเพื่อประชาคมจัดท�ำแผน (๕) ระบบการ จัดสวัสดิการช่วยเหลือกัน งานและกิจกรรมที่ท�ำ มีการดูแลในยามปกติ เช่นสวัสดิการดูแลผู้สูงอายุ และผู้พิการ การบริหาจัดการต�ำบลแบบมีส่วนร่วม การดูแลในยามฉุกเฉิน งานและกิจกรรมที่ทำ� การ บรรเทาสาธารณภัย การกู้ชพี กู้ภัยและรักษาความสงบเรียบร้อยในชุมชน
144
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๒.๒ ประเด็นเด่นของระบบการดูแลเด็กปฐมวัย ของต�ำบลยางขี้นก ได้แก่ ๑) การจัดการเรียนรู้และการเล่น โดยงานและกิจกรรมจัดโดยการมีส่วนร่วมของทุนทาง สังคมทีม่ ใี นชุมชน โดยมีงานและกิจกรรมทีค่ รอบคลุมเด็กปฐมวัยในสองช่วงวัย คือ ๐-๓ ปี และ ๓-๕ ปี ซึง่ การจัดการเรียนรูแ้ ละการเล่นของเด็กในวัย๐-๓ ปี จัดเป็นศูนย์การเรียนรูใ้ ห้กบั พ่อ แม่และผูป้ กครอง เด็กรวมทั้งมีมุมเพื่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ให้เด็กเล็กได้เล่นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชน ต�ำบลยางขี้นก และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลผักแว่นภายใต้การมีส่วนร่วมของทุนทาง สังคมทีม่ ใี นชุมชนทีเ่ ข้ามามีบทบาทและส่วนร่วมประกอบด้วยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบล ยางขีน้ ก และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลผักแว่น โดยการร่วมมือของทุนทางสังคมในชุมชน ได้แก่ ครูผู้ดูแลเด็ก กลุ่ม อสม. รพ.สต.ยางขี้นก รพ.สต.ผักแว่น กลุ่มผู้สูงอายุ และปราชญ์ชาวบ้าน ส่วนการจัดการเรียนรู้และการเล่นส�ำหรับเด็กปฐมวัยอายุ ๓-๕ ปี นั้นจัดเป็นรูปแบบพื้นที่ สร้างสรรค์ในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก กิจกรรมการเล่นในพืน้ ทีม่ มุ ทราย การเล่นขายของด้วยอุปกรณ์จกั สาน และของเล่นภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ การท�ำกิจกรรมบทบาทสมมุตปิ ระกอบนิทานพืน้ บ้าน การเล่นประกอบ ของเล่นแบบพื้นบ้านอีสาน เช่น ล้อวิ่ง เดินกะลา ม้าก้านกล้วย การเล่นขายของด้วยตะกร้า กระบุง ไม้คาน การเล่นเลียนแบบการประกอบอาหารโดยใช้ของเล่นที่ท� ำจากภูมิปัญญาชาวบ้าน เช่น ครกและสากเล็ก เป็นต้น ตลอดจนการฝึกฟ้อนนกกาบบัวซึ่งเป็นวัฒนธรรมประจ�ำต�ำบลยางขี้นก โดยกิจกรรมการจัดการเรียนรู้และการเล่นเด็กปฐมวัย ๓-๕ ปี งานและกิจกรรมได้รับร่วมมือจาหลาย ภาคส่วน ซึง่ ประกอบด้วย ครูผดู้ แู ลเด็ก กลุม่ อสม. รพ.สต.ยางขีน้ ก รพ.สต.ผักแว่น กลุม่ ผูส้ งู อายุ และ ปราชญ์ชาวบ้าน นอกจากนั้นยังมีงานและกิจกรรมในด้านการพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการ เรียนรู้และพัฒนาเด็ก ๓-๕ ปี ต�ำบลยางขี้นก มีการพัฒนาการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ของเด็ก ๓-๕ ปี ได้แก่ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กมีการจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก โดยมีการ จัดพืน้ ทีส่ ร้างสรรค์ในการเล่น การออกก�ำลังกาย และการเรียนรู้ด้วยประสบการณ์ของเด็ก การจัดวาง เครือ่ งเล่นกลางแจ้ง การจัดวางผังสนามเด็กเล่นตลอดจนการตรวจสอบสภาพการใช้งานของเครือ่ งเล่น เด็กเพือ่ ความปลอดภัย มีการจัดสภาพแวดล้อมภายในโดยมีศนู ย์การเรียนรู้ มุมการละเล่นทีป่ ลอดภัย การจัดพื้นที่สีเขียวและมุมธรรมชาติ ให้เป็นสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กและส่งเสริม พัฒนาการเด็กปฐมวัยอย่างเหมาะสมกับวัยและการจัดกิจกรรมเพื่อการเรียนรู้และการเล่นของ เด็กปฐมวัย ได้แก่ (๑) กิจกรรมพื้นที่สร้างสรรค์เพื่อพัฒนากิจกรรมทางกาย ได้แก่ มุมทราย มุมน�ำ้ มุมเล่นขายของ มุมภูมิปัญญาท้องถิ่น (๒) กิจกรรมการพัฒนาศิลปะ วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น ได้แก่ การเล่นของเล่นภูมิปัญญาท้องถิ่น การผลิตสื่อสร้างสรรค์โดยกลุ่มผู้สูงอายุ (๓) กิจกรรมการ เล่านิทานในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กโดยผู้สูงอายุหรือปราชญ์ชาวบ้าน (๔) กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน โดย การให้เด็กได้ยืมหนังสือนิทานไปให้ผู้ปกครองอ่านและเล่าให้ฟังที่บ้านและกลับมาเล่านิทานที่ศูนย์
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
145
พัฒนาเด็กเล็กในตอนเช้า (๕) กิจกรรมการท�ำโยคะเด็กประกอบนิทานหรือเพลง (๖) กิจกรรมการศึกษา แหล่งเรียนรู้ในชุมชน และ๗) กิจกรรมการฝึกฟ้อนนกกาบบัว
๓. ทุนทางสังคม ๓.๑ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการหลัก ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการหลักเกี่ยวกับการดูแลและจัดการศึกษาเด็กปฐมวัย ได้แก่ ๑) องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขีน้ ก ส่งเสริมและสนับสนุนงบประมาณในการด�ำเนินงาน ๒) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลยางขี้นก สนับสนุนข้อมูลด้านสุขภาพ การ ส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการเด็ก ตลอดจนการมีส่วนร่วมในการวัดและประเมินผลพัฒนาการและ การเจริญเติบโตของเด็ก ๓) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลผักแว่น สนับสนุนข้อมูลด้านสุขภาพการส่ง เสริม สุขภาพและพัฒนาการเด็ก ตลอดจนการมีส่วนร่วมในการวัดและประเมินผล ๔) ครูผดู้ แู ลเด็ก บทบาทหน้าทีใ่ นการด�ำเนินงานและการมีสว่ นร่วมในการออกแบบงานและ กิจกรรมการจัดการเรียนรู้และการเล่น พร้อมทั้งร่วมด�ำเนินการวัดและการประเมินผลพัฒนาการเด็ก ๕) กลุ่ม อสม. ท�ำหน้าที่ในการรวบรวมข้อมูล ติดตาม ให้คำ� แนะน�ำและร่วมดูแลพร้อมทั้ง ส่งเสริมสุขภาพ ส่งเสริมและแก้ไขปัญหาพัฒนาการเด็ก ๖) ผูน้ ำ� ท้องถิน่ ด�ำเนินการตัดสินใจเกีย่ วกับสถานทีแ่ ละพืน้ ทีใ่ นการด�ำเนินงานและกิจกรรม การจัดการเรียนรู้และการเล่น ๗) กลุ่มผู้สูงอายุ เป็นผู้ร่วมด�ำเนินงานและกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ผลิตสื่อของเล่น ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ร่วมกระบวนการจัดกิจกรรมการเล่านิทานและท่องค�ำคล้องจองผญา อีสานโบราณ ๘) สภาวัฒนธรรมต�ำบลยางขี้นก มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่นด้วย การน�ำใช้ข้อมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรมและประเพณีอีสาน การร่วมออกแบบกิจกรรมและการส่งเสริมด้าน ข้อมูลวัฒนธรรมประจ�ำต�ำบลยางขี้นก
146
๓.๒ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการรอง ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการรอง ได้แก่ ๑) กองทุนหมู่บ้าน สนับสนุนทุนการศึกษาเด็ก ๒) กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ช่วยจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้และการเล่น ๓) กองทุน กข.คจ. สนับสนุนทุนการศึกษาเด็ก
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๔) วัดต่างๆ ในเขตต�ำบลยางขี้นก เป็นแหล่งศึกษาและเรียนรู้ ๕) ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต�ำบลยางขี้นก งานและกิจกรรมด้านการดูแล ความสงบเรียบร้อยและการบรรเทาสาธารณภัย
๔. วัตถุประสงค์ ๔.๑ เพื่อสร้างและพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย ของต�ำบลยางขี้นก ๔.๒ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาเด็กปฐมวัย ให้มีพัฒนาการที่ดีและเหมาะสมตามวัย ๔.๓ เพื่อพัฒนากิจกรรมการจัดการเรียนรู้และการเล่นของเด็กปฐมวัย ๔.๔ เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีการพัฒนาและทุนทางสังคมในท้องถิ่นในการพัฒนา ระบบการดูแลเด็กปฐมวัย
๕. วิธีการท�ำงาน ๕.๑ ครูผู้ดูแลเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก ทั้ง ๕ แห่ง
รวบรวมข้อมูลจากกระบวนการวิจยั ชุมชนเชิงชาติพนั ธุว์ รรณนาแบบเร่งด่วน (RECAP)เพือ่ ค้นหาศักยภาพ ของทุนทางสังคม ๕.๒ ร่วมกันวิเคราะห์ทุนทางสังคมและสถานะด้านสุขภาพและพัฒนาการเด็ก ๐-๓ ปีใน ชุมชน โดยน�ำจุดเด่นของทุนทางสังคมวิเคราะห์ร่วมกันเพื่อออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู้และ การเล่นที่ตอบสนองต่อการส่งเสริมพัฒนาการและการช่วยเหลือเด็กที่มีปัญหาทางด้านสุขภาพและ ภาวะเสี่ยงทางสังคม ๕.๓ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่น พร้อมทั้งแบบประเมินกิจกรรมและพัฒนาการ ของเด็ก โดยการประสานความร่วมมือระหว่างครูผู้ดูแลเด็ก กลุ่ม อสม. รพ.สต.ยางขี้นก รพ.สต. ผักแว่น กลุ่มผู้สูงอายุ และปราชญ์ชาวบ้าน ๕.๔ รูปแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู้และการเล่น มีงานและกิจกรรมที่แบ่งเป็นสองรูปแบบ ดังนี้ ๑) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่น เพื่อพัฒนาเด็กวัย ๐-๓ ปี โดยจัดที่โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลยางขี้นกและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลผักแว่น ๒) การจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ ละการเล่น เพือ่ พัฒนาเด็กวัย ๓-๕ ปี โดยการจัดพืน้ ทีส่ ร้างสรรค์ และการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมต่างๆที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้ง ๕ แห่ง ในเขตต�ำบลยางขี้นก
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
147
๕.๕ น�ำใช้กิจกรรมการจัดการเรียนรู้และการเล่นกับเด็กปฐมวัย ๐-๕ ปี ตามรูปแบบ ของกิจกรรมการจัดการเรียนรู้และการเล่น ในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลยางขี้นก และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลผักแว่น และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้ง ๕ แห่ง ขององค์การ บริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก ๕.๖ ประเมินผลการจัดการเรียนรู้และการเล่นและประเมินผลพัฒนาการเด็กปฐมวัย
๖. การเชื่อมโยงหรือส่งผลที่เอื้อต่อการท�ำงานกับกลุ่มงานและกิจกรรมอื่นๆ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่น ของเด็กปฐมวัย ของต�ำบลยางขี้นก เป็นการเชื่อมโยง
และประสานการท�ำงานในทุกด้านของทุนทางสังคมที่มีในชุมชน เพื่อการพัฒนาระบบการดูแลเด็ก ปฐมวัย ในชุมชนส่งผลให้ผู้ปกครองเกิดความรู้ความเข้าในหลักการเลี้ยงดูบุตรหลานภายใต้หลักการ ส่งเสริมพัฒนาการควบคู่การดูแลสุขภาพของเด็ก นอกจากนั้นงานและกิจกรรมที่ท�ำยังส่งผลให้เด็ก ปฐมวัย มีพฒ ั นาการและสุขภาพทีด่ ยี งิ่ ขึน้ ในทุกด้านรวมทัง้ การได้รบั การช่วยเหลือในกรณีเด็กทีม่ ภี าวะ เสีย่ งทางสังคมและปัญหาทางด้านสุขภาพ และเกิดความร่วมมือกันในการท�ำกิจกรรม ได้แก่ การผลิต สื่อภูมิปัญญาท้องถิ่น การจัดปรับปรุงสภาพแวดล้อมในศูนย์การเรียนรู้ของผู้ปกครองที่ รพ.สต.และ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยกลุ่มผู้สูงอายุและสภาวัฒนธรรมต�ำบลยางขี้นก การด�ำเนินการตามรูปแบบ กิจกรรมการเรียนรูแ้ ละการเล่นโดย ครูผดู้ แู ลเด็กและอสม. การประเมินกิจกรรมและประเมินพัฒนาการ และการเจริญเติบโตของเด็ก โดย รพ.สต. ครูผู้ดูแลเด็ก และอสม. และการสนับสนุนด้านงบประมาณ ในการด�ำเนินกิจกรรมการจัดการเรียนรูแ้ ละการเล่น โดยองค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขีน้ ก ภายใต้การ หนุนเสริมและสนับสนุนงานด้านวิชาการและการช่วยเหลือเด็กจากส�ำนักงานสาธารณสุขอ�ำเภอเขือ่ งใน และโรงพยาบาลเขื่องใน
๗. ผลผลิตและผลลัพธ์ ๗.๑ ผลต่อประชากรเป้าหมาย จากการจัดท�ำกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่น ของเด็กปฐมวัย ที่มุ่งหวังพัฒนาเด็กกลุ่ม เป้าหมายจ�ำนวน ๒๘๙ คน ของต�ำบลยางขีน้ ก และจากการประเมินผลกิจกรรมและประเมินผลพัฒนา การของเด็ก พบว่าพัฒนาการของเด็กมีการเปลี่ยนแปลงดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด เช่น มีน�้ำหนักและ ส่วนสูงเหมาะสมตามเกณฑ์ของช่วงวัย มีเด็กที่มีพัฒนาการที่ดีเยี่ยมเป็นจ�ำนวนเพิ่มมากขึ้นที่ต้อง ส่งเสริมให้ดียิ่งขึ้น และปัญหาทางด้านสุขภาพและการเจ็บป่วยของเด็กลดลง นอกจากนั้นยังพบว่า
148
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการและวิธีเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการเด็กอย่างถูก ต้องและเหมาะสมเป็นจ�ำนวนเพิม่ มากขึน้ ตลอดจนเด็กทีม่ ภี าวะเสีย่ งทางด้านสังคมได้รบั การช่วยเหลือ และแก้ไขปัญหาในระดับที่น่าพอใจจากทุนทางสังคมของชุมชนระดับหมู่บ้าน ระดับต�ำบลและระดับ เครือข่ายในการประสานงานการช่วยเหลืออย่างเป็นระบบ พบว่าภาวะสุขภาพจิตของกลุ่มผู้สูงอายุมี แนวโน้มมีสุขภาพจิตที่ดีเป็นจ�ำนวนมากเนื่องจากมีความสุข ไม่เหงาและมีความภูมิใจที่ได้ร่วมท�ำ กิจกรรมการจัดการเรียนรู้และการเล่นเพื่อการพัฒนาเด็กปฐมวัยในชุมชนต�ำบลยางขี้นก ๗.๒ ผลต่อคุณภาพชีวิตของกลุ่มประชากร ๕ มิติ ๑) ด้านสังคม จากการจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ ละการเล่น ส่งผลกระทบเด็กปฐมวัย ของต�ำบล ยางขีน้ กในด้านสังคม คือเด็กมีพฒ ั นาการทางด้านสังคมทีเ่ ป็นไปตามวัย สามารถปรับตัวเข้ากับเพือ่ น ได้ รูจ้ กั การช่วยเหลือเกือ้ กูลและแบ่งปัน มีมารยาททางสังคมตามวัยรูจ้ กั กฎกติกาทางสังคมมากยิง่ ขึน้ เช่น การไหว้สวัสดีทักทาย การรู้จักกล่าวค�ำขอบคุณเมื่อมีผู้หยิบยื่นสิ่งของหรือกล่าวค�ำชม ตลอดจน การกล่าวขอโทษเมื่อท�ำไม่ถูกต้อง นอกจากนั้นยังพบว่าเด็กมีความสัมมาคารวะ และความอ่อนน้อม มากยิ่งขึ้น ตลอดจนเด็กพิเศษและเด็กที่มีภาวะเสี่ยงทางสังคมได้รับการประสานการช่วยเหลือ ความสัมพันธ์และความอบอุ่นระหว่างเพื่อน ครู พ่อ แม่ ผู้ปกครองและกลุ่มผู้สูงอายุมีความสัมพันธ์ อันดีต่อกัน ตลอดจนการประสานความร่วมมือในการพัฒนาเด็กปฐมวัยในชุมชนต�ำบลยางขี้นก ระหว่างทุนทางสังคมในทุกระดับมีการร่วมมือและประสานการพัฒนาเป็นอย่างดี ๒) ด้านเศรษฐกิจ จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่น ส่งผลกระทบเด็กปฐมวัย ของต�ำบลยางขีน้ กด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ เด็กทีอ่ าศัยอยูใ่ นครอบครัวทีย่ ากจนได้รบั การส่งเสริมสนับสนุน ทุนการศึกษา หรือได้รบั การบริจาคเสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่ม และอุปกรณ์ในการเล่นและท�ำกิจกรรมต่างๆ และเด็กพิเศษ ได้รับการช่วยเหลือในเรื่องทุนการศึกษาและทุนช่วยเหลือในการส่งเสริมพัฒนาการ จึงเป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายของผู้ปกครองได้เป็นอย่างดี ๓) ด้านสภาวะแวดล้อม จากการจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ ละการเล่น ส่งผลกระทบเด็กปฐมวัย ของต�ำบลยางขี้นก ด้านสภาวะแวดล้อม ได้แก่ มีสภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย นอกจากนั้นยังส่งผลกระทบโดยตรงต่อการจัดสภาพแวดล้อมที่มีความปลอดภัยและเหมาะสมต่อ การจัดการเรียนรู้และการเล่นของเด็ก เช่น การจัดมุมพื้นที่สีเขียว มุมเล่นทราย มุมเล่นขายของที่จัด สภาพแวดล้อมให้เด็กได้เล่นของเล่นและสื่อภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เป็นการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมและ ประเพณีท้องถิ่นของพื้นที่ นอกจากนั้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่นยังส่งผลกระทบต่อการ จัดการเกี่ยวกับความปลอดภัยของเด็กปฐมวัย เนื่องจากการปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมทั้งที่บ้าน
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
149
ทีศ่ นู ย์พฒ ั นาเด็กเล็กและรพ.สต.ได้รบั การปรับปรุงให้มคี วามเหมาะสมในการจัดการเรียนรูแ้ ละการเล่น ด้วยความปลอดภัย ๔) ด้านสุขภาพ จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่น ส่งผลกระทบเด็กปฐมวัย ของต�ำบลยางขี้นกด้านสุขภาพ โดยเด็กมีพัฒนาการทางด้านร่างกาย น�ำ้ หนักและส่วนสูงเหมาะสม ตามเกณฑ์มาตรฐานก�ำหนด ภาวะโภชนาการเด็กตรงตามเกณฑ์มาตรฐาน และปัญหาการเจ็บป่วย ด้วยโรคติดต่อของเด็กปฐมวัย ของต�ำบลยางขี้นกลดลงอย่างเห็นได้ชัดจากข้อมูลทางสุขภาพของ รพ.สต.ยางขีน้ กและ รพ.สต. ผักแว่น เด็กพิเศษและเด็กทีม่ ภี าวะเสีย่ งด้วยโรคเรือ้ รังได้รบั การช่วยเหลือ ตลอดจนเกิดเครือข่ายในการช่วยเหลือเด็กทีม่ ภี าวะบกพร่องและเป็นเด็กพิเศษจากศูนย์การศึกษาพิเศษ เขต ๑๐ อุบลราชธานีและศูนย์การศึกษาพิเศษอ�ำเภอเขื่องใน นอกจากนั้นยังเกิดผลกระทบด้านการ จัดการข้อมูลทางด้านสุขภาพในการติดตามช่วยเหลือและส่งต่อทางการรักษาอย่างทันท่วงที ๕) ด้านการเมืองการปกครอง จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่น ส่งผลกระทบ เด็กปฐมวัย ของต�ำบลยางขี้นก การเมืองการปกครอง ส่งผลกระทบต่อเด็กปฐมวัยได้รับการส่งเสริม และพัฒนาการศึกษา และการสนับสนุนโดยหน่วยงานและองค์หลักคือองค์การบริหารส่วนต�ำบลยาง ขี้นก มีการจัดท�ำข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี แผนงานการสนับสนุนการจัดการศึกษา เด็กปฐมวัย แผนงานการจัดการพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อการดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบลยางขี้นก เป็นต้น ๗.๓ ผลต่อทุนทางสังคมอื่นๆ เกิดการเชือ่ มโยงระหว่างทุนทางสังคมในท้องถิน่ และส่งผลให้เกิดงานและกิจกรรมของทุนทาง สังคม เช่น การผลิตสื่อภูมิปัญญาท้องถิ่นส�ำหรับเด็กปฐมวัยของกลุ่มผู้สูงอายุ การฝึกฟ้อนนกกาบบัว โดยสภาวัฒนธรรมต�ำบลยางขีน้ ก การตรวจประเมินพัฒนาการและการตรวจสุขภาพโดย โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลยางขี้นก และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลผักแว่น โดยกลุ่ม อสม.เป็นต้น ซึ่งงานและกิจกรรมของทุนทางสังคมเหล่านี้ต่างส่งผลเชื่อมโยงซึ่งกันและกันในการ ส่งเสริมและพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยในชุมชน
๘. กลไก เครื่องมือในการด�ำเนินงาน ๘.๑ มีคณะท�ำงานเพือ่ วางแผนการด�ำเนินงานการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่น โดย ครู ผู้ดูแลเด็ก อสม. รพ.สต. กลุ่มผู้สูงอายุ สภาวัฒนธรรมต�ำบลยางขี้นก และองค์การบริหารส่วนต�ำบล ยางขี้นก
150
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๘.๒ มีการน�ำใช้ขอ้ มูลจาก หลักสูตรสถานศึกษา และระบบการดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบลยาง ขี้นก เพื่อวางแผนการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่น ๘.๓ มีคณะท�ำงานออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู้และการเล่น ๘.๔ มีการประสานงานและสร้างการมีสว่ นร่วมในการด�ำเนินงานระหว่างทุนทางสังคมในชุมชน เพื่อเตรียมการด�ำเนินงานและกิจกรรม ๘.๕ องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขีน้ ก หนุนเสริมเรือ่ งงบประมาณการด�ำเนินการจัดกิจกรรม การเรียนรูแ้ ละการเล่น และ รพ.สต.หนุนเสริมงานวิชาการทางด้านสุขภาพและพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ๘.๖ ประเมินผลกิจกรรมการจัดการเรียนรู้และการเล่น ๘.๗ ประเมินผลพัฒนาการและการเจริญเติบโตของเด็ก
๙. ปัจจัยเงื่อนไข ๑) ความร่วมมือและการประสานงานของทุนทางสังคมทั้งในส่วนของทุนบุคคล ทุนกลุ่มและ ทุนหน่วยงานและองค์กรที่มีในชุมชน ๒) ข้อมูลที่ชัดเจนและถูกต้องของทุนทางสังคมที่มีในชุมชน ๓) การสนับสนุนและการหนุนเสริมโดยหน่วยงานและองค์กรในชุมชนคือ องค์การบริหาร ส่วน ต�ำบลยางขี้นก ๔) การเชื่อมประสานงานระหว่างคณะท�ำงานและทุนทางสังคม
๑๐. ความเชื่อมโยงต่อ ๗ คุณลักษณะการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่น ๑๐.๑ การสร้างการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้และการเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย ๐-๕ ปี ของต�ำบลยางขี้นก มีงานและ กิจกรรมทีเ่ ป็นการสร้างการเรียนรูร้ ว่ มกัน โดยเด็กปฐมวัย ได้เรียนรูผ้ า่ นกิจกรรมและการเล่น กลุม่ บุคคล และทุนทางสังคมได้เรียนรู้การพัฒนาและส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยในชุมชน และหน่วยงาน และองค์กรหลักคือ องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก และทุนทางสังคมในชุมชนได้ร่วมสร้างกา รเรียนรู้ร่วมกันในการพัฒนาและการจัดการส่งเสริมการศึกษาเด็กปฐมวัย รวมทั้งร่วมสร้างการเรียนรู้ ปัญหาและความต้องการของชุมชน เพื่อน�ำข้อมูลดังกล่าวนั้นมาวิเคราะห์จดั ท�ำเป็นแผนพัฒนาชุมชน และข้อบัญญัติในทุกๆ ปีการสร้างกลไกการจัดการตนเอง
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
151
๑๐.๒ การสร้างคนให้จัดการตนเอง การจัดการเรียนรู้และการเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยของต�ำบลยางขี้นก ภายใต้การคิดและ การพัฒนาตนเอง ด้วยหลักการสร้างคนให้จดั การตนเอง โดยการวิเคราะห์ขอ้ มูลทุนทางสังคมทีไ่ ด้ เช่น ทุนบุคคลทีเ่ ด่นและเชีย่ วชาญในการท�ำของเล่น ทุนกลุม่ ผูส้ งู อายุในชุมชนทีม่ คี วามเด่นความเชีย่ วชาญ ในด้านวัฒนธรรมและประเพณี หรือกลุ่ม อสม.ที่มีความเชี่ยวชาญในการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการ เด็ก โดยใช้หลักการมีส่วนร่วมให้ทนุ ทางสังคมเหล่านีเ้ ข้ามามี ส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม การวางแผน และการประเมินผล ซึ่งจะส่งผลต่อการมามีส่วนร่วมในการจัดการตนเอง ๑๐.๓ การสร้างการมีส่วนร่วม การจัดการเรียนรู้และการเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยของต�ำบลยางขี้นก เน้นการสร้างการมี ส่วนร่วม โดยการประสานความร่วมมือ การประชุมเพือ่ ชีแ้ จงและร่วมรับฟังการเสนอความคิดเห็นและ ความต้องการในการพัฒนาเด็กของผู้ปกครองและทุนทางสังคม ตลอดจนการมีส่วนร่วมของทุนทาง สังคมในการเป็นผู้ร่วมในกระบวนการจัดกิจกรรม เป็นคณะกรรมการ คณะท�ำงานในการจัดกิจกรรม การเรียนรู้และการเล่น เป็นต้น ๑๐.๔ การระดมทุนและทรัพยากร ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่น ของเด็กปฐมวัยของต�ำบลยางขีน้ กได้มกี ารระดมทุน และทรัพยากรทางด้านบุคคลจากทุนทางสังคม และกลุ่มองค์กรต่างๆในชุมชนเข้ามีส่วนร่วมในการจัด กิจกรรม เช่น กลุ่มผู้สูงอายุผลิตสื่อสร้างสรรค์ และสื่อภูมิปัญญาท้องถิ่น การระดมทุนทางด้าน งบประมาณจากองค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นกในการจัดท�ำพื้นที่ และทรัพยากรทางธรรมชาติ และแหล่งศึกษาเรียนรู้ท่มี ีในชุมชน มาเป็นกิจกรรมหนึ่งในการจัดการเรียนรู้และการเล่น ๑๐.๕ การมีข้อตกลง การมีข้อตกลงในการจัดการเรียนรู้และการเล่นของเด็กปฐมวัยในต�ำบลยางขี้นกมีการสร้าง ข้อตกลงร่วมกันในการร่วมประชุมทุกเดือนระหว่าง องค์การบริหารส่วนต� ำบลยางขี้นก ครูผู้ดูแล เด็ก อสม. รพ.สต. และผู้ปกครองเด็ก เพื่อร่วมกันรับฟังการด�ำเนินงาน การติดตามผลพัฒนาการ เด็กปฐมวัย ตลอดจนการช่วยเหลือเด็กพิเศษ และร่วมกันประเมินผลการด�ำเนินกิจกรรมการจัดการ เรียนรู้และการเล่น ตลอดจนการสร้างระเบียบและข้อตกลงกันระหว่างทุนทางสังคมและผู้ปกครอง พร้อมทั้งคนในชุมชนได้ให้ความร่วมมือในการดูแลและบ�ำรุงรักษาพื้นที่และศูนย์การเรียนรู้ เช่น ลานกีฬา ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กและ รพ.สต. เป็นต้น
152
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๑๐.๖ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กรภาครัฐและหน่วยงานอื่นๆ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กร หน่วยงานภาครัฐ และหน่วยงานต่างๆ ในพืน้ ที่ ต�ำบล ยางขีน้ ก ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ ละการเล่น ได้รบั ความร่วมมือทางด้านการส่งเสริมงานวิชาการ ด้านสุขภาพจาก รพ.สต.ในชุมชน และโรงพยาบาลเขื่องใน ส�ำนักงานสาธารณสุขอ�ำเภอเขื่องใน และ การสนับสนุนและประสานงานด้านการจัดท�ำแผนป้องกันอัคคีภยั และแผนป้องกันเด็กจมน�ำ้ จากมูลนิธิ กู้ภัยอ�ำเภอเขื่องใน ตลอดจนการประสานความร่วมมือในการช่วยเหลือเด็กพิเศษจากศูนย์การศึกษา พิเศษอ�ำเภอเขื่องใน
๑๑. การตอบสนองต่องานและกิจกรรมตัวชี้วัด การจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ ละการเล่น ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขีน้ ก อ�ำเภอเขือ่ งใน จังหวัดอุบลราชธานี ตอบสนองต่องานและ ๖ ชุดกิจกรรมการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย และ ตัวชี้วัด ใน ๑๑.๑ เด็ก ๐-๓ ปี ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก ๐-๓ ปี ตัวชี้วัดที่ ๑๓.การปรับ สิ่งแวดล้อมในชุมชนเพื่อให้เกิดประโยชน์กับเด็กและครอบครัว เช่น การมีสนามเด็กเล่นในชุมชน การมีลานกิจกรรมที่ให้เด็กและครอบครัวมาท�ำกิจกรรมร่วมกัน เป็นต้น ชุดกิจกรรมที่ ๓ การพัฒนาระบบริการ ตัวชี้วัดที่ ๑๕.การให้การบริการอื่นๆ เช่น การให้คำ� ปรึกษาผู้ปกครอง และผู้ดูแลเด็กเรื่องสุขภาพอย่างน้อย ๑ ครั้งต่อปี การจัดบริการอาหารเฉพาะหรือ ตามความต้องการรวมทั้งการดูแลเด็ก๐-๓ปี ทั้งเด็กป่วย พิการ และกลุ่มปกติรวมทั้งการประเมิน พัฒนาการที่บ้าน ๑๑.๒ เด็ก ๓ -๕ ปี การจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ ละการเล่น ตอบสนองต่องานและกิจกรรมตัวชีว้ ดั การพัฒนาระบบ การดูแลเด็กปฐมวัยในกลุ่มเด็ก ๓-๕ ปีใน ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพ ตัวชีว้ ดั ที่ ๖.จัดท�ำหรือสนับสนุนให้มสี มุดประจ�ำตัวเด็ก ทีร่ ะบุประวัตกิ ารได้รบั วัคซีนทีจ่ ำ� เป็น ระดับพัฒนาการทัง้ ด้านร่ายกาย สติปญ ั ญาและอารมณ์ (IQ EQ) การฝึกใช้กล้ามเนื้อในเด็กการดูแลเรื่องฟันและช่องปาก ตัวชี้วัดที่ ๗.สนับสนุนให้มีการสร้างความรู้ ความเข้าใจกับครอบครัวให้ตระหนักถึงความส�ำคัญและการสร้างครอบครัวให้อบอุ่น เข้มแข็งเพื่อให้ เกิดสัมพันธภาพอันดีในครอบครัว ตัวชี้วัดที่ ๑๐.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการจัดหาผลิตสื่อและใช้สื่อใน
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
153
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพือ่ ส่งเสริมพัฒนาการทุกด้านอย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับหน่วย การเรียนรู้ ตัวชี้วัดที่ ๑๑.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีระบบการคัดกรองพัฒนาการตั้งแต่ก่อนรับเข้ามาที่ศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กและเมือ่ อยูใ่ นศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กมีการประเมินและการสังเกตพฤติกรรมของเด็กได้อย่าง ต่อเนื่อง อย่างน้อย ๒ ครั้งต่อปี ส�ำหรับเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้ามีการช่วยเหลือและกระตุ้นพัฒนาการ อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ตัวชี้วัดที่ ๑๒.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา เช่น การออกก�ำลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อมัดต่างๆ การท�ำกิจกรรมตามจังหวะดนตรี ฝึกการรับประทานอาหารที่เหมาะสม เป็นต้น ชุดกิจกรรมที่ ๒ การพัฒนาสภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อเด็ก ๓-๕ ขวบ ตัวชีว้ ดั ที่ ๑๖.ปรับโครงสร้าง อาคารสถานที่ และสิ่งแวดล้อมในสถานที่ให้บริการส�ำหรับเด็ก๓-๕ ปี ตัวชี้วัดที่ ๑๘. มีการปรั บสิ่งแวดล้อมในชุมชนเพื่อให้เกิดประโยชน์กับเด็กและครอบครัว ตัวชี้วัดที่ ๒๐.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมี การดูแลสภาพแวดล้อมภายในอาคารให้ถูกสุขลักษณะและเป็นระเบียบเรียบร้อย ตัวชี้วัดที่ ๒๑. ศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กมีการดูแลความปลอดภัยของพื้นที่ท้งั ภายในและภายนอกอาคาร ชุดกิจกรรมที่ ๓ การพัฒนาระบบบริการ ตัวชีว้ ดั ที่ ๒๗. การให้การบริการอืน่ ๆ เช่น ค�ำปรึกษา ผู้ปกครอง และผู้ดูแลเด็ก เรื่องสุขภาพอย่างน้อย ๑ ครั้งต่อปี ตัวชี้วัดที่ ๓๔.จัดบริการสุขภาพส�ำหรับ เด็ก ๓-๕ปี เช่น ตรวจร่างกายเด็กและดูแลให้เด็กมีน�้ำหนัก ส่วนสูง เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน การดูแลสุขภาพช่องปากและฟันการป้องกันโรคติดต่อ เป็นต้น ตัวชีว้ ดั ที่ ๓๕.การดูแลให้เด็กได้เล่นออก ก�ำลังกาย การดูแลให้เด็กนอนพักผ่อนกลางวันอย่างเพียงพอ (อย่างน้อย ๑-๒ ชั่วโมงต่อวัน) ตัวชี้วัดที่ ๓๖.การช่วยเหลือเมื่อมีปัญหาสุขภาพเฉียบพลันหรือเรื้อรัง หรือการช่วยเหลือเบื้องต้นในกรณีเด็ก เจ็บป่วย หรือได้รับอุบัติเหตุอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ชุดกิจกรรมที่ ๕ การพัฒนาและน�ำใช้ข้อมูลในการส่งเสริมแก้ไขจัดการปัญหาเด็ก ๓-๕ ปี ตัวชี้วัดที่ ๔๘. การจัดท�ำระบบฐานข้อมูลเด็ก ๓-๕ ปีที่ครบถ้วนครอบคลุมเพื่อใช้จัดบริการดูแล ชุดกิจกรรมที่ ๖ การพัฒนากฎกติการะเบียบแนวปฏิบัติเพื่อหนุนเสริมการด�ำเนินกิจกรรม เสริมความเข้มแข็งชุมชนท้องถิ่น ตัวชี้วดั ที่ ๕๓.มีข้อบัญญัติท้องถิ่น แผนการดูแลจัดสรรงบประมาณ ในการสนับสนุนการดูแลเด็ก ๓-๕ ปี ที่ครอบคลุมทั้งงานบริการกิจกรรมกองทุนสวัสดิการ เช่น ข้อบัญญัติท้องถิ่นส�ำหรับดูแลเด็ก ๓-๕ ปี แผนการดูแลเด็ก ๓-๕ ปีที่พิการ เป็นต้น
154
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
155
ภาพที่ ๑๙ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้านระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก อ�ำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
ภาพที่ ๒๐ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก อ�ำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
156
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ภาพที่ ๒๑ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก อ�ำเภอเขื่องใน จังหวัด อุบลราชธานี
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
157
การส่งเสริมพัฒนาการ
องค์การบริหารส่วนต�ำบลผาสิงห์ อ�ำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน
๑. ที่มาหรือฐานคิดของการด�ำเนินกิจกรรม จากสภาพสภาวะเศรษฐกิจในสังคมปัจจุบัน ท�ำให้ผู้คนในสังคมต้องออกไปประกอบอาชีพ ท�ำงานนอกบ้าน เพื่อหารายได้มาเลี้ยงครอบครัว ในครอบครัวที่มีบุตรอายุ ๐ – ๕ ปี ไม่มีผู้เลี้ยงดูทาง เลือกผู้ปกครองคือจะต้องน�ำเด็กไปฝากเลี้ยงตามสถานรับเลี้ยงเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก หรือให้อยู่กับ ปู่ ย่า ตา ยายเป็นผู้เลี้ยงดูอยู่ที่บ้าน เพื่อให้มีผู้ดูแลบุตรและสามารถออกไปท�ำงานนอกบ้าน จากข้อมูลทะเบียนราษฎร์ พ.ศ.๒๕๕๘ ต�ำบลผาสิงห์ มีประชากรทั้งหมด ๔,๗๕๑ คน แบ่ง เป็นชาย ๒,๓๗๘ คน และหญิง ๒,๓๗๓ คน จ�ำนวนหลังคาเรือนทั้งหมด ๒,๓๗๕ ครัวเรือน ประชากร อายุ ๐-๕ ปี มีจ�ำนวน ๑๒๗ คน ซึ่งเด็ก ๐ – ๕ ปี มีอาการเจ็บป่วยที่พบบ่อย คือ โรคทางเดินหายใจ จ�ำนวน ๑๐๒ คน โรคอุจาระร่วง จ�ำนวน ๑๗ คน โรคอีสุกอีใส จ�ำนวน ๕ คน โรคมือเท้าปาก จ�ำนวน ๒ คน มีน้�ำหนักต�่ำกว่าเกณฑ์ จ�ำนวน ๕ คน น�ำ้ หนักเกินเกณฑ์ จ�ำนวน ๓ คน ฟันน�ำ้ นมผุ จ�ำนวน ๕๓ คน และมีพัฒนาการล่าช้าจ�ำนวน ๑ คน องค์การบริหารส่วนต�ำบลผาสิงห์จึงได้ให้ความส�ำคัญในด้านการพัฒนาคน ด้วยมีความเชื่อ ว่าเด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่ส�ำคัญของชาติ ในหลายประเทศล้วนมุ่งเน้น การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งจะต้องเริ่มต้นจากเด็ก โดยเฉพาะในช่วงแรกเกิด – ๕ ปี ซึ่งเป็นช่วงที่ เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม เด็กในวัยนี้ถ้าจะได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม มีการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน และมีการ ส่ ง เสริ ม พั ฒ นาการที่ ดี ใ นแต่ ล ะด้ า น ก็ จ ะท�ำ ให้ เ ด็ ก นั้ น เติ บ โตเป็ น ผู ้ ใ หญ่ ที่ มี คุ ณ ภาพในอนาคต
158
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ซึง่ พัฒนาการเด็กเกิดจากการเปลีย่ นแปลงหลายด้านผสมผสานกัน โดยพัฒนาการทุกด้านไม่วา่ จะเป็น ด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม ล้วนมีความส�ำคัญและเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันหมด การศึกษาเป็นพื้นฐานในการสร้างและพัฒนาคนคนให้เป็นคนดี คนเก่ง เป็นคนที่มีคุณภาพ สามารถ ด�ำรงตนให้อยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างมีความสุข ดังวิสัยทัศน์ของต�ำบลผาสิงห์ว่า “ผาสิงห์เมืองน่าอยู่ มุ่งสู่ต�ำบลสวัสดิการ บริหารด้วยการมีส่วนร่วมน�ำ เลิศล�้ำการศึกษา น�ำพาชีวิตด้วยความพอเพียง หล่อเลี้ยงด้วยคุณธรรม น�ำหน้าด้านการบริการ สู่การบริการที่เป็นเลิศ”
๒. งานและกิจกรรม ๒.๑. ภาพรวมระบบการดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบลผาสิงห์ ในต�ำบลผาสิงห์ได้มรี ะบบการดูแลส่งเสริมสุขภาพเด็กในช่วงปฐมวัย โดยมีรพ.สต.ผาสิงห์เป็น หลักในการดูแลสุขภาพให้กับเด็กปฐมวัยในพื้นที่ และมีประสานความร่วมมือกับทุนทางสังคมในการ ส่งเสริมพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างรอบด้าน ประกอบด้วย ๑) การส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพการดูแลเด็กปฐมวัยของ ผู้ปกครอง อสม. ในการดูแล เด็กปฐมวัย การพัฒนาศักยภาพครูผ้ดู แู ลเด็กให้สามารถประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พฒ ั นา เด็กเล็ก ๒) การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพงานและกิจกรรมที่เป็นการจัดสภาพแวดล้อมที่ เอื้อต่อสุขภาพ ประกอบด้วย การปรับโครงสร้าง อาคารสถานที่ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้เป็นพื้นที่ ปลอดภัยส�ำหรับเด็ก จัดให้มีสนามเด็กเล่น ลานกิจกรรม ที่เอื้อต่อสุขภาพ ๓) การพัฒนาระบบบริการ งานและกิจกรรมที่เป็นการพัฒนา ระบบบริการประกอบด้วย จัด ประสบการณ์การเรียนรู้ จัดการบริการดูแลทางด้านร่างกาย จิตใจ การ ให้ค�ำปรึกษาผู้ปกครอง ผู้ดแู ล เด็กทีเ่ กีย่ วข้อง ให้การช่วยเหลือกรณีมอี บุ ตั เิ หตุฉกุ เฉิน โดยมีทนุ ทาง สังคมทีม่ าด�ำเนินงาน เช่น ศพด. อบต.ผาสิงห์ รพ.สต.ต.ผาสิงห์ อสม. กู้ชีพกู้ภยั ๔) การจัดตั้งกองทุนหรือสวัสดิการงานและกิจกรรมที่เป็นการจัดตั้ง กองทุนหรือสวัสดิการ ประกอบด้วย กองทุนสวัสดิการวันละบาทต�ำบลผาสิงห์ โดยมีทุนทางสังคมที่มา ด�ำเนินงาน เช่น แกนน�ำ ผู้น�ำชุมชนในต�ำบลผาสิงห์ ๕) การน�ำใช้ข้อมูล งานและกิจกรรมที่เป็นการน�ำใช้ข้อมูล ประกอบด้วย ข้อมูลจ�ำนวนเด็ก ข้อมูลด้านสุขภาพ ข้อมูลด้านทุนทางสังคม ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ ข้อมูล ด้านสิง่ แวดล้อม โดยมีการน�ำ ใช้ข้อมูล RECAP และ TCNAP
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
159
๖) จัดให้มีสมุดประจ�ำตัวเด็กที่ระบุประวัติการได้รับวัคซีนที่จ�ำเป็นระดับพัฒนาการทั้งด้าน ร่างกายสติปัญญาและอารมณ์(IQ EQ) การฝึกใช้กล้ามเนื้อในเด็กการดูแลเรื่องฟันและช่องปาก ๗) มีการจัดท�ำหลักสูตรที่ส่งเสริมการเรียนรู้ หลักสูตรการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยทั้ง ๔ ด้านคือ ร่างกาย จิตใจ- อารมณ์สังคม และสติปัญญา โดยใช้กิจกรรม ๖ หลักที่ครอบคลุม ๔ สาระ ให้สอดคล้องกับบริบทของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เช่น ส่งเสริมพัฒนาการด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ กล้ามเนือ้ มัดเล็กความคิดสร้างสรรค์ลกั ษณะนิสยั ให้เด็กได้แสดงอารมณ์และความรูส้ กึ ด้านศิลปะ ดนตรี ด้านคุณธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะทีด่ ที างสังคมเบือ้ งต้น เช่น ขยัน ประหยัด ซือ่ สัตย์ มีวนิ ยั สุภาพ สะอาด สามัคคี มีนำ�้ ใจรู้จักการรอคอยและรู้จกั การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ กติกาของห้องเรียนและ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๘) มีการจัดหา/ผลิตสื่อและใช้สื่อในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมพัฒนาการ ทุกด้านอย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ ๙) มีระบบการคัดกรองพัฒนาการตั้งแต่ก่อนรับเข้ามาที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเมื่ออยู่ใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการประเมินและการสังเกตพฤติกรรมของเด็กได้อย่างต่อเนื่อง อย่างน้อย ๒ ครั้ง ต่อปี ส�ำหรับเด็กทีม่ พี ฒ ั นาการล่าช้ามีระบบให้การช่วยเหลือและกระตุน้ พัฒนาการอย่างเป็นระบบและ ต่อเนื่อง ๒.๒. ประเด็นเด่นของระบบการดูแลเด็กปฐมวัย : การส่งเสริมพัฒนาการ จากการด�ำเนินการในด้านการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยในพื้นที่ต�ำบลผาสิงห์ที่ผ่านมา ทางอบต.ผาสิงห์ได้ให้ความส�ำคัญในด้านส่งเสริมสุขภาพเด็ก การส่งเสริมพัฒนาการ และได้มกี จิ กรรม การด�ำเนินการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ดังต่อไปนี้ ๑) ศักยภาพชุมชนด้านสุขภาพ มีกิจกรรมการดูแลเด็กปฐมวัย การพัฒนาศักยภาพครูผู้ ดูแลเด็กให้สามารถประเมินพัฒนาการของเด็กปรับพฤติกรรมเสีย่ งในเด็กและคัดกรองเด็กทีเ่ จ็บป่วย มี การตรวจสุขภาพเด็กเบือ้ งต้นสัปดาห์ละ ๑ ครัง้ มีหน่วยงานทีช่ ว่ ย เช่น อสม. ศูนย์พฒ ั นาสังคม OSCC (ศูนย์ช่วยเหลือสังคม) บ้านพักเด็ก ๒) สภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อสุขภาพ การปรับโครงสร้างอาคาร สถานที่ ของศูนย์พฒ ั นาเด็ก เล็กให้เป็นพื้นที่ปลอดภัยส�ำหรับเด็ก จัดให้มีสนามเด็กเล่น ลานกิจกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ เพื่อให้เด็ก ได้เข้าไปเล่นได้ออกก�ำลังกายเป็นการส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้มีพัฒนาการที่สมวัย ๓) พัฒนาระบบบริการ จัดประสบการณ์การเรียนรู้ จัดการบริการดูแลทางด้านร่างกาย จิตใจ การให้ค�ำปรึกษาผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็กที่เกี่ยวข้อง ให้การช่วยเหลือกรณีมีอุบัติเหตุฉุกเฉิน การประเมิน
160
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
พัฒนาการของเด็กทุกสัปดาห์ มีหน่วยงานเข้ามาหนุนเสริม เช่น รพ.สต.ผาสิงห์ อบต.ผาสิงห์ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๔) การเพิม่ ทักษะการเรียนรู้ นัง่ สมาธิกอ่ นเรียน การล้างมือก่อนและหลังรับประทานอาหาร การล้างมือหลังการเข้าห้องน�้ำ อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กในด้านการสังเกต ดูแลสุขภาพ แผนการประเมินพัฒนาทุก ๓ เดือนและมีการพัฒนาการเด็กทั้ง ๔ มิติ ร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา ๕) ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้สูงอายุสอนหลาน เช่น การสอนท�ำปลาตะเพียน การจักสานของ เล่น มีปราชญ์ชาวบ้านถ่ายทอดกิจกรรมพืน้ บ้าน การละเล่นพืน้ บ้าน เช่น กะลามะพร้าว ม้าก้านกล้วย มีกลุ่มที่เข้ามาให้ความรู้แก่เด็ก เช่น กลุ่มสร้างเสริมอาชีพผู้สูงอายุ กลุ่มจักสาน กลุ่มคนปั้น เป็นต้น
๓. ทุนทางสังคม ๓.๑ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการหลัก ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการหลักในการส่งเสริมพัฒนาการต�ำบลผาสิงห์ มีดังนี้ ๑) ระดับบุคคล ครอบครัวมีทุนทางสังคมที่ส่งผลกระทบทางตรงจ�ำนวน ๑๘๑ ทุน เป็นทุน ทางสังคมที่มีความเชี่ยวชาญด้านการดูแลสุขภาพ ด้านการดูแลผู้สูงอายุ ด้านการอาสานมแม่ ด้าน การดูแลผู้พกิ าร ๒) ระดับกลุ่มและองค์กรชุมชน มีกลุ่มและองค์กรชุมชน ที่ได้ด�ำเนินงานและกิจกรรมที่ กระทบด้านสุขภาพ รวม ๕ กลุ่ม เช่น กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มอาสาสมัครดูแลผู้สูง อายุ กลุม่ อาสาสมัครดูแลผูพ้ กิ าร และกลุม่ อาสานมแม่ นอกจากนีย้ งั มีกลุม่ ทางสังคมและองค์กรชุมชน ที่มีงานและกิจกรรมที่ส่งผลกระทบทางอ้อมต่อสุขภาพ เช่น กองทุนสวัสดิการชุมชน กลุ่มสัจจะออม ทรัพย์ กองทุนสวัสดิการวันละบาทต�ำบลผาสิงห์ ๓) ระดับหน่วยงาน มีหน่วยงานที่ดำ� เนินกิจกรรมที่กระทบด้านสุขภาพรวม ๔ แห่ง เป็นงาน ที่สร้างผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพทั้ง ๔ แห่ง คือ รพ.สต. อบต. โรงเรียน ศพด.ผาสิงห์ ๓.๒ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการรอง ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการรองในต�ำบลผาสิงห์ มีดังนี้ ๑) ระดับต�ำบลมีองค์กรชุมชนระดับต�ำบลมีการสร้างงานและกิจกรรมที่สร้างผลกระทบ ต่อสุขภาพ เช่น งานและกิจกรรมกระทบต่อสุขภาพโดยตรง เช่น อาสากู้ชีพ
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
161
๒) ระดับเครือข่าย มีงานและกิจกรรมที่ส่งผลกระทบต่อการดูแลสุขภาพของคนในเครือข่าย ร่วมกัน เช่น กองทุนสวัสดิการชุมชนต�ำบลผาสิงห์และกองทุนหลักประกัน
๔. วัตถุประสงค์ ๔.๑ เพือ่ ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยในพืน้ ทีม่ พี ฒ ั นาการทีส่ มวัยทัง้ ด้านร่างกาย สติปญ ั ญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม ๔.๒ เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
๕. วิธีการท�ำงาน ๕.๑ การส�ำรวจข้อมูลประชากรเด็กปฐมวัยและเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าไม่สมวัยในต�ำบล ผาสิงห์ โดยทีม อสม. ในพื้นที่ร่วมกับเจ้าหน้าที่ รพ.สต.ผาสิงห์ ๕.๒ มีคำ� สั่งแต่งตั้งคณะท�ำงาน ประกอบด้วย บุคลากรอบต.ผาสิงห์ ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับ งานเด็ก แกนน�ำหมูบ่ า้ น อสม. ในพืน้ ที่ เจ้าหน้าที่ รพ.สต. ครูศนู ย์พฒ ั นาเด็กเล็ก และตัวแทนผูป้ กครอง ร่วมเป็นคณะท�ำงาน ๕.๓ แผนงานของคณะท�ำงาน ก�ำหนดช่วงเวลาและกิจกรรมและกิจกรรมตั้งแต่การส�ำรวจ เก็บข้อมูล การวางแผนการปฏิบัติงาน การลงมือปฏิบัติงาน การประเมินและสรุปผลการปฏิบัติงาน ๕.๔ มีการออกแบบกิจกรรมในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เช่น กิจกรรมการออกก�ำลังกาย กิจกรรมเต้นแอโรบิก การประดิษฐ์ของเล่นจากภูมิปัญญาชาวบ้าน การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ พ่อแม่ ผู้ปกครองในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กตั้งแต่การเตรียมพ่อแม่ให้พร้อมในการมีบุตร เป็นต้น ๕.๕ การประชุมคณะท�ำงาน เพื่อชี้แจงบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบในการท�ำงานร่วมกัน มีการประชุมก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ๑ ครั้ง ระหว่างการท�ำงานอย่างน้อย ๒ ครั้ง เพื่อทบทวนปัญหาและ อุปสรรคร่วมหาทางแก้ไขให้การปฏิบัติงานในพื้นที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ และหลังการติดตามและ ประเมินผล ๑ ครั้ง เพื่อสรุปผลการปฏิบัติงาน ๕.๖ การบูรณาการการท�ำงานร่วมกับภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ คือ อบต.ผาสิงห์ รพ.สต. ผาสิงห์ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ภาคประชาชน แกนน�ำชุมชน (ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน) แกนน�ำสุขภาพ (อสม.) ทุนทางสังคมต่างๆ เช่น ปราชญ์ชาวบ้าน กลุ่มจิตอาสา เป็นต้น ๕.๗ รายงานสรุปผลลัพธ์การด�ำเนินงานตามแผน เพือ่ รายงานกลับไปให้พนื้ ทีใ่ นแต่ละหมูบ่ า้ น ได้ทราบถึงปัญหาและการแก้ไขของแต่ละพื้นที่เป็นอย่างไร มีผลส�ำเร็จอย่างไร
162
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๖. การเชื่อมโยงหรือส่งผลที่เอื้อต่อการท�ำงานกับกลุ่มงานและกิจกรรมอื่นๆ การเชือ่ มโยงการท�ำงานระหว่างศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก อบต.ผาสิงห์ รพ.สต.ผาสิงห์ และกลุม่ ทุน ทางสังคมต่างๆ ในพืน้ ที่ โดยครูผดู้ แู ลเด็กในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ได้ทำ� การตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก ที่เข้ารับการอบรมเลี้ยงดูในศูนย์ฯถ้าพบเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้ามีการส่งต่อให้ทางรพ.สต.ได้ร่วมแก้ไข ส�ำหรับเด็กที่อยู่ที่บ้านทางรพ.สต.จะเป็นผู้รับผิดชอบในการตรวจคัดกรองประเมินพัฒนาการ ในการ ด�ำเนินงานมีกลุ่มต่างๆ เช่น กลุ่มผู้ปกครองเด็กร่วมในการดูแลเด็ก กลุ่มกองทุนสวัสดิการในพื้นที่ สนับสนุนงบประมาณในการด�ำเนินการ เป็นต้น
๗. ผลผลิตและผลลัพธ์ ๗.๑ ผลต่อประชากรเป้าหมาย เด็กปฐมวัย จ�ำนวน ๑๒๗ คน ได้รบั การเลีย้ งดูสง่ เสริมพัฒนาการทัง้ ทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปญ ั ญา การมีจริยธรรมและการมีลกั ษณะนิสยั ทีด่ ี เจริญเติบโตอย่างมีคณ ุ ภาพครอบครัว ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สามารถเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการสร้าง ความสัมพันธ์ ระหว่างพ่อแม่ลูกให้มสี ่วนร่วมในการเรียนรู้และพัฒนาเด็กร่วมกัน ๗.๒ ผลต่อคุณภาพชีวิตของกลุ่มประชากร ๕ มิติ ๑) ด้านสังคม ผลต่อคุณภาพชีวติ ด้านสังคมในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย คือ สังคม มีส่วนร่วมในการดูแลบุตรหลานของคนในหมู่บ้าน ก่อให้เกิดความรัก ความสามัคคี การช่วยเหลือ เอื้ออาทรของคนในสังคม ๒) ด้านเศรษฐกิจ การมีกลุม่ อาชีพช่วยในการส่งเสริมอาชีพให้แก่พอ่ แม่ ผูป้ กครองเด็กท�ำให้ ผู้ปกครองเด็กสามารถออกไปประกอบอาชีพนอกบ้านได้อย่างเต็มที่ ท�ำให้ได้รับค่าจ้าง ค่าตอบแทนฯ มาเลี้ยงดูครอบครัว ตลอดจนประหยัดค่าใช้จ่ายในการดูแลบุตรหลานในด้านสุขภาพ การส่งเสริม พัฒนาการ รวมถึงเด็กได้เรียนรู้อาชีพของคนในพื้นที่จากปราชญ์ชาวบ้านและกลุ่มอาชีพที่เข้าร่วมใน การส่งเสริมพัฒนาการ ๓) ด้านสภาวะแวดล้อม ท�ำให้สภาวะแวดล้อมน่าอยู่ ท่ามกลางความรักความเข้าใจของ คนในพื้นที่ เด็กได้มีลานกีฬา ลานกิจกรรมเพื่อเล่นและมีกิจกรรมร่วมกับคนในชุมชน ๔) ด้านสุขภาพ เด็กปฐมวัยทุกคนในพื้นที่ต�ำบลผาสิงห์ ได้รับการดูแลให้มีสุขภาพแข็งแรง มีพัฒนาการสมวัยในกรณีท่ไี ด้มีพัฒนาการล่าช้าได้รับการดูแลส่งเสริมให้มีพัฒนาการตามวัย
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
163
๕) ด้านการเมืองการปกครอง การพัฒนากฎกติการะเบียบแนวปฏิบัติเพื่อหนุนเสริมการ ด�ำเนินกิจกรรมเสริมความเข้มแข็งชุมชนท้องถิ่น เช่น มีแผนพัฒนาสามปี ข้อบัญญัติงบประมาณราย จ่ายประจ�ำปี แผนชุมชน แผนพัฒนาการศึกษาสามปี แผนงบประมาณในการสนับสนุนการดูแลเด็ก ปฐมวัย ธรรมนูญสุขภาพเพื่อการดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัย โดยมีข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจ�ำปี แผนการดูแลจัดสรรงบประมาณในการสนับสนุนการดูแลเด็กปฐมวัย จัดให้มกี องทุนสวัสดิการ เพือ่ การดูแลเด็กปฐมวัย ธรรมนูญสุขภาพก�ำหนดการจัดระบบบริการเพือ่ ดูแลเด็กปฐมวัย เพือ่ การดูแล เด็กปฐมวัยในต�ำบลที่ครอบคลุม ๗.๓ ผลต่อทุนทางสังคมอื่นๆ การระดมเงินและทรัพยากรเพื่อเป็นทุน และจัดสรรการดูแลเด็กปฐมวัยและครอบครัว จากการที่ทุกหมู่บ้านจะมีการสร้างกองทุนสวัสดิการชุมชนวันละบาทต�ำบลผาสิงห์ กลุ่มออมทรัพย์ กองทุนหมูบ่ า้ นทุกหมูบ่ า้ น กองทุนแม่ของแผ่นดิน หมูท่ ี่ ๗ เพือ่ เป็นกลไก สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ ของครอบครัวเด็กปฐมวัย มีแหล่งเงินทุนเพื่อกู้ยืมในการประกอบอาชีพ ของครอบครัวเด็กปฐมวัย อย่างต่อเนื่อง ท�ำให้มีเงินทุนหมุนเวียนของชุมชนเพื่อการดูแลเด็กปฐมวัย ครอบครัวและชุมชน ถูกน�ำ มาใช้ในการท�ำเป็นทุนเพือ่ ต่อยอดและขยายงานในกลุม่ อาชีพเดิม และสร้างกลุม่ อาชีพใหม่ในครอบครัว เด็กปฐมวัย มีการจัดสวัสดิการเพือ่ การดูแลเด็กปฐมวัยและครอบครัว เช่น การจัดสวัสดิการดูแลตัง้ แต่ เกิดจนตาย การจัดสวัสดิการเงินทุนเพื่อประกอบอาชีพ การจัดสวัสดิการทางด้านการศึกษา เป็นการ เพิ่มศักยภาพให้กบั ครอบครัว แกนน�ำกลุ่มในการดูแลช่วยเหลือกัน
๘. กลไก เครื่องมือในการด�ำเนินงาน ๘.๑ เครื่องมือในการด�ำเนินงาน เช่น คู่มือส่งเสริมพัฒนาการ แบบประเมินพัฒนาการ และ ชุดตรวจพัฒนาการเด็ก ๘.๒ มีแผนงานการด�ำเนินงานในการส่งเสริมพัฒนาเด็กปฐมวัย ๘.๓ มีข้อมูล TCNAP ข้อมูลเด็กแรกเกิด – ๕ ปี ๘.๔ มีคณะกรรมการในการด�ำเนินโดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ๘.๕ มีงบประมาณที่ส่งเสริมสนับสนุนการด�ำเนินงาน
164
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๙. ปัจจัยเงื่อนไข ๙.๑ คณะกรรมการ เกิดจากภาคีเครือข่าย คือ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลผาสิงห์ รพสต. ผาสิงห์ อสม.ทุนทางสังคมต่างๆ ในชุมชน โดย อบต.ผาสิงห์มหี น้าที่ในการประสานงานและเชื่อมโยง ความร่วมมือต่างๆ เพื่อบูรณาการให้เกิดการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในพื้นที่ให้เป็นรูปธรรม ท�ำให้เด็กปฐมวัยในพื้นที่ต�ำบลผาสิงห์มีพัฒนาการสมวัย และพร้อมในทุกด้าน ๙.๒ มีแผนการด�ำเนินงานมีแบบคัดกรองพัฒนาการ แบบตรวจประเมินพัฒนาการ มี เครื่องมือชุดตรวจพัฒนาการ ทั้งที่ รพ.สต. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๙.๓ ข้อมูล TCNAP ข้อมูลเด็กแรกเกิด – ๕ ปีจาก รพสต.ผาสิงห์ และการจัดท�ำข้อมูล เช่น ประวัติครอบครัว ประวัติการได้รับวัคซีน โรคประจ�ำตัวของเด็ก การแพ้อาหาร การแพ้ยา จากศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลผาสิงห์ ๙.๔ งบประมาณได้มาจากการจัดตั้งข้อบัญญัติจาก อบต.ผาสิงห์ ได้รับการสนับสนุนจาก กลุ่มทุนทางสังคมต่างๆ ในพื้นที่
๑๐. ความเชื่อมโยงต่อ ๗ คุณลักษณะการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่น ๑๐.๑ การสร้างการเรียนรู้ ต�ำบลผาสิงห์มีการก�ำหนดเป้าหมายแนวทางการแก้ไขและจัดการปัญหาและความต้องการ ของชุมชนครอบคลุมเรื่อง ส�ำคัญของพื้นที่หลายเรื่อง เช่น การจัดโครงการประชุมประชาคมหมู่บ้าน เพื่อให้บริการประชาชนเพื่อ เป็นการรับทราบปัญหา และความต้องการของชุมชน โดยเจาะลึกเป็น รายหมู่บ้าน เพื่อหาข้อมูลดังกล่าวนั้นมาวิเคราะห์จัดท�ำเป็นแผนพัฒนาชุมชน และข้อบัญญัติใน ทุกๆ ปี ๑๐.๒ การสร้างกลไกการจัดการตนเอง การสร้างกลไกการบริหารจัดการตนเองในทุกระดับ ตัง้ แต่ระดับหมูบ่ า้ น เพือ่ ง่ายต่อการบริหาร จัดการ และแก้ปัญหาของหมู่บ้าน มีก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน แกนน�ำ ผู้น�ำหมู่บ้าน เป็นผู้เจรจาไกล่เกลี่ยใน ระดับ หมูบ่ า้ น ศูนย์รบั เรือ่ งราวร้องทุกข์ เป็นหน่วยงานหลักในพืน้ ที่ มีแกนน�ำและคณะกรรมการบริหาร กลุ่ม และองค์กรชุมชนต่างๆ เช่น คณะกรรมการ กลุ่มออมทรัพย์ กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตร กลุ่ม อาสาสมัคร เช่น อผส. อปพร. อสม. ท�ำหน้าทีใ่ นการเชือ่ มการท�ำงานช่วยเหลือกันในช่วงปกติ เมือ่ เกิด ภัยพิบตั แิ ละหลังภัยพิบตั ริ วมทัง้ การประสานความช่วยเหลือทัง้ ในและนอกต�ำบล นอกจากนีป้ ระชาชน ในต�ำบลยังมีโอกาสในการมีส่วน ร่วมกับการบริหาร และการจัดการตนเองของต�ำบล ด้วยการเข้าร่วม
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
165
ประชุมของต�ำบลผาสิงห์เวที ประชาคมของหมู่บ้าน และของต�ำบลผาสิงห์การประชุมของกลุ่มและ องค์กรชุมชนที่เป็นสมาชิก ๑๐.๓ การสร้างคนให้จัดการตนเอง เกิดกระบวนการที่ผลักดันและขับเคลื่อนให้ต้องแก้ปัญหาด้วยชุมชนเอง มากกว่าการรอรับ ความช่วยเหลือจากผู้อ่นื ต�ำบลผาสิงห์ มีกระบวนการด�ำเนินงานโดยมีการเปิดโอกาสให้มีการพัฒนา ความสามารถของคนในชุมชนที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในงานต่างๆ เพื่อเป็นต้นแบบหรือแกนน�ำใน การด�ำเนินงาน มีการแต่งตั้งผู้ที่มีความเชี่ยวชาญเป็นเจ้าภาพหลักในการท�ำงาน มีการเปิดโอกาส ให้ประชาชนที่มีความสามารถเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการ หรือสมาชิกในการด�ำเนินการในด้านต่างๆ เพื่อร่วมกันช่วยเหลือดูแล และพัฒนาชุมชนของตนเอง เช่น การจัดตั้งคณะกรรมการการศึกษา คณะกรรมการสภาวัฒนธรรมต�ำบลผาสิงห์ คณะกรรมการชมรมผูส้ งู อายุ คณะกรรมการกองทุนบทบาท สตรี ๑๐.๔ การสร้างการมีส่วนร่วม การสร้างการมีส่วนร่วมในทุกมิติ ทุกรูปแบบ เช่น การประชุมสภาองค์กรชุมชนต�ำบลผาสิงห์ และร่วมปรับแนวทางการด�ำเนินงานเพือ่ ให้เกิดประโยชน์แก่ชมุ ชน โดยต�ำบลผาสิงห์ เปิดโอกาสในการ มีส่วนร่วมให้กบั ทุกกลุ่มและองค์กรชุมชน หน่วยงาน รวมทั้งประชาชน โดยเน้นการสร้างกระบวนการ ที่แต่ละฝ่ายสามารถมีส่วนร่วมได้ตามรูปแบบที่เหมาะสมกับตน เช่น การร่วมประชุมในหมู่บ้านและ ในต�ำบล และการร่วมผลักดันให้เกิดงานใหม่ ทัง้ นีผ้ นู้ ำ� แกนน�ำ รวมทัง้ ชาวบ้าน สามารถก�ำหนดบทบาท ตนเองในการมีส่วนร่วมได้ เช่น ก�ำหนดกฎ ข้อตกลง กติกาของหมู่บ้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงสร้าง ของคณะกรรมการหมู่บ้าน ที่เปิดโอกาสให้ผู้เชี่ยวชาญ กลุ่มและองค์กรชุมชน หน่วยงานในพื้นที่ มี ส ่ ว นร่ ว มในการพั ฒ นางานและกิ จ กรรมส� ำ หรั บ ต� ำ บล ถื อ เป็ น การดึ ง ทรั พ ยากร ความรู ้ แ ละ ประสบการณ์ และทุนทางสังคมมาใช้ประโยชน์ได้เป็นอย่างดี คุณลักษณะนี้มีความเข้มแข็งของ ทุนในต�ำบลผาสิงห์ เช่น การมีส่วนร่วมในด้านการเมืองการปกครอง การจัดการสุขภาพ การดูแล สิ่งแวดล้อม ๑๐.๕ การระดมทุนและทรัพยากร จากการที่ทุกหมู่บ้านมีองค์กรการเงิน กองทุนต่างๆ ที่เป็นแหล่งประโยชน์ เพื่อเป็นกลไกการ สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในการพึง่ ตนเองของชุมชนให้สามารถด�ำเนินการได้อย่างต่อเนือ่ ง ท�ำให้เงินหมุนเวียนของชุมชน ถูกน�ำมาใช้ในการขับเคลื่อนงานต่างๆ ได้ในการท�ำเป็นเงินทุนเพื่อ ต่อยอดและขยายงานกลุ่มอาชีพเดิม และสร้างกลุ่มอาชีพใหม่ การจัดสวัสดิการให้คนในชุมชนดูแล
166
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ตัง้ แต่เกิดจนตาย การจัดสวัสดิการทางด้านการศึกษา การท�ำนุบำ� รุงศาสนา การเพิม่ ศักยภาพแกนน�ำ กลุ่ม การช่วยเหลือดูแลกลุ่มผู้ต้องการความช่วยเหลือ เด็กปฐมวัย ผู้สูงอายุ คนพิการ เป็นต้น คุณลักษณะนี้พบว่ามีความโดดเด่นใน ที่ หมู่ที่ ๑ หมู่ที่ ๒ หมู่ที่ ๔ หมู่ที่ ๕ หมู่ที่ ๖ หมู่ที่ ๗ การระดม ทุนอื่นๆ เช่น การท�ำบุญกฐิน ผ้าป่า เพื่อการดูแลเด็กปฐมวัย การระดมเงิน และทรัพยากรเพื่อเป็นทุน ในการจัดสวัสดิการ การจัดตั้งกองทุนต่างๆ ๑๐.๖ การมีข้อตกลง การจัดท�ำข้อตกลงทั้ง ระดับบุคคลและครอบครัว ระดับกลุ่มและองค์กรชุมชน ระดับ หน่วยงาน ระดับหมู่บ้าน ระดับต�ำบล และระดับเครือข่าย ดังปรากฏในศักยภาพด้านการเมือง การปกครองด้วย เช่น รพ.สต.ผาสิงห์ ศูนย์พฒ ั นาครอบครัวต�ำบลผาสิงห์เพือ่ การสร้างครอบครัวทีอ่ บอุน่ ในชุมชน การแก้ไขปัญหาครอบครัว การ ช่วยเหลือครอบครัวเด็กปฐมวัยที่มีความเดือดร้อน เป็นต้น ซึ่งกระบวนการจัดท�ำข้อตกลงและกติกา ถือเป็นกระบวนการเรียนรู้และจัดการความรู้โดยเฉพาะ การจัดการกับเงื่อนไขของการท�ำงานและจัดกิจกรรมทั้งหลายของชุมชน เป็นคุณลักษณะที่เข้มแข็ง ของหมู่บ้านในต�ำบลผาสิงห์โดยมีแนวทางในการด�ำเนินงาน ดูแลกลุ่มเป้าหมาย เพือ่ สร้างความยัง่ ยืน และสร้างความสัมพันธ์แนวราบ อันเกิดจากการช่วยเหลือเกื้อกูลกันของคนในชุมชม ๑๐.๗ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กรภาครัฐและหน่วยงานอื่นๆ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กรและหน่วยงานดังกล่าว ตามงานและกิจกรรมในพื้นที่ การสนับสนุนงบประมาณพัฒนา โดยทุกหมู่บ้านมีการท�ำงานของคณะกรรมการฝ่ายปกครองหมู่บ้าน ร่วมกับหน่วยบริการประชาชน ร่วมกับ อบต.ผาสิงห์
๑๑ .การตอบสนองต่อตัวชี้วัดด้านการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย ๑๑.๑ เด็ก ๐ – ๓ ปี ๑) ชุดที่ ๓ การพัฒนาระบบบริการ ตัวชี้วัดที่ ๑๔ เรื่องการส่งเสริมพัฒนาการศูนย์พัฒนา เด็กเล็กต�ำบลผาสิงห์ กลุ่ม อสม. รพ.สต.ผาสิงห์ จัดบริการตรวจคัดกรองประเมินพัฒนาการเด็ก ปฐมวัยในพื้นที่ต�ำบลผาสิงห์ ตัวชี้วดั ที่ ๑๕ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลผาสิงห์ กองการศึกษา องค์การ บริหารส่วนต�ำบลผาสิงห์ รพ.สต.ผาสิงห์ จัดการให้ค�ำปรึกษา จัดโครงการอบรมให้ความรูแ้ ก่ผปู้ กครอง ในเรื่องการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ตัวชี้วัดที่ ๑๘ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลผาสิงห์ รพ.สต. ผาสิงห์ จัดให้มรี ะบบการให้คำ� ปรึกษาแก่ผปู้ กครองทางไลน์ (Line) โดยตัง้ เป็นกลุม่ ไลน์ศนู ย์พฒ ั นาเด็ก ต�ำบลผาสิงห์ เพื่อสื่อสารและให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ การส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ตลอดจน
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
167
เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดูแลบุตรหลานร่วมกัน ตัวชี้วดั ที่ ๑๙ รพ.สต.ผาสิงห์ จัดพื้นที่เฉพาะ ไว้รองรับเด็ก ๐ – ๓ ปี เช่น การจัดที่นั่งเฉพาะ ห้องตรวจพัฒนาการ จัดมุมให้นมแม่ฯ ตัวชี้วัดที่ ๒๐ รพ.สต.ผาสิงห์ จัดให้มบี ริการศูนย์แม่ร่วมดูแลเด็กกลางวัน (Day Care mom) เป็นบริการที่คนในชุมชน ดูแลช่วยเหลือกันเพื่อให้การดูแลเด็ก ๐ – ๓ ปี ที่ยังไม่เข้ารับบริการที่ ศพด. ๑๑.๒ เด็ก ๓ – ๕ ปี ๑) ชุดกิจกรรมที่ ๓ การพัฒนาระบบบริการ ตัวชี้วัดที่ ๒๖ เรื่องการส่งเสริมพัฒนาการ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กต�ำบลผาสิงห์ กลุม่ อสม. รพ.สต.ผาสิงห์ จัดบริการตรวจคัดกรองประเมินพัฒนาการ เด็กปฐมวัยในพืน้ ทีต่ ำ� บลผาสิงห์ ตัวชีว้ ดั ที่ ๒๗ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กต�ำบลผาสิงห์ กองการศึกษา องค์การ บริหารส่วนต�ำบลผาสิงห์ รพ.สต.ผาสิงห์จัดการให้คำ� ปรึกษาจัดโครงการอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง ในเรื่องการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ตัวชี้วัดที่ ๓๐ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลผาสิงห์ รพ.สต. ผาสิงห์ จัดพื้นที่ศูนย์ดูแลกลางวัน (Day Care) เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาสอดคล้องกับกิจกรรมชุดที่ ๓
168
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
169
ภาพที่ ๒๒ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้านระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลผาสิงห์ อ�ำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน
ภาพที่ ๒๓ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลผาสิงห์ อ�ำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน
170
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ภาพที่ ๒๔ การ่ส่งเสริมพัฒนาการ องค์การบริหารส่วนต�ำบลผาสิงห์ อ�ำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
171
การส่งเสริมสุขภาพและการดูแล เพื่อป้องกันโรค การเจ็บป่วย อุบัติเหตุ โดยชุมชนท้องถิ่น เทศบาลต�ำบลเชียงเคี่ยน อ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
๑. ที่มาหรือฐานคิดของการด�ำเนินกิจกรรม จากข้อมูลปี ๒๕๕๙ ด้านสุขภาพของชุมชนต�ำบลเชียงเคี่ยน พบว่ามีเด็กอายุ ๐-๕ ปี จ�ำนวน ๒๒๔ คน เด็กชาย จ�ำนวน ๑๑๐ คนและเด็กหญิง จ�ำนวน ๑๑๔ คน เด็กป่วยเป็นโรคมือ เท้า ปาก จ�ำนวน ๖ คน โรคอีสุกอีใส จ�ำนวน ๔ คน โรคฟันผุ จ�ำนวน ๖๕ คน ความผิดปกติทางสติปัญญา จ�ำนวน ๑ คน เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการ จ�ำนวน ๑๕ คน เด็กที่มีพัฒนาล่าช้า จ�ำนวน ๑๐ คน เด็กปากแหว่ง เพดานโหว่ จ�ำนวน ๑ คน จากสถานการณ์ดังกล่าวต�ำบลเชียงเคี่ยน จึงมีการจัดการ บริการด้านสุขภาพส�ำหรับประชาชนโดยบูรณาการร่วมกัน ประกอบด้วย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ชุมชนต�ำบลเชียงเคี่ยน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน ผู้น�ำท้องที่และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น วัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างสุขภาพ การป้องกันและการควบคุมโรค การสนับสนุนงาน ด้านสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรในชุมชน ทั้งนี้มีการสร้าง เครือข่ายด้านสุขภาพร่วมกับหน่วยงานด้านสุขภาพภายในจังหวัดด้วย และมีการจัดการตนเองตาม แนวทางต�ำบลสุขภาวะและการขับเคลื่อนตามธรรมนูญสุขภาพ โดยส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาวะ อนามัยทีด่ ี มีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ี เป็นชุมชนทีป่ ระชาชนสามารถดูแลตนเองได้ นอกจากนีต้ ำ� บลเชียงเคีย่ น ได้มกี ารจัดตัง้ ทีมเฝ้าระวังเคลือ่ นทีเ่ ร็ว SRRT ในปี ๒๕๕๐ โดยมีนายอินโพธิ์ หน่อแหวน นายกเทศมนตรี ต�ำบลเชียงคี่ยนเป็นประธาน คณะกรรมการประกอบด้วย เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ อาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน ผู้นำ� ท้องที่ ครู สมาชิกสภาเทศบาล และมีนายนิคร ไชยสุวรรณ์ ก�ำนัน ต�ำบลเชียงเคี่ยน เป็นกรรมการและเลขานุการ วัตถุประสงค์และการปฏิบัติงานของทีม SRRT เป็นทีม เฝ้าระวังเคลือ่ นทีเ่ ร็ว มีภารกิจในการเฝ้าระวังโรคติดต่อทีร่ ะบาดรวดเร็วและรุนแรง ตรวจจับภาวะฉุกเฉิน ทางสาธารณสุข ควบคุมป้องกันโรคไม่ให้มีการแพร่ระบาดของโรค ตรวจสอบโรคอย่างมีประสิทธิภาพ
172
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ทันต่อสถานการณ์การควบคุมโรคฉุกเฉิน(ขั้นต้น)เพื่อหยุดยั้งหรือจ�ำกัดการแพร่ระบาดไม่ให้ขยาย วงกว้างและแลกเปลี่ยนข้อมูลเฝ้าระวังโรคตลอดจนร่วมมือในการเฝ้าระวังโรคกับหน่วยงานด้าน สาธารณสุขอืน่ ๆ ภายในพืน้ ทีจ่ งั หวัด จากข้อมูล ๑๐ ปีทผี่ า่ นมา พบว่า ต�ำบลเชียงเคีย่ นมีการด�ำเนินการ ด้านส่งเสริม สุขภาพชุมชน การดูแลป้องกันโรค อัตราการเจ็บป่วย และอุบัติเหตุลดลงอย่างต่อเนื่อง
๒. งานและกิจกรรม ๒.๑. ภาพรวมระบบการดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบล ภาพรวมระบบการดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบลเชียงเคี่ยน ดังนี้ ๑) ระบบกฎและกติกาการไกล่เกลี่ยกรณีพิพาทและการเกิดอุบัติเหตุต่างๆ มีการด�ำเนินโดย ศูนย์บ�ำบัดทุกข์บ�ำรุงสุขต�ำบลเชียงเคียน และศูนย์ด�ำรงธรรมต�ำบลเชียงเคี่ยนช่วยดูแลครอบครัวเด็ก ปฐมวัยในพื้นที่ ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข ๒) ระบบเศรษฐกิจชุมชนการจัดตั้งกลุ่มอาชีพและกองทุนสวัสดิการชุมชนต่างๆให้ความ ช่วยเหลือในเรื่องการส่งเสริมอาชีพของพ่อแม่ผู้ปกครองเด็กให้มีรายได้ และเป็นแหล่งเรียนรู้ให้แก่ เด็กปฐมวัยในพื้นที่ ๓) ระบบการพัฒนาศักยภาพ การจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลเด็กให้กับพ่อแม่ ผู้ปกครองและ อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน และการส่งเสริมศักยภาพครูและผู้ที่เกี่ยวข้อง กับเด็ก รวมถึงการจัดสภาวะแวดล้อมให้เหมาะกับการเรียนรู้และค�ำนึงถึงความปลอดภัยเป็นส�ำคัญ ๔) ระบบสร้างการเรียนรู้ การจัดท�ำหลักสูตรและคูม่ อื เกีย่ วกับการส่งเสริมสุขภาพการดูแลและ การป้องกันโรค การประสานข้อมูลเรื่องเด็กกับหน่วยงานต่างๆ เช่น ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน ศูนย์ บริการอินเตอร์เน็ตชุมชน เป็นต้น ๕) ระบบการพัฒนาสภาพแวดล้อม การจัดสภาพแวดล้อมในชุมชน เช่น การจัดการขยะใน ชุมชนโดยมีการคัดแยกขยะในครัวเรือน รวมถึงการจัดตั้งกลุ่ม รับซื้อขยะรีไซเคิล เพื่อเป็นการจัดการ ขยะในชุมชน ๒.๒. ประเด็นเด่นของระบบการดูแลเด็กปฐมวัย การส่งเสริมสุขภาพและการดูแลเพือ่ ป้องกันโรค การเจ็บป่วยอุบัติเหตุ การส่งเสริมสุขภาพและการดูแลเพื่อป้องกันโรค การเจ็บป่วยอุบัติเหตุมีการด�ำเนินการดังนี้ (๑) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาปลอดภัย ท�ำความสะอาดห้องเรียนทั้งภายใน ภายนอก ๓ ระดับ ระดับที่ ๑ เช็ด ถู ปัด กวาด และใช้น�้ำยาท�ำความสะอาด ระดับที่ ๒ พ่นยาฆ่าเชื้อ ล้างศูนย์
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
173
เด็ก ล้างของเล่นของใช้ (กรณีเกิดโรคติดต่อ) ระดับที่ ๓ อบห้องเรียน โดยใช้เครือ่ งพ่นฆ่าเชือ้ โรค (ระบบ ยูว)ี ตรวจเครือ่ งเล่นสนาม ครูผดู้ แู ลเด็กท�ำการตรวจเช็คความพร้อมของเครือ่ งเล่นก่อนและหลังทุกครัง้ โดยควบคุมอย่างใกล้ชิด และอาหารกลางวันปลอดภัย เน้นวัตถุดิบที่ปลอดสารพิษ ควบคุมดูแล ขั้นตอนการประกอบอาหารให้ถูกสุขอนามัยและมีสารอาหารครบ ๕ หมู่ รวมทั้งมีการจัดเก็บอุปกรณ์ เครื่องครัวให้สะอาด เรียบร้อย (๒) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลเชียงเคี่ยน มีการด�ำเนินงานคลินิกสุขภาพดี ชั่งน�ำ้ หนัก วัดส่วนสูง วัดรอบศีรษะ รอบอก เพื่อคัดกรองประเมินพัฒนาการเด็กและให้ความรู้เกี่ยวกับการ ฉีดวัคซีน โรงเรียนพ่อแม่ ดูแลให้คำ� แนะน�ำพ่อแม่เด็กตั้งแต่เริ่มฝากครรภ์ การตรวจเลือด การตรวจ พัฒนาการ (๓) โรงพยาบาลอ�ำเภอเทิง ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กมีคณ ุ ภาพ ออกตรวจประเมินการบริหารจัดการ กิจกรรมภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและบันทึกการตรวจประเมินพร้อมให้คำ� แนะน�ำ แจ้งและเผยแพร่ ผลการตรวจประเมิน (๔) เทศบาลต�ำบลเชียงเคี่ยน บริการรถรับ–ส่งปลอดภัย ตรวจสภาพรถและความพร้อมของ พนักงานขับรถ จัดครูติดตามรถรับ–ส่งเด็กให้ถึงมือผู้ปกครอง แล้วบันทึกผลการรับ-ส่งเด็ก ขับขี่ ปลอดภัย อบรมให้ความรู้ขับขี่ปลอดภัยให้กับชุมชน เรื่องการขับขี่ปลอดภัย อุบัติเหตุทางถนน การ ปฐมพยาบาลเบื้องต้น ซ้อมแผนป้องกันภัยพิบัติ การเกิดอัคคีภัย การเกิดแผ่นดินไหวให้กับโรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่ (๕) อสม.เชีย่ วชาญนมแม่ ให้คำ� แนะน�ำเกีย่ วกับการเลีย้ งดูบตุ ร และตรวจ พัฒนาการของเด็ก จดบันทึกติดตามประเมินผลพร้อมเผยแพร่ขอ้ มูล รณรงค์ปอ้ งกันโรคไข้เลือดออก โครงการชุมชนน่าอยู่ หมูบ่ า้ นเป็นสุข และตรวจหาแหล่งเพาะพันธ์ลกู น�ำ้ ยุงลาย พร้อมให้คำ� แนะน�ำการก�ำจัดแหล่งเพาะพันธ์ ลูกน�ำ้ ยุงลาย
๓. ทุนทางสังคม ๓.๑ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการหลัก ๑) ทุนระดับบุคลคลและครอบครัว เช่น ปราชญ์ชาวบ้าน จ�ำนวน ๑๒๐ คน ดูแลรักษา สุขภาพโดยใช้สมุนไพรพื้นบ้าน เป่า อสม.เชียวชาญนมแม่ ให้ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับการเลี้ยงดูบุตรและ ตรวจพัฒนาการของเด็ก มีการจดบันทึกติดตามและประเมินผล บุคลากรสาธารณสุขโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบล จ�ำนวน ๘ คน ส่งเสริมสนับสนุนงานด้านอนามัยแก่เด็กปฐมวัยในต�ำบล ครู จ�ำนวน ๔๐ คน แนะน�ำเกี่ยวกับการรักษาสุขภาพ งานอนามัยโรงเรียน
174
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๒) ทุนระดับกลุ่มทางสังคม องค์กรชุมชน เช่น กลุ่มพัฒนาสตรีตำ� บลเชียงเคี่ยน ช่วยเหลือ สนับสนุนงานสาธารณสุขในต�ำบล เช่น รณรงค์เรื่องไข้เลือดออก เป็นต้น ศูนย์พัฒนาครอบครัวต�ำบล เชียงเคี่ยน แนะน�ำส่งเสริมพัฒนาการด้านครอบครัว จัดกิจกรรมสายใยรักครอบครัว ๓) ทุนระดับหน่วยงาน โรงเรียน จ�ำนวน ๓ แห่ง การด�ำเนินงานด้านอนามัยโรงเรียน เช่น รณรงค์ก�ำจัดลูกน�้ำยุงลาย ไข้เลือดออก เทศบาลต�ำบลเชียงเคี่ยน งานส่งเสริมและพัฒนาด้าน สาธารณสุขในต�ำบล เช่น การป้องกันโรคติดต่อ การควบคุมโรคติดต่อ เป็นต้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ต�ำบลเชียงเคี่ยน การส่งเสริมพัฒนาการด้านสุขภาพเด็ก การป้องโรค การเจ็บป่วย และอุบัติเหตุ ๔) ทุนระดับหมู่บ้าน อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน จ�ำนวน ๑๒ หมู่บ้าน ให้คำ� แนะน�ำและส่งเสริมงานด้านอนามัยแก่ประชาชนในหมู่บ้าน ชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน จ�ำนวน ๑๒ หมูบ่ า้ น ช่วยเหลือและสนับสนุนการป้องกันโรค การป้องกันอุบตั เิ หตุ การรักษาความสงบเรียบร้อย ในหมู่บ้าน ๕) ทุนระดับต�ำบล กลุม่ อสม.ต�ำบลเชียงเคีย่ น จ�ำนวน ๑ กลุ่ม ให้คำ� แนะน�ำและส่งเสริม งานด้านอนามัยแก่เด็กปฐมวัย พ่อแม่ผปู้ กครองในหมูบ่ า้ น กองทุนหลักประกันสุขภาพต�ำบลเชียงเคีย่ น การสนับสนุนส่งเสริมการป้องกันโรคในชุมชน ๓.๒ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการรอง ๑) ทุนระดับบุคคลและครอบครัว ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ด�ำเนินการในการช่วยเหลือและ สนับสนุนการป้องกันโรค การป้องกันอุบัติเหตุ การรักษาความสงบเรียบร้อยในหมู่บ้าน ๒) ทุนทางสังคม องค์กรชุมชน วัด จ�ำนวน ๘ แห่ง อบรมสั่งสอนคุณธรรม จริยธรรม ส่ง เสริมคุณภาพชีวติ ประชาชน ศาลเจ้าพ่อม่อนแดง แหล่งรวมจิตใจประชาชน การจัดนิทรรศการส่งเสริม สุขภาพประชาชน กลุม่ วิสาหกิจชุมชน จ�ำนวน ๑๒ กลุม่ ช่วยเหลือสนับสนุนด้านงบประมาณ งานด้าน สุขภาพอนามัยชุมชน ๓) ทุนระดับหน่วยงาน ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนต�ำบลเชียงเคี่ยน จ�ำนวน ๑ แห่ง จัด กิจกรรมรณรงค์ เรือ่ งโรคไข้เลือดออกในต�ำบล หน่วยป้องกันรักษาป่า ขร.๔ จ�ำนวน ๑ แห่ง จัดกิจกรรม ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมยั่งยืน “ ป่าไม้คือชีวิต เครือข่ายการศึกษาต�ำบลเชียงเคี่ยน การจัดท�ำ หลักสูตรอนามัยโรงเรียน และงานสาธารณสุขในโรงเรียน ศูนย์บ�ำบัดทุกข์บ�ำรุงสุขต�ำบลเชียงเคี่ยน ศูนย์ยตุ ธิ รรมต�ำบลเชียงเคีย่ น ศูนย์ดำ� รงธรรมต�ำบลเชียงเคีย่ น การให้ความเป็นธรรมในเรือ่ งกรณีพพิ าท ต่างๆ รวมทั้งกรณีพิพาทว่าด้วยเรื่องที่ส่งผลต่อสุขภาพอนามัยประชาชน ๔) ทุนระดับชุมชนหมู่บ้าน ศูนย์เรียนรู้ครูเกษตรบ้านสันทรายหมู่ ๙ อบรมให้ความรู้แก่ ประชาชนและเด็กปฐมวัยเรือ่ งเกษตรทฤษฎีใหม่ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กลุม่ รับซือ้ ขยะรีไซเคิล
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
175
ลดขยะ สร้างรายได้ให้ครอบครัว ในต�ำบล กลุ่มธนาคารขยะ มีจ�ำนวน ๑ กลุ่ม การอบรมการคัดแยก ขยะ เพื่อสิง่ แวดล้อมทีด่ ใี นชุมชน กลุม่ รักษ์นำ�้ รักษ์ปา่ มีจำ� นวน ๑ กลุม่ การแนะน�ำให้ความรูก้ ารใช้ สมุนไพรป่า เพื่อป้อง รักษาโรค อาสาสมัครปศุสัตว์กิจกรรมให้ค�ำแนะน�ำ ประสานงานและป้องกันโรค ที่เกิดในสัตว์สู่คน ชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน (ชรบ.)การสนับสนุนกิจกรรมการป้องกันอุบัติเหตุ และการระบาดของโรค ๕) ทุนระดับต�ำบล กองทุนสวัสดิการชุมชนต�ำบลเชียงเคี่ยน จัดสวัสดิการช่วยเหลือเมื่อ เจ็บป่วย กลุ่มฌาปนกิจสงเคราะห์ตำ� บล กลุ่มสัจจะออมทรัพย์ตำ� บล กิจกรรมการมอบทุนงานศพให้ สถานศึกษาและศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก
๔. วัตถุประสงค์ ๔.๑ เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยในต�ำบลเชียงเคี่ยน ให้มีสุขภาพดี ๔.๒ เพือ่ ส่งเสริมการดูแล การป้องกันโรค ป้องกันการเกิดอุบตั เิ หตุของเด็กเล็กในต�ำบลเชียงเคีย่ น ๔.๓ เพือ่ ให้ชมุ ชนต�ำบลเชียงเคีย่ น ได้มสี ่วนร่วมในการเสริมสร้างสุขภาพ การป้องกันการเกิด อุบัติเหตุและป้องกันโรคติดต่อที่เกิดขึ้นกับเด็กปฐมวัย
๕. วิธีการท�ำงาน ๕.๑ ประชุมประชาคมต�ำบลหาแนวทางสรรหาคณะกรรมการ แต่งตั้งคณะกรรมการด�ำเนิน ประกอบด้วย นายกเทศมนตรีต�ำบลเชียงเคีย่ น ผอ.รพ.สต.ต�ำบลเชียงเคีย่ น ผู้แทนผู้น�ำท้องที่ ประธาน ประชาคมต�ำบล ประธาน อสม.ต�ำบล ผู้แทนกรรมการสถานศึกษา สพป.ชร.๔ ผู้แทนครู สพป.ชร.๔ ผูแ้ ทนปราชญ์ชาวบ้าน ผูแ้ ทนครูผดู้ แู ลเด็กเล็ก ผูแ้ ทนสมาชิกสภาท้องถิน่ ปลัดเทศบาลต�ำบลเชียงเคีย่ น ผอ.กองการศึกษา เป็นกรรมการและ ผช.เลขานุการ ๕.๒ การจัดท�ำหลักสูตรการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย และแผนการด�ำเนินงาน ๕.๓ การก�ำหนดกลุม่ เป้าหมาย เช่น ผูป้ กครองเด็กปฐมวัย ครูผดู้ แู ลเด็กปฐมวัยและผูท้ มี่ สี ว่ น เกี่ยวข้อง ๕.๔ คณะกรรมการสถานศึกษา เด็กเล็ก ๐-๕ ปีในต�ำบล เป็นต้น ๕.๕ ติดตามและประเมินผลการด�ำเนินงาน ใช้แบบติดตามผลและการสังเกต ๕.๖ รายงานสรุปผลการด�ำเนินงาน ๒ ครั้ง/ปี
176
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๖. การเชื่อมโยงหรือส่งผลที่เอื้อต่อการท�ำงานกับกลุ่มงานและกิจกรรมอื่นๆ ๖.๑ เพื่อเป็นการป้องกันปัญหาโรคในช่องปากของเด็กปฐมวัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ชุมชนต�ำบลเชียงเคีย่ น ร่วมกับเทศบาลต�ำบลเชียงเคีย่ นได้จดั ท�ำคูม่ อื การดูแลช่องปากส�ำหรับเด็ก และ เผยแพร่ความรูใ้ ห้กบั ผูป้ กครองเด็กและประชาชนทัว่ ไป และมีกลุม่ และหน่วยงานเข้ามาร่วมด�ำเนินการ ดังนี้ ๖.๒ โรงพยาบาลเทิง ได้เข้ามาประเมินในการจัดกิจกรรมทีม่ ผี ลต่อการพัฒนาการของเด็กทุกๆ ปีและจัดอบรมให้ความรู้ในเรื่องโรคติดต่อที่เกิดขึ้นกับเด็ก เช่น โรคมือเท้าปาก ทุพโภชนาการ ๖.๓ อาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐานร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลเชียงเคีย่ น คอยเฝ้าระวังป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยมีโครงการตรวจบ้านและรณรงค์การป้องกันโรคไข้เลือดออก และยังมีกลุ่ม อสม.เชียวชาญนมแม่ ประจ�ำหมู่บ้าน คอยติดตามและดูแลกับแม่และเด็ก ๖.๔ กองทุน สปสช. ให้ความช่วยเหลือด้านงบประมาณสนับสนุนกับหน่วยงานทีจ่ ดั ท�ำโครงการ เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน ๖.๕ กองทุนสวัสดิ์การชุมชน เป็นกองทุนที่ให้สวัสดิการช่วยเหลือเด็ก ตั้งแต่แรกเกิดตลอดถึง การเจ็บป่วย ๖.๖ ชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน (ชรบ) อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) ร่วมกับเทศบาลต�ำบลเชียงเคี่ยนได้จัดท�ำแผนซักซ้อมป้องกันการเกิดอุบัติเหตุและการเกิดภัยภิบัติ ให้ กับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนสังกัด สพป.ชร.๔ ๖.๗ กลุ่มธนาคารขยะ ได้เข้ามาสอนวิธีคัดแยกขยะให้กับเด็ก เพื่อเป็นการปลุกฝังให้เด็กรู้จัก วิธีการคัดแยกขยะ และให้ตระหนักถึงการรักษาสิ่งแวดล้อม
๗. ผลผลิตและผลลัพธ์ ๗.๑ ผลต่อประชากรเป้าหมาย เด็กปฐมวัยได้รับการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลเพื่อป้องกันโรค การเจ็บป่วย อุบัติเหตุ ผู้ปกครองเด็กเล็ก ครูผู้ดูแลเด็ก คณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความรู้ความเข้าใจการดูแลเด็กและ การป้องกันโรค การเจ็บป่วยอุบัติเหตุ
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
177
๗.๒ ผลต่อคุณภาพชีวิตของกลุ่มประชากร ๕ มิติ ๑) ด้านสังคม การช่วยเหลือดูแลเด็กปฐมวัยโดยการออกเยี่ยมบ้านจากทีมอสม.ร่วมกับแกน น�ำในพื้นที่ การจัดสวัสดิการในการดูแลเมื่อเกิดการเจ็บป่วย ๒) ด้านเศรษฐกิจ การส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชนตามโครงการอาหารกลาง วันปลอดสารพิษเพือ่ ให้เด็กได้บริโภคอาหารทีม่ คี ณ ุ ภาพ และเป็นการเพิม่ ผลผลิตเพือ่ เพิม่ รายได้ในครัว เรือน การจัดตั้งกองทุนสวัสดิการส�ำหรับเด็กตั้งแต่แรกเกิด และส่งเสริมการออมเงิน เช่น กลุ่มออม ทรัพย์ เป็นต้น ๓) ด้านสภาวะแวดล้อม การจัดการสภาวะแวดล้อม ท�ำให้พนื้ ทีจ่ ดุ เสีย่ งต่อการเกิดอันตราย ส�ำหรับเด็กปฐมวัยได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้น เช่น การตั้งจุดตรวจลดความเร็ว การมีป้ายเตือนลด ความเร็ว เป็นต้น รวมถึงการส่งเสริมการคัดแยกขยะในครัวเรือน ท�ำให้เกิดสภาวะแวดล้อมที่ดี ๔) ด้านสุขภาพ หมู่บ้านมีการจัดการตนเอง เพื่อป้องกันการเกิดโรคต่างๆเช่น การป้องกัน การวางไข่ของยุงเพือ่ ป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก ส่งเสริมการท�ำกิจกรรมต่างๆในธรรมนูญสุขภาพ เช่น ไม่เลี้ยง ชา กาแฟ ในงานต่างๆ ๕) ด้านการเมืองการปกครอง มีการก�ำหนด กฎ กติกา ข้อตกลง โดยแต่ละหมู่บ้านมีการ ท�ำข้อตกลงร่วมกันในการออกกฏ กติกา ข้อตกลง ในเรือ่ งสุขภาพเพือ่ ให้ประชนในพืน้ ทีป่ ฏิบตั ติ ามโดย ผ่านเวทีประชาคม เช่น ทุกหมุ่บ้านออกข้อตกลงร่วมกันในการคัดแยกขยะในครัวเรือน การห้ามใช้ยา ฆ่าหญ้าในบริเวณบ้าน ๗.๓ ผลต่อทุนทางสังคมอื่นๆ เกิดการท�ำงานร่วมกันในการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลเพือ่ ป้องกันโรค การเจ็บป่วยอุบตั เิ หตุ ท�ำให้มีความตื่นตัวในการดูแลเด็กปฐมวัยในพื้นที่มากขึ้น เช่น คณะกรรมการหมู่บ้าน กลุ่มแม่บ้าน เป็นต้น-
๘. กลไก เครื่องมือในการด�ำเนินงาน ๘.๑ คณะกรรมการด�ำเนินงานโครงการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค การเจ็บป่วย อุบัติเหตุ โดยชุมชนท้องถิ่น ประกอบด้วย พนักงานเทศบาลต�ำบลเชียงเคี่ยน ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้นำ� ท้องที่ เจ้าหน้าทีโ่ รงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลเชียงเคีย่ น ( รพ.สต. ) อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำ หมู่บ้าน (อสม.)
178
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๘.๒ หลักสูตรส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค การเจ็บป่วย อุบัติเหตุ.ของศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก ๘.๓ แผนการด�ำเนินงานและหลักสูตรและการป้องกันโรค การเจ็บป่วย อุบัติเหตุ และมีแผน ยุทธศาสตร์การพัฒนาต�ำบล
๙. ปัจจัยเงื่อนไข ๙.๑ การร่วมมือจากแกนน�ำ เจ้าหน้าที่ในพื้นที่ ดังนี้ ผู้น�ำท้องถิ่นมีความเข้มเข็ง ให้ความ ร่วมมือสนับสนุนกิจกรรมเป็นอย่างดี ผู้บริหารเทศบาล มีวสิ ัยทัศน์ในเรืองจัดกิจกรรมด้านสุขภาพและ ส่งเสริมสนับสนุน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล สนับสนุนข้อมูล เจ้าหน้าที่ในการด�ำเนินงาน อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน ช่วยเหลือในการด�ำเนินงาน การลงพื้นที่ให้ความรู้ ๙.๒ การจัดการงาน ดังนี้ การจัดวางแผนการด�ำเนินงานเป็นขั้นตอน การเรียงล�ำดับความ ส�ำคัญของงาน แบ่งหน้าทีก่ ารรับผิดชอบอย่างชัดเจน การประสานงานกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องได้อย่าง รวดเร็วทันเหตุการณ์ ๙.๓ การน�ำใช้ข้อมูลอย่างครบถ้วน การประสานงานข้อมูลกับแหล่ง หรือหน่วยงานอื่นๆ เช่น ข้อมูลด้านสุขภาพจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลเชียงเคี่ยน ข้อมูลสถิติอุบัติเหตุจาก หน่วยบริการประชาชนต�ำบลเชียงเคี่ยน การน�ำใช้ข้อมูล RECAP TCNAP ๙.๔ เงินทุน ได้รบั การสนับสนุนงบประมาณจากเทศบาลต�ำบลเชียงเคี่ยน
๑๐. ความเชื่อมโยงต่อ ๗ คุณลักษณะการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่น ๑๐.๑ การสร้างการเรียนรู้ การส่งเสริมสุขภาพและการดูแลป้องกันโรค การเจ็บป่วย อุบัติเหตุ โดยชุมชนท้องถิ่น มีการ สร้างการเรียนรู้โดยมีการก�ำหนดเป้าหมาย เพื่อการดูแลเด็กปฐมวัย เช่น การส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัย การจัดอบรมส่งเสริมศักยภาพการดูแลเด็กปฐมวัยของแม่และครอบครัว การส่งเสริม ศักยภาพอาสาสมัครในชุมชน โดยการใช้ข้อมูล (TCNAP) ข้อมูลปัญหาสุขภาพของแม่และเด็กปฐมวัย จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล เพื่อจัดการต่อปัญหาและความต้องการของชุมชนในการดูแล เด็กปฐมวัย
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
179
๑๐.๒ การสร้างกลไกการจัดการตนเอง การส่งเสริมสุขภาพและการดูแลป้องกันโรค การเจ็บป่วย อุบตั เิ หตุ โดยชุมชน มีการสร้างกลไก จัดการตนเอง เช่น การสร้างกลไกการบริหารจัดการตนเองในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับหมู่บ้าน เพื่อง่าย ต่อการบริหารจัดการและการแก้ปัญหาของหมู่บ้าน มีศูนย์ยุติธรรมต�ำบลเชียงเคี่ยน ศูนย์รับเรื่องราว ร้องทุกข์ ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนผู้บริโภคต�ำบลเชียงเคี่ยน นอกจากนี้ ประชาชนในต�ำบลยังมีโอกาส มีส่วนร่วมกับการบริหาร และการจัดการตนเองของต�ำบล ด้วยการเข้าร่วมประชุมของเทศบาลต�ำบล เชี่ยนเคี่ยน ร่วมกันทุกหมู่บ้านในต�ำบล ในเวทีประชาคม และเวทีประชาคมหมู่บ้าน ๑๐.๓ การสร้างคนให้จัดการตนเอง การส่งเสริมสุขภาพและการดูแลป้องกันโรค การเจ็บป่วย อุบัติเหตุ โดยชุมชน มีการสร้างคน ให้จดั การตนเอง เช่น กระบวนการในการผลักดันและขับเคลือ่ นให้มกี ารจัดการและแก้ไขปัญหาในการ ดูแล จัดการเด็กปฐมวัย ในพื้นที่ของตนเอง โดยคนในพื้นที่มากกว่าที่จะให้หน่วยงาน องค์กรอื่น ภายนอกชุมชนเข้ามาให้การช่วยเหลือ เช่น โครงการพัฒนาศักยภาพของแม่และครอบครัว การเลี้ยง ลูกด้วยนมแม่ อาสาสมัครดูแลเด็กปฐมวัย ๑๐.๔ การสร้างการมีส่วนร่วม การส่งเสริมสุขภาพและการดูแลป้องกันโรค การเจ็บป่วย อุบัติเหตุ โดยชุมชน การสร้างการ มีสว่ นร่วม เช่น การเปิดโอกาสให้ประชาชนทุกคนทุกกลุม่ ในต�ำบล ได้เข้ามามีสว่ นร่วมกัน โดยการร่วม คิด ร่วมท�ำ ร่วมรับผลประโยชน์และร่วมปรับแนวทางการด�ำเนินงาน เพื่อให้เกิดประโยชน์ และมีการ เปิดโอกาสให้ครอบครัว กลุ่มองค์กร หน่วยงานภาครัฐในพืน้ ที่ เน้นการสร้างกระบวนการทีท่ ำ� ให้แต่ละ ฝ่าย สามารถมีส่วนร่วมได้ตามรูปแบบที่เหมาะสม เช่น การจัดท�ำประชาคมธรรมนูญสุขภาพ การจัด ท�ำเทศบัญญัติ ท�ำแผน การประชาคมจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ และแผนพัฒนาต�ำบลว่าด้วยเรื่อง สาธารณสุข สุขภาพอานามัยชุมชนต�ำบล ๑๐.๕ การระดมทุนและทรัพยากร การส่งเสริมสุขภาพและการดูแลป้องกันโรค การเจ็บป่วย อุบตั เิ หตุ โดยชุมชน มีการระดมทุน และทรัพย์กร เพือ่ การจัดการสรรหาการดูแลเด็กปฐมวัย จากการทีใ่ นต�ำบลมีทนุ ทางสังคม เช่น กองทุน ต่างๆ สถาบันการเงินชุมชนเพือ่ เป็นกลไกสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจของครอบครัวเด็กปฐมวัยของ ครับครัว และถูกน�ำมาใช้เป็นทุนเพือ่ ดูแลส่งเสริม การป้องกันโรคในเด็กปฐมวัย เช่น กองทุนสวัสดิการ ชุมชน กลุ่มกองทุนวันละบาท
180
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๑๐.๖ การมีข้อตกลง การส่งเสริมสุขภาพและการดูแลป้องกันโรค การเจ็บป่วย อุบตั เิ หตุ โดยชุมชน มีขอ้ ตกลง โดย แต่ละหมู่บ้านในต�ำบลมีการท�ำข้อตกลงร่วมกันในการออกกฎกติกา เพื่อให้คนในหมู่บ้านปฏิบัติตาม เพื่อให้เกิดการมีกฎ กติกา ข้อตกลงในระดับหมู่บ้านสามารถท�ำได้โดยผ่านการท�ำประชาคมหมู่บ้าน เช่น การไม่ทิ้งขยะลงแม่นำ้� ล�ำคลอง ซึ่งจะเป็นการแพร่ของเชื้อโรค โครงการก�ำจัดลูกน�้ำยุงลาย โดย ทุกบ้านจะต้องตรวจเช็คภาชนะที่มีน�้ำขัง เพื่อไม่ให้ยุงลายได้วางไข่ การคัดแยกขยะในครัวเรือน และ ธรรมนูญสุขภาพว่าด้วยเรื่องสุขภาพต�ำบล ๑๐.๗ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กรภาครัฐและหน่วยงานอื่นๆ การส่งเสริมสุขภาพและการดูแลป้องกันโรค การเจ็บป่วย อุบัติเหตุ โดยชุมชน การจัดการ ความร่วมมือระหว่างองค์กรภาพรัฐ และหน่วยงานอื่นๆ เช่น การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กร และหน่วยงานดังกล่าวตามงานและกิจกรรม ในพื้นที่ในการสนับสนุนงบประมาณการพัฒนา เช่น เทศบาลต�ำบลเชียงเคี่ยน มีการจัดการความร่วมมือกับหมู่บ้านในต�ำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ต�ำบล อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน ท�ำโครงการคัดแยกขยะในครัวเรือนทุกหมู่บ้าน คัดแยก ขยะในครัวเรือนพร้อมทัง้ มีการส่งหมูบ่ า้ นเข้าประกวดโครงการ ชุมชนปลอดขยะ เป็นความร่วมในเรือ่ ง สิ่งแวดล้อมและสุขภาพของชุมชน
๑๑. การตอบสนองต่อตัวชี้วัด ๑๑.๑ เด็ก ๐ – ๓ ปี ๑) ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพ ตัวชีว้ ดั ที่ ๑ (๒) ๓ ๕ ๙ จัดให้มกี ารอบรมให้ความรู้ เกี่ยวกับการดูแลเด็กให้กับผู้ปกครอง อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้านและส่งเสริมศักยภาพครู และผู้เกี่ยวข้องกับเด็ก รวมทั้งการจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเรียนรู้โดยค�ำนึงถึงความ ปลอดภัยเป็นส�ำคัญ ๒) ชุดกิจกรรมที่ ๒ การพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก ตัวชี้วัดที่ ๙ ๒๐การจัดสภาพ แวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็กและสุขภาวะอนามัยของเด็ก ๓) ชุดกิจกรรมที่ ๓ การพัฒนาระบบบริการ ตัวชี้วัดที่ ๑๖ ๑๘ ๒๘ ๓๒ มีการจัดบริการด้าน รถรับ-ส่ง เด็กเล็ก การบริการด้านการตรวจสุขภาพเด็กของ รพ.สต.และกรณีการเกิดอุบัติเหตุฉุกเฉิน และให้บริการค�ำแนะน�ำเรื่องสิทธิการรักษาพยาบาล
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
181
๔) ชุดกิจกรรมที่ ๔ การจัดตั้งกองทุนหรือจัดให้มีสวัสดิการช่วยเหลือกัน กองทุนสวัสดิการ ชุมชน กองทุนวันละบาท จ่ายเป็นเงินชดเชยกรณีเจ็บป่วยที่ต้องนอนรักษาตัว ๕) ชุดกิจกรรมี่ ๕ การพัฒนาและน�ำใช้ข้อมูลในการส่งเสริมแก้ไขหรือจัดการปัญหา มีการน�ำ ใช้ข้อมูลอย่างครบถ้วน คุ้มค่ามีการประสานงานข้อมูลกับแหล่ง หรือหน่วยงานอื่นๆ ๖) ชุดกิจกรรมที ๖ การกฎระเบียบแนวปฏิบัติเพื่อหนุนเสริมการด�ำเนินกิจกรรมเสริมความ เข้มแข็งชุมชนท้องถิ่นมีการจัดท�ำกฎ กติกา ข้อตกลง ร่วมกันภายในชุมชนว่าด้วยเรื่องการส่งเสริม สุขภาพการป้องกันโรคติดต่อ ตัวชี้วัดที่ ๓๑ ๑๑.๒ เด็ก ๓-๕ ๑) ชุ ดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพ จัดให้มกี ารอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลเด็กให้ กับผู้ ปกครอง อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้านและส่งเสริมศักยภาพครูและผู้เกี่ยวข้องกับเด็ก รวมทัง้ การจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเรียนรูโ้ ดยค�ำนึงถึงความปลอดภัยเป็นส�ำคัญ สอดคล้อง กับตัวชี้วัด ข้อ ๑. ฝึกอบรมผู้ปกครองหรือผู้ดูแลให้ดูแลเด็ก และตัวชี้วัดที่ ๒. ฝึกอบรมอาสาสมัครใน ชุมชน เพื่อให้มีความรู้เข้าใจเรื่องการประเมินและส่งเสริม พัฒนาการ ๒) ชุ ดกิจกรรมที่ ๒ การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็กและสุขภาวะ อนามัยของเด็ก เช่น การก�ำจัดขยะมูลฝอยเพื่อความสะอาดในบ้านเรือน ชุมชน สอดคล้องกับข้อที่ ๒ ด้านการพัฒนาสิง่ แวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อเด็ก ๓-๕ ปี และตัวชีว้ ดั ที่ ข้อ ๒๐. ศพด.มีการดูแลสภาพแวดล้อม ภายในอาคารให้ถูกสุขลักษณะ ๓) ชุ ดกิจกรรมที่ ๓ การพัฒนาระบบบริการ ตัวชี้วัดที่ ๒๘ และ ๓๒ มีการจัดบริการด้าน รถรับ-ส่ง เด็กเล็ก การบริการด้านการตรวจสุขภาพเด็กของ รพ.สต.และกรณีการเกิดอุบัติเหตุฉุกเฉิน และให้บริการค�ำแนะน�ำเรือ่ งสิทธิการรักษาพยาบาล จัดให้มรี ะบบการให้ค�ำปรึกษาเรือ่ งการเข้าถึงสิทธิ ด้านสุขภาพระบบไลน์กลุ่ม ๔) ชุ ดกิจกรรมที่ ๔ การจัดตั้งกองทุนสวัสดิการชุมชนต�ำบล กองทุนวันละบาท จ่ายเป็นเงิน ชดเชยกรณีเจ็บป่วยทีต่ อ้ งนอนรักษาตัว สอดคล้องกับตัวชีว้ ดั ที่ ๔๔ การตัง้ กองทุนหรือจัดให้มสี วัสดิการ ช่วยเหลือกัน ๕) ชุ ดกิจกรรมที่ ๕ การน�ำใช้ข้อมูลอย่างครบถ้วน สอดคล้องตัวชี้วัดที่ ๔๘ การท�ำระบบ ฐานข้อมูลเด็ก ๓-๕ ปี มีการประสานงานข้อมูลกับแหล่ง หรือหน่วยงานอื่นๆ เช่น ข้อมูลด้านสุขภาพ จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลเชียงเคีย่ น ข้อมูลสถิตอิ บุ ตั เิ หตุจากหน่วยบริการประชาชน ต�ำบลเชียงเคี่ยน การน�ำข้อมูล RECAP TCNAP
182
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๖) ชุดกิจกรรมที่ ๖ การจัดท�ำกฎ กติกา ข้อตกลง ร่วมกันภายในชุมชนว่าด้วยเรื่องการ ส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรคติดต่อ การแจ้งเหตุโรคติดต่อให้ทกุ ชุมชน วัด โรงเรียน ได้ทราบและร่วม กันช่วยเหลือป้องกันสอดคล้องกับตัวชี้วัดที่ ๕๓ มีข้อบัญญัติท้องถิ่นแผนการดูแลจัดสรรงบประมาณ และสอดคล้องกับตัวชี้วัดที่ ๕๔ มีธรรมนูญสุขภาพก�ำหนดการจัดระบบบริการเพื่อดูแลเด็ก ๓-๕ ปี
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
183
184
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ภาพที่ ๒๕ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้านระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น เทศบาลต�ำบลเชียงเคี่ยน อ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
ภาพที่ ๒๖ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น เทศบาลต�ำบลเชียงเคี่ยน อ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
185
ภาพที่ ๒๗ การส่งเสริมสุขภาพและการดูแลเพื่อป้องกันโรค การเจ็บป่วยอุบัติเหตุโดยชุมชนท้องถิ่น เทศบาล ต�ำบลเชียงเคี่ยน อ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
186
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
การจัดการอาหาร เพื่อสุขภาพเด็ก
องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าสัก อ�ำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา
๑. ที่มาหรือฐานคิดของการด�ำเนินกิจกรรม พืน้ ทีต่ ำ� บลป่าสักมีเด็กปฐมวัยอายุ ๐-๕ ปี จ�ำนวน ๑๔๗ แยกเป็นช่วงเด็กอายุ ๐-๓ ปี จ�ำนวน ๗๑ คน ช่วงอายุ ๓-๕ ปี จ�ำนวน ๗๕ คน อาศัยอยู่กับพ่อแม่ จ�ำนวน ๘๕ คน อยู่กับปู่ ย่า ตา ยาย จ�ำนวน ๖๑ คน อยู่กบั ญาติ จ�ำนวน ๑ คน เข้าเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๒-๕ ปี จ�ำนวน ๑๐๕ คน ในการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ให้มพี ฒ ั นาการทีเ่ หมาะสมกับวัยทัง้ ๔ ด้าน ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์-จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา มีการดูแลสุขภาพเด็กในชุมชน เช่น การจัดการ อาหารเพื่อสุขภาพเด็กส่งผลต่อสุขภาพเด็กทั้ง ๔ ด้าน ในปีการศึกษา ๒๕๕๘ มีเด็กในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กต�ำบลป่าสักมีภาวะโภชนาการด้านน�ำ้ หนัก เกินเกณฑ์ จ�ำนวน ๑๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๘.๑๖% เด็กฟันผุจำ� นวน ๒๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๘.๓๖% เด็กไม่รบั ประทานผักจ�ำนวน ๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๓.๔๐% จากจ�ำนวนเด็กทั้งหมด ๑๔๗ คน ท�ำให้ ส่งผลต่อสุขภาพเด็ก เด็กเจ็บป่วยบ่อย สุขภาพไม่แข็งแรงภาวะโภชนาการไม่ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน ดังนั้นองค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าสัก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบล ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย ก�ำนัน/ผู้ใหญ่ บ้าน จึงได้ประชุมหารือเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหา จึงได้จัดท�ำกิจกรรมปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้ และปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
187
๒. งานและกิจกรรม ๒.๑ ภาพรวมระบบการดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบล องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าสัก ร่วมกับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลป่าสักมีหน้าที่ดูแลเด็กช่วง อายุ ๐-๕ ปี เริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์ จะมีการจัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย เกี่ยวกับ พัฒนาการของเด็กที่บ้าน และส่งเสริมโภชนาการในเด็ก ให้ความรู้แก่ครู ผู้ดูแลเด็ก ในเรื่องการจัด ประสบการณ์ การเรียนรู้ให้กบั เด็กในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก และให้ความรู้หญิงตัง้ ครรภ์เกีย่ วกับการดูแล สุขภาพระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอด ปัจจุบันองค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าสักมีนโยบายรับเด็กเข้า เรียนในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กอายุตั้งแต่ ๒-๕ ปี โดยจะเปิดรับสมัครเด็กในปีการศึกษาทุกเดือนมีนาคม – เมษายน ของทุกปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้ให้การอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการครบทั้ง ๔ ด้าน ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์-จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา ให้มีความพร้อมในระดับ การศึกษาที่สูงขึ้น องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าสัก ตั้งงบประมาณไว้ในข้อบัญญัติ ค่าวัสดุอาหาร กลางวันส�ำหรับเด็กในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก และได้กำ� หนดแนวทางมาตรฐานการจัดการอาหารส�ำหรับ เด็กปฐมวัย มีการส่งเสริมสุขภาพเด็กในครัวเรือน เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเด็กในชุมชน ให้มี การปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อน�ำมาประกอบอาหารในครัวเรือน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก รณรงค์ให้มี การปลูกผักสวนครัวรัว้ กินได้และใช้พนื้ ทีว่ า่ งให้เกิดประโยชน์ ชุมชนมีสว่ นร่วมในการเป็นแบบอย่างทีด่ ี ในการบริโภคอาหารที่มปี ระโยชน์และปลอดภัย มีการผลิตอาหารเพื่อสุขภาพ บริโภคเอง ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ชุมชนเข้าร่วมโครงการปลูกผัก ร่วมใจห่างไกล สารเคมี เพื่อรณรงค์ให้ชุมชนหันมาใช้ปุ๋ย หมักชีวภาพ ลดต้นทุนการผลิต ลดการใช้สารเคมี ท�ำให้หน้าดินมีสภาพดี เป็นการสนับสนุนกลุ่มปุ๋ย หมักชีวภาพในชุมชน ๒.๒ ประเด็นเด่นของระบบการดูแลเด็กปฐมวัย องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าสักร่วมกับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลป่าสัก มีการจัดการอาหาร เพื่อสุขภาพเด็ก อายุ ๐-๕ ปี โดยมีการให้คำ� แนะน�ำปรึกษาแก่มารดาที่ต้งั ครรภ์ในเรื่องการปฏิบัติตัว และการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อเด็กในครรภ์จนถึงคลอด เมื่อเด็กอายุ ๒-๕ ปี เข้ามา อยู่ในความดูแลของศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก มีการจัดระบบการจัดการอาหารเพื่อสุขภาพเด็ก เช่น มีการ วางแผนการจัดเมนูอาหารเพื่อสุขภาพเด็กทั้งเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์และน้อย กว่าเกณฑ์และเด็กทีม่ ปี ัญหาด้านสุขภาพฟัน ไม่ส่งเสริมให้เด็กรับประทานขนมกรุบกรอบ ลูกอม ขนม หวาน นมเปรีย้ ว นมหวาน ฯลฯ ส่งเสริมให้เด็กได้รบั ประทานผัก สอนเรือ่ งประโยชน์ของการรับประทาน อาหารครบ ๕ หมู่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าสักร่วมกับศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก มีการจัดกิจกรรมระหว่าง ผู้นำ� ท้องถิ่น กลุ่มแม่บ้าน ผู้ปกครอง เด็กและเยาวชน ครู ผู้ดูแลเด็ก โดยการร่วมกันปลูกผักปลอด
188
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
สารพิษ เป็นการสร้างสุขนิสัยให้เด็ก และสอนให้เด็กได้เรียนรู้การท�ำงานเป็นทีม คิดแก้ไขปัญหาด้วย ตนเอง เป็นการฝึกทักษะชีวติ ให้กบั เด็ก โดยผ่านกระบวนการเรียนรูจ้ ากการลงมือปฏิบตั จิ ริงเพือ่ ให้เด็ก มีสุขภาพที่แข็งแรงสมบรูณ์มีภาวะโภชนาการที่เหมาะสมกับวัย ท�ำให้ลดปัญหาทางด้านสุขภาพของ เด็กลดลง
๓. ทุนทางสังคม ๓.๑ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการหลัก ประกอบด้วย ๑) องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าสัก ให้การสนับสนุนในเรือ่ งงบประมาณ ค่าวัสดุอปุ กรณ์ สนับสนุนค่าอาหารเสริม(นม) อาหารกลางวัน ของ เด็กใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลป่าสัก ๒) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลป่าสักได้ดำ� เนินการจัดรายการ อาหารให้ครบ ๕ หมู่ และจัดการเรื่องอาหารภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และด�ำเนินร่วมกับแม่ครัวใน การปรุงอาหารตามรายการอาหารในแต่ละวัน ๓) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลป่าสัก และอาสา สมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน(อสม.) ด�ำเนินการในเรื่องการตรวจสอบคุณภาพของอาหาร และการ เจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย ๓.๒ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการรอง ประกอบด้วย กลุ่มปุ๋ยหมักชีวภาพ กลุ่มข้าวโพดเลี้ยง สัตว์อ�ำเภอภูซาง กลุ่มยุ้งฉาง กลุ่มเมล็ดพันธุ์ข้าว เกษตรอินดึ้ และกลุ่มแม่บ้านประกอบอาหารปลอด สารพิษที่ใช้เป็นวัตถุดิบที่น�ำมาใช้ปรุงเป็นอาหารหลัก การน�ำผักที่ปลูกในครัวเรือน ในศูนย์พัฒนาเด็ก เล็ก และการปลูกผักปลอดสารพิษจากครัวเรือน ศูนย์เรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ด�ำเนินการให้ ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ เกษตรพึ่งตนเอง และกลุ่มปุ๋ยหมักเป็นแหล่งเรียนรู้ในการสอน ท�ำปุย๋ หมัก น�ำเศษวัสดุทหี่ าง่ายตามฤดูกาลในชุมชน เช่น ฟางข้าว ต้นถัว่ ลิสง น�ำมาท�ำปุย๋ หมักชีวภาพ ลดหมอกควันจากการเผ่าไหม้ ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มรายได้ ส่งเสริมสุขภาพแข็งแรง กองทุน หลักประกันสุขภาพต�ำบลป่าสัก มีการจัดซือ้ ของใช้เยีย่ มตามบ้านหญิงตัง้ ครรภ์ กองทุนสวัสดิการชุมชน ต�ำบลป่าสัก กลุ่มเงินสงเคราะห์ประจ�ำหมู่บ้าน ให้ความช่วยเหลือสวัสดิการตั้งแต่เกิด เจ็บ ตาย
๔. วัตถุประสงค์
๔.๑ เด็กอายุ ๐-๕ ปี มีภาวะโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยและมีน�้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ ๔.๒ เพื่อให้เด็กอายุ ๐-๕ ปี มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
189
๔.๓ เพื่อเป็นการปลูกฝังให้เด็กมีสุขลักษณะนิสัยรักการรับประทานอาหาร ที่มีประโยชน์และ ปลอดภัย และเพื่อให้เด็กปฐมวัยและประชาชนในต�ำบลได้เรียนรู้พร้อมฝึกพฤติกรรมการบริโภคที่ถูก ต้อง เห็นความส�ำคัญและสามารถน�ำหลักโภชนาการไปใช้ในชีวติ ประจ�ำวันได้รวมทัง้ การพึง่ ตนเองด้าน อาหาร
๕. วิธีการท�ำงาน ๕.๑ การเตรียมผูท้ มี่ สี ว่ นเกีย่ วข้องทัง้ ในภาคขององค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าสัก โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบลป่าสัก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลป่าสัก ตัวแทนผู้ปกครอง ผู้น�ำชุมชนต�ำบล อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน(อสม.) โดยการประชุมชี้แจงเกี่ยวกับการจัดการอาหารและ โภชนาการในชุมชน มีการแต่งตั้งคณะกรรมการการด�ำเนินการ การจัดการอาหารเพื่อสุขภาพเด็ก ปฐมวัย ๕.๒ องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าสักวางแผนเรือ่ งงบประมาณร่วมกับคณะกรรมการเกีย่ วกับ หลักในการจัดการอาหารเพื่อสุขภาพเด็กปฐมวัย ๕.๓ ด�ำเนินการในเรื่องของการจัดบริการอาหารส�ำหรับเด็กปฐมวัยโดยครู ผู้ดูแลเด็กเป็น ผู้กำ� หนดรายการอาหารในแต่ละวัน และมีการจัดอบรมส่งเสริมความรู้ในเรื่องของโภชนาการอาหาร ๕.๔ การประเมินและการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานของการจัดอาหารและโภชนาการ โดย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลป่าสัก และอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน(อสม.)
๖. การเชื่อมโยงหรือส่งผลที่เอื้อต่อการท�ำงานกับกลุ่มงานและกิจกรรมอื่นๆ ๖.๑ องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าสักสนับสนุนงบประมาณในการจัดการอาหารกลางวันและ อาหารเสริม(นม)ให้กบั เด็กในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กต�ำบลป่าสัก จ�ำนวน ๑๐๕ คน และจัดสรรงบประมาณ เพื่อสนับสนุนการจัดการตนเองในด้านการผลิตอาหารในชุมชน ๖.๒ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลป่าสัก และอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน (อสม.)ตรวจสอบคุณภาพอาหารของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลป่าสัก อย่างสม�ำ่ เสมอ และเชิญชวนให้ คนในชุมชนหันมาปลูกพืชผักสวนครัวเป็นการผลิตอาหารทีป่ ลอดสารพิษเพือ่ รับประทานเองในครัวเรือน และจ�ำหน่าย
190
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๖.๓ วัตถุดบิ ทีน่ ำ� มาประกอบอาหารส่วนใหญ่เป็นวัตถุดบิ ทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ทีก่ ไ็ ด้มาจากเกษตรกรใน ต�ำบลที่เพาะปลูกขึ้นเอง และเป็นอาหารที่ปลอดสารพิษ ๖.๔ ผู้น�ำชุมชนมีการสบทบทุนในการผลิตวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันให้กับ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กต�ำบลป่าสัก ซึง่ ผูป้ ระกอบอาหารเป็นคนในชุมชน วัตถุดบิ ในการประกอบอาหารได้ มาก็มาจากเกษตรกรในชุมชน ๖.๕ ศูนย์เรียนรูป้ รัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแหล่งเรียนรูใ้ นด้านการเกษตรทีใ่ ช้เป็นการผลิต อาหารที่อาศัยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
๗. ผลผลิตและผลลัพธ์ ๗.๑ ผลต่อประชากรเป้าหมาย ๑) เด็กปฐมวัยในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กต�ำบลป่าสัก มีการเจริญเติบโตทีเ่ หมาะสมตามพัฒนาการ โดยได้รบั ประทานอาหารทีม่ ปี ระโยชน์ต่อร่างกาย สะอาดและปลอดภัย ส่งผลให้เด็กมีพฒ ั นาการด้าน ร่างกายทีเ่ หมาะสม สุขภาพร่างกายแข็งแรง มีนำ�้ หนักตามเกณฑ์มาตรฐาน จากข้อมูลการตรวจสุขภาพ และการเจริญเติบโต ๒) เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลป่าสัก ได้รับการฝึกพฤติกรรมการบริโภคที่ดี มี ความรู้ถงึ การบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ๓) ชุมชนมีการปรุงอาหารส�ำหรับเด็กทีค่ ำ� นึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ และพัฒนาคุณภาพของ อาหารให้เหมาะสม โดยเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทมี่ อี ยูใ่ นชุมชนน�ำมาประกอบอาหาร ส่งเสริมการบริโภคผัก และผลไม้ทมี่ อี ยู่ในชุมชน มีการแปรรูปอาหารทีค่ งคุณภาพ สนับสนุนแหล่งอาหารทีป่ ลอดภัยในชุมชน ๔) ลดค่าใช้จ่ายของครอบครัวในการซื้อวัตถุดิบและอาหาร ส่งเสริมการเพิ่มรายได้ให้กับ ครอบครัว โดยการขายวัตถุดบิ และน�ำวัตถุดบิ ทีเ่ หลือจากการแปรรูปมาแปรรูปและน�ำมาอุปโภคบริโภค และจ�ำหน่ายได้ ๗.๒ ผลต่อคุณภาพชีวิตของกลุ่มประชากร ๕ มิติ ๑) ด้านสังคม ในการดูแลเด็กปฐมวัยมีการด�ำเนินงานและกิจกรรมโดยผู้ปกครองเด็กและ เยาวชน ลงแรงมาช่วยในการท�ำกิจกรรมเตรียมแปลงสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษในศูนย์พฒ ั นาเด็ก เล็กต�ำบลป่าสัก ๒) ด้านเศรษฐกิจ อาชีพหลักของต�ำบลป่าสักมีอาชีพท�ำการเกษตร โดยใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพ ในการบ�ำรุงพืชทางการเกษตร เป็นการช่วยเหลือคนในชุมชน ลดต้นทุนทางการผลิต เพิ่มรายได้ให้แก่ ครัวเรือนในชุมชน
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
191
๓) ด้านสภาวะแวดล้อม ต�ำบลป่าสักมีการจัดสภาพแวดล้อมในชุมชนบริเวณภายในบ้าน เด็กให้มีการติดตั้งปลั๊กไฟที่สูง จัดเก็บของมีคมภายในและภายนอกบ้านให้ห่างจากมือเด็ก สภาพ แวดล้อมในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กบริเวณภายในอาคาร จัดหาเครือ่ งเล่นทีไ่ ด้มาตรฐานและปลอดภัย และ ใช้พื้นที่ภายนอกอาคารมีการใช้พื้นที่ว่างให้เกิดประโยชน์ เช่น มีการท�ำแปลงสาธิตปลูกผักปลอดสาร พิษให้เด็กได้น�ำมาประกอบอาหารให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับประทาน ๔) ด้านสุขภาพ องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าสัก ร่วมกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล ป่าสัก และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จัดให้มีบริหารสุขภาพส�ำหรับหญิงตั้งครรภ์และเด็ก ๐-๕ ปี โดยการให้ บริการให้ค�ำปรึกษาและวางแผนการตั้งครรภ์กับสตรีวัยเจริญพันธ์และครอบครัว สนับสนุนค่าอาหาร กลางวันให้เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้เด็กรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และปลอดภัยต่อสุขภาพ เด็ก ๕) ด้านการเมืองการปกครอง ผู้บริหารมีนโยบายส่งเสริมด้านสุขภาพเด็ก เช่น การจัดการ อาหารเพือ่ สุขภาพเด็กในต�ำบล เป็นการพึง่ พาอาศัยช่วยเหลือซึง่ กันและกันกับกลุ่มทุนทางสังคม และ มีการประชุมท้องที่ท้องถิ่นประจ�ำเดือนเพื่อชี้น�ำให้ผู้น�ำชุมชนได้กลับไปประชุมประชาคมประจ�ำเดือน ในหมู่บ้านของตนเองในเรื่องของการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ และมีมาตรฐาน ส�ำหรับเด็กปฐมวัยในการได้รบั อาหารให้ครบทัง้ ๕ หมู่ จากวัตถุดบิ ทีน่ �ำมาประกอบอาหารทีไ่ ด้มาจาก แหล่งชุมชน ๗.๓ ผลต่อทุนทางสังคมอื่นๆ มีการเชื่อมงาน คน ร่วมมือกันท�ำให้เกิดการบริหารคน งาน ข้อมูล และงบประมาณในการ ด�ำเนินการ เกิดการสร้างงานให้แก่คนในชุมชน และยังเป็นแหล่งเรียนรู้ระบบการดูแลเด็กปฐมวัย มีเพื่อเป็นแนวทางการบริหารจัดการที่สอดคล้องเชื่อมโยงต่อกันเป็นชุมชนที่เข้มแข็ง
๘. กลไก เครื่องมือในการด�ำเนินงาน ในการพัฒนาระบบการจัดการอาหารเพื่อสุขภาพเด็ก ชุมชน ท้องถิ่น ท้องถิ่น เข้ามามี ส่วนร่วมในการบริหารจัดการ โดยการประชุมประชาคมร่วมกัน ให้มีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้มีบทบาท เสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาและการด�ำเนินงานเกี่ยวกับเด็กอายุ ๐-๕ ปี เพื่อส่งเสริม พัฒนาการเด็กให้สมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลป่าสักได้มีการจัดเก็บข้อมูลของชุมชนเกี่ยวกับเด็ก ทั้งปัญหาและความต้องการน�ำมาวางแผนในการด�ำเนินงานโดยอาศัยคู่มือแนวทางงานเกี่ยวกับการ จัดการอาหารเพื่อสุขภาพเด็ก ตอบสนองความต้องของเด็กในชุมชน
192
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๙. ปัจจัยเงื่อนไข ปัจจัยทีท่ ำ� ให้ทำ� ได้สำ� เร็จใช้หลักการบริหารงานแบบมีสว่ นร่วม จัดคนให้ตรงกับงานทีถ่ นัดและ ความสามารถ มีการกระบวนการจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาและความต้องการของเด็กปฐมวัย ที่ ครอบคลุมและเชือ่ ถือได้ทกุ มิตเิ พือ่ ใช้เป็นฐานข้อมูลในการแก้ไขปัญหาและความต้องการได้ตรงจุดกับ กลุ่มเป้าหมาย โอกาสหรือแนวทางการพัฒนา ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กต�ำบลป่าสัก ด�ำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ เป็นการเสริมสร้างทักษะชีวติ ให้กบั เด็กปฐมวัย ได้เรียนรู้การท�ำงานเป็นทีม และมีการวางแผนงาน สามารถคิดและแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง และสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างหน่วยงานภาครัฐ องค์กร และคนในชุมชนด�ำเนินกิจกรรมการจัดการอาหารเพือ่ สุขภาพเด็ก มีการประสานงานความร่วมมือเพือ่ ให้กิจกรรมบรรลุตามวัตถุประสงค์
๑๐. ความเชื่อมโยงต่อ ๗ คุณลักษณะการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่น ๑๐.๑ การสร้างการเรียนรู้ปัญหาและความต้องการของชุมชน องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าสักร่วมกับศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กต�ำบลป่าสักมีการก�ำหนดเป้าหมาย แนวทางการแก้ไขและการจัดการปัญหาความต้องการของชุมชนครอบคลุมเรื่องการจัดการอาหาร เพื่อสุขภาพเด็กอายุ ๐-๕ ปี คือ มีการจัดกระบวนการด้านอาหารส�ำหรับเด็กอย่างเป็นระบบและ ส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องอาหารเพื่อสุขภาพ ๑๐.๒ การสร้างกลไกการจัดการตนเอง องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าสักร่วมกับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลป่าสักมีการสร้างกลไก การบริหารจัดการตนเองโดยไม่นำ� สารเคมีมาใช้ในการท�ำการเกษตรมีการใช้ปุ๋ยหมักในชุมชนมาใช้ใน ราคาที่ประหยัดและเป็นการรักษาหน้าดิน ๑๐.๓ การสร้างคนให้จัดการตนเอง องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าสักร่วมกับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลป่าสักมีแหล่งเรียนรู้เกษตร อินดีเ้ พือ่ เป็นต้นแบบการพึง่ ตนเองในการท�ำการเกษตรไม่ทำ� ตามกระแส เป็นต้นแบบให้แก่คนในชุมชน น�ำมาปรับใช้ในครัวเรือน
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
193
๑๐.๔ การสร้างการมีส่วนร่วม องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าสักร่วมกับศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กต�ำบลป่าสักมีการร่วมคิด ร่วมท�ำงาน ร่วมรั บประโยชน์ ร่วมปรับแนวทางการด�ำเนินงานเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน โดยต�ำบลป่าสักเปิด โอกาสใ ห้ทุกกลุ่มและองค์กรชุมชนมีส่วนร่วมในการกิจกรรมปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้ในชุมชนเพื่อ ส่งผลให้เด็ก ๐-๕ ปี และคนในชุมชนมีสุขภาพที่ดี ๑๐.๕ การระดมทุนและทรัพยากร องค์ก ารบริหารส่วนต�ำบลป่าสักร่วมกับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลป่าสักมีกองทุนต่างๆ ของ ชุมชน เพือ่ ให้คนในชุมชนได้มเี งินทุนหมุนเวียนกูย้ มื ในอัตราดอกเบีย้ ทีถ่ กู และน�ำมาเป็นทุนเพือ่ ต่อยอด ขยายงานกลุ่มอาชีพเพิ่มขึ้น ๑๐.๖ การมีข้อตกลง องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าสักร่วมกับศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กต�ำบลป่าสัก ได้มกี ารจัดท�ำข้อตกลง ทัง้ ระดับบุคคลและครอบครัว ระดับกลุม่ และองค์กรชุมชน ระดับหน่วยงาน ระดับหมูบ่ า้ น ระดับต�ำบล และระดับเครือข่าย รณรงค์ให้แต่ละครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ น�ำเศษอาหารมาท�ำปุ๋ยหมักแทน ปุ๋ยเคมี เพื่อประชาชนจะได้บริโภคผักที่ สด สะอาด ปลอดสารพิษ ๑๐.๗ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กรภาครัฐและหน่วยงานอื่นๆ องค์ก ารบริหารส่วนต�ำบลป่าสักร่วมกับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลป่าสักได้รับความร่วมมือ ระหว่า งองค์กรและหน่วยงานอื่นๆ โดยแนะน�ำคนในชุมชนให้พัฒนาทักษะเกษตรกรด้านเทคนิคการ ปลูกเพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพและให้ความรู้ด้านการเลือกใช้เมล็ดพันธุ์ให้เหมาะสมกับพื้นที่และ ตามฤดูกาล
๑๑. การตอบสนองต่อตัวชี้วัด การจั ดการอาหารเพื่อสุขภาพเด็ก ของต�ำบลป่าสัก อ.ภูซาง จ.พะเยา งานและกิจกรรมที่ทำ� ตอบสนองต่อ ๖ ชุดกิจกรรมการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยดังนี้
กลุ่มเด็ก ๐-๓ ปี ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพ ในตัวชีว้ ดั ที่ ๑ ฝึกอบรมผูป้ กครองหรือผูด้ แู ลให้ดแู ลเด็ก ๐-๓ ปี ได้ โดย ฝึกอบรมผู้ปกครองหรือผู้ดูแลในครอบครัวเด็ก ๐-๓ปี ให้เข้าใจ ความจ�ำเป็นของการ สร้างเสริมภูมคิ มุ กันโรค การส่งเสริมการเรียนรูพ้ ฒ ั นาการทางปัญญาและอารมณ์ เช่นส่งเสริมการเรียน
194
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ส่งเสริมการเล่น เป็นต้น และให้การดูแลช่วยเหลือเมื่อพบความผิดปกติ เช่น พฤติกรรมและการเรียน รู้ผิดปกติ มีความพิการทางสติปัญญา พิการด้านร่างกาย เพื่อให้การดูแลช่วยเหลืออย่างถูกต้อง เช่น การดูแลเรื่องอาหาร การกระตุ้นพัฒนาการ กล้ามเนื้อต่างๆ การประสานหน่วยงานที่จัดบริการเฉพาะ ด้าน เช่น ด้านสวัสดิการ การดูแลส่งเสริมการเรียนรู้ออทิสติก โรงเรียนสอนคนตาบอด เป็นต้น กลุ่มเด็ก ๓-๕ ปี ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพ ในตัวชีว้ ดั ที่ ๑ ฝึกอบรมผูป้ กครองหรือผูด้ แู ลในครอบครัว เด็ก ๓-๕ ปีให้เข้าใจ ความจ�ำเป็นของการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การส่งเสริมการเรียนรู้พัฒนาการ ทางปัญญาและอารมณ์ เช่น ส่งเสริมการเรียน ส่งเสริมการเล่น ส่งเสริมการอ่าน เป็นต้น และให้การ ดูแลช่วยเหลือเมื่อพบความผิดปกติเช่น พฤติกรรมและการเรียนรู้ผิดปกติ มีความพิการด้านร่างกาย และสติปัญญา เพื่อให้การดูแลช่วยเหลืออย่างถูกต้องเช่นการดูแลเรื่องอาหาร การกระตุ้นพัฒนาการ กล้ามเนือ้ ต่างๆ การประสานหน่วยงานทีจ่ ดั บริการเฉพาะด้านเช่น ด้านสวัสดิการ การดูแลส่งเสริมการ เรียนรู้ออทิสติก โรงเรียนสอนคนตาบอด โรงเรียนสอนภาษามือ เป็นต้น
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
195
196
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ภาพที่ ๒๘ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้าน ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าสัก อ�ำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
197
ภาพที่ ๒๙ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าสัก อ�ำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา
198
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ภาพที่ ๓๐ การจัดการอาหารเพื่อสุขภาพเด็กโดยชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าสัก อ�ำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา
การจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพเด็ก และการเรียนรู้ของเด็ก องค์การบริหารส่วนต�ำบลสถาน อ�ำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน
๑. ที่มาหรือฐานคิดของการด�ำเนินกิจกรรม ต�ำบลสถาน มีจ�ำนวนประชากรทั้งหมด ๔,๓๓๗ คนมี จ�ำนวน ๑,๒๒๐ ครัวเรือน มีจ�ำนวน ประชากรเด็กปฐมวัยอายุ ๐-๕ ปี จ�ำนวนทั้งหมด ๒๐๓ คน แยกเป็น ช่วงอายุ ๐-๓ ปี จ�ำนวน ๑๐๒ คน อายุ ๐-๕ ปี ๑๐๑ คน ในจ�ำนวนเด็ก ๐-๕ ปี มีเด็กอายุ ๐-๒ ปี อยู่กับผู้ปกครองที่บ้าน จ�ำนวน ๗๗ คน เด็กเข้าเรียนในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก อายุ ๒-๕ ปี มีจ�ำนวน ๑๒๖ คน ในการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยให้มีความพร้อมทั้งสี่ด้านทั้งด้าน ร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา นอกจากพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลเด็กแล้ว สิ่งแวดล้อมที่ดีก็มีผลต่อ พัฒนาของเด็กให้ดีขึ้น ถ้าสิ่งแวดล้อมไม่ดีไม่เอื้อต่อการเรียนรู้ก็จะส่งผลต่อพัฒนาการของเด็ก ท�ำให้ เด็กขาดโอกาสทีจ่ ะได้รบั การส่งเสริมพัฒนาการอย่างเต็มศักยภาพ เด็กไม่ได้รบั การเตรียมความพร้อม อย่างเต็มที่ ก่อนที่จะเข้าเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น องค์การบริหารส่วนต�ำบลสถาน เล็งเห็นความส�ำคัญ ถึงการดูแลสุขภาพ และการส่งเสริมการ เรียนรูข้ องเด็ก จึงได้จดั การพัฒนาสิง่ แวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อสุขภาพเด็กและเอือ้ ต่อการเรียนรูข้ องเด็กขึน้ เพือ่ ส่งเสริมให้เด็กมีสภาพแวดล้อมที่ดีในการด�ำเนินชีวิต และเกิดการเรียนรู้ที่เหมาะสม ตามพัฒนาการ แต่ละช่วงวัย
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
199
๒. งานและกิจกรรม ๒.๑ ภาพรวมระบบการดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบล ต�ำบลสถาน มีหน้าทีด่ แู ลเด็กช่วงอายุ ๐-๕ ปี เริม่ ตัง้ แต่อยูใ่ นครรภ์ จะมีการจัดโครงการอบรม ให้ความรูใ้ ห้แก่ผปู้ กครองเด็กปฐมวัยเกีย่ วกับบทบาทในการช่วยส่งเสริมพัฒนาการเด็กทีบ่ า้ น การดูแล สุขภาพช่องปากในเด็กเล็ก และการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก ให้ความรู้ครูผู้ดูแลเด็ก เกี่ยวกับ การจัดประสบการณ์เรียนรู้ให้กับเด็กใน ศพด. และให้ความรู้หญิงมีครรภ์ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ ระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอด อบต.สถานจะตั้งงบประมาณในข้อบัญญัติจัดซื้ออาหารเสริม(นม) ให้เด็กก่อนเข้าเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (อายุ ๑.๖–๒ ปี) ปัจจุบันองค์การบริหารส่วนต�ำบล สถานได้จดั การศึกษาแก่เด็กปฐมวัย อายุ ๒-๕ ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้ได้รับการอบรมเลี้ยงดูและ ส่งเสริมพัฒนาการให้ครบทั้ง ๔ ด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ให้มีความพร้อม ในการเข้ารับการศึกษาในระดับทีส่ งู ขึน้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ได้ก�ำหนดมาตรฐานการด�ำเนินงาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ไว้ ๖ ด้าน ได้แก่ ๑) ด้านการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๒) ด้านบุคลากร ๓)ด้านอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๔) ด้านวิชาการ และ กิจกรรมตามหลักสูตร ๕) ด้านการมีสว่ นร่วม และสนับสนุนทุกภาคส่วน ๖) ด้านส่งเสริมองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และทุกๆ ปีจะตั้งงบประมาณสนับสนุนค่าอาหารกลางวัน และอาหารเสริมนม จัดซื้อเครื่องเล่นกลางแจ้ง ค่าจัดการเรียนการสอนให้เด็กทุกๆ ปี ให้ศูนย์พัฒนา เด็กเล็กในสังกัดทั้ง ๓ ศูนย์ ได้มีการพัฒนาศักยภาพครูผู้สอนโดยการส่งครูเข้าร่วมการอบรมเกี่ยวกับ การส่งเสริมพัฒนาการเด็ก และส่งให้เรียนต่อจนจบจบปริญญาตรี เอกปฐมวัยทุกคน และหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องผ่านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลสถาน จะร่วมกับองค์การบริหารส่วนต�ำบลสถานจัด ให้มีโครงการทันตสุขภาพของเด็กๆ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อสม.แต่ละหมู่บ้านจะมีการชั่งน�ำ้ หนักและ วัดส่วนสูง ให้เด็กปฐมวัย เพื่อเก็บข้อมูลให้ รพ.สต.ต�ำบลสถาน ใช้เป็นข้อมูลในการด�ำเนินงานต่อไป ๒.๒ ประเด็นเด่นของระบบการดูแลเด็กปฐมวัย องค์การบริหารส่วนต�ำบลสถาน มีหน้าที่ในการดูแลเด็กอายุ ๐-๕ ปี ที่อยู่ในเขตต�ำบลสถาน ให้ทุกคนมีพัฒนาการที่สมวัย เพื่อเตรียมพร้อมในการเข้าเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น โดยอบต.สถานจะ เริ่มดูแลตั้งแต่อยู่ในครรภ์ จัดให้มีการอบรมให้ความรู้หญิงมีครรภ์ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพระหว่าง ตั้งครรภ์และหลังคลอด และอบรมให้ความรู้ให้แก่ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยเกี่ยวกับบทบาทในการช่วย ส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่บ้าน และโภชนาการในเด็ก จัดซื้ออาหารเสริม(นม)ให้เด็กก่อนเข้าเรียนใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเมื่อเด็กเข้ามาเรียนที่ศูนย์พัฒนาเด็กก็จะมีครูที่จะท�ำหน้าที่ในการส่งเสริม พัฒนาการเด็กให้ครบทั้ง ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา และองค์การ
200
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
บริหารส่วนต�ำบลสถานให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาศักยภาพครูผู้สอนโดยการส่งให้เรียนต่อจนจบ ปริญญาตรี เอกปฐมวัยทุกคน และส่งครูเข้ารับการอบรมเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก อย่าง ต่อเนื่องทุกๆปี การที่จะส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการที่สมวัย และเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ มีคุณภาพนั้น ผู้บริหารขององค์การบริหารส่วนต�ำบลสถาน เล็งเห็นความส�ำคัญเป็นอย่างมาก เพื่อ ไม่ให้เด็กขาดโอกาสในการเรียนรู้ จึงมีนโยบายให้มีการจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ของ เด็กปฐมวัย ทัง้ ในชุมชนและทีศ่ นู ย์พฒ ั นาเด็กเล็ก เพือ่ ให้เด็กปฐมวัยได้รบั การส่งเสริมพัฒนาการอย่าง เต็มศักยภาพ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และเด็กมีสุขภาพที่ดี ดังนี้ ๑) มีบริการปรับบ้านและสภาพแวดล้อมภายในบ้านให้เอือ้ ต่อการด�ำเนินชีวติ ของเด็ก ๐-๓ ปี ได้แก่ การติดตั้งปลั๊กไฟที่สูงจากพื้น การจัดวางเครื่องใช้ไฟฟ้า การจัดเก็บของมีคม จัดให้มีเครื่องเล่น เด็กที่ได้มาตรฐานและปลอดภัย เป็นต้น และ มีศูนย์พักพิงชั่วคราว มีหน่วยงานที่รับผิดชอบในการ ประสานทีพ่ กั พิงชัว่ คราว หรือจัดให้มคี รอบครัวอุปการะ ส�ำหรับเด็ก ๐-๓ ปี ทีไ่ ร้ทพี่ งึ่ พิงหรือได้รบั ความ เดือดร้อนจากปัญหาครอบครัว เช่น ผู้ปกครองทุพพลภาพ เสียชีวิต ถูกกระท�ำรุนแรง เป็นต้น และ มีการปรับโครงสร้างอาคารสถานที่ และสิ่งแวดล้อมในสถานที่ให้บริการส�ำหรับเด็ก ๐-๓ ปี เช่น ศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก สถานดูแลกลางวัน (day care)ให้เอื้อต่อการดูแลเด็ก ๐-๓ ปี เช่น ของเล่นเด็กที่มี มาตรฐาน ปลอดภัย ปลั๊กไฟ อุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดอันตราย อุปกรณ์หรือวัสดุที่ไม่ใส่สีที่เป็นอันตราย เลื่อนหลุดง่าย เป็นต้น และเป็นศูนย์ประสานงานระหว่างโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลสถาน กับ ผู้ปกครองเด็กเพื่อให้ยืมอุปกรณ์ที่จ�ำเป็น ในการช่วยเหลือในการด�ำเนินชีวิตของเด็ก ๐-๓ ปี ทั้ง เด็กป่วย พิการ และกลุ่มปกติ เช่น อุปกรณ์บริหารกล้ามเนื้อมัดต่างๆ เครื่องฝึกยืน เครื่องดูดเสมหะ ถังออกซิเจน รวมทั้งมีศูนย์ประสานงานหรือผู้รับผิดชอบในการช่วยเหลือเรื่องการจัดหาอุปกรณ์ ช่วยเหลือเด็ก ๐-๓ ปี เป็นต้น และสนับสนุนให้มีกลุ่มช่วยดูแลเด็ก ๐-๓ ปี เช่น กลุ่มท�ำอาหารส�ำหรับ เด็ก ทั้งเด็กป่วย พิการ และกลุ่มปกติ กลุ่มเพื่อนบ้านช่วยเหลือกันดูแลกันในการรับยาการส่งเสริม พัฒนาการกิน กอด เล่น เล่าเยี่ยมให้กำ� ลังใจผู้ดูแลเฝ้าระวังความรุนแรงในครอบครัว เป็นต้น รวมทั้ง สร้างวัฒนธรรมในการช่วยเหลือเด็ก ๐-๓ ปีในชุมชน เช่น การเปิดพืน้ ที่ช่วยเหลือสนับสนุนการดูแล กลุม่ เด็กทีม่ คี วามผิดปกติ ได้แก่ การรับบริจาคของเล่นเด็ก ผ้าอ้อมส�ำเร็จรูปส�ำหรับเด็กทีเ่ จ็บป่วยพิการ เสื้อผ้า เป็นต้น มีการปรับสิ่งแวดล้อมในชุมชนเพื่อให้เกิดประโยชน์กับเด็กและครอบครัว เช่น การมี สนามเด็กเล่นในชุมชน การมีลานกิจกรรมที่ให้เด็กและครอบครัวมาท�ำกิจกรรมร่วมกันเป็นต้น ๒) มีบริการพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก ๓-๕ ปี ได้แก่ จัดบริการปรับบ้านและ สิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการด�ำเนินชีวิตของเด็ก ๓-๕ ปีเช่นการติดตั้งปลั๊กไฟที่สูงจากพื้นการจัดวาง เครื่องใช้ไฟฟ้า ของมีคม เครื่องเล่นเด็กที่ได้มาตรฐานปลอดภัย เป็นต้น มีศูนย์พักพิงชั่วคราว
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
201
หน่วยงานที่รับผิดชอบในการประสานที่พักพิงชั่วคราวหรือจัดให้มีครอบครัวอุปการะส�ำหรับเด็ก ๓-๕ ปีที่ไร้ท่ีพึ่งพิงหรือได้รับความเดือดร้อนจากปัญหาครอบครัวเช่น ผู้ปกครองทุพพลภาพ เสียชีวิต ถูก กระท�ำรุนแรงครอบครัว เป็นต้น และเป็นศูนย์ประสานงานระหว่างโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล สถาน กับผู้ปกครองเด็กเพื่อให้ให้ยืมอุปกรณ์ที่จ�ำเป็น ในการช่วยเหลือในการด�ำเนินชีวิตของเด็ ๐-๓ ปี ทั้งเด็กป่วย พิการ และกลุ่มปกติ เช่น อุปกรณ์บริหารกล้ามเนื้อมัดต่างๆ เครื่องฝึกยืน เครือ่ งดูดเสมหะถังออกซิเจน รวมทัง้ มีศนู ย์ประสานงานหรือผูร้ บั ผิดชอบในการช่วยเหลือเรือ่ งการจัดหา อุปกรณ์ช่วยเหลือเด็ก ๐-๓ ปี เป็นต้น และปรับโครงสร้างอาคารสถานที่ และสิ่งแวดล้อมในสถานที่ ให้บริการส�ำหรับเด็ก ๓-๕ ปี เช่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สถานดูแลกลางวัน (day care)ให้เอื้อต่อการ ดูแลเด็ก ๓-๕ ปีเช่นของเล่นเด็ก ปลั๊กไฟ อุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายเช่น อุปกรณ์หรือวัสดุที่ใส่สีที่ เป็นอันตราย เลื่อนหลุดง่าย สนามเด็กเล่น การจัดมุมสาระกิจกรรม เป็นต้น และสนับสนุนให้มีกลุ่ม ช่วยดูแลเด็ก ๓-๕ ปีเช่นกลุ่มท�ำอาหารส�ำหรับเด็ก ทั้งเด็กป่วย พิการ และกลุ่มปกติกลุ่มเพื่อนบ้าน ช่วยเหลือกันดูแลกันในการรับยาการส่งเสริมพัฒนาการกิน กอด เล่น เล่าเยี่ยมให้ก�ำลังใจผู้ดูแล เฝ้าระวังความรุนแรงในครอบครัว เป็นต้น และมีการปรับสิ่งแวดล้อมในชุมชนเพื่อให้เกิดประโยชน์กับ เด็กและครอบครัว เช่น การมีสนามเด็กเล่นในชุมชน การมีลานกิจกรรมที่ให้เด็กและครอบครัวมาท�ำ กิจกรรมร่วมกัน รวมทัง้ สร้างวัฒนธรรมในการช่วยเหลือเด็ก ๓-๕ ปีในชุมชนเช่นการเปิดพืน้ ทีช่ ว่ ยเหลือ สนับสนุนการดูแลกลุ่มเด็กทีม่ คี วามผิดปกติ ได้แก่ การรับบริจาคของเล่นเด็ก ผ้าอ้อมส�ำเร็จรูปส�ำหรับ เด็กที่เจ็บป่วยพิการ เสื้อผ้า เป็นต้น สร้างเครือข่ายช่วยเหลือดูแลเด็ก ๓-๕ ปีให้สวัสดิการส�ำหรับ ครอบครัวที่มีเด็กป่วย เช่น การซื้อสินค้าในร้านค้าของชุมชนในราคาถูก การแบ่งปันผลก�ำไรของ กองทุนชุมชนช่วยเหลือครอบครัวที่มีเด็กป่วยหรือพิการ เป็นต้น และ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการดูแล สภาพแวดล้อมภายในอาคารให้ถูกสุขลักษณะและเป็นระเบียบเรียบร้อยเช่น มีพื้นที่เก็บสิ่งปฏิกูลที่ เหมาะสมและถูกสุขลักษณะมีพื้นที่เก็บสิ่งปฏิกูลเพียงพอมีการก�ำจัดสิ่งปฏิกูลที่เพียงพอจัดท�ำจุด ล้างมือให้เพียงพอเหมาะสมกับวัยและถูกสุขลักษณะ และมีการรักษาความสะอาดภายในและภายนอก อาคารของศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กตามเกณฑ์มาตรฐาน และศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กมีการดูแลความปลอดภัย ของพืน้ ทีท่ งั้ ภายในและภายนอกอาคาร เช่นตัวอาคารมัน่ คงแข็งแรงและปลอดภัยประตูหน้าต่างเพดาน อยู่ในสภาพดีมีทางเข้า–ออกอย่างน้อย๒ทางหรือถ้ามีทางเข้า–ออกทางเดียวต้องกว้างอย่างน้อย ๒๐๐ เมตรการจัดท�ำห้องน�้ำและห้องส้วมถูกสุขลักษณะ เป็นต้น นอกจากนี้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการ ก�ำหนดจุดจอดรถส�ำหรับผู้ปกครองเมื่อมาส่งเด็กที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พร้อมกับมีสัญลักษณ์บน พื้นถนน ฟุตบาท หรือป้ายบอกจุด จอดรถ เส้นทางการเดินรถ เพื่อให้เด็กและผู้ปกครองได้ทราบถึง กฎจราจรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและเพื่อความปลอดภัยของเด็ก โดยจุดจอดรถต้องอยู่ห่างจากพื้นที่ การท�ำกิจกรรมของเด็กมีการรณรงค์สวมหมวกกันน๊อคส�ำหรับผู้ปกครองและเด็ก ส�ำหรับผู้ปกครองที่
202
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ใช้รถจักรยานยนต์มาส่งเด็กที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีจุดคัดกรองสุขภาพเด็ก จุดล้างมือ ก่อนเข้ามาใน ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก เพือ่ ป้องกันการแพร่ระบาดของโรค และศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กมีการจัดสถานทีส่ ำ� หรับ จัดเตรียมอาหารเครือ่ งดืม่ และของว่างทีถ่ กู สุขลักษณะและมีสถานทีร่ บั ประทานอาหารโต๊ะเก้าอีอ้ ปุ กรณ์ ภาชนะใส่อาหารที่ปลอดภัยสะอาดและขนาดเหมาะสมเพียงพอกับเด็ก รวมถึงการประกอบอาหารที่ ถูกสุขลักษณะ และการจัดการน�ำ้ ดื่มน�้ำใช้ให้สะอาดและเพียงพอ และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการจัดท�ำ พื้นที่ส�ำหรับดูแลเด็กป่วยที่เป็นสัดส่วนมีการจัดเตรียมอุปกรณ์ส�ำหรับดูแลเด็กป่วยและเด็กที่ได้รับ อุบัติเหตุให้เพียงพอ และมีการก�ำหนดมาตรการด้านความปลอดภัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเรื่อง ระบบป้องกันภัยและรับรองเหตุฉุกเฉินระบบป้องกันภัยจากอุปกรณ์ระบบป้องกันภัยจากสัตว์ระบบ ป้องกันภัยจากบุคคลและระบบความปลอดภัยในการเดินทาง นอกจากนี้ องค์การบริหารส่วนต�ำบลสถาน ยังได้ติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดเสี่ยง ติดกระจกโค้งมนบริเวณทางแยก ต่อเติมหลังคาบริเวณสนามเด็กเล่นในร่ม และบริเวณที่รับประทาน อาหาร ตลอดจนติดตัง้ อ่างล้างมือให้เพียงพอกับเด็ก ติดตัง้ มุง้ ลวดประตูหน้าต่างกันแมลง และก่อสร้าง ถนนคอนกรีตเสริมเหล็กเข้าสู่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่อจะได้สัญจรไปมาสะดวกและปลอดภัย ก่อสร้าง รัว้ รอบขอบชิดทัง้ สีด่ า้ น ปรับภูมทิ ศั น์ให้เอือ้ ต่อการเรียนรูโ้ ดยชุมชนเข้ามามีสว่ นร่วมและมีผมู้ จี ติ ศรัทธา ร่วมบริจาคงบประมาณปลูกหญ้าสนามเด็กเล่น ปรับภูมิทัศน์ใน ศพด.ให้ร่มรื่น ผู้ปกครองมาช่วย ท�ำความสะอาดศูนย์ฯ จะเห็นได้ว่าการพัฒนาเด็กปฐมวัยต้องอาศัยการมีส่วนร่วมจากหลายภาคส่วน ทั้งนี้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกคนก็มีเป้าหมายเดียวกันคือ ต้องการให้เด็กในวันนี้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ในวัน ข้างหน้าเป็นอนาคตของชาติ ต่อไป
๓. ทุนทางสังคม กระบวนการด�ำเนินการของต�ำบลสถานเพือ่ ขับเคลือ่ นการพัฒนาการจัดการสิง่ แวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อสุขภาพเด็กและการเรียนรู้ของเด็ก มีแหล่งทุนที่มีส่วนร่วมและสนับสนุนการด�ำเนินงานดังนี้ ๓.๑ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการหลัก ๑) ทุนระดับกลุ่มและองค์กรชุมชน ประกอบด้วย กลุ่ม อสม.ตรวจลูกน�ำ้ ยุงลาย คว�ำ่ ขัน คว�ำ่ กะลาแหล่งเพาะพันธุย์ งุ กลุม่ อปพร.จะให้ความช่วยเหลือกรณีเกิดเหตุฉกุ เฉินหรือภัยพิบตั ิ อ�ำนวย ความสะดวกและความปลอดภัยเวลาจัดงานวันเด็กแห่งชาติ กลุม่ ผูส้ งู อายุ จะมีบทบาทในการถ่ายทอด เกี่ยวภูมปิ ัญญาท้องถิ่นให้กับเด็กปฐมวัย
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
203
๒) ทุนระดับหน่วยงานและแหล่งประโยชน์ องค์การบริหารส่วนต�ำบลสถาน มีนโยบายใน การพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ให้เด็กปฐมวัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลสถาน มีบทบาทในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ มีการตรวจพัฒนาการเด็กปฐมวัย ตรวจคัดกรองโรค ป่าชุมชน เป็นแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับการศึกษาธรรมชาติ แม่นำ้� ล�ำคลอง ให้เด็กได้เรียนรู้ถึงประโยชน์ของแหล่งน�ำ้ ที่มีผลต่อการด�ำรงชีวติ ของมนุษย์ ๓) ทุนระดับหมู่บ้าน ประกอบด้วย ระบบประปา การจัดการขยะ ปลูกผักปลอดสารพิษ ท�ำ เกษตรอินทรีย์ กิจกรรมการจัดท�ำระบบประปาเพือ่ ให้มนี �้ำสะอาดใช้ใน ศพด. หมู่บ้าน และศพด.มีการ รณรงค์คัดแยกและลดปริมาณขยะ และปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทานเองและเป็นอาหารกลาง วันให้เด็กใน ศพด. และชาวบ้านท�ำการเกษตรอินทรีย์ ก่อให้เกิดความปลอดภัยต่อตัวเด็กและชุมชน ๔) ทุนระดับต�ำบล กองทุนสวัสดิการชุมชนต�ำบลสถาน อบต.สมทบงบประมาณให้กองทุนฯ ปีละ ๑๐๐,๐๐๐.-บาท เพื่อเป็นสวัสดิการให้กับสมาชิกกองทุน เช่น กรณีหญิงมีครรภ์ท่ีเป็นสมาชิก กองทุน คลอดบุตรจะได้ค่าคลอดบุตร เป็นต้น ๕) ทุนระดับเครือข่าย ส�ำนักงานพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์จงั หวัดน่าน มาจัด กิจกรรมให้ความรูแ้ ก่เยาวชนเกีย่ วกับการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์และการตัง้ ครรภ์กอ่ นวัยอันควร สภา วัฒนธรรมต�ำบลสถาน มีเครือข่ายคณะกรรมการสภาวัฒนธรรมในทุกหมูบ่ า้ น ทีจ่ ะด�ำเนินงานเกีย่ วกับ การส่งเสริม การอนุรักษ์เกี่ยวกับ ศาสนา วัฒนาธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้เด็กๆ ไว้เรียนรู้ และสืบทอดต่อไป ๓.๒ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการรอง ๑) ทุนบุคคลและครอบครัว ประกอบด้วยบุคคลที่มาสนับสนุนการด�ำเนินงานเกี่ยวกับเด็ก ปฐมวัย ได้แก่ มีบุคคลมาบริจาคงบประมาณให้ปลูกหญ้าสนามเด็กเล่นกลางแจ้ง ผู้น�ำชุมชนช่วย ประชาสัมพันธ์ผ่านหอกระจายข่าวกรณีมีหนังสือให้ช่วยประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการด�ำเนินงานและ กิจกรรมต่างของ ศพด. ผู้ปกครองมีจิตอาสามาตัดหญ้าให้สนามกีฬากีฬา ของศพด. ๒) ทุนระดับกลุม่ และองค์กรชุมชน ประกอบด้วย กลุ่มแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร กลุ่ม จักสาน เป็นแหล่งเรียนรู้ให้เด็กปฐมวัย กลุ่มออมทรัพย์ เป็นแหล่งเรียนรู้ในเรื่องการออมให้เด็กได้ ๓) ทุนระดับหน่วยงานและแหล่งประโยชน์ โรงพยาบาลนาน้อย โรงพยาบาลน่าน ให้การ สนับสนุนการดูแลกรณีทเี่ กิดอุบตุ เิ หตุของเด็กปฐมวัยและส่งตัวไปรักษาต่อยังโรงพยาบาลระดับอ�ำเภอ และจังหวัด
204
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๔. วัตถุประสงค์ ๑) เพือ่ ให้เด็กปฐมวัย ๐-๕ ปี ในพืน้ ทีต่ ำ� บลสถานมีสภาวะแวดล้อมทีด่ เี อือ้ ต่อการเรียนรู้ และ มีสุขภาพที่ดี ๒) เพื่อให้เด็กปฐมวัย มีความปลอดภัยในการด�ำเนินชีวิตทั้งในบ้าน นอกบ้าน ๓) เพือ่ ให้เด็กปฐมวัย มีความปลอดภัยในการด�ำเนินชีวติ ทัง้ ในอาคารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก และ นอกอาคารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก
๕. วิธีการท�ำงาน องค์การบริหารส่วนต�ำบลสถานมีการด�ำเนินงานและกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการจัดการ สิง่ แวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อสุขภาพเด็กและการเรียนรูข้ องเด็ก โดยได้รบั ความร่วมมือ ช่วยเหลือ และสนับสนุน จากองค์กรชุมชน ซึ่งมีกระบวนการด�ำเนินงาน ดังนี้ ๑) เริม่ จากผู้บริหารท้องถิน่ มีนโยบายทีจ่ ะพัฒนาศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กในสังกัด ให้ได้มาตรฐาน ตามมาตรฐานศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กแห่งชาติ และได้มาตรฐานของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ โดย มีนโยบายที่จะจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพเด็กและการเรียนรู้ของเด็ก ๒) นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลสถาน ได้แต่งตั้งคณะท�ำงานเพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อ ต่อสุขภาพเด็กและการเรียนรู้เด็ก ๓) คณะท�ำงานจัดประชุมก�ำหนดแนวทางในการด�ำเนินงาน ก�ำหนดผูร้ บั ผิดชอบในการท�ำงาน และก�ำหนดระยะเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดในการจัดเก็บข้อมูล เพื่อค้นหาปัญหาและความต้องการใน เด็กปฐมวัยช่วงวัย ๐-๕ ปี ๔) ท�ำการส�ำรวจข้อมูลเกีย่ วกับปัญหาและความต้องการของเด็กปฐมวัย โดยการลงไปในพืน้ ที่ และใช้แบบสอบถามศักยภาพชุมชนท้องถิ่นและการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่น ให้ครอบคลุมทุน ทางสังคม ๖ ระดับ ได้แก่ บุคคลและครอบครัว กลุม่ ทางสังคม หน่วยงานและแหล่งประโยชน์ หมูบ่ า้ น หรือชุมชนจัดการตนเอง ต�ำบล และเครือข่าย ๕) น�ำข้อมูลที่ได้จากการส�ำรวจการวิจัยชุมชนเชิงชาติพันธุ์วรรณาแบบเร่งด่วน(RECAP)และ ข้อมูลต�ำบล (TCNAP) มาจัดเก็บในคอมพิวเตอร์ เพื่อเป็นฐานข้อมูลประกอบการดูแลเด็กปฐมวัย ๖) น�ำข้อมูลที่ได้มาประมวลผล เพื่อให้ทราบถึงปัญหา และความต้องการของเด็กปฐมวัย ช่วงวัย ๐-๕ ปี เพือ่ เป็นข้อมูลในการด�ำเนินงานพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิน่ ด้าน การจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพเด็กและการเรียนรู้ของเด็ก
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
205
๗) ใช้การท�ำงานแบบการมีสว่ นร่วมจากทุกภาคส่วน ได้แก่ ประสานฝ่ายกองช่างให้เขียนแบบ ประมาณราคาโครงการการก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก เข้าสูศ่ นู ย์พฒ ั นาเด็กเล็ก โครงการก่อสร้าง รั้ว เพื่อให้ความปลอดภัยต่อตัวเด็ก การประสานเจ้าหน้าที่ รพ.สต.ต�ำบลสถาน มาตรวจสุขภาพช่อง ปากให้เด็กปฐมวัย ให้เจ้าพนักงานป้องกันมาฝึกซ้อมแผนป้องกันอัคคีภัยใน ศพด. เป็นต้น ๘) มีการประเมินผลการจัดการสิ่งแวดล้อมที่อื้อต่อสุขภาพเด็กและการเรียนรู้ของเด็กทุก ๖ เดือนเพื่อน�ำผลที่ได้จากการประเมินมาปรับปรุงแก้ไขในการพัฒนา
๖. การเชื่อมโยงหรือส่งผลที่เอื้อต่อการท�ำงานกับกลุ่มงานและกิจกรรมอื่นๆ การพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชน เกีย่ วกับการจัดสภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อสุขภาพ เด็กและการเรียนรู้ของเด็ก ของต�ำบลสถานท�ำให้เกิดการท�ำงานร่วมกันหลายภาคส่วนในพื้นที่ มีการ จัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาและความต้องการเกี่ยวกับเด็กอายุ ๐-๕ ปี โดยคนในชุมชนเข้ามามีส่วน ร่วมจากของ ๖ กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ อบต. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาครอบครัว รพ.สต. อาสาสมัครและทุนทางสังคมต่างๆ มีการจัดคนให้ตรงกับงาน มีการพัฒนาศักยภาพแกนน�ำส�ำหรับการ เป็นวิทยากรผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ของแหล่งเรียนรู้ ได้ท�ำกิจกรรมร่วมกับผู้น�ำชุมชนในการประชุม ปรึกษาหารือเกีย่ วกับการก�ำหนดแนวทางในการด�ำเนินงาน ปราชญ์ชาวบ้านได้ให้ความรูแ้ ก่เด็กปฐมวัย ในการถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการท�ำของเล่นจากภูมิปัญญาท้องถิ่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพเข้า มามีบทบาทในการตรวจคัดกรอง เกีย่ วกับพัฒนาการและสุขภาพของเด็ก เพือ่ เป็นข้อมูลในการพัฒนา เด็ก ผู้ปกครอง และคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสภาพแวดล้อมในชุมชน และในศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เช่น ช่วยกันท�ำความสะอาดบริเวณศูนย์ การตัดหญ้าสนามเด็กเล่น และสนามกีฬา เป็นต้น องค์การบริหารส่วนต�ำบลสถาน ตั้งงบประมาณในข้อบัญญัติเพื่อก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็กเข้า สู่ ศพด. การตั้งงบประมาณปรับภูมิทัศน์ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ เป็นต้น
๗. ผลผลิตและผลลัพธ์ ๗.๑ ผลต่อประชากรเป้าหมาย เด็กปฐมวัย ๐-๕ ปี มีสภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ พืน้ ทีท่ งั้ ในบ้านนอกบ้านและบริเวณในอาคารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กนอกอาคารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กมีความ ปลอดภัย ส่งผลให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการ และสุขภาพที่ดีขึ้น
206
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๗.๒ ผลต่อคุณภาพชีวิตของกลุ่มประชากร ๕ มิติ (สังคม เศรษฐกิจ สภาวะแวดล้อม สุขภาพ และการเมืองการปกครอง) ๑) ด้านสังคม ด้านสังคมในการดูแลเด็กปฐมวัย จากกระบวนการด�ำเนินงานและกิจกรรม โดยผูป้ กครองมีจติ อาสามาร่วมระดมทุน และลงแรงมาช่วยการพัฒนาปรับภูมทิ ศั น์ศนู ย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ปลูกหญ้าสนามเด็กเล่น ปลูกต้นไม้ประดับเพือ่ ความสวยงามและร่มรืน่ เอือ้ ต่อการเรียนรูใ้ นการส่งเสริม พัฒนาการเด็ก ผู้ปกครองมาช่วยท�ำความสะอาดศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นประจ�ำทุกๆ เดือน ๒) ด้านเศรษฐกิจ ต�ำบลสถานมีการท�ำการเกษตรปลอดสารพิษ โดยใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพใน การบ�ำรุงพืชผลทางเกษตร สามารถลดรายจ่ายภายในครัวเรือนได้ และในชุมชนมีกลุม่ ออมทรัพย์ เป็น กลุ่มที่เด็กปฐมวัยเข้ามามีส่วนร่วมและเรียนรู้ในการออม ประชาชนมีอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ เช่น การ แปรรูปผลผลิตทางการเกษตรไว้จ�ำหน่าย ส่งผลให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีรายได้เพิ่มขึ้น เป็นต้น ๓) ด้านสภาวะแวดล้อม มีการจัดการสภาวะแวดล้อมในชุมชน บริเวณภายในบ้านเด็ก ให้ มีการติดตั้งปลั๊กไฟที่สูง จากพื้นการจัดวางเครื่องใช้ไฟฟ้า การจัดเก็บของมีคมภายนอกบ้าน ตรงจุด อันตราย พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายติดตั้งไฟส่องสว่าง การซ่อมแซมถนน สนามเด็กเล่น จัดให้มี ลานกีฬา และมีการจัดการสภาวะแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บริเวณภายในอาคารศูนย์ฯ จัดหา เครื่องเล่นเด็กที่ได้มาตรฐานปลอดภัย เสาที่เป็นเหลี่ยมป้องกันการบาดเจ็บด้วยการน�ำเบาะนวมมา หุม้ ไว้ ภายนอกอาคารศูนย์ฯ จัดกิจกรรมปลูกต้นไม้รว่ มกับเด็กและผูป้ กครอง สอนเด็กรูจ้ กั คัดแยกและ ลดจ�ำนวนขยะ ปรับแต่งภูมิทศั น์บริเวณศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้ร่มรื่น เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กๆ ๔) ด้านสุขภาพ องค์การบริหารส่วนต�ำบลสถาน ร่วมกับ รพ.สต.สถานและศพด. จัดให้มี บริการด้านสุขภาพส�ำหรับหญิงตั้งครรภ์และเด็ก ๐-๕ ปี ได้แก่ บริการให้คำ� ปรึกษา หรือวางแผนการ ตั้งครรภ์ กับสตรีวัยเจริญพันธ์และครอบครัว จัดให้มีจุดล้างมือที่เพียงพอ รวมทั้งมีผ้าเช็ดมือที่สะอาด จัดซื้ออาหารเสริม(นม) ให้เด็กอายุ ๑.๖ -๒ ปี สนับสนุนค่าอาหารกลางวัน อาหารเสริม(นม) ใน ศพด. จัดให้มีลานกีฬาออกก�ำลังกายระหว่างผู้ปกครองและเด็กปฐมวัย ๕) ด้านการเมืองการปกครอง ผู้บริหารมีนโยบายส่งเสริมด้านสุขภาพเด็กและสิ่งแวดล้อม ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ทั้งเด็กที่อยู่ในชุมชน และที่เข้าเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตั้ง งบประมาณในข้อบัญญัติเพื่อสนับสนุนการพัฒนาเด็กปฐมวัย ๗.๓ ผลต่อทุนทางสังคมอื่นๆ กลุม่ บุคคลในพืน้ ทีม่ คี วามเชือ่ มโยงกับการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชน ท้องถิน่ เพราะวิถชี วี ติ ในต�ำบลสถานเป็นแบบพึง่ พาอาศัยกันช่วยเหลือซึง่ กันและกัน กลุ่มทางสังคมหลายกลุ่ม จ�ำเป็นต้องมีการเชื่อมทั้งงานและคนร่วมกัน ท�ำให้เกิดการบริหารคน งาน ข้อมูล และงบประมาณใน
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
207
การด�ำเนินการ เกิดการสร้างงานให้แก่คนในชุมชน ทัง้ ยังเป็นแหล่งเรียนรูร้ ะบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดย ชุมชนท้องถิ่น
๘. กลไก เครื่องมือในการด�ำเนินงาน การพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย โดยชุมชนท้องถิ่นเพื่อให้ครอบคลุมทุกด้านจ�ำเป็นต้อง มีการบริหารจัดการร่วมกันกับคนในชุมชนและหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ผ่านการประชุมหรือประชาคมร่วม กันโดยให้ผทู้ มี่ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ได้มบี ทบาทในการเสนอความคิดเกีย่ วกับการพัฒนาเด็ก เสนอแนวทาง เกี่ยวกับการด�ำเนินงานเกี่ยวกับเด็กช่วงอายุ ๐-๕ ปี เช่น การส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้สมวัย ต้องท�ำ อย่างไร และการลงพืน้ ทีเ่ พือ่ สัมภาษณ์ จัดเก็บข้อมูลของชุมชนเกีย่ วกับเด็กทัง้ ทีเ่ ป็นปัญหา และความ ต้องการ เพือ่ น�ำมาวางแผน ในข้อมูลมาวางแผนในการด�ำเนินงาน มีการด�ำเนินงานโดยอาศัยคูม่ อื การ ด�ำเนินงานเกี่ยวกับการปรับสภาวะแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก เป็นแนวในการด�ำเนินงานที่ ตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการ เด็กได้รับการส่งเสริมพัฒนาการได้ถูกต้องสมวัย มีคุณภาพ พร้อมที่จะเข้าเรียนในระดับที่สูงขึ้น
๙. ปัจจัยเงื่อนไข ปัจจัยที่ท�ำให้ท�ำได้ส�ำเร็จ ใช้หลักการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม จัดคนให้ตรงงานหรือตาม ความถนัด ความสามารถ มีกระบวนการจัดเก็บข้อมูลเกีย่ วกับปัญหาและความต้องการของเด็กปฐมวัย อายุ ๐-๕ ปี ทีค่ รอบคลุมและถูกต้องเชือ่ ถือได้ทกุ มิติ เพือ่ ใช้เป็นฐานข้อมูลในการจัดการกับปัญหา และ ความต้องการ ได้ตรงจุดกับกลุ่มเป้าหมายมากที่สุด งานทุกอย่างส�ำเร็จได้เกิดจากการมีส่วนร่วมจาก ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง โอกาสหรือแนวทางการพัฒนา การสร้างความเข้าใจกับคนในชุมชน และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ ให้เกิดความเข้าใจไปในทิศทางเดียวกันเกีย่ วกับการด�ำเนินกิจกรรมการจัดการสิง่ แวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อ สุขภาพเด็กและการเรียนรู้ของเด็ก เมื่อคนในชุมคน หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้รับรู้และเข้าใจตั้งแต่ ต้นแล้ว เมือ่ มีการประสานขอความร่วมมือเพือ่ ให้งานบรรลุวตั ถุประสงค์ของโครงการ ก็จะเป็นไปอย่าง เรียบร้อย สามารถแก้ไขปัญหาและสนองความต้องการด้านเด็กปฐมวัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
208
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๑๐. ความเชื่อมโยงต่อ ๗ คุณลักษณะการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่น ๑๐.๑ การสร้างการเรียนรู้ปัญหาและความต้องการของชุมชน ต�ำบลสถานมีการจัดเวทีประชาคม ร่วมกับผู้นำ� ชุมชน หน่วยงานราชการ กลุ่มและองค์กร ชุมชน ประชาชนทั่วไป เข้าร่วมเวทีเพื่อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาและความต้องการของเด็ก ปฐมวัยเพื่อเป็นข้อมูลในการดูแลเด็ก และก�ำหนดเป้าหมายเพื่อการดูเด็กปฐมวัย ได้แก่ มีการส่งเสริม พัฒนาการเด็กปฐมวัยให้มพี ัฒนาการเหมาะสมตามวัย การส่งเสริมศักยภาพการดูแลเด็กปฐมวัยของ แม่และครอบครัวด้วยการอบรมให้ความรู้ถึงบทบาทในการช่วยส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่บ้าน การน�ำ ข้อมูลจาก RECAP และ TCNAP ที่ได้ทราบถึงปัญหาและความต้องการด้านสุขภาพของแม่และเด็ก ปฐมวัยมาจัดการต่อปัญหาและความต้องการของเด็กปฐมวัยในชุมชน ๑๐.๒ การสร้างกลไกลการบริหารจัดการตนเองในทุกระดับ ต�ำบลสถานมีการสร้างกลไกในการบริหารจัดการในการดูแลเด็กปฐมวัยในทุกระดับ ตั้งแต่ ระดับครอบครัว ได้แก่ การแก้ปัญหาในครอบครัวมีผู้น�ำชุมชน ได้แก่ ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้สูงอายุ เป็น ผูเ้ จรจาไกล่เกลีย่ ปัญหาในระดับครอบครัว มีกลุม่ อาสาสมัครสาธารณสุข ชมรมผูส้ งู อายุ เพือ่ ถ่ายทอด ความรู้และทักษะในการดูแลเด็กปฐมวัย มีศูนย์พัฒนาครอบครัว ท�ำหน้าที่ในการเชื่อมประสานการ ท�ำงานในการดูแลเด็กปฐมวัยในช่วงปกติ เมื่อเกิดภัยพิบัติ ภาวะฉุกเฉิน นอกจากนี้ครอบครัวของเด็ก ปฐมวัย ยังมีส่วนร่วมกับการบริหารและจัดการตนเองของต�ำบลโดยการเข้าร่วมเวทีประชาคมหมู่บ้าน การประชุมของกลุ่มต่างๆ ๑๐.๓ การจัดการตนเองให้มีความรู้สึกเป็นเจ้าของ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดกระบวนการในการผลักดันและขับเคลื่อนให้จัดการและแก้ปัญหาในการดูแล เด็กปฐมวัยในพื้นที่มากกว่าที่จะให้หน่วยงานองค์กรอื่นภายนอกชุมชนเข้ามาให้การช่วยเหลือ ต�ำบล สถาน มีกระบวนการในการด�ำเนินงาน โดยการจัดท�ำของเล่นพืน้ บ้าน การส่งเสริมให้ใช้ศลิ ปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาพื้นบ้านในการเรียนรู้ของเด็ก และการจัดให้มีพื้นที่สาธารณะเพื่อให้กิจกรรมร่วมกันของ สมาชิกในครอบครัวและชุมชน ๑๐.๔ การสร้างการมีส่วนร่วม ในทุกมิติการดูแลเด็กปฐมวัยในชุมชน โดยการร่วมคิดร่วมท�ำงาน ร่วมรับประโยชน์ และร่วม ปรับแนวทางในการด�ำเนินงานเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อเด็กปฐมวัย โดยต�ำบลสถานเปิดโอกาสให้ ครอบครัว กลุ่มองค์กรชุมชน หน่วยงานภาครัฐในพื้นที่ เข้ามามีส่วนร่วมในการการระดมความคิดเห็น ผ่านเวทีประชาคม การร่วมท�ำกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและพัฒนาการดูแลเด็กปฐมวัย การผลักดันให้เกิด
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
209
รูปแบบงานใหม่เพือ่ การดูแลเด็กปฐมวัย มีการเปิดโอกาสให้ผเู้ ชีย่ วชาญด้านเด็กปฐมวัยภายนอกพืน้ ที่ มามีส่วนร่วมในการพัฒนางานและกิจกรรมเพื่อการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยในพื้นที่ ๑๐.๕ การระดมเงินและทรัพยากรเพื่อเป็นทุน ต�ำบลสถานจะมีการจัดตั้งกองทุนสวัสดิการชุมชนต�ำบลสถาน ให้เงินสมทบกองทุนเพื่อจัด สวัสดิการดูแลเด็กปฐมวัยและครอบครัวที่เป็นสมาชิกกองทุน มีกลุ่มออมทรัพย์ กองทุนหมู่บ้านทุก หมูบ่ า้ น เพือ่ เป็นกลไกสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจของครอบครัวเด็กปฐมวัย มีแหล่งเงินทุนเพือ่ กูย้ มื ในการประกอบอาชีพของครอบครัวเด็กปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้มีเงินทุนหมุนเวียนของชุมชนเพื่อ การดูแลเด็กปฐมวัย ๑๐.๖ การมีข้อตกลงเป้าหมายเพื่อสร้างความยั่งยืน และสร้างความสัมพันธ์แนวราบ อันเกิดจากการช่วยเหลือเกื้อกูลกันของคนในชุมชน ต�ำบลสถานได้มีการจัดท�ำข้อตกลงทั้งใน ระดับบุคคลและครอบครัว ระดับกลุ่มและองค์กร ระดับหน่วยงาน ระดับหมู่บ้าน ระดับต�ำบล และ ระดับเครือข่าย โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาศักยภาพแม่และครอบครัว อาสาสมัครในการดูแลเด็ก ปฐมวัย มีการท�ำวิจยั ชุมชนเพือ่ น�ำสู่การจัดการแก้ปัญหาในการดูแลเด็กปฐมวัยในพืน้ ที่ มีการสร้างข้อ ตกลงและกติกาเพื่อการดูแลเด็กปฐมวัยและครอบครัว ได้แก่ การเฝ้าระวังความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับ เด็กปฐมวัย การขับขี่ปลอดภัยในชุมชนเป็นการช่วยเหลือเกื้อกูลกันของคนในชุมชน ๑๐.๗ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กร หน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่ ต�ำบลสถานมีการจัดการความร่วมมือกับรพ.สต.สถาน โรงพยาบาลนาน้อย ในการสนับสนุน การดูแลเด็กปฐมวัยในพื้นที่ ได้แก่ การส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย โครงการเกลือไอโอดีนในหญิง ตัง้ ครรภ์ การอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครในการดูแลเด็กปฐมวัยและครอบครัว การส่งเสริมอาชีพ เป็นต้น
๑๑. การตอบสนองต่อตัวชี้วัด ในการจัดสภาพสิง่ แวดล้อมให้เอือ้ ต่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ตอบสนองต่อชุดกิจกรรมการ พัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย ดังนี้
210
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
เด็ก ๐-๓ ปี ชุดกิจกรรมที่ ๒ การพัฒนาสภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อเด็ก ๐- ๓ ปี ในตัวชีว้ ดั ที่ ๗) มีบริการปรับ บ้านและสภาพแวดล้อมภายในบ้านให้เอื้อต่อการด�ำเนินชีวิตของเด็ก ๐-๓ ปี โดยการติดตั้งปลั๊กไฟที่ สูงจากพื้น การจัดวางเครื่องใช้ไฟฟ้า การจัดเก็บของมีคม จัดให้มีเครื่องเล่นเด็กที่ได้มาตรฐานและ ปลอดภัย เป็นต้น ตัวชี้วัดที่ ๙) ปรับโครงสร้างอาคารสถานที่ และสิ่งแวดล้อมในสถานที่ให้บริการ ส�ำหรับเด็ก ๐-๓ ปี ตัวชีว้ ดั ที่ ๑๐) เป็นศูนย์ประสานงานระหว่างผูป้ กครองเด็กปฐมวัยกับ รพ.สต.สถาน ในการให้ยมื อุปกรณ์ที่จ�ำเป็น ในการช่วยเหลือในการด�ำเนินชีวิตของเด็ก ๐-๓ ปี ทั้งเด็กป่วย พิการ และกลุ่มปกติ ตัวชีว้ ดั ที่ ๑๓) มีการปรับสิง่ แวดล้อมในชุมชนเพือ่ ให้เกิดประโยชน์กบั เด็กและครอบครัว ได้แก่ การมีลานกิจกรรมที่ให้เด็กและครอบครัวมาท�ำกิจกรรมร่วมกัน เด็ก ๓-๕ ปี ชุดกิจกรรมที่ ๒ การพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก ๓ -๕ ปี ในตัวชี้วัดที่ ๑๓) จัดบริการ ปรับบ้านและสิง่ แวดล้อมให้เอือ้ ต่อการด�ำเนินชีวติ ของเด็ก ๓-๕ ปี ได้แก่ การติดตัง้ ปลัก๊ ไฟทีส่ งู จากพืน้ การจัดวางเครือ่ งใช้ไฟฟ้า ของมีคม เครือ่ งเล่นเด็กทีไ่ ด้มาตรฐานปลอดภัย ตัวชีว้ ดั ที่ ๑๕) มีศนู ย์บริการ ให้ยมื อุปกรณ์ทจี่ ำ� เป็น ในการช่วยเหลือในการด�ำเนินชีวติ ของเด็ก ๓-๕ ปี ทัง้ เด็กป่วย พิการ และกลุ่ม ปกติ เช่น อุปกรณ์บริหารกล้ามเนือ้ มัดต่าง ๆ เครือ่ งฝึกยืน เครือ่ งดูดเสมหะถังออกซิเจน รวมทัง้ มีศนู ย์ ประสานงานหรือผู้รับผิดชอบในการช่วยเหลือเรื่องการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือเด็ก ๓-๕ ปีเป็นต้น ตัวชี้วัดที่๑๖) ปรับโครงสร้างอาคารสถานที่ และสิ่งแวดล้อมในสถานที่ให้บริการส�ำหรับเด็ก ๓-๕ ปี ได้แก่ อบต.ตั้งงบประมาณปรับปรุงต่อเติมหลังคาสถานที่รับประทานอาหารให้เด็กปฐมวัย ปรับปรุง สนามเด็กเล่นให้เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กโดยการปลูกหญ้าพื้นสนามเด็กเล่น จัดให้มีของเล่นเด็กที่มี มาตรฐาน ปลอดภัย อุปกรณ์หรือวัสดุที่ไม่ใส่สีท่เี ป็นอันตราย ปลั๊กไฟ อุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดอันตราย เลื่อนหลุดง่าย ตัวชี้วัดที่๑๘) มีการปรับสิ่งแวดล้อมในชุมชนเพื่อให้เกิดประโยชน์กับเด็กและครอบครัว เช่น การมีสนามเด็กเล่นในชุมชน การมีลานกิจกรรมที่ให้เด็กและครอบครัวมาท�ำกิจกรรมร่วมกัน ตัวชีว้ ดั ที๑่ ๙) สร้างวัฒนธรรมในการช่วยเหลือเด็ก ๓-๕ ปีในชุมชนเช่นการเปิดพืน้ ทีช่ ว่ ยเหลือสนับสนุน การดูแลกลุ่มเด็กที่มีความผิดปกติ ได้แก่ การรับบริจาคของเล่นเด็ก สร้างเครือข่ายช่วยเหลือดูแลเด็ก ๓-๕ปี การช่วยเหลือครอบครัวที่มีเด็กป่วยหรือพิการ เป็นต้น ตัวชี้วัดที่๒๐) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการ ดูแลสภาพแวดล้อมภายในอาคารให้ถูกสุขลักษณะและเป็นระเบียบเรียบร้อยเช่น มีพื้นที่เก็บสิ่งปฏิกูล ทีเ่ หมาะสมและถูกสุขลักษณะมีพนื้ ทีเ่ ก็บสิง่ ปฏิกลู เพียงพอมีการก�ำจัดสิง่ ปฏิกลู ทีเ่ พียงพอจัดท�ำจุดล้าง มือให้เพียงพอเหมาะสมกับวัยและถูกสุขลักษณะ และมีการรักษาความสะอาดภายในและภายนอก อาคารของศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กตามเกณฑ์มาตรฐาน ตัวชีว้ ดั ที๒่ ๑) ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กมีการดูแลความ
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
211
ปลอดภัยของพื้นที่ท้ังภายในและภายนอกอาคาร ได้แก่ ตัวอาคารมั่นคงแข็งแรงและปลอดภัยประตู หน้าต่างเพดานอยู่ในสภาพดีมที างเข้า–ออกอย่างน้อย๒ทางหรือถ้ามีทางเข้า–ออกทางเดียวต้องกว้าง อย่างน้อย ๒๐๐ เมตรการจัดท�ำห้องน�ำ้ และห้องส้วมถูกสุขลักษณะ เป็นต้น ตัวชีว้ ดั ที๒่ ๒) ศูนย์พฒ ั นา เด็กเล็กมีการก�ำหนดจุดจอดรถส�ำหรับผู้ปกครองเมื่อมาส่งเด็กที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พร้อมกับมี สัญลักษณ์บนพืน้ ถนน ฟุตบาท หรือป้ายบอกจุด จอดรถ เส้นทางการเดินรถ เพือ่ ให้เด็กและผูป้ กครอง ได้ทราบถึงกฎจราจรในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กและเพื่อความปลอดภัยของเด็ก โดยจุดจอดรถต้องอยู่ห่าง จากพื้นที่การท�ำกิจกรรมของเด็กมีการรณรงค์สวมหมวกกันน็อกส�ำหรับผู้ปกครองและเด็ก ส�ำหรับ ผูป้ กครองทีใ่ ช้รถจักรยานยนต์มาส่งเด็กทีศ่ นู ย์พฒ ั นาเด็กเล็ก มีจดุ คัดกรองสุขภาพเด็ก จุดล้างมือ ก่อน เข้ามาในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรค ตัวชี้วัดที่๒๓) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมี การจัดสถานทีส่ �ำหรับจัดเตรียมอาหารเครือ่ งดืม่ และของว่างทีถ่ กู สุขลักษณะและมีสถานทีร่ บั ประทาน อาหารโต๊ะเก้าอี้อุปกรณ์ภาชนะใส่อาหารที่ปลอดภัยสะอาดและขนาดเหมาะสมเพียงพอกับเด็ก รวมถึงการประกอบอาหารที่ถูกสุขลักษณะ และการจัดการน�้ำดื่มน�้ำใช้ให้สะอาดและเพียงพอ ตัวชี้วดั ที่ ๒๔) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการจัดท�ำพื้นที่ส�ำหรับดูแลเด็กป่วยที่เป็นสัดส่วนมีการจัดเตรียมอุปกรณ์ ส�ำหรับดูแลเด็กป่วยและเด็กทีไ่ ด้รบั อุบตั เิ หตุให้เพียงพอ และตัวชีว้ ดั ที๒่ ๕) มีการก�ำหนดมาตรการด้าน ความปลอดภัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเรื่องระบบป้องกันภัยและรับรองเหตุฉุกเฉินระบบป้องกันภัย จากอุปกรณ์ระบบป้องกันภัยจากสัตว์ระบบป้องกันภัยจากบุคคลและระบบความปลอดภัยในการ เดินทาง
212
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
213
ภาพที่ ๓๑ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้าน ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลสถาน อ�ำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน
ภาพที่ ๓๒ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลสถาน อ�ำเภอนาน้อย จังหวัด น่าน
214
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ภาพที่ ๓๓ การจัดสิง่ แวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อสุขภาพเด็กและและการเรียนรู้ของเด็ก โดยชุมชนท้องถิน่ องค์การบริหาร ส่วนต�ำบลสถาน อ�ำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
215
ส่วนที่ ๓
รูปธรรมการด�ำเนินงาน การพัฒนาระบบการส่งเสริม การเรียนรู้เด็กและเยาวชน โดยชุมชนท้องถิ่น
แนวคิดหลักการ การพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนในพื้นที่เครือข่ายร่วมสร้างชุมชน ท้องถิ่นน่าอยู่ มีการด�ำเนินงานที่ครอบคลุม ๕ ชุดกิจกรรม ได้แก่ การเพิ่มทักษะและสร้างการเรียนรู้ ของเด็กและเยาวชน การมีสว่ นร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาของเด็กและเยาวชน การบริหารจัดการ กองทุนและสวัสดิการส�ำหรับกิจกรรมสร้างสรรค์ การพัฒนาระบบข้อมูลด้านเด็กและเยาวชนและ การน�ำใช้ การก�ำหนดกฎ กติกา หรือข้อบัญญัติท้องถิ่น เพื่อเฝ้าระวังปัญหาและปกป้องสิทธิของ เด็กและเยาวชน เป็นต้น โดยแบ่งได้เป็น ๖ ลักษณะงานประกอบด้วย ๑) การเพิ่มทักษะและสร้างการ เรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ๒) การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไข ปัญหาของเด็กและเยาวชน ๓) การจัดสวัสดิการและการออม ๔) การส่งเสริมอาชีพ ๕) การดูแลและส่งเสริมสุขภาพ ๖) การพัฒนา จิตอาสา ประสบการณ์ในการพัฒนาดังกล่าว ได้ก่อให้เกิดผลลัพธ์และผลกระทบในหลายด้าน รวมทัง้ ก่อให้เกิดนวัตกรรมในหลายพืน้ ที่ โดยแต่ละพืน้ ทีม่ แี นวทางการด�ำเนินงานทัง้ ทีเ่ หมือนและแตกต่างกัน การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ข้ามพืน้ ทีเ่ ป็นแนวทางหนึง่ ในการทีจ่ ะพัฒนาความรู้ของพืน้ ที่ โดยการบูรณาการ ความรู้ที่ได้เป็นแนวทางการพัฒนาการด� ำเนินการในพื้นที่ของตนเอง การเรียนรู้การด� ำเนินงาน เพือ่ พัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชน บทบาทของ อปท.และทุนทางสังคมอืน่ ในการ พัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรูเ้ ด็กและเยาวชน จากพืน้ ทีท่ มี่ ปี ระสบการณ์และมีรปู ธรรมการท�ำงาน ที่เกิดขึ้นจริง รวมถึงการเทียบเคียงความเหมือนความต่างกับพื้นที่ของตนเอง เป็นแนวทางหนึ่งในการ ทีจ่ ะพัฒนาความรูข้ องพืน้ ทีใ่ นการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรูเ้ ด็กและเยาวชน และจะท�ำให้เห็น แนวทางการพัฒนาต่อยอดงานในพื้นที่ได้ ตารางที่ ๒ แสดงพื้นที่ที่แสดงรูปธรรมการด�ำเนินงานการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชน ล�ำดับที่
218
กรณี
พื้นที่
๑.
กรณีการสร้างเยาวชนอาสา
อบต.ดอนแก้ว อ.แม่รมิ จ.เชียงใหม่
๒.
กรณีเยาชนร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ทต.บางไผ่ อ.บางมูลนาก จ.พิจิตร
๓.
กรณีการส่งเสริมการเรียนรู้การจัดการ ตนเอง
อบต.ตากตก อ.บ้านตาก จ.ตาก
๔.
กรณีการส่งเสริมการพัฒนาอาชีพร่วม สร้างเศรษฐกิจพอเพียง
ทต.พุเตย อ.วิเชียรบุรี จ.เพชรบุรี
๕.
กรณีการพัฒนาเยาวชนนักรณรงค์
อบต.มหาชัย อ.ไทรงาม จ.ก�ำแพงเพชร
๖.
กรณีการสร้างวินัยการออม
อบต.กุดสะเทียน อ.ศรีบุญเรือง จ.หนองบัวล�ำพู
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
เยาวชนร่วมสร้าง ชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่
เทศบาลต�ำบลบางไผ่ อ�ำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร
๑. ที่มาหรือฐานคิดของการด�ำเนินกิจกรรม เทศบาลต�ำบลบางไผ่ มีโครงสร้างในการบริหารงานองค์กรแบ่งออกเป็น ฝ่ายบริหาร ฝ่าย สภาเทศบาล และฝ่ายพนักงานประจ�ำ โดยมีบทบาทในการท�ำงานบูรณาการร่วมกันในการก�ำหนด นโยบาย จัดท�ำแผนปฏิบตั งิ านตามภารกิจ และอ�ำนาจหน้าทีต่ ามพระราชบัญญัตเิ ทศบาล ซึง่ เทศบาล ต� ำ บลบางไผ่ ไ ด้ ก� ำ หนดเป้ า หมายในการปฏิ บั ติ ง าน ในเรื่ อ งการดู แ ลประชาชนเป็ น เรื่ อ งส� ำ คั ญ โดยเน้นในเรือ่ งการดูแลผูส้ งู อายุ ประชากรวัยท�ำงาน เด็กและเยาวชนตามทีบ่ ญ ั ญัตไิ ว้ มีเป้าหมายเพือ่ “เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนท้องถิ่น’’ ที่น�ำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีของคนในชุมชน เช่น การบริหารจัดการท้องถิ่นแบบ มีส่วนร่วม การจัดสวัสดิการสังคมโดยชุมชน การจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม การเรียนรู้เด็กและเยาวชน การดูแลสุขภาพโดยชุมชน และการเกษตรกรรม จากแนวคิดยึดหลัก “ประชาชนเป็นศูนย์กลาง” โดยมีเป้าหมาย คือ “ประโยชน์สุขของประชาชน” เป็ น การน�ำ ปั ญ หาและความต้ อ งการของประชาชนในพื้น ที่ม าเป็ น แนวทางในการท� ำงาน ผ่ า น กระบวนการจัดท�ำแผนชุมชน ผ่านการระดมสมองคิดหาทางแก้ไขปัญหาโดยประชาชนเพื่อประชาชน ซึ่ ง มี เ ทศบาลต� ำ บลบางไผ่ ค อยหนุ น เสริ ม และประสานงานหน่ ว ยงานและภาคี ต ่ า งๆ รวมทั้ ง ให้ องค์ความรู้ การน�ำเอาแผนพัฒนาชุมชนมาประกอบแนวทางการพัฒนาต�ำบล การสร้างความรู้ถึง บทบาทหน้าที่ของพลเมือง มีกลไกของการพูดคุยเสวนาในที่ประชุมของภาคประชาชนในเวทีต่างๆ เป็นเครื่องมือท�ำให้ประชาชนได้ทราบถึงบทบาทหน้าที่ของตน ซึ่งเป็นแนวทางส�ำคัญในการพัฒนา ตลอดจนสร้างการมีส่วนร่วม คือ การร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมรับรู้ ร่วมด�ำเนินการ ร่วมประเมินผล และร่วมขับเคลื่อน เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และท้องที่ จึงเป็น สิ่งส�ำคัญที่ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในกิกรรมต่างๆ ของท้องถิ่น เพื่อให้การพัฒนาท้องถิ่น
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
219
บรรลุตามวัตถุประสงค์เป้าหมายที่ตั้งไว้ โดยใช้ทรัพยากรของชุมชนท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์สูงสุด กระบวนการเรียนรู้การมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น เป้าหมาย คือ น�ำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ความรู้และทักษะ โดยมีบุคลากรในเทศบาลและประชาชนในต�ำบล ร่วมสรุป ท�ำความเข้าใจและ หาทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการที่มุ่งแก้ไขทุกข์ และสร้างสุขให้ประชาชน เด็กและเยาวชนก็ตอ้ งได้รบั การเอาใจใส่จากคนในชุมชนและหน่วยงานในพืน้ ที่ จึงต้องมีการขับเคลือ่ น กิจกรรมเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนในหลายๆ ด้านและหลายกิจกรรม การพัฒนาเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนในพื้นที่ของเทศบาลต�ำบลบางไผ่ โดยเชื่อมโยงกับ งานประจ�ำและน�ำใช้ข้อมูลในกระบวนการพัฒนาสุขภาวะของชุมชน การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ และสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาระบบเครือข่ายด้านเด็ก และเยาวชนในการขับเคลื่อนนโยบายการ ด�ำเนินงานของเทศบาลต�ำบลบางไผ่ และองค์กรชุมชน ทัง้ ในระดับพืน้ ทีแ่ ละนอกพืน้ ที่ มีการค้นหาทุน ในพื้นที่ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน มีกลุ่มที่สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ ๑๒ แหล่ง ประกอบด้วย เจ็บเมื่อไหร่ก็โทรมา พี่น�ำน้อง ยาวิเศษ สวยด้วยมือ ปั่นสานฝัน ดนตรีคือชีวิต ศูนย์ตั้งไข่ ศูนย์กูรู ปลูกเลีย้ งเพียงพอ มีออมไม่มีอด วงจรชีวิต และเด็กท�ำได้
๒. งานและกิจกรรม ๒.๑. ภาพรวมระบบการดูแลเด็กและเยาวชนของต�ำบล เทศบาลต�ำบลบางไผ่ มีการด�ำเนินงานเกีย่ วกับเด็กและเยาวชนในระบบส่งเสริมการมีสว่ นร่วม ของเด็กและเยาวชน โดยมีกจิ กรรมช่วยเหลือผูส้ งู อายุในชุมชน โดยการออกเยีย่ มบ้าน เยาวชนจิตอาสา เข้ามาท�ำงานเป็นกลุ่มอาสาสมัครหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ได้มีการฝึกอบรมทักษะการดูแล ปฐมพยาบาลผู้ป่วยเบื้องต้น สร้างลานกิจกรรมและลานกีฬา ได้แก่ สนามชาติชายอารีน่า สนาม ฟุตซอล ห้องดนตรีสากล เวทีแสดงดนตรี ลานกิจกรรมหน้าโรงเรียนผู้สูงอายุ เสริมทักษะด้านดนตรี มี วิ ท ยากรเชี่ ย วชาญทางด้ า นดนตรี ม าสอนเยาวชนในพื้ น ที่ จั ด ที ม แนะแนวการศึ ก ษาต่ อ และ การประกอบอาชีพให้กับเด็กชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ที่โรงเรียนบางไผ่ราษฎร์สงเคราะห์ จัดแข่งขันกีฬา ฟุตบอล “บางไผ่คัพ” โดยมีทีมเยาวชนในพื้นที่เป็นทีมฟุตบอลเข้าแข่งขันภายใต้ชื่อ “บางไผ่ FC” เสริมทักษะด้านกีฬาฟุตบอลโดยครูฝึกสอนที่มีทักษะเชี่ยวชาญทางด้านกีฬาฟุตบอล อบรมเพิ่มทักษะ การเป็นผูน้ ำ� ทีค่ า่ ยกองบิน ๔๖ ไปท�ำกิจกรรมทีค่ า่ ยทหารกับครูฝกึ ทหาร จัดตัง้ กลุม่ อาสาท�ำดี เยาวชน ในพื้นที่เข้ามารวมตัวกันโดยผ่านทางแกนน�ำพี่น�ำน้อง (สภาเด็ก) ออกมาท�ำกิจกรรมในพื้นที่ เช่น การ
220
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ดูแลสุขภาพคนในพื้นที่ จ้างงานเด็กและเยาวชนช่วงปิดภาคเรียนทุกๆ ปี มีจ�ำนวนประชากรทั้งหมด จ�ำนวน ๑,๖๐๔ คน แยกเพศชาย จ�ำนวน ๗๗๗ คน เพศหญิง จ�ำนวน ๘๒๗ คน จ�ำนวนประชากร เด็กและเยาวชนทั้งหมด มีจำ� นวน ๓๓๐ คน โดยแยกเป็นประชากรเด็กและเยาวชน เพศชาย ๑๖๘ คน เพศหญิง ๑๖๒ คน สัดส่วนเด็กและเยาวชนต่อประชากรทัง้ หมดคิดเป็นร้อยละ ๒๐.๕๗ มีงานและ กิจกรรมของทุนทัง้ ๖ ระดับ ดังนี้ ส่งเสริมการเรียนรูข้ องเด็กและเยาวชน โดยแบ่งระบบเด็กและเยาวชน ทั้งหมด ๕ ระบบ ได้แก่ ๑) การสร้างการมีสว่ นร่วม เทศบาลต�ำบลบางไผ่ ได้สนับสนุนการจัดตัง้ กลุม่ รวมถึงการท�ำ กิจกรรมของเด็กและเยาวชน โดยเด็กและเยาวชนรวมตัวกันร่วมกันเทศบาลและชุมชน เก็บขยะ กวาดถนน และพัฒนาสถานที่สาธารณะ มีส่วนร่วมกับเทศบาลในการมีจิตอาสา ออกมาช่วยเหลือ หน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉินและงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่างๆ ในการเฝ้าระวังป้องกัน เหตุฉุกเฉินและการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อเกิดเหตุ เด็กและเยาวชนเข้ามาร่วมสืบสานอนุรักษ์ วัฒนธรรมประเพณีงานเจ้าพ่อส�ำราญ เจ้าแม่ทับทิม เจ้าแกละบางไผ่ โดยร่วมแสดงเองกอ สิงโต มังกร และธิดาเจ้า ๒) การเพิ่มทักษะและสร้างการเรียนรู้ เทศบาลต�ำบลบางไผ่ได้จัดตั้ง กลุ่มดนตรีคือชีวิต กลุ่มพี่นำ� น้อง กลุ่มศูนย์กูรู ชมรมร�ำไม้พลอง กลุ่มศูนย์ตั้งไข่ ชมรมร�ำวงย้อนยุค กลุ่มมีออมไม่มีออด กลุ่มขนมไทย กลุ่มแปรรูปปลาร้าน�ำ้ ปลา โดยมีแกนน�ำ บุคลส�ำคัญ ปราชญ์ชาวบ้านถ่ายทอดความรู้ จัดอบรมทักษะการเรียนรู้ให้กบั เด็กและเยาวชน ๓) การดูแลและส่งเสริมสุขภาพ เทศบาลต�ำบลบางไผ่ได้อบรมให้ความรู้ ฝึกทักษะผ่าน ศูนย์ EMS ศาลเจ้า โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ โรงพยาบาลยุพราชตะพานหิน โรงพยาบาลบางมูลนาก สนามชาติชายอารินา่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมูบ่ า้ นโดยด�ำเนินการให้เด็ก และเยาวชนเข้ามา มีบทบาทและมีส่วนร่วมในการดูแลคนในชุมชน ๔) การพัฒนาจิตอาสา ได้ด�ำเนินงานจัดอบรมน�ำเด็กและเยาวชนเข้ารับการอบรมทักษะ การช่วยเบื้องต้นตามโครงการเจ็บเมื่อไหร่ให้โทรมา ฝึกทักษะสวยด้วยมือ พี่น�ำน้อง เพื่อสร้างการมี ส่วนร่วมในช่วยเหลือชุมชนในการสร้างมีจติ อาสาพัฒนาทักษะโดยมีแกนน�ำและบุคคลส�ำคัญเข้ามามี ส่วนร่วมในการพัฒนา ๕) การส่งเสริมอาชีพ เทศบาลต�ำบลบางไผ่ได้เชิญบุคลส�ำคัญแกนน�ำ ปราชญ์ชาวบ้านแลก เปลีย่ นเพือ่ สร้างความรู้ เพิม่ ทักษะผ่านการอบรมจากกองทุนหมูบ่ า้ น มีออมไม่มอี ด ปลูกเลีย้ งเพียงพอ ขนมไทย กองทุนสัจจะ กลุ่มแปรรูปปลาร้าน�ำ้ ปลา คลองบางไผ่ โรงเรียนบางไผ่ กศน. ศูนย์ฝึกอาชีพ ท่าหอยให้กบั เด็กและเยาวชน
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
221
๒.๒. ประเด็นเด่นของระบบเด็กและเยาวชน (ประเด็นของระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ ของเด็กและเยาวชน กิจกรรมในระบบส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชนต�ำบลบางไผ่ ได้แก่ ร่วมอนุรักษ์ ประเพณีงานเจ้าพ่อเจ้าแม่ร่วมกับชุมชนสืบสานวัฒนธรรมประเพณีของท้องถิ่น โดยการแสดงเองกอ สิงโต มังกร ธิดาเจ้า กลุ่มเยาวชนร่วมกันสร้างกฎกติกาเรื่องการใช้สนามชาติชายอารีน่า (ฟุตบอล) เยาวชนรวมกลุ่มกับเทศบาลและคนในชุมชนร่มกันปลูกต้นไม้ เก็บขยะ และร่วมกันรักษาคลองบางไผ่ ทุกๆ เดือน เยาวชนมีส่วนร่วมกันเทศบาลในการมีจิตอาสาออกมาช่วยเหลือหน่วยบริการการแพทย์ ฉุกเฉินในการเฝ้าระวังและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น การมีส่วนร่วมและการมีจิตอาสา มีแกนน�ำชุมชน ชมรมผู้สูงอายุ และ อสม. เป็นทุนระดับ บุคคล มีกลุม่ สวยด้วยมือ กลุม่ ศูนย์กฎหมายคลายทุกข์ และกลุม่ พีน่ �ำน้อง เป็นทุนระดับกลุม่ ทางสังคม มี อบจ. รพ.สต. วัดบางไผ่ สายตรวจบางไผ่ กศน. วิทยาลัยสารพัดช่าง ศาลเจ้า รร.บางไผ่ สนามชาติ ชายอารีน่า และแหล่งน�้ำธรรมชาติไดคุณโท เป็นทุนระดับหน่วยงานและแหล่งประโยชน์
๓. ทุนทางสังคม ในการด�ำเนินงานของเทศบาลต�ำบลบางไผ่มกี ารน�ำใช้ทนุ ทางสังคมและศักยภาพชุมชนในการ
ส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ประกอบด้วย
๓.๑ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการหลัก ๑) ทุนระดับบุคคลและครอบครัว แบ่งออกเป็นปราชญ์ชาวบ้าน จ�ำนวน ๓ คน โดยให้ ความรู้และสาธิตใช้สมุนไพรและใช้วิธีการรักษาโดยการพ่นเป่า เกษตรปลอดภัย กลุ่มแกนน�ำ ๒) ทุนระดับกลุ่ม องค์กรชุมชน มีจำ� นวน ๑๒ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มมีออมไม่มีอดเป็นการฝึก นิสัยการออม กลุ่มยาวิเศษเป็นการส่งเสริมทักษะการเล่นกีฬา กลุ่มพี่นำ� น้องเปิดโอกาสให้เด็กและ เยาวชน มีสว่ นร่วมและแสดงออก กลุม่ ปลูกเลีย้ งเพียงพอ สร้างการเรียนรูถ้ งึ วิธกี ารท�ำเกษตรปลอดภัย กลุ่มเจ็บเมื่อไหร่ก็โทรมาเป็นการสร้างจิตอาสาในการช่วยเหลือคนในชุมชนในภัยพิบัติ กลุ่มดนตรี คือชีวิตเป็นการรวมกลุ่มเด็กในชุมชนที่มีความถนัดด้านดนตรีใช้เวลาหลังเลิกงาน กลุ่มปั่นสานฝัน เป็ น การรวมกลุ ่ ม ของเด็ ก หลั ง เวลาเลิ ก เรี ย นไปพร้ อ มกั บ กลุ ่ ม ผู ้ ใ หญ่ แ ละร่ ว มกิ จ กรรมส� ำ คั ญ ๆ กลุม่ ศูนย์กรู เู ป็นแหล่งให้ความรูก้ ารเสริมทักษะการใช้เทคโนโลยี กลุม่ ศูนย์ตงั้ ไข่เป็นการดูแลเด็กเล็กใน ด้านต่างๆ กลุม่ สวยด้วยมือการรวมกลุม่ ของเด็กทีช่ ว่ ยสังคมและรักษาสิง่ แวดลิอมและสร้างรายได้ กลุม่ เด็กท�ำได้เป็นการเฝ้าระวังสุขภาพ อาหารปลอดภัย เด็กและเยาวชนทั่วไป สามารถเข้ามาเรียนรู้มี
222
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ส่วนร่วมในการรับผิดชอบร่วมกัน และน�ำความรู้ที่ได้น�ำไปใช้ประโยชน์ในชุมชนท�ำให้สังคมและเป็น ชุมชนน่าอยู่ ๓) ทุนระดับหน่วยงานและแหล่งประโยชน์ มีจำ� นวน ๑๐ แหล่ง ได้แก่ สนามชาติชายอารีน่า แหล่งน�้ำธรรมชาติและสวนสาธารณะ ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลบางไผ่ ศาลพ่อเจ้าส�ำราญ เจ้าแม่ทับทิม เจ้าแกละบางไผ่ ศูนย์บริการการแพทย์ฉุกเฉิน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบางไผ่ อาคาร ชาติชาย โรงเรียนบางไผ่ราษฎร์สงเคราะห์ มีส่วนร่วมในการรับผิดชอบร่วมกัน รู้จักห่วงแหนทรัพยากร ที่มีอยู่ในชุมชน ๓.๒ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการรอง ๑) ทุนระดับบุคคลและครอบครัว แบ่งออกเป็นปราชญ์ชาวบ้าน มีจำ� นวน ๗ คน มีการ ถ่ายทอดให้ความรู้และทักษะด้วยวิธีชาวบ้านที่สืบทอดกันมา แกนน�ำส�ำคัญ ผู้น�ำชุมชนช่วยเหลือ จ�ำนวน ๑๓ คน ท�ำหน้าที่ประสานความช่วยเหลือในทุกๆ ด้านเพื่อผลักดันให้เกิดเป็นรูปธรรม ๒) ทุนระดับองค์กรชุมชน มีจำ� นวน ๗ กลุ่ม กลุ่มแปรรูปน�้ำปลา แปรรูปปลาที่เหลือจาก จ�ำหน่ายต่อยอดผลิตภัณฑ์เรื่องของการถนอมอาหาร กองทุนหมู่บ้านเพื่อส่งเสริมการออมและจัด สวัสดิการชุมชน ให้ความรู้ขนมไทยกลุ่มขนมไทย กลุ่มอสม.เป็นกลุ่มแกนน�ำสุขภาพตั้งแต่เกิดจนถึง เสียชีวิต กลุ่มศาลเจ้าเป็นแหล่งเรียนรู้และการมีส่วนร่วมวัฒนธรรมกลุ่มชมรมร�ำวงย้อนยุคเป็นกลุ่ม การรักษาขนบธรรมเนียม กลุ่มชมรมล�ำไม้พลองกลุ่มรวมตัวเพื่อออกก�ำลังกาย กลุ่มแอโรบิค เด็ก และเยาวชนสามารถศึกษาเรียนรู้เป็นแหล่งหนุนเสริมท�ำให้เกิดทักษะ ๓) ทุนทางหน่วยงานและแหล่งประโยชน์ จ�ำนวน ๑๑ แหล่ง ดังนี้ โรงเรียนท่าหอย อาคาร ป้องกัน อาคารเอนกประสงค์ รพ.สต.บางไผ่ สายตรวจต�ำบลบางไผ่ การศึกษานอกโรงเรียน ตลาดสด บางไผ่ วัดท่าหอย วัดบางไผ่แก้วมณีรตั น์ ลานกีฬาหมูท่ ี่ ๕ คลองบางไผ่ เด็กและเยาวชนสามรถเข้าไป ใช้ประโยชน์ในการท�ำกิจกรรม การเรียนรู้และน�ำไปประกอบอาชีพ
๔. วัตถุประสงค์ ๑) เพือ่ พัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนให้มที กั ษะทีจ่ ำ� เป็นต่อการจัดการองค์กรของตนเองให้ ท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิภาพด้านการลดปัจจัยเสีย่ งด้านสุขภาพ รวมถึงให้มกี าร รวมตัวเป็นเครือข่ายที่ท�ำงานในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง ๒) เพือ่ พัฒนารูปแบบการสร้างการมีสว่ นร่วมของเด็กและเยาวชนในกิจกรรมงานพัฒนา และ เสริมสร้างศักยภาพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีความพร้อมในการท�ำหน้าที่เป็นกลไกขับเคลื่อน เครือข่ายเยาวชนร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
223
๓) เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบข้อมูลและการถอดบทเรียนประสบการณ์การด�ำเนินงาน และการพัฒนาชุดความรูท้ เี่ กีย่ วกับเด็กและเยาวชนในพืน้ ทีข่ ององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ โดยผูกโยง เข้าสู่งานประจ�ำและน�ำใช้ข้อมูลในกระบวนการพัฒนาสุขภาวะของชุมชน รวมถึงการลดปัจจัยเสี่ยง ด้านสุขภาพ ๔) เพื่อสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาระบบเครือข่ายด้านเด็กและเยาวชนในการขับเคลื่อน นโยบายและยุทธศาสตร์การด�ำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรชุมชน ทั้งในระดับ พื้นที่ และขยายเครือข่ายข้ามพื้นที่
๕. วิธีการท�ำงาน เทศบาลต�ำบลบางไผ่ ได้ก�ำหนดเป้าหมายในการด�ำเนินงานตามแผนพัฒนาต�ำบล และได้ ก�ำหนดนโยบายในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนท้องถิ่นด้วย กระบวนการพัฒนาการจัดการ ตนเองของชุมชนท้องถิ่นสู่การเป็นชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ โดยการเสริมสร้างพลังความร่วมมือให้องค์กร หลักในชุมชน ท�ำหน้าที่ของตนได้อย่างเต็มศักยภาพ โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้เชื่อม ประสานให้เกิดการพัฒนาแนวทางการจัดการกับปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อการด�ำเนินชีวติ และคุณภาพชีวติ ของ ประชาชน ทั้งด้านการเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพ จนเกิดเป็นระบบ สนับสนุนการปฏิบัติการต่างๆ ขององค์กรหลักแกนน�ำกลุ่มและเครือข่ายของประชาชน ซึ่งส่งผลให้ แกนน�ำมีทักษะในการจัดการชุมชนตนเอง มีศักยภาพในการสร้าง และน� ำใช้ความรู้ที่เกิดจาก ปฏิบัติการที่ได้ผลดีของชุมชน โดยชุมชนเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และขับเคลื่อนกระบวนการ เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนท้องถิ่นอย่างเป็นพลวัตรควบคู่ไปกับปฏิบัติการจริงอย่างต่อเนื่อง จากการที่เทศบาลต�ำบลบางไผ่ มีแผนงานที่ชัดเจนจึงได้ริเริ่มประชุมรับฟังความคิดเห็นของ กลุ่มประชาชน เพื่อจัดการและแก้ไขปัญหาต่างๆ ของเด็กและเยาวชนที่เกิดขึ้นในท้องถิ่น โดยมีการ เชิญกลุ่มทุนทางสังคมต่างๆ เข้ามาระดมความคิดเห็น เพื่อให้เกิดการช่วยเหลือดูแลซึ่งกันและกัน ในชุมชน โดยเฉพาะกลุ่มเด็กและเยาวชน ได้เริ่มมีการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๕๐ เพือ่ ก�ำหนดเป้าหมายในการท�ำหน้าทีข่ องกลุม่ เด็กและเยาวชน โดยมีเทศบาลต�ำบลบางไผ่ เป็นพีเ่ ลีย้ ง ในการด�ำเนินกิจกรรม ส่งเสริมการจัดกิจกรรมให้แก่เด็กและเยาวชน ให้เด็กเป็นผู้ทำ� กิจกรรม องค์การ ปกครองส่วนท้องถิน่ มีหน้าทีใ่ นการให้การสนับสนุน ส่งเสริม ให้ความช่วยเหลือตามทีเ่ ด็กและเยาวชน เกิดศักยภาพทีจ่ ะท�ำได้ การท�ำงานแบบบูรณาการโดยการขับเคลือ่ นการส่งเสริมการเรียนรูข้ องเด็กและ เยาวชนในพืน้ ทีห่ ลัก เช่น การส่งทีมท�ำงานของท้องถิน่ ผูบ้ ริหารท้องถิน่ ปลัดเทศบาล รองปลัดเทศบาล
224
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
พนักงานเทศบาล เข้าไปแนะน�ำเส้นทางการเรียนต่อเพื่อประกอบอาชีพ การใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ เด็กได้เข้ามามีส่วนร่วมและพัฒนาทักษะของเด็กและเยาวชน ด้านจิตอาสา เปิดโอกาสให้เด็กและ เยาวชนมีสว่ นร่วมในกิจกรรมของชุมชนทุกกิจกรรม เปิดพืน้ ทีส่ ร้างสรรค์ เพือ่ รองรับการจัดกิจกรรมของ เด็กและเยาวชน จัดท�ำข้อตกลงร่วมกัน ก�ำหนดกฎกติการ่วมกัน มีการจัดสรรงบประมาณสนับสนุน จัดหาอุปกรณ์ในการท�ำงานด้านจิตอาสา และร่วมรับผิดชอบในท้องถิ่นร่วมกัน
๖. การเชื่อมโยงหรือส่งผลที่เอื้อต่อการท�ำงานกับกลุ่มงานและกิจกรรมอื่นๆ จากการที่เด็กและเยาวชน ได้มีการรวมตัวเพื่อจัดตั้งกลุ่มต่างๆ ร่วมกันท�ำกิจกรรม โดย
ร่วมกับเทศบาล หน่วยงาน และองค์กรชุมชน เด็กและเยาวชนที่เรียนนอกระบบมีเวลาว่างรวมตัวกัน ช่วยงานกู้ภยั โดยเทศบาลสนับสนุนงบประมาณซื้อรถกู้ชีพ EMS จัดตั้งศูนย์กู้ชีพให้กลุ่มนี้ ออกช่วย เหลือคนเจ็บป่วย ทุกอาชีพ ทุกเพศ ทุกวัย โดยเฉพาะผู้สูงอายุมีการเข้าไปดูแลช่วยเหลือ ออกปฏิบัติ งานกับกลุ่ม อสม. ตรวจพื้นที่และเฝ้าระวังโรค ร่วมกับสายตรวจระงับเหตุในพื้นที่ ท�ำงานร่วมกับกลุ่ม จักรยานปฏิบตั งิ านร่วมกับงานป้องกันฯ เทศบาลต�ำบลบางไผ่ และ รพ.สต.บางไผ่ รวมตัวกันท�ำกิจกรรม ดูแลและรณรงค์รกั ษาสิ่งแวดล้อม ปลูกต้นไม้ เก็บขยะ ท�ำความสะอาดที่สาธารณะต่างๆ รวมตัวกัน ออกก�ำลังกายโดยใช้สนามชาติชายอารีน่า เป็นศูนย์กลางการออกก�ำลังกาย ตั้งทีมฟุตบอลฝึกสอน ร่วมกัน โดยเทศบาลได้จา้ งครูสอน ท�ำให้กลุม่ เด็กและเยาวชนรูส้ กึ รักและหวงแหนพืน้ ทีร่ ว่ มทีใ่ ช้รว่ มกัน ท�ำให้เกิดแหล่งเรียนรู้ ทั้งหมด ๑๒ แหล่ง
๗. ผลผลิตและผลลัพธ์ ๗.๑ ผลต่อประชากรเป้าหมาย เด็กและเยาวชน ผูส้ งู อายุ ผู้ดแู ลเด็กและเยาวชน ครอบครัว ได้เรียนรู้การเสียสละ สร้างความ รู้สึกเป็นเจ้าของในพื้นที่ของตนเอง ๗.๒ ผลต่อคุณภาพชีวิตของกลุ่มประชากร ๕ มิติ ๑) ด้านสังคม ท�ำให้คนในชุมชนมีความปลอดภัยเด็กและเยาวชนมีทักษะและมีความรู้เพิ่ม มากขึ้นสามารถท�ำให้ลดอัตราเสี่ยงจากภัยต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในชุมชนมีระบบการติดต่อสื่อสารทั้งทาง ตรงและทางอ้อม สะดวกรวดเร็วขึน้ ระหว่างกลุม่ เด็กและเยาวชนกับองค์กรและบุคคลในชุมชน มีกองทุน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ลดปัญหายาเสพติดและอบายมุข
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
225
๒) ด้านเศรษฐกิจ มีการให้เกิดการเรียนรู้ด้านการประกอบอาชีพ สามารถผลิตผลทางการ เกษตรออกจ�ำหน่าย ท�ำให้เกิดลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ได้ในกลุ่มเด็กและเยาวชน ครอบครัวและชุมชน ท�ำให้มีเงินเหลือจ่ายใช้เก็บออมในอนาคต เกิดกองทุนช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ๓) ด้านสภาวะแวดล้อม เด็กและเยาวชน กลุม่ ต่างๆ มีจติ อาสาร่วมอนุรกั ษ์ดแู ลรักษาจัดการ สิ่งแวดล้อม โดยมีกลุ่มองค์กรและชุมชน สนับสนุนท�ำให้มีสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ เด็กท�ำผู้ใหญ่หนุน เสริม ท�ำให้เกิดจิตส�ำนึกในการรักษาทรัพยากรธรรมชาติรว่ มกัน ช่วยจัดการสิง่ แวดล้อมให้ผดู้ อ้ ยโอกาส ๔) ด้านสุขภาพ เทศบาลต�ำบลบางไผ่ จัดหาวัสดุอุปกรณ์กีฬา สนามกีฬา อาคารส�ำหรับให้ เด็กและเยาวชนได้ออกก�ำลังกาย โดยมีแกนน�ำการจัดตั้งกลุ่มกีฬา จากแกนน�ำชุมชนช่วยฝึกสอน เป็นการส่งเสริมการดูแลสุขภาพ ท�ำให้เกิดการดูแลช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ระหว่างเด็กและเยาวชน และผูใ้ หญ่ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ มีสขุ ภาพร่างกายทีด่ ี ลดโรคภัยไข้เจ็บ ท�ำให้ลดค่าใช้จา่ ยในการ รักษา มีกลุ่มจิตอาสาออกช่วยเหลือดูแลเด็ก ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียง ๕) ด้านการเมืองการปกครอง มีการพัฒนากฎระเบียบปฏิบัติ เพื่อหนุนเสริมการด�ำเนิน กิจกรรมระหว่างกลุ่มต่างๆ ของเด็กและเยาวชนร่วมกับเทศบาล ผู้น�ำชุมชน องค์กรชุมชน องค์กร ปกครองท้องที่ ท�ำให้เกิดข้อตกลงร่วมกัน ท�ำให้ชุมชนมีกฎระเบียบในการใช้ทรัพยาธรรมชาติร่วมกัน และด�ำรงชีวติ อยู่ในท้องถิ่นที่มีกฎระเบียบร่วมกันอย่างมีระบบ ช่วยลดช่องว่างระหว่างเด็กผู้ใหญ่ ๗.๓ ผลต่อทุนทางสังคมอืน่ ๆ ส่งผลต่อ กลุม่ ชมรมผูส้ งู อายุ กลุม่ ร�ำไม้พลอง เด็กและเยาวชน ในพื้นที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมกับผู้สูงอายุ เป็นการสานความสัมพันธ์และลดช่องว่างระหว่างวัย
๘. กลไก เครื่องมือในการด�ำเนินงาน การด�ำเนินงานการพัฒนาเด็กและเยาวชนร่วมสร้างชุมชนท้องถิน่ น่าอยู่ ได้ปฏิบตั ติ ามแนวทาง การปฏิบตั ิ โดยทางเทศบาลต�ำบลบางไผ่กบั สสส. ได้ลงนามข้อตกลงและรายละเอียดการด�ำเนินงานการ เป็นศูนย์เรียนรู้และประสานงานด้านการพัฒนาสุขภาวะเด็กและเยาวชน (ศปง.) รวมทั้งมีข้อมูล เด็กและเยาวชนในพื้นที่ ที่ได้มาจาก รพ.สต. หน่วยงานในพื้นที่ และข้อมูลจาก TCNAP RECAP โดย ใช้ข้อมูลดังกล่าว บูรณาการร่วมกับนโยบายของผู้บริหารท้องถิ่น ในการขับเคลื่อนการพัฒนาเด็กและ เยาวชนในพื้นที่
226
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๙. ปัจจัยเงื่อนไข ๑) คน กลุ่มเป้าหมายทีช่ ดั เจนทีม่ คี วามรู้ความสามารถเป็นแกนน�ำในการด�ำเนินงานเกีย่ วกับ
แหล่งเรียนรู้ต่างๆ และสมาชิกกลุ่มให้ความร่วมมือ ๒) งานมีการวางแผนแนวทางการด�ำเนินงานที่ชัดเจน น�ำข้อมูลจาก TCNAP RECAP ข้อมูล สุขภาพ จาก รพ.สต.พื้นที่หน่วยงาน กศน. พัฒนาชุมชน มาหนุนเสริม และร่วมกันหาแนวทางในการ พัฒนาที่เหมาะสมกับแต่ละแหล่งเรียนรู้ ๓) ข้อมูล มีการจัดเก็บข้อมูล โดยใช้เครื่องมือ TCNAP RECAP น�ำข้อมูลที่ได้มาใช้ในการ ด�ำเนินงานของแหล่งเรียนรู้ ๔) ทุน ได้รบั งบประมาณสนับสนุนจาก พม. อปท. และกลุม่ ประชาชนทีร่ ว่ มกันท�ำแหล่งเรียนรู้ น�ำมาบริหารจัดการและพัฒนาแหล่งเรียนรู้
๑๐. ความเชื่อมโยงต่อ ๗ คุณลักษณะการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่น ๑๐.๑ การสร้างการเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาวะของเด็กและเยาวชนทีส่ ร้างและพัฒนาขึ้นจากการด�ำเนินกิจกรรมตาม บริบทของชุมชนท้องถิ่นสู่การปฏิบัติ โดยใช้วิธีการท�ำงานใหม่ๆ ที่เกิดประโยชน์และผลลัพธ์ที่ดีต่อ เด็กและเยาวชน ครอบครัว และชุมชน โดยช่วยลดผลกระทบต่อปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ ลดปัญหา ทางสังคม และสร้างภูมคิ มุ้ กันภาวะคุกคามทีอ่ าจเกิดขึน้ ตามกรอบการด�ำเนินงาน ๕ ชุดกิจกรรมหลัก ได้แก่ (๑) การเพิ่มทักษะและสร้างการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน (๒) การมีส่วนร่วมของชุมชนในการ แก้ไขปัญหาของเด็กและเยาวชน (๓) การบริหารจัดการกองทุนและสวัสดิการส�ำหรับกิจกรรมสร้างสรรค์ (๔) การพัฒนาระบบข้อมูลด้านเด็กและเยาวชนและการน�ำใช้ และ (๕) การก�ำหนดกฎ กติกา หรือ ข้อบัญญัติท้องถิ่น เพื่อเฝ้าระวังปัญหาและปกป้องสิทธิของเด็กและเยาวชน ๑๐.๒ การสร้างกลไกการจัดการตนเอง จากการปัญหาและความต้องการส่งผลให้เกิดแนวคิดความต้องการของน�ำชุมชน แกนน�ำ หน่วยงานต่างๆ ที่เข้ามาด�ำเนินงานร่วมกันส่งผลให้เกิดการพัฒนาชุมชนในการแก้ไขปัญหา สนอง ความต้องการของชุมชน โดยมีกระบวนการด�ำเนินงาน ดังนี้ ๑) รับรู้รับฟัง เกิดจากการมองเห็น ถึงปัญหา ความไม่เป็นระบบภายในชุมชน และการรับรู้รับฟังข่าวสาร และการเข้ามาสนับสนุน จาก หน่วยงานต่างๆ เพื่อน�ำแนวคิดมาปรับใช้ในการพัฒนาชุมชน ๒) ร่วมกลุ่มหารือ เป็นการรวมกลุ่มของ ผูป้ ระสบปัญหาในชุมชน และการรวมกลุม่ ของผูน้ ำ� และตัวแทนชุมชนเพือ่ วางแผนค้นหาแนวทางแก้ไข
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
227
ปัญหา เพือ่ ตอบสนองความต้องการของชุมชน ๓) ด�ำเนินงาน เป็นการท�ำงานโดยด�ำเนินงานตามแผนที่ ได้รว่ มกันหารือเอาไว้เพือ่ ให้เกิดความเป็นระบบในการจัดการกับปัญหาและตรงความต้องการของชุมชน ๔) ปลูกฝังแนวคิด จะเป็นการสร้างความคุ้นชิน สามารถเข้าใจ และสามารถแก้ปัญหาในชุมชนอย่าง ยั่งยืนเนื่องจากการปลูกฝังแนวคิดต่างๆ โดยการท�ำให้เป็นตัวอย่าง ท�ำให้เป็นนิสัย แนวทางที่ถูกต้อง จะท�ำให้ชุมชนได้ดำ� เนินงานอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ๑๐.๓ การสร้างคนให้จัดการตนเอง การจัดการระบบการท�ำงานของพื้นที่ในเขตรับผิดชอบของแต่ละองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งระดับหมู่บ้านกลุ่มของหมู่บ้านและต�ำบลในการพัฒนางานด้านต่างๆเพื่อเสริมศักยภาพให้สามารถ จัดการเรียนรู้ปรับตัวและจัดการปัญหาของตนเองโดยใช้ข้อมูลและรูปธรรมการจัดการตนเองเป็นฐาน ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนในพื้นที่นำ� สู่การพัฒนานโยบาย ท้องถิ่นและนโยบายระดับชาติ ๑๐.๔ การสร้างการมีส่วนร่วม เด็กและเยาวชนมีจติ ส�ำนึกเพือ่ ส่วนรวมเกิดความรูส้ กึ ถึงการเป็นเจ้าของในสิง่ ทีเ่ ป็นสาธารณะ ในสิทธิและหน้าที่จะดูแลและบ�ำรุงรักษาร่วมกันเช่น การช่วยกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมโดยการไม่ทิ้ง ขยะลงในแหล่งน�้ำ ช่วยกันดูแลรักษาสาธารณะสมบัติเช่นการดูแลท�ำความสะอาดวัดบางไผ่โทรศัพท์ สาธารณะแม้แต่การประหยัดน�้ำประปาหรือไฟฟ้าที่เป็นของส่วนรวม โดยให้เกิดประโยชน์คุ้มค่า ตลอดจนช่วยดูแลให้ความช่วยเหลือผู้ที่ตกทุกข์ได้ยาก หรือผู้ที่ร้องขอความช่วยเหลือเท่าที่จะท�ำได้ ตลอดจนร่วมมือกระท�ำเพื่อให้เกิดปัญหาหรือช่วยกันแก้ปัญหาแต่ต้องไม่ขัดต่อกฎหมายเพื่อรักษา ประโยชน์ร่วมกัน ๑๐.๕ การระดมทุนและทรัพยากร เพือ่ พัฒนาสังคมให้มกี จิ กรรมร่วมกันและเพือ่ ช่วยเหลือเกือ้ กูลซึง่ กันและกัน ทัง้ ด้านเศรษฐกิจ และสังคม ภายใต้อดุ มการณ์ หลักการ รวมทั้งการเอื้ออาทรต่อกัน โดยใช้หลักคุณธรรม ๕ ประการ คือความซื่อสัตย์ ความเสียสละ ความรับผิดชอบ ความเห็นอกเห็นใจกัน ความไว้วางใจกัน ก่อให้เกิด การสร้างความเป็นระเบียบ และสร้างจิตส�ำนึกในการมีความรับผิดชอบ อีกทั้งยังเป็นการสนับสนุน ส่งเสริมของชุมชน มีการปลูกฝังให้เด็กและเยาวชนมีจติ ส�ำนักในการออม สร้างความรูใ้ นการออม ชุมชน มีแหล่งเงินทุนกู้ยืมภายในชุมชน มีแหล่งเงินที่สนับสนุนกิจกรรมสาธารณะในหมู่บ้าน
228
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๑๐.๖ การมีข้อตกลง การให้ความรู้ในชุมชนเน้นการอบรม ส่วนวิธีการเน้นการตั้ง/ใช้กฎระเบียบของหมู่บ้าน เด็ก เยาวชน ติดเกมส์, ติดสารเสพติด, ขับรถกวนเมือง(เด็กแว๊นซ์), หนีเรียน และตั้งครรภ์ในวัยเรียน งาน และกิจกรรมในการแก้ปัญหา จัดตั้งกฎระเบียบหมู่บ้าน และประชาสัมพันธ์ให้คนในชุมชนได้รับทราบ ร่วมกัน จัดอบรมให้ความรู้กบั เด็กเยาวชนในบางปัญหา หรือการด�ำเนินกิจกรรมบางกิจกรรม ยังขาด การวิเคราะห์หาสาเหตุ แต่มีการแก้ไขเฉพาะหน้าเพื่อบรรเทาความเดือดร้อน ๑๐.๗ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กรภาครัฐและหน่วยงานอื่นๆ การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาของเด็กและเยาวชน โดยมุ่งเน้นการสร้างการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อออกแบบและก�ำหนดทิศทางในการจัดการตนเองภายใต้สถานการณ์ปัญหาใน พื้นที่ที่มเี ป้าหมายในการสร้างจิตส�ำนึกรักบ้านการ สร้างจิตอาสา หรืออาสาสมัครเยาวชนที่ช่วยเหลือ ผู้สงู อายุ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พกิ าร อนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ และการสร้างนิสยั การออก ทัง้ นี้ ผลักดันให้เกิดการจัดตัง้ ศูนย์คลายทุกข์เพือ่ เป็นศูนย์กลางในการสร้างภูมคิ มุ้ กันและความรูเ้ พือ่ ยุตคิ วาม รุนแรงแก่เด็กและครอบครัว รวมถึงการเฝ้าระวังภาวะคุกคามที่มาจากการเปลี่ยนแปลงภายใต้กระแส โลกาภิวัฒน์และนโยบายของรัฐบาลในอนาคต โดยการเชื่อมโยงสถาบันที่เป็นองค์ประกอบโครงสร้าง ทางสังคมในพื้นที่ เช่น องค์กรศาสนา บ้าน โรงเรียน รพ.สต. กลุ่มอาชีพ กลุ่มกองทุน แหล่งเรียนรู้ ซึง่ โครงสร้างเหล่านีจ้ ะต้องถูกผลักดันให้คดิ เพือ่ สนับสนุนการพัฒนานวัตกรรมหรือกิจกรรมทีเ่ อือ้ ต่อการ ปัจจัยเสี่ยงของเด็กและเยาวชนในพื้นที่ ซึ่งด�ำเนินการในกิจกรรม
๑๑. การตอบสนองต่อ ๓๑ ตัวชี้วัด ชุดกิจกรรมที่ ๑ การเพิ่มทักษะและการสร้างการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน จัดตั้งสภาเด็ก ตอบสนองต่อตัวชี้วัดที่ ๑ ,๒ ,๓ ,๖ ร่วมอนุรักษ์ประเพณี งานเจ้าพ่อ เจ้าแม่ ตอบสนองต่อตัวชีว้ ดั ที่ ๒๐ ให้ความรูเ้ รือ่ งเพศศึกษาและวิธปี อ้ งกัน ตัวชีว้ ดั ที่ ๑๘, ๑๙ อบรมให้ความรู้ โทษของบุหรี่ ตัวชี้วัดที่ ๑๘, ๑๙ เข้าค่ายอบรมคุณธรรมจริยธรรม ตัวชี้วัดที่ ๔, ๕ ส่งเสริมทักษะการ เล่นกีฬาฟุตบอล ตัวชี้วัดที่ ๗, ๙ ฝึกทักษะประกอบอาชีพไม้กวาด ตัวชี้วัดที่ ๑๓ ออกเยี่ยมบ้าน ตัวชี้วัดที่ ๗ ชุดกิจกรรมที่ ๒ การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไข ปัญหาของเด็กและเยาวชน มอบอุปกรณ์การเรียนให้ผดู้ อ้ ยโอกาส ตอบสนองต่อตัวชีว้ ดั ที่ ๒๖ สนับสนุนอุปกรณ์ซอ่ มแซม บ้านให้ผู้ด้อยโอกาส ตอบสนองต่อตัวชี้วัดที่ ๒๕ เยาวชนอาสากู้ชีพกู้ภัยผู้ประสบภัย ตอบสนองต่อ ตัวชี้วัดที่ ๗
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
229
ชุดกิจกรรมที่ ๓ การบริหารจัดการกองทุนและสวัสดิการส�ำหรับกิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรม มีออมไม่มอี ด ตอบสนองต่อตัวชี้วัดที่ ๒๒, ๒๕ ชุดกิจกรรมที่ ๔ การพัฒนาระบบข้อมูลด้านเด็กและเยาวชนและการน�ำไปใช้ น�ำใช้ขอ้ มูลระบบ TCNAP RECAP จปฐ.ทะเบียนราษฎร์ ตอบสนองต่อตัวชี้วดั ที่ ๒๗ ศูนย์กูรู ตอบสนองต่อตัวชี้วัดที่ ๒๘ ชุดกิจกรรมที่ ๕ การก�ำหนดกฎ กติกา หรือข้อบัญญัตทิ ้องถิน่ เพือ่ เฝ้าระวังปัญหาและปกป้อง สิทธิของเด็กและเยาวชน เสริมทักษะกีฬาโดยครูฝึกสอน ตอบสนองต่อตัวชี้วัดที่ ๙
230
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
231
ภาพที่ ๓๔ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้าน ระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชน เทศบาลต�ำบลบางไผ่ อ�ำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร
ภาพที่ ๓๕ ระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชน เทศบาลต�ำบลบางไผ่ อ�ำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร
232
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ภาพที่ ๓๖ เยาวชนร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ เทศบาลต�ำบลบางไผ่ อ�ำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
233
การส่งเสริมการเรียนรู้ การจัดการตนเอง
องค์การบริหารส่วนต�ำบลตากตก อ.บ้านตาก จ.ตาก
๑. ที่มาหรือฐานคิดของการด�ำเนินกิจกรรม องค์การบริหารส่วนต�ำบลตากตก ตั้งอยู่ หมู่ที่ ๕ ต�ำบลตากตก อ�ำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก มีจำ� นวน ๑๑ หมู่บ้าน ๑,๑๔๗ ครัวเรือน โรงเรียนจ�ำนวน ๔ โรงเรียน ๗ วัด ๒ ส�ำนักสงฆ์ ตั้งอยู่ ทาง ทิศตะวันตกของอ�ำเภอบ้านตาก โดยมีระยะห่างจากอ�ำเภอบ้านตากประมาณ ๓ กิโลเมตร และระยะ ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ ๒๕ กิโลเมตร มีอาณาเขตการติดต่อ ทางทิศเหนือติดต่อกับต�ำบลเกาะ ตะเภา ทิศใต้ตดิ ต่อกับต�ำบลหนองบัวเหนือ ทิศตะวันออกติดต่อกับต�ำบลตากออก และต�ำบลสมอโคน ทิศตะวันตกติดต่อกับทุง่ กระเชาะ มีพนื้ ทีป่ ระมาณ ๖๗.๕๖๕ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๔๒,๑๓๑ ไร่ การรวมกลุ่มของเด็กในการด�ำเนินกิจกรรม เริ่มจากการได้รับงบประมาณจากคาราวาน เสริมสร้างเด็กจากส�ำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดตาก และส�ำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๙ จังหวัดอุตรดิตถ์ ในการสนับสนุนงบประมาณให้เด็ก และเยาวชนผ่านองค์การบริหารส่วนต�ำบลตากตก ซึ่งองค์การบริหารส่วนต�ำบลตากตกมีหน้าที่ในการ ดูแลก�ำกับการด�ำเนินกิจกรรมในแต่ละกิจกรรม/โครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ จึงเกิดการ รวมกลุ่มที่มีจ�ำนวนมากขึ้นของเด็กและเยาวชนในพื้นที่ ประกอบกับนโยบายของรัฐบาลที่มีการ สนับสนุนให้มกี ารจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนระดับต�ำบล ดังนั้น องค์การบริหารส่วนต�ำบลตากตก จึง ได้มีการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนระดับต�ำบลในปี พ.ศ.๒๕๔๘ มีการท�ำงานภายใต้แนวคิด เด็กคิด เด็กท�ำ ผูใ้ หญ่หนุน และร่วมคิดร่วมท�ำ มีรปู แบบการท�ำงานในนามของกลุม่ สภาเด็กและเยาวชนต�ำบล ตากตก มีกจิ กรรมหลายหลาย อาทิเช่น กิจกรรมพืน้ ทีส่ ร้างสรรค์เพือ่ ชุมชน ท�ำความสะอาดวัด โรงเรียน
234
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
สถานที่สาธารณะในหมู่บ้าน การท�ำเกษตรพอเพียง จิตอาสาในการลงพื้นที่เยี่ยมเยียนให้ก�ำลังใจ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง การด�ำเนินงานมีทั้งร่วมกับชุมชน ด�ำเนินการโดยกลุ่มสภาเด็ก หรือ การด�ำเนินงานภายใต้กรอบการท�ำงานขององค์การบริหารส่วนต�ำบลตากตก มีการพัฒนาศักยภาพ ทักษะการเป็นผูน้ ำ� ทีส่ ามารถถ่ายทอดองค์ความรูไ้ ด้ มีแกนน�ำในการด�ำเนินงานทีม่ ศี กั ยภาพ และด้วย ความเป็นกลุม่ สภาเด็กและเยาวชนต�ำบลตากตกทีม่ คี วามสามัคคีรวมกันเป็นหนึง่ และมีการท�ำกิจกรรม ที่เป็นรูปธรรมต่อเนื่อง จึงได้รับการสนับสนุนจากหลายหน่วยงาน เช่น กรมกิจการเด็กและเยาวชน ในการสนับสนุนการจัดท�ำโครงการพัฒนาคุณภาพเด็ก (วัยใสใส่ใจท�ำดี Teen To Be Good) เพื่อ พัฒนาคุณลักษณะเด็กให้ครบทั้ง ๖ มิติ คือมิติวิชาการ มิติการด�ำรงชีวิต มิติศีลธรรม มิติสังคม มิตนิ นั ทนาการ มิตอิ าชีพ ซึง่ ทัง้ ๖ มิตมิ กี ารบูรณาการเข้ากับการใช้ชวี ติ ประจ�ำวันของเด็กและเยาวชน ในเรื่องของการด�ำรงชีวิต การรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด การตั้งครรภ์ไม่พร้อม การถ่ายทอดภูมิปัญญา ท้องถิน่ ของผูส้ งู อายุของลูกหลาน บ้านพักเด็กและเยาวชนจังหวัดตาก ได้มกี ารจัดโครงการพัฒนาทักษะ การเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดตาก สนับสนุนการจัด กิจกรรมของสภาเด็กและเยาวชนในระดับต�ำบลและอ�ำเภอ เป็นโครงการเกี่ยวกับกีฬาสานสัมพันธ์ โครงการรณรงค์ลด ละ เลิกบุหรี่ โครงการ DJ Teen ซึง่ สภาเด็กและเยาวชนต�ำบลตากตกเป็นผูร้ บั ผิดชอบ โครงการ ส�ำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๙ จังหวัดอุตรดิตถ์ สนับสนุนการจัดกิจกรรมการ ตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ท�ำให้มีกิจกรรมหลายอย่างเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนในพื้นที่ต�ำบลตากตก และที่ส�ำคัญองค์การบริหารส่วนต�ำบลตากตก เป็นหน่วยงานหลักในการขับเคลื่อนการส่งเสริมการ เรียนรู้ของเด็กและเยาวชนในพื้นที่ คอยเป็นพี่เลี้ยงในการท�ำงาน ช่วยให้การท�ำงานของสภาเด็กและ เยาวชนได้มกี ารบูรณาการเข้ากับกิจกรรมของชุมชน หน่วยงานในพื้นที่ เป็นการบูรณาการร่วมกันเพื่อ ให้งานหรือกิจกรรมนั้นบรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน เป็นการลดทั้งงบประมาณ ระยะเวลาด�ำเนินงาน มีเครือข่ายในการท�ำงาน ซึง่ การขับเคลือ่ นงานนัน้ ต้องยึดหลัก ธรรมาภิบาล คือการปกครอง การบริหาร จัดการควบคุมดูแล กิจกรรมของเด็กและเยาวชนให้เป็นในครรลองธรรม ซึ่งจะช่วยส่งเสริมสร้างสรรค์ ให้องค์กรมีศักยภาพและประสิทธิภารในการท�ำงานมากยิ่งขึ้น
๒. งานและกิจกรรม ๒.๑ ภาพรวมระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน องค์การบริหารส่วนต�ำบลตากตก มีจำ� นวนประชากรทั้งสิ้น ๓,๓๓๘ คน แยกเป็นประชากร ชาย ๑,๖๘๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๐.๔๘ ประชากรหญิง ๑,๖๕๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๙.๕๒ เด็ก
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
235
และเยาวชน ๗๔๔ คน แยกเป็นชาย ๓๙๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๒.๔๒ หญิง ๓๕๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๗.๕๘ มีงานและกิจกรรมภายใต้ ๖ ชุดกิจกรรมหลัก ดังนี้ ๑) การเพิม่ ทักษะและสร้างการเรียนรูข้ องเด็กและเยาวชน เช่น มีการจัดตัง้ สภาเด็กและ เยาวชนต�ำบลตากตก ในปี พ.ศ.๒๕๔๘ และด�ำเนินกิจกรรมร่วมกันไม่ว่าจะเป็นการให้อบรมความรู้ ด้านเพศ ยาเสพติด การส่งเสริมอาชีพ การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือความเป็นจิตอาสา ในการ ร่วมพัฒนาชุมชน การเยี่ยมให้ก�ำลังใจผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง การแข่งขันกีฬา การรณรงค์ ต่อต้านยาเสพติด การรณรงค์สง่ เสริมประชาธิปไตย เพือ่ ให้เด็กมีทกั ษะในการด�ำรงตน สามารถน�ำทักษะ ความรู้ที่ได้ช่วยแก้ปัญหาหรือเสริมความรู้ให้เด็กได้อย่างรอบด้าน สามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า รวมทั้งช่วยเหลือผู้อื่นได้ ๒) การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาของเด็กและเยาวชน เช่น ส่งเสริมให้มี การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยการจัดเป็นโครงการถ่ายทอดภูมิปัญญาผู้สูงอายุสู่ลูกหลาน โดย การน�ำปราชญ์ชาวบ้านในต�ำบลมาสอน เช่นเพลงร�ำวงพื้นบ้าน การฟั่นตีนกา การตัดกระดาษงานพิธี การจักสาน การท�ำแชมพูสมุนไพร เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการจัดท�ำแผนด�ำเนินงานด้านเด็กร่วมกัน เด็กและเยาวชนได้เข้ามามีบทบาทในการประชุมระดับต�ำบลร่วมกับผู้น�ำชุมชน กล้าแสดงออกต่อที่ สาธารณะ ให้คนในพืน้ ทีไ่ ด้เห็นถึงความสามารถของเด็กและเยาวชน มีการด�ำเนินกิจกรรมในด้านอืน่ ๆ อีก ไม่ว่าจะเป็นการรณรงค์ การจัดท�ำสื่อ ๓) การจัดสวัสดิการและการส่งเสริมการออม เช่น การส่งเสริมการออม ให้เด็กและเยาวชน เข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุม่ การออมของต�ำบล ได้แก่ กลุม่ รวมใจเพือ่ นพ้องน้องพี่ และของหมูบ่ า้ น ผลของ การเข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มได้มกี ารจัดสวัสดิการการศึกษา ค่าช่วยเหลือกรณีเจ็บป่วยให้กบั เยาวชนที่ เป็นสมาชิก นอกจากนี้ อบต.ตากตก ได้มีการส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนเป็นสมาชิกกลุ่มรวมใจ เพือ่ นพ้องน้องพี่ โดยการให้เด็กและเยาวชนช่วยกิจกรรมของกองทุน ในการจัดท�ำบัญชีสมาชิก การจัด ท�ำบัญชีรับ-จ่าย การช่วยท�ำสื่อประชาสัมพันธ์ และการประชาสัมพันธ์เพื่อขยายสมาชิกกลุ่ม โดยได้ รับค่าตอบแทนโดยให้สทิ ธิเ์ ข้าร่วมเป็นสมาชิกของกลุม่ โดยไม่เสียค่าสมัครเป็นสมาชิกในปีแรก ซึง่ กลุม่ จะรับผิดชอบค่าสมัครและค่าสมทบสมาชิกรายปีให้กับเด็กและเยาวชนที่ช่วยท�ำงานต่อเนื่อง ตั้งแต่ ๓ เดือนขึ้นไป และหากท�ำงานต่อเนื่องจะได้รบั สิทธิ์เสียค่าสมทบสมาชิกรายปี เพียงครึ่งหนึ่งของเงิน สมทบทุกปี การจัดสวัสดิการและการออมของ อบต.ตากตกช่วยให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรูก้ ารท�ำงาน ร่วมกับคนในชุมชน รณรงค์ให้เกิดการออม ได้มสี ่วนร่วมในการบริหารจัดการกองทุนเงินออมในชุมชน ๔) การส่งเสริมอาชีพ จัดให้มีแหล่งเรียนรู้ด้านอาชีพ ที่เด็กและเยาวชนเข้าไปมีส่วนร่วม เรียนรู้ฝึกทักษะ ฝึกหัด สาธิตการถนอมอาหาร การปลูกผักปลอดสารพิษ เกษตรพอเพียง การเลี้ยง สัตว์ การท�ำแชมพูสมุนไพร เพื่อให้เด็กได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ จะมีรายได้เสริมให้แก่ตนเอง
236
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
แบ่งเบาภาระครอบครัว ลดปัญหาความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดขึน้ กับเด็กและเยาวชน อาทิ ปัญหาการติดเกมส์ การติดเพื่อน ยาเสพติด ความอยากรู้อยากลอง ได้เป็นอย่างมาก ๕) การบริการและส่งเสริมสุขภาพของเด็กและเยาวชน มีการท�ำงานร่วมกันทัง้ ๔ องค์กร หลัก ได้แก่ ท้องที่ / ท้องถิ่น / ส่วนราชการ / ประชาชน ในการจัดการแข่งขันกีฬาต้านภัยยาเสพติด เชื่อมความสามัคคีระหว่างเด็กและเยาวชนในพื้นที่แต่ละหมู่บ้านของต�ำบลตากตก เป็นประจ�ำทุกปี ในช่วงเดือนเมษายน มีการแข่งขันกีฬาทั้งประเภทสากล และกีฬาพื้นบ้าน ร่วมกับโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบลในพืน้ ทีอ่ อกตรวจสุขภาพให้แก่เด็กนักเรียนในพืน้ ที่ เช่นการตรวจสุขภาพช่องปาก สุขภาพทั่วไป โรคมือเท้าปาก และให้ความรู้ในการดูแลความสะอาดของร่างกาย เพื่อลดปัญหาด้าน สุขภาพของเด็กและเยาวชน ๖) การพัฒนาจิตอาสาของเด็กและเยาวชน อบต.ตากตกได้มกี ารจัดอบรมและส่งเสริมให้ เด็กและเยาวชนมีความเป็นจิตอาสา มีการตั้งกลุ่มอาสาเติมรักปันสุข เพื่อออกเยี่ยมเยียนให้ก�ำลังใจ ผูส้ งู อายุ ผูพ้ กิ าร ผูป้ ว่ ยติดเตียง เป็นโครงการของเด็กและเยาวชนทีร่ เิ ริม่ ตัง้ แต่ ปี พ.ศ.๒๕๕๔ เนือ่ งจาก พืน้ ทีต่ ำ� บลตากตกเกิดน�ำ้ ท่วมหนัก ท�ำให้เกิดปัญหาโรคซึมเศร้าในกลุม่ ผูส้ งู อายุ ผูพ้ กิ าร ผูป้ ว่ ยติดเตียง เด็กและเยาวชนจึงได้รวมกลุม่ กันออกเยีย่ มเยียนให้กำ� ลังใจ ซึง่ ได้รบั ความสนใจและค�ำชืน่ ชมจากคนใน ชุมชนเป็นอย่างมาก จึงได้มกี ารด�ำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังมีกลุ่ม To Be Good ในการ ร่วมพัฒนาพื้นที่สาธารณะ เช่น ท�ำความสะอาดวัด ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในห้องเรียน ปลูกต้นไม้ สร้างฝาย ๒.๒ ประเด็นเด่นของระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน “การส่งเสริมการเรียนรู้การจัดการตนเอง”องค์การบริหารส่วนต�ำบลตากตก ได้มีการส่งเสริม การเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนทุกระดับ ไม่ว่าจะเป็นการให้ความรู้ ฝึกปฏิบัติ การได้รับการถ่ายทอด องค์ความรู้จากปราชญ์ชาวบ้าน การร่วมกิจกรรมกับชุมชน ในการรณรงค์ การบ�ำเพ็ญประโยชน์ และ ยังมีการใช้ส่อื ในการรณรงค์ร่วมกับชุมชนที่จัดท�ำโดยเด็กและเยาวชน เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถ น�ำความรู้และประสบการณ์การท�ำงานร่วมกับชุมชนไปปรับใช้กับการด�ำรงชีวิตของตนเอง สามารถ แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ปัญหาทั้งของตนเองและช่วยเหลือผู้อื่น
๓. ทุนทางสังคม การด�ำเนินงานในการส่งเสริมการเรียนรู้การจัดการตนเองของ อบต.ตากตก ได้มกี ารน�ำใช้ทนุ ทางสังคมและศักยภาพของชุมชน ดังนี้
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
237
๓.๑ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการหลัก ประกอบด้วย ๑) ทุนบุคคลและครอบครัว องค์การบริหารส่วนต�ำบลตากตก มีทนุ บุคคลทีด่ ำ� เนินงานหลักเกีย่ วกับเด็กและเยาวชนต�ำบล ตากตกทั้งสิ้น ๕๒ คน แบ่งเป็นผู้น�ำ ๙ คน ด�ำเนินกิจกรรมไกล่เกลี่ยข้อพิพาทปัญหาความขัดแย้งใน ชุมชน มีหน้าที่หลักในการประสานงานดูแลลูกคุ้มรับเรื่องร้องทุกข์หรือปัญหาต่างที่ชาวบ้านเดือดร้อน แล้วน�ำสู่เวทีการประชุมหมู่บ้านหรือเวทีประชาคม เป็นแกนน�ำในการด�ำเนินกิจกรรมร่วมกับเด็กและ เยาวชนในต�ำบล แกนน�ำสภาเด็กและเยาวชน ๒๑ คน ด�ำเนินกิจกรรมประสานงานเสนอแผนงาน กิจกรรมของเด็กและเยาวชน เป็นแกนน�ำหลักในการจัดท�ำเอกสาร การเลี้ยงสัตว์ การน�ำสันทนาการ นักกีฬา ผู้น�ำการด�ำเนินกิจกรรม ปราชญ์ชาวบ้าน ๑๒ คน ด�ำเนินกิจกรรมในการถ่ายทอดองค์ความ รู้ด้านการถนอมอาหาร บีบนวด จับเส้น การจักสาน การฟั่นเทียน จิตอาสา ๑๐ คน ด�ำเนินกิจกรรม บ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อพื้นที่สาธารณะ เช่นการสร้างฝาย ปลูกป่า การจัดการสิ่งแวดล้อม เช่นการดูแล สุขภาพอนามัยคนในชุมชน ๒) ทุนระดับกลุ่มทางสังคม ๒.๑ กลุ่มเรื่องกล้วย กล้วย เป็นกลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์กล้วยอบเนย สร้างรายได้ให้กับ คนในชุมชน เป็นแหล่ง เรียนรู้ให้กับเด็กและเยาวชน ๒.๒ กลุ่มครูนอกห้อง กลุ่มเด็กและเยาวชนหารายได้เสริมระหว่างเรียน และมีความ ช�ำนาญเรื่องการเลี้ยงสัตว์ สามารถถ่ายทอดจากเด็กสู่เด็กได้ ๒.๓ กลุ่มหลอมรวมใจ = ๑ การท�ำเทียนขี้ผึ้ง ไว้จ�ำหน่ายเป็นรายได้เสริมของครอบครัว เด็กและเยาวชนได้สบื สานวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม ๒.๔ กลุ่มผ่า ตัด สาน กลุ่มชาวบ้านที่เป็นผู้เฒ่าผู้แก่ที่มีทักษะความช�ำนาญของเรื่อง เครื่องจักสาน น�ำมาเป็นวิทยากร ถ่ายทอดความรู้ เครื่องจักสาน ให้กับเด็ก ซึงเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น ของชาวบ้านต�ำบลตาก ตก กลุ่มเด็กที่ได้รับการฝึกอบรมเครื่องจักสาน ที่สามารถจักสานได้ก็จะรับท�ำ สินค้าตามออเดอร์ท่มี ีคนสั่ง ท�ำ เช่น ตะกร้า, ชะลอม, กระจาด, กระด้ง เป็นต้น ๒.๕ กลุม่ สบ๊ายสบายต้องนวดๆๆ เป็นกลุม่ นวดแผนไทยในต�ำบลโดยเป็นกลุม่ ของเด็ก และเยาวชนต�ำบลตากตก โดยออกนวดเพื่อหารายได้เสริม และยังออกนวดให้กับผู้สูงอายุในชุมชน ๒.๖ กลุ่ม TO BE GOOD เป็นการรวมตัวกันของกลุ่มเด็กและเยาวชน ภายใต้การดูแล และขับเคลือ่ นโดยนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลตากตกมีการด�ำเนินกิจกรรมหลายรูปแบบ โดยท�ำงาน ร่วมกับ อบต. หน่วยงานรัฐ เป็นต้น ๒.๗ กลุ่มกา@ลา การน�ำกะลามะพร้าวและมะพร้าวแห้งที่มีในท้องถิ่น มาแปรรูปสร้าง ผลิตภัณฑ์สร้างอาชีพสร้างรายได้เสริมเพือ่ ใช้จา่ ยในครอบครัวและบูรณาการความรูภ้ มู ปิ ญ ั ญาท้องถิน่
238
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๒.๘ กลุม่ รวมใจเพือ่ นพ้องน้องพี่ การดูแลสุขภาพของคนในชุมชน เช่น สวัสดิการกรณี คลอดบุตร สวัสดิการกรณีเจ็บป่วยนอนโรงพยาบาล สวัสดิการค่าเฝ้าไข้กรณีเจ็บป่วยนอนโรงพยาบาล คลอดบุตร สวัสดิการกรณีเสียชีวิต ทุนการศึกษา การจ้างงานเยาวชนในการจัดท�ำเอกสารกลุ่ม ส่งเสริมการออมในเด็ก ผู้สูงอายุ ๒.๙ กลุ่มอาสาเติมรักปันสุข เด็กและเยาวชนได้รับการปลูกฝัง และสร้างจิตส�ำนึกใน การดูแลคนในชุมชน เพือ่ ให้คนในชุมชนมีความเป็นอยูท่ ดี่ ี ได้รบั การดูแลใส่ใจ สร้างสัมพันธ์ทดี่ รี ะหว่าง กลุ่มในพื้นที่ต�ำบลตากตก ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง มีสุขจิตดีขึ้น ไม่รู้สึกว่าถูกทอดทิ้งจาก ลูก หลาน ๒.๑๐ กลุ่มใกล้ตัวไกลโรค ได้ผักปลอดสารพิษ ไว้รับประทานในครัวเรือนเพื่อจะได้มี สุขภาพร่างกายที่ดี และไว้จ�ำหน่ายเป็นรายได้เสริมให้กับครอบครัว ๒.๑๑ กลุ่มบริหารจัดการแบบร่วมคิดร่วมท�ำ มุ่งเน้นการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม ท้องถิ่น ท้องที่ หน่วยงานภาครัฐ ประชาชน ภาควิชาการ ท�ำงานร่วมกันได้อย่างลงตัว บูรณาการ งานร่วมกันในส่วนราชการ มีการพัฒนาโครงสร้างการบริหารจัดการท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง และสร้าง วิถีการท�ำงานภายใต้บริบทของชุมชน โดยการสร้างความเข้าใจร่วมกันอย่างชัดเจน มีกระบวนการ จัดการด้วยทุนและศักยภาพของชุมชนท้องถิ่น ภายใต้สถานการณ์ปัญหาของชุมชน โดยมีหลักคิด ที่ส�ำคัญมาจาก “การสร้างการมีส่วนร่วม การบูรณาการภาคีเครือข่าย มุ่งเน้นสร้างพื้นที่ต้นแบบ ๒.๑๒ กลุ่มเชือกผูกตาย ใจผูกกัน การถักตะกร้าจากเชือกมัดฟางทีว่ ดั ท่านา หมู่ที่ ๙ ให้ กับกลุ่มสตรีในต�ำบลตากตกไม่มอี าชีพที่แน่นอน ว่างงาน ท�ำให้รายได้ไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่ายในครัว เรือน ๒.๑๓ กลุ่มสุกรออเร้นจ์ เยาวชนและประชาชนในพื้นที่มีการรวมกลุ่มกัน เพื่อท�ำหมูส้ม ในการบริโภคและจ�ำหน่ายเป็นรายได้เสริม ผลิตภัณฑ์สะอาด ถูกสุขลักษณะ ๒.๑๔ กลุ่มเดอะแด๊นพันปี การอนุรักษ์เพลงร�ำวงพื้นบ้าน โดยมีการรวมกลุ่มของชาว บ้านทีส่ นใจในหมูบ่ า้ นทีส่ บื ทอดวัฒนธรรมพืน้ บ้านมาถ่ายทอด สืบสานต่อ มีการฝึกซ้อมการร้อง ร�ำ ท�ำ เพลงของคนในชุมชนทั้งเด็กและเยาวชน มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการแสดง ๒.๑๕ กลุม่ สิบหมืน่ ณ ทุง่ ยัง้ กลุม่ เพือ่ มาศึกษาสายพันธุข์ องไก่ชน เพือ่ แลกเปลีย่ นข้อมูล ประสบการณ์ในการผลิต จ�ำหน่าย พัฒนาสายพันธุ์ และพัฒนาอาชีพเลี้ยงไก่ชนให้เป็นที่ยอมรับ สามารถเพิ่มรายได้ให้กบั ครอบครัว ๓) ทุนระดับหน่วยงานและแหล่งประโยชน์ ๓.๑ องค์การบริหารส่วนต�ำบลตากตก ให้การสนับสนุนการการจัดตัง้ กองทุนสวัสดิการ ต�ำบลตากตก /ชมรมคนพิการองค์การบริหารส่วนต�ำบลตากตก สภาเด็กและเยาวชนต�ำบลตากตก
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
239
สนับสนุนบุคลากรในการช่วยเหลืองาน ช่วยในการจัดหางบประมาณในการบริหารจัดการ ตลอดจน ช่วยประสานหรืออ�ำนวยความสะดวกในการประชุมของกลุม่ ตลอดจนเป็นทีป่ รึกษาในการบริหารจัดการ กลุ่ม ๓.๒ รพ.สต. สถานที่เบื้องต้นการรักษาพยาบาล ให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชนในการ ด�ำเนินงานเยาวชนอาสาเติมรักปันสุข ๓.๓ โรงเรียนในเขตพืน้ ที่ เป็นสถานศึกษาในระดับประถมวัยทีใ่ ช้รว่ มกัน ซึง่ เป็นโรงเรียน ที่สร้างให้เกิดการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนและยังเป็นสถานที่ในการท�ำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกันของ คนในชุมชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มเด็กและเยาวชนยังใช้เป็นสถานที่ในการเล่นกีฬาร่วมกันอีกด้วย ๔) ทุนระดับหมู่บ้าน หรือชุมชนจัดการตนเอง ๔.๑ ธนาคารปุ๋ย เป็นการส่งเสริมการท�ำปุ๋ยอินทรีเพื่อการเกษตร เพื่อลดต้นทุนในการ ผลิต เป็นการท�ำปุ๋ยหมักใช้กนั ภายในหมู่บ้านและในต�ำบล เช่น จากเศษอาหาร ขยะ ใบไม้ ท�ำให้เด็ก และเยาวชนใช้เป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อเพิ่มทักษะความรู้ในการน�ำใช้วัตถุดิบในพื้นที่ ใกล้บ้านน�ำมาใช้ให้ เกิดประโยชน์ ๕) ทุนระดับต�ำบล ๕.๑ หินโค้วโมเดล การด�ำรงชีวติ ประจ�ำวันด้วยการยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง การใช้บญ ั ชี ครัวเรือน เพื่อควบคุมรายจ่ายในครัวเรือน เป็นการสร้างชุมชนพอเพียงที่มีคุณธรรมที่ดี ซึ่งเป็นพื้นฐาน ส�ำคัญในการแก้ปญ ั หาต่างๆ ในหมูบ่ า้ น โดยแนวทางการปฏิบตั ทิ สี่ �ำคัญ คือการน�ำค�ำว่า “บวร” ได้แก่ บ้าน วัด โรงเรียน มาเป็นแกนน�ำหลักในการแก้ไขปัญหาชุมชน โดยการท�ำให้บา้ นเป็นครอบครัวทีอ่ บอุน่ ด�ำเนินชีวติ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง วัดช่วยในการพัฒนาจิตใจและสร้างภูมคิ มุ้ กันให้ชมุ ชน โรงเรียนเน้นให้เด็กและเยาวชนมีคณ ุ ธรรม รูห้ น้าที่ มีระเบียบวินยั ซึง่ เป็นแนวทางการปฏิบตั ขิ นั้ พืน้ ฐาน ในการด�ำรงชีวติ อย่างสงบสุขในสังคม และชุมชน ๓.๒ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการรอง ประกอบด้วย ๑) ทุนระดับบุคคลและครอบครัว องค์การบริหารส่วนต�ำบลตากตก มีทุนบุคคลที่ด�ำเนินงานรองเกี่ยวกับเด็กและยาวชนต�ำบล ตากตกทั้งสิ้น ๓๗ คน แบ่งเป็นผู้น�ำ ๑๕ คน ด�ำเนินกิจกรรมไกล่เกลี่ยข้อพิพาทปัญหาความขัดแย้ง ในชุมชน มีหน้าที่หลักในการประสานงานดูแลลูกคุ้มรับเรื่องร้องทุกข์หรือปัญหาต่างที่ชาวบ้านเดือด ร้อนแล้วน�ำสูเ่ วทีการประชุมหมูบ่ า้ นหรือเวทีประชาคม มีสว่ นร่วมในการเป็นเครือข่ายร่วมในการด�ำเนิน กิจกรรมของเด็กและเยาวชน เช่นช่วยในการประสานงานกับเด็กและเยาวชนในหมู่บ้านของตนเอง ปราชญ์ชาวบ้าน ๑๕ คน ด�ำเนินกิจกรรมในการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านพิธีกรรมทางศาสนา การท�ำ
240
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
น�ำ้ ดืม่ สมุนไพร การท�ำลูกประคบ ทีเ่ ด็กและเยาวชนสามารถศึกษาเพือ่ เสริมสร้างการเรียนรูไ้ ด้ จิตอาสา ๗ คน เป็นจิตอาสากลุ่มของประชาชนทั่วไป ที่ช่วยในการให้ความรู้และถ่ายทอดประสบการณ์แก่เด็ก และเยาวชน สามารถสาธิตวิธกี ารดูแลกลุม่ ผูส้ งู อายุ ผูพ้ กิ าร ในพืน้ ทีไ่ ด้เนือ่ งจากเป็นกลุม่ ทีด่ แู ลเฉพาะ กลุ่ม ๒) กลุ่มทุนทางสังคม ๒.๑ กลุ่ม อสม. การดูแลสุขภาพชุมชน การดูแลควบคุมเฝ้าระวังโรคติดต่อตรวจโรค เบาหวานความดัน ๒.๒ กลุ่ม อปพร. ดูแลรักษาความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของคนในหมู่บ้าน การ ด�ำเนินกิจกรรมของกลุ่ม มีความเป็นจิตอาสา ช่วยเหลือบุคคลในชุมชนโดยไม่หวังสิ่งตอบแทน เป็น แบบอย่างที่ดีให้แก่เด็กและเยาวชนหนุนเสริมความเป็นจิตอาสา ท�ำให้เด็กและเยาวชนสามารถน�ำ ทักษะความรู้ท่ไี ด้รับมาปรับใช้กับตนเองเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ๒.๓ ศูนย์ดำ� รงธรรม ศูนย์กลางให้ความรู้ ค�ำปรึกษา เกี่ยวกับงานยุติธรรม ๒.๔ กลุ่มสตรีต�ำบลตากตก เป็นการรวมตัวของกลุ่มแม่บ้านเพื่อหารายได้เสริมให้กับ ครอบครัว ๒.๕ ลานกีฬา ศาลาเอนกประสงค์ เป็นสถานที่จัดกิจกรรมออกก�ำลังกายของผู้สูงอายุใน ต�ำบล ๒.๖ แม่นำ�้ ปิง สระน�ำ้ สาธารณะ เป็นแม่นำ�้ ส�ำคัญของคนในต�ำบล แหล่งน�ำ้ ส�ำหรับอุปโภค บริโภคท�ำการเกษตร เลี้ยงสัตว์ ๒.๗ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร ศูนย์กลางในการให้ความรู้ ค�ำปรึกษาเกี่ยวกับ การท�ำการเกษตรของคนในชุมชน ๒.๘ ป่าชุมชน เป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่กว้าง และสมบูรณ์
๔. วัตถุประสงค์ ๑) เพือ่ พัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนให้มที กั ษะทีจ่ ำ� เป็นต่อการจัดการองค์กรของตนเองให้ ท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิภาพด้านการลดปัจจัยเสีย่ งด้านสุขภาพ รวมถึงให้มกี าร รวมตัวเป็นเครือข่ายที่ท�ำงานในพื้นที่เครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่อย่างต่อเนื่อง ๒) เพือ่ พัฒนารูปแบบการสร้างการมีสว่ นร่วมของเด็กและเยาวชนในกิจกรรมงานพัฒนา และ เสริมสร้างศักยภาพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีความพร้อมในการท�ำหน้าที่เป็นกลไกขับเคลื่อน เครือข่ายเยาวชนร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
241
๓) เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบข้อมูลและการถอดบทเรียนประสบการณ์ การด�ำเนินงาน และการพัฒนาชุดความรูท้ เี่ กีย่ วกับเด็กและเยาวชนในพืน้ ทีข่ ององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ โดยผูกโยง เข้าสู่งานประจ�ำและน�ำใช้ข้อมูลในกระบวนการพัฒนาสุขภาวะของชุมชน รวมถึงการลดปัจจัยเสี่ยง ด้านสุขภาพ ๔) เพื่อสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาระบบเครือข่ายด้านเด็กและเยาวชน ในการขับเคลื่อน นโยบายและยุทธศาสตร์การด�ำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรชุมชน ทั้งในระดับ พื้นที่ และขยายเครือข่ายข้ามพื้นที่
๕. วิธีการท�ำงานเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้การจัดการตนเองของเด็กและเยาวชน ต�ำบลตากตก ๑) มีการประชุมร่วมระหว่าง อบต.ตากตก เด็กและเยาวชนในพื้นที่ต�ำบลตากตก จัดตั้ง สภาเด็กและเยาวชนระดับต�ำบล เพื่อเป็นการรวมกลุ่มของเด็กและเยาวชนในพื้นที่ ในการร่วมกันท�ำ กิจกรรม ๒) มีการประชุมร่วมระดับต�ำบล ระหว่างผู้น�ำชุมชน แกนน�ำ โรงเรียน รพ.สต อสม. ปราชญ์ ชาวบ้านเพื่อร่วมกันก�ำหนดพื้นที่สร้างสรรค์ส�ำหรับท�ำกิจกรรมของกลุ่มสภาเด็กและเยาวชน เช่น กิจกรรมจิตอาสา กิจกรรมอบรมให้ความรู้ รณรงค์ การส่งเสริมอาชีพ การอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี พื้นบ้าน การเกษตร ๓) แบ่งรูปแบบการจัดกิจกรรมเพื่อให้เหมาะสมกับช่วงวัย การให้ความรู้เพื่อเพิ่มทักษะการ เรียนรูข้ องเด็กให้ทนั ต่อพิษภัยของสังคม เด็กระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปวช. ปวส. เป็นการบ�ำเพ็ญ ประโยชน์ตอ่ บุคคล สถานทีส่ าธารณะ สร้างความเป็นจิตอาสา กิจกรรมการรณรงค์ตอ่ ต้านปัญหาสังคม ส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย โดยใช้ขอ้ มูลจากการเสนอความคิดเห็นของเด็กและเยาวชนต่อทีป่ ระชุม ร่วมระดับต�ำบล ๔) การด�ำเนินงานภายใต้แนวคิด “เด็กคิด เด็กท�ำ ผู้ใหญ่หนุน” เป็นการด�ำเนินกิจกรรม ภายใต้การบริหารงานของนายสุขเกษม โคสอน นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลตากตก ซึง่ เป็นผูก้ ำ� กับ การด�ำเนินกิจกรรมของเด็กและเยาวชน ใช้หลักการท�ำงานแบบมีส่วนร่วมเพื่อให้ประชาชนในต�ำบล ทุกระดับได้รับการดูแลเอาใจใส่จากชุมชนอย่างเท่าเทียมกัน จึงท� ำให้การด�ำเนินงานทุกกิจกรรม โครงการของสภาเด็กและเยาวชนต�ำบลตากตกได้รบั ความร่วมมือเป็นอย่างดีจากชุมชน จากกลุม่ บริหาร จัดการแบบ “ร่วมคิดร่วมท�ำ”
242
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๖. การเชื่อมโยงหรือส่งผลที่เอื้อต่อการท�ำงานกับกลุ่มงานและกิจกรรมอื่นๆ การส่งเสริมการเรียนรู้การจัดการตนเองของต�ำบลตากตก ท�ำให้เกิดการท�ำงานร่วมกันหลาย ภาคส่วนในพืน้ ที่ เกิดการจัดการคน ส�ำหรับงาน กิจกรรม การจัดการพัฒนาพืน้ ทีส่ ำ� หรับเป็นแหล่งเรียน รู้ การพัฒนาศักยภาพผู้นำ� แกนน�ำสภาเด็กและเยาวชนส�ำหรับการเป็นวิทยากรผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ ของแหล่งเรียนรู้ ประชาชนในพื้นที่ทุกกลุ่มทุกเพศทุกวัยได้รับประโยชน์จากการเป็นศูนย์ประสานงาน ด้านเด็กและเยาวชนต�ำบลตากตก เด็กและเยาวชนได้ท�ำกิจกรรมร่วมกับผู้น�ำชุมชน แกนน�ำ ปราชญ์ ชาวบ้าน หน่วยงาน ประชาชนในพื้นที่ ได้รับการดูแลในกิจกรรมที่แตกต่างกันไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม เศรษฐกิจ สภาวะแวดล้อม สุขภาพ การเมืองการปกครอง การบริหารงานแบบมีสว่ นร่วม เกิดการสร้าง งาน สร้างอาชีพ รายได้ พัฒนาคุณภาพชีวิต เสริมสร้างทักษะให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่อย่างมี ประสิทธิภาพ
๗. ผลผลิตและผลลัพธ์ ๗.๑ ผลต่อประชากรเป้าหมาย ๑) เด็กและเยาวชนในพืน้ ทีไ่ ด้รบั การดูแลเอาใจใส่ จากประชาชนในพืน้ ที่ เกิดกลุ่มอาสา เติมรักปันสุข ของเด็กและเยาวชน ทีด่ ำ� เนินกิจกรรมออกเยีย่ มบ้านให้กำ� ลังใจ ผู้สูงอายุ ผู้พกิ าร ผู้ป่วย ติดเตียงให้กลุ่มบุคคลเหล่านี้ มีก�ำลังใจในการด�ำรงชีวิต มีพ้ืนที่สร้างสรรค์ในการท�ำกิจกรรมของเด็ก และเยาวชนในพื้นที่ เด็กและเยาวชน ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านอาชีพ ทักษะการเรียนรู้ การ ด�ำรงชีวติ ประจ�ำวัน การอนุรกั ษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีบทบาทมากขึ้นในพื้นที่ มีการท�ำกิจกรรมร่วมกับ หน่วยงาน ประชาชนในพื้นที่ อย่างต่อเนื่อง ได้รับการยอมรับจากประชาชนในพื้นที่ถึงความสามารถ ของเด็กและเยาวชน ๒) ผลกระทบต่อครอบครัว องค์การบริหารส่วนต�ำบลตากตกมีการจัดกิจกรรมเสริมสร้าง ความสัมพันธ์ให้กบั บุคคลในครอบครัว ระหว่างแม่ลกู พ่อลูก เพือ่ ลดช่องว่างภายในครอบครัว กระชับ ความสัมพันธ์ ให้เด็กและเยาวชนสามารถแสดงความคิดเห็น ความคิดของตนเองให้ผู้ปกครองได้ รับทราบ กล้าเปิดใจคุยปัญหา หรือหาทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน ท�ำให้เด็กและเยาวชนมีบทบาทใน ครอบครัว มีกิจกรรมร่วมกับครอบครัวมากขึ้น สามารถลดปัญหาความรุนแรงในครอบครัว ปัญหา ยาเสพติด การท้องไม่พร้อม ปัญหาการติดเกมส์ ๓) การด�ำเนินกิจกรรมของเด็กและเยาวชน เป็นการท�ำงานแบบเด็กคิด เด็กท�ำ ผู้ใหญ่ หนุน จึงเป็นการด�ำเนินกิจกรรมแบบมีส่วนร่วมกับหน่วยงาน บุคคลในชุมชน การด�ำเนินกิจกรรมที่ ต่อเนื่องและมีประโยชน์ต่อกลุ่มคนในชุมชนไม่ว่าจะเป็นกลุ่มเด็กและเยาวชน กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้พิการ
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
243
ผู้ป่วยติดเตียง กลุ่มอาชีพ ล้วนแต่เกิดประโยชน์ร่วมกันเป็นการช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชน พึ่งพา อาศัยกัน ท�ำให้เกิดความรักและสามัคคีกันในชุมชน ๗.๒ ผลต่อคุณภาพชีวิตของกลุ่มประชากร ๕ มิติ ดังนี้ ๑) ด้านสังคม เกิดการรวมกลุ่มพัฒนางานจนเป็นแหล่งเรียนรู้ มีวิทยากรสามารถถ่ายทอด องค์ความรู้ได้ มีการท�ำงานร่วมกันเป็นเครือข่าย เกิดความเชือ่ มโยงงานในพืน้ ที่ เด็กและเยาวชนได้รบั การเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ พัฒนาการศึกษาและประสบการณ์นอกห้องเรียนท�ำให้เด็กและเยาวชน มีภูมิคุ้มกันทางสังคมที่ดี สามารถเป็นเกราะป้องกันตนเองในการเผชิญกับปัญหาที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้า ได้เป็นอย่างดี และยังสามารถน�ำความรู้ที่ได้รับพัฒนาตนเองและถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้ ๒) ด้านเศรษฐกิจ ประชาชนในพื้นที่มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการท�ำงานแบบมีส่วนร่วม เป็น เครือข่าย มีการจัดท�ำบัญชีครัวเรือน มีการจ้างงานในกลุ่มเด็กและเยาวชน ส่งเสริมการประกอบอาชีพ เพื่อเพิ่มรายได้ในครัวเรือน มีการรวมกลุ่มผลิตสินค้าที่ท�ำมาจากวัตถุดิบในพื้นที่ออกจ�ำหน่าย การจัด ท�ำการเกษตรเพื่อบริโภคในครัวเรือนและสามารถจ�ำหน่ายได้ ๓) ด้านสภาวะแวดล้อม การท�ำการเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง ลดใช้สารเคมี ท�ำให้ สุขภาพร่างกายคนในชุมชนแข็งแรงขึ้น อัตราการเจ็บป่วยจากสารเคมีตกค้างร่างกายลดจ�ำนวนลง หน่วยงาน ชุมชน ผู้น�ำชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน มีการส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนอนุรักษ์ดิน น�้ำ และ ป่า เพือ่ ให้ร้จู กั น�ำใช้ประโยชน์จากทรัพยากรทีม่ ใี นพืน้ ที่ จึงท�ำให้เกิดกลุ่มจิตอาสาของเด็กและเยาวชน ในการปลูกป่า ท�ำความสะอาดสถานทีส่ าธารณะประโยชน์ สร้างฝาย ท�ำให้สภาวะแวดล้อมเกิดความ สมดุล สภาพแวดล้อมภายในต�ำบลน่าอยู่มากขึ้น ๔) ด้านสุขภาพ มีการรณรงค์งดใช้สารเคมีในการท�ำการเกษตร มีการตรวจสุขภาพเป็น ประจ�ำทุกปี กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้พิการ ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากกลุ่มเด็กและเยาวชน ที่ทำ� งานร่วมกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลในพื้นที่ กลุ่ม อสม. เพื่อให้กลุ่มบุคคลเหล่านี้ ได้รับการดูแลเอาใจ ใส่เบื้องต้นในการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ๕) ด้านการเมืองการปกครอง เด็กและเยาวชนมีสว่ นร่วมในการรณรงค์การลดใช้ความรุนแรง ในสังคม ในครอบครัว การใช้สทิ ธิใช้เสียงเกีย่ วกับประชาธิปไตย ตลอดจนมีสว่ นร่วมในการเสนอความ คิดในการจัดท�ำข้อตกลงในชุมชน การเสนอกิจกรรมโครงการในแผนชุมชน ๗.๓ ผลต่อทุนทางสังคมอื่นๆ การด�ำเนินการเพื่อสร้างการเรียนรู้การจัดการตนเองได้มีผลกระทบต่อทุนทางสังคมอื่นๆ เช่น กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ซึ่งเป็นกลุ่มที่ได้รับการดูแลจากเด็กและเยาวชนในเรื่องสุขภาพ
244
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
อนามัย กลุ่มท�ำดอกไม้จนั ทน์ กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน กองทุนเงินล้าน ที่มีสวัสดิการในการช่วยเหลือเด็ก ในการสนับสนุนทุนการศึกษาแก่บุตรของสมาชิกกลุ่ม เป็นต้น
๘. กลไก เครื่องมือในการด�ำเนินงาน
การพัฒนาเด็กและเยาวชนเพื่อให้ครอบคลุมทุกด้าน จ�ำต้องมีการบริหารจัดการร่วมกันกับ คนในชุมชน หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ใช้การประชุมร่วมกันโดยให้เด็กและเยาวชนได้มบี ทบาทในการเสนอ แนวคิดการด�ำเนินกิจกรรม การลงพื้นที่เพื่อสัมภาษณ์ จัดเก็บข้อมูลของชุมชนกับสิ่งที่อยากเห็น หรือ อยากให้เกิดขึน้ กับกลุม่ เด็กและเยาวชนในพืน้ ที จัดเก็บข้อมูลปัญหาของเด็กและเยาวชนเพือ่ ให้เกิดการ ด�ำเนินกิจกรรมที่ตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการของชุมชน
๙. ปัจจัยเงื่อนไข มีการบริหารคนให้ตรงกับความสามารถ จัดคนให้เข้ากับงานตามความถนัด จัดเก็บข้อมูล ปัญหาของพื้นที่ เพื่อเป็นฐานข้อมูลในการจัดการปัญหา ซึ่งการบริหารงานไม่ว่าด้านไหนงบประมาณ ไม่สำ� คัญเท่ากับการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน
๑๐. ความเชื่อมโยงต่อ ๗ คุณลักษณะการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่น ๑๐.๑ การสร้างการเรียนรู้ การสร้างการเรียนรู้ปัญหาและความต้องการ(เป้าหมายร่วม+ผลกระทบ)ของชุมชนท้องถิ่น รวมทั้งการแก้ไขและจัดการ การจัดเวทีเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับต�ำบล ท�ำให้ทราบถึงปัญหา ในพื้นที่ รวมถึงปัญหาด้านเด็กและเยาวชน การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหมู่บ้านของผู้น�ำชุมชน การเสนอปัญหาโดยเด็กและเยาวชน ท�ำให้ทราบถึงปัญหาที่แท้จริง ส่งผลให้เกิดการแก้ไขปัญหา ร่วมกันทุกภาคส่วนในพื้นที่ ครอบคลุมทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม เศรษฐกิจ สุขภาพ สภาวะ แวดล้อม การเมืองการปกครอง ซึ่งแต่ละด้านส่งผลกระทบต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นทางตรง ทางอ้อม ๑๐.๒ การสร้างกลไกการจัดการตนเอง การมี(สร้าง)กลไกผลักดันทุกระดับการจัดการตนเอง กลุ่มทุนทางสังคมในพื้นที่มีความ เชื่อมโยงการท�ำงานร่วมกันใช้วัตถุดิบในพื้นที่ มีทุนบุคคล ผู้น�ำชุมชน แกนน�ำ คนส�ำคัญ ปราชญ์
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
245
ชาวบ้าน แกนน�ำสภาเด็กและเยาวชน เป็นคณะกรรมการกลุ่มบริหารจัดการแบบ “ร่วมคิดร่วมท�ำ” ซึง่ เป็นระบบใหญ่ในพื้นที่ ซึ่งคณะกรรมการเหล่านี้ก็เป็นคณะกรรมการแหล่งเรียนรู้ในพื้นที่ด้วย จึงท�ำให้ การบริหารงานได้รวดเร็ว
๑๐.๓ การสร้างคนให้จัดการตนเอง
การสร้างคนให้ต้องจัดการตนเอง(ท�ำเป็น+เป็นเจ้าของ) การจัดการคน งาน ข้อมูล และ งบประมาณ ใช้การบริหารงานแบบร่วมคิดร่วมท�ำ ผู้ด�ำเนินงานสามารถเสนอแนวคิด หลักการและ เหตุผลของตนเองต่อที่ประชุม เพื่อก�ำหนดข้อตกลงร่วมกัน ท�ำให้ผู้เสนอแนวคิด และผู้ดำ� เนินงานมี ความเป็นเจ้าของกิจกรรม แหล่งเรียนรู้ สามารถพัฒนางานในกลุ่มได้อย่างเต็มที่ ๑๐.๔ การสร้างการมีส่วนร่วม การสร้างการมีส่วนร่วม การบริหารงานในพื้นที่ตำ� บลตากตกมีการสร้างความเข้าใจกับผู้ที่ เกี่ยวข้องพื้นที่ มีการแต่งตั้งคณะท�ำงานซึ่งเป็นตัวแทนจากชุมชน แหล่งเรียนรู้ กลุ่มทุน หน่วยงานใน พื้นที่ ท�ำให้เกิดการท�ำงานร่วมกันแบบบูรณาการ ๑๐.๕ การระดมทุนและทรัพยากร การระดมเงินและทรัพยากรเพือ่ เป็นทุน(พึง่ ตนเอง+ต่อเนือ่ ง) การรวมกลุม่ มีการระดมทุนตนเอง ก่อนเป็นอันดับแรกหากกลุ่มนั้นจ�ำเป็นต้องมีงบประมาณด�ำเนินงาน เพราะจะท�ำให้ลดปัญหาหนี้สิน มีการน�ำใช้วัตถุดิบในพื้นที่ เพื่อให้เกิดการหมุนเวียนร่วมกับกลุ่มอื่นๆ หากจ�ำเป็นต้องมีการใช้ งบประมาณในการด�ำเนินงานเพิ่มเติมจากการระดมทุน จะเป็นการกู้ยืมเพื่อประกอบอาชีพในหมู่บ้าน จากกองทุนเงินในหมู่บ้านต�ำบล เพราะเป็นเงินกู้ดอกเบี้ยต�่ำ ที่คนในชุมชนสามารถน�ำไปสร้างงาน ประกอบอาชีพ สร้างรายได้ให้ตนเอง ครอบครัว และเป็นเงินทุนกลุ่มต่อไป ๑๐.๖ การมีข้อตกลง การมีข้อตกลง(สร้างความยั่งยืน ความสัมพันธ์แนวราบช่วยเหลือเกื้อกูลกัน) การก�ำหนด ข้อตกลงร่วมกันของคณะท�ำงาน เพื่อการพัฒนาพื้นที่ ท�ำให้ปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ ได้รับการแก้ไข อย่างตรงจุด โดยคนในชุมชน ซึ่งมีเป้าหมายร่วมกันที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตคนในชุมชนทุกระดับ ๑๐.๗ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กรภาครัฐและหน่วยงานอื่นๆ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กร ภาครัฐ และหน่วยงานต่างๆ มีการน�ำใช้ทุนในพื้นที่ เพือ่ ให้เกิดการสร้างงาน พัฒนาคน ลดปัญหาการว่างงาน ปัญหาสังคม เกิดการท�ำงานแบบบูรณาการ ร่วมกันทั้งภาครัฐและภาคประชาชน
246
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๑๑. การตอบสนองต่อ ๓๑ ตัวชี้วัด องค์การบริหารส่วนต�ำบลตากตกมีการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรูข้ องเด็กและเยาวชน ที่ตอบสนองต่อ ๓๑ ตัวชี้วัด ดังนี้ ชุดกิจกรรมที่ ๑ การเพิ่มทักษะและสร้างการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ได้แก่ ตัวชี้วัดที่ ๑-๒,๔,๖-๙,๑๑-๑๕ ชุดกิจกรรมที่ ๒ การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไข ปัญหาของเด็กและเยาวชน ได้แก่ ตัวชี้วัดที่ ๑๖-๒๑ ชุดกิจกรรมที่ ๓ การบริหารจัดการกองทุนและสวัสดิการส�ำหรับกิจกรรมสร้างสรรค์ ได้แก่ ตัวชี้วัดที่ ๒๒-๒๖ ชุดกิจกรรมที่ ๔ การพัฒนาระบบข้อมูลด้านเด็กและเยาวชนและการน�ำใช้ ได้แก่ ตัวชี้วัดที่ ๒๗-๒๙ ชุดกิจกรรมที่ ๕ การก�ำหนดกฎ กติกา หรือข้อบัญญัตทิ อ้ งถิน่ เพือ่ เฝ้าระวังปัญหาและปกป้อง สิทธิของเด็กและเยาวชน ได้แก่ ตัวชี้วดั ที่ ๓๐-๓๑
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
247
248
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ภาพที่ ๓๗ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้าน ระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชน องค์การบริหารส่วนต�ำบลตากตก อ�ำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก
ภาพที่ ๓๘ ระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชน องค์การบริหารส่วนต�ำบลตากตก อ�ำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
249
ภาพที่ ๓๘ การส่งเสริมการเรียนรูก้ ารจัดการตนเอง ระบบการส่งเสริมการเรียนรูเ้ ด็กและเยาวชน องค์การบริหาร ส่วนต�ำบลตากตก อ�ำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก
250
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
การส่งเสริมการพัฒนาอาชีพ ร่วมสร้างเศรษฐกิจพอเพียง เทศบาลต�ำบลพุเตย อ�ำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์
๑. ที่มาและฐานคิดของการด�ำเนินกิจกรรม เทศบาลต�ำบลพุเตย มีพื้นที่ ๔.๒ ตารางกิโลเมตร มี ๖ หมู่บ้าน ได้แก่ ม.๑, ม.๒, ม.๓, ม.๔, ม.๕ และ ม.๑๒ มีชุมชนในเขตพื้นที่ ๙ ชุมชน เดิมเด็กและเยาวชนในพื้นที่เขตเทศบาลต�ำบลพุเตย ได้มีการรวมกลุ่มกันมั่วสุม เล่นเกมส์ เสพยาเสพติด เด็กแว้น สร้างปัญหาความเดือดร้อนให้กับ ชาวบ้าน จากนั้น ได้มีแกนน�ำชุมชน เป็นผู้ใหญ่บ้าน ก�ำนัน และสมาชิกสภาเทศบาล เข้าไปพูดคุย และชักชวน ชักน�ำให้เข้ามาท�ำกิจกรรมร่วมกัน โดยสอบถามความสมัครใจว่าเด็กและเยาวชนต้องการ ให้ทาง ผู้นำ� ท้องถิ่น ผู้น�ำชุมชน สนับสนุนการท�ำกิจกรรมอะไร ซึ่งได้คำ� ตอบว่า ต้องการให้จัดกิจกรรม เกี่ยวกับส่งเสริมการเล่นกีฬา ส่งเสริมการประกอบอาชีพรายได้เสริม และเล่นดนตรี ต่อมา ผู้น�ำ ท้องถิ่น และเทศบาลต�ำบลพุเตย ได้ปรึกษาหารือกันแล้วมีความเห็นพร้อมกันว่าควรสนับสนุนและ จัดกิจกรรมต่าง ๆ ตามความต้องการของกลุม่ เด็กและเยาวชน โดยเทศบาลต�ำบล พุเตย เป็นผูส้ นับสนุน ทั้งทางด้านวัสดุ อุปกรณ์ งบประมาณ และผู้มีความรู้ความสามารถในด้านกีฬา อาชีพ และดนตรี จากหน่วยงานและองค์กรที่มีความเชี่ยวชาญมาเป็นผู้ฝึกสอนเสริมทักษะให้กับกลุ่มเด็กและเยาวชน จากนั้น ด้วยนโยบายของรัฐบาลก�ำหนดให้มีการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชน เทศบาลต�ำบลพุเตย จึงได้ชกั ชวนให้เด็กและเยาวชนที่มีความสนใจสมัครเป็นสมาชิกสภาเด็กและเยาวชน เมื่อสมาชิกได้มี การพบปะพูดคุยกันจึงมีการชักชวน ชักน�ำเพื่อนสมาชิกที่มีความสนใจเข้าร่วมกลุ่มในการเล่นดนตรี กีฬา และอาชีพ ประกอบกับพ่อแม่พี่น้องที่เป็นสมาชิกในกลุ่มอาชีพ ที่มีลูกหลานอยู่ในสภาเด็กและ เยาวชนเทศบาลต�ำบลพุเตย ก็สนับสนุนให้ลูกหลานของตนเองมาเป็นสมาชิกของกลุ่มอาชีพ เพื่อ ลดปัญหาการมั่วสุมและการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ กับตนเองและชุมชนต่อไป
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
251
๒. งานและกิจกรรม ๒.๑ ภาพรวมระบบการดูแลเด็ก และเยาวชน ของต�ำบล มีระบบการจัดการดูแลเด็กและ เยาวชนแบ่งได้เป็น ๕ ระบบส�ำคัญดังนี้ ๑) การส่งเสริมอาชีพ มีทุนทางสังคม ๑๖ ทุน ประกอบ ทุนระดับบุคคล ๒ คน ๒) ทุนระดับกลุ่มทางสังคม ๙ แหล่ง คือ กลุ่มจินตนาแบนด์ กลุ่มคนเอาถ่าย กลุ่ม ข้าวกล้องด้วยมือหมุน ผลิตข้าวกล้องด้วยมือหมุน กลุม่ ไก่ไข่เสริมไอโอดีน เกษตรอินทรียว์ ถิ ไี ทย พุเตย สปา กลุม่ แปรรูปผลิตภัณฑ์จากเสือ่ กก ทุนระดับหน่วยงานและแหล่งประโยชน์ จ�ำนวน ๕ ทุน เทศบาล ต�ำบลพุเตย ธนาคารออมสิน ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร วิทยาลัยเทคโนโลยีปา่ สัก ธารา โรงเรียนชุมชนบ้านพุเตย ๓) การเพิ่มทักษะการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน มีทุนทางสังคม ๕ ทุน ทุนระดับกลุ่ม ทางสังคม คือ กลุ่มฮักบั้งไฟ กลุ่มข้าวกล้องด้วยมือหมุน กลุ่มโรงสีข้าวกล้อง กลุ่มนวดหัตเวชแผนไทย ภูมิปัญญาทางการเกษตร ๔) การดูแลและส่งเสริมสุขภาพ มีทุนทางสังคม ๗ ทุน ได้แก่ ทุนระดับกลุ่มทางสังคม ๖ ทุน คือ ชมรมแอโรบิค ชมรมฟุตบอล/ฟุตซอล ชมรมแบดมินตัน ชมรมเปตอง (กลิง้ เปลีย่ นชีวติ ) และ ชมรมร�ำไม้พลอง อสม.กลุ่มระดับหน่วยงานและแหล่งประโยชน์ จ�ำนวน ๑ แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบลพุเตย (รพ.สต.) ๕) การส่งเสริมสวัสดิการและการออม มีทุนทางสังคม ๘ ทุน ทุนระดับกลุ่มทางสังคม ๖ กลุม่ คือ กองทุนสวัสดิการชุมชนต�ำบลพุเตย กองทุนฌาปณกิจสงเคราะห์ตำ� บลพุเตย กองทุนหมูบ่ า้ น กลุ่มท�ำบุญรวมญาติ ชมรมพุเตยสงเคราะห์ และกลุ่มดอกไม้จันทน์ ทุนระดับหน่วยงานและแหล่ง ประโยชน์ ๓ ทุน ได้แก่ ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ๖) การพัฒนาจิตอาสา มีทุนทางสังคม ๗ ทุน ได้แก่ ทุนระดับกลุ่มทางสังคม ๗ ทุน คือ กลุ่มท�ำบุญรวมญาติ กลุ่มบรรเลงเพลงสายรุ้ง (ดนตรีไทย) งานศพงดเหล้า กลุ่มจินตนาแบนด์ (ดนตรี สากลเยาวชน) บ้านหลังสุดท้าย ซ่อมแซมบ้านผู้ยากไร้ และสภาเด็กและเยาวชน ๒.๒ ประเด็นเด่นของระบบการดูแลเด็ก และเยาวชน ประเด็นเด่นของระบบการดูแลเด็กและเยาวชน คือ“ การสร้างเสริมพัฒนาอาชีพร่วมสร้าง เศรษฐกิจพอเพียง”โดยมีงานและกิจกรรม ดังนี้ งานซ่อมแซมบ้านผู้ยากไร้ งานศพงดเหล้าบ้านหลัง สุดท้าย วงดนตรีจินตนาแบนด์ ดนตรีบรรเลงเพลงสายรุ้ง สภาเด็กและเยาวชน ภูมิปัญญาทาง การเกษตร กลุ่มฮักบั้งไฟ การนวดหัตเวชแผนไทย ชมรมพุเตยสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร ธนาคารออมสิน กองทุนฌาปณกิจสงเคราะห์ตำ� บลพุเตย กองทุนสวัสดิการชุมชน
252
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ต�ำบลพุเตย กองทุนหมู่บ้าน กลุ่มดอกไม้จนั ทน์ กลุ่มโรงสีข้าวกล้อง กลุ่มกลิง้ เปลีย่ นชีวติ (กีฬาเปตอง) ชมรมร�ำไม้พลอง ชมรมฟุตบอล ฟุตซอล ชมรมแบดมินตัน ชมรมแอโรบิค กลุ่มท�ำบุญรวมญาติ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลพุเตย อสม. ทุนทางสังคมที่หนุนเสริมงานและกิจกรรม มีดังนี้ นายบุญหลา ปะตาทะยัง นางแซว ปรามปะโน กลุม่ เกษตรอินทรียว์ ถิ ไี ทย กลุม่ คนเอาถ่าน กลุม่ แปรรูป ผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก กลุ่มข้าวกล้องด้วยมือหมุน พุเตยสปา กลุ่มขนมไทย กลุ่มเลี้ยงไก่ไข่ไอโอดีน เทศบาลต�ำบลพุเตย โรงเรียนชุมชนบ้านพุเตย วิทยาลัยเทคโนโลยีป่าสักธารา ธนาคารออมสิน และ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
๓. ทุนทางสังคม เทศบาลต�ำบลพุเตย ได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของเด็กและเยาวชนในพื้นที่ จึงได้มีนโยบาย และแนวคิดในการพัฒนาศักยภาพของเด็กและเยาวชน โดยมีแหล่งทุนทางสังคมหลัก และทุนทางสังคม รองที่เป็นส่วนท�ำให้การด�ำเนินการด้านเด็กและเยาวชนส�ำเร็จลุล่วงตามเป้าประสงค์ ๓.๑ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการหลัก ในการดูแลเด็กและเยาวชนมี ๑) ทุนระดับบุคคล จ�ำนวน ๑๐ คน ๒) ทุนระดับกลุ่มทางสังคม (๑) กลุม่ ชมรมดนตรี (จินตนาแบนด์) ตามทีเ่ ด็กและเยาวชนมีความสนใจทีต่ ้องการเล่น ดนตรี จึงได้มีการรวมกลุ่มเล่นดนตรี ได้นำ� กระป๋องสีมาตีเป็นกลอง และมีเด็กๆมาเล่นด้วยจนมีความ สามารถในการเล่น และร้องเพลง ผู้นำ� ชุมชน จึงได้ชักชวนเข้ามาท�ำกิจกรรม โดยขอรับการสนับสนุน จากเทศบาลต�ำบลพุเตย ทัง้ ทางด้านวัสดุ อุปกรณ์และงบประมาณ จึงเกิดเป็นวงดนตรี “จินตนาแบนด์” โดยมีจุดประสงค์ให้เด็กและเยาวชนรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ต่อมาได้มีการติดต่อจากหน่วย งานทีเ่ ห็นความสามารถของนักดนตรีเด็กและเยาวชนกลุม่ นี้ ให้ไปแสดงในงานกิจกรรม ประเพณี และ งานกิจกรรมที่เป็นสาธารณะประโยชน์ เช่น งานปีใหม่ ลอยกระทง สงกรานต์ วันเด็ก งานไก่ย่าง วิเชียรบุรี งานมะขามหวานนครบาลเพชรบูรณ์ เป็นต้น ต่อมาเด็กและเยาวชนที่เป็นสมาชิกของกลุ่ม วงดนตรี มีความสามารถในการเล่นดนตรีเป็นอย่างดี จนเป็นที่ประจักษ์และได้มีผู้ว่าจ้างไปเล่นดนตรี ตามงานต่าง ๆ รวมถึง ตามร้านอาหาร ที่มีความต้องการนักดนตรี จนเป็นการสร้างอาชีพเสริม สร้าง รายได้ให้กับเด็กและเยาวชน จากความสามารถนี้กลุ่มเด็กและเยาวชน สมาชิกวงดนตรีได้สมัครเข้า ร่วมการแข่งขันดนตรีในระดับอ�ำเภอ ระดับจังหวัด และระดับประเทศ
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
253
(๒) กลุ่มจริงใจขนมไทย กลุ่มจริงใจขนมไทย ซึ่งเป็นกลุ่มที่ท�ำขนมไทยโบราณ โดยมี ผู้ใหญ่ในชุมชนทีเ่ ป็นพ่อ แม่พนี่ ้อง ของเด็กและเยาวชน ชักชวนให้มาเข้าร่วมฝึกท�ำขนมไทย เพือ่ ไม่ให้ ความรู้ในการท�ำขนมไทยโบราณได้สูญหายไป ต่อมาเด็กและเยาวชนที่เป็นสมาชิกได้ชักน�ำเพื่อน ๆ ที่ มีความสนใจสมัครเข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุม่ ท�ำขนมไทยโบราณจนเกิดความช�ำนาญและสามารถท�ำเป็น อาชีพเสริมสร้างรายได้ให้กบั ตนเอง และเป็นลดภาระค่าใช้จ่ายของครอบครัว (๓) กลุ่มการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก เกิดขึ้น จากวิถีชีวิตของชาวบ้าน ที่ว่างจากการท�ำเป็นอาชีพหลัก แม่บ้านได้น�ำต้นกกที่เกิดขึ้นในสระน�้ำที่ ท�ำนามาทอเป็นเสือ่ กก เพือ่ ใช้ในครัวเรือน ต่อมาได้มกี ารรวมกลุ่มแม่บ้าน ทีม่ คี วามสามารถในการทอ เสือ่ กก และน�ำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น กล่องกระดาษทิชชู กระเป๋า เข็มขัด น�ำไปจ�ำหน่าย เป็นรายได้ให้กับครอบครัว ต่อมาได้มีการน�ำบุตรหลานเข้ามาฝึกหัดในการทอเสื่อกกเพื่อสืบสาน ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้คงอยู่และเป็นรายได้เสริมให้กับบุตรหลานไว้ใช้จ่ายเป็นส่วนตัว (๔) กลุ่มคนเอาถ่าน จากปัญหาการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม การตัดไม้ กิ่งไม้ที่หมด ความจ�ำเป็นในชุมชน ไม่รู้ว่าจะน�ำไปใช้ประโยชน์อย่างไร เทศบาลต�ำบลพุเตย จึงได้มีการส่งเสริมให้ ตัวแทนชุมชนทีม่ คี วามสนใจไปศึกษาดูงานเรียนรู้ การจัดการกิง่ ไม้ต่าง ๆ น�ำมาเผาถ่าน ด้วยถังน�ำ้ มัน ๒๐๐ ลิตร มาผลิตเป็นเตาเผาถ่านชีวมวล ต่อมาได้ชกั ชวนเด็กและเยาวชนในพืน้ ทีท่ ตี่ อ้ งการและสนใจ มารับการเรียนรูแ้ ละน�ำไปใช้ในการจัดการกิง่ ไม้เศษไม้ทหี่ าได้นำ� มาเผาเป็นถ่านชีวมวลส่งจ�ำหน่ายตาม ร้านค้า เป็นรายได้ของเด็กและเยาวชน ๓) ทุนระดับหน่วยงานและแหล่งประโยชน์ (๑) สถานศึกษาในเขตเทศบาลต�ำบลพุเตย จ�ำนวน ๕ แห่ง ประกอบด้วย โรงเรียน ชุมชนบ้านพุเตย โรงเรียนใจจ�ำนงศึกษา โรงเรียนบุญญรักษ์วรานุสรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีป่าสักธารา ส่งเสริมการจัดกิจกรรมเด็กและเยาวชน และจัดส่งเด็กเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ (๒) วัด จ�ำนวน ๒ แห่ง คือ วัดพุเตยประสิทธิ์ และวัดพุเตยวนาราม เป็นสถานที่ประกอบ พิธที างศาสนา สถานทีใ่ นการจัดกิจกรรมเกีย่ วกับเด็กและเยาวชน งานกีฬาและงานประเพณีตา่ งๆ และ เป็นที่พึ่งยึดเหนี่ยวทางใจแก่เด็กและเยาวชน (๓) สวนสาธารณะหนองปอ เป็นสถานที่การซ้อมดนตรีแก่เด็กและเยาวชน ๔) ทุนระดับหมู่บ้านหรือชุมชนจัดการตนเอง (๑) ชุมชนทั้ง ๙ ชุมชนในเขตเทศบาลต�ำบลพุเตย ประกอบด้วย ชุมชนปี ๒๐๐๐ ชุมชน ชนสร้างสรรค์พฒ ั นา ชุมชนวัดพุเตยประสิทธิ์ ชุมชนวัดพุเตยวนาราม ชุมชนสามัคคี ชุมชนก้าวหน้า ชุมชนพุน�้ำร้อน ชุมชนต้นยาง ๑๐๐ ปี และชุมชนพัฒนาท้องถิ่น
254
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๕) ทุนระดับต�ำบล กองทุนสวัสดิการชุมชน ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนรู้จักการออม และมีสวัสดิการ
๓.๒ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการรอง ได้แก่ ๑) ทุนระดับบุคล มีจ�ำนวน ๓๕ คน ปราชญ์ชาวบ้าน ๕ คน อาสา ๑๕ คน ๒) ทุนระดับกลุ่มทางสังคม (๑) กลุ่มพลังก๊าซ พลังชุมชน เศษอาหาร พืชผักในครัวเรือนที่จะต้องทิ้งไปอย่างไม่มี ประโยชน์ ผู้น�ำชุมชน จึงได้น�ำเศษอาหารและพืชผักดังกล่าวมาท�ำกรรมวิธีก๊าซชีวภาพตามต้นแบบ และถ่ายทอดสู่เด็กและเยาวชนในพื้นที่น�ำไปใช้ในครัวเรือน เป็นประโยชน์และลดค่าใช้จ่ายในครัวได้ เป็นอย่างดี (๒) กลุม่ บ้านพอเพียง เริม่ ต้นจากการน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในครัวเรือน ชุมชน สร้างความพออยู่ พอกิน พอประมาณ ปลูกฝังให้บุตรหลานของตนเอง รู้จักความพอเพียง จน เกิดประโยชน์ และน�ำไปสู่บ้านข้างเรือนเคียง ที่เห็นถึงความส�ำคัญของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (๓) กลุม่ พุเตยสปา เทศบาลต�ำบลพุเตย ได้รบั การสนับสนุนงบประมาณก่อสร้าง อาคาร ศูนย์บริการสุขภาพ “พุเตย สปา” และน�ำตัวแทน แม่บ้าน ผู้สนใจ เข้ารับการฝึกอบรมนวดแผนไทย เพือ่ น�ำความรูท้ ไี่ ด้จากการฝึกอบรมมาประกอบอาชีพ สร้างรายได้ให้กบั ครอบครัว พร้อมแนะน�ำให้เด็ก และเยาวชนทีม่ คี วามสนใจเข้ารับการฝึกนวดแผนไทย เพือ่ สร้างรายได้และน�ำไปนวดให้กบั พ่อแม่พนี่ อ้ ง เป็นสร้างความสัมพันธ์ท่ตี ่อครอบครัว (๔) กลุ่มฮักบั้งไฟ เป็นการรวมตัวกันระหว่างผู้น�ำชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ใหญ่ที่ทักษะ เด็กและเยาวชนที่สนใจร่วมกันอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น เสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ ทางศิลปะแก่เด็กและเยาวชน เช่น การแกะสลัก การออกแบบลวดลาย หล่อไฟเบอร์ (๕) ไบโอก้อโอนะ การจัดกระบวนการใช้พลังงานทดแทน โดยน�ำน�้ำมันพืชเก่ามากลั่น ตามกรรมวิธกี ารผลิตเป็นน�ำ้ มันไบโอดีเซล ใช้ในเครือ่ งยนต์การเกษตร โดยมีแกนน�ำ ผูใ้ หญ่ใจดี แนะน�ำ เด็กและเยาวชน ให้มสี นใจในการท�ำน�้ำมันไบโอดีเซล (๖) กลุ่มข้าวกล้องด้วยมือเรา ภูมิปัญญาท้องถิ่นของคนสมัยโบราณ ในการสีข้าว โดย ใช้แรงงานคนผลิตข้าวกล้องทีม่ ปี ระโยชน์และคุณค่าทางอาหารไว้ใช้บริโภคในครัวเรือน และส่งเสริมให้ เด็กและเยาวชนมาสนใจ ในภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ และยังสามารถน�ำข้าวกล้องไปจ�ำหน่ายเป็นรายได้เสริม (๗) กลุ่มเกษตรอินทรีย์วิถีไทย พื้นที่พุเตยส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม การ ปลูกผักสวนครัวเป็นการสร้างรายได้ให้กับครอบครัวและร่วมกันระหว่างพ่อแม่และบุตรหลาน น�ำไปสู่ การพัฒนาให้มกี ารปลุกผักโดยใช้สารอินทรีย์เพื่อสุขภาพและเป็นรายได้ของครอบครัวและเยาวชน
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
255
(๘) กลุ่มธนาคารขยะรีไซเคิล ด้วยเทศบาลต�ำบลพุเตย มีนโยบายลดประมาณขยะ จึง ได้ส่งเสริมให้แต่ละชุมชนน�ำกระบวนการคัดแยกขยะที่สามารถน�ำกลับมาใช้และน�ำกลับไปขายสร้าง รายได้โดยจัดตั้งเป็นธนาคารขยะ ทั้งเด็ก เยาวชนและผู้ใหญ่ร่วมกันด�ำเนินงาน (๙) โรงเรียนสร้างสุขผูส้ งู อายุ เป็นแหล่งภูมปิ ญ ั ญาและคลังความรูจ้ ากประสบประการณ์ ของผู้สูงอายุน�ำมาถ่ายทอดสู่เด็กและเยาวชนในการประกอบอาชีพ สร้างรายได้และทักษะการใช้ชีวิต อย่างมีคณ ุ ค่า ๓) ทุนระดับหน่วยงานและแหล่งประโยชน์ (๑) ศาลเจ้าพ่อพุเตย เป็นที่เคารพสักการะของเด็กและเยาวชน เป็นสถานที่ให้เด็กและ เยาวชนได้รวมกลุ่มในการแสดงออกถึงความเคารพ เช่น เด็กและเยาวชนร่วมกันฟ้อนร�ำ เพื่อร�ำถวาย แด่เจ้าพ่อพุเตย ก่อเกิดความรัก ความสามัคคีแก่เด็กและเยาวชน (๒) ศูนย์ออกก�ำลังกายฟิตเนส สถานที่ออกก�ำลังกายของเยาวชน และมีเยาวชนดูแล และคอยให้คำ� แนะน�ำแก่ผู้มาใช้บริการ (๓) ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร และธนาคารออมสิน ส่งเสริมการ ออมและเป็นสถาบันการเงินในชุมชน ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้มีเงินออม (๔) รพ.สต.พุเตย ส่งเสริมการจัดกิจกรรมด้านสุขภาพแก่เด็กและเยาวชน เช่น อบรม อสม.น้อย
๔. วัตถุประสงค์
๑) เพื่อเพิ่มทักษะและพัฒนาความรู้ด้านอาชีพให้กับเด็กและเยาวชน ๒) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีรายได้เพิ่มขึ้นจากเวลาว่างและการว่างงาน ๓) เพื่อป้องกันปัญหาทางสังคมของเด็กและเยาวชน
๕. วิธีการท�ำงาน เทศบาลต�ำบลพุเตย ได้เล็งเห็นความส�ำคัญของเด็กและเยาวชน จึงได้มีนโยบายที่จะจัด กิจกรรมการส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่ได้มีส่วนร่วมในการท�ำกิจกรรม ประกอบกับรัฐบาลมีน โยบายให้จดั ตัง้ สภาเด็กและเยาวชนในพืน้ ที่ เทศบาล ฯ จึงได้เริม่ การจัดตัง้ สภาเด็กและเยาวชนขึน้ เมือ่ ปี ๒๕๔๙ ด�ำเนินการเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน จากการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนขึ้น เด็กและเยาวชน เกิดการรวมกลุ่ม ท�ำกิจกรรมต่างๆ ในชุมชน ด้านอาชีพ ความรู้ จิตอาสา การรณรงค์ ปัจจุบันได้ไป
256
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ขยายกลุม่ รวมกับกลุม่ ต่าง ๆ ในพืน้ ที่ เพือ่ ขับเคลือ่ นการด�ำเนินงาน และมีสว่ นร่วมในการพัฒนาชุมชน ในท้องถิ่น ดังนี้ ๑) จัดท�ำและส�ำรวจข้อมูลเด็กและเยาวชนในพื้นที่ โดยใช้ข้อมูลจากฐานทะเบียนราษฎร์ สอบถามผู้น�ำชุมชน สัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้อง ๒) รวบรวมข้อมูลเด็กและเยาวชนเป็นหมวดหมู่ กลุ่มสุขภาพ ความต้องการ สภาพปัญหา ๓) ประชุมผูน้ ำ� ท้องถิน่ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ผูน้ ำ� ชุมชน แกนน�ำเด็ก เพือ่ ก�ำหนดกิจกรรมเกีย่ ว กับเด็กและเยาวชน ๔) จัดตั้งงบประมาณเพื่อด�ำเนินการตามแผนกิจกรรมของเด็กและเยาวชน ๕) จัดกิจกรรม จัดตั้งกลุ่ม เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น ๖) ติดตามและประเมินผลการด�ำเนินงาน
๖. การเชื่อมโยงหรือส่งผลที่เอื้อต่อการท�ำงานกับกลุ่มงานและกิจกรรมอื่นๆ การเชื่อมโยงจัดการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนในพื้นที่ของเทศบาลต�ำบลพุเตย ได้มีกา รส่งเสริมและพัฒนาทุกภาคส่วนให้เข้ามาร่วมเป็นเครือข่ายการด�ำเนินงานในพื้นที่ ได้แก่ การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สนับสนุนเรื่อง วิทยากร ให้ความรู้การท�ำไม้กวาด ศูนย์พัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สนับสนุนงบประมาณการท�ำขนมไทย การท�ำบายศรีสู่ขวัญ รพ.สต. สนับสนุน วิทยากรให้ความรู้สขุ ภาพ สถานศึกษาในเขตเทศบาล ส่งเด็กและเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรม เป็นต้น และทุนทางสังคมต่างๆ เข้ามามีบทบาทร่วม ส่งเสริมพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ของเด็ก และเยาวชน ให้มีความรู้ มีสุขภาวะที่ดีในทุกด้านๆ โดยอาศัยความร่วมมือจากชุมชน กลุ่มอาชีพ ชมรม หน่วยงานในพื้นที่นอกพื้นที่ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่เด็กและเยาวชน ประชาชนทั่วไป ผู้สูงอายุ ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ด�ำรงตนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
๗. ผลผลิตและผลลัพธ์ ๗.๑ ผลต่อประชากรกลุ่มเป้าหมาย ๑) เด็กและเยาวชนมีทักษะที่จ�ำเป็นต่อการจัดการองค์กรของตนเอง ท�ำงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และมีประสิทธิภาพด้านการลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ ๒) เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาในท้องถิ่นเพิ่มขึ้น
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
257
๓) เด็กและเยาวนเกิดการรวมกลุ่ม และท�ำกิจกรรมสร้างสรรค์ที่ดีต่อสังคม ๔) เด็กและเยาวชนได้รบั การพัฒนาความรู้ และฝึกทักษะ
๗.๒ ผลต่อคุณภาพชีวิตของกลุ่มประชากร ๕ มิติ (สังคม เศรษฐกิจ สภาวะแวดล้อม สุขภาพ และการเมือง การปกครอง เทศบาลต�ำบลพุเตย พัฒนาเด็กและเยาวชน อย่างต่อเนื่อง และ มีรปู ธรรมในการด�ำเนินงานอย่างชัดเจน โดยมีผนู้ ำ� ชุมชน แกนน�ำกลุม่ ต่างๆ และประชาชนเป็นตัวแทน ในการร่วมคิด ร่วมพัฒนา จนเกิดการสร้างความเข้าใจร่วมระหว่างองค์กรภาคท้องถิน่ ท้องที่ ประชาชน และองค์กรภายนอก ในการพัฒนาพื้นที่ ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของกลุ่มประชากร ๕ มิติ ดังนี้ ๑) ด้านการเมือง การปกครอง เด็กและเยาวชน มีส่วนร่วมในการช่วยเหลือดูแลซึ่งกันและ กันแก้ไขปัญหาของกลุ่มเด็กที่มั่วสุม ติดยาเสพติด ติดเกมส์ และก่อความวุ่นวาย ส่งเสียงรบกวน จึงตกลงร่วมกันในการสร้างกฎ กติกา ของกลุม่ เด็กและเยาวชน ไม่ให้สร้างปัญหาในพืน้ ทีท่ อ้ งถิน่ ชุมชน ของตนเอง และพื้นที่ใกล้เคียง ๒) ด้านเศรษฐกิจ จากแนวทางที่เทศบาลต�ำบลพุเตย ได้ส่งเสริมและสนับสนุนกระบวนการ ฝึกอบรมและทักษะการประกอบอาชีพ เพื่อให้เด็กและเยาวชน มีรายได้และลดภาระค่าใช้จ่ายให้กับ ครอบครัว จนท�ำให้เศรษฐกิจในครัวเรือนมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น น�ำไปสู่เศรษฐกิจในท้องถิ่น ประชาชน มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ๓) ด้านสังคม จากแนวทางการส่งเสริมให้มีอาชีพสร้างรายได้แก่เด็กและเยาวชน ท�ำให้เกิด ความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ในการใช้ชีวิตร่วมกัน โดยมีวัฒนธรรมประเพณี เข้ามาช่วยหล่อหลอมเป็น สังคมของเด็ก เยาวชน และผู้ใหญ่ ๔) ด้านสุขภาพ ตามที่กลุ่มเด็กและเยาวชนต้องการให้เทศบาลต�ำบลพุเตยและชุมชน สนับสนุนในการส่งเสริมอาชีพ สร้างรายได้ ท�ำให้เด็กและเยาวชน ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ไม่ไป มั่วสุม เสพยาเสพติด ดื่มสุรา ซึ่งเป็นการบั่นทอนท�ำลายสุขภาพ และกลับมาสนใจดูแลสุขภาพของ ตนเอง ๕) ด้านการจัดการสภาวะแวดล้อม การส่งเสริมอาชีพเพื่อสร้างรายได้ ที่ทางกลุ่มเยาวชน ได้กระท�ำก็เป็นแบบอย่างหนึ่งที่จะไปสู่การจัดการสภาวะสิ่งแวดล้อมดีขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการเข้าร่วมกับ การจัดการขยะในชุมชน การคัดแยกขยะ ทีจ่ ะสามารถน�ำกลับมาใช้อกี หรือน�ำมาขายเพิม่ รายได้ การ จัดการขยะอินทรีย์ น�ำไปท�ำปุ๋ยอินทรีย์ เลี้ยงไส้เดือนดิน ที่ทางเทศบาลต�ำบลพุเตย สนับสนุนส่งเสริม ให้มีการจัดการตนเองได้ในทุกชุมชน การเข้าด�ำเนินงานกิจกรรมท�ำความสะอาดชุมชน ก็เป็นอีกส่วน หนึง่ ของเด็กและเยาวชนทีเ่ ข้ามาร่วมกับผูใ้ หญ่ เสริมสร้างความเข้มแข็งในชุมชน สร้างสภาวะแวดล้อม ที่ดี สวยงาม สะอาดของบ้านและชุมชน
258
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๗.๓ ผลต่อทุนทางสังคมอื่นๆ ทุนทางสังคมทั้ง ๖ กลุ่ม ได้รับการพัฒนา มีการจัดกระบวนเรียนอย่างเป็นระบบ มีวิทยากร กลุ่ม สามารถบริหารจัดการกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๘. กลไก เครื่องมือในการด�ำเนินงาน การขับเคลื่อนการด�ำเนินงานของเด็กและเยาวชนมีกลไกและเครื่องมือการด�ำเนินงาน ดังนี้ ๑) นโยบายในการบริหารงานด้านเด็กและเยาวชน โดยผูน้ ำ� ท้องถิน่ ได้เล็งเห็นความส�ำคัญของ เด็กและเยาวชน มีการส่งเสริมการเรียนรู้ ให้ได้รับความเสมอภาคเท่าเทียมกัน เช่น ด้านการศึกษา ด้านสุขภาพ ด้านอาชีพ สิทธิและประโยชน์ต่างๆ ๒) จัดท�ำแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในพื้นที่เพื่อจะให้ทราบถึงปัญหาและความต้องการของ เด็กและเยาวชน เพือ่ เป็นกรอบและแนวทางในการพัฒนาเด็กและเยาวชนแก้ปญ ั หาและตอบสนองตาม ความต้องการของเด็กและเยาวชน
๙. ปัจจัยเงื่อนไข ๑) คน การด�ำเนินงานด้านต่างๆ คนถือได้ว่าเป็นสิ่งที่ส�ำคัญมากที่สุด การบริหารจัดการคน ให้มปี ระสิทธิภาพต้อง ส่งเสริมให้ได้รบั การพัฒนาความรูอ้ ย่างต่อเนือ่ ง สร้างขวัญและก�ำลังใจ ยกย่อง เชิดชูพร้อมทัง้ รับฟังความคิดเห็นเพือ่ แก้ไขปรับปรุงการท�ำงานให้มกี ารพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง เช่น อบรม ให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนที่เป็นแกนน�ำให้มีความพร้อมที่จะไปถ่ายทอด ๒) เครื่องมือและอุปกรณ์ จัดหาเครื่องมือและอุปกรณ์ให้มีความพร้อมตามความต้องการ และปรับปรุงเครื่องมือ เช่น กลุ่มดนตรีเด็กและเยาวชน ไม่มีอุปกรณ์เครื่องดนตรีที่พร้อมจะเล่นเป็นวง ผูน้ ำ� ชุมชนและเทศบาลต�ำบลพุเตย สนับสนุนเครือ่ งดนตรี ซึง่ เป็นสิง่ ทีจ่ �ำเป็นให้เด็กและเยาวชนสามารถ ฝึกซ้อมและเล่นดนตรีได้อย่างเต็มรูปแบบ สามารถไปเล่นในงานต่างๆ ได้ ท�ำให้เด็กและเยาวชนมี รายได้ ๓) งบประมาณ มีการระดมงบประมาณเพือ่ ช่วยขับเคลือ่ นการด�ำเนินงานด้านเด็กและเยาวชน เช่น กลุม่ ท�ำขนมไทย ไม่มงี บประมาณในการจัดอบรมให้ความรูเ้ กีย่ วกับการท�ำขนมแก่เด็กและเยาวชน ผู้นำ� ชุมชน เทศบาลต�ำบลพุเตย โรงเรียนสร้างสุขผู้สูงอายุ จึงจัดหางบประมาณในการจัดอบรมอาชีพ การท�ำขนมให้แก่เด็กและเยาวชน เพื่อพัฒนาความรู้และเพิ่มทักษะการท�ำขนมแก่เด็กและเยาวชน
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
259
๔) ข้อมูล มีการจัดท�ำข้อมูลเด็กและเยาวชนโดยใช้ฐานข้อมูลจากทะเบียนราษฎร์ ข้อมูลจาก TCNAPและRECAPและจัดหมวดหมู่ เมือ่ มีการจัดกิจกรรมสามารถดึงข้อมูลทีจ่ ดั ท�ำไว้มาใช้ได้เลย ท�ำให้ เกิดความพร้อมและตอบสนองได้อย่างตรงตามความต้องการของเด็กและเยาวชน
๑๐. ความเชื่อมโยงต่อ ๗ คุณลักษณะการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่น ๑๐.๑ การสร้างการเรียนรู้ สร้างกระบวนการเรียนรูข้ องเด็กและเยาวชนในท้องถิน่ ให้สามารถจัดการตนเอง และสามารถ พัฒนาท้องถิน่ ได้ เช่น กลุม่ จริงใจขนมไทย ส่งเสริมงานด้านอาชีพการท�ำขนมไทย ให้แก่เด็กและเยาวชน ทั้งในทางทฤษฎีและปฏิบัติ สามารถท�ำขนมได้อย่างน้อย ๒ อย่าง เพื่อน�ำไปบริโภคในครัวเรือน ถ่ายทอดความรู้ให้กบั ครอบครัว และประกอบเป็นอาชีพ สามารถท�ำขนมร่วมกับกลุ่มได้ ๑๐.๒ การสร้างกลไกการจัดการตนเอง ขับเคลื่อนการด�ำเนินงานของเด็กและเยาวชน โดยมีนโยบายให้เด็กและเยาวชนได้รับการส่ง เสริมอาชีพที่หลากหลาย ตามความชอบและความถนัดของเด็กและเยาวชน และสามารถตอบสนอง ตามกลุ่มเป้าหมายเด็กและเยาวชนได้ เช่น กลุ่มดนตรี ตอบสนองกลุ่มที่รักเสียงดนตรีว่างงาน และ ยากจน แต่ไม่มที นุ ทีจ่ ะได้เรียนรูแ้ ละฝึกทักษะดนตรีได้ ดังนัน้ จึงมีการจัดตัง้ กลุม่ ดนตรีขนึ้ โดยมีระเบียบ วิธีการปฏิบัติ และข้อตกลง ผลที่เกิดขึ้น คือ กลุ่มสามารถบริหารจัดการตนเองได้ ภายใต้กฎ ระเบียบ กติกาที่วางไว้ ๑๐.๓ การสร้างคนให้จัดการตนเอง ส่งเสริมเด็กและเยาวชนให้มีศักยภาพในการจัดการตนเอง โดยพัฒนาเด็กและเยาวชน ให้มี ความรู้ มีความเข้าใจ เช่น การอบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ ท�ำให้เด็กเกิดความรู้ และสามารถ ดูแลและจัดการตนเองได้ ๑๐.๔ การสร้างการมีส่วนร่วม ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการด�ำเนินงานด้านเด็กและเยาวชน เช่น พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับ เทศบาลต�ำบลพุเตย และโรงเรียนสร้างสุขผู้สูง อายุเทศบาลต�ำบลพุเตย จัดอบรมการท�ำอาชีพแก่เด็กและเยาวชน เช่น การท�ำขนมไทย ท�ำบายศรี สู่ขวัญ เพื่อส่งเสริมสร้างให้เด็กได้รับความรู้และสามารถน�ำมาใช้ในครัวเรียน และท�ำเป็นอาชีพเสริม ก่อเกิดรายได้แก่ตนเองและครอบครัวได้
260
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๑๐.๕ การระดมทุนและทรัพยากร ทุนและทรัพยากร ด้านงบประมาณ คือ เทศบาลต�ำบลพุเตย ผู้น�ำท้องถิ่น ผู้น�ำชุมชน ให้การสนับสนุนงบประมาณ เพื่อเป็นทุน บริหารจัดการของกลุ่ม เช่น กลุ่มการเลีย้ งไก่ไข่ไอโอดีน เทศบาลต�ำบลพุเตย จัดตัง้ งบประมาณในการ ด�ำเนินการให้กลุ่ม โดย จัดหาวิทยากรให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงไก่ไข่ไอโอดีน เพื่อให้เด็กและเยาวชนใน พื้นที่ได้รบั ประทานไข่ท่มี ีสารไอโอดีน ๑๐.๖ การมีข้อตกลง จัดท�ำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ระหว่างทุนทางสังคมในพื้นที่ เพื่อให้เกิดความ ชัดเจนในการท�ำงาน และขับเคลื่อนการด�ำเนินงานไปด้วยกัน ๑๐.๗ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กรภาครัฐและหน่วยงานอื่นๆ หน่วยงานทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ที่ได้จัดท�ำความร่วมมือ มีการติดตามงานอย่างต่อเนื่อง และมีการประสานงานและท�ำกิจกรรมร่วมกัน เพื่อให้งานเป็นไปตามเป้าหมาย
๑๑. การตอบสนองต่อ ๓๑ ตัวชี้วัด ๑) จัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนหรือองค์กรด้านเด็กและเยาวชนให้มีส่วนร่วมท�ำกิจกรรมของ ชุมชนอย่างน้อย ๑ องค์กร ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาทักษะและสร้างการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ตัวชี้วัด ๑ ๒) จัดกิจกรรม โครงการ ให้เด็กและเยาวชนร่วมเป็นผู้น�ำในการพัฒนากิจกรรมในพื้นที่ ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาทักษะและสร้างการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ตัวชี้วัด ๒ ๓) จัดตั้งเครือข่ายเด็กและเยาวชนในระดับพื้นที่ที่มีเด็กและเยาวชนร่วม ไม่น้อยกว่า ๑๐ คน ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาทักษะและสร้างการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ตัวชี้วัด ๖ ๔) จัดกิจกรรมให้เด็กและเยาวชนร่วมมีบทบาทในการพัฒนากิจกรรมในพื้นที่ ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาทักษะและสร้างการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ตัวชี้วัด ๗ ๕) จัดฝึกอบรมพัฒนาศักยภาพแกนน�ำเด็กและเยาวชนให้มีภาวะผู้นำ� และมีบทบาทในการ พัฒนากิจกรรมในพื้นที่ ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาทักษะและสร้างการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ตัวชี้วัด ๘ ๖) สร้างนวัตกรรมที่สร้างให้เกิดการเรียนรู้และเพิ่มทักษะชีวิตที่ด�ำเนินการโดยเครือข่ายเด็ก และเยาวชนในพื้นที่ ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาทักษะและสร้างการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ตัวชี้วัด ๑๒
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
261
๗) จัดท�ำนโยบายส่งเสริม สนับสนุนให้เด็กและเยาวชนมีการประกอบอาชีพตามบริบทพื้นที่ ทีเ่ หมาะสมกับวัย เพศ และพัฒนาการของเด็กและเยาวชน ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาทักษะและสร้าง การเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ตัวชี้วัด ๑๓ ๘) จัดอบรม เรือ่ งการสนับสนุนให้เด็กและเยาวชนมีการประกอบอาชีพตามบริบทพืน้ ทีท่ เี่ หมาะ สมกับวัย เพศ และพัฒนาการ ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาทักษะและสร้างการเรียนรู้ของเด็กและ เยาวชน ตัวชี้วัด ๑๔ ๙) จัดตั้งกลุ่มหรือกิจกรรมเพื่อสร้างจิตส�ำนึกรักบ้านเกิด เช่น การตั้งกลุ่มอนุรักษ์ผ้าทอใน หมู่บ้านการละเล่นพื้นบ้าน ชุดกิจกรรมที่ ๒ การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาของเด็กและ เยาวชน ตัวชี้วัดที่ ๑๖ ๑๐) จัดโครงการกิจกรรม ฝึกอบรมเพิ่มทักษะการสร้างเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสมให้กับเด็ก และเยาวชน ชุดกิจกรรมที่ ๒ การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาของเด็กและเยาวชน ตัวชี้วดั ที่๑๙ ๑๑) จัดกิจกรรม โครงการ เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชน โดยเน้นการสืบทอดและอนุรักษ์ ขนบธรรมเนียมประเพณีของชุมชน ชุดกิจกรรมที่ ๒ การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาของ เด็กและเยาวชน ตัวชี้วดั ที่ ๒๐ ๑๒) สร้างนวัตกรรมเด็กและเยาวชน ที่เชื่อมโยงสถาบัน บ้าน องค์กรศาสนา โรงเรียน โดย เน้นการสืบทอดและอนุรกั ษ์ขนบธรรมเนียมประเพณีของชุมชนชุดกิจกรรมที่ ๒ การมีสว่ นร่วมของชุมชน ในการแก้ไขปัญหาของเด็กและเยาวชน ตัวชี้วัดที่ ๒๑ ๑๓) จัดตั้งกองทุนหรือสวัสดิการชุมชนที่สนับสนุนการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ของเด็กและ เยาวชน ชุดกิจกรรมที่ ๒ การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาของเด็กและเยาวชน ตัวชี้วัด ที่ ๒๒ ๑๔) จัดตัง้ กองทุนและสวัสดิการชุมชนขยายครอบคลุมกิจกรรมสร้างสรรค์ของเด็กและเยาวชน ชุดกิจกรรมที่ ๓ การบริหารจัดการกองทุนและสวัสดิการส�ำหรับกิจกรรมสร้างสรรค์ ตัวชี้วัด ๒๔ ๑๕) จัดกิจกรรม โครงการ ให้เด็กและเยาวชน มีส่วนร่วมในการบริจาคและช่วยเหลือเงินทุน อุปกรณ์ ทรัพยากรรวมถึงบุคลากร แก่ผ้ทู ขี่ ดั สน ด้อยโอกาส ยากจน และพิการเพือ่ ให้เด็กและเยาวชน มีกิจกรรมร่วมกัน ชุดกิจกรรมที่ ๓ การบริหารจัดการกองทุนและสวัสดิการส�ำหรับกิจกรรมสร้างสรรค์ ตัวชี้วัด ๒๕ ๑๖) จัดตั้งกองทุนชุมชนเพื่อช่วยเหลือเยียวยาสงเคราะห์ เด็กและเยาวชนที่ขัดสน ยากจน พิการ เป็นต้น ชุดกิจกรรมที่ ๓ การบริหารจัดการกองทุนและสวัสดิการส�ำหรับกิจกรรมสร้างสรรค์ ตัวชี้วัด ๒๖
262
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๑๗) ด�ำเนินการทบทวนข้อมูลวิจยั ชุมชน (RECAP) และข้อมูลพืน้ ฐานต�ำบล (TCNAP) สังเคราะห์ ข้อมูลทุนและศักยภาพต�ำบล เพื่อน�ำไปใช้ในงานพัฒนาสุขภาวะเด็กและเยาวชน และมีการทบทวน ทุกรอบปี ชุดกิจกรรมที่ ๔ การพัฒนาระบบข้อมูลด้านเด็กและเยาวชนและการน�ำใช้ ตัวชี้วัด ๒๗ ๑๘) สร้างช่องทางในการสือ่ สารและประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลการด�ำเนินงานด้านเด็กและเยาวชน เช่น เวปไซต์ จดหมายข่าว หอกระจายข่าว เป็นต้น ชุดกิจกรรมที่ ๔ การบริหารจัดการกองทุนและ สวัสดิการส�ำหรับกิจกรรมสร้างสรรค์ ตัวชี้วัด ๒๘ ๑๙) จัดท�ำกฎ กติกาชุมชน หรือข้อบัญญัตทิ อ้ งถิน่ ว่าด้วยการเฝ้าระวังปัญหาและปกป้องสิทธิ ของเด็กและเยาวชน เช่น ยาเสพติด อบายมุข การทะเลาะวิวาท การมัว่ สุม ท้องไม่พร้อม เป็นต้น โดย เด็กและเยาวชนเข้าไปมีส่วนร่วมในการพัฒนา ชุดกิจกรรมที่ ๕ การก�ำหนดกฎ กติกา หรือข้อบัญญัติ ท้องถิ่น เพื่อเฝ้าระวังปัญหาและปกป้องสิทธิของเด็กและเยาวชน ตัวชี้วัด ๓๐
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
263
264
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ภาพที่ ๔๐ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้าน ระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชน เทศบาลต�ำบลพุเตย อ�ำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบุรี
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
265
ภาพที่ ๔๑ ระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชน เทศบาลต�ำบลพุเตย อ�ำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบุรี
ภาพที่ ๔๒ การส่งเสริมการพัฒนาอาชีพร่วมสร้างเศรษฐกิจพอเพียง เทศบาลต�ำบลพุเตย อ�ำเภอ วิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบุรี
266
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
การพัฒนาจิตอาสา
องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนแก้ว อ�ำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
๑. ที่มาและความส�ำคัญ สั ง คมปั จ จุ บั น พั ฒ นาไปตามความเจริ ญ ก้ า วหน้ า ทางเทคโนโลยี อ ย่ า งรวดเร็ ว ส่ ง ผลให้ ประเทศไทยต้องเร่งพัฒนาตนเองเพือ่ ให้ทนั กับการเปลีย่ นแปลง และสามารถแข่งขันกับนานาประเทศได้ ซึง่ กระแสการเร่งพัฒนาและสภาพเศรษฐกิจทีบ่ บี รัดได้สง่ ผลกระทบต่อวิถชี วี ติ ของคนในสังคมไทย ท�ำให้ เกิดการแข่งขัน มีค่านิยมทางวัตถุสูงเกิดการเอารัดเอาเปรียบซึ่งกัน และการมุ่งแสวงหาผลประโยชน์ ให้กบั ตนเองมากกว่าส่วนรวมขาดการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมอย่างจริงจังและต่อเนือ่ งท�ำให้เกิดภาวะ ขาดสมดุลทั้งทางจิตใจและวัตถุ ดังนั้นความส�ำนึกต่อส่วนรวมจึงลดน้อยลง การปลูกฝังจิตส�ำนึก สาธารณะให้คนในสังคมภายใต้สภาพแวดล้อมทีม่ ลี กั ษณะพลวัตรและกระแสการพัฒนายุคโลกาภิวตั น์ ซึ่งเป็นที่ประจักษ์ว่าความเจริญรุ่งเรืองทางด้านวัตถุในปัจจุบันเป็นสาเหตุที่ท�ำให้สังคมโดยทั่วไป มี ค่านิยมทีใ่ ห้ความส�ำคัญในการแสวงหาเงินทอง แสวงหาอ�ำนาจบารมีมากกว่าทีจ่ ะให้ความส�ำคัญทาง ด้านจิตใจ สังคมในปัจจุบันจึงกลับเสื่อมโทรมลงอย่างเห็นได้ชัดเจน ปัญหาต่างๆ มีมากมายการ ปลูกฝังส�ำนึกให้กบั บุคคลเพื่อให้มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมจึงควรบังเกิดขึ้นในสังคม ด้วย เหตุนี้ในปัจจุบัน จึงมีการกล่าวถึงค�ำว่า “จิตสาธารณะ”มากขึ้นเพื่อให้ผู้คนได้ตระหนักถึงความ รับผิดชอบต่อสาธารณะมากกว่าตนเอง นั่นหมายถึงการที่ทุกคนต้องมีการ“ให้” มากกว่า“รับ”เพราะ สิง่ เหล่านีถ้ า้ สามารถปลูกฝังให้เด็กและเยาวชนได้ตระหนักถึงความส�ำคัญ สังคมย่อมเป็นสุขอย่างยัง่ ยืน ยาวนาน ค�ำว่า “จิตสาธารณะ” จึงมีความส�ำคัญต่อชีวิตและความเป็นอยู่ของมนุษย์โดยส่วนรวม การปลูกฝังจิตส�ำนึกกับบุคคลต่างๆ ให้มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสาธารณะ จะเป็นการ สร้างคุณธรรม จริยธรรมให้เกิดขึ้นกับบุคคลทุกกลุ่ม การมี “จิตสาธารณะ”มีความส�ำคัญในการปลูก จิตส�ำนึกให้ผ้คู นรู้จกั การเสียสละการร่วมแรงร่วมใจ ร่วมมือในการท�ำประโยชน์เพือ่ สังคมและส่วนรวม
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
267
ดังนัน้ การสร้างประชาชนให้มคี ณ ุ ภาพจึงจ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องปลูกฝังจิตส�ำนึกให้มจี ติ สาธารณะอัน เป็นส่วนสนับสนุนให้เกิดความเข้มแข็งต่อการให้บริการสวัสดิการสังคมอย่างยั่งยืนในสังคมไทย จากข้อมูลเด็กและเยาวชนในต�ำบลดอนแก้วทั้งหมด ที่ปรากฏในฐานข้อมูล RECAP ต�ำบล ดอนแก้ว จ�ำนวน ๒,๙๕๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๙ ของประชาชนทั้งหมด ประกอบด้วย ๑) เด็ก ๑-๓ ปี จ�ำนวน ๖๔ (๐.๔๒ %) คน ๒) เด็ก ๓-๕ ปี จ�ำนวน ๔๕๒(๒.๙๖ %) คน ๓) เด็ก ๖-๑๒ ปี จ�ำนวน ๑,๕๒๓(๑๐.๐%) คน ๔) เยาวชน จ�ำนวน ๙๑๓ (๗.๐๐%) คน ประกอบกับฐานข้อมูล CPMS ต�ำบลดอนแก้ว (กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์, ๒๕๕๘) พบปัญหาในกลุ่มเด็กที่เป็นปัญหาส�ำคัญใน ๓ ล�ำดับ ดังนี้ ปัญหาด้านสุขภาพ (โรคอ้วน ฟันผุ) ที่พบในกลุ่มเด็กระดับ อายุ ๑-๖ ปี ปัญหาด้านสติปัญญา (พัฒนาการช้า สมาธิสั้น) พบในกลุ่มเด็กปฐมวัย ปัญหาทางสังคม(การถูกปล่อยปละละเลยจากผู้ปกครอง เด็กติดเกมส์-สื่อ ออนไลน ท้องไม่พร้อม ความรุนแรงในครอบครัว การถูกละเมิดทางเพศ) พบในกลุ่มเด็กระดับอายุ ๖-๑๒ ปีและเยาวชน ซึ่งเป็นปัญหาที่ควรเฝ้าระวัง ประกอบกับการพบสถิติกลุ่มเด็กในระดับปฐมวัย และเยาวชนที่หลั่งไหลเข้าไปรับการศึกษาในอ�ำเภอเมือง ท�ำให้เกิดแรงกระตุ้นต่อความเสี่ยงทางภัย สังคมสูงมากขึ้น การก้าวเข้าสู่สังคมเมืองส่งผลให้เด็กลืมรากเหง้าการเป็นชุมชนเอื้ออาทร การรับ วัฒนธรรมตะวันตกเข้ามาแทนที่ การบริโภคนิยม และกระแสสื่อทางสังคม ส่งผลให้เด็กลุ่มหลง แสงสี และกลทางสังคม ทัง้ หมดเหล่านัน้ ส่งผลต่อการท�ำงานด้านเด็กและเยาวชนเป็นอย่างยิง่ เด็กและเยาวชน ถือว่าเป็นทรัพยากรส�ำคัญของต�ำบลดอนแก้วที่ต�ำบลได้ให้ความส�ำคัญและตระหนักถึงปัญหาต่างๆที่ จะส่งผลกระทบในกลุม่ เด็กและเยาวชน จนก่อเกิดรูปแบบการท�ำงานด้านเด็กและเยาวชนผ่านแผนงาน กิจกรรมโครงการต่างๆ โดยเฉพาะการสร้างส�ำนึกจิตอาสาที่เลือนลางหายไปจากเด็กและเยาวชนใน ต�ำบล โดยตระหนักความส�ำคัญในระดับเด็กเล็ก (ปฐมวัย) อายุ๑-๓ , ๓-๕ ปี ๖-๑๒ ปี และในระดับ เยาวชน เพื่อร่วมปลูกจิตส�ำนึกจิตอาสาให้กับเด็กในตอนเยาว์วัย ประกอบกับเป้าหมายของการสร้าง ต้นแบบการท�ำงานด้านเด็กและเยาวชนเพือ่ เป็นแบบอย่างการท�ำงานกับเด็กในต�ำบลและเพือ่ สร้างแรง จูงใจให้กบั เพือ่ นต�ำบลเครือข่ายเกิดแรงผลักดันการท�ำงานขับเคลือ่ นกิจกรรมจิตอาสาในระดับเยาว์วยั ต่อไป
268
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
จากปัญหาดังกล่าวจึงเป็นที่มาของการสร้างเยาวชนจิตอาสาต�ำบลดอนแก้ว อีกทั้งเป็นการ ส่งเสริมการเปิดพื้นที่สร้างสรรค์เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและพัฒนาศักยภาพกลุ่มเด็กและเยาวชนให้ กลายเป็นเยาวชนจิตอาสา เพื่อเปิดโอกาสให้ได้แสดงศักยภาพและพัฒนาตนเองจนน�ำสู่การเป็น แกนน�ำในการช่วยเหลือติดตาม และเกิดิ กระบวนการเพือ่ นช่วยเพือ่ นเพือ่ ให้สามรถด�ำเนินิ ชีวติ ในสังคม เอื้ออาทรได้อย่างมีความสุข องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนแก้ว อ�ำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ได้ให้ ความส�ำคัญต่อการตระหนักถึงปัญหาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยเฉพาะกลุ่มเด็กและเยาวชนที่ ต้องต่อสู้กบั สังคมเทคโนโลยีทเี่ พิม่ มากขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง มีการน�ำหลักธรรมภิบาล การมีส่วนร่วมมาใช้ ในการสร้างเยาวชนจิตอาสาต�ำบลดอนแก้ว “เกิดข่วงละอ่อนดอนแก้ว” ซึ่งเป็นพื้นในการรับฟังความ คิดเห็นของเด็กและเยาวชน เกิดแนวทางการพัฒนาเด็กและเยาวชนจิตอาสาตามความต้องการ การมีส่วนร่วมในการก�ำหนดแนวทางการตามหลัก ๕Q คือ IQ MQ CQ EQ AQ เช่น กิจกรรมอาสา ดูแลผู้สูงอายุที่โรงเรียนฮอมสุขของต�ำบลดอนแก้ว กิจกรรมพัฒนาพื้นที่สาธารณะในต�ำบลดอนแก้ว เช่น วัด ฌาปนสถาน ถนนในหมูบ่ า้ น บ้านผูพ้ กิ าร ผูส้ งู อายุ และผูด้ อ้ ยโอกาส เป็นต้น ซึง่ แต่ละกิจกรรม มาจากความต้องการผ่านเวทีข่วงก�ำกึ๊ดละอ่อนดอนแก้ว ร่วมด�ำเนินงานกับกลุ่มสภาเด็กและเยาวชน พัฒนาและเข้าสู่กระบวนการท�ำแผนพัฒนาเฉพาะกลุ่มเด็กและเยาวชน เกิดกลุ่มสภาเด็กและเยาวชน จิตอาสา ภายใต้ข้อมูลต�ำบลที่มีอยู่ น�ำมาพัฒนาเป็นการสร้างเยาวชนจิตอาสาต�ำบลดอนแก้ว เพื่อ สร้างพื้นที่ในการท�ำกิจกรรมของเด็กและเยาวชน ให้เด็กและเยาวชนเข้าถึงบริการและกิจกรรมต่างๆ โดยในแต่ละประเภทเกิดรูปแบบการสร้างเยาวชนจิตอาสาด้วยกลยุทธ์และการน�ำใช้ทุนทางสังคมใน ต�ำบล สร้างกิจกรรมทั้วเชิงรุกและเชิงรับ ผ่านกลไกส�ำคัญ “เยาวชนจิตอาสาต�ำบลดอนแก้ว” สร้าง การอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขโดยเยาวชนเพื่อชุมชน
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
269
ภาพที่ ๔๓ กรอบแนวคิดการสร้างต�ำบลวัฒนธรรมจิตอาสา
การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในสังคมปัจจุบัน ส่งผลให้สังคมมีแต่การเอารัดเอาเปรียบ ความมีน�้ำใจระหว่างกันจึงเลือนหายไปจากสังคม การส่งเสริมเรื่องการสร้างจิตส� ำนึกสาธารณะ จึงมีความจ�ำเป็นทีช่ มุ ชนต้องให้ความส�ำคัญเชิงการพัฒนาอย่างสร้างสรรค์จากทุนทางสังคมเดิมทีม่ อี ยู่ ในต�ำบล เพื่อให้เกิดการต่อยอดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยกลุ่มจิตอาสาในต�ำบลดอนแก้วที่ถือว่า เป็นกลุ่มทุนทางสังคมที่ส�ำคัญเป็นรากฐานการพัฒนาและการขับเคลื่อนการสร้างต�ำบลน่าอยู่ร่วมกัน อย่างยั่งยืน กลุ่มจิตอาสาในต�ำบลดอนแก้วส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มอาสาสมัคร ผู้บริหารท้องถิ่น แกนน�ำ ท้องที่ และแกนน�ำภาคประชาชน ดังนั้นเพื่อสร้างการต่อยอดการสร้างกลุ่มจิตอาสาให้เกิดการพัฒนา ศักยภาพอย่างต่อเนือ่ งจึงต้องอาศัยกลยุทธ์ดาวกระจายในการสร้างขยายกลุม่ จิตอาสาให้อยูใ่ นทุกกลุม่ ประชากรรวมทัง้ การยกระดับจิตอาสาให้สงู ขึน้ จากเดิมในการเป็นจิตอาสามืออาชีพเพือ่ ร่วมสร้างต�ำบล วัฒนธรรมจิตอาสาให้เป็นต�ำบลน่าอยู่อย่างยั่งยืนต่อไป กลยุทธ์การสร้างวัฒนธรรมจิตอาสาแบบดาวกระจาย หมายถึงการสร้างผลิตคนจิตอาสา แบบมืออาชีพร่วมกับการวางรากฐานการสร้างวัฒนธรรมจิตอาสาในต�ำบลให้เกิดการปกคลุมแผ่ขยาย ทุกพื้นที่ของต�ำบลรวมทัง้ ให้เกิดการกระจายตัวอยู่ทกุ กลุ่มวัยในต�ำบล ประกอบกับการสร้างการขยาย
270
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
เข้าสู่ระดับต่างๆ เช่น ในระดับบุคคล ระดับองค์กร ระดับชุมชน ซึ่งเป็นกลยุทธ์แบบ BIRD EYES VIEW ทีต่ อ้ งสร้างความครอบคลุมผ่านการลงมือสร้างพร้อมกันทัง้ หมดทุกกลุม่ ในต�ำบล จึงเป็นตัวจุดประกาย ในการน�ำใช้กลยุทธ์ข้างต้นผ่านการวางแผนร่วมกันในเวทีข่วงก�ำกึ๊ดของผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อวางแผน กลยุทธ์ที่มีพื้นฐานการน�ำใช้ทุนทางสังคมของต�ำบลเป็นพื้นฐานการแพร่ขยาย รวมทั้งการสร้างระบบ พีเ่ ลีย้ งจากภาคีเครือข่ายเพือ่ สนับสนุนองค์ความรูว้ ชิ าการและหนุนเสริมเครือ่ งมือการท�ำงานอย่างเป็น รูปธรรม การใช้เทคนิคการยกย่องคนต้นแบบเพือ่ น�ำสู่การมีคนต้นแบบ คนดีศรีดอนแก้ว เพื่อเป็นแบบ อย่างการน�ำความดีในตัวบุคคลแสดงเชิงรูปธรรมที่สามารถจับต้องได้อย่างชัดเจนและสง่างาม เพื่อ สร้างแรงผลัก แรงจูงใจ ให้ประชาชนทุกกลุม่ วัยเพือ่ ให้ความส�ำคัญและร่วมสร้างวิถวี ฒ ั นธรรมจิตอาสา ให้ยังคงอยู่กบั ความเป็นบริบท ความเป็นตัวตนของคนดอนแก้วต่อไป
๒. งานและกิจกรรมเด่นของเยาวชนจิตอาสา การสร้างส�ำนึกจิตอาสาในระดับ เด็กปฐมวัย
ภาพที่ ๔๔ กรอบแนวคิดการดูแลเด็กปฐมวัย
กรอบแนวคิดการดูแลเด็กปฐมวัย เป็นการส่งเสริมและพัฒนาการเด็กให้มีความพร้อมใน ๔ ด้านหรือการพัฒนาตามแนวทางเด็กดี ๔ พัฒน์ ได้แก่ ด้านกาย ใจ สังคม และสติปัญญา ทั้งนี้การ จะพัฒนาเด็กให้มีความสมบูรณ์ทั้ง ๔ ด้านต้องอาศัยองค์ประกอบทั้งภายในตัวเด็กและสิ่งแวดล้อม
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
271
ภายนอก ทัง้ ในระบบการศึกษาและวิถชี มุ ชน การศึกษาปฐมวัยต�ำบลดอนแก้ว จึงได้มกี ารปรับเปลีย่ น กระบวนการเรียนการสอน การบริหารจัดการ โดยยึดหลักการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาล ต�ำบลดอนแก้ว ซึ่งประกอบด้วย ๗ องค์ประกอบหลัก ได้แก่ หลักนิติธรรม คุณธรรม โปร่งใส ส่วนร่วม คุ้มค่า รับผิดชอบ และความคิดสร้างสรรค์ และหลักการบริหารจัดการแนวใหม่ผนวกเข้าด้วยกัน น�ำหลักธรรมาภิบาลเป็นพืน้ ฐานของการจัดระบบงานภายใต้ ๗ หลักรวมถึงพัฒนาตัวเด็กให้มคี ณ ุ สมบัติ ตามหลักธรรมาภิบาล บวกกับการบริหารจัดการแนวใหม่ทเี่ น้นการจัดการทีเ่ น้นผลผลิตและผลลัพธ์ใน การด�ำเนินงานเป็นหลักมากกว่าขั้นตอนและกฎระเบียบ หรือตามสายบังคับบัญชา โดยมีขั้นตอนการ บริหาร เน้นความเป็นมืออาชีพ มีการก�ำหนดมาตรฐานและตัวชี้วัด การมุ่งผลลัพธ์ของการด�ำเนินงาน โดยยึดหลักบูรณาการ คุ้มค่า มีการแข่งขันเพื่อพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง และมีการกระจายงานตาม ความถนัด โดยการจัดกระบวนการเรียนการสอนที่สอดแทรกวิชาในการด�ำเนินชีวิตให้กับเด็ก สร้าง ระเบียบวินยั บรรทัดฐาน ค่านิยมทีด่ ใี นการด�ำรงชีวติ ในสังคม โดยการน�ำทุนทางสังคมในต�ำบลเข้ามา ปรับใช้ในกระบวนการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรม เช่น การสอนธรรมะโดยพระสงฆ์ในพื้นที่ การสอนเย็บใบตอง ร้อยมาลัย การจักสานโดยกลุ่มผู้สูงอายุและกลุ่มอาชีพในต�ำบล การคัดแยกขยะ ในบ้านและในโรงเรียน ตลอดจนสร้างจิตอาสาในกลุม่ เด็กเพือ่ ให้มจี ติ สาธารณะให้มคี วามเป็นพลเมือง ให้มีความพร้อมทั้ง ๔ ด้าน ทั้งกาย ใจ สังคม และสติปัญญา
ภาพที่ ๔๕ กรอบแนวคิดศูนย์วยั ใส ๕Q
272
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
“ศูนย์วัยใสหัวใจ ๕Q” เป็นการน�ำความรู้ความสามารถของคนแต่ละกลุ่มวัยมาร่วม แลกเปลี่ยน โดยมีพื้นที่และเวลาเป็นตัวเชื่อมสัมพันธ์เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนให้เป็นรูปธรรม เป็นการ บูรณาการด้านสุขภาพทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ สังคมและปัญญา ตามองค์ประกอบด้านสติ ปัญญา ด้านความฉลาดทางอารมณ์ ด้านการแก้ไขปัญหา ด้านการริเริ่มสร้างสรรค์ ด้านศีลธรรม จริยธรรม ซึ่งมีเนื้อหาที่เกี่ยวกับการเสริมทักษะวิชาการ ทั้งการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ และ ทางด้านอารมณ์ เช่น การเรียนดนตรีพื้นเมือง ดนตรีสากล การฝึกอาชีพ การใช้เทคโนโลยีอย่าง สร้างสรรค์และการสร้างเครือข่ายท�ำกิจกรรมสร้างสรรค์สังคม การออกก�ำลังกาย การเล่นกีฬา ด้าน ทักษะชีวติ ทักษะการปฏิเสธยาเสพติด การท้องไม่พร้อม ด้านศีลธรรมจริยธรรม เช่นการเรียนในโรงเรียน พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ธรรมภิบาลส�ำหรับเด็ก และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เช่น ข่วงละอ่อน ดอนแก้ว ศูนย์วัยใสหัวใจ ๕Q คือพื้นที่สรรค์สร้างการเรียนรู้ทุกกลุ่มวัยเป็นการพัฒนาคนตามหลัก ๕Q นัน้ การพัฒนาสุขภาพเด็กและเยาวชนองค์รวม ผ่านกลไกกิจกรรมของกลุม่ ทุนทางสังคมในพืน้ ทีต่ ำ� บล ดอนแก้ว ชมรมทูบีนัมเบอร์วัน สภาเด็กและเยาวชน และการเสริมทักษะวิชาการตามหลักการ ๕Q ได้แก่ ๑. องค์ประกอบด้านสติปัญญา (Intelligence Quotient): IQ ๒. องค์ประกอบด้านความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional): EQ ๓. องค์ประกอบด้านความฉลาดทางจริยธรรม (Moral Quotient): MQ ๔. องค์ประกอบด้านความสามารถในการฟันฝ่าปัญหาและอุปสรรค(Adversity Quotient): AQ ๕. องค์ประกอบด้านความคิดสร้างสรรค์ (Creativity Quotient): CQ โดยกิจกรรมตามองค์ประกอบ ๕Q ประกอบด้วย ๑. กิจกรรม IQ ความฉลาดเพิ่มได้ หลักการ ๑. เพือ่ ให้เด็กมีทกั ษะในด้านวิชาการ นอกเหนือจากสิง่ ทีไ่ ด้เรียนมาจากโรงเรียน เช่น วิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาจีน ภาษาไทย ฯลฯ ๒. เพื่อให้เด็กมีทักษะในการใช้สื่อทางคอมพิวเตอร์อย่างถูกต้อง
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
273
๒. กิจกรรม การพัฒนา EQ โรงเรียนชีวิตพันธมิตรวัยรุ่น ๑ หลักการ ๑. กระตุ้นให้เด็กและเยาวชนได้พัฒนาทางด้าน EQ ๒. เด็กมีส่วนร่วมในการเป็นจิตอาสา ช่วยกิจการสาธารณประโยชน์ของชุมชน ๓. การเชื่อมทุนทางสังคมที่เกี่ยวข้อง ๓. กิจกรรมการพัฒนา AQ (ทักษะการแก้ไขปัญหาชีวิตวัยรุ่น) หลักการ ๑. เพื่อให้เด็กวัยรุ่นมีทักษะในการใช้ชีวิตในวัยรุ่นในทางที่ถูกที่ควร ๒. เพื่อให้เด็กวัยรุ่นมีทักษะการปฏิเสธ ไม่ถูกหลอกลวงไปสู่ทางที่ผิด เช่น ยาเสพติด ท้องไม่พร้อม เพศสัมพันธ์ท่ถี ูกต้องเหมาะสม ๔. กิจกรรม MQ กิจกรรมวิถีคนเมือง หลักการ ๑. ปลูกจิตส�ำนึกและสร้างเสริมคุณธรรมจริยธรรมและมีคณ ุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ มีนำ�้ ใจ พร้อมที่จะท�ำกิจกรรมเพื่อนส่วนรวม ๒. เด็กและเยาวชนมีสว่ นร่วม บ�ำรุงรักษา ส่งเสริมและอนุรกั ษ์ สถาบันศาสนา ศิลปะ จารีต ประเพณี ภูมปิ ัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น ๕. กิจกรรม CQ กล้าแสดงออก บอกความคิด หลักการ ๑. เพื่อสร้างเวทีให้เด็กๆ ได้แสดงความคิดเห็น ๒. เพื่อสร้างแกนน�ำเด็กๆ ในการท�ำกิจกรรมจิตอาสาเพื่อชุมชน (ผู้น�ำต้นแบบ) ๓. เพื่อปลูกจิตส�ำนึกในการรักบ้านเกิด ๔. เกิดนวัตกรรมจากเด็กและเยาวชน การด�ำเนินงานส่งเสริมสุขภาพเด็กตามหลัก ๕Q เป็นการด�ำเนินงานร่วมระหว่างภาคีเครือข่าย ภาควิชาการและบูรณาการทุนทางสังคมในพืน้ ที่ เน้น ๓ องค์กรหลักให้มบี ทบาทในการด�ำเนินงาน คือ คนในชุมชนโดยเด็กและเยาวชนทีเ่ ป็นหัวใจหลัก องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนแก้ว โรงพยาบาลชุมชน ต�ำบลดอนแก้ว เพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเด็กติดเกม การใช้เวลาว่างของเด็กไม่เกิด ประโยชน์แก่ตนเองและสังคม ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีสขุ ภาพแบบองค์รวมคือสมบูรณ์ทงั้ กาย จิต สังคม ปัญญา และเติบโตเป็นผู้ใหญ่อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นที่ต้องการของสังคม
274
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๓. หลักการ ๑) ศูนย์วัยใสหัวใจ ๕Q เป็นพื้นที่ท่ีมีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเด็กทั้งด้านทักษะวิชาการและ ทักษะการใช้ชวี ิต ตามหลักการ ๕Q คือ ด้านสติปัญญา ด้านอารมณ์ ด้านแก้ไขปัญหา ด้านการริเริ่ม สร้างสรรค์ ด้านศีลธรรมจริยธรรม ๒) ศูนย์วัยใสหัวใจ ๕Q เป็นการเรียนรู้ส�ำหรับเด็กและเยาวชนและประชาชนทุกเพศทุกวัย ภายใต้ความร่วมมือขององค์กรหลัก ๓ องค์กร ได้แก่ ประชาชน โรงพยาบาลชุมชนต�ำบลดอนแก้ว และองค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนแก้ว ๓) ศูนย์วัยใสหัวใจ ๕Q เป็นการเรียนรู้การดูแลสุขภาพเด็กและเยาวชนโดยน�ำหลักวิชาการ และทุนทางสังคมในพืน้ ทีม่ าบูรณาการร่วมกันเพือ่ เสริมสร้างเด็กและเยาวชนให้เป็นเด็กทีม่ คี ณ ุ ภาพ เก่ง ดี และมีสุข
๔. วัตถุประสงค์ ๑) เกิดพื้นที่สร้างสรรค์ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ สร้างความเป็นพลเมืองอาสา ส่งเสริมการออก ก�ำลังกาย พัฒนาการทางด้านร่างกายอารมณ์ สังคม ปัญญาสร้างสุข ปรับทุกข์ เพิ่มสุข พัฒนา ๕Q ในกลุ่มเด็กและเยาวชนอย่างสร้างสรรค์ เพื่อเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่าของชุมชน ๒) เกิดศูนย์วยั ใสหัวใจ ๕Q ต�ำบลดอนแก้วเป็นแหล่งรวมกลุ่มเด็กและเยาวชนท�ำดีในต�ำบล ดอนแก้วเพือ่ สร้างกลุม่ เด็กและเยาวชนคนท�ำดีในต�ำบลเพือ่ เป็นแบบอย่างทีด่ ใี ห้กบั กลุม่ เด็กและเยาวชน ทั้งในระดับต�ำบลและเครือข่ายภายนอกได้ ๓) สร้างการมีส่วนร่วมในการดูแลกลุ่มเด็กและเยาวชนในต�ำบลร่วมกันระหว่างภาคีเครือข่าย ต่างๆ ทั้งในระดับต�ำบลและภาคีเครือข่ายภายนอก ๔) เกิดต้นแบบนวัตกรรมการดูแลเด็กและเยาวชนโดยชุมชนเพือ่ เป็นแบบอย่างทีด่ ตี อ่ ผูท้ ส่ี นใจ อย่างเป็นรูปธรรมในต�ำบลดอนแก้ว
๕. วิธีการท�ำงาน ๑) การค้นหาเยาวชนที่มีจิตอาสาผ่านเวทีข่วงละอ่อนดอนแก้ว การเปิดประชุมสภาเด็กและ เยาวชนเพื่อแสดงความคิด ความต้องการของเด็กและผู้ที่ให้ความสนใจ รักความเป็นจิตอาสา ซึ่งได้ รับความร่วมมือจากผู้ใหญ่ใจดี แกนน�ำหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่ ข้าราชการท้องถิ่น เด็กและเยาวชนที่สนใจ ร่วมกันวางแนวทางร่วมกันขับเคลื่อนเยาวชนจิตอาสาต�ำบลดอนแก้ว
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
275
๒) การท�ำเวทีส�ำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับเยาวชนอาสา ให้เยาวชนได้การแสดงความ คิดเห็นร่วมในเวทีข่วงละอ่อนดอนแก้ว ๓) จัดท�ำฐานข้อมูลเด็กและเยาวชน เพื่อน�ำไปประกอบวางแผนการสอนต่อไป ๔) เตรียมทีมท�ำงานด้านต่างๆ การเรียนการสอน การเสริมสร้างทักษะวิชาการ การกีฬา การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า การเป็นจิตอาสา ๕) จัดหาพื้นที่เพื่อใช้เป็นศูนย์กลางในการติดต่อสื่อสาร ๖) การประชาสัมพันธ์โครงการ ทั้งการประชาสัมพันธ์ทางปากต่อปาก เสียงตามสาย การประชาสัมพันธ์โดยผ่านครูในโรงเรียนเพื่อแจ้งผู้ปกครอง และผู้น�ำชุมชน ๗) ออกแบบกิจกรรมจิตอาสาที่สอดคล้องกับความต้องการและบริบทของชุมชน ๘) จัดสถานที่และสิ่งอ�ำนวยความสะดวกเพื่อให้เยาวชนที่พกิ ารแต่มีความเป็นจิตอาสา สามารถเรียนร่วมกันได้ ๙) การประเมินผลจากการท�ำกิจกรรมในชุมชน
276
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
277
๑. การรวมกลุ่มชมรมทูบีนัมเบอร์วนั ๒. การด�ำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชน ๓. การสอนดนตรีพื้นบ้าน ๔. การฝึกสอนดนตรีสากล ๕. ทักษะการร้องเพลง ๖. การฝึกอาชีพส�ำหรับเยาวชน ๗. การร่วมเป็นจิตอาสาในชุมชน ได้แก่ - อย.น้อย เพื่อเฝ้าระวังการบริโภคปลอดภัย - อพปร.น้อยเฝ้าระวังภัยในครัวเรือน - อสม.น้อยดูแลสุขภาพประชาชน
๑. กระตุ้นให้เด็กและเยาวชนได้พฒ ั นา ทางด้าน EQ ๒. เด็กมีส่วนร่วมในการเป็นจิตอาสา ช่วยกิจการสาธารณประโยชน์ของ ชุมชน ๓. การเชื่อมทุนทางสังคมที่เกี่ยวข้อง
การพัฒนา อารมณ์ Emotional Quotient (EQ)
รูปธรรม ๑. การเสริมทักษะด้านวิชาการนอกห้องเรียน เช่น วิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาจีน ภาษาไทย ฯลฯ ๒. การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ๓. โครงการมัคคุเทศก์น้อยพาเที่ยว ๔. การแข่งขันกีฬาต้านยาเสพติด ๕. จิตอาสาน้อยงานด้านแพทย์แผนไทย
หลักการ
การพัฒนา ๑. เพื่อให้เด็กมีทักษะในด้านวิชาการ สติปัญญา นอกเหนือจากสิ่งที่ได้เรียนมาจาก Intelligence โรงเรียน Quotient (IQ) ๒. เพื่อให้เด็กมีทักษะในการใช้ส่อื ทาง คอมพิวเตอร์อย่างถูกต้อง
หัวข้อ
ตารางที่ ๓ การน�ำใช้ทุนทางสังคมและรูปธรรม
๖. การน�ำใช้ทุนทางสังคมและรูปธรรม
๑. ไม้ไผ่ขด ๒. ชมรมทูบนี ัมเบอร์วัน ๓. ดนตรีพื้นบ้าน ๔. วงดนตรีดอนแก้วสัมพันธ์ ๕. อย.น้อย ๖. วิทยาลัยจิตอาสา
๑. อสมช.สาขาแพทย์แผนไทย ๒. แหล่งท่องเที่ยวต�ำบล ๓. ศูนย์กีฬาประจ�ำต�ำบล
ทุนทางสังคม
278
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๑. เพื่อสร้างเวทีให้เด็กๆ ได้แสดงความ คิดเห็น ๒. เพื่อสร้างแกนน�ำเด็กๆ ในการท�ำ กิจกรรมจิตอาสาเพื่อชุมชน (ผู้น�ำ ต้นแบบ) ๓. เพื่อปลูกจิตส�ำนึกในการรับบ้านเกิด ๔. เกิดนวัตกรรมจากเด็กๆ
ความคิด สร้างสรรค์ Creativity Quotient (CQ)
๑. การจัดพื้นที่สร้างสรรค์ในชุมชน แบ่งเป็น ๑. พื้นที่สร้างสรรค์ในต�ำบล - พื้นที่เสริมสร้างสุขภาพ เช่น ชมรมกีฬา ฟุตบอล เปตอง ร�ำวง ๒. ข่วงก�ำกึ๊ดละอ่อน - พื้นที่เรียนรู้ เช่น การจัดการขยะโรงเรียนพระพุทธศาสนา วันอาทิตย์ - พื้นที่ภูมปิ ัญญา เช่น ดนตรีพื้นบ้าน ผะหญ๋าล้านนา ไม้ไผ่ขด
๑. ปลูกจิตส�ำนึกและสร้างเสริมคุณธรรม ๑. เข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในโรงเรียนพระพุทธศาสนาวัน ๑. โรงเรียนพระพุทธศาสนาวัน จริยธรรมและมีคุณลักษณะที่พึง อาทิตย์ท่มี ีการสอนวิชาการด�ำรงชีวิตในสังคม อาทิตย์ ประสงค์ มีน้�ำใจ พร้อมที่จะท�ำ ๒. การเข้าร่วมกิจกรรมการปฏิบัติตนตามธรรมเนียมล้านนา ๒. ผะหญ๋าล้านนา กิจกรรมเพื่อนส่วนรวม ๓. การเข้าร่วมการอบรมจริยธรรมและคุณธรรม ๓. วัดในพื้นที่ ๒. เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วม บ�ำรุง รักษาส่งเสริมและอนุรักษ์สถาบัน ศาสนา ศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นวัฒนธรรมอันดีของ ท้องถิ่น
๑. ชมรมทูบนี ัมเบอร์วัน - กิจกรรมนวดแผนไทย - กิจกรรมท�ำความสะอาดที่ สาธารณะ ๒. สภาเด็กและเยาวชนต�ำบลดอน แก้ว ๓. โรงเรียนธรรมภิบาล
ทุนทางสังคม
จริยธรรม คุณธรรม Moral Quotient (MQ)
การฝึกทักษะชีวิตในเรื่องต่างๆ ได้แก่ ทักษะการปฏิเสธ กิจกรรมครอบครัวของฉัน การสร้างการป้องกันการท้องไม่พร้อมในวัยรุ่น จิตอาสาท�ำความสะอาดพื้นที่สาธารณะ การเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆของชุมชน ได้แก่ การรวม กลุ่มทูบีนัมเบอร์วนั สภาเด็กและเยาวชนต�ำบลดอนแก้ว - การเข้าร่วมโครงการโรงเรียนธรรมาภิบาล
- - - - -
รูปธรรม
๑. เพื่อให้เด็กวัยรุ่นมีทักษะในการใช้ชวี ิต ในวัยรุ่นในทางที่ถูกที่ควร ๒. เพื่อให้เด็กวัยรุ่นมีทักษะการปฏิเสธ ไม่ถูกหลอกลวงไปในทางที่ผิดการมี เพศ สัมพันธ์ท่ถี ูกต้องปลอดภัย
หลักการ
การแก้ ปัญหา Adversity Quotient (AQ)
หัวข้อ
แนวทางการพัฒนาเยาวชนจิตอาสาต�ำบลดอนแก้ว
ภาพที่ ๔๖ กรอบแนวคิดแนวทางการส่งเสริมพัฒนาทักษะชีวิตให้กับเด็กและเยาวชน
แนวทางการส่งเสริมพัฒนาทักษะชีวิตให้กับเด็กและเยาวชน มุ่งเน้นการด�ำเนินงานร่วมกัน ระหว่างผูเ้ ลีย้ งดูหรือผูป้ กครอง สถานศึกษาและชุมชน ซึง่ การพัฒนาสุขภาพเด็กและเยาวชนต้องค�ำนึง ถึงการเลี้ยงดูของเด็กแต่ละบุคคล ความรู้ความเข้าใจ เจตคติส่วนตัวของเยาวชนและการเสริมสร้าง ทักษะชีวิต ซึ่งเสริมสร้างทักษะชีวิตเน้นการส่งเสริมให้ชุมชนได้มีบทบาทในการพัฒนาทักษะชีวิตของ เด็กและเยาวชน แบ่งประเภทของการพัฒนาทักษะชีวิต เป็น ๔ ด้าน สิทธิเด็ก เป็นเรื่องของการคุ้มครองสิทธิของเด็กและเยาวชนที่ควรได้รับทั้งเรื่องการต้องได้รับ การมีชีวิตอยู่ในสังคมอย่างปกติสุข โดยมีหลักสูตรการป้องกันตนเองจากภัยต่างๆ รอบตัว ได้แก่ หลักสูตรการฝึกทักษะการเอาชีวติ รอดในน�ำ้ การช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยทางน�ำ้ ทีถ่ กู ต้อง รวมทัง้ กิจกรรม อพปร.น้อย ซึง่ เป็นการฝึกเด็กให้รจู้ กั ป้องกันตัวเองจากภัยใกล้ตวั เช่น ภัยจากอุบตั เิ หตุ จากแก๊สหุงต้ม เป็นต้น ได้รับการส่งเสริมและพัฒนารอบด้าน การได้รับการพัฒนารอบด้านแบบองค์รวมทั้งกาย ใจ สังคม และปัญญาผ่านกิจกรรมต่างๆ ของชมรมทูบีนัมเบอร์วันต�ำบลดอนแก้ว ได้รับการคุ้มครองตาม กฎหมาย และตามสิทธิมนุษยชน มีหน่วยงานที่ท�ำหน้าที่โดยตรงในพื้นที่ ได้แก่ ศูนย์ช่วยเหลือ ทางสังคม ท�ำหน้าที่คุ้มครองสิทธิเด็กและสตรีในพื้นที่และมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาตนเอง ครอบครัว และชุมชน ได้เข้ามามีบทบาทในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาชุมชน เช่น กลุ่ม อย.น้อย
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
279
ทักษะชีวติ ที่ประกอบด้วย ๑. ทักษะทางด้านการคิด ที่ประกอบด้วย การตัดสินใจ การแก้ไขปัญหา การคิดสร้างสรรค์ ๒. ทักษะด้านการสื่อสารและสัมพันธภาพ ได้แก่ การสื่อสาร การปฏิเสธ ๓. ทักษะทางอารมณ์ ได้แก่ การตระหนักรู้ตนเอง การจัดการอารมณ์ และการเรียนรู้บทบาท ทางเพศทีเ่ หมาะสม ผ่านรูปแบบกิจกรรมต่างๆ ทีอ่ งค์กร ๓ องค์กรหลัก (ประชาชน โรงพยาบาลชุมชน ต�ำบลดอนแก้ว และองค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนแก้ว) ร่วมด�ำเนินงานร่วมกันในการสร้างสรรค์ แนวทางการส่งเสริมเด็กและเยาวชนในต�ำบลดอนแก้วร่วมกันต่อไป
๗. ผลลัพธ์การสร้างเยาวชนจิตอาสา
ภาพที่ ๔๗ ผลลัพธ์ ผลผลิต การดูแลสุขภาพเด็กและเยาวชน
ผลการด�ำเนินงาน การด�ำเนินงานเยาวชนจิตอาสาต�ำบลดอนแก้วภายใต้ทุนทางสังคมที่มีอยู่ ท�ำให้กลุ่มทุนทางสังคมได้รับการพัฒนาทั้งการพัฒนาศักยภาพ การมีกลุ่มเยาวชนเข้ามาร่วม ด�ำเนินการ และการได้ดำ� เนินงานร่วมกับภาคีต่างๆ ในพืน้ ที่ ตลอดจนได้มกี ารเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของกลุ่มในการตัดสินใจที่มีคุณภาพมากขึ้น การด�ำเนินงานภายใต้การมีส่วนร่วมสามารถขยายผล การด�ำเนินงานต่อไปยังรุ่นลูกหลาน สร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มทุนทางสังคม กลุ่มเด็กและเยาวชน ได้รบั การพัฒนาตามหลัก ๕Q ท�ำให้เกิดการพัฒนาหลากหลายด้านทัง้ ด้านสติปัญญา อารมณ์ ทักษะ
280
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
การแก้ไขปัญหาคุณธรรมจริยธรรม และความคิดสร้างสรรค์ให้มีความพร้อมที่จะเติบโตได้อย่างมี คุณภาพด�ำรงตนในสังคมได้อย่างเป็นสุข การพัฒนาเด็กและเยาวชนส่งผลกระทบโดยตรงต่อเด็ก เยาวชน เด็กอายุ ๖-๑๒ ปี และส่งผลต่อกลุม่ ประชากรกลุม่ อืน่ ๆ ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากการด�ำเนินงาน ส่งเสริมและพัฒนาเด็ก เช่น กลุ่มผู้สูงอายุได้รับการบริการแพทย์แผนไทยจากกลุ่มเด็กเยาวชน กลุ่ม ผู้ป่วยได้รบั การดูแล กลุ่มวัยท�ำงานได้เครือข่ายจิตอาสาเพิ่มมากขึ้น เป็นต้น
๘. การต่อยอดและขยายผล ๑. การจัดศูนย์รวมการพัฒนาเด็กและเยาวชนที่มีการบริการวิชาการ การส่งเสริมและ พัฒนาการคุ้มครองเด็กระดับต�ำบลในลักษณะ one stop service และสร้างเครือข่ายการด�ำเนินงาน ระดับหมู่บ้าน ๒. การสร้างเครือข่ายการดูแลสุขภาพเด็กและเยาวชนนอกต�ำบลเพื่อเพิ่มพื้นที่ในการแลก เปลี่ยนเรียนรู้ ๓. การเสริมสร้างหลักธรรมาภิบาลในการด�ำเนินงานทุกกิจกรรมของเด็กและเยาวชน เพือ่ เป็น ฐานในการพัฒนาชุมชนในรุ่นต่อไป
พื้นที่สร้างสรรค์ เยาวชนจิตอาสา ต�ำบลดอนแก้ว
ธรรมาภิบาล ดอนแก้ว
ศูนย์กลางเยาวชน จิตอาสา เครือข่าย
การพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนบนการสร้างส�ำนึกจิตอาสาต�ำบลดอนแก้ว ส่งผลให้เด็ก ที่ผ่านการพัฒนาในเยาวชน ๕Q เข้าสู่ระบบการเรียนการสอนในวิทยาลัยจิตอาสา ที่ส่งเสริมการสร้าง จิตอาสากระจายในทุกกลุ่มวัย บนเป้าหมายการสร้างจิตอาสาแบบมืออาชีพ โดยพบสถิตผิ ู้ส�ำเร็จการ ศึกษาในกลุ่มเด็กและเยาวชน จ�ำนวน ๓๓ คน ในปีการศึกษาที่ ๑ ของวิทยาลัยจิตอาสา จนน�ำสู่การ เป็นแกนน�ำการท�ำงานในกลุ่มเด็กและเยาชนจิตอาสาในต�ำบลดอนแก้วร่วมกันต่อไป
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
281
ภาพที่ ๕๘ สถิติการส�ำเร็จการศึกษาวิทยาลัยจิตอาสา ต�ำบลดอนแก้ว
อีกทัง้ ยังสามารถรวบรวมฐานข้อมูล คลังข้อมูลจิตอาสาต�ำบลดอนแก้วรวมทัง้ การกระจายตัว ในกลุ่มวัยต่างๆ ของต�ำบล ที่พบว่าได้กระจายตัวอยู่ในทุกกลุ่มวัย ใน ๔ กลุ่ม ที่พบมากที่สุดในกลุ่ม พลเมืองผูใ้ หญ่ (วัยกลางคน) จ�ำนวน ๑,๔๗๙ คน รองลงมาคือพลเมืองในกลุม่ เยาวชนจ�ำนวน ๖๑๒ คน และพลเมืองจิ๋วจ�ำนวน ๓๑๒ คน โดยวางเป้าหมายการพัฒนาแบบมุ่งเน้นการขยายกลุ่มเพิ่มมากขึ้น ในกลุ่มจิตอาสาหน้าใหม่ในปีต่อไปอย่างต่อเนื่อง
ภาพที่ ๔๙ จ�ำนวนอาสาดอนแก้วสร้างสุข 282
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๙. ปัจจัยเงื่อนไขความส�ำเร็จ ๑. การมีหลักการในการท�ำงานทีช่ ดั เจนทีม่ งุ่ เน้นการท�ำงาน ตามแนวทาง ๖ ชุดกิจกรรม ที่เป็นกรอบในการท�ำงานส่งผลให้เกิดการท�ำงานตามแนวทางที่ชัดเจนใน ๖ ชุดกิจกรรมดังนี้ ชุดที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพ ๑) การให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องสิทธิเด็ก และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ๒) การฝึกทักษะการคิด ทักษะการสือ่ สาร ทักษะทางด้านอารมณ์ ผ่านกิจกรรมของชมรม ทูบีนัมเบอร์วนั มีกิจกรรมการอบรมทักษะชีวติ ทักษะการมีชีวิตรอดในน�ำ้ การปฏิเสธยาเสพติด เพศ ภาวะ การแก้ไขปัญหา เรียนรูต้ วั เอง การจัดการอารมณ์ตวั เอง โดยมีกลุม่ ทางสังคมเข้าร่วมด�ำเนินงาน ได้แก่ กลุ่ม อพปร. ฝึกทักษะการเอาชีวิตรอดในน�้ำและความปลอดภัยในบ้าน กลุ่ม อสมช.สาขา คุ้มครองผู้บริโภค เข้ามามีบทบาทในการเลือกบริโภคที่ถูกต้อง โรงเรียนพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เข้ามาร่วมในการฝึกทักษะการจัดการด้านอารมณ์ และการน�ำเด็กเข้าสู่การเป็นจิตอาสา โดยกลุ่ม อาสาสมัครในพื้นที่ ชุดที่ ๒ การพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ ๑) การจัดตัง้ ศูนย์ช่วยเหลือทางสังคม เพือ่ เป็นช่องทางรับแจ้งข้อมูลข่าวสารและการแก้ไข ปัญหาส�ำหรับเด็ก ๒) การจัดพื้นที่สร้างสรรค์ส�ำหรับเด็กและเยาวชนในรูปแบบต่างๆ เช่น ดนตรีพื้นบ้าน วงดนตรีดอนแก้วสัมพันธ์ ศูนย์กฬี าต�ำบลดอนแก้ว ฟ้อนเชิง ร�ำวงย้อนยุค เป็นต้น ๓) การสร้างการแลกเปลีย่ นเรียนรูใ้ นกลุม่ เยาวชนในต�ำบลและภายนอกต�ำบลผ่านกิจกรรม ต่างๆ เช่น กลุ่มทีบีนัมเบอร์วนั กลุ่มเยาวชนรักษ์สิ่งแวดล้อม มัคคุเทศก์น้อย กลุ่ม อย.น้อย เป็นต้น ๔) การสร้างพืน้ ทีใ่ นการเรียนรูว้ ชิ าชีวติ ในรูปแบบต่าง ๆ ทีม่ คี วามหลากหลาย เช่น การศึกษา สมุนไพร จากกลุ่ม อสมช.สาขาแพทย์แผนไทย การเรียนรู้ภูมิปัญญาล้านนา จากแหล่งเรียนรู้ผญา ล้านนา การเรียนรู้การฝึกอาชีพโดยแหล่งเรียนรู้ไม้ไผ่ขด การคัดแยกขยะโดยธนาคารวัสดุรีไซเคิล ชุดที่ ๓ การพัฒนาระบบบริการ ๑) การส่งเสริมสุขภาพและบริการสุขภาพของเด็กและเยาวชนได้รบั การคัดกรองภาวะเสีย่ ง และได้รับการส่งเสริมสุขภาพที่เหมาะสมกับวัย ๒) การเสริมองค์ความรู้เรื่องทักษะชีวิต และการดูแลสุขภาพตามวัย ๓) การด�ำเนินงานป้องกันปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ การควบคุมยาสูบ การสูบบุหรี่ การป้องกัน เพศสัมพันธ์ ผ่านกิจกรรมเครือข่ายการป้องกันยาสูบต�ำบลดอนแก้ว เน้นการป้องกันไม่ให้จ�ำนวน นักสูบหน้าใหม่เพิม่ มากขึน้ โดยด�ำเนินงานในชมรมทูบนี มั เบอร์วนั ในโรงเรียน และในค่ายทหารต�ำบล ดอนแก้ว ๔) การสร้างความรู้ความเข้าใจ เรื่อง การท้องไม่พร้อมในวัยรุ่น รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
283
ชุดที่ ๔ การพัฒนาระบบข้อมูล ๑) การจัดท�ำฐานข้อมูลเด็ก ๒) การจัดท�ำฐานข้อมูลปัญหา และข้อร้องเรียนและการกระท�ำละเมิดต่อเด็กและเยาวชน ๓) การรวบรวมข้อมูลแกนน�ำเด็กและเยาวชน ชุดที่ ๕ การจัดตั้งกองทุนและการจัดสวัสดิการให้ช่วยเหลือกัน ๑)การรวมกลุ่มชมรมทูบีนัมเบอร์วันและการจัดท�ำกองทุนกองบุญส�ำหรับเด็ก ๒) สวัสดิการส�ำหรับเด็ก โดยกองทุนสวัสดิการต�ำบลดอนแก้ว ชุดที่ ๖ การสร้างกติกา ระเบียบ และแนวทางปฏิบัติร่วมกัน มีการสร้างกติกา ระเบียบ และแนวทางปฏิบัตริ ่วมกันในการจัดท�ำข่วงละอ่อนต�ำบลดอน แก้วเป็นประจ�ำทุกปีเพื่อรับฟังความคิดเห็น ปัญหา ความต้องการ เพื่อน�ำไปเป็นแนวทางการส่งเสริม พัฒนา และแก้ไขปัญหาเด็กและเยาวชนต�ำบลดอนแก้ว ๒. การสร้างแนวทางการสร้างเสริมสุขภาพ ตามแนวทางสุขภาวะ ๔ มิติ ให้เป็นรูปธรรม กิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพเด็กตามหลัก ๕Q ภายใต้ทนุ ทางสังคมในพืน้ ทีต่ ำ� บลดอนแก้ว ซึง่ ประกอบด้วยการพัฒนา ๕ องค์ประกอบ ๓. ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แกนน�ำภาคท้องที่ แกนน�ำชุมชน ปราชญ์ ชุมชน ให้ความส�ำคัญกับการสร้างวัฒนธรรมจิตอาสาในรากเหง้าตัง้ แต่กลุม่ ปฐมวัยทีเ่ ป็นพืน้ ฐานของ พลังในต�ำบลท�ำให้เกิดพลังการมีสว่ นร่วมในภาคผูน้ ำ� แกนน�ำ ชุมชน ก่อให้เกิดการขับเคลือ่ นการสร้าง นวัตกรรมและการเข้าร่วมเป็นที่ปรึกษาและคณะกรรมการในการท�ำงานจิตอาสาอย่างต่อเนื่อง ๔. นโยบายและวิสัยทัศน์การพัฒนาต�ำบลของคณะผู้บริหารต�ำบลดอนแก้วที่เป็นแรง ผลักดันและแรงสนับสนุนการท�ำงานด้านการสร้างวัฒนธรรมจิตอาสาในต�ำบล โดยมุ่งเน้นการพัฒนา คุณภาพชีวติ ของประชาชนใน ๑๓ กลุม่ ประชากร บนแนวทางสุขภาวะ ๔ มิติ ทีม่ งุ่ น�ำใช้ทรัพยากรและ ทุนทางสังคมในต�ำบลเป็นตัวขับเคลื่อนการท�ำงานด้านจิตอาสาท�ำให้เกิดความต่อเนื่องในการท�ำงาน ๕. บุคลากรเจ้าหน้าที่ให้ความร่วมมือ ร่วมแรงกายและใจตลอดจนให้ความส�ำคัญกับการ ท�ำงานเพือ่ ร่วมขับเคลือ่ นการท�ำงานของเยาวชนจิตอาสาอย่างเต็มที่ ประกอบกับบุคลากรขององค์การ บริหารส่วนต�ำบลดอนแก้ว เป็นผูม้ คี วามรูค้ วามสามารถ พร้อมทัง้ เสียสละเวลาส่วนตนกับงานสาธารณะ ดังนั้นจึงร่วมเป็นครูผู้สอนในวิทยาลัยจิตอาสาในวิชาสุขภาวะ ๔ มิติ และการให้ความรู้เรื่องสิทธิ สวัสดิการแก่ประชาชน ๖. มีการออกแบบบูรณาการการท�ำงานของเยาวชนจิตอาสากับภารกิจงานประจ�ำ ของกองสวัสดิการสังคม ส�ำนักปลัด กองการศึกษาและโรงพยาบาลชุมชนต�ำบลดอนแก้ว จึงท�ำให้การ ขับ เคลื่อ นงานมีผู ้ รับผิด ชอบหลัก ในการท� ำงานรวมทั้ง การบรรจุแ ผนงานโครงการในข้ อบัญ ญัติ งบประมาณองค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนแก้ว จึงท�ำให้เกิดการขับเคลือ่ นงานอย่างต่อเนือ่ งและยัง่ ยืน 284
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๗. เยาวชนจิตอาสามีวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการด�ำเนินงานที่ชัดเจน ส่งผล ให้เกิดการวางแผนการท�ำงานอย่างเป็นระบบและมีขนั้ ตอนทีส่ ามารถด�ำเนินการและท�ำความเข้าใจได้ ง่าย ๘. มีกลุ่มจิตอาสา อาสาสมัครที่เข้มแข็ง เป็นพี่เลี้ยงร่วมสอนทั้งในภาคทฤษฎีและ ปฏิบัติในการลงพื้นที่และเต็มใจท�ำงานช่วยเหลืออยู่ในพื้นที่เพื่อร่วมมือร่วมใจในการท�ำงานโดย มุ่งประโยชน์ส่วนรวมของชุมชนเป็นส�ำคัญ ๙. ภาคประชาชนมีความเข้มแข็งโดยให้การสนับสนุนและมีส่วนร่วมคิด ร่วมท�ำ ร่วมแก้ไข ปัญหาผ่านเวทีข่วงก�ำกึ๊ด ในกิจกรรมต่างๆของเด็กเยาวชนเป็นอย่างดี เช่น การเข้าร่วมเป็นผู้เรียนใน วิทยาลัยจิตอาสา การเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการ การเข้าร่วมเป็นวิทยากรและครูชุมชนในการเรียน การสอน รวมทัง้ การเข้าร่วมเสนอ แนวทางการขับเคลือ่ นและพัฒนางานจนส่งผลให้เกิดการมีสว่ นร่วม ในการสร้างนวัตกรรมใหม่เพิ่มขึ้นจากเดิม ๑๑. ต�ำบลดอนแก้วมีทนุ ทางสังคมด้านบุคคล เช่น สภาเด็กและเยาวชน พระพุทธศาสนา วันอาทิตย์ ปราชญ์ชุมชน ข้าราชการบ�ำเหน็จบ�ำนาญ วิทยากรแหล่งเรียนรู้ แกนน�ำ ที่มีทั้งในกลุ่ม พลเมืองเยาวชน พลเมืองวัยท�ำงาน และพลเมืองผู้สูงวัย ที่มีศักยภาพและมีความพร้อมที่จะเสียสละ เวลาในการท�ำงานเพือ่ ส่วนรวมท�ำให้ภาคประชาชนน�ำโดยทุนทางสังคมทีเ่ ข้มแข็งเป็นพลังส�ำคัญในการ ขับเคลื่อนงานอันเป็นส่วนรวมร่วมกันต่อไป ๑๑. มีหน่วยงานเครือข่ายภายนอกให้ความส�ำคัญ ในการเข้าร่วมสนับสนุนการท�ำงาน เช่น ส�ำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีเชียงใหม่ ทีใ่ ห้ความสนใจในการท�ำวิจยั เรือ่ งการพัฒนาอาสาสมัครของต�ำบลดอนแก้ว โดยใช้กลุ่มจิตอาสาต�ำบลดอนแก้วทุกกลุ่มวัยเป็นกลุ่ม ประชากรในการวิจัย ส่งผลให้เกิดชุดความรู้และงานวิจัยด้านจิตอาสาเยาวชนในต�ำบล
๑๐. ความสอดคล้องของเยาวชนจิตอาสากับ ๗ คุณลักษณะการจัดการตนเอง ๑) การสร้างการเรียนรู้ปัญหาและความต้องการ(เป้าหมายร่วม+ผลกระทบ)ของชุมชนท้องถิน่ รวมทั้งการแก้ไขและจัดการเยาวชนจิตอาสา มีการสร้างการเรียนรู้โดยน�ำใช้เวทีข่วงก�ำกึ๊ดละอ่อน ดอนแก้วเป็นประจ�ำทุก ๓ เดือนเพื่อการสร้างการรับรู้ร่วมกันทั้งในระดับการสะท้อนปัญหา ความ ต้องการของเด็กเยาวชนในต�ำบล การวางแผนการท�ำงานร่วมกันเพื่อสร้างการเป็นเจ้าของงานร่วมกัน โดยเยาวชนจิตอาสา จะเข้าร่วมประชุมกับทีมอาสาสร้างสุขเพือ่ รับทราบปัญหา ข้อมูล ผูป้ ระสบปัญหา ในต�ำบล การวางแผนแนวทางการช่วยเหลือร่วมกันในระดับกลุ่ม การเสนอปัญหาและความต้องการ
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
285
แนวทางเยาวชนพลเมืองเพื่อสะท้อนความคิด ความรู้สึก ความต้องการ รูปธรรมการท�ำงานที่เกิดขึ้น จากการสร้างการเรียนรู้ปัญหาและความต้องการ โดยการน�ำข้อมูลผู้สูงอายุยากไร้ที่มีอยู่ในต�ำบล มาสร้างแผนการท�ำงานเพื่อลงติดตามเยี่ยมบ้านท�ำประโยชน์ ดูแล ช่วยเหลือ บนความสามารถและ องค์ความรู้ของเยาวชนจิตอาสา ๒) การสร้างกลไกผลักดันทุกระดับ การจัดการตนเองมีการจัดการปัญหา และสร้างกลไกการ ผลักดันการจัดการตนเองโดยมีตวั แทนคณะท�ำงานเยาวชนอาสาเข้าร่วมทีมอาสาดอนแก้วสร้างสุขใหญ่ เพือ่ เข้ามามีสว่ นร่วมในการจัดการร่วมกับกลุม่ ท�ำให้มโี อกาสในการเสนอความต้องการในกลุม่ เด็กและ เยาวชนที่สะท้อนจากความต้องการในระดับกลุ่มใหญ่ของชุมชนได้ ๓) การสร้างคนให้ต้องจัดการตนเอง มีการพัฒนาศักยภาพกลุ่มสภาเด็กเยาวชนในต�ำบล ให้เป็นพลังเยาวชนจิตอาสาเพื่อสร้างแกนน�ำการเป็นต้นแบบ เยาวชนอาสาท�ำดีในการสร้างแรงจูงใจ เพื่อให้คณะท�ำงาน หรือสมาชิกกลุ่มได้เกิดพลัง ส�ำนึกรักกลุ่ม ท้องถิ่น เพื่อร่วมสร้างพลังแกนน�ำและ การร่วมมือในการจัดการปัญหาร่วมกัน เพื่อสร้างความเป็นเจ้าของและสามารถสร้างแนวทางในการ จัดการตนเองได้ ๔) การสร้างการมีสว่ นร่วม เยาวชนจิตอาสามีกระบวนการท�ำงานทีส่ ร้างการมีสว่ นร่วมในการ ท�ำงานทุกระดับตั้งแต่แรกเริ่มการท�ำงานรวมกลุ่ม การด�ำเนินกิจกรรม การจัดการปัญหา การวางแผน การท�ำงานร่วมกันจนน�ำสูก่ ารประเมินผลการท�ำงาน ซึง่ การสร้างการมีสว่ นร่วมถือเป็นหัวใจหลักในการ ท�ำงานของเยาชนจิตอาสา ๕) การระดมเงินและทรัพยากรเพื่อเป็นทุน (พึ่งตนเอง+ต่อเนื่อง) เยาวชนจิตอาสาได้เข้าร่วม เป็นสมาชิกกองทุนพลเมืองจิตอาสาต�ำบลดอนแก้วที่เป็นกองทุนในการช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสโดย ไม่หวังผลตอบแทน ประกอบกับกลุม่ เยาวชนจิตอาสาได้มโี อกาสในการท�ำกิจกรรมเพือ่ ระดมทุนในการ ช่วยเหลือผูด้ อ้ ยโอกาสในต�ำบล เช่น การท�ำผ้าป่ากองทุน การรับบริจาคข้าวของเครือ่ งใช้ และการขาย ของมือสองเพื่อน�ำเงินสมทบทุนการช่วยเหลือดูแลผู้ประสบปัญหาทางสังคมร่วมกัน ๖) การมีข้อตกลง (สร้างความยั่งยืน ความสัมพันธ์แนวราบช่วยเหลือเกื้อกูลกัน) มีการวาง ข้อตกลงร่วมในกติกากองทุนพลเมืองจิตอาสาโดยมีทั้งหมด ๘ บท ๑ บทเฉพาะกาล ๓๓ ข้อ รวมทั้ง การสร้างข้อตกลงร่วมในกลุ่มเยาวชนจิตอาสาต่อการสร้างขยายกลุ่มจิตอาสาหน้าใหม่ ผ่านกลุ่ม พลเมืองจิ๋วเพื่อสร้างจิตอาสาพันธุ์ใหม่ ทายาทการท�ำงานต่อไป ๗) การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กร ภาครัฐ และหน่วยงานต่างๆ การด�ำเนินงานของ กลุม่ เยาวชนจิตอาสาอาศัยความร่วมมือในการท�ำงานโดยมีภาคีเครือข่ายทัง้ ในและนอกพืน้ ทีท่ ำ� หน้าที่ หนุนเสริมการท�ำงานโดยเป็นพีเ่ ลีย้ งทัง้ ด้านวิชาการและการสนับสนุนทรัพยากรในการร่วมท�ำกิจกรรม ร่วมกัน
286
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
287
ภาพที่ ๕๐ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้าน ระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชน องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนแก้ว อ�ำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
ภาพที่ ๕๑ ระบบการส่งเสริมการเรียนรูเ้ ด็กและเยาวชน องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนแก้ว อ�ำเภอแม่รมิ จังหวัด เชียงใหม่
288
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ภาพที่ ๕๒ การพัฒนาจิตอาสา องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนแก้ว อ�ำเภอแม่รมิ จังหวัดเชียงใหม่
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
289
การพัฒนาเยาวชนนักรณรงค์ องค์การบริหารส่วนต�ำบลมหาชัย อ�ำเภอไทรงาม จังหวัดก�ำแพงเพชร
๑. ที่มาหรือฐานคิดของการด�ำเนินกิจกรรม ต�ำบลมหาชัย อ�ำเภอไทรงาม จังหวัดก�ำแพงเพชร มีเนื้อที่ ๙๒.๖๗ ตารางกิโลเมตร พื้นที่เป็น พื้นที่ราบและราบลุ่ม ดินมีสภาพเป็นดินร่วมเหมาะสมกับการท�ำการเกษตร ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ท�ำนา ท�ำไร่อ้อย ไร่ข้าวโพด ไร่มันส�ำปะหลัง ท�ำสวนปลูกกล้วยไข่ กล้วยหอม กล้วยน�ำ้ ว้า มี ๑๒ หมู่บ้าน จ�ำนวน ประชากรทั้งสิ้น ๗,๑๔๕ คน เป็นเพศชาย จ�ำนวน ๓,๕๗๓ คน เพศหญิง จ�ำนวน ๓,๕๗๒ คน จ�ำนวนประชากรเด็กและเยาวชน ๑,๗๔๗ คน เป็นเพศชาย ๘๙ ๓ คน เพศหญิง ๘๕๔ คน สัดส่วนเด็กและเยาวชนต่อประชากรทั้งหมดคิดเป็นร้อยละ ๒๔.๔๕ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติด ติดเน็ต ติดเกมส์ และท้องก่อนวัยอันควร ใน กลุม่ เด็กและเยาวชนในพืน้ ทีต่ �ำบลมหาชัย ทีม่ อี ายุระหว่าง ๖ – ๒๔ ปี อย่างต่อเนือ่ ง จึงเกิดระบบการ ดูแล และจัดการกับปัญหา โดยการรวมตัวของเด็กและเยาวชน ผูน้ ำ� ท้องที่ ผูน้ ำ� ท้องถิน่ ชุมชน ทุกภาค ส่วนทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชน แก้ไขปัญหา โดยน้อมน�ำโครงการ รณรงค์ป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE เป็นแกนกลางในการประสานการท�ำงานของเด็กและเยาวชน เป็นเครื่องมือ เป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนท�ำให้เกิดการพัฒนาในทางที่ดีขึ้น โดยยึดเยาวชนเป็น ศูนย์กลาง น้อมน�ำหลักการความเข้าใจ เข้าถึงพัฒนา ขององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ฯ มาปรับ ใช้ ภายใต้ แนวคิด เด็กท�ำ ผู้ใหญ่หนุน ซึ่งการท�ำกิจกรรมเป็นหน้าที่ของเด็กและเยาวชน ผู้ใหญ่ทำ� หน้าทีใ่ นส่งเสริมสนับสนุน เช่น การสนับสนุนงบประมาณไปท�ำกิจกรรม สนับสนุนงานวิชาการ อาคาร สถานที่ และเข้าร่วมท�ำกิจกรรมกับเด็กในทุกโครงการกิจกรรม โดยยึดหลัก “ ต้องอยู่บนพืน้ ฐานความ ต้องการของเด็กและเยาวชน” และแนวทางการท�ำงาน ๓ ก.และ ๓ ย.ประกอบด้วย กรรมการ มาจาก การเลือกตั้งมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่ง ๒ ปี จ�ำนวน ๙ คน มีการแบ่งฝ่ายการท�ำงานออกเป็น ๕ ฝ่าย
290
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ประกอบด้วย ฝ่ายจัดหาทุน ฝ่ายกิจกรรม ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ฝ่ายรับเรือ่ งราวร้องทุกข์ และฝ่ายติดตาม ประเมินผล ก�ำหนดให้มกี ารประชุมเป็นประจ�ำทุกเดือน และต้องมีผเู้ ข้าร่วมประชุมไม่นอ้ ยกว่า ๒ใน ๓ กองทุน มีการเปิดบัญชีกองทุนชมรมในนามกองทุนชมรม TO BE NUMBER ONE มีแหล่งที่มาของ กองทุนประกอบด้วย การระดุมทุน การบริจาคของภาคส่วนราชการ ผู้บริจาคและผู้สนับสนุน แล้วน�ำ เงินเข้าบัญชีกองทุนชมรม เบิกจ่าย ๒ ใน ๓ ตามมติที่ประชุม กิจกรรม ประกอบด้วย ๓ ยุทธศาสตร์ หลักคือ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การณรงค์สร้างกระแสนิยมที่เอื้อต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยการรณรงค์ เพื่อสร้างกระแส ผ่านสื่อ เช่น อินเตอร์เน็ต เฟสบุค หอกระจายข่าว ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การสร้างภูมคิ ุ้มกันทางจิตใจให้แก่เด็กและเยาวชน มีกิจกรรมเด่นที่จะต้องด�ำเนินการในยุทธศาสตร์นี้ คือ กิจกรรม “ใครติดยายกมือขึ้น” โดยการเปิดโอกาสให้เยาวชนที่ติดยากลับตัวกลับใจเข้ารับการ บ�ำบัดรักษา และคืนคนดีสู่สังคม ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การสร้างและพัฒนาเครือข่ายเพื่อการป้องกันและ แก้ไขปัญหายาเสพติด ซึง่ มีหน้าทีใ่ นการสร้างเครือข่ายใหม่ดแู ลเครือข่ายเดิม ถ่ายทอด ความรู้ เทคนิค ประสบการณ์การท�ำงานโครงการ TO BE NUMBER ONE ที่ถูกต้องให้กับเครือข่ายอย่างต่อเนื่องจาก รุ่นสู่รุ่น ภายใต้ concept กล้วยไข่พันธุ์ดี TO BE NUMBER ONE MAHACHAI NEVER DIE ตั้งแต่ปี ๒๕๕๒ ถึงปัจจุบนั จากการด�ำเนินงานตามกิจกรรมดังกล่าวข้างต้น ส่งผลให้เกิดแกนน�ำเยาวชนนักรณรงค์ ที่ทำ� หน้าที่รณรงค์ประชาสัมพันธ์การด�ำเนินงานกิจกรรมดีดีของเยาวชนในต�ำบล โดยการถ่ายทอด องค์ความรู้เทคนิคประสบการณ์การท�ำงาน เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของเด็กและเยาวชนอย่างต่อเนื่อง ผ่านสือ่ ต่างๆ เช่น อินเตอร์เน็ต เฟสบุค หอกระจายข่าว เสียงตามสาย ไลน์ โทรศัพท์ พูดในทีส่ าธารณะ วิทยากรบรรยายสร้างเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง ส่งผลต่อตนเองเป็นเยาวชนต้นแบบ เป็นแบบอย่างใน การท�ำงานที่ดี ในการกล้าคิด กล้าท�ำ กล้าแสดงออก ครอบครัวมีความสุขกายสบายใจลูกหลานห่าง ไกลจากยาเสพติด ชุมชน มีนักรณรงค์ นักประชาสัมพันธ์โดยคนในชุมชนเอง
๒. งานและกิจกรรม ๒.๑. ภาพรวมระบบการดูแลเด็กและเยาวชนของต�ำบลองค์การบริหารส่วนต�ำบล มหาชัย มีระบบการดูแลเด็กและเยาวชนของต�ำบล จ�ำนวน ๖ ระบบ ดังนี้ ๑) การเพิ่มทักษะการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ในพื้นที่ต�ำบลมหาชัยมีกลุ่มองค์กรที่ เป็นทุนทางสังคม ที่ช่วยเพิ่มและพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนให้เป็นคนที่มีคุณภาพได้ เช่น ศูนย์ ยุติธรรมชุมชนต�ำบล ส�ำหรับการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนในการศึกษาข้อกฎหมาย ยุติปัญหา การ
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
291
ทะเลาะในกลุม่ เยาวชน ศูนย์ ICT ชุมชนต�ำบลมหาชัย ส�ำหรับการเรียนรูด้ า้ นเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การศึกษา และค้นคว้าข้อมูล ศูนย์การเรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียงบ้านศรีวไิ ล ส�ำหรับการเรียนรูก้ ารด�ำเนิน ชีวิตด้วยหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในชีวิตประจ�ำวันชมรม TO BE NUMBER ONE ใน ชุมชน ส�ำหรับการเรียนรูเ้ รือ่ งการบริหารจัดการชมรม หลักการท�ำงาน และการด�ำเนินงานตามโครงการ รณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างถูกต้อง ๒) การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาของเด็กและเยาวชน มีกลุ่มองค์กร กิจกรรม ที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาของเด็กและเยาวชน จ�ำนวน ๑๔ กลุ่ม เช่น ศูนย์การเรียนรู้ศึกษาอบรมและเศรษฐกิจพอเพียงต�ำบลมหาชัย มีส่วนร่วมในการส่งเสริมอาชีพ ส�ำหรับเยาวชนที่ต้องการอาชีพ ทางด้านเกษตรโดยการอบรมให้ความรู้และฝึกอาชีพสร้างงาน สร้าง รายได้ ศูนย์พฒ ั นาครอบครัวในชุมชนต�ำบลมหาชัย มีสว่ นร่วมในการดูแลพฤติกรรมของเด็กและเยาวชน พบพฤติกรรมไม่เหมาะสม หรือปัญหาในตัวเด็กและเยาวชน แจ้งครอบครัวหาแนวทางร่วมกันแก้ไข ปัญหาและให้ความช่วยเหลือไปยังภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน (อสม.) มีส่วนร่วมในการให้ความรู้ด้านสุขภาพแก่เด็กและเยาวชน เช่น เพศศึกษา โรคเอดส์ การ ตัง้ ครรภ์โดยไม่พร้อม การท�ำแท้ง โรคอ้วน และการดูแลสุขภาพตามหลัก ๓ อ.๒ ส.๑ น. และเป็นแบบ อย่างที่ดีในการเป็นอาสาสมัคร อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) มีส่วนร่วมในการให้ ความรู้ พัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนที่มีจิตอาสาช่วยเหลือผู้ประสบภัย สอนวิธีการท�ำงาน สอนการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุผู้ประสบภัยอย่างถูกต้อง และท�ำงานร่วมกับเด็กและเยาวชน เป็นต้น ๓) การส่งเสริมอาชีพ มีกิจกรรมและองค์กรที่เสริมหนุนและเอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กและ เยาวชน ในด้านการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ จ�ำนวน ๒๑ กลุ่มองค์กร เช่น กลุ่มทอเสื่อกก ส�ำหรับใช้ เป็นแหล่งเรียนรู้ในการประกอบอาชีพการทอเสือ่ กก กลุ่มท�ำน�ำ้ พริกใช้เป็นแหล่งเรียนรู้สำ� หรับเด็กและ เยาวชนทีส่ นใจทีจ่ ะประกอบอาชีพการท�ำน�ำ้ พริกขายหรือท�ำไว้กนิ ในครัวเรือน กลุม่ ปลูกกล้วยไข่สำ� หรับ เป็นแหล่งเรียนรู้ให้เด็กและเยาวชนที่สนใจจะปลูกกล้วยไข่เพื่อจ�ำหน่ายหรือปลูกไว้เพื่อรับประทาน ศูนย์เรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียงบ้านศรีวไิ ล เป็นแหล่งเรียนรูส้ ำ� หรับเด็กและเยาวชน เรียนรูห้ ลักการด�ำเนิน ชีวิตด้วยเศรษฐกิจพอเพียงแล้วน�ำมาปรับใช้ในชีวิตประจ�ำวัน เรียนรู้เพื่อการประกอบเป็นอาชีพ เช่น การเลี้ยงจิ้งหรีด การท�ำน�้ำส้มควันไม้ การเลี้ยงกบการปลูกผักสวนครัว และการเลี้ยงหมูหลุม ฯลฯ ๔) การจัดสวัสดิการและการออม มีการจัดสวัสดิการและการออมที่เอื้อและเสริมหนุนใน การท�ำกิจกรรมของเด็กและเยาวชน จ�ำนวน ๑๗ กลุ่ม กองทุน เช่น กองทุนหมู่บ้านในชุมชน ส�ำหรับ เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการบริหารจัดการกองทุน จัดสรรงบประมาณให้เด็กและเยาวชนไปด�ำเนินการจัด ท�ำโครงการ/กิจกรรม กองทุนเงินสวัสดิการประชาชนต�ำบลมหาชัย ส�ำหรับการจัดสวัสดิการให้แก่ เด็กและเยาวชนทีย่ ากไร้ พิการ ด้อยโอกาสทางสังคมให้ความช่วยเป็นเงินหรือสิง่ ของ เป็นต้น ธนาคาร
292
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ใช้ชมุ ชนเป็นแหล่งเรียนรูข้ องเด็กและเยาวชนในด้านการออม การบริหารจัดกลุม่ องค์การ และการสร้าง นิสัยการออม เป็นต้น ๕) การพัฒนาจิตอาสา ในพืน้ ทีต่ ำ� บลมหาชัย มีกลุม่ องค์กร ทีส่ ง่ เสริม เสริมหนุน การพัฒนา จิตอาสาให้แก่เด็กและเยาวชน เช่น กิจกรรมกู้ชีพกู้ภัยจิ๋ว ซึ่งเป็นกิจกรรมอาสาของเด็กและเยาวชนใน ด้านการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุ ผู้ประสบประสบภัย และภัยจากธรรมชาติ ร่วมกับอาสาสมัครป้องกัน ภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) กิจกรรมอาสายุวกาชาด เป็นกิจกรรมของเด็กและเยาวชนมีจิตอาสาในการ ปฐมพยาบาลให้แก่ผู้ประสบภัย หรือ ปฐมพยาบาลเบื้องต้นก่อนน�ำสู่โรงพยาบาล อาสาสมัคร สาธารณสุขมูลฐาน (อสม.) ท�ำหน้าที่ให้ความรู้เบื้องต้น สอนวิธีการปฐมพยาบาล และการช่วยเหลือ ผู้ป่วยก่อนน�ำส่งโรงพยาบาล อาสาพัฒนาชุมชน ท�ำหน้าที่ในการให้ความรู้วิธีการเข้าชุมชน งาน และกิจกรรมทีม่ ใี นชุมชน ช่วยประสานการท�ำงานให้แก่เด็กและเยาวชนในภาคส่วนต่างๆ อาสาป้องกัน ภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) สอนวิธีการท�ำงาน สอนการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุผู้ประสบภัยอย่างถูกต้อง สร้างจิตส�ำนึกที่ดี การมีจิตอาสาและท�ำงานร่วมกับเด็กและเยาวชน ๖) การดูแลและส่งเสริมสุขภาพ ในพื้นที่ต�ำบลมหาชัยมีกิจกรรมการดูแลสุขภาพที่เป็น กลุ่ม/องค์กรต่าง ๆ จ�ำนวน ๙ กลุ่ม/องค์กร เช่น อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน (อสม.) มี หน้าที่ในการช่วยดูแลสุขภาพเด็กเยาวชน โดยการให้ความรู้ ให้วิธีการท�ำงานและประสานความ ช่วยเหลือ รพ.สต.มหาชัยมีหน้าทีใ่ นการป้องกันโรค บ�ำบัด รักษา ดูแล ส่งต่อผูป้ ว่ ยรักษาในโรงพยาบาล ประจ�ำจังหวัด กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนต�ำบลมหาชัย เป็นกองทุนที่สนับสนุน งบประมาณในการจัดกิจกรรมด้านสุขภาพในกลุม่ เด็กเยาวชน กลุม่ เด็กเล็ก กลุม่ ผูส้ งู อายุ ซึง่ เป็นแหล่ง งบประมาณให้แก่เด็กและเยาวชนได้ หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมวิถีธรรมวิถีไทย (๓ อ. ๒ ส.๑.น.) เป็นแหล่งเรียนเรียนรูใ้ ห้เด็กและเยาวชนเกิดการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมทางด้าน อารมณ์ การกินอาหาร การออกก�ำลังกาย ไม่ด่มื เหล้า ไม่สูบบุหรี่ เพื่อความส�ำบูรณ์ เข้มแข็งทางด้านร่างกายและจิตใจ ๒.๒ ประเด็นเด่นของระบบการดูแลและเยาวชน องค์การบริหารส่วนต�ำบลมหาชัย มีประเด็นเด่น ของระบบการส่งเสริมการเรียนรูข้ องเด็กและ เยาวชน คือ การพัฒนาเยาวชนนักรณรงค์ โดยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน มีการด�ำเนินงานอย่าง ต่อเนื่อง จ�ำนวน ๘ งาน ประกอบด้วย กิจกรรมการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE เป็นกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุม่ เด็กและเยาวชน ที่มีอายุระหว่าง ๖-๒๕ ปี ซึ่งนักรณรงค์มี วิธีการรณรงค์ คือ การจัดกิจกรรมเพื่อเป็นการรณรงค์ปลุก จิตส�ำนึกและสร้างกระแสนิยมที่เอื้อต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เช่น การจัดฝึกอบรม โทษและพิษภัยของยาเสพติด การแข่งขันกีฬาต้านภัยยาเสพติด ฯลฯ กิจกรรมกูช้ พี กูภ้ ยั จิว๋ เป็นกิจกรรม
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
293
ทีเ่ ด็กและเยาวชนทีม่ จี ติ อาสาช่วยเหลือผูป้ ระสบเหตุ ประสบภัยบนท้องถนนร่วมทีมกูช้ พี กูภ้ ยั และอาสา สมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) อบต.มหาชัย ซึง่ นักรณรงค์ มีวธิ กี ารรณรงค์ คือ การจัดฝึกปฏิบตั ิ การช่วยเหลือผู้ประสบภัยบนท้องถนน จัดอบรมร่วมกับส�ำนักงานขนส่งจังหวัด ความปลอดภัยเมื่อ สวมใส่หมวกกันน๊อค ฝึกปฏิบัติการปฐมพยาบาลเบื้องต้นให้แก่ผู้ประสบภัยให้แก่น้องๆ ในโรงเรียน กิจกรรมอาสายุวกาชาด เป็นกิจกรรมของเด็กและเยาวชนที่มิจิตอาสาปฐมพยาบาลเบื้องต้นให้แก่ ผู้ประสบภัยและเพื่อนเยาวชนที่ประสบอุบัติเหตุหรือต้องการความช่วยเหลือ ซึ่งนักรณรงค์ มีวิธีการ รณรงค์ คือ การจัดฝึกปฏิบัติการปฐมพยาบาลเบื้องต้นให้แก่เด็กและเยาวชนในศูนย์การศึกษา นอกโรงเรียน (กศน.) จัดท�ำแผ่นพับการปฐมพยาบาลเบือ้ งต้น แจกประชาสัมพันธ์วธิ กี ารปฐมพยาบาล เบือ้ งต้น จัดส่งคณะกรรมการอาสายุวกาชาด เข้าประกวดการแข่งขันการปฐมพยาบาลเบือ้ งต้นในเวที ต่างๆ กิจกรรมรณรงค์การตั้งครรภ์ไม่พร้อมก่อนวัยอันควร เป็นกิจกรรมที่รณรงค์ให้เด็กและเยาวชน ไม่ให้ตั้งท้องก่อนวัยอันควร และมีวิธีการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากการตั้งครรภ์ ซึ่งนักรณรงค์ มีวธิ กี ารรณรงค์ คือการจัดฝึกอบรมโครงการ การตัง้ ครรภ์ไม่พร้อมก่อนวัยอันควร แจกแผ่นพับ โบว์ชวั ร์ แจกเอกสาร และสอนวิธีการถุงยางอนามัย ฯลฯ กิจกรรมการรณรงค์การใช้สื่ออินเตอร์เน็ตในเชิง สร้างสรรค์ เป็นกิจกรรมที่นักรณรงค์ด�ำเนินรณรงค์ไม่ให้เด็กและเยาวชนใช้สื่ออินเตอร์เน็ตในเชิง สร้างสรรค์ไม่ใช้สื่อไปในทางที่ผิด เช่น ดูหนังลามกและสื่ออนาจาร ซึ่งนักรณรงค์ มีวิธีการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ผ่านสือ่ อินเตอร์เน็ต เฟสบุค ไลน์ และจัดฝึกอบรมการใช้สอื่ เชิงสร้างสรรค์ ณ ศูนย์ ICT ชุมชน การณรงค์การด�ำเนินชีวิตด้วยเศรษฐกิจพอเพียง เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้เยาวชนเรียนรู้การ ด�ำเนินชีวติ แบบเศรษฐกิจพอเพียง ซึง่ นักรณรงค์ มีวธิ กี ารรณรงค์ โดยการจัดส่งสมาชิกเข้ารับการอบรม ในศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านศรีวิไลเพื่อให้เกิดจิตส�ำนึกในการใช้ชีวิตแบบพอเพียง การ รณรงค์การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (ปลูกหญ้าแฝก ปลูกต้น) เป็นการปลุกจิตส�ำนึกให้เยาวชนรักและ หวงแหนในทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นักรณรงค์ มีวิธีการรณรงค์ โดยการจัดกิจกรรม ปลูกต้นไม้ ปลูกหญ้าแฝกในวันสิง่ แวดล้อมโลก และวันที่ ๕ ธันวาคม ในของทุกๆ ปี และสร้างอาสาสมัคร พิทักษ์สิ่งแวดล้อมให้เกิดขึ้นในชุมชน กิจกรรมการรณรงค์ลดความรุนแรงในครอบครัว คือ กิจกรรมที่ ช่วยลดความรุนแรงในครอบครัว และสร้างสัมพันธภาพที่ดีให้แก่คนในครอบครัว มีวิธีการรณรงค์ คือ ร่วมกับศูนย์พัฒนาครอบให้ความรู้ สอดส่องดูและพฤติกรรมเด็กและเยาวชนที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะ สมแล้วหาทางออกหรือหาทางแก้ไขร่วมกัน ร่วมกับส�ำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ แจกเอกสาร แผ่นพับ แจกเข็ม พูดประชาสัมพันธ์ในชุมชนการสร้างสัมพันธภาพทีด่ ใี ห้แก่คนในครอบครัว ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ internet facebook และline ฯลฯ โดยมีทุนทางสังคมที่เกี่ยวข้อง ในระดับบุคคล เช่น นายรุ่งเกียรติ เล้ารุ่งเรือง นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลมหาชัย ที่มีส่วนช่วยและสนับสนุน การด�ำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนือ่ งโดยการสนับสนุนงบประมาณ การจัดการ และบุคคลช่วยด�ำเนินการ
294
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
กลุ่มองค์กรที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย แกนน�ำเยาวชน TO BE NUMBER ONE กลุ่มยุวเกษตรกร ทีมงานกู้ชีพกู้ภัยจิ๋ว ทีมงานอาสายุวกาชาด สภาเด็กและเยาวชนต�ำบลมหาชัย และกลุ่มออมทรัพย์ นับเพิ่ม (รร.บ้านทุ่งมหาชัย)และมีแหล่งประโยชน์ที่เกี่ยวข้อง เช่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลมหาชัย ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจแบบพอเพียงบ้านศรีวิไล รพ.สต.มหาชัย ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน และ ศูนย์ ICT ชุมชน โรงเรียน ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน ฯลฯ โดยมีทุนทางสังคม ๖ ระดับ ทั้งหลักและ รองที่สอดคล้องกับงานและกิจกรรมในการพัฒนาเยาวชนนักรณรงค์
๓. ทุนทางสังคม ในการด�ำเนินงานขององค์การบริหารส่วนต�ำบลมหาชัย ในการพัฒนาเยาวชนให้เป็นนักรณรงค์ มีทุนทางสังคมที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ ๓.๑ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการหลักในการพัฒนาเยาวชนนักรณรงค์ ๑) ทุนระดับบุคคลและครอบครัว จ�ำนวน ๖ คน มีหน้าที่ในการส่งเสริมและสนับสนุน การจัดท�ำแผนงาน โครงการ/กิจกรรม เช่น การอนุมัติ อนุญาต เห็นชอบ ให้ดำ� เนินการ การใช้จ่าย งบประมาณ แหล่งเรียนรู้ พื้นที่ด�ำเนินการท�ำกิจกรรม สนับสนุนอัตราก�ำลังคนในการช่วยปฏิบัติงาน ให้แก่นกั เยาวชนรณรงค์ ๒) ระดับกลุ่มทางสังคม องค์กรชุมชน จ�ำนวน ๔ กลุ่ม ประกอบด้วย แกนน�ำเยาวชนชมรม TO BE NUMBER ONE เป็นแกนน�ำและเป็นนักรณรงค์ ประชาสัมพันธ์การด�ำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE กลุ่มสภาเด็กและเยาวชนต�ำบลมหาชัย เป็นแกนน�ำและเป็นนักรณรงค์ประชาสัมพันธ์ การด�ำเนินงานกิจกรรมของสภาเด็กและเยาวชน ทีมงานกูช้ พี กูภ้ ยั จิว๋ เป็นแกนน�ำในการด�ำเนินกิจกรรม กู้ชีพกู้ภัย และเป็นนักรณรงค์ประชาสัมพันธ์การท�ำกิจกรรมของกู้ชีพกู้ภัยจิ๋ว ทีมงานอาสายุวกาชาด เป็นแกนน�ำในการด�ำเนินกิจกรรม อาสายุวกาชาด และเป็นนักรณรงค์ประชาสัมพันธ์การด�ำเนินกิจกรรม ของอาสายุวกาชาด ๓) ทุนระดับหน่วยงานและแหล่งประโยชน์ จ�ำนวน ๓ แหล่ง ได้แก่ อบต.มหาชัย เยาวชน นักรณรงค์สามารถขอใช้สถานที่ในหอประชุมองค์การบริหารส่วนต�ำบลมหาชัยส�ำหรับการจัดกิจกรรม ได้ รพ.สต.มหาชัย เยาวชนนักรณรงค์ขอข้อมูลประชากรเป้าหมาย และข้อมูลเพื่อการประชาสัมพันธ์ มาด�ำเนินการจัดกิจกรรมได้ เช่น ถุงยางอนามัย ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน นักรณรงค์สามารถขอรับ การสนับสนุนวิทยากร เอกสารทางวิชาการ และเรียนรู้การพูดในที่ชุมชนให้ส�ำเร็จได้
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
295
๔) ทุนระดับชุมชน หรือหมูบ่ า้ น จ�ำนวน ๑ ทุน ประกอบด้วย ได้แก่ หมูบ่ า้ นวิถธี รรมเยาวชน วิถีไทย ม.๑ นักรณรงค์ ๕) ทุนระดับต�ำบล ได้แก่ ศูนย์ชมรม TO BE NUMBER ONE ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจ พอเพียงบ้านศรีวิไล ๖) ทุนระดับเครือข่าย ได้แก่ ชมรม TO BE NUMBER ONE ในชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้ของ เด็ก และเยาวชน ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (เครือข่ายระดับชุมชน อ�ำเภอ จังหวัด) ๓.๒ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการรองในการพัฒนาเยาวชนนักรณรงค์ ๑) ทุนระดับบุคคลและครอบครัว จ�ำนวน ๑๐ คน ๒) ระดับกลุม่ ทางสังคม องค์กรชุมชน จ�ำนวน ๔ กลุม่ ได้แก่ กลุม่ การบริหารจัดการกองทุน ชมรม TO BE NUMBER ONE กลุ่มยุวเกษตรกร กลุ่มทีมงานอาสากู้ชีพกู้ภัยจิ๋ว กลุ่มทีมงานอาสา ยุวกาชาด กลุ่มเยาวชนกล้วยไข่พันธุ์ดีศรีมหาชัย (เยาวชนต้นแบบเก่งและดี) และกลุ่มออมทรัพย์ นับเพิ่ม (รร.บ้านทุ่งมหาชัย) ๓) ทุนระดับหน่วยงานและแหล่งประโยชน์ จ�ำนวน ๘ แหล่ง ได้แก่ โรงเรียนในเขตต�ำบล ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน(กศน.) ศูนย์ ICT ชุมชนต�ำบลมหาชัย ตู้ยามต�ำรวจ (ป้อมมหาชัย) ศูนย์ การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านศรีวิไล หมู่ที่ ๘ ศูนย์การเรียนรู้ศึกษาอบรมและเศรษฐกิจพอเพียง ต�ำบลมหาชัย ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรประจ�ำต�ำบลมหาชัย และศูนย์ OSCC กล้วยไข่ พันธ์ดี “เพื่อนช่วยเพื่อน” ปรับทุกข์ สร้างสุข แก้ปัญหา พัฒนาอีคิว ๔) ทุนระดับชุมชน/หรือหมู่บ้าน จ�ำนวน ๑ ทุน ได้แก่ หมู่บ้านต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง ม.๗ ๕) ทุนระดับต�ำบล จ�ำนวน ๔ แห่ง ได้แก่ ศูนย์การเรียนรู้เพิ่มสินค้าเกษตรบ้านศรีวิไล ศูนย์การเรียนรูศ้ กึ ษา อบรมและเศรษฐกิจพอเพียงต�ำบลมหาชัย ศูนย์ถา่ ยทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร ประจ�ำต�ำบลมหาชัย ศูนย์พฒ ั นาครอบครัวในชุมชนต�ำบลมหาชัย กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การ บริหารส่วนต�ำบลมหาชัย สภาเด็กและเยาวชนต�ำบลมหาชัย ๖) ทุนระดับเครือข่าย จ�ำนวน ๑ แห่ง ได้แก่ ศูนย์ยุติธรรมชุมชนต�ำบลมหาชัย (เครือข่าย ระดับอ�ำเภอ/จังหวัด)
296
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๔. วัตถุประสงค์ ๑) เพื่อปลุกจิตส�ำนึกและสร้างกระแสนิยมในการเป็นเยาวชนนักรณรงค์ให้เด็กและเยาวชนมี จิตอาสา มีส่วนร่วม ในการท�ำความดี ๒) เพื่อปรับเปลี่ยนค่านิยมและพฤติกรรมให้เด็กและเยาวชนเป็นผู้น�ำ เป็นคนเก่ง คนดี ของ สังคม ๓) เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจให้แก่เด็กและเยาวชน ให้เป็นแกนน�ำเด็กและเยาวชนที่ เป็นนักรณรงค์ ๔) เพื่อให้เด็กและเยาวชน สามารถเป็นแกนน�ำในการด�ำเนินกิจกรรม และสามารถประชาสัมพันธ์เผยแพร่ และสนับสนุนส่งเสริมเด็กและเยาวชนให้เป็นนักรณรงค์ได้
๕. วิธีการท�ำงาน ส�ำหรับวิธกี ารท�ำงานของเด็กและเยาวชนในพื้นที่ต�ำบลมหาชัย เรามีการด�ำเนินงานดังนี้ ๑) แต่งตั้งคณะกรรมการชมรมการด�ำเนินงานตามโครงการ รณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติดTO BE NUMBER ONE มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง ๒ ปี แบ่งฝ่าย การท�ำงานออกเป็น ๕ ฝ่าย ประกอบด้วย ฝ่ายกิจกรรม ฝ่ายจัดหาทุน ฝ่ายรับรองเรื่องราวร้องทุกข์ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ และฝ่ายสอดส่องดูแลปละประเมินผล โดยมีประธานชมรม คือ นายณภัทร อุน่ ใจชน เป็นแกนน�ำหลักและมีคณะกรรมการเป็นแกนน�ำรองในการน�ำพาเด็กและเยาวชนด�ำเนินกิจกรรม โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE ตามแนวคิดเด็กน�ำ ผู้ใหญ่ หนุน ทัง้ นีย้ งั ได้มกี ารน�ำเสนอผลการด�ำเนินงานของกิจกรรมโครงการ TO BE NUMBER ONE ในแต่ละ ปีงบประมาณ ในการแข่งขันของประเภทชุมชน ในระดับต่างๆ ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๒๔ จนถึงปัจจุบันมา อย่างต่อเนื่อง และเข้มแข็ง ส่งผลให้ได้รบั รางวัลชนะเลิศระดับประเทศ ประเภทชุมชนน�ำเสนอผลการ ด�ำเนินงานโครงการรณรงค์ปอ้ งกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE ระดับดีเด่น และ ได้รบั ถ้วยรางวัลพระราชทานจากทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญาสิรพิ รรณวดี และมีการรับสมัคร สมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE ในชุมชนหมู่ที่ ๑ บ้านทุ่งมหาชัย และจัดกิจกรรมต่างๆ อย่าง ต่อเนื่อง มีการประชุมคณะกรรมการชมรม TO BE NUMBER ONE เป็นประจ�ำทุกเดือน เพื่อวางแผน งาน การท�ำงาน/โครงการ/กิจกรรม โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่า ๒ ใน ๓ ๒) แต่งตั้งคณะกรรมการสภาเด็กและเยาวชน โดย วิธีการเลือกตั้ง และจัดท�ำค�ำสั่งก�ำหนด บทบาทหน้าที่ โดยมีประธานสภาเด็กและเยาวชน คือ นายนพรัตน์ เหมือนทองดี เป็นแกนน�ำหลัก และ มีคณะกรรมการเป็นแกนน�ำรองในการน�ำพากลุ่มเด็กและเยาวชนด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ เช่น กิจกรรม
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
297
รณรงค์ให้เด็กมีจิตอาสา ภายใต้กิจกรรมกู้ชีพกู้ภัยจิ๋ว และกิจกรรมอาสายุวกาชาด กิจกรรมรณรงค์ อนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม กิจกรรมรณรงค์การด�ำเนินชีวติ ด้วยน้อมน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ใน ชีวิตประจ�ำวัน ฯลฯ ๓) ในส่วนของ อบต. มีการจัดตั้งงบประมาณ ในส่วนของกลุ่มเด็กและเยาวชน ชมรม TO BE NUMBER ONE มีการระดมทุน เช่น การท�ำน�้ำสมุนไพรขาย เพื่อรณรงค์ให้คนในชุมชนหันมาดื่ม น�้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ การขายเสื้อชมรม ฯลฯ มีการสนับสนุนจากหน่วยงาน องค์กรรัฐและเอกชน ก�ำนันผู้ใหญ่ กลุ่ม ชุมชน เพื่อใช้ในการด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ของเด็กและเยาวชน ๔) มีการติดตามและประเมินผลการด�ำเนินกิจกรรม เพือ่ น�ำมาปรับปรุงแก้ไขผูร้ บั ผิดชอบหลัก และผู้เกี่ยวข้องในการจัดกิจกรรม ประกอบด้วยส�ำหรับผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดกิจกรรมของนักรณรงค์ ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนต�ำบลมหาชัย ผู้นำ� ท้องถิ่น คณะผู้บริหาร ผู้นำ� ท้องที่ ก�ำนันผู้ใหญ่ บ้าน ผูช้ ว่ ยผูใ้ หญ่บา้ น ผูก้ ลุม่ องค์กรชุมชน สภาเด็กและเยาวชนต�ำบลมหาชัย ชมรม TO BE NUMBER ONE โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจ�ำต�ำบล สถานศึกษา โรงเรียน ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน และ อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)
๖. การเชื่อมโยงหรือส่งผลที่เอื้อต่อการท�ำงานกับกลุ่มงานและกิจกรรมอื่นๆ การด�ำเนินงานของกิจกรรมการรณรงค์ต่างๆ ได้มีการเชื่อมโยงกับหน่วยงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง ทุกภาคส่วนรวมทั้งภาคประชาชนร่วมเป็นกรรมการ ที่ปรึกษา และให้การสนับสนุนงบประมาณ เช่น อ�ำเภอ ก�ำนัน ผูใ้ หญ่บา้ น อบต. ฯลฯ ซึง่ ทุกหน่วยงานและผูท้ เี่ กีย่ วข้องเข้าร่วมกิจกรรมกับเราทุกกิจกรรม เข้ามามีบทบาทร่วมส่งเสริมพัฒนากระบวนการพัฒนาเยาวชน เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ เด็กและเยาวชน ซึง่ เป็นทุนทางสังคมทีเ่ ข็มแข็ง และยัง่ ยืน เช่น เมือ่ เกิดอุบตั เิ หตุการจารจร กลุม่ อป.พร. และกลุ่มกู้ชีพกู้ภัยจิ๋ว จะไปถึงจุดเกิดเหตุและท�ำการปฐมพยาบาลผู้ประสบภัยเบื้องต้น แจ้ง อสม. เพื่อจะได้แจ้งญาติผู้ประสบภัยให้ทราบ แล้วน�ำส่ง รพ.สต. และ รพ. ต่อไป เป็นต้น
๗. ผลผลิตและผลลัพธ์
298
๗.๑ ผลต่อประชากรเป้าหมาย ส�ำหรับกิจกรรมที่ด�ำเนินการ ส่งผลต่อกลุ่มเป้าหมายต่างๆ รายละเอียด ดังนี้
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๑) ตัวเด็กและเยาวชนเอง ส่งผลให้เด็กและเยาวชนที่เป็นนักรณรงค์เป็นคนที่กล้าคิด กล้าท�ำ กล้าแสดงออก มีความเชื่อมั่น มีภาวะความเป็นผู้นำ� มีกระบวนคิด และวิธีการท�ำงานพร้อมก้าวเข้าสู่ การท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป ๒) ครอบครัวเด็กและเยาวชน ส่งผลให้ครอบเด็กและเยาวชน มีความรู้สึกปลอดภัยว่า บุตร หลานของตนเองไม่ไปเกี่ยวกับยาเสพติด และอบายมุขต่างๆ มีคุณภาพชีวิตที่ดี ฝากชีวิตไว้กับบุตร หลานในยามแก่เฒ่าได้ ๓) อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน อปพร.ส่งผลให้อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) มีทีมในการท�ำงานเพิ่มขึ้น มีผู้สืบทอดทายาทจิตอาสา และสร้างพลเมืองที่ดีให้แก่พื้นที่ชุมชน ๔) ประชาชนทั่วไป ส่งผลให้ประชาชนทั่วไป ได้รับการการบริการสาธารณะที่ทั่วถึง รวดเร็ว และปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินเพิ่มมากขึ้น ๕) ผู้น�ำท้องที่ ส่งผลให้ผู้น�ำท้องที่มีเด็กและเยาวชนดูแลพื้นที่ชุมชนเพิ่มมากขึ้น มีความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินมากขึ้น และมีนักรณรงค์ในพื้นที่เพิ่มขึ้นซึ่งเป็นก�ำลังส�ำคัญของชุมชน ๖) ผูน้ ำ� ท้องถิน่ ส่งผลให้ผนู้ ำ� ท้องถิน่ มีเครือข่ายในการท�ำงานเพิม่ ขึน้ ตอบสนองต่อภารกิจของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างรวดเร็ว และมีบุคคลต้นแบบที่เป็นแบบอย่างให้แก่เด็กและเยาวชน เพิ่มมากขึ้น ๗) ผู้น�ำกลุ่มองค์กร ส่งผลให้ผู้นำ� กลุ่มองค์กร มีแบบอย่างในการรณรงค์และประชาสัมพันธ์ การท�ำงานในด้านต่างๆ ที่บรรลุตรงตามวัตถุประสงค์ ๗.๒ ผลต่อคุณภาพชีวิตของกลุ่มประชากร ๕ มิติ ๑) ด้านสังคม การด�ำเนินกิจกรรมของเราส่งผลกระทบในด้านดีตอ่ สังคมและสิง่ แวดล้อม ดังนี้ คือ เมือ่ เกิดปัญหาในชุมชนเกิดการรวมตัวของคนในชุมชน ทัง้ เด็กและเยาวชน ผู้นำ� ท้องถิน่ ผู้นำ� ท้องที่ ทั้งภาครัฐและเอกชนช่วยกันแก้ไขปัญหา โดยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน พูดกันมากขึ้น ช่วยกัน มากขึน้ เห็นปัญหาร่วมกันและช่วยกันแก้ปญ ั หา ท�ำกิจกรรมเสร็จแล้วแก้ปญ ั หาได้ ส่งผลให้ชมุ ชนปลอด ยาเสพติด ไม่ตดิ เน็ตติดเกมส์ เด็กเยาวชน เป็นคนเก่ง คนดี คนส�ำคัญ สังคมอยู่เย็นเป็นสุข ปลอดภัย มีการสร้างและพัฒนาเครือข่ายไปยังกลุ่มเด็กและเยาวชนในหมู่บ้านและต�ำบลใกล้เคียง ๒) ด้านเศรษฐกิจ กิจกรรมที่ท่านด�ำเนินการส่งผลกระทบต่อด้านเศรษฐกิจ (เช่น การสร้าง รายได้ ลดรายจ่าย การส่งเสริมอาชีพ) กิจกรรมที่เราด�ำเนินการส่งผลต่อด้านเศรษฐกิจในชุมชน คือ มี การส่งเสริมและพัฒนาอาชีพให้แก่เด็กและเยาวชน ใช้เวลาว่างใหเป็นประโยชน์ เช่น ขายน�ำ้ สมุนไพร ขายเสื้อ ขายดอกไม้ในเทศกาลวันส�ำคัญต่างๆ ท�ำให้เด็กมีรายได้ไม่พึ่งพาผู้ปกครอง ลดรายจ่ายแก่ ครอบครัว เศรษฐกิจในชุมชนก็ดีมากยิ่งขึ้น
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
299
๓) ด้านสภาวะแวดล้อม ส่งผลให้ทุกภาคส่วนในพื้นที่ทั้งภาครัฐเอกชน ประชาชน ได้มีการ จัดกิจกรรมด้านการออกก�ำลังกายเพิ่มมากขึ้น เช่น จัดให้มีเครื่องออกก�ำลังกายกลางแจ้ง ลานกีฬา ต้านภัยยาเสพติด โครงการแข่งขันกีฬาฟุตบอลต้านภัยยาเสพติดเป็นประจ�ำทุกปี เพื่อช่วยเสริมหนุน ให้เด็กและเยาวชนมีพื้นที่ส�ำหรับจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ๔) ด้านสุขภาพ กิจกรรมที่เราด�ำเนินการส่งผลต่อด้านสุขภาพดังนี้ คือ การมีระบบข้อมูล สุขภาพอยู่ที่ รพ.สต.มหาชัย และรพ.สต.แก้วสุวรรณ มีบริการ ตรวจสุขภาพประจ�ำปี ท�ำฟันในทุกกลุ่ม อายุ และให้ข้อมูลสถานการณ์โรคในปัจจุบัน มีข้อมูลผู้เสพยาเสพติด ที่รับ – ส่งต่อเข้าสู่กระบวนการ บ�ำบัดรักษา ในโรงพยาบาล ชุมชน และจังหวัด มีการลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ โดยการจัด ท�ำโครงการ สงกรานต์ ปีใหม่ปลอดภัย อบรมและรณรงค์ใส่หมวกกันน๊อค บริการท�ำใบขับขี่ให้แก่ เยาวชนนอกสถานทีเ่ พือ่ ป้องกันและลดอุบตั เิ หตุบนท้องถนน มีการส่งเสริมพัฒนาการเด็กและเยาวชน โดยการจัดส่งเข้ารับการฝึกอบรมการพัฒนาภาวะผู้นำ� และสร้างบุคลิกภาพที่ดี จากค่ายสู่ความเป็น หนึ่ง ที่จังหวัดประทุมธานี เป็นประจ�ำทุกปี ๕) ด้านการเมืองการปกครอง ส�ำหรับด้านการเมืองการปกครอง เรามีการก�ำหนดกฏ กติกา ข้อตกลง ของหมู่บ้านการพัฒนานโยบายสาธารณะด้านการดูแลเด็กและเยาวชนในองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลมหาชัยการจัดท�ำแผนสุขภาพชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการดูแลเด็กและเยาวชน ในแผนชุมชน แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา และแผนพัฒนา ๓ ปี ในส่วนการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และองค์การ บริหารส่วนต�ำบลมหาชัย โดยการมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วนในชุมชน ตามกระบวนการของทางราชการ ๗.๓ ผลต่อทุนทางสังคมอื่นๆ กิจกรรมต่างๆ ทีด่ ำ� เนินล้วนแต่เป็นกิจกรรมทีด่ มี ปี ระโยชน์ เช่น กิจกรรมรณรงค์การมีจติ อาสา ภายใต้กจิ กรรมกู้ชพี กู้ภยั จิว๋ ส่งผลให้การด�ำเนินงานของกลุ่ม อปพร. มีทมี งานเพิม่ ขึน้ ก่อให้เกิดความ รวดเร็วในการท�ำงานเพิม่ มากขึน้ เป็นต้น ส่งผลให้ทนุ ทางสังคม ทัง้ ๖ ระดับ ได้รบั ประโยชน์ผลพลอยได้ ได้มีการพัฒนา มีการท�ำงานอย่างเป็นระบบ มีการจัดกระบวนการท�ำงาน กิจกรรมได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
300
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๘. กลไก เครื่องมือในการด�ำเนินงาน ส�ำหรับกลไก เครื่องมือ ในการด�ำเนินงานประกอบด้วย ๑) นโยบาย ถูกก�ำหนดโดยองค์การบริหารส่วนต�ำบลมหาชัย ภายใต้อำ� นาจหน้าทีแ่ ละภารกิจ ๒) ส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กเป็นนักรณรงค์ และประกาศต่อสภาองค์การบริหารส่วนต�ำบล มหาชัย ๓) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ๕ ปี จัดท�ำโดยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนทุกหมู่บ้าน ที่ก�ำหนด ให้มีแผนที่พัฒนาเด็กและเยาวชนให้เป็นนักรณรงค์ และเกิดการรณรงค์ในการท�ำกิจกรรม ของเด็กและเยาวชนอย่างต่อเนื่องทุกปีในระยะเวลา ๕ ปี ๔) แผนพัฒนาสามปี จัดท�ำโดยการมีสว่ นร่วมของคนในชุมชนทุกหมูบ่ า้ นทีก่ ำ� หนด ให้มแี ผนที่ พัฒนาเด็กและเยาวชนให้เป็นนักรณรงค์ และเกิดการรณรงค์ในการท�ำกิจกรรมของเด็กและเยาวชน อย่างต่อเนื่องทุกปีในระยะเวลา ๓ ปี ๕) แผนปฏิบัติการ จัดท�ำโดยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนทุกหมู่บ้านที่ก�ำหนด ให้มีแผนที่ พัฒนาเด็กและเยาวชนให้เป็นนักรณรงค์ และเกิดการรณรงค์ในการท�ำกิจกรรมของเด็กและเยาวชน อย่างต่อเนื่องทุกปีในระยะเวลา ๑ ปี โดยการจัดตั้งในข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีเพื่อ น�ำมาใช้ในการจัดกิจกรรม โครงการในปีนั้นๆ ๖) คู่มือการด�ำเนินงาน มีการใช้คู่มือการด�ำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเช่น โครงการ รณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE ใช้ของกรมสุขภาพจิต กระทรวง สาธารณสุข ฯลฯ โดยมีหน่วยงานราชการมาหนุนเสริมในการท�ำงาน ประกอบด้วย ส�ำนักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดก�ำแพงเพชร องค์การบริหาร ส่วนต�ำบลมหาชัย ที่ทำ� การปกครองอ�ำเภอ จังหวัดก�ำแพงเพชร พัฒนาชุมชนอ�ำเภอ เกษตรอ�ำเภอ โรงพยาบาลไทรงาม โรงพยาบาลจังหวัดก�ำแพงเพชร มหาชัย รพ.สต.แก้วสุวรรณ การขับเคลื่อนการด�ำเนินงานของเด็กและเยาวชนมีกลไกและเครื่องมือในการด�ำเนินการ ประกอบด้วย โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE ใน ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญาสิริวฒ ั นาพรรณวดี องค์ประธานโครงการ ที่ทรงมีพระปณิธาน อยากให้เด็กและเยาวชนมีค่านิยม “เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด” และกิจกรรมของสภาเด็กและ เยาวชนต�ำบลมหาชัย
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
301
๙. ปัจจัยเงื่อนไข ๑) คนที่เป็นเงื่อนไขส�ำคัญ ที่ท�ำให้เกิดเป็นเยาวชนนักรณรงค์ ประกอบด้วย คณะกรรมการ ชมรม ผู้น�ำกลุ่มองค์กรในชุมชน ผู้น�ำชุมชน ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน คณะผู้บริหาร อบต.และสมาชิก สภาองค์การบริหารส่วนต�ำบล และประชาชนในชุมชนได้ เพราะมีแนวคิดที่จะพัฒนาศักยภาพให้แก่ เด็กและเยาวชนให้เป็นคนที่มีคุณภาพ เกิดจิตส�ำนึกในการรักบ้านเกิด ดูและบริหารจัดการชุมชน โดย ชุมชน ร่วมถ่ายทอด ความรู้เทคนิคประสบการณ์การท�ำงานให้แก่เด็กและเยาวชนได้มีแนวทางการ ท�ำงานได้อย่างถูกต้อง สืบทอดสานต่อ จัดการตนเองได้ภายใต้บริบททีเ่ กิดขึน้ ในชุมชน และเปิดโอกาส ให้เด็กและเยาวชนได้ท�ำงานภายใต้หลักการและแนวคิดแบบคนรุ่นใหม่ ๒) งาน - โครงการ รณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE - สภาเด็กและเยาวชนต�ำบลมหาชัย วิธีการด�ำเนินงาน - ประชุมคณะกรรมการ - จัดเวทีประชาคมค้นหาปัญหาร่วมกัน - ด�ำเนินการโดยความร่วมมือของทุกภาคส่วนในชุมชน - ติดตามและประเมินผล - รายงานส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง - จัดเวทีคืนข้อมูลสู่ชมุ ชน แนวทางการพัฒนา - มีการจัดท�ำแผน ปฏิบัติการ และด�ำเนินการตามแผนเป็นประจ�ำทุกปี ๓) ข้อมูล - ข้อมูลที่ได้ ได้มาจาก ข้อมูล TCNAP และ RECAP โดยมีการน�ำใช้ข้อมูลในส่วนที่เป็น จ�ำนวนคน และสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน แล้วน�ำข้อมูลที่ได้ มาใช้ในการก�ำหนดเป็นกลุ่ม เป้าหมายในการท�ำแผนงาน โครงการ กิจกรรม และเข้าไปจัดกิจกรรมให้เฉพาะกลุ่มเป้าหมาย ฯลฯ ทุกแผนงาน โครงการ กิจกรรม ๔) ทุน เงิน - การสนับสนุนของส�ำนักงานกองทุนสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) - ที่ท�ำการปกครองจังหวัด - ที่ท�ำการปกครองอ�ำเภอ - พัฒนาชุมชนจังหวัด
302
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
- ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด - องค์การบริหารส่วนต�ำบลมหาชัย - การสนับสนุนของส�ำนักงานกองทุนสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) - ที่ท�ำการปกครองจังหวัด - ที่ท�ำการปกครองอ�ำเภอ - พัฒนาชุมชนจังหวัด - ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด - ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านศรีวิไล - องค์การบริหารส่วนต�ำบลมหาชัย
๑๐. ความเชื่อมโยงต่อ ๗ คุณลักษณะการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่น ๑๐.๑ การสร้างการเรียนรู้ ในการด�ำเนินงานกิจกรรมทั้ง ๘ กิจกรรมที่กล่าวข้างต้น ส่งผลท�ำให้เกิดการสร้างการเรียนรู้ ด้านการบริหารจัดการ ทัง้ คน เงิน งบประมาณ และการจัดจัดการ เกิดการเรียนรูว้ า่ มีการจัดการแก้ไข ปัญหาทีด่ ที สี่ ดุ ในชุมชนคืออะไร ความส�ำเร็จเกิดจากอะไรใครบ้างทีต่ อ้ งเข้ามามีสว่ นร่วม แนวทางและ วิธกี ารขับเคลือ่ นต้องไปในทิศทางใด ตระหนักรูแ้ ละน�ำกลับไปปรับใช้ในชีวติ ประจ�ำวัน สิง่ ส�ำคัญเรียนรู้ ที่จะแก้ไขปัญหาร่วมกัน ๑๐.๒ การสร้างกลไกการจัดการตนเอง มีการสร้างกลไกในการจัดการตนเอง ในโครงการ รณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด กิจกรรม “เพื่อนช่วยเพื่อน” การให้ค�ำปรึกษากับเพื่อนในเรื่องของการติดยา ติดเน็ต ติดเกมส์ และ ท้องก่อนวัยอันควร กิจกรรมกู้ชพี กู้ภัยจิ๋ว บริหารจัดการตนเองในรูปของคณะกรรมการ คิด ริเริ่ม และ ด�ำเนินการด้วยเอง ฯลฯ ๑๐.๓ การสร้างคนให้จัดการตนเอง ส�ำหรับวิธีการการสร้างคนให้จัดการตนเองได้ เราใช้วิธีการให้องค์ความรู้ ให้วิธีการและ แนวทางในการท�ำงาน เป็นที่ปรึกษาตามแนวคิด เด็กน�ำ ผู้ใหญ่หนุน
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
303
๑๐.๔ การสร้างการมีส่วนร่วม ในการสร้างการมีส่วนร่วมวิธีการที่น�ำใช้ คือ ทุกคนทุกภาคส่วนในชุมชนต้องมีส่วนร่วมในทุก ระดับ ต้องรับรู้ปัญหาร่วมกันก่อน ร่วมหาวิธีการจัดการ ร่วมท�ำ ร่วมรับผิดชอบ และร่วมประเมินผล แล้วจัดเวทีการมีส่วนร่วมคืนข้อมูลสู่ชุมชน ๑๐.๕ การระดมทุนและทรัพยากร มีการระดมทุน เช่น การท�ำน�้ำสมุนไพรขาย เพื่อรณรงค์ให้คนในชุมชนหันมาดื่มน�้ำสมุนไพร เพื่อสุขภาพ การขายเสื้อชมรม ฯลฯ มีการสนับสนุนทุนและทรัพยากร จากหน่วยงาน องค์กรรัฐและ เอกชน ก�ำนัน ผู้ใหญ่ กลุ่ม ชุมชน เพื่อใช้ในการด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ของเด็กและเยาวชน
๑๐.๖ การมีข้อตกลง มีการจัดท�ำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ในระดับเครือข่ายจังหวัด
๑๐.๗ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กรภาครัฐและหน่วยงานอื่น ได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนราชการในจังหวัดก�ำแพงเพชร ว่าจะร่วมมือกันในการ ด�ำเนินงาน โครงการ รณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMER ONEและกิจกรรมของ เด็กและเยาวชนในจังหวัดก�ำแพงเพชร
๑๑. การตอบสนองต่อ ๓๑ ตัวชี้วัด (ด้านการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย หรือการ
พัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน)
๑) มีการจัดตัง้ สภาเด็กและเยาวชนต�ำบลมหาชัย และชมรม TO BE NUMBER ONE ในชุมชน ต�ำบลมหาชัย ตอบสนองต่อชุดกิจกรรมที่ ๑ ตัวชี้วัดที่ ๑ ๒) จัดกิจกรรมตามโครงการ รณรงค์ปอ้ งกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยมีเด็กและเยาวชน เป็นแกนน�ำในการท�ำงานตามแนวคิด เด็กท�ำผู้ใหญ่หนุน ตอบสนองต่อชุดกิจกรรมที่ ๑ ตัวชี้วัดที่ ๑ ๓) มีภาคีเครือข่ายและกลไกการขับเคลื่อนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เพิ่มสมรรถนะเด็กและ เยาวชน โดย อบต.มหาชัย ด�ำเนินการแต่งตั้งคณะผู้บริหารและพนักงานส่วนต�ำบล เป็นคณะท�ำงาน แต่งตัง้ ทีป่ รึกษาจากผูน้ �ำท้องที่ ผูน้ �ำท้องถิน่ นายอ�ำเภอและหัวหน้าส่วนราชการในระดับต�ำบล อ�ำเภอ และโรงเรียนในเขตพืน้ ทีต่ ำ� บลมหาชัย เพือ่ ให้การส่งเสริมและสนับสนุนและผลักดันการท�ำกิจกรรมดีดี ของเด็กและเยาวชนให้ด�ำเนินการท�ำกิจกรรมให้บรรลุตรงตามวัตถุประสงค์ ตอบสนองต่อชุดกิจกรรม ที่ ๑ ตัวชี้วัดที่ ๓
304
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๔) มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการขับเคลื่อนการเพิ่มสมรรถนะเด็กและเยาวชน คือ กิจกรรมประกวดร้องเพลง Star Contest และประกวดแดนซ์ Teen Dancercise ซึ่งเป็นกิจกรรมที่เด็ก และเยาวชนต้องการ เป็นการรณรงค์การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ตอบสนองต่อชุดกิจกรรมที่ ๑ ตัวชี้วัดที่ ๔ ๕) มีการจัดค่ายเพื่อสร้างการเรียนรู้ให้กบั เครือข่ายเด็กและยาวชน คือ ค่าย Hero Camp โดย มีแกนน�ำเด็กและเยาวชนชมรม TO BE NUMBER ONE จากพืน้ ทีใ่ นเครือข่ายต่างๆ เข้าร่วมท�ำกิจกรรม ที่หลากหลายตามความชอบ และความถนัดของตน ตอบสนองต่อชุดกิจกรรมที่ ๑ ตัวชี้วัดที่ ๕ ๖) มีการจัดตั้งครือข่ายเด็กและเยาวชนในระดับพื้นที่ ในการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด TO BE NUMBER ONE มีเครือข่าย ๑๒ หมู่บ้าน งานสภาเด็กและเยาวชนมีเครือข่าย ๑๒ หมู่บ้าน ตอบสนองต่อชุดกิจกรรมที่ ๑ ตัวชี้วัดที่ ๖ ๗) มีการจัดกิจกรรมให้เด็กและเยาวชนร่วมมีบทบาทในการพัฒนากิจกรรมในพื้นที่ ได้แก่ การจัดกิจกรรมแข่งขันกีฬาต้านภัยยาเสพติด เป็นการรณรงค์ให้เด็กและเยาวชนหันมาเล่นกีฬา ไม่ไป ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดเป็นประจ�ำทุกปี ตอบสนองต่อชุดกิจกรรมที่ ๑ ตัวชี้วัดที่ ๗ ๘) จัดฝึกอบรม พัฒนาศักยภาพแกนน�ำเด็กและเยาวชนให้มีภาวะผู้นำ� และมีบทบาทในการ พัฒนากิจกรรมในพื้นที่ โดยจัดกิจกรรมอบรมแกนน�ำเยาวชนในการให้ค�ำปรึกษา แนะน�ำช่วยเหลือ เพื่อน ตอบสนองต่อชุดกิจกรรมที่ ๑ ตัวชี้วัดที่ ๘ ๙) จัดโครงการ กิจกรรม ที่สร้างให้เกิดการเรียนรู้และเพิ่มทักษะชีวติ ความสนใจให้เด็กและ เยาวชน กู้ชีพกู้ภัยจิ๋ว อาสายุวกาด ประกวดมายากล ประกวดร้องเพลง ประกวดเต้น ซึ่งเกิดจาก ความต้องการความถนัดและชอบของเด็กและเยาวชน ตอบสนองต่อชุดกิจกรรมที่ ๑ ตัวชี้วัดที่ ๖ ๑๐) จัดโครงการให้เด็กและเยาวชนได้มีบทบาทในการร่วมพัฒนากิจกรรมในพื้นที่ ได้แก่ โครงการแข่งขันเรือราวประเพณีประจ�ำปี ตอบสนองต่อชุดกิจกรรมที่ ๑ ตัวชี้วัดที่ ๗ ๑๑) จัดฝึกอบรมพัฒนาศักยภาพแกนน�ำเด็กและเยาวชนให้มีภาวะผู้น�ำและมีบทบาทในการ พัฒนา ในการด�ำเนินกิจกรรมอบรมแกนน�ำเยาวชนในต�ำบลให้มคี วามเป็นผู้น�ำ เป็นคนเก่ง คนดี ใน การพัฒนาชุมชน ตอบสนองต่อชุดกิจกรรมที่ ๑ ตัวชี้วัดที่ ๘ ๑๒) จัดท�ำโครงการ/กิจกรรมทีส่ ร้างให้เกิดการเรียนรูแ้ ละเพิม่ ทักษะชีวติ ฝึกอบรม กีฬา ศิลปะ ตามความสนใจ และความถนัดของเยาวชน โดยจัดกิจกรรมการวาดภาพ ระบายสี ให้เด็กและเยาวชน ได้เรียนรูแ้ ละเพิม่ ทักษะในงานศิลปะของตน และจัดกิจกรรมแข่งขันกีฬาต�ำบล เพือ่ ให้เด็กและเยาวชน ได้เรียนรู้และเพิ่มทักษะการกีฬา ตอบสนองต่อชุดกิจกรรมที่ ๑ ตัวชี้วัดที่ ๙
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
305
๑๓) จัดโครงการให้เด็กและเยาวชนได้มีบทบาทในการร่วมพัฒนากิจกรรมในพื้นที่ โดยจัด กิจกรรมการแข่งขันเรือยาวเป็นประจ�ำทุกปี ซึง่ มีเยาวชนเข้าร่วมแข่งขันก่อให้เกิดการร่วมพัฒนากิจกรรม ที่พื้นที่จดั ตอบสนองต่อชุดกิจกรรมที่ ๑ ตัวชี้วดั ที่ ๑๑ ๑๔) สร้างนวัตกรรมที่ให้เกิดการเรียนรู้และเพิ่มทักษะชีวิตที่ดำ� เนินการโดยเครือข่ายเด็กและ เยาวชนในพื้นที่ คือ นวัตกรรมกู้ชีพกู้ภัยจิ๋ว เป็นนวัตกรรมที่ให้เด็กและเยาวชนในต�ำบลรวมตัวกันเพื่อ ร่วมเรียนรู้และเพิ่มทักษะชีวิต ในการช่วยเหลือผู้ประภัยจากอุบัติเหตุและสาธารณภัยต่างๆ มีการ ฝึกปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบภัยเบื้องต้น ฝึกโดย อปพร. ต�ำบล ตอบสนองต่อชุดกิจกรรมที่ ๑ ตัว ชี้วัดที่ ๑๒ ๑๕) จัดท�ำนโยบายส่งเสริม สนับสนุนให้เด็กและเยาวชนมีการประกอบอาชีพตามบริบทพืน้ ที่ ที่เหมาะสมกับวัย เพศ และพัฒนาการของเด็กและเยาวชน โดยสถานศึกษาในเขตต�ำบล รร.บ้านทุ่ง มหาศาล ได้มีการจัดนโยบายส่งเสริม สนับสนุนให้เด็กนักเรียน ประกอบอาชีพเกษตรกร ฝีกปฏิบัติให้ นักเรียนได้เรียนรู้ การท�ำอาชีพต่างๆ โดยการลงมือท�ำด้วยตนเอง ได้แก่ การปลูกพืชผักสวนครัว การเลี้ยงกบ เลี้ยงปลา เพาะเห็ด และปลูกข้าวเกษตรอินทรีย์ มีการเก็บเกี่ยวข้าวโดยใช้เคียวเกี่ยวข้าว ด�ำนา ซึง่ เป็นอาชีพหลักของคนไทย โดยน้อมน�ำหลักการด�ำเนินชีวติ ด้วยหลักปรัญชาเศรษฐกิจพอเพียง โดยตอบสนองต่อชุดกิจกรรมที่ ๑ ตัวชี้วัดที่ ๑๓ ๑๖) สร้างนวัตกรรมที่ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนเกิดการออม โดยกลุ่มออมนับทรัพย์เพิ่ม ของโรงเรียนบ้านทุ่งมหาชัย ได้มีการเด็กนักเรียนออมเงินกับโรงเรียน เพื่อเป็นการฝึกออมเงิน ตอบสนองต่อชุดกิจกรรมที่ ๑ ตัวชี้วัดที่ ๑๗ ๑๗) จัดโครงการกิจกรรม ฝึกอบรมเพิ่มทักษะการสร้างเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสมให้กับเด็ก และเยาวชน โดยจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรม จริยธรรม เป็นประจ�ำทุกปี อีกทัง้ สถานศึกษาในเขตต�ำบล ยังสร้างเสริมให้เด็กนักเรียนแต่งกายชุดขาวในทุกวันศุกร์และวันพระ พร้อมทั้งไปร่วมท�ำกิจกรรมทาง ศาสนาที่วัดในวันส�ำคัญทางศาสนา ตอบสนองต่อชุดกิจกรรมที่ ๑ ตัวชี้วัดที่ ๑๙ ๑๘) จัดตั้งกองทุนหรือสวัสดิการชุมชนที่สนับสนุนการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ของเด็กและ เยาวชน โดยมีกองทุนเงินสวัสดิการประชาชนต�ำบลมหาชัย เป็นกองทุนไว้จัดสวัสดิการ จัดกิจกรรม สร้างสรรค์ให้กบั เด็กและเยาวชน ตอบสนองต่อชุดกิจกรรมที่ ๑ ตัวชี้วัดที่ ๒๒ ๑๙) รณรงค์และขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านการพัฒนาสุขภาวะเด็กและเยาวชน ที่นำ� สู่การปฏิบัติในพื้นที่ อย่างน้อย ๓ นโยบาย ประกอบด้วย ๑. นโยบายรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด ๒. นโยบายรณรงค์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามวิถีธรรมวิถีไทย โดยยึดหลัก ๓ อ. ๒ ส. ๑ น. (อาหาร ออกก�ำลังกาย อารมณ์ งดสูบบุหรี่ งดดืม่ สุรา และนอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ) ๓. นโยบาย รณรงค์การป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ตอบสนองต่อชุดกิจกรรมที่ ๑ ตัวชี้วัดที่ ๒๓
306
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๒๐) จัดตัง้ กองทุนและสวัสดิการชุมชนขยายครอบคลุมกิจกรรมสร้างสรรค์ของเด็กและเยาวชน โดยมีการจัดตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี เพื่อพัฒนาทักษะชีวิตของสตรี ตอบสนองต่อชุดกิจกรรมที่ ๑ ตัวชี้วดั ที่ ๒๔ ๒๑) มีการด�ำเนินการทบทวนข้อมูลวิจัยชุมชน (RECAP) และข้อมูลพื้นฐานต�ำบล (TCNAP) สังเคราะห์ข้อมูลทุนและศักยภาพต�ำบล เพื่อน�ำไปใช้ในงานพัฒนาสุขภาวะเด็กและเยาวชน โดยใช้วิธี การแก้ไขปัญหาโดยการณรงค์ และมีการทบทวนทุกรอบปี ตอบสนองต่อชุดกิจกรรมที่ ๑ ตัวชีว้ ดั ที่ ๒๗ ๒๒) สร้างช่องทางในการสือ่ สารและประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลการด�ำเนินงานด้านเด็กและเยาวชน ได้แก่ www.mahachai.com www.tobemahachai.com เพจทูบีนัมเบอร์วันมหาชัย หอกระจายข่าว ตอบสนองต่อชุดกิจกรรมที่ ๑ ตัวชี้วัดที่ ๒๘ ๒๓) จัดท�ำกฎ กติกาชุมชน ว่าด้วยการเฝ้าระวังปัญหาและปกป้องสิทธิของเด็กและเยาวชน เช่น การทะเลาะวิวาท ยาเสพติด ฯลฯ โดยศูนย์ยุติธรรมชุมชนต�ำบล ตอบสนองต่อชุดกิจกรรมที่ ๑ ตัวชี้วัดที่ ๓๐
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
307
308
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ภาพที่ ๕๓ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้าน ระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชน องค์การบริหารส่วนต�ำบลมหาชัย อ�ำเภอไทรงาม จังหวัดก�ำแพงเพชร
ภาพที่ ๕๔ ระบบการส่งเสริมการเรียนรูเ้ ด็กและเยาวชน องค์การบริหารส่วนต�ำบลมหาชัย อ�ำเภอไทรงาม จังหวัด ก�ำแพงเพชร
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
309
ภาพที่ ๕๕ การพัฒนาเยาวชนนักรณรงค์ องค์การบริหารส่วนต�ำบลมหาชัย อ�ำเภอไทรงาม จังหวัดก�ำแพงเพชร การสร้างวินัยการออม
310
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
การสร้างวินัยการออม
องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียน อ�ำเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวล�ำภู
๑. ที่มาหรือฐานคิดของการด�ำเนินกิจกรรม ต�ำบลกุดสะเทียน อ�ำเภอศรีบญ ุ เรือง จังหวัดหนองบัวล�ำภู มีจำ� นวนหมูบ่ า้ นทัง้ หมด ๘ หมูบ่ า้ น มีจ�ำนวนครัวเรือนทั้งหมด ๑,๒๙๙ ครัวเรือน มีจ�ำนวนประชากรทั้งสิ้น ๕,๑๐๙ คน โดยแบ่งเป็น เด็กและเยาวชน ทั้งสิ้น ๑,๕๙๑ คน ชาย ๘๕๙ คน หญิง ๗๓๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๑.๑๔ และ มีโรงเรียนในพื้นที่ต�ำบลกุดสะเทียน จ�ำนวน ๗ แห่ง โดยเปิดสอนในระดับประถมศึกษา ๖ แห่ง และ ระดับมัธยมศึกษา ๑ แห่ง จากสถานการณ์ในพื้นที่ด้านการพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชน ส่งเสริม การมีส่วนร่วมและพัฒนาทักษะของเด็กและเยาวชนในต�ำบลกุดสะเทียน โดยเน้นการสร้างกลไกลการ ฝึกทักษะเด็กและเยาวชนให้มสี ว่ นร่วม เปิดโอกาสให้เด็กและเยาวชนได้เข้ามาวางแผน วางรูปแบบของ กิจกรรม ทีเ่ ด็กและเยาวชนสามารถพัฒนาทักษะของตัวเองและกลุม่ ได้ เน้นการสร้างจิตส�ำนึก “เด็กน�ำ ผู้ใหญ่หนุน” โดยออกแบบปฏิบัติการเครื่องมือในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดกิจกรรมในพื้นที่ อย่างต่อเนื่อง ในปี พ.ศ.๒๕๔๓ เด็กและเยาวชนในต�ำบลกุดสะเทียนได้เกิดแนวความคิดที่จะร่วมกันท�ำ กิจกรรมทีส่ ร้างสรรค์และเกิดประโยชน์ตอ่ ตนเองและครอบครัว จึงร่วมกันก่อตัง้ “กลุม่ ออมทรัพย์เยาวชน คนดีใหม่ศรีทอง” ขึน้ โดยเป็นเพียงกลุม่ ออมทรัพย์เล็กๆ จากแนวความคิดของเด็กและเยาวชนในระยะ แรก มีการจัดตั้งกลุ่มขึ้นที่วัดใหม่ศรีมงคล โดยมีท่านพระครูสิรินวการเป็นที่ปรึกษา จนถึงปัจจุบัน ระบบการออมของเด็กและเยาวชนในต�ำบลกุดสะเทียน ประสบความส�ำเร็จในการด�ำเนินงาน และกิจกรรมของกลุ่มออมทรัพย์เยาวชนคนดีใหม่ศรีทอง และขยายผลไปสู่คนในชุมชนทั้ง ๘ หมู่บ้าน ซึง่ ถือว่าเป็นกิจกรรมทีโ่ ดดเด่นของต�ำบลกุดสะเทียน องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียน ได้ทำ� บันทึก
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
311
ความร่วมมือกับส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ภายใต้ “โครงการสานพลัง เยาวชนคนดี วิถีชุมชนท้องถิ่น” ในปี พ.ศ.๒๕๕๘
๒. งานและกิจกรรม ๒.๑ ภาพรวมระบบการดูแลเด็กและเยาวชนของต�ำบล องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียน มีงานและกิจกรรมของทุนทางสังคมทั้ง ๖ ระดับ เพื่อ ส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนประกอบด้วย ๑. การจัดสวัสดิการและการออม ถือเป็นระบบหลักที่ใช้ในการดูแลเด็กและเยาวชนใน ต�ำบลกุดสะเทียน การส่งเสริมการออมเป็นการให้เด็กและเยาวชนเข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ ต่างๆ ในต�ำบลกุดสะเทียน เช่น กลุ่มออมทรัพย์เยาวชนคนดีใหม่ศรีทอง โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้เด็ก และเยาวชนรู้คุณค่าของเงินและเพื่อให้เด็กและเยาวชนมีโอกาสใช้เงินที่ได้จากการออมไปเป็นทุนการ ศึกษาให้ตนเองได้ในอนาคตอีกทัง้ กองทุนการออมยังมีการจัดสวัสดิการเพือ่ ช่วยเหลือสมาชิกกรณีเจ็บ ป่วย มีการปันผลให้เด็กและเยาวชนที่เป็นสมาชิก ในการบริหารจัดการกลุ่มนั้น เด็กและเยาวชนเป็นผู้ บริหารจัดการกลุม่ กันเอง โดยมีทา่ นพระครูสริ นิ วการ เป็นทีป่ รึกษาคอยให้ค�ำแนะน�ำ ร่วมคิด ร่วมออม นอกจากนีต้ ำ� บลกุดสะเทียนยังมีการส่งเสริมการออมจากแหล่งอืน่ ๆ เช่น กองทุนหมูบ่ า้ น ธนาคารความ ดี กองทุนสวัสดิการชุมชน กลุ่มฉางข้าวชุมชน กลุ่มฌาปนกิจชุมชน กลุ่มสร้างชีวิตใหม่ให้สตรีและ ครอบครัว โครงการออมเงิน ศพด. เป็นต้น ๒. การเพิ่มทักษะและสร้างการเรียนรู้ องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียน มุ่งเน้น การสร้างการเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพ กาย ใจ สังคม และสติปัญญาของเด็กและเยาวชนผ่านการ ออกแบบเครือ่ งมือทีเ่ ป็นกลไกในการขับเคลือ่ นให้เกิดกิจกรรม เช่น ต�ำบลกุดสะเทียน มีศนู ย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน วัดใหม่ศรีมงคล ซึ่งใช้เป็นศูนย์การเรียนรู้เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารต่างๆ สืบค้น ค้นหา ข้อมูล ต่างๆ มีกลุ่มค่ายมวย ว.มณีวรรณ ที่เปิดโอกาสให้เด็กและเยาวชนในต�ำบลได้เข้ามาเรียนรู้ถึง ศิลปะแม่ไม้มวยไทย กลุ่มใบตอง ห่อรัก เป็นการฝึกทักษะการท�ำพานบายศรี และงานใบตอง ซึ่งเป็น กิจกรรมที่เกิดขึ้นในโรงเรียนกุดสะเทียนวิทยาคาร กลุ่มจักรสานและกลุ่มทอเสื่อกก เปิดโอกาสให้ ทุกคนในชุมชนเข้ามาเรียนรู้ฝึกทักษะ ซึ่งกลุ่มกิจกรรมต่างๆ เหล่านี้ เป็นการเพิ่มทักษะการเรียนรู้ องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียนได้สนับสนุนงบประมาณเพือ่ รองรับการจัดกิจกรรมต่างๆ ของเด็ก และเยาวชนในต�ำบลกุดสะเทียน ๓. การพัฒนาจิตอาสา ด้วยความเชือ่ ทีว่ า่ งานจิตอาสาเป็นอีกช่องทางหนึง่ ในการพัฒนา ยกระดับจิตใจให้เยาวชนคนรุ่นใหม่ให้มีจิตใจที่เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีความเมตตา มีความเสียสละ มี
312
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
จิตสาธารณะ การท�ำกิจกรรมเพือ่ สังคมมากขึน้ งานจิตอาสาเป็นสิง่ ทีใ่ ห้เยาวชนได้หนั มาท�ำความเข้าใจ ในตนเองและสังคมเพิ่มมากขึ้น การพัฒนางานด้านจิตอาสา ของต�ำบลกุดสะเทียน จึงถูกริเริ่มจาก ท่านพระครูสริ นิ วการ เจ้าอาวาสวัดใหม่ศรีมงคล ได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของพัฒนาจิตอาสา ในกลุม่ เด็กและเยาวชน จึงได้มแี นวคิดริเริ่มก่อตั้งกลุ่ม “เยาวชนจิตอาสา เทวดาของสังคม” ขึ้นโดยต่อยอด จากกลุ่มออมทรัพย์เยาวชนคนดีใหม่ศรีทอง โดยการขับเคลื่อนงานและกิจกรรมต่างๆ ของเด็กและ เยาวชนในกลุ่มออมทรัพย์ฯ ซึ่งเป็นก�ำลังส�ำคัญในการขับเคลื่อนกิจกรรมต่างๆ นอกจากกลุ่มเยาวชนจิตอาสาเทวดาของสังคม แล้วต�ำบลกุดสะเทียนยังมีกลุ่มต่างๆอีก มากมายที่ท�ำงานด้านจิตอาสา ช่วยเหลือสังคม และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในชุมชน เช่น กลุ่มธนาคารความดี กลุ่มหอบรักมาห่มป่า กลุ่มวัยใสสร้างสุข กลุ่ม อสม. กลุ่มพี่สอนน้อง กลุ่มอาสา สมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) กลุ่มอาสาสมัครวินัยจราจร เป็นต้น ๔. การส่งเสริมอาชีพ องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียน มีการพัฒนาด้านคุณภาพ ชีวิตของคนในชุมชนรวมถึงเด็กและเยาวชนในต�ำบลกุดสะเทียน โดยสนับสนุนงบประมาณเพื่อเป็น การพัฒนากลุ่มอาชีพต่างๆ ได้แก่ กลุ่มแพทย์แผนไทย กลุ่มอาชีพสร้างชีวิตใหม่ให้สตรีและครอบครัว กลุ่มแปรรูปไส้กรอกอีสาน กลุ่มทอเสื่อกก กลุ่มจักสาน กลุ่มทอผ้าห่ม กลุ่มผ้าหมี่ขิด กลุ่มยางพารา กลุ่มสตรีแม่บ้าน ฯลฯ ซึง่ กลุ่มต่างๆ ได้มกี ารส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กและเยาวชนภายในต�ำบลกุด สะเทียนได้มสี ่วนร่วมในการเข้ามาเรียนรู้การด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ของกลุ่มอาชีพ นอกจากนั้น องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียนยังมีการส่งเสริมกลุ่มอาชีพในเด็กและ เยาวชน โดยมีการสอน การฝึกและให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้จากปราชญ์ชาวบ้าน หรือกลุ่มอาชีพ ต่างๆ ในชุมชน เช่น กลุ่มย่านข้าวหนม เป็นการฝึกอาชีพให้เด็กนักเรียนในการฝึกท�ำขนมไทย กลุ่ม สมุนไพรสร้างสุข เป็นการฝึกให้เด็กนักเรียนได้เรียนรูแ้ ละทดลองการน�ำสมุนไพรในชุมชนมาใช้ประโยชน์ ได้แก่ การท�ำสเปย์สมุนไพรไล่ยงุ จากตะไคร้หอม และกลุม่ ใบตองห่อรัก เป็นการสอนให้เด็กและเยาวชน รู้จักการท�ำพานบายศรีสู่ขวัญ ซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น ๕. การสร้างการมีส่วนร่วม องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียน มีการประเมิน สถานการณ์การสร้างการมีส่วนร่วมในการท�ำงานในทุกๆ ด้านของเด็กและเยาวชนที่มีต่อชุมชน โดย องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียน ที่เป็นสื่อกลางในการประสานเชื่อมต่อการมีส่วนร่วมกับการ ท�ำงานดังกล่าว ระหว่างเด็กกับชุมชน หรือกับหน่วยงานต่างๆ ทัง้ ภาครัฐและเอกชน หรือแม้แต่กระทัง่ กลุม่ องค์กรทีม่ ใี นต�ำบล เช่น กลุม่ เติมฝันปัน้ ดาว กลุม่ อปพร. กลุม่ พัฒนาบทบาทสตรี กลุม่ อาสาสมัคร ดูและผู้สูงอายุ ๖. การดูแลและส่งเสริมสุขภาพ องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียน มีการจัดกิจกรรม ทีส่ ง่ เสริมในด้านสุขภาพอนามัยโดยร่วมกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลกุดสะเทียนเป็นหลัก และ
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
313
ยังมีกองทุนหลักประกันสุขภาพทีอ่ ยูภ่ ายใต้การก�ำกับดูแลขององค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียน อีก ทั้งยังมีบริการการแพทย์ฉุกเฉินให้กับประชาชนในต�ำบลกุดสะเทียน อีกด้านของการท�ำงานยังมีกลุ่ม อาสาสมัครที่คอยให้ความช่วยเหลือดูแลด้านสุขภาพ เช่น กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน กลุ่มอาสาสมัครการดูแลผู้สูงอายุ รวมทั้งยังมีกลุ่มธนาคารความดี ซึ่งเกิดจากการรวมตัวกันของเด็ก และเยาวชนในชุมชน ที่มีจิตอาสาอยากช่วยเหลือสังคม จึงถือได้ว่าองค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะ เทียน มีภาคีเครือข่ายที่ช่วยดูแลเรื่องสุขภาพอนามัยของคนในชุมชนได้อย่างแท้จริง ๒.๒ ประเด็นเด่นของระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียน มีระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนใน ต�ำบล กุดสะเทียน ที่โดดเด่น คือ “การส่งเสริมการออม” โดยมีกระบวนการท�ำงาน ได้แก่ มีการจัดตั้ง กลุ่มออมทรัพย์เยาวชนคนดีใหม่ศรีทอง การส่งเสริมการออมในโรงเรียน โดยเด็กและเยาวชน เป็น ผู้บริหารเงินออมด้วยตัวเอง มีการสนับสนุนให้ผ้ใู หญ่ในพืน้ ทีเ่ ข้ารวมกลุ่มออมทรัพย์ โดยการสมัครเข้า เป็นสมาชิก โดยสนับสนุนให้สมาชิกสามารถยืมเงินกองทุนไปส่งเสริมการประกอบอาชีพเพื่อสร้าง รายได้ให้กบั ตนเองและครอบครัว รวมทัง้ ยังมีการปันผลให้กบั สมาชิกเป็นรายปี นอกจากนีภ้ ายในต�ำบล กุดสะเทียน ยังมีกลุ่มออมต่างๆ อีกหลายกลุ่มกองทุน เช่น กลุ่มธนาคารความดี กลุ่มออมทรัพย์เพื่อ การผลิต กลุม่ ฉางข้าวชุมชน กลุม่ ออมทรัพย์เยาวชนคนดีใหม่ศรีทอง ปัจจุบนั มีเงินจ�ำนวน ๒,๔๕๗,๔๘๑ บาท จ�ำนวนหุ้น ๑๒๒,๘๗๑ หุ้น สมาชิกกลุ่มจ�ำนวน ๒๗๔ คน กรรมการ ๗ คน ซึ่งกรรมการทุกคน เป็นเด็กและเยาวชนในต�ำบลกุดสะเทียน ปัจจุบันมี นายสมปอง สายพันธ์ เป็นประธาน
๓. ทุนทางสังคม ในการด�ำเนินการเพื่อการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ต�ำบลกุดสะเทียนมีทุนทาง สังคมที่ดำ� เนินการหลัก ประกอบด้วย ๓.๑ ทุนทางสังคมระดับบุคคลและครอบครัว มีทุนทางสังคมระดับบุคคลและครอบครัว ๑๐ คน มีนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียน เป็นนักบริหารจัดการโดยมุ่งเน้นการบริหารแบบมีส่วนร่วมโดยใช้หลักธรรมาภิบาลในการ ปกครองชุมชน ภายใต้วสิ ัยทัศน์ท่วี ่า “ภายในปี พ.ศ.๒๕๖๐ ประชาชนในต�ำบลกุดสะเทียนจะต้องได้ รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีที่สุด” มีเจ้าอาวาสวัดใหม่ศรีมงคล เป็นประธานกองทุนสวัสดิการ ชุมชนเป็นแกนน�ำและเป็นทีป่ รึกษาด้านการออมเงิน มีผใู้ หญ่บา้ นเป็นผูน้ �ำชุมชน ทีค่ อยขับเคลือ่ นและ
314
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ประสานงานกับองค์กรต่างๆ ในชุมชน มีผ้อู �ำนวยการโรงเรียนบ้านโนนเสถียร ทีเ่ ป็นนักพัฒนาเน้นการ พัฒนาเด็กและเยาวชนในด้านการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีครูโรงเรียนกุดสะเทียนวิทยาคาร เป็นวิทยากรและเป็นที่ปรึกษาให้กับแหล่งเรียนรู้ใบตองห่อรัก เนื่องจากเป็นบุคคลที่มีความเชี่ยวชาญ ในเรือ่ งการท�ำพานบายศรีส่ขู วัญ แหล่งเรียนรู้ธนาคารความดี และแหล่งเรียนรู้เยาวชนจิตอาสาเทวดา ของสังคม ก็เป็นอีกหนึ่งแหล่งเรียนรู้ที่ที่มีที่ปรึกษาเป็นครูโรงเรียนกุดสะเทียนวิทยาคาร ประธาน สภาองค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียนเป็นผู้ที่มีบทบาทด้านการพัฒนากองทุนหมู่บ้าน มีความ เชีย่ วชาญในการจัดระบบกองทุนหมุนเวียนในชุมชน สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดหนองบัวล�ำภู อีกบทบาทหนึ่งในชุมชนเป็นประธานกลุ่มสร้างชีวิตใหม่ให้สตรีและครอบครัว ซึ่งเป็นการรวมตัวของ กลุ่มแม่บ้านในรูปแบบของการออมหุ้น เพื่อร่วมกันท�ำกิจกรรมส่งเสริมการประกอบอาชีพและการ สร้างรายได้ให้แก่ครอบครัว ในด้านการสืบสานศิลปวัฒนธรรมไทย ต�ำบลกุดสะเทียน มีครูโรงเรียน บ้านนาทม ที่มีความเชี่ยวชาญในด้านศิลปะแม่ไม้มวยไทย และมีใจรักที่จะสืบสานศิลปะดั้งเดิมและ ถ่ายทอดให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่ได้ เรียนรู้ ที่สำ� คัญต�ำบลกุดสะเทียน ยังมีกลุ่มออมทรัพย์เยาวชน คนดีใหม่ศรีทอง เป็นการรวมกลุ่มกันเพื่อการออมเงินโดย “เยาวชน เพื่อเยาวชน” ๓.๒ ทุนทางสังคมระดับกลุม่ องค์กรชุมชน มีทนุ ระดับกลุม่ องค์กรชุมชนทัง้ สิน้ ๒ กลุม่ ดังนี้ ๑) กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ส่งเสริมระบบการจัดการทุนของชุมชนและการเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของชุมชน ด้วยวิธกี ารส่งเสริมกระบวนการเรียนรูก้ ารมีสว่ นร่วมของประชาชนเพือ่ ให้ชมุ ชน มีศกั ยภาพในการบริหารจัดการสามารถพึง่ ตนเองได้โดยในส่วนของการส่งเสริมและพัฒนาทุน กรมการ พัฒนาชุมชนมุง่ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนในชนบท รวมตัวกันระดมเงินออมเพือ่ จัดตัง้ กองทุน ของชุมชนในรูป”กลุม่ ออมทรัพย์เพือ่ การผลิต”เพือ่ ช่วยเหลือซึง่ กันและกันในด้านเงินทุนประกอบอาชีพ หรือใช้จ่ายยามเดือดร้อนจ�ำเป็นโดยการบริหารจัดการของสมาชิกและช่วยเหลือแบ่งปันกันในชุมชน ๒) กลุม่ ฉางข้าวชุมชน เป็นการรวมกลุม่ ของคนในชุมชนในระบบของการรับฝากข้าวเปลือก ไว้ที่ฉางข้าวชุมชน โดยให้สมาชิกกลุ่มสามารถยืมข้าวเปลือกเพื่อไปใช้ในการเพาะปลูกและบริโภคได้ เมื่อครบก�ำหนดส่งคืนจะต้องส่งคืนพร้อมดอกเบี้ยเป็นข้าวเปลือกตามที่ก�ำหนดไว้ในเงื่อนไขของกลุ่ม ทุนระดับกลุ่มดังกล่าวส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนเข้ามามีส่วนร่วมในการเรียนรู้กระบวนการด�ำเนิน กิจกรรมต่างๆ ของกลุ่ม เพื่อให้เด็กและเยาวชนเกิดทักษะกระบวนการการมีส่วนร่วม ๓.๓ ทุนทางสังคมระดับหน่วยงาน/แหล่งประโยชน์ มีทนุ ระดับหน่วยงาน/แหล่งประโยชน์ ทั้งสิ้น ๑๕ แห่ง ดังนี้ ๑) องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียน ๒) วัดใหม่ศรีมงคล ๓) โรงเรียนระดับ มัธยมศึกษา จ�ำนวน ๑ แห่ง ๔) โรงเรียนระดับประถมศึกษา จ�ำนวน ๖ แห่ง ๕) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ต�ำบลกุดสะเทียน จ�ำนวน ๔ แห่ง ๖) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยต�ำบล
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
315
กุดสะเทียน ๑ แห่ง ๗) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจ�ำต�ำบลกุดสะเทียน จ�ำนวน ๑ แห่ง ทุนระดับ หน่วยงานและแหล่งประโยชน์ดังกล่าวมีการท�ำงานและกิจกรรมต่างๆ ในการหนุนเสริมให้เด็กและ เยาวชนในต�ำบลกุดสะเทียน ได้เกิดการเรียนรู้ ร่วมคิด ร่วมท�ำ ร่วมแก้ไขปัญหา ให้คำ� แนะน�ำและให้ ค�ำปรึกษาแก่เด็กและเยาวชน ๓.๔ ทุนทางสังคมระดับหมู่บ้าน/หมู่บ้านจัดการตนเอง มีทุนทางสังคมระดับหมู่บ้าน/ หมู่บ้านจัดการตนเอง ทั้งสิ้น ๓ กลุ่ม ดังนี้ ๑) กองทุนหมู่บ้าน กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองเป็นศูนย์กลาง และโครงข่ายการ เรียนรู้ เงินทุน สวัสดิภาพ สวัสดิการ และการแก้ไขปัญหาของหมู่บ้านและชุมชน พึ่งพาตนเอง อย่าง ยั่งยืน ๒) กองทุนหมุนเวียนยืมเรียนบ้านใหม่ศรีทอง เป็นกลุม่ ทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ เพือ่ ให้นกั เรียนในต�ำบล กุดสะเทียนได้ยืมเรียน โดยการคิดดอกเบี้ยร้อยละ ๑ บาท และให้เฉพาะนักเรียนเท่านั้นที่สามารถ ท�ำการยืมได้ ๓) ธนาคารหมู่บ้านใหม่ศรีทอง ส่งเสริมการออม ด้วยวิธีการฝาก – ถอนเงิน ในรูปแบบ (ฝากออมทรัพย์ – ฝากประจ�ำ) เป็นการบริหารจัดการกลุ่มโดยชุมชน ได้ร่วมกันออกกฎ กติกา ในการ บริหารจัดการกลุ่มต่างๆ สร้างการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชน ได้เข้ามาเรียนรู้การด�ำเนินกิจกรรม ของกลุ่ม ๓.๕ ทุนทางสังคมระดับต�ำบล มีทุนทางสังคมระดับต�ำบลทั้งสิ้น ๕ กลุ่ม ดังนี้ ๑) โครงการออมเงิน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลกุดสะเทียน เป็นโครงการที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ เด็กในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กภายในต�ำบล ได้เรียนรู้ถึงวินัยของการออมเงิน ๒) กองทุนสวัสดิการชุมชนต�ำบลกุดสะเทียน การขับเคลื่อนงานกองทุนสวัสดิการชุมชน ต�ำบลกุดสะเทียนนัน้ ทุกคนทีส่ มัครเข้าร่วมเป็นสมาชิกเป็นเจ้าของโดยการจ่ายเงินสมทบบุญกันคนละ ๑ บาทต่อวัน ๓) กลุ่มออมทรัพย์เยาวชนคนดีใหม่ศรีทอง เป็นการรวมกลุ่มกันของเด็กและเยาวชนใน ชุมชน เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนรู้จักการออม และเรียนรู้การบริหารจัดการกลุ่ม ๔) กองทุนสร้างชีวิตใหม่ให้สตรีและครอบครัว เป็นการรวมกลุ่มของสตรีในชุมชนเพื่อ ประกอบอาชีพเสริม โดยได้รับการสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียนร่วมกับพัฒนา สังคมที่ ๖๙ ๕) ธนาคารความดี เป็นการรวมกลุม่ ของเด็กและเยาวชนทีม่ จี ติ อาสาร่วมกันท�ำกิจกรรม เพือ่ กระตุน้ ให้เด็กและเยาวชนในชุมชนมีแรงผลักดันในการท�ำความดี กลุม่ ทุนทางสังคมระดับต�ำบล มีการ
316
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
บริหารจัดการกลุ่มโดยการให้เด็กและเยาวชนเข้ามามีส่วนร่วม บทบาทหน้าที่ ในการด�ำเนินงานและ กิจกรรมต่างๆ ของกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็น กลุ่มธนาคารความดี ซึ่งต�ำบลกุดสะเทียนไม่ได้เน้นในด้านของ การออมเงินเท่านั้น แต่ยงั ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้ท�ำความดี มีจิตสาธารณะ
๔. วัตถุประสงค์ ๑) เพื่อให้กลุ่มเด็กและเยาวชนมีการออม ๒) เพื่อให้กลุ่มออมทรัพย์เยาวชนคนดีใหม่ศรีทอง มีความมั่นคง ยั่งยืน ก้าวหน้า ๓) เพือ่ ให้สมาชิกทุกคนในกลุม่ เยาวชนคนดีใหม่ศรีทอง ได้รว่ มกันสร้างความเข้มแข็งของกลุม่ ๔) เพือ่ สงเคราะห์สมาชิกกลุม่ ออมทรัพย์เยาวชนคนดีใหม่ศรีทอง เมือ่ คราวจ�ำเป็นและมีความ เดือดร้อน ๕) เพื่อสร้างความสมัครสมานสามัคคีในหมู่คณะ สร้างการเป็นส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม ๖) เพือ่ ให้เด็กและเยาวชนในต�ำบลกุดสะเทียน ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ห่างไกลยาเสพติด
๕. วิธีการท�ำงาน องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียนมีการด�ำเนินงานและกิจกรรมต่างๆ ร่วมกับกลุ่มองค์กร ภายในต�ำ บลกุด สะเทีย น ที่มุ่ ง เน้ น ในการสร้ า งกลไกการเรีย นรู้ ให้ กับเด็ก และเยาวชนในต�ำบล กุดสะเทียน ไม่ว่าจะเป็นส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนเกิดวินยั การออม การมีจติ อาสา และจิตสาธารณะ ซึ่งการด�ำเนินการกิจกรรมดังกล่าว มีการด�ำเนินงาน ดังนี้ ๑) มีการประชุมระดับกลุ่มของเด็กและเยาวชน ในพื้นที่เพื่อก�ำหนดแนวทางในการด�ำเนิน กิจกรรมต่างๆ ของกลุ่มออมทรัพย์เยาวชนคนดีใหม่ศรีทอง ๒) มีการประชุมแต่งตั้งคณะท�ำงาน คณะกรรมการ เพื่อด�ำเนินงาน ๓) ออกระเบียบข้อบังคับ กฎ กติกา ของกลุ่มออมทรัพย์เยาวชนคนดีใหม่ศรีทอง ซึ่งได้รับ การหนุนเสริมจากทุนทางสังคมระดับต�ำบล ไม่วา่ จะเป็นการหนุนเสริมจาก กลุม่ กองทุนสวัสดิการชุมชน ต�ำบลกุดสะเทียน กลุม่ ออมทรัพย์เยาวชนคนดีใหม่ศรีทอง กองทุนฌาปนกิจต�ำบลกุดสะเทียน ธนาคาร ความดี และโครงการออมเงินศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลกุดสะเทียน เป็นต้น
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
317
๖. การเชื่อมโยงหรือส่งผลที่เอื้อต่อการท�ำงานกับกลุ่มงานและกิจกรรมอื่นๆ การส่งเสริมกิจกรรมการออม ส�ำหรับองค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียน ได้มบี ทบาทหน้าที่ ในการประสานงาน ท�ำให้เกิดการท�ำงานร่วมกันในหลายภาคส่วนในพืน้ ที่ เช่น ในเรือ่ งส่งเสริมการออม ของกลุม่ เด็กและเยาวชนในต�ำบลกุดสะเทียน องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียนได้รบั ความร่วมมือ จากทัง้ ผูน้ ำ� ชุมชน คนในพืน้ ที่ เช่น ท่านพระครูสริ นิ วการ เจ้าอาวาสวัดใหม่ศรีมงคล ซึง่ ท่านเป็นประธาน กองทุนสวัสดิการชุมชนในต�ำบล และเป็นที่ปรึกษากลุ่มออมทรัพย์เยาวชนคนดีใหม่ศรีทอง นอกจากนั้นยังได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานภาครัฐ องค์กรภายนอก เช่น กระทรวงพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ (พมจ.) ในการหนุนเสริมในเรือ่ งของงบประมาณทีใ่ ช้ ในการด�ำเนินกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้เด็กและเยาวชนในต�ำบลกุดสะเทียน
๗. ผลผลิตและผลลัพธ์ ๗.๑ ผลต่อประชากรเป้าหมาย ๑) เด็กและเยาวชนในต�ำบลกุดสะเทียน ได้เรียนรู้และรู้จักการออมเงินและการใช้จ่ายเงิน ๒) เด็กและเยาวชน เกิดความรัก ความสามัคคี รู้จกั แบ่งปันและช่วยเหลือกัน รู้จกั การท�ำงาน เพื่อชุมชน และมีโอกาสเป็นส่วนหนึ่งในการท�ำประโยชน์ให้กับชุมชน เช่น การที่กลุ่มออมทรัพย์ มีการ จัดสรรผลก�ำไรให้กับสมาชิกในกลุ่ม สมาชิกในกลุ่มก็ได้มีมติว่าจะน�ำเงินส่วนนั้นมาเพื่อพัฒนาชุมชน และเป็นประโยชน์ในชุมชน ๓) เกิดพืน้ ทีส่ ร้างสรรค์ของเด็กและเยาวชน เกิดการท�ำงานร่วมกันระหว่างเด็กในสถานศึกษา และเด็กนอกสถานศึกษา โดยใช้กลุ่มการออมเป็นตัวเชื่อม ท�ำให้เด็กได้มีการรวมกลุ่มกันท�ำกิจกรรม ร่วมกัน ๔) ลดปัญหาการทะเลาะวิวาทของกลุ่มเด็กและเยาวชน และยังลดปัญหาการรวมกลุ่มมัว่ สุม กันเสพยาเสพติดได้ดี เนือ่ งจากกลุม่ มีกจิ กรรมต่างๆ ให้เด็กและเยาวชนกลุม่ เสีย่ งได้รว่ มกันท�ำกิจกรรม อย่างมีประโยชน์มากขึน้ ๗.๒ ผลต่อคุณภาพชีวิตของกลุ่มประชากร ๕ มิติ ๑) ด้านสังคม เกิดการรวมกลุม่ กันของเด็กและเยาวชนในต�ำบลกุดสะเทียน ในการท�ำกิจกรรม การออม โดยเป็นการรวมกลุม่ กันในทุกหมูบ่ า้ นทุกชุมชน มีคณะกรรมการกลุม่ ออมทรัพย์ ทีเ่ ป็นตัวแทน ของเด็กและเยาวชนในทุกๆ หมู่บ้านในต�ำบลกุดสะเทียน จึงเกิดการสร้างเครือข่ายการท�ำงานรวมกัน
318
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
และที่ส�ำคัญกิจกรรมการออม ท�ำให้เด็กและเยาวชนในชุมชนมีวินัยการใช้จ่ายเงินที่ดีขึ้น มีความ รับผิดชอบ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ๒) ด้านเศรษฐกิจ การทีม่ กี ารส่งเสริมการออมในกลุม่ เด็กและเยาวชน ท�ำให้เด็กและเยาวชน หลายคนได้มีโอกาสที่จะมีทุนการศึกษาในการเรียนมากขึ้น อีกทั้งกลุ่มออมทรัพย์ที่เกิดขึ้นในต�ำบล กุดสะเทียน เช่น กลุ่มออมทรัพย์เยาวชนคนดีใหม่ศรีทอง ยังเปิดโอกาสให้เด็กและเยาวชนหรือแม้ กระทัง่ ผูป้ กครองเองสามารถ ขอรับการสนับสนุนเงินไปลงทุนในการประกอบอาชีพ เพือ่ สร้างรายได้ให้ กับครัวเรือน ในรูปแบบของการยืมไปเพื่อการประกอบอาชีพ อีกทั้งยังมีเงินปันผลให้กับสมาชิกของ กลุ่มอีกด้วย ๓) ด้านสภาวะแวดล้อม ต�ำบลกุดสะเทียนมีการบริหารจัดการสภาวะแวดล้อม ในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการอนุรักษ์ดิน น�้ำ ป่าไม้ การน�ำใช้พลังงานทางเลือก และการก�ำจัดขยะจากต้นทาง องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียน ได้มกี ารสนับสนุนให้คนในชุมชน เด็กและเยาวชน รูจ้ กั การอนุรกั ษ์ ดิน และน�ำ้ โดยการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า คนในชุมชนรู้จักการคัดแยกขยะจากต้นทางก่อน การน�ำไปทิง้ นอกจากนีย้ งั มีกลุ่มออมทรัพย์ต่างๆ ทีม่ ใี นชุมชน ยังมีข้อก�ำหนดระเบียบข้อบังคับในการ ดูแลพื้นที่สาธารณะประโยชน์ของชุมชนเหมือนกันทุกกลุ่ม ยกตัวอย่างเช่น “กลุ่มออมทรัพย์เยาวชน คนดีใหม่ศรีทอง” ทีไ่ ด้มมี ติรว่ มกันในทีป่ ระชุมกับสมาชิกกองทุนว่า เงินปันผล ร้อยละ ๑๕ ในส่วนของ คณะกรรมการกองทุนนั้น จะได้น�ำเงินส่วนนี้มาไว้เพื่อพัฒนาหมู่บ้าน ชุมชน สถานที่สาธารณะต่างๆ บ�ำรุงศาสนสถาน ภายในต�ำบลกุดสะเทียน ถือได้วา่ กระบวนการออมท�ำให้เกิดการมีสว่ นร่วมในชุมชน ในทุกๆ ด้าน ที่ส�ำคัญท�ำให้เกิดการสร้างจิตส�ำนึกที่ดขี องเด็กและเยาวชนในชุมชน ๔) ด้านสุขภาพ มีการสนับสนุนให้คนในชุมชนได้ออกก�ำลังกาย โดยกลุ่มเด็กและเยาวชน ต�ำบลกุดสะเทียน ได้เป็นแกนน�ำในการจัดกิจกรรมเพื่อรณรงค์ในการออกก�ำลังกาย โดยได้มีการจัด กิจกรรมการแข่งขันกีฬาขึน้ ภายในต�ำบล ซึง่ ร่วมกับองค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียนและผูน้ ำ� ชุมชน รวมทั้งโรงเรียนในเขตต�ำบลกุดสะเทียน ท�ำให้เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ได้ ร่วมกันท�ำกิจกรรมซึ่งเป็นการเสริมการให้เกิดการมีสุขภาพพลานามัยที่แข็งแรงสมบูรณ์ ๕) ด้านการเมืองการปกครอง เกิดการประชุมร่วมกันของเด็กและเยาวชนในพื้นที่ต�ำบล กุดสะเทียน ทัง้ ๘ หมูบ่ า้ น เพือ่ ก�ำหนดการท�ำงานและการท�ำกิจกรรมร่วมกัน ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชน รูจ้ กั การใช้หลักประชาธิปไตยในการท�ำงาน การยึดเสียงข้างมากเป็นหลักในการตัดสินใจ มีการก�ำหนด แผนพัฒนาด้านเด็กและเยาวชน โดยเด็กและเยาวชนเป็นผูก้ ำ� หนดแผนเอง พร้อมทัง้ ได้นำ� เสนอให้แผน พัฒนาเด็กและเยาวชน ผ่านทางสภาองค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียน เพื่อจะได้บรรจุไว้ใน ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียนต่อไป
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
319
๗.๓ ผลต่อทุนทางสังคมอื่นๆ กลุ่มบุคคลและกลุ่มกองทุนต่างๆ ในพื้นที่ หลายภาคส่วนมีความเชื่อมโยงกับการเรียนรู้ของ เด็ก และเยาวชนในต�ำบล เพราะวิถชี วี ติ ของคนในต�ำบลกุดสะเทียน เป็นแบบพึง่ พาอาศัยกัน ช่วยเหลือ ซึง่ กันและกัน กลุม่ ทางสังคมหลายกลุม่ จึงมีความจ�ำเป็นต้องเชือ่ มทัง้ งานและคนร่วมกัน ท�ำให้เกิดการ บริหารคน งาน ข้อมูล และงบประมาณในการด�ำเนินงาน เกิดการสร้างงานให้กับคนในชุมชน กลุ่ม ต่างๆ ในพื้นที่ชุมชนหลายกลุ่ม ยังคงเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับเด็กและเยาวชนในต�ำบล ในประเด็นที่ แตกต่างกันออกไป
๘. กลไก เครื่องมือในการด�ำเนินงาน การพัฒนาเด็กและเยาวชนในต�ำบลกุดสะเทียน จะให้ครอบคลุมในทุกๆ ด้านนั้น จ�ำเป็นจะ ต้องมีการบริหารจัดการร่วมกันกับคนในชุมชน และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง โดยใช้การประชุมร่วมกัน ให้ เด็กและเยาวชนได้มบี ทบาทในการน�ำเสนอแนวคิดการด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ที่เด็กเป็นคนคิด เป็นคน ริเริม่ โดยองค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียน หนุนเสริมในการทีจ่ ะผลักดันกิจกรรมในหลายๆ กิจกรรม ของเด็กและเยาวชน เข้าไว้ในข้อบัญญัติงบประมาณของท้องถิ่น เพื่อจะท�ำให้แนวคิดของเด็กและ เยาวชนนั้น ได้น�ำมาสู่การปฏิบัติให้เกิดเป็นรูปธรรมอย่างแท้จริง
๙. ปัจจัยเงื่อนไข ปัจจัยที่ท�ำให้การด�ำเนินงานส�ำเร็จ ในด้านการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลที่ดนี ั้น เราต้อง บริหารจัดการคนให้ตรงกับงาน และความสามารถที่มี โดยการจัดคนให้เข้ากับงานตามความถนัด มีระบบการจัดการข้อมูล มีการจัดเก็บข้อมูลปัญหาของพืน้ ทีข่ องชุมชน เพือ่ น�ำมาเป็นฐานข้อมูลในการ ด�ำเนินงานต่อไป ส�ำหรับการด�ำเนินงานนัน้ มิใช่มเี พียงปัจจัยด้านบุคคลเพียงอย่างเดียว ในเรือ่ งของเงินทุนเรือ่ ง ของงบประมาณเองก็ถือเป็นปัจจัยส�ำคัญในการด�ำเนินงาน องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียนเอง จึงเล็งเห็นความส�ำคัญและได้ผลักดัน ให้มแี ผนงานงบประมาณด้านการพัฒนาเด็กและเยาวชนเข้าไป ไว้ในข้อบัญญัติงบประมาณ
320
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๑๐. ความเชื่อมโยงต่อ ๗ คุณลักษณะการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่น ๑๐.๑ การสร้างการเรียนรู้ สร้างการเรียนรู้ ปัญหาความและความต้องการ (เป้าหมายร่วม + ผลกระทบ) ของชุมชน ท้องถิ่น รวมทั้งการแก้ไขและจัดการ “กลุ่มออมทรัพย์เยาวชนคนดีใหม่ศรีทอง” มีการสร้างการเรียนรู้ ให้เด็กและเยาวชนรู้จกั ถึงการแก้ไขปัญหาการใช้จ่ายเงิน โดยกลุ่มออมทรัพย์เยาวชนคนดีใหม่ศรีทอง เป็นกลุม่ ทีม่ งุ่ เน้นให้เด็กและเยาวชน เกิดการร่วมกันคิด และแก้ไขปัญหาต่างๆ จึงท�ำให้เด็กและเยาวชน มีความรับผิดชอบ รอบรู้ รอบคอบ รู้จักการช่วยเหลือแบ่งปันสร้างความเป็นเจ้าของให้กับเด็กและ เยาวชนในชุมชนต�ำบลกุดสะเทียน ๑๐.๒ การสร้างกลไกการจัดการตนเอง การสร้างกลไกผลักดันทุกระดับการจัดการตนเอง กลุ่มออมทรัพย์เยาวชนคนดีใหม่ศรีทอง มีการสร้างกลไกภายใต้แนวคิดที่ว่า “ออมทรัพย์เยาวชน เพื่อเยาวชน” ให้สมาชิกในกลุ่มมีการบริหาร จัดการตนเอง ด้วยตนเอง โดยเริม่ แรกให้เด็กและเยาวชนทีเ่ ป็นสมาชิกในกลุม่ มีการระดมทุนจากสมาชิก เพือ่ ปล่อยกู้ให้กบั สมาชิกในกลุ่ม ในอัตราดอกเบีย้ ร้อยละ ๒ เปอร์เซ็น ต่อปี เพือ่ เป็นการบรรเทาความ เดือดร้อนให้กบั สมาชิกในกลุ่ม เป็นสร้างงานสร้างอาชีพ และยังเป็นการแบ่งเบาภาระของผู้ปกครอง ๑๐.๓ การสร้างคนให้จัดการตนเอง การสร้างคนให้ต้องจัดการตนเอง กลุ่มออมทรัพย์เยาวชนคนดีใหม่ศรีทอง มีกลไกส�ำคัญใน การบริหารกลุ่มให้เด็กและเยาวชน ร่วมคิด ร่วมท�ำ โดยสมาชิกในกลุ่มสามารถเสนอแนะ และร่วมกัน คิดแก้ไขปัญหาต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ภายในกลุม่ ปลูกฝังจิตส�ำนึกให้เด็กและเยาวชนรักและมีสว่ นร่วมในการ ท�ำกิจกรรมต่างๆ ของกลุ่มร่วมกัน ๑๐.๔ การสร้างการมีส่วนร่วม การสร้างการมีส่วนร่วม กลุ่มออมทรัพย์เยาวชนคนดีใหม่ศรีทอง มีการสร้างการมีส่วนร่วมให้ สมาชิกกลุ่มในต�ำบลกุดสะเทียนได้มีส่วนร่วมในการออกกฎ กติกา ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ และยังให้ เด็กและเยาวชนได้รว่ มกันหาแนวทางในการพัฒนาอาชีพให้กบั คนในชุมชนได้มกี ารพัฒนาคุณภาพชีวติ ที่ดีขึ้น ๑๐.๕ การระดมทุนและทรัพยากร การระดมเงินและทรัพยากรเพือ่ เป็นทุน การระดมเงินทุนของกลุม่ ออมทรัพย์เยาวชนคนดีใหม่ ศรีทองนั้น เป็นการระดมทุนแบบการลงหุ้น โดยการสมัครเป็นสมาชิกของกองทุนและซื้อหุ้น ในราคา หุน้ ละ ๒๐ บาท เพือ่ สะสมเป็นเงินออมทรัพย์ สมาชิกในกลุม่ สามารถกูย้ มื เงินในอัตราดอกเบีย้ ๒ บาท/
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
321
เดือน เพื่อมาประกอบอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัวได้ กลุ่มยังมีการระดม ทุนจากภายนอก โดยการขอรับงบประมาณสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐต่างๆ เพือ่ มาหนุนเสริมและ จัดกิจกรรม ๑๐.๖ การมีข้อตกลง การมีข้อตกลง มีการก�ำหนดข้อตกลงร่วมกันในการท�ำงานของคณะท�ำงาน และสมาชิกใน กลุ่มออมทรัพย์เยาวชนคนดีใหม่ศรีทอง มีการตั้งกฎ กติกา ระเบียบ ข้อบังคับ ในการด�ำเนินงานและ กิจกรรมต่างๆ ของกลุ่มออมทรัพย์เยาวชนคนดีใหม่ศรีทอง เพื่อให้การด�ำเนินงานกิจกรรมต่างๆ เป็น ไปในทิศทางเดียวกัน ถูกต้อง และมั่นคง ๑๐.๗ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กรภาครัฐและหน่วยงานอื่นๆ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กร ภาครัฐ และหน่วยงานต่างๆ ด้วยกลุ่มออมทรัพย์ เยาวชนคนดีใหม่ศรีทอง ด�ำเนินกิจกรรมหลักในเรือ่ งของการออมเงินเพือ่ ให้เด็กได้รจู้ กั การประหยัดและ อดออม เพื่อใช้เป็นทุนการศึกษาต่อไปในอนาคต โดยมีการท�ำงานอย่างเป็นระบบและมีการพัฒนาใน ด้านต่างๆ รวมทั้งในด้านความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและองค์กรอื่นๆ เพื่อให้กลุ่มออมทรัพย์ เยาวชนคนดีใหม่ศรีทอง มีความมั่นคงและยั่งยืน สามารถเป็นที่ยอมรับในสังคมได้
๑๑. การตอบสนองต่อ ๓๑ ตัวชี้วัด องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียน มีการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและ เยาวชนที่ตอบสนองต่อ ๓๑ ตัวชี้วัด ดังนี้ ชุดกิจกรรมที่ ๑ การเพิ่มทักษะและสร้างการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ได้แก่ ตัวชี้วัดที่ ๑-๒๓-๖-๗-๘-๑๑- ๑๒-๑๓-๑๔ ชุดกิจกรรมที่ ๒ การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาของเด็กและเยาวชน ได้แก่ ตัวชี้ วัดที่ ๑๖-๑๗-๒๐-๒๑ ชุดกิจกรรมที่ ๓ การบริหารจัดการกองทุนและสวัสดิการส�ำหรับกิจกรรมสร้างสรรค์ ได้แก่ ตัว ชี้วัดที่ ๒๒-๒๓ ชุดกิจกรรมที่ ๔ การพัฒนาระบบข้อมูลด้านเด็กและเยาวชนและการน�ำใช้ ได้แก่ ตัวชี้วัดที่ ๒๗-๒๘ ชุดกิจกรรมที่ ๕ การก�ำหนดกฎ กติกา หรือข้อบัญญัตทิ อ้ งถิน่ เพือ่ เฝ้าระวังปัญหาและปกป้อง สิทธิของเด็กและเยาวชน ได้แก่ ตัวชี้วดั ที่ ๓๐-๓๑ 322
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
323
ภาพที่ ๕๖ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้าน ระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชน องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียน อ�ำเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวล�ำพู
ภาพที่ ๕๗ ระบบการส่งเสริมการเรียนรูเ้ ด็กและเยาวชน องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียน อ�ำเภอศรีบญ ุ เรือง จังหวัดหนองบัวล�ำพู
324
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ภาพที่ ๕๘ การสร้างวินยั การออม องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดสะเทียน อ�ำเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวล�ำพู
รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
325
ส่วนที่ ๔
รูปธรรมวิธีการท�ำงาน ส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
แนวคิดหลักการ การพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย การส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน และการ พัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุโดยชุมชนท้องถิ่น มีเป้าหมายเพื่อการพัฒนาระบบการดูแลในกลุ่ม ประชากรทั้ง ๓ ด้วยการพัฒนาศักยภาพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกในการขับเคลื่อนการ ท�ำงานร่วมกันของทุนทางสังคมในพืน้ ทีอ่ ย่างเป็นระบบ ทัง้ นีร้ ปู ธรรมการด�ำเนินการในการพัฒนาระบบ เหล่านี้มีความแตกต่างกันตามสภาพปัญหาและความต้องการของแต่ละกลุ่มประชากร ซึ่งหนึ่งใน รูปธรรมที่พื้นที่ได้พัฒนาขึ้นคือ หลักสูตรส�ำหรับการเพิ่มศักยภาพให้กับกลุ่มประชากรดังกล่าวและ ผู้เกี่ยวข้องกับการเพิ่มศักยภาพและการดูแลประชากรกลุ่มเหล่านี้ด้วย การพัฒนาหลักสูตรส�ำหรับ ประชากรทั้ง ๓ กลุ่มแม้มีเป้าหมายเดียวกัน แต่มรี ายละเอียดที่ไม่เหมือนกันเป็นไปตาม ๑) สถานะ ๕ ด้าน (สังคม เศรษฐกิจ สภาพแวดล้อม สุขภาพและการเมืองการปกครอง) ปัญหาสุขภาพของ ประชากรแต่ละกลุ่มในแต่ละพืน้ ที่ ๒) ทุนทางสังคมและศักยภาพของชุมชนท้องถิน่ ในการเข้าร่วมดูแล ซึง่ อาจมีความแตกต่างกันไป ท�ำให้ผดู้ ำ� เนินการหลักของการดูแลประชากรต่างกลุม่ ต่างพืน้ ทีไ่ ม่เหมือน กัน ๓) นโยบายและการให้ความส�ำคัญในการดูแลประชากรแต่ละกลุม่ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และ องค์กรหลักในพืน้ ที่ ทีเ่ กีย่ วข้องซึง่ เป็นพืน้ ฐานของการสร้างความร่วมมือกัน และ ๔) กระบวนการ เรียนรูท้ งั้ ทีเ่ กิดขึน้ ในพืน้ ทีแ่ ละในเครือข่าย ทัง้ นีเ้ พือ่ เป็นการจุดประกายการต่อยอดการพัฒนาด้วยนัน่ เอง แนวทาง การเรียนรู้วิธีการท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น มี ๓ ประเด็น ได้แก่ ๑) การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๒)แนวทางการพัฒนายุววิจัย ๓) การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนผู้สูงอายุ เป็นการน�ำเสนอผ่านรูปธรรมจากพืน้ ทีท่ มี่ รี ายละเอียดความแตกต่างกันของ สถานะ และปัญหาของกลุ่มประชากร ทุนทางสังคมและศักยภาพของชุมชนท้องถิ่นในการจัดการ นโยบาย ของอปท.และองค์กรหลักอื่นในพื้นที่ และ กระบวนการเรียนรู้ ซึ่งอาจใช้เป็นความรู้พื้นฐานในการ ออกแบบการพัฒนางานและกิจกรรมต่อไปได้
328
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ตารางที่ ๔ พื้นที่รูปธรรมการด�ำเนินงานการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย การส่งเสริมการเรียนรู้ ของเด็กและเยาวชน และการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุ ล�ำดับที่
กรณี
พื้นที่
รูปธรรมการด�ำเนินงานของเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น ๒.
อบต.เสม็ดใต้ อ.บางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา
หลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก
๓.
อบต.ยางขี้นก อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี หลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก
๔.
ทต.ด่านช้าง อ.ด่านช้าง จ.สุพรรณบุรี
หลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก
๕.
อบต.ไหล่ทุ่ง อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี
หลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก
๖.
อบต.นาเชือก อ.บรบือ จ.กาฬสินธุ์
หลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก
๗.
อบต.หนองกุงใหญ่ อ.กระนวน จ.ขอนแก่น
หลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก
รูปธรรมการด�ำเนินงานของเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น ๑.
อบต.เขมราฐ อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี
หลักสูตรยุววิจัย
รูปธรรมการด�ำเนินงานของวัยผู้สูงอายุโดยชุมชนท้องถิ่น
๑.
“โรงเรียนฮอมสุข” องค์การบริหารส่วน ต�ำบลดอนแก้ว อ�ำเภอแม่รมิ จังหวัด เชียงใหม่
การจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุและการจัดท�ำหลักสูตร โรงเรียนผู้สูงอายุ
๒.
“โรงเรียนดอกซอมพอ” เทศบาลต�ำบล อุโมงค์ อ.เมือง จ.ล�ำพูน
การจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุและการจัดท�ำหลักสูตร โรงเรียนผู้สูงอายุ
๓.
“โรงเรียนผู้สูงอายุเมืองแม่ปะ”องค์การ บริหารส่วนต�ำบลแม่ปะ อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก
การจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุและการจัดท�ำหลักสูตร โรงเรียนผู้สูงอายุ
๔.
“โรงเรียนผู้สงู อายุต�ำบลไกรนอก”องค์การ การจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุและการจัดท�ำหลักสูตร บริหารส่วนต�ำบลไกรนอก อ.กงไกรลาศ โรงเรียนผู้สูงอายุ จ.สุโขทัย
๕.
“โรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลต�ำบลบ้าน เหล่า” เทศบาลต�ำบลบ้านเหล่า อ�ำเภอ แม่ใจ จังหวัดพะเยา
การจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุและการจัดท�ำหลักสูตร โรงเรียนผู้สูงอายุ
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
329
ล�ำดับที่
กรณี
พื้นที่
๖.
“โรงเรียนชราภิบาลวังท่าดี” องค์การ การจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุและการจัดท�ำหลักสูตร บริหารส่วนต�ำบลวังท่าดี อ.เมือง จังหวัด โรงเรียนผู้สูงอายุ เพชรบูรณ์
๗.
“ศูนย์การเรียนรู้ผู้สูงอายุต�ำบลจ�ำป่า หวาย”องค์การบริหารส่วนต�ำบลจ�ำป่า หวาย อ.เมือง จ.พะเยา
๘.
“โรงเรียนคลังปัญญาผู้สูงวัย” องค์การ การจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุและการจัดท�ำหลักสูตร บริหารส่วนต�ำบลข่วงเปา อ�ำเภอจอมทอง โรงเรียนผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่
การจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุและการจัดท�ำหลักสูตร โรงเรียนผู้สูงอายุ
๔.๑ รูปธรรมการด�ำเนินงานของการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
330
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนต�ำบลวังดิน อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์
๑. ที่มาของกิจกรรม ต�ำบลวังดิน อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ มีการแบ่งเขตการปกครองเป็น ๑๐ หมู่บ้าน มี ประชากรทัง้ สิน้ จ�ำนวน ๔,๒๙๙ คน แยกเป็นเพศชาย ๒,๑๑๑ คน เพศหญิง ๒,๑๘๘ คน สถานการณ์ จ�ำนวนเด็กปฐมวัยในพื้นที่ ได้แก่ กลุ่มเด็กอายุ ๐-๓ ปี จ�ำนวน ๙๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๑๖ และ กลุ่มเด็กอายุ ๓-๕ ปี จ�ำนวน ๘๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑.๙๘ ของประชากรทั้งหมดในต�ำบล จากสภาพ ของครอบครัวและชุมชน พบว่า ครัวเรือนส่วนใหญ่ค่อนข้างมีรายได้น้อยและผู้ปกครองต้องออกไป ประกอบอาชีพนอกบ้านทุกวันท�ำให้ไม่มีเวลาดูแลเด็ก ในอดีตที่ผ่านมาท�ำให้ต้องน�ำบุตรหลานไปฝาก เลี้ยงตามวัดโดยมีการจ้างคนเลี้ยง ซึ่งไม่ได้มีระบบของการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมส�ำหรับเด็ก ส่งผล ให้เด็กขาดโอกาสในการเรียนรู้และพัฒนาการตามวัย องค์การบริหารส่วนต�ำบลวังดินซึ่งมีหน้าที่ดูแล ประชาชนในพื้นที่ได้เล็งเห็นความส�ำคัญนี้จึงมีนโยบายในการพัฒนาเด็กปฐมวัย โดยได้มีการจัดตั้ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเมื่อปี พ.ศ.๒๕๓๙ ถ่ายโอนมาจากการพัฒนาชุมชนเป็นขององค์การบริหารส่วน ต�ำบลเมื่อ พ.ศ.๒๕๔๖ เพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองตามธรรมชาติและพัฒนาการของ เด็กแต่ละคนภายใต้บริบทสังคม วัฒนธรรมของเด็กที่อาศัยอยู่ในต�ำบลวังดิน และเพื่อสร้างรากฐาน คุณภาพชีวิตของเด็กปฐมวัยให้มีคุณภาพ การที่เด็กจะมีการเรียนรู้ที่เป็นองค์รวมและเต็มศักยภาพจึง ได้มกี ารจัดหลักสูตรทีส่ ง่ เสริมการเรียนรูท้ งั้ ในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กและเชือ่ มกับองค์การบริหารส่วนต�ำบล ชุมชน และภาคประชาชน โดยการจัดการเรียนรู้ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก แบ่งเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ การเสริมสร้างพัฒนาการของเด็ก เพื่อแก้ปัญหาของผู้เรียนด้านต่างๆ รวมถึงการพัฒนาหลักสูตร ท้องถิน่ ขึน้ มาเพือ่ สนองตอบต่อความต้องการเรียนรูเ้ รือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ ของชุมชน โดยพัฒนาเนือ้ หาสาระ แบบมีส่วนร่วมของบุคคลหลายๆ ฝ่ายอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนและเนื้อหาเฉพาะเจาะจง เพื่อให้ ผูเ้ รียนบรรลุตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ซึง่ สามารถตอบสนองความต้องการของตนเอง ชุมชน และ สังคมในภาพรวมได้ เพื่อให้ชมุ ชนท้องถิ่นได้พัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น
ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังดิน จึงมีการใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยเป็นแกนในการ รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
331
จัดการเรียนรู้ และเพื่อให้เหมาะสมกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยให้เป็นไปตาม มาตรฐานและสอดคล้องกับบริบทสังคมวัฒนธรรมจึงมีการพัฒนาเป็นหลักสูตรที่บูรณาการให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้ท้งั ภายในและภายนอก ศพด. เพื่อมุ่งเน้นให้ผู้เรียน เรียนจากชีวิตจริง เกิดการพัฒนาทั้งใน ด้านสมอง ร่างกาย อารมณ์ ความมีวนิ ัย การอยู่ร่วมและการช่วยเหลือผู้อื่น สามารถน�ำความรู้ไปใช้ ในชีวิตประจ�ำวันได้อย่างมีคุณภาพ การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กจึงถือเป็นการจัดการเรียนรู้ให้ มีความสอดคล้องและทันสมัยตอบรับต่อกระแสการเปลีย่ นแปลงต่างๆ เพือ่ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้ มีความรอบรู้สามารถเป็นพลเมืองที่ดีมีคุณภาพและสอดคล้องตอบรับต่อความต้องการของสังคมใน ปัจจุบัน
๒. งานและกิจกรรม ๒.๑ ภาพรวมระบบการดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบลวังดิน อบต.วั ง ดิ น ได้ ใ ห้ ค วามส�ำ คั ญ ในการดู แ ลคุ ณ ภาพชี วิ ต ของคนตั้ ง แต่ แ รกเกิ ด จนถึ ง ตาย ครอบคลุมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และอารมณ์ และยึดหลักการมีส่วนร่วมของทุกภาคีท้องถิ่นใน สี่มิติของภาวะสุขภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการส่งเสริมในเรื่องอาหารและโภชนาการของเด็กตั้งแต่อยู่ ในครรภ์เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมของเด็กก่อนเข้าสู่ช่วงปฐมวัย จากแนวคิดดังกล่าวท�ำให้เกิด ระบบการดูแลทีย่ ดึ การมีสว่ นร่วมและการบูรณาการงานเข้าด้วยกัน อบต.วังดินได้มกี จิ กรรมอย่างหลาก หลายที่ร่วมกับบุคคล หน่วยงาน หรือองค์กรต่างๆ ทั้งภายใน และภายนอกท้องถิ่นในการดูแลเรื่อง อาหารและโภชนาการของเด็ก โดยในส่วนของศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก มีการด�ำเนินการร่วมกับอบต.วังดิน ในการฝึกอบรมอาสาสมัครในชุมชน ได้แก่ อาสาสมัครสาธาณสุขประจ�ำหมูบ่ า้ น (อสม.) มีการฝึกอบรม อสม. ให้มีความรู้เข้าใจในเรื่องการประเมินและการส่งเสริมพัฒนาการ การเจริญเติบโต การได้รับ ภูมิคุ้มกันในการดูแลช่วยเหลือตามสภาพทั้งในภาวะปกติ มีการจัดกิจกรรมเพื่อการกระตุ้นผู้ปกครอง ในการช่วยส่งเสริมพัฒนาการเด็กในครอบครัวและชุมชน รวมถึงการให้การดูแลช่วยเหลือเมือ่ พบความ ผิดปกติ โดยเมือ่ เด็กมีพฤติกรรมและการเรียนรูผ้ ดิ ปกติ มีความพิการทางสติปญ ั ญา พิการด้านร่างกาย เพื่อเป็นการดูแลช่วยเหลืออย่างถูกต้องทั้งในการดูแลเรื่องอาหาร การกระตุ้นพัฒนาการ การกระตุ้น กล้ามเนื้อต่างๆ ของร่างกาย ๒.๒ ประเด็นเด่นของการจัดท�ำหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก การจัดหลักสูตรแบบบูรณาการ หลักสูตรหลักที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังดินได้น�ำมาใช้คือ หลักสูตรของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นร่วมกับหลักสูตรของท้องถิ่น การจัดหลักสูตรของ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้มีการค�ำนึงถึงการจัดกิจกรรมส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาการที่
332
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ครอบคลุมทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญา โดยหลักสูตร ประกอบด้วย การส่งเสริมการ เรียนรู้เด็กปฐมวัย ได้แก่ การตรวจคัดกรอง IQ การมีสื่อการสอนเหมาะสมเพียงพอ ให้เด็กได้เล่น กิจกรรมตามความสนใจ กิจกรรมการเรียนรู้ เด็กๆ ได้เล่นเครื่องเล่นสนาม เล่นกระบะทราย กิจกรรม ทุกประเภท เพือ่ ให้เด็กมีพฒ ั นาการทุกด้าน ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปญ ั ญา ให้มคี ณ ุ ลักษณะ ที่พึงประสงค์ เพื่อมีร่างกายเจริญเติบโตตามวัย มีสุขนิสัยที่ดี พัฒนาการของกล้ามเนื้อใหญ่ และ กล้ามเนื้อเล็กแข็งแรง ใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน เด็กมีสุขภาพจิตดี และมีความ สุข เด็กมีคุณธรรม จริยธรรมและมีจิตใจที่ดีงาม เด็กได้แสดงออกทางศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหว รักการออกก�ำลังกาย เด็กได้ช่วยเหลือตนเองได้อย่างเหมาะสมกับวัยเด็กมีความรักธรรมชาติ สิ่ง แวดล้อม วัฒนธรรมและความเป็นไทย เด็กสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตน เป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เด็กสามารถใช้ ภาษาในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสมกับวัย เด็กมีความสามารถในการคิดและแก้ปัญหาได้เหมาะสม กับวัย เด็กมีจติ นาการและความคิดสร้างสรรค์ เด็กมีเจตคติทดี่ ตี อ่ การเรียนรูแ้ ละมีทกั ษะในการแสวงหา ความรู้ จัดประสบการณ์การเรียนรู้ โดยยึดหลักการเลี้ยงดูและการให้การศึกษาที่เน้นเด็กเป็นส�ำคัญ และค�ำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและวิถชี วี ติ ของเด็กตามบริบทของท้องถิน่ และวัฒนธรรมไทย จัดประสบการณ์การเรียนรู้ พัฒนาเด็กโดยองค์รวมผ่านการเล่นและกิจกรรมที่เหมาะสมกับวัย ให้สามารถด�ำรงชีวติ ประจ�ำวันได้อย่างมีคณ ุ ภาพและมีความสุข ประสานความร่วมมือระหว่างครอบครัว ชุมชนและสถานศึกษาในการพัฒนาเด็ก
๓. ทุนทางสังคม ๓.๑ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการหลัก องค์การบริหารส่วนต�ำบลวังดินร่วมกับ ศพด. และชุมชน จัดท�ำหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ทีเ่ อือ้ ต่อการจัดประสบการณ์การเรียนรูข้ องเด็กปฐมวัย และสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาคุณภาพ ของครูผู้ดูแลเด็กในการฝึกอบรมในเรื่องของการเรียนรู้หลักสูตรใหม่ๆ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ด�ำเนินการ จัดท�ำหลักสูตร จัดประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการเด็กในเรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง เกีย่ วกับบุคคล เกีย่ วกับธรรมชาติ เกีย่ วกับสิง่ ต่างต่าง ๆ รอบตัว เรือ่ งราววันส�ำคัญต่าง ๆ ให้สอดคล้อง กับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๓.๒ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการรอง กลุ่มทางสังคม กลุ่มองค์กรต่างๆ และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) โรงสีข้าวชุมชน ต�ำบลวังดิน เป็นแหล่งเรียนรูท้ เี่ หมาะสมกับเด็ก ในเรือ่ งราวสิง่ รอบตัว เช่น ขัน้ ตอนการปลูกข้าวอินทรีย์
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
333
การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าว ๒) ฟาร์มเห็ดอนันต์ บ้านยางโทน เป็นแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับการ ด�ำเนินชีวิต ในเรื่องการเพาะเห็ด เพื่อส่งเสริมอาชีพทั้งระยะสั้น ระยะยาว เพิ่มรายได้ ๓) กลุ่มผลิต น�้ำพริกหมู่ที่ ๘ เป็นแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับการแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่ได้วัตถุดิบมาจากชุมชนมาแปรรูป เป็นน�ำ้ พริกเพื่อจ�ำหน่าย กลุ่มออมทรัพย์ตำ� บลวังดินเรียนรู้เรือ่ งการออมเงิน ได้แก่ ๑) กองทุนสวัสดิการชุมชนต�ำบลวัง ดินเรียนรู้เรื่องการออมเงิน การช่วยเหลือพึ่งพากัน การจัดสวัสดิการต่าง ๆ ๒)กลุ่มองค์กรต่างๆ ได้แก่ ชมรมผู้สูงอายุ จัดท�ำโครงการผู้สูงวัยใส่ใจลูกหลาน จัดกิจกรรมการเล่านิทาน การปลูกผักสวนครัว ปลอดสารพิษ การท�ำการเกษตรอินทรีย์ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวและน�ำ้ พริก และการจัดการ เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ทางศิลปะ วัฒนธรรม ศาสนา ได้แก่ วัดวังดิน วันยางจุ้ม วัดบ้านยางโทน วัด หนองป่าไร่ วัดพุทธบาทเขาผึ้ง ส�ำนักสงฆ์บ้านคลองสัมพันธ์
๔. วัตถุประสงค์ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก มีหลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กทีเ่ อือ้ ต่อการจัดประสบการณ์การเรียนรูข้ อง เด็กปฐมวัยที่มีความเหมาะสมกับวัย ความสามารถ และความแตกต่างระหว่างบุคคลทั้งทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา พร้อมจัดหาผลิตสื่อในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อส่ง เสริมการเรียนรูท้ กุ ด้านอย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ เพือ่ ตอบสนองความต้องการ พื้นฐานของเด็ก ดังนี้ ๔.๑ เพื่อให้ ศพด. มีหลักสูตรที่ได้มาตรฐานและบูรณาการกับภูมิปัญญาของชุมชนท้องถิ่น ๔.๒ เพื่อให้เด็กปฐมวัยใน ศพด. ได้รับวิธีการเรียนการสอนที่ถูกต้อง ๔.๓ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยให้สอดคล้องกับหลักสูตรของศูนย์เด็ก ๔.๔ เพือ่ ลดค่าใช้จา่ ยของครอบครัวเด็กและสนับสนุนให้เด็กในพืน้ ทีเ่ รียนหนังสือภายในต�ำบล โดยที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปเรียนนอกต�ำบล
๕. วิธีการท�ำงาน ๕.๑ ต�ำบลวังดินจัดตั้งคณะกรรมการการศึกษาองค์การบริหารส่วนต�ำบลวังดินตามหนังสือ สั่งการของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
334
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๕.๒ ประชุมคณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ผู้น�ำ แกนน�ำ กลุ่มองค์กรต่างๆ และ ผู้ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๕.๓ ประชุมคณะกรรมการการศึกษาองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ผู้นำ� แกนน�ำ กลุ่มองค์กร ต่างๆ และผู้ท่เี กี่ยวข้อง ในการจัดท�ำหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่บูรณาการกับชุมชนท้องถิ่น ๕.๔ มีการน�ำหลักสูตรไปใช้ และมีการพัฒนา ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สอดคล้องกับ บริบทท้องถิ่น และเหมาะสมกับวัย ความสามารถ และความแตกต่างระหว่างบุคคลทั้งทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์
๖. การเชื่อมโยงหรือส่งผลที่เอื้อต่อการท�ำงานกับกลุ่มงานและกิจกรรมอื่นๆ ในชุมชนประสานการท�ำงานร่วมกับกลุ่มองค์กรในชุมชน ต�ำบลวังดินได้มกี ารพัฒนาหลักสูตรการ ศึกษาปฐมวัย ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก โดยการเชื่อมโยงกับแหล่งเรียนรู้ที่มีในพื้นที่ ได้แก่ ชมรมผู้สูงอายุ แหล่งเรียนรู้ทางการเกษตร ประกอบด้วย โรงเพาะเห็ดหมู่ที่ ๔ โรงสีข้าววิสาหกิจชุมชนต�ำบลวังดิน แหล่งเรียนรู้โบราณสถาน ศูนย์ปราชญ์ตำ� บลวังดิน ประกอบด้วย วัดวังดิน วัดยางจุ้ม วัดยางโทน วัด หนองป่าไร่ วัดพุทธบาทเขาผึ้ง ส�ำนักสงฆ์บ้านคลองสัมพันธ์
๗. ผลผลิตและผลลัพธ์ ๗.๑ ผลต่อประชากรเป้าหมาย เด็กปฐมวัย ๐-๕ ปี มีหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยทีม่ คี วามเหมาะสมกับวัย ความสามารถ และ ความแตกต่างระหว่างบุคคลทั้งทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาให้มีคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ เด็กปฐมวัยใน ศพด. ได้รบั การเรียนรูว้ ธิ กี ารเรียนการสอนทีถ่ กู ต้อง เพือ่ ส่งเสริมพัฒนาการ ของเด็กปฐมวัยให้สอดคล้องกับหลักสูตรของศูนย์เด็กเพือ่ ลดค่าใช้จา่ ยของครอบครัวเด็กและสนับสนุน ให้เด็กในพืน้ ทีเ่ รียนหนังสือภายในต�ำบลของเรา โดยทีไ่ ม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปเรียนนอก ต�ำบล ๗.๒ ผลต่อคุณภาพชีวิตของกลุ่มประชากร ๕ มิติ ๑) ด้านสังคม เด็กในต�ำบลรูจ้ กั การใช้ชวี ติ ในสังคมได้เข้ากับผูอ้ นื่ ได้และรูจ้ กั มีนำ�้ ใจช่วยเหลือ ผู้อื่น ไม่เป็นเด็กก้าวร้าว ๒) ด้านเศรษฐกิจ มีการปลูกฝังในเรื่องของการออมเงินรู้จักการอดออม รู้จักคุณค่าของเงิน
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
335
๓) ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม ท�ำให้มีการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อด�ำเนินชีวิตของเด็กและ ค�ำนึงถึงความปลอดภัยในการใช้ชีวิต และส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็ก ๔) ด้านสุขภาพ ให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพจิตใจที่ดี ได้รับการตรวจและสร้างเสริมสุขภาพที่ เหมาะสม ๕) ด้านการเมืองการปกครอง รู้จักสิทธิ์ของตัวเอง รู้จักกฎ กติกา การอยู่ร่วมกับผู้อื่น
๘. กลไก เครื่องมือในการด�ำเนินงาน มีการใช้คู่มือในการขับเคลื่อนในการจัดท�ำแผนการพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดย คณะกรรมการของศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กบ้านวังดิน องค์การบริหารส่วนต�ำบลร่วมขับเคลื่อน พร้อมด้วย อสม. รพ.สต.บ้านวังดิน ส่งเสริมในเรื่องสุขภาพของเด็ก มีการจัดการบริหารคน มีการแบ่งงาน แบ่ง หน้าที่รับผิดชอบ
๙. ปัจจัยเงื่อนไข ๙.๑ ผู้น�ำมีวิสัยทัศน์ ในการจัดสภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ๙.๒ มีคู่มือประชาชน ธรรมนูญสุขภาพ หลักสูตรในการเรียนรู้ ๙.๓ มีการระดมแรง คือ จิตอาสา ระดมเงินทุน ระดมความคิดเพื่อมาใช้ในการบริหารจัดการ ในการท�ำและพัฒนาหลักสูตร
๑๐. ความเชื่อมโยงต่อ ๗ คุณลักษณะการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่น ๑๐.๑ การสร้างการเรียนรู้ปัญหาและความต้องการของชุมชน ต�ำบลวังดินใช้ขอ้ มูลจาก RECAP และ TCNAP ในการวางแผนและจัดท�ำโครงการและกิจกรรม เพื่อแก้ปัญหาเด็กและครอบครัว การสร้างการเรียนรู้และความต้องการของชุมชน ๑๐.๒ การสร้างกลไกการบริหารจัดการตนเองในทุกระดับ ต�ำบลวังดิน มีการสร้างกลไกในการบริหารจัดการในการดูแลเด็กปฐมวัยในทุกระดับ มีผู้นำ� เจรจาไกล่เกลี่ยกรณีมีปัญหา กลุ่ม อสม. ชมรมผู้สูงอายุ กลุ่มอาสาสมัคร ศูนย์พัฒนาครอบครัว ท�ำหน้าที่ในการเชื่อมประสานการท�ำงานในการดูแลเด็กปฐมวัยในช่วงปกติ
336
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๑๐.๓ การจัดการตนเอง ต�ำบลวังดิน มีการพัฒนาศักยภาพของแม่และครอบครัว อาสาสมัครให้มีความเชี่ยวชาญใน งานและกิจกรรมต่างๆ มีการแต่งตัง้ ผูท้ มี่ คี วามเชีย่ วชาญในการดูแลเด็กปฐมวัย ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาพื้นบ้านในการเลี้ยงเด็ก ๑๐.๔ การสร้างการมีส่วนร่วม ในทุกมิติการดูแลเด็กปฐมวัยในชุมชน โดยการร่วมคิด ร่วมท�ำงาน ร่วมรับประโยชน์ และ ร่วมปรับแนวทางในการด�ำเนินงาน เพือ่ ให้เกิดประโยชน์ตอ่ เด็กปฐมวัย เปิดโอกาสและสร้างกระบวนการ ให้ครอบครัว กลุ่มองค์กรชุมชน หน่วยงานภาครัฐในพื้นที่ มามีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบการดูแล เด็กปฐมวัย เช่น การระดมความคิดเห็นผ่านเวทีประชาคม ๑๐.๕ การระดมเงินและทรัพยากร เพื่อเป็นทุนจัดสรรส�ำหรับการดูแลเด็กปฐมวัยและครอบครัว เช่น การจัดการกองทุนต่างๆ กลุ่มออมทรัพย์ กองทุนหมู่บ้านทุกหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดิน ซึง่ เป็นแหล่งเงินทุนส�ำหรับออมหรือ กู้ยืมในการประกอบอาชีพ และการจัดสวัสดิการการดูแลตั้งแต่เกิดจนตาย ๑๐.๖ การมีข้อตกลงเป้าหมายเพื่อสร้างความยั่งยืน และสร้างความสัมพันธ์แนวราบ ต�ำบลวังดินมีการจัดท�ำข้อตกลงทัง้ ในระดับบุคคลและครอบครัว ระดับกลุม่ และองค์กร ระดับ หน่วยงาน ระดับหมู่บ้าน ระดับต�ำบล และระดับเครือข่าย มีการท�ำวิจัยชุมชนในการจัดการแก้ปัญหา ในการดูแลเด็กปฐมวัยในพืน้ ที่ มีการเฝ้าระวังความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดขึน้ กับเด็กปฐมวัยเช่นการขับขีป่ ลอดภัย ในชุมชน ๑๐.๗ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กร หน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานต่างๆ ใน ต�ำบล โดยส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย โครงการ เกลือไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ การอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครในการดูแลเด็กปฐมวัยและ ครอบครัว การส่งเสริมอาชีพ
๑๑. การตอบสนองต่อ ๖ ชุดกิจกรรมการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย โดยชุมชนท้องถิ่น ตัวชี้วัด การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กการตอบสนองต่อ ๖ ชุดกิจกรรมการพัฒนาระบบการ ดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่นตามตัวชี้วัด ดังนี้
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
337
๑๑.๑ ในเด็ก ๐-๓ ปี ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพ ตัวชี้วัดที่ ๔ คือ พัฒนาหลักสูตรและจัดท�ำคู่มือส�ำหรับ ฝึกอบรมผู้เกี่ยวข้องในการดูแลเด็ก ๐ – ๓ ปี เช่น หลักสูตรและคู่มือการดูแลเด็ก ๐-๓ ปี ที่มีความ พิการทางด้านร่างกายและความเคลือ่ นไหว ด้านสติปญ ั ญาและการเรียนรู้ ออทิสติก และเด็กทีม่ คี วาม ผิดปกติทางด้านพฤติกรรม เป็นต้น ชุดกิจกรรมที่ ๒ การพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก ๐-๓ ปี ตัวชี้วัดที่ ๑๓ มีการปรับ สิ่งแวดล้อมในชุมชนเพื่อให้เกิดประโยชน์กับเด็กและครอบครัว เช่น การมีสนามเด็กเล่นในชุมชน การ มีลานกิจกรรมที่ให้เด็กและครอบครัวมาท�ำกิจกรรมร่วมกัน เป็นต้น ชุดกิจกรรมที่ ๓ การพัฒนาระบบบริการ ตัวชีว้ ดั ที่ ๒๕ จัดให้มรี ะบบบริการในการให้คำ� ปรึกษา ในการแก้ไขปัญหาในครอบครัวในชุมชนเช่น ศูนย์พัฒนาครอบครัว ศูนย์ด�ำรงธรรม ศูนย์ช่วยเหลือ สังคม (OSCC) เป็นต้น ชุดกิจกรรมที่ ๕ การพัฒนาและน�ำใช้ข้อมูลในการส่งเสริมแก้ไขหรือจัดการปัญหาเด็ก ๐-๓ ปี ตัวชี้วัดชุดกิจกรรมที่ ๕ การพัฒนาและน�ำใช้ข้อมูลในการส่งเสริมแก้ไขหรือจัดการปัญหาเด็ก ๐-๓ ปี ตัวชี้วัดที่ที่ที่ ๒๘ สร้างและเพิ่มช่องทางการเรียนรู้ข้อมูลการดูแลเด็ก ๐-๓ ปี ให้กับผู้ปกครองและ ผู้ดูแลอย่างหลากหลาย เช่น การประชาคม การประชุม การปรึกษาหารือ การจัดท�ำแผนการดูแล การบอกปากต่อปาก วิทยุชมุ ชน หอกระจายข่าว เอกสารหนังสือพิมพ์ เพื่อกระจายข่าว ชุดกิจกรรมที่ ๖ การมีกฎ ระเบียบแนวปฏิบัติเพื่อหนุนเสริมการด�ำเนินกิจกรรมเสริมความ เข้มแข็งชุมชนท้องถิ่น ตัวชี้วัดที่ ๒๙ มีข้อบัญญัติท้องถิ่นเพื่อจัดสรรงบประมาณในการสนับสนุนการ ดูแลเด็ก ๐-๓ ปี ที่ทั้งเด็กป่วย พิการ และกลุ่มปกติ ๑๑.๒ ในเด็ก ๓-๕ ปี ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพ ตัวชี้วัดที่ ๕ จัดท�ำหลักสูตรและคู่มือการอบรมผู้ที่ เกี่ยวข้องในการดูแลเด็ก ๓-๕ ปี ตัวชี้วัดที่๙ พัฒนาเด็กเล็กมีการจัดท�ำหลักสูตรที่ส่งเสริมการเรียนรู้ หลักสูตรการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยทัง้ ๔ ด้านคือ ร่างกาย จิตใจ- อารมณ์สงั คม และสติปญ ั ญา โดยใช้กิจกรรม ๖ หลักที่ครอบคลุม ๔ สาระให้สอดคล้องกับบริบทของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตัวชี้วัดที่ ๑๐ พัฒนาเด็กเล็กมีการจัดหา ผลิตสื่อและใช้สื่อในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริม พัฒนาการทุกด้านอย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ ชุดกิจกรรมที่ ๒ การพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก ๓-๕ ปี ตัวชี้วัดที่ ๑๖ ปรับโครงสร้าง อาคารสถานที่ และสิ่งแวดล้อมในสถานที่ให้บริการส�ำหรับเด็ก๓-๕ ปี
338
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ชุดกิจกรรมที่ ๓ การพัฒนาระบบบริการ ตัวชี้วัดที่ ๒๖ จัดบริการดูแลเด็ก ๓-๕ ปีที่บ้านเป็น บริการตามภาวะสุขภาพตั้งแต่ปกติเจ็บป่วย พิการเป็นการจัดการบริการดูแลทางร่างกายและจิตใจ ตัวชีว้ ดั ที่ ๓๑ การจัดตัง้ ศูนย์บริการหรือสนับสนุนการบริการแก่เด็ก ๓-๕ปี ทัง้ เด็กป่วย พิการ และกลุม่ ปกติ ชุดกิจกรรมที่ ๕ การพัฒนาและน�ำใช้ข้อมูลในการส่งเสริมแก้ไขหรือจัดการปัญหาเด็ก ๓-๕ ปี ตัวชี้วัดที่๔๗ มีการจัดท�ำข้อมูลโดยคนในชุมชนและมีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายตั้งแต่ขั้นตอนการเก็บการ ตรวจสอบความถูกต้องการวิเคราะห์เพื่อใช้จัดการดูแลและประเมินผลการดูแล ชุดกิจกรรมที่ ๖ การมีกฎ ระเบียบแนวปฏิบัติเพื่อหนุนเสริมการด�ำเนินกิจกรรมเสริมความ เข้มแข็งชุมชนท้องถิ่น ในตัวชี้วัดที่๕๓ มีข้อบัญญัติท้องถิ่นแผนการดูแลจัดสรรงบประมาณในการ สนับสนุนการดูแลเด็ก ๓-๕ ปีที่ครอบคลุมทั้งงานบริการกิจกรรมกองทุนสวัสดิการ
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
339
ภาพที่ ๕๙ การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนต�ำบลวังดิน อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์
340
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนต�ำบลเสม็ดใต้ อ�ำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา
๑. ที่มาหรือฐานคิดของการด�ำเนินกิจกรรม ในพื้นที่ต�ำบลเสม็ดใต้ มีทั้งหมด ๖ หมู่บ้าน มีประชากร ทั้งหมด ๔,๘๓๙ คน แบ่งเป็นชาย ๒,๓๓๑ คน หญิง ๒,๕๐๘ คน จ�ำนวนครัวเรือน ๑,๖๖๓ ครัวเรือน มีประชากร อายุ ๐-๓ ปี จ�ำนวน ๒๒๔ คน ประชากร อายุ ๓-๕ ปี จ�ำนวน ๑๓๙ คน ประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม รับจ้าง ท�ำงานโรงงาน สภาพการอยู่อาศัยของเด็ก อายุ ๐-๕ ปี ต�ำบลเสม็ดใต้ อาศัยอยู่กับพ่อแม่ จ�ำนวน ๒๖๐ คน อาศัยกับปู่ย่าตายาย จ�ำนวน ๘๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๒.๘๗ อาศัยกับญาติ จ�ำนวน ๒๐ คน เด็กเข้าเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่ ร้อยละ ๙๐ เด็กเข้าเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กนอกพื้นที่ จ�ำนวน ๑๙ คน การด�ำเนินงานการจัดท�ำหลักสูตรปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เป็นการจัดบนพื้นฐาน การอบรมเลี้ยงดูและการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการของเด็กแต่ละ คน ตามศักยภาพภายใต้บริบทของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัฒนธรรมท้องถิ่น ให้สอดคล้องกับหลักสูตร ท้องถิ่น และหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๔๖ ด้วยความรัก ความอาทรและความเข้าใจ เพื่อ สร้างรากฐานคุณภาพชีวติ ให้เด็กมีการพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ทสี่ มบูรณ์ เป็นทรัพยากรทีม่ คี ่าของ ประเทศต่อไป ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลเสม็ดใต้ ได้มีการจัดท�ำหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อให้ เหมาะสมกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ให้เป็นไปตามมาตรฐานของกรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่น สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่นและหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.๒๕๔๖ ให้ กับเด็กปฐมวัยในต�ำบลให้ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ และเป็นแนวทางให้กับครูผู้ดูแลเด็กใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและทุนทางสังคมในต�ำบลเสม็ดใต้ใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริมการเรียนรู้และ ส่งเสริมพัฒนาการ
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
341
๒. งานและกิจกรรม ๒.๑. ภาพรวมระบบการดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบล มีรายละเอียดการดูแลดังนี้ คือ ๑) มีการดูแลเด็กตัง้ แต่อยู่ในครรภ์มารดา ส่งเสริมให้มารดาได้รับการฝากครรภ์ตามเกณฑ์ มี การส่งเสริมการได้รับภูมิคุ้มกัน ส่งเสริมการดื่มนมแม่นาน ๖ เดือน ๒) มีการส่งเสริมอาสาสมัครสาธารณสุขในชุมชนเพื่อการประเมินและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ตรวจวัดการเจริญเติบโตของเด็ก ๓) มีการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของผู้ปกครองให้สามารถดูแลเด็กปฐมวัยได้อย่างมี คุณภาพ ๔) มีการจัดตั้งกองทุนสวัสดิการส�ำหรับเด็กปฐมวัยด้านการดูแลสุขภาพการเพิ่มรายได้ให้กับ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็กที่เจ็บป่วย พิการในต�ำบลเสม็ดใต้ ๕) มีการสร้างวัฒนธรรมในการดูแลช่วยเหลือเด็กปฐมวัยเช่น การบริจาคเงินเพือ่ ช่วยเหลือเด็ก ที่ยากจนขาดแคลนทุนทรัพย์ ๖) มีการน�ำใช้ข้อมูลทุนทางสังคมและแหล่งประโยชน์เพื่อจัดท�ำแผนโครงการในการจัด สวัสดิการท้องถิ่นในการดูแลช่วยเหลือเด็กปฐมวัย ๒.๒. การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก หลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กของอบต.เสม็ดใต้ เป็นหลักสูตรทีเ่ ข้ากับบริบทของศูนย์พฒ ั นาเด็ก เล็ก และสอดคล้องกับหลักสูตรท้องถิ่น หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.๒๕๔๖ โดยมีการก�ำหนด โครงสร้างของหลักสูตร เพื่อให้การจัดการศึกษาเป็นไปตามหลักการ จุดหมายที่กำ� หนดไว้และผู้ที่ เกี่ยวข้องกับการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฏิบัติ ในการจัดหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมีสาระการเรียนรู้ เพื่อประสงค์จะให้ครูผู้ดูแลเด็ก สามารถก�ำหนดรายละเอียดขึ้นเองให้สอดคล้องกับวัย ความต้องการ ความสนใจของเด็ก อาจยืดหยุ่นเนื้อหาได้โดยค�ำนึงถึงประสบการณ์ และสิ่งแวดล้อมในชีวิตจริงของ เด็ก ครูผู้ดูแลเด็กสามารถน�ำสาระที่ควรเรียนรู้มาบูรณาการ จัดประสบการณ์ต่างๆ ให้ง่ายต่อการ เรียนรู้ โดยไม่ให้เด็กท่องจ�ำเนื้อหาแต่เป็นการให้เด็กเกิดแนวคิดหลังจากน�ำ สาระการเรียนรู้นั้นๆ มา จัดประสบการณ์ให้เด็กเพื่อให้บรรลุจุดหมายที่ก�ำหนดไว้ สาระการเรียนรู้สำ� หรับเด็กปฐมวัย มีจำ� นวน ๔ สาระ ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่องราว เกีย่ วกับบุคคลและสถานทีแ่ วดล้อมเด็ก กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ ๓ ธรรมชาติรอบตัว และกลุ่มสาระการ เรียนรู้ท่ี ๔ สิ่งต่าง ๆ รอบตัวเด็ก จัดกิจกรรมในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของสาระการเรียนรู้ ทั้ง
342
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๔ สาระ ตามกิจกรรมหลัก มี ๖ กิจกรรม คือ กิจกรรมเลือ่ นไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเสรี กิจกรรมกลางแจ้ง และกิจกรรมเกมการศึกษา ต�ำบลเสม็ดใต้ มีการพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยการเชื่อมโยงงานและกิจกรรม กับทุนทางสังคมในพื้นที่มาร่วมด�ำเนินกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาการเด็กปฐมวัย ๓ -๕ ปี ทั้งในและนอกศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ประกอบด้วย ๑) กิจกรรมการส่งเสริมกระบวนการเรียนรูแ้ ละพัฒนาการทีค่ รอบคลุมเด็กปฐมวัยทุกประเภท เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้าน ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ให้มีคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ ดังนี้ (๑) มีร่างกายเจริญเติบโตตามวัย และมีสุขนิสัยที่ดี (๒) เด็กมีพัฒนาการของกล้ามเนื้อ มัดใหญ่ และกล้ามเนือ้ มัดเล็กแข็งแรง ใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กนั (๓) เด็กมีสขุ ภาพ จิตดี และมีความสุข (๔) เด็กมีคณ ุ ธรรม จริยธรรมและมีจิตใจที่ดีงาม (๕) เด็กได้แสดงออกทางศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหว และรักการออกก�ำลังกาย (๖) เด็กได้ช่วยเหลือตนเองได้อย่างเหมาะสมกับวัย (๗) เด็กมีความรักธรรมชาติ สิง่ แวดล้อม วัฒนธรรมและความเป็นไทย (๘) เด็กสามารถอยู่ร่วมกับผู้อนื่ ได้อย่างมีความสุขและปฏิบตั ติ นเป็นสมาชิกทีด่ ขี องสังคมในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข (๙) เด็กสามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสมกับวัย (๑๐) เด็กมีความ สามารถในการคิดและแก้ปัญหาได้เหมาะสมกับวัย (๑๑) เด็กมีจิตนาการและความคิดสร้างสรรค์ (๑๒) เด็กมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้และมีทักษะในการแสวงหาความรู้ งานและกิจกรรม ได้แก่ การฝึก อบรมให้ความความรู้แก่ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย การติดตาม ประเมินพัฒนาการเด็ก การชั่งน�้ำหนักวัดส่วนสูงและวิเคราะห์คัดกรองเด็กด้านสุขภาพ การจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ พัฒนาเด็กโดยองค์รวมผ่านการเล่นและกิจกรรมทีเ่ หมาะสมกับวัยให้สามารถ ด�ำรงชีวติ ประจ�ำวันได้อย่างมีคณ ุ ภาพและมีความสุข โดยยึดหลักการเลีย้ งดูและการให้การศึกษาทีเ่ น้น เด็กเป็นส�ำคัญ และค�ำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและวิถชี วี ติ ของเด็กตามบริบทของท้องถิน่ และ วัฒนธรรมไทย ๒) การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้และเป็นพื้นที่สร้างสรรค์ส�ำหรับเด็กปฐมวัย โดยจัด ให้มีพื้นที่สีเขียว มุมบทบาทสมมติ มุมบล็อค มุมการศึกษา สนามกีฬา สนามเด็กเล่น กิจกรรมการ คัดแยกขยะ ๓) กิจกรรมการป้องกันโรคติดต่อ โรคคระบาดที่เกิดกับเด็กปฐมวัย ได้แก่ การจัดฝึกอบรมให้ ความรูแ้ ก่ผปู้ กครองและผูด้ แู ลเด็กเกีย่ วกับการป้องกันและแนวทางปฏิบตั เิ มือ่ เป็นโรคติดต่อ โรคระบาด ทีเ่ กิดกับเด็กปฐมวัย เช่น โรคไข้เลือดออก โรคมือเท้าปาก ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพและกลุม่ อสม. กลุ่ม อผส.
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
343
๔) กิจกรรมการป้องกันด้านความปลอดภัย จัดฝึกอบรมให้ความรูก้ บั ผูป้ กครองและผูด้ แู ลเด็ก ในการป้องกันอัคคีภัย และการจมน�้ำ จัดท�ำคู่มือแนวทางปฏิบัติ ร่วมกับกลุ่ม อปพร. ๕) กิจกรรมอาหารปลอดภัย ได้แก่ ลดขนมอาหารหวาน มัน เค็ม ลด ละ เลิก น�ำ้ อัดลม ขนม กรุบกรอม เน้นอาหารครบ ๕ หมู่ โดยการจัดท�ำเมนูอาหารและคุณค่าทางอาหาร ซึง่ ใช้วตั ถุดบิ ในชุมชน และจัดให้มกี ารตรวจสุขภาพของผู้ดูแลเด็กและผู้ประกอบอาหาร เป็นประจ�ำทุกปี อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง ๖) การประสานความร่วมมือระหว่างครอบครัว ชุมชนและสถานศึกษาในการพัฒนาเด็กโดย การมีสว่ นร่วมของทุนทางสังคมในชุมชนเข้ามาร่วมเป็นคณะกรรมการบริหารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก มีการ ประชุมคณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อย่างน้อยปีละ ๒ ครั้ง เพื่อให้ข้อเสนอแนะในการ ปรับปรุง พัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๗) จัดหลักสูตรการศึกษาศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กทีม่ กี ารเรียนการสอนในชุมชนทีเ่ รียกว่าหลักสูตร ท้องถิ่น โดยการเชื่อมประสานกับกลุ่มต่างๆ ในชุมชน เช่น ชมรมผู้สูงอายุ จัดท�ำกิจกรรมผู้สูงวัยใส่ใจ ลูกหลาน จัดกิจกรรมการเล่านิทาน การท�ำขนมบัวลอย ท�ำขนมครองแครง การปลูกผักสวนครัว สาน ปลาตะเพียน สวดมนต์ ม้าก้านกล้วย และการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ทางศิลปะ วัฒนธรรม ศาสนา ได้แก่ การส่งเสริมประเพณีแห่พระ ส่งเสริมประเพณีหล่อเทียนพรรษา โบราณสถาน เช่น วัดหัวสวน วัดสนามช้าง วัดเสม็ดใต้ กลุ่มออมทรัพย์ต�ำบลเสม็ดใต้ เรียนรู้เรื่องการออมเงิน เป็นต้น ๘) กิจกรรมส่งเสริมอาชีพ เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีรายได้เพิ่มขึ้น ได้แก่ การฝึกอบรม ผู้ปกครองในการส่งเสริมอาชีพท�ำผ้าบาติด จัดเย็บเสื้อผ้า นวดแผนไทย แปรรูปปลา ร่วมกับทุนทาง สังคม เช่น กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี กองทุนหมู่บ้าน กลุ่มออมทรัพย์ต�ำบลเสม็ดใต้
๓. ทุนทางสังคม ๓.๑ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการ ๑) องค์การบริหารส่วนต�ำบลเสม็ดใต้จดั ท�ำหลักสูตรท้องถิน่ ทีเ่ อือ้ ต่อการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยและจัดให้มีพื้นที่สร้างสรรค์ส�ำหรับเด็กปฐมวัย ๒) ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ด�ำเนินการจัดท�ำหลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ในการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการเด็กในเรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง เกี่ยวกับบุคคลและสถานที่สำ� คัญ เกี่ยวกับธรรมชาติ เกี่ยวกับสิ่งต่างต่างๆ รอบตัว เรื่องราววันส�ำคัญต่างๆ ให้สอดคล้องกับคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์
344
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๓) ชมรมผูส้ งู อายุ เข้ามาช่วยในการเรียนการสอน เช่น การเล่านิทาน การท�ำอาหาร ท�ำขนม การท�ำของเล่นที่มาจากภูมปิ ัญญา ๔) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลเสม็ดใต้ รวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพ ตรวจรักษา พยาบาล คัดกรองเด็ก แนะน�ำให้คำ� ปรึกษาแก่ผปู้ กครองและผูด้ แู ลเด็กในการดูแล ป้องกัน และควบคุม โรค ตลอดจนการจัดสิ่งแวดล้อมที่มีความปลอดภัยส�ำหรับเด็กปฐมวัย ๕) กลุ่ม อสม. เก็บรวบรวมข้อมูล พัฒนาการเด็ก การเจริญเติบโต การดูแลสุขภาพของเด็ก ให้ความรู้และรณรงค์การป้องกันโรคระบาด ติดตาม ประเมิน ตรวจคัดกรองเด็ก แนะน�ำให้ค�ำปรึกษา เกี่ยวกับการดูแลเด็กให้แก่ผู้ปกครอง ๖) ผู้น�ำ แกนน�ำ จัดให้มีการช่วยเหลือเด็กปฐมวัย ระดมทุนโดยการจัดผ้าป่าการศึกษา ๗) ครูผู้ดูแลเด็ก จัดแผนการการเรียนรู้ จัดประสบการณ์การเรียนรู้สำ� หรับเด็กปฐมวัยตาม หลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ทีส่ อดคล้องกับหลักสูตรท้องถิน่ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๕๖ มีการวัด ติดตาม ประเมินเด็กและกิจกรรมการเรียนรู้ ๘) ปราชญ์ชาวบ้าน ให้ความรูเ้ กีย่ วกับภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ๙) สภาวัฒนธรรมต�ำบลเสม็ดใต้ รวบรวมข้อมูลทางวัฒนธรรมท้องถิ่น โบราณสถานที่ แหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม จัดกิจกรรมในการส่งเสริมด้านคุณธรรมจริยธรรม ส่งเสริมและอนุรักษ์ ประเพณีท้องถิ่น เช่น ประเพณีแห่พระ ๑๐) คณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีหน้าที่และบทบาทส�ำคัญ ได้แก่ (๑) ก�ำหนดแนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการด�ำเนินงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในด้านต่างๆ ให้ได้ คุณภาพและมาตรฐานการด�ำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตามนโยบายและแผนพัฒนาขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ (๒) เสนอแนะให้ขอ้ คิดเห็นเกีย่ วกับการด�ำเนินงาน การพัฒนาคุณภาพศูนย์พฒ ั นา เด็กเล็กแก่ผบู้ ริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ (๓) พิจารณาเสนอผูบ้ ริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เกี่ยวกับการบริหารบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (๔) พิจารณาเสนอแผนงานหรือโครงการและ งบประมาณในการส่งเสริมและพัฒนาศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กตามหลักวิชาการและแผนพัฒนาเด็กปฐมวัย ๓.๒ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการรอง กลุ่มทางสังคม องค์กรชุมชน และแหล่งประโยชน์ที่เป็นแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ตามหลักสูตร ท้องถิ่น เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านอาชีพ การออม การช่วยเหลือกัน ได้แก่ ๑) ฟาร์มอุทยั วรรณพันธุป์ ลา เป็นแหล่งเรียนรูท้ เี่ หมาะสมกับเด็ก ในเรือ่ งราวสิง่ รอบตัวเช่น การขยายพันธุ์ปลา การเลี้ยงกบคอนโด การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
345
๒) ฟาร์มเห็ดแม่ประเทือง เป็นเหล่งเรียนรูเ้ กีย่ วกับการด�ำเนินชีวติ ในเรือ่ งการเพาะเห็ด เพือ่ ส่งเสริมอาชีพทั้งระยะสั้น ระยะยาว เพิ่มรายได้ ๓) กลุ่มหมักปุ๋ยชีวภาพ เป็นแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับปุ๋ยอินทรีย์ จากกิ่งไม้ ใบไม้ เศษอาหาร เศษผักผลไม้จากครัวเรือนเพื่อน�ำไปใช้ในการเกษตร เช่น ใส่บ่อปลา ใส่นาข้าว ดอกไม้ ต้นไม้ ๔) กลุ่มออมทรัพย์ต�ำบลเสม็ดใต้ เรียนรู้เรื่องการออมเงิน ๕) กองทุนสวัสดิการชุมชนต�ำบลเสม็ดใต้ เรียนรู้เรือ่ งการออมเงิน การช่วยเหลือพึง่ พากัน การจัดสวัสดิการต่างๆ ๖) กองทุนหมู่บ้านสนับสนุนทุนการศึกษาให้กับเด็กปฐมวัย ๗) อปพร. ฝึก ทบทวน ให้ความรูแ้ ก่ผดู้ แู ลเด็กและเด็กปฐมวัยในการป้องกันอัคคีภยั และการ ช่วยเหลือเด็กจมน�้ำ
๔. วัตถุประสงค์ เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่เอื้อต่อการจัดประสบการณ์การ เรียนรูข้ องเด็กปฐมวัยทีม่ คี วามเหมาะสมกับวัย ความสามารถ และความแตกต่างระหว่างบุคคลทัง้ ทาง ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์
๕. วิธีการท�ำงาน ๕.๑ ต�ำบลเสม็ดใต้ จัดตั้งคณะกรรมการการศึกษาองค์การบริหารส่วนต�ำบลเสม็ดใต้ ตาม หนังสือสั่งการของกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น ๕.๒ ประชุมคณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ผู้น�ำ แกนน�ำ กลุ่มองค์กรต่างๆ และ ผู้ที่เกี่ยวข้อง ในการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๕.๓ ประชุมคณะกรรมการการศึกษาองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ผู้นำ� แกนน�ำ กลุ่มองค์กร ต่างๆ และผู้ท่เี กี่ยวข้อง ในการจัดท�ำหลักสูตรท้องถิ่น ๕.๔ มีการน�ำหลักสูตรไปใช้ และมีการพัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สอดคล้องกับ บริบทท้องถิ่น และเหมาะสมกับวัย ความสามารถ และความแตกต่างระหว่างบุคคลทั้งทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์
346
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๖. การเชื่อมโยงหรือส่งผลที่เอื้อต่อการท�ำงานกับกลุ่มงานและกิจกรรมอื่นๆ ต�ำบลเสม็ดใต้ ได้มีการจัดท�ำและพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก โดยได้รับความ ร่วมมือจากครูผู้ดูแลเด็ก เก็บรวบรวมข้อมูลทุนทางสังคม เพื่อน�ำมาวิเคราะห์งานและกิจกรรมที่มีผล กระทบโดยตรงหรือโดยอ้อมและน�ำข้อมูลทีไ่ ด้มารวบรวมเพือ่ จัดการเทียบเคียงประเด็นการพัฒนาเด็ก ซึ่งได้รับมีข้อมูลด้านสุขภาพจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลเสม็ดใต้ และกลุ่ม อสม. ในการ ส่งเสริมและพัฒนาการและการดูแลสุขภาพของเด็กในด้านการเจริญเติบโต การวัดและการประเมินผล และส่งเสริมการพัฒนาการของเด็ก การตรวจคัดกรอง และการรณรงค์ป้องกัน การส่งเสริมทักษะและ จัดประสบการณ์เรียนรูแ้ ก่เด็กปฐมวัยทีอ่ ายุตงั้ แต่ ๓-๕ ปี โดยผ่านกิจกรรมการเล่น ให้ได้รบั การพัฒนา ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา นอกจากนั้นองค์การบริหารส่วนต�ำบลเสม็ด ใต้ โดยคณะกรรมการบริหารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กและคณะกรรมการการศึกษาองค์การบริหารส่วนต�ำบล เสม็ดใต้ ซึ่งประกอบด้วย ผู้นำ� ท้องถิ่น ผู้นำ� ท้องที่ ครูผู้ดูแลเด็ก ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้สูงอายุ ของต�ำบล เสม็ดใต้ มาร่วมเป็นคณะกรรมการในการด�ำเนินการจัดท�ำหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและหลักสูตร ท้องถิ่น ซึ่งหลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก มีการเชื่อมโยงกับทุนทางสังคม แหล่งเรียนรู้ที่มีในพื้นที่ ได้แก่ ชมรมผูส้ งู อายุ โบราณสถาน เช่น วัดหัวสวน วัดเสม็ดใต้ วัดสนามช้าง แหล่งเรียนรูท้ างการเกษตร เช่น ฟาร์มอุทยั วรรณ พันธุ์ปลา ฟาร์มเพาะเห็ด แม่ประเทือง เป็นต้น
๗. ผลผลิตและผลลัพธ์ ๗.๑ ผลต่อประชากรเป้าหมาย มีหลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ๓ – ๕ ปี ที่เหมาะสมกับ เด็กแต่ละคน และมีการเชือ่ มโยงหลักสูตรกับหลักสูตรท้องถิน่ เพือ่ ให้เด็กปฐมวัยได้มปี ระสบการณ์การ เรียนรู้ที่นอกเหนือจากในห้องเรียน และมีการดึงการมีส่วนร่วมของชุมชนเข้ามาร่วมในการพัฒนา หลักสูตรกับทางศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ๗.๒ ผลต่อคุณภาพชีวิตของกลุ่มประชากร ๕มิติ ๑) ด้านสังคม มีผู้น�ำ แกนน�ำ ร่วมเป็นคณะกรรมการบริหารหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๒) ด้านเศรษฐกิจ มีการส่งเสริมอาชีพให้กับผู้ปกครอง ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ ได้แก่ การ แปรรูปเนื้อปลา เช่น ปลาต้มเค็ม ปลาซิวแก้ว โดยกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านสนามช้าง การท�ำกระเป๋า การนวดแผนไทย การท�ำปลาร้า ปลาส้ม ปลาแดดเดียว โดยกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตำ� บลเสม็ดใต้
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
347
การท�ำดอกไม้จนั โดยชมรมผูส้ งู อายุ และการท�ำปลูกฝังให้เด็กปฐมวัย เรียนรูจ้ ากประสบการณ์ ในแหล่ง เรียนรู้ท่มี ีในพื้นที่ในการส่งเสริมการออม การประกอบอาชีพในชุมชนเพื่อให้เห็นแหล่งที่มาของรายได้ ๓) ด้านการจัดการสิง่ แวดล้อม ท�ำให้มกี ารจัดสิง่ แวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการจัดประสบการณ์การ เรียนรู้ของเด็กปฐมวัยและเป็นพื้นที่สร้างสรรค์ส�ำหรับเด็กปฐมวัย เช่น สนามกีฬา สนามเด็กเล่น ๔) ด้านสุขภาพ จัดให้มรี ะบบการดูแลเด็กปฐมวัยด้านสุขภาพ เพือ่ เด็กปฐมวัยมีสขุ ภาพจิตใจ ที่ดี ไม่จำ� เจในการเรียนรู้ ๕) ด้านการเมือง การปกครอง มีผู้น�ำ แกนน�ำ ร่วมเป็นคณะกรรมการการศึกษาองค์การ บริหารส่วนต�ำบลเสม็ดใต้ คณะกรรมการบริหารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก มีกฎ ระเบียบและแนวทางปฏิบตั ิ เพื่อจัดท�ำและพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่มีความสอดคล้องกับบริบทท้องถิ่น หลักสูตร ท้องถิ่นและหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.๒๕๔๖
๘. กลไก เครื่องมือในการด�ำเนินงาน ๘.๑ ต�ำบลเสม็ดใต้ มีแต่งตั้งคณะท�ำงานพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย ประกอบด้วย ผูบ้ ริหารองค์การบริหารส่วนต�ำบลเสม็ดใต้ สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนต�ำบล โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพต�ำบลเสม็ดใต้ กลุ่มองค์กร ทุนทางสังคมและผู้ที่เกี่ยวข้อง ๘.๒ ต�ำบลเสม็ดใต้ การแต่งตัง้ คณะกรรมการการศึกษาองค์การบริหารส่วนต�ำบลเสม็ดใต้ ส่ง เสริม สนับสนุนการจัดท�ำแผนการศึกษา แผนพัฒนาสามปี เพื่อสนับสนุนงบประมาณในการจัดการ ศึกษาปฐมวัย ๘.๓ ต�ำบลเสม็ดใต้ แต่งตัง้ คณะกรรมการบริหารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก มีการจัดท�ำหลักสูตรศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก ด้วยการร่วมมือกับทุนทางสังคมในพื้นที่ ๘.๔ ต�ำบลเสม็ดใต้ มีการแต่งตัง้ คณะกรรมการสภาวัฒนธรรมต�ำบลเสม็ดใต้ เพือ่ ส่งเสริมการ เรียนรู้ทางศิลปะ ศาสนา วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นส�ำหรับเด็กปฐมวัย
๙. ปัจจัยเงื่อนไข ๙.๑ ต�ำบลเสม็ดใต้ มีผู้น�ำที่มีวิสัยทัศน์ ที่ให้ความส�ำคัญกับการส่งเสริมการพัฒนาระบบการ ดูเด็กปฐมวัย โดยการพัฒนาหลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก เพือ่ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยทัง้ ๔ ด้าน คือ ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาโดยการมีส่วนร่วมของทุนทางสังคมทุกระดับใน พื้นที่
348
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๙.๒ คณะกรรมการต่างๆ ได้แก่ คณะกรรมการพัฒนาระบบเด็กปฐมวัย คณะกรรมการการ ศึกษาองค์การบริหารส่วนต�ำบลเสม็ดใต้ คณะกรรมการบริหารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก คณะกรรมการสภา วัฒนธรรม คณะกรรมการสภาเด็กและเยาวชน เป็นต้น มีความเข้มแข็งในการด�ำเนินงาน มีการประชุม ขับเคลื่อนการศึกษาปฐมวัย อย่างน้อยปีละ ๒ ครั้ง ๙.๓ มีการน�ำใช้ขอ้ มูลทุนทางสังคมในพืน้ ที่ โดยการท�ำงานในรูปแบบเครือข่าย ประสานความ ร่วมมือกับทุนทางสังคมในพืน้ พืน้ ทีใ่ นการด�ำเนินงาน จัดท�ำหลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กพัฒนา ปรับปรุง ให้สอดคล้องกับหลักสูตรท้องถิ่น หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๔๖ ๙.๔ มีการติดตาม วัดและประเมินผลการใช้หลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
๑๐. ความเชื่อมโยงต่อ ๗ คุณลักษณะการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่น ๑๐.๑ การสร้างการเรียนรู้ปัญหาและความต้องการของชุมชน ต�ำบลเสม็ดใต้ ใช้ข้อมูลจาก RECAP และ TCNAP ในการวางแผนและจัดท�ำโครงการและ กิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาเด็กและครอบครัว ๑๐.๒ การสร้างกลไกการบริหารจัดการตนเองในทุกระดับ ต�ำบลเสม็ดใต้ มีการสร้างกลไกในการบริหารจัดการในการดูแลเด็กปฐมวัยในทุกระดับ มีผนู้ �ำ เจรจาไกล่เกลี่ยกรณีมีปัญหากลุ่ม อสม. ชมรมผู้สูงอายุ กลุ่มอาสาสมัคร ศูนย์พัฒนาครอบครัว ท�ำหน้าทีใ่ นการเชือ่ มประสานการท�ำงานในการดูแลเด็กปฐมวัยในช่วงปกติ เมือ่ เกิดภาวะฉุกเฉินมีการ ให้ความช่วยเหลือทั้งในและนอกต�ำบล ๑๐.๓ การจัดการตนเอง ต�ำบลเสม็ดใต้ มีการพัฒนาศักยภาพของแม่และครอบครัว อาสาสมัครให้มีความเชี่ยวชาญ ในงานและกิจกรรมต่างๆ มีการแต่งตัง้ ผู้ทมี่ คี วามเชีย่ วชาญในการดูแลเด็กปฐมวัย ส่งเสริมพัฒนาการ เด็ก ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาพื้นบ้านในการเลี้ยงเด็ก ๑๐.๔ การสร้างการมีส่วนร่วม ในทุกมิตกิ ารดูแลเด็กปฐมวัยในชุมชน โดย การร่วมคิด ร่วมท�ำงาน ร่วมรับประโยชน์ และร่วม ปรับแนวทางในการด�ำเนินงาน เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อเด็กปฐมวัย เปิดโอกาสและสร้างกระบวนการ ให้ครอบครัว กลุ่มองค์กรชุมชน หน่วยงานภาครัฐในพื้นที่ มามีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบการดูแล เด็กปฐมวัย เช่น การระดมความคิดเห็นผ่านเวทีประชาคม
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
349
๑๐.๕ การระดมเงินและทรัพยากร เพื่อเป็นทุนจัดสรรส�ำหรับการดูแลเด็กปฐมวัยและครอบครัว เช่น การจัดการกองทุนต่างๆ กลุ่มออมทรัพย์ กองทุนหมู่บ้านทุกหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดิน ซึ่งเป็นแหล่งเงินทุนส�ำหรับออม หรือกู้ยืมในการประกอบอาชีพ และการจัดสวัสดิการการดูแลตั้งแต่เกิดจนตาย ๑๐.๖ การมีข้อตกลงเป้าหมายเพื่อสร้างความยั่งยืน และสร้างความสัมพันธ์แนวราบ ต�ำบลเสม็ดใต้มีการจัดท�ำข้อตกลงทั้งในระดับบุคคลและครอบครัว ระดับกลุ่มและองค์กร ระดับหน่วยงาน ระดับหมู่บ้าน ระดับต�ำบล และระดับเครือข่าย มีการท�ำวิจัยชุมชนในการจัดการแก้ ปัญหาในการดูแลเด็กปฐมวัยในพืน้ ที่ มีการเฝ้าระวังความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดขึน้ กับเด็กปฐมวัยเช่นการขับขี่ ปลอดภัยในชุมชน ๑๐.๗ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กร หน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานต่างๆ ได้แก่ โรงพยาบาลบางคล้า โรงพยาบาลพุทธโสธร มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ในการสนับสนุนการดูแลเด็กปฐมวัยในพื้นที่ โดยส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัย โครงการเกลือไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ การอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครในการดูแล เด็กปฐมวัยและครอบครัว การส่งเสริมอาชีพ
๑๑. การตอบสนองต่อ ๖ ชุดกิจกรรมการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย โดยชุมชนท้องถิ่น ตัวชี้วัด ๑๑.๑ ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพ กลุ่มเด็ก ๓ -๕ ปี ตัวชี้วัดที่ ๙ คือ ศูนย์พัฒนา เด็กเล็กมีการจัดท�ำหลักสูตรทีส่ ง่ เสริมการเรียนรู้ หลักสูตรการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยทัง้ ๔ ด้าน คือ ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา โดยใช้กิจกรรมหลักๆ ที่ครอบคลุม ๔ สาระ ให้ สอดคล้องกับบริบทของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้แก่ ส่งเสริมพัฒนาการด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ กล้ามเนื้อมัดเล็ก ความคิดสร้างสรรค์ ลักษณะนิสัยให้เด็กได้แสดงอารมณ์ และความรู้สึกทางด้าน ศิลปะ ดนตรี ด้านคุณธรรมจริยธรรมคุณลักษณะที่ดีทางสังคมเบื้องต้น เช่น ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี มีน�้ำใจรู้จกั การรอคอยและรู้จกั การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ กติกาของ ห้องเรียนและศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กเหมาะสมตามวัย มีแผนการด�ำเนินกิจกรรมตามหลักสูตร และมีการ ประเมินผลหลักสูตร ๑) ชุดกิจกรรมที่ ๒ การพัฒนาสภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อเด็กปฐมวัยกลุ่มเด็ก ๓ – ๕ ปี ตัวชีว้ ดั ทีต่ วั ชีว้ ดั ที่ ๑๖ คือ สนับสนุนให้มกี ลุ่มช่วยดูแลเด็ก ๓-๕ ปี เช่น กลุ่มท�ำอาหารส�ำหรับเด็ก ทัง้ เด็กป่วย
350
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
พิการ และกลุ่มปกติ กลุ่มเพื่อนบ้านช่วยเหลือกันดูแลกันในการับยาการส่งเสริมพัฒนาการกิน กอด เล่น เล่าเยี่ยมให้ก�ำลังผู้ดูแลเฝ้าระวังความรุนแรงในครอบครัว เป็นต้น ๑๑.๒ ชุดกิจกรรมที่ ๓ การพัฒนาระบบบริการ กลุ่มเด็ก ๓-๕ ปี ตัวชี้วัดที่ ๒๖ คือ การให้ บริการอืน่ ๆ เช่น ค�ำปรึกษาผู้ปกครอง ผู้ดแู ลเด็กเรือ่ งสุขภาพอย่างน้อย ๑ ครัง้ ต่อปี การเบิกรับยา การ บริการอื่นๆ เช่น การจัดบริการอาหารเฉพาะหรือตามความต้องการรวมทั้งการดูแลเด็ก ๓-๕ ปี ที่มีความผิดปกติ พิการ ๑๑.๓ ชุดกิจกรรมที่ ๔ การจัดตั้งกองทุนหรือสวัสดิการช่วยเหลือ กลุ่มเด็ก ๓-๕ ปี ตัวชี้วัด ที่ ๔๓ คือ ศูนย์พฒ ั นาครอบครัวร่วมกับแกนน�ำชุมชนและกลุ่มทางสังคม จัดตั้งกองทุนและสวัสดิการ ส�ำหรับเด็ก ๓–๕ ปี ด้านการดูแลสุขภาพการเพิ่มรายได้ให้ผู้ปกครอง ผู้ดูแลกลุ่มเด็กที่เจ็บป่วย พิการ เช่น กองทุนสวัสดิการชุมชน สถาบันการเงินของชุมชนกองทุนสัจจะออมทรัพย์กลุ่มสหกรณ์ ออมทรัพย์กองทุนเพื่อช่วยเหลือผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือตามความจ�ำเป็นกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ เป็นต้น ๑๑.๔ ชุดกิจกรรมที่ ๕ การพัฒนาและการน�ำใช้ขอ้ มูลในการส่งเสริมแก้ไข/จัดการปัญหาเด็ก กลุ่มเด็ก ๓-๕ ปี ตัวชี้วัดที่ ๔๗ คือ มีการจัดท�ำระบบข้อมูลโดยคนในชุมชนและมีส่วนร่วมจากของ ๖ กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ อปท. ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ศูนย์พฒ ั นาครอบครัว รพ.สต. อาสาสมัครและ ทุนทางสังคมต่างๆ ในชุมชนทุกฝ่ายตั้งแต่ขั้นตอนการเก็บการตรวจสอบความถูกต้องการวิเคราะห์ เพื่อใช้จัดการดูแลและประเมินผลการดูแลมีข้อมูลเด็ก ๓-๕ ปีที่ครบถ้วน ครอบคลุมเพือ่ ใช้จัดบริการ ดูแล ๑๑.๕ ชุดกิจกรรมที่ ๖ การพัฒนากฎ กติกา ระเบียบแนวทางปฏิบตั เิ พือ่ หนุนเสริมการด�ำเนิน กิจกรรมเสริมความเข้มแข็งชุมชนท้องถิ่นกลุ่มเด็ก ๓-๕ ปีในตัวชี้วัดที่ ๕๒ มีข้อบัญญัติท้องถิ่น แผนการดูแลจัดสรรงบประมาณในการสนับสนุนการดูแลเด็ก ๓-๕ ปีที่ครอบคลุมที่ครอบคลุม ทั้งงานบริการกิจกรรมกองทุนสวัสดิการ
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
351
ภาพที่ ๖๐ การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนต�ำบลเสม็ดใต้ อ�ำเภอบางคล้า จังหวัด ฉะเชิงเทรา
352
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก อ�ำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
๑. ที่มาหรือฐานคิดของการด�ำเนินกิจกรรม การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก ด�ำเนินการ จัดท�ำโดยการน�ำเอาหลักสูตรการศึกษาเด็กปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๔๖ ซึ่งหลักสูตรแกนกลาง ซึง่ ประกอบด้วยสาระการเรียนรูข้ องเด็กศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก จ�ำนวน ๔ สาระ ได้แก่ (๑) สาระการเรียนรู้ เรือ่ งราวเกีย่ วกับตัวเด็ก (๒) สาระการเรียนรู้เรือ่ งราวเกีย่ วกับบุคคลส�ำคัญและสถานทีแ่ วดล้อมรอบตัว เด็ก (๓) สาระการเรียนรู้เรื่องราวเกี่ยวกับธรรมชาติรอบตัวเด็ก (๔) สาระการเรียนรู้เรื่องราวเกี่ยวกับ สิ่งต่างๆ รอบตัวเด็ก และ (๕) วันส�ำคัญต่างๆ โดยงานและกิจกรรมตามสาระการเรียนรู้ทั้ง ๕ สาระ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตาม ๖ กิจกรรมหลัก คือ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริม ประสบการณ์ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเสรี กิจกรรมกลางแจ้ง และกิจกรรมเกมการศึกษา ซึง่ องค์การ บริหารส่วนต�ำบลยางขีน้ ก ได้พฒ ั นาการจัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษาให้ครอบคลุมการส่งเสริมการจัดการ เรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ในเขตต�ำบลยางขี้นก โดยได้จัดท�ำหลักสูตรท้องถิ่น ซึ่งเป็นหลักสูตรที่เชื่อมโยง งานและกิจกรรมของทุนทางสังคมที่มีในชุมชน มาร่วมด�ำเนินกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และ พัฒนาการของเด็กปฐมวัย ทั้งในและนอกศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยงานและกิจกรรมตามหลักสูตรที่ ส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็ก ได้แก่ ๑) กิจกรรมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ๒) กิจกรรมการจัดสภาพ แวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรู้ ๓) กิจกรรมการป้องกันโรคติดต่อ ๔) กิจกรรมการจัดการอาหารและความ ปลอดภัย ๕) กิจกรรม การบริการด้านความปลอดภัย ๖) กิจกรรมการศึกษาแหล่งเรียนรู้ ศิลปวัฒนธรรม และประเพณีชุมชน และ๗) กิจกรรมเพื่อการส่งเสริมสุขภาพเด็ก ๘) กิจกรรมการส่งเสริมการออม
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
353
๒. งานและกิจกรรม ๒.๑. ภาพรวมระบบการดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบล ภาพรวมระบบการดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบลยางขีน้ ก ประกอบด้วย (๑) ระบบบริการสุขภาพ และการส่งเสริมพัฒนาการ มีงานและกิจกรรมที่ท�ำมีการทุนทางสังคมที่ร่วมด�ำเนินการ ได้แก่ การดูแลสุขภาพเด็กเบือ้ งต้น การรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขอนามัยแม่และเด็ก การส่งเสริมสุขภาพ โดยปราชญ์ชาวบ้านและหมอพืน้ บ้าน โดยทุนทางสังคมทีร่ ว่ มด�ำเนินการได้แก่ รพ.สต.ยางขีน้ ก รพ.สต. ผักแว่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นกทั้ง ๕ แห่งปราชญ์ชาวบ้าน ด้านสมุนไพร เป็นต้น (๒) ระบบการพัฒนาสภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรูข้ องเด็ก มีงานและกิจกรรม ที่ท�ำ การจัดพื้นที่สร้างสรรค์ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมุมส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้ปกครองใน รพ.สต.ยางขี้นก รพ.สต.ผักแว่น การจัดพื้นที่สีเขียว มุมน�้ำ มุมทราย ไม้ดอก ไม้ประดับ และการจัด วางและส�ำรวจเครื่องเล่นเด็กให้มีความปลอดภัย (๓) ระบบเศรษฐกิจชุมชน งานและกิจกรรมที่ทำ� คือ การส่งเสริมอาชีพให้กบั ผู้ปกครองเด็ก สนับสนุนทุนการศึกษา และการแหล่งเงินทุนดอกเบีย้ ต�ำ่ ในการ กู้ยืมประกอบอาชีพของผู้ปกครอง (๔) ระบบการพัฒนากฎกติกา ระเบียบแนวปฏิบัติ งานกิจกรรม ที่ทำ� คือ การมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นเพื่อประชาคมจัดท�ำแผน (๕) ระบบการจัดสวัสดิการ ช่วยเหลือกัน งานและกิจกรรมที่ท�ำ มีการดูแลในยามปกติ เช่นสวัสดิการดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ การบริหาจัดการต�ำบลแบบมีส่วนร่วม การดูแลในยามฉุกเฉิน งานและกิจกรรมที่ท�ำการบรรเทา สาธารณภัย การกู้ชีพ กู้ภยั และรักษาความสงบเรียบร้อยในชุมชน ๒.๒ การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก การจัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษา ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขีน้ ก เป็นหลักสูตรทีป่ ระกอบ ด้วยหลักสูตรการศึกษาเด็กปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๔๖ ซึ่งเป็นหลักสูตรแกนกลางและหลักสูตร ท้องถิ่น ซึ่งประกอบด้วยสาระการเรียนรู้ของเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จ�ำนวน ๔ สาระ ได้แก่ (๑) สาระ การเรียนรู้เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก (๒) สาระการเรียนรู้เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลส�ำคัญและสถานที่ แวดล้อมรอบตัวเด็ก (๓) สาระการเรียนรูเ้ รือ่ งราวเกีย่ วกับธรรมชาติรอบตัวเด็ก (๔) สาระการเรียนรูเ้ รือ่ ง ราวเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัวเด็ก และ (๕) วันส�ำคัญต่างๆ โดยงานและกิจกรรมตามสาระการเรียนรู้ ทั้ง ๕ สาระ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตาม ๖ กิจกรรมหลัก คือ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรม เสริมประสบการณ์ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเสรี กิจกรรมกลางแจ้ง และกิจกรรมเกมการศึกษา ซึง่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขีน้ ก ได้พฒ ั นาการจัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษาให้ครอบคลุมการส่งเสริม การจัดการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยในเขตต�ำบลยางขี้นก โดยได้จัดท�ำหลักสูตรท้องถิ่น ซึ่งเป็นหลักสูตร ที่เชื่อมโยงงานและกิจกรรมของทุนทางสังคมที่มีในชุมชน มาร่วมด�ำเนินกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการ
354
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
เรียนรู้และพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ทั้งในและนอกศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยงานและกิจกรรมตาม หลักสูตรที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็ก ได้แก่ ๑) กิจกรรมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็ก งานและกิจกรรมที่ ท�ำ คือ กิจกรรมศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้ปกครอง ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต� ำบล ยางขี้นก และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลผักแว่น การอบรมและให้ความรู้ผู้ปกครองเด็ก เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก กิจกรรมของเล่นปลอดภัย กิจกรรมการประเมินพัฒนาการเด็ก กิจกรรมการชั่งน�้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็กปฐมวัย กิจกรรมการประเมินภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัย กิจกรรมเคลื่อนไหวทางกายประกอบเพลง โยคะประกอบนิทาน การเล่นเครื่องเล่นกลางแจ้ง การเล่น เกมการละเล่น การเล่นของเล่นทีเ่ ป็นสือ่ ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ และการจัดกิจกรรมตามสาระการเรียนรู้ ๕ สาระในหลักสูตร ๒) กิจกรรมการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ งานและกิจกรรมที่ทำ� การจัด ท�ำพืน้ ทีส่ เี ขียว มุมธรรมชาติ การท�ำพืน้ ทีส่ ร้างสรรค์กจิ กรรมทางกาย มุมทราย มุมน�ำ้ คือ ๓) กิจกรรม การป้องกันโรคติดต่อ งานและกิจกรรมทีท่ ำ� คือ กิจกรรมอาสาสมัครลูกน�ำ้ ยุงลาย กิจกรรมรณรงค์เด็ก ไทยห่างไกลไข้เลือดออก แผ่นพับประชาสัมพันธ์ปอ้ งกันโรค มือ เท้า ปาก กิจกรรมทันตอนามัย กิจกรรม ศูนย์เด็กลด ละ เลิก การกินขนมกรุบกรอบ ลูกอม ลูกกวาด ๔) กิจกรรมการจัดการอาหารและความ ปลอดภัย งานและกิจกรรมที่ท�ำ คือ มุมส่งเสริมการเรียนรู้เกี่ยวกับโภชนาการ อบรมส่งเสริมความรู้ให้ ผูป้ ระกอบการอาหรกลางวันเกีย่ วกับอาหารและโภชนาการเด็กปฐมวัย การตรวจสุขภาพผูป้ ระกอบการ อาหารกลางวัน แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับอาหารกลางวัน จัดท�ำปฏิทินรายการอาหารกลางวัน ๕) กิจกรรมการบริการด้านความปลอดภัย งานและกิจกรรมที่ท�ำ คือ กิจกรรมการตรวจสุขภาพ ประจ�ำวันของเด็ก บันทึกการรับ-ส่งเด็กประจ�ำวันศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก การจัดการขยะและคัดแยกขยะ ทะเบียนประวัตเิ ด็กแผนป้องกันอัคคีภยั แผนป้องกันเด็กจมน�ำ้ แผ่นพับการป้องกันโรคติดต่อ กิจกรรม การจัดสภาพแวดล้อมภายในศูนย์ ปลั๊กไฟปลอดภัย กิจกรรมการบันทึกการตรวจเครื่องเล่นเด็ก ๖) กิจกรรมการศึกษาแหล่งเรียนรู้ ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีชมุ ชน งานและกิจกรรมทีท่ ำ� คือ ศึกษา แหล่งเรียนรู้วัดต่างๆ ในต�ำบลยางขี้นก ศึกษาแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่น ศึกษาแหล่งเรียนรู้ด้านการส่งเสริมอาชีพ ศึกษาแหล่งเรียนรู้ด้านการส่งเสริมอาชีพ และ ๗) กิจกรรม การส่งเสริมการออม งานและกิจกรรมที่ท�ำ คือ กิจกรรมการฝากเงินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโดยการรับ ฝากเข้าบัญชีธนาคารกรุงไทยมารับฝากที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กร่วมกับโรงเรียนในชุมชน
๓. ทุนทางสังคม ๓.๑ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการหลัก ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการหลักเกี่ยวกับการจัดท�ำ หลักสูตรสถานศึกษา ได้แก่ ๑) องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นกส่งเสริมและสนับสนุนงบประมาณ
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
355
ในการด�ำเนินงานจัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษา และน�ำใช้ข้อมูลในการจัดท�ำแผนพัฒนาการศึกษา ท้องถิ่น ๒) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลยางขี้นกสนับสนุนข้อมูลด้านสุขภาพ การส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาการเด็ก ตลอดจนการมีส่วนร่วมในการวัดและประเมินผล ๓) โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพชุมชนต�ำบลผักแว่น สนับสนุนข้อมูลด้านสุขภาพการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการเด็ก ตลอด จนการมีส่วนร่วมในการวัดและประเมินผล ๔) ครูผู้ดูแลเด็ก บทบาทหน้าที่ในการด�ำเนินงานและ การมีส่วนร่วมในการออกแบบงานและกิจกรรมการจัดการเรียนรู้และการเล่น พร้อมทั้งร่วมด�ำเนินการ วัดและการประเมินผลพัฒนาการเด็ก ๕) กลุ่ม อสม. ท�ำหน้าที่ในการรวบรวมข้อมูล ติดตาม ให้ ค�ำแนะน�ำและร่วมดูแลพร้อมทั้งส่งเสริมสุขภาพ ส่งเสริมและแก้ไขปัญหาพัฒนาการเด็ก ๖) ผู้น�ำ ท้องถิ่น ด�ำเนินการตัดสินใจเกี่ยวกับสถานที่และพื้นที่ในการด�ำเนินงานและกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ และการเล่น ๗) กลุ่มผู้สูงอายุ เป็นผู้ร่วมด�ำเนินงานและกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ผลิตสื่อของเล่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น ร่วมกระบวนการจัดกิจกรรมการเล่านิทานและท่องค�ำคล้องจองผญาอีสานโบราณ ๘) สภาวัฒนธรรมต�ำบลยางขี้นก มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่นด้วยการน�ำใช้ ข้อมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรมและประเพณีอีสานการร่วมออกแบบกิจกรรมและการส่งเสริมด้านข้อมูล วัฒนธรรมประจ�ำต�ำบลยางขี้นก ๓.๒ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการรอง ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการรอง ได้แก่ ๑) วัดต่างๆในเขตต�ำบลยางขี้นก เป็นแหล่งศึกษาและ เรียนรู้ด้านศิลปะ วัฒนธรรมและประเพณี ท้องถิ่น ๒) ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต�ำบลยาง ขีน้ ก งานและกิจกรรมด้านการดูแลความสงบเรียบร้อยและการบรรเทาสาธารณภัย การสนับสนุนแผน ในการป้องกันอัคคีภัยและแผนป้องกันและช่วยเหลือเด็กจมน�้ำ
๔. วัตถุประสงค์ ๔.๑ เพื่อให้องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก มีหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรท้องถิ่นที่ เป็นแนวทางหลักในการออกแบบกิจกรรมเพื่อการพัฒนาและการจัดการศึกษาเด็กปฐมวัย ในชุมชน ต�ำบลยางขี้นก ๔.๒ เพื่อให้ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กมีกรอบแนวคิดและวิธีการในการด�ำเนินการการจัดการเรียนรู้ และการศึกษาเด็กปฐมวัย ในชุมชนต�ำบลยางขี้นก ๔.๓ เพื่อพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
356
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๕. วิธีการท�ำงาน ๕.๑ องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขีน้ ก ส่งเสริมสนับสนุนงบประมาณในการด�ำเนินการจัดท�ำ หลักสูตร และเป็นแหล่งข้อมูลตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา แผนพัฒนาสามปี ข้อบัญญัติ งบประมาณรายจ่าย ๕.๒ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลยางขีน้ ก สนับสนุนเก็บรวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพ และการส่งเสริมและพัฒนางานวิชาการด้านการดูแลสุขภาพเด็ก ๐-๕ ปี ๕.๓ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลผักแว่น สนับสนุนเก็บรวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพ และการส่งเสริมและพัฒนางานวิชาการด้านการดูแลสุขภาพเด็ก ๐-๕ ปี ๕.๔ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กบ้านยางขีน้ ก ท�ำหน้าทีใ่ นการจัดท�ำหลักสูตรเพือ่ การพัฒนาและการ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย รวมทั้งส่งเสริมและดูแลด้านสุขภาพและการส่งเสริมและ พัฒนาเกี่ยวกับพัฒนาการและการดูแลสุขภาพของเด็กเด็ก ๐-๕ ปี ๕.๕ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านผักแว่น ท�ำหน้าที่ในการจัดท�ำหลักสูตรเพื่อการพัฒนาและการ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย รวมทั้งส่งเสริมและดูแลด้านสุขภาพและการส่งเสริมและ พัฒนาเกี่ยวกับพัฒนาการและการดูแลสุขภาพของเด็กเด็ก ๐-๕ ปี ๕.๖ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโพนสิม ท�ำหน้าที่ในการจัดท�ำหลักสูตรเพื่อการพัฒนาและการ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย รวมทั้งส่งเสริมและดูแลด้านสุขภาพและการส่งเสริมและ พัฒนาเกี่ยวกับพัฒนาการและการดูแลสุขภาพเด็ก ๐-๕ ปี ๕.๗ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กบ้านค�ำสมอ-หนองใหญ่(สุนทรวีรธรรม) ท�ำหน้าทีใ่ นการจัดท�ำหลักสูตร เพือ่ การพัฒนาและการออกแบบการจัดการเรียนรูข้ องเด็กปฐมวัย รวมทัง้ ส่งเสริมและดูแลด้านสุขภาพ และการส่งเสริมและพัฒนาเกี่ยวกับพัฒนาการและการดูแลสุขภาพของเด็ก ๐-๕ ปี ๕.๘ ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดก่อน้อย ท�ำหน้าที่ในการจัดท�ำหลักสูตรเพื่อการพัฒนา และการออกแบบการจัดการเรียนรูข้ องเด็กปฐมวัย รวมทัง้ ส่งเสริมและดูแลด้านสุขภาพและการส่งเสริม และพัฒนาเกี่ยวกับพัฒนาการและการดูแลสุขภาพของเด็ก ๐-๕ ปี ๕.๙ กลุม่ อสม. ท�ำหน้าทีใ่ นการการส่งเสริมและพัฒนาเกีย่ วกับพัฒนาการและการดูแลสุขภาพ ของเด็ก ๐-๕ ปี ๕.๑๐ คณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ดูแลและบริหารจัดการรวมทั้งร่วมจัดการและ สนับสนุนการออกแบบกิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ๕.๑๑ คณะครูผดู้ แู ลเด็ก ด�ำเนินการศึกษา รวบรวมข้อมูล จ�ำท�ำหลักสูตรสถานศึกษา ออกแบบ กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ของเด็กจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กและรวมทั้งการประเมิน ผลพัฒนาการของเด็ก
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
357
๕.๑๒ ผูน้ ำ� ท้องถิน่ ดูแลและบริหารจัดการรวมทัง้ ร่วมจัดการและสนับสนุนการออกแบบกิจกรรม เพื่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ๕.๑๓ ผูน้ ำ� ท้องทีด่ แู ลและบริหารจัดการรวมทัง้ ร่วมจัดการและสนับสนุนการออกแบบกิจกรรม เพื่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
๖. การเชื่อมโยงหรือส่งผลที่เอื้อต่อการท�ำงานกับกลุ่มงานและกิจกรรมอื่นๆ การจัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษาโดยการออกแบบและการพัฒนาหลักสูตรซึ่งประกอบด้วย หลักสูตรการศึกษาเด็กปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๔๖ ซึ่งเป็นหลักสูตรแกนกลาง และหลักสูตรท้องถิ่น ซึ่งเป็นหลักสูตรที่ออกแบบเพื่อการจัดการเรียนรู้ของเด็กและนอกจากนั้นยังเป็นหลักสูตรที่พัฒนา ศักยภาพของทุนทางสังคมด้วย ซึ่งหลักสูตรสถานศึกษานั้นมีการเชื่อมโยงกับกลุ่มและทุนทางสังคม โดยครูผู้ดูแลเด็กท�ำหน้าที่เก็บรวบรวมข้อมูลทุนทางสังคม เพื่อน�ำมาวิเคราะห์งานและกิจกรรมของ ทุนทางสังคมทีม่ ผี ลกระทบโดยตรงหรือโดยอ้อมต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย และน�ำข้อมูลทีไ่ ด้มารวบรวม เพื่อจัดการเทียบเคียงประเด็นการพัฒนาเด็ก โดยมีข้อมูลด้านการส่งเสริมสุขภาพจากโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลยางขี้นกและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลผักแว่น โดยร่วมกับ อสม.เพื่อจัดการข้อมูล ท�ำให้ทราบว่าทุนทางสังคมที่มีงานและกิจกรรมที่มีผลกระทบโดยตรงและ สามารถน�ำมาออกแบบจัดกิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ของเด็ก ได้แก่ กลุ่มผู้สูงอายุ และสภาวัฒนธรรม ต�ำบลยางขี้นก ประกอบด้วยผู้สูงอายุท่ีเป็นปราชญ์ชาวบ้านและคณะกรรมการสภาวัฒนธรรมต�ำบล ยางขี้นก ที่สามารถผลิตสื่อที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นและมีข้อมูลของวัฒนธรรมและประเพณีของ ท้องถิ่นเป็นอย่างดี จากนั้นองค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก ได้เชิญผู้อ�ำนวยการโรงเรียนต่างๆ ใน เขตต�ำบลยางขี้นก คณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ผู้นำ� ท้องถิ่น ผู้น�ำท้องที่ ครูผู้ดูแลเด็ก ปราชญ์ ชาวบ้านและคณะกรรมการสภาวัฒนธรรมต�ำบลยางขีน้ กมาด�ำเนินการจัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษาและ หลักสูตรท้องถิ่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้าน ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก ซึ่งหลักสูตรดังกล่าว มีการเชื่อมโยงหรือส่งผลที่เอื้อต่อการท�ำงานกับกลุ่มงานและกิจกรรมอื่นๆ ได้แก่ กิจกรรมการจัดพื้นที่ สร้างสรรค์เพือ่ การพัฒนากิจกรรมทางกาย กิจกรรมการพัฒนาศิลปวัฒนธรรมประเพณีทอ้ งถิน่ กิจกรรม การเล่านิทานโดยผูส้ งู อายุ กิจกรรมการฟ้อนนกกาบบัวโดยกลุม่ ผูส้ งู อายุและสภาวัฒนธรรมต�ำบลยาง ขี้นก
358
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๗. ผลผลิตและผลลัพธ์ ๗.๑ ผลต่อประชากรเป้าหมาย ผลต่อประชากรเป้าหมายเกิดการพัฒนาศักยภาพ ต�ำบลยางขี้นกมีกระบวนการพัฒนา ศักยภาพพ่อ แม่ และผูป้ กครอง ด้วยการอบรมให้ความรูใ้ นการดูแลเด็กการส่งเสริมพัฒนาการการตาม วัย และการประเมินพัฒนาการเด็ก มีการพัฒนาศักยภาพครูผดู้ แู ลเด็กในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ด้วยการ ส่งเสริมให้เข้ารับการฝึกอบรมตามหลักสูตรส�ำหรับการดูแลเด็กปฐมวัยและการจัดประสบการณ์การ เรียนรู้ให้เด็กปฐมวัย ตลอดจนการส่งเสริมกระบวนการท�ำงานร่วมกันในการพัฒนาเด็กปฐมวัยและ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กเป็นศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กคุณภาพตามข้อตกลง (MOU) ขององค์การบริหารส่วนต�ำบล ยางขีน้ ก รพ.สต.ยางขีน้ ก รพ.สต.ผักแว่น และส�ำนักงานสาธารณสุขอ�ำเภอเขือ่ งใน มีการเพิม่ ศักยภาพ ให้ครูผู้ดูแลเด็กและกองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมขององค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก ให้สามารถจัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรท้องถิ่น ให้สอดคล้องกับบริบทของชุมชนและ พัฒนาการของเด็กในพืน้ ที่ การเพิม่ ศักยภาพให้ศนู ย์พฒ ั นาเด็กเล็กทุกแห่งได้มกี ารพัฒนากระบวนการ เรียนรู้ของเด็กอย่างต่อเนื่องด้วยการปรับปรุงหลักสูตร การพัฒนาการจัดประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้ ของเด็กปฐมวัย ตลอดจนการพัฒนาการจัดสภาพแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ของเด็กปฐมวัย การเพิม่ ศักยภาพและทักษะครูผดู้ แู ลเด็ก ในการท�ำงานร่วมกันกับรพ.สต.ยางขีน้ กและ รพ.สต.ผักแว่น และการอบรมเพือ่ เพิม่ ศักยภาพให้อสม.เพือ่ การติดตามและส่งเสริมพัฒนาการเด็กและ การตรวจสุขภาพของเด็กอย่างต่อเนื่อง ๗.๒ ผลต่อคุณภาพชีวิตของกลุ่มประชากร ๕ มิติ ๑) ด้านสังคม จากการจัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษา ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาการจัดการ ศึกษาเด็กปฐมวัย ของต�ำบลยางขีน้ ก ในด้านสังคม คือองค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขีน้ ก ศูนย์พฒ ั นา เด็กเล็กของต�ำบลยางขี้นกมีหลักสูตรสถานศึกษา ที่ใช้เป็นแนวทางในการด�ำเนินงานจัดกิจกรรม การเรียนรู้เด็กปฐมวัย ตามสาระและกิจกรรมในการพัฒนาเด็กที่ได้ก�ำหนดไว้ในหลักสูตร ซึ่งเน้น กระบวนการมีส่วนร่วมและประสานความร่วมมือในการด�ำเนินการจัดท�ำร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพชุมชนต�ำบลผักแว่น และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลยางขีน้ ก โดยมีกจิ กรรมต่างๆ ของหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อการพัฒนาเด็กทางด้านสังคม เช่น กิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมเสรี กิจกรรมสร้างสรรค์ และกิจกรรมเกมการ ศึกษา เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่น ในพื้นที่กิจกรรมสร้างสรรค์ที่กลุ่ม ผู้สงู อายุและสภาวัฒนธรรมต�ำบลยางขีน้ กได้เข้ามามีส่วนร่วมในการด�ำเนินงาน นอกจากนัน้ ยังพบว่า จากการจัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษาได้เกิดผลกระทบโดยตรงในด้านความสัมพันธ์และความอบอุ่น
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
359
ระหว่างเพือ่ น ครู พ่อ แม่ ผูป้ กครองและกลุม่ ผูส้ งู อายุมคี วามสัมพันธ์อนั ดีตอ่ กัน ตลอดจนการประสาน ความร่วมมือในการพัฒนาเด็กปฐมวัย ในชุมชนต�ำบลยางขีน้ ก ระหว่างทุนทางสังคมในทุกระดับมีการ ร่วมมือและประสานการพัฒนาเป็นอย่างดี ๒) ด้านเศรษฐกิจ จากการจัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษาเด็กปฐมวัย ส่งผลกระทบต่อองค์การ บริหารส่วนต�ำบลยางขี้นกและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ของต�ำบลยางขี้นก ด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ เกิดงาน และกิจกรรมที่ส่งผลต่อเด็กที่อาศัยอยู่ในครอบครัวที่ยากจนได้รับการส่งเสริมสนับสนุนทุนการศึกษา หรือได้รับการบริจาคเสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่ม และอุปกรณ์ในการเล่นและท�ำกิจกรรมต่างๆ และกิจกรรม การช่วยเหลือเด็กพิเศษ ได้รับการช่วยเหลือในเรื่องทุนการศึกษาและทุนช่วยเหลือในการส่งเสริม พัฒนาการ ซึ่งเป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายของผู้ปกครองของเด็กได้ นอกจากนั้นหลักสูตรสถานศึกษา ทีจ่ ดั กิจกรรมเน้นการออม ด้วยกิจกรรมการฝากเงินของเด็กโดยธนาคารได้มาร่วมเปิดบัญชีเงินฝากให้ เด็กที่ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ซึ่งเป็นการส่งเสริมให้เด็กรู้จักการประหยัดและการออม ๓) ด้านสภาวะแวดล้อม หลักสูตรสถานศึกษา ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก จัดหลักสูตรเกี่ยวกับการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก รวมทั้งการปรับสภาพแวดล้อม ทัง้ ภายในและภายนอก รวมทัง้ สภาพแวดล้อมภายในหมูบ่ า้ นให้มคี วามปลอดภัย เช่น การจัดมุมพืน้ ที่ สีเขียว มุมเล่นทราย มุมเล่นขายของ ที่จัดสภาพแวดล้อมให้เด็กได้เล่นของเล่นและสื่อภูมิปัญญา ท้องถิ่นที่เป็นการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่นของพื้นที่ นอกจากนั้นหลักสูตรสถาน ศึกษา มีกิจกรรมการปรับสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมความปลอดภัย ที่บ้าน เช่น การติดตั้งปลั๊กไฟฟ้า การส�ำรวจการใช้งานเครือ่ งเล่นเด็กและเครือ่ งออกก�ำลังกายในลานกีฬาและลานการออกก�ำลังกายทุก หมู่บ้าน ๔) ด้านสุขภาพ หลักสูตรสถานศึกษา ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก มีการจัด กิจกรรม ที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อการส่งเสริมและกระตุ้นพัฒนาการของเด็ก ได้แก่ กิจกรรม ๖ กิจกรรมหลัก ทีจ่ ดั ตามสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตร ประกอบด้วย กิจกรรมการเคลือ่ นไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมเสรี กิจกรรมสร้างสรรค์ และกิจกรรมเกมการ ศึกษา เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีกิจกรรมการวัดและประเมินผลพัฒนาการและการเจริญเติบโตของ เด็กปฐมวัย เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพของเด็ก ตลอดจนการประสานงานเครือข่ายใน การช่วยเหลือเด็กที่มีภาวะบกพร่องและเป็นเด็กพิเศษจากศูนย์การศึกษาพิเศษ เขต ๑๐ อุบลราชธานี และศูนย์การศึกษาพิเศษอ�ำเภอเขื่องใน นอกจากนั้นยังเกิดผลกระทบด้านการจัดการข้อมูลทางด้าน สุขภาพในการติดตามช่วยเหลือและส่งต่อทางการรักษาอย่างทันท่วงที ๕) ด้านการเมืองการปกครอง หลักสูตรสถานศึกษา ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขีน้ ก ได้นำ� ใช้ขอ้ มูลจากการวิเคราะห์ทนุ ทางสังคม และข้อมูลจากการจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ ละการเล่น จาก
360
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ผลของพัฒนาการและการเจริญเติบโตของเด็กทีไ่ ด้จากการวัดผลและประเมิน ส่งผลกระทบต่อการน�ำ ใช้ข้อมูลเพื่อการจัดท�ำแผนพัฒนาการศึกษา ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี แผนงานการ สนับ สนุน การจัด การศึก ษาเด็ก ปฐมวัย แผนงานการจัดการพัฒ นาคุณ ภาพชีวิต และหลัก สูตร สถานศึกษาศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ของต�ำบลยางขี้นก เป็นต้น ๗.๓ ผลต่อทุนทางสังคมอื่นๆ ผลต่อทุนทางสังคมอื่นๆ เกิดการเชื่อมโยงระหว่างทุนทางสังคมในท้องถิ่น และส่งผลให้เกิด ข้อมูลและการน�ำใช้ข้อมูล จากงานและกิจกรรมของทุนทางสังคม เช่น การผลิตสื่อภูมิปัญญาท้องถิ่น ส�ำหรับเด็กปฐมวัยของกลุม่ ผูส้ งู อายุ การฝึกฟ้อนนกกาบบัวโดยสภาวัฒนธรรมต�ำบลยางขีน้ ก การตรวจ ประเมินพัฒนาการและการตรวจสุขภาพโดย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลยางขี้นก และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลผักแว่น โดยกลุ่ม อสม.เป็นต้น ซึ่งข้อมูลงานและกิจกรรมของ ทุนทางสังคมเหล่านี้ ส่งผลต่อการน�ำใช้ข้อมูลในการจัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษา ขององค์การบริหาร ส่วนต�ำบลยางขี้นก อ�ำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
๘. กลไก เครื่องมือในการด�ำเนินงาน ๘.๑ มีคณะท�ำงานเพื่อวางแผนการด�ำเนินงานการจัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษา โดยครูผู้ดูแล เด็ก อสม. รพ.สต. กลุม่ ผูส้ งู อายุ สภาวัฒนธรรมต�ำบลยางขีน้ ก และองค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขีน้ ก ๘.๒ มีการน�ำใช้ข้อมูลจาก ทุนทางสังคมในชุมชน และระบบการดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบล ยางขี้นก เพื่อวางแผนการออกแบบหลักสูตรสถานศึกษา ๘.๓ มีคณะท�ำงานออกแบบหลักสูตรสถานศึกษา ๘.๔ มีการประสานงานและสร้างการมีสว่ นร่วมในการด�ำเนินงานระหว่างทุนทางสังคมในชุมชน เพื่อเตรียมการด�ำเนินงานและการจัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษา ๘.๕ องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก หนุนเสริมเรื่องงบประมาณการด�ำเนินการจัดท�ำ หลักสูตรสถานศึกษา และ รพ.สต.หนุนเสริมข้อมูลทางด้านวิชาการ ด้านสุขภาพ และด้านพัฒนาการ ของเด็กปฐมวัย ๘.๖ ประเมินผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
361
๙. ปัจจัยเงื่อนไข ๑) ความร่วมมือและการประสานงานของทุนทางสังคม คือ ทุนบุคคล ทุนกลุ่ม และทุนหน่วย งานและองค์กรที่มีในชุมชน ๒) ข้อมูลที่ชัดเจนและถูกต้องของทุนทางสังคมที่มีในชุมชน ๓) การด�ำเนินงาน การประสานงาน การสนับสนุนงบประมาณ และการหนุนเสริมด้านการ อ�ำนวยการการจัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษา โดย องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก ๔)การเชื่อมโยงและการประสานงานของคณะท�ำงานและทุนทางสังคมในการจัดท�ำหลักสูตร สถานศึกษา
๑๐. ความเชื่อมโยงต่อ ๗ คุณลักษณะการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่น ๑๐.๑ การสร้างการเรียนรู้ หลักสูตรสถานศึกษา องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก เป็นหลักสูตรที่ส่งเสริมการสร้าง การเรียนรูข้ องเด็กปฐมวัย โดยมีกจิ กรรมทีเ่ ป็นการสร้างการเรียนรูร้ ว่ มกัน เช่น กิจกรรมการศึกษาแหล่ง เรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น กิจกรรมการป้องกันโรคติดต่อ กิจกรรมการบริการด้านอาหาร ปลอดภัย เป็นต้น ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวยังส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกันของบุคคลและทุนทางสังคมได้ เรียนรู้การพัฒนาและส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยในชุมชน ๑๐.๒ การสร้างคนให้จัดการตนเอง การจัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษา องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขีน้ ก เป็นผลกระทบจากการน�ำ ใช้ข้อมูลทุนทางสังคม ของต�ำบลยางขี้นก ภายใต้การคิดและการพัฒนาตนเอง ด้วยหลักการสร้างคน ให้จดั การตนเอง การวิเคราะห์ขอ้ มูลทุนทางสังคมทีไ่ ด้ เช่น ทุนบุคคลทีเ่ ด่นและเชีย่ วชาญในการท�ำของ เล่น ทุนกลุ่มผู้สูงอายุในชุมชนที่มีความเด่นความเชี่ยวชาญในด้านวัฒนธรรมและประเพณี หรือกลุ่ม อสม.ทีม่ คี วามเชีย่ วชาญในการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โดยใช้ขอ้ มูลดังกล่าว มาจัดท�ำหลักสูตร สถานศึกษา องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก และก�ำหนดกิจกรรมในหลักสูตร ด้วยการน�ำเอางาน และกิจกรรมของทุนทางสังคมในชุมชนมาพัฒนาเป็นกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ภาย ใต้การเสนอความต้องการของชุมชนในเวทีประชาคม มาวิเคราะห์จดั ท�ำเป็นแผนพัฒนาการศึกษา ข้อ บัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี และหลักสูตรสถานศึกษา องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก
362
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๑๐.๓ การสร้างการมีส่วนร่วม การจัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษา องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก เด็กปฐมวัย เน้นการสร้าง การมีส่วนร่วม โดยการประสานความร่วมมือ การประชุมเพื่อชี้แจงและร่วมรับฟังการเสนอความคิด เห็นและความต้องการในการพัฒนาเด็กของผู้ปกครองและทุนทางสังคม ตลอดจนการมีส่วนร่วมของ ทุนทางสังคมในการเป็นผูร้ ว่ มในกระบวนการจัดกิจกรรม เป็นคณะกรรมการ คณะท�ำงานในการจัดท�ำ หลักสูตรสถานศึกษา องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก เป็นต้น ๑๐.๔ การระดมทุนและทรัพยากร ในการจั ด ท� ำ หลั ก สู ต รสถานศึ ก ษา องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลยางขี้ น กของเด็ ก ปฐมวั ย ของต�ำบลยางขี้นกได้มีการระดมทุนและทรัพยากรทางด้านบุคคลจากทุนทางสังคม และกลุ่มองค์กร ต่างๆในชุมชนเข้ามีส่วนร่วมในการจัดท�ำ เช่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลยางขี้นก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลผักแว่น โรงเรียนทัง้ ๕ แห่งในเขตต�ำบลยางขีน้ ก ครูผดู้ แู ลเด็ก และองค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก ซึ่งเป็นทรัพยากรทุนทางสังคมของต�ำบลยางขี้นก ๑๐.๕ การมีข้อตกลง การมีข้อตกลงในการจัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษา องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก มีการ สร้างข้อตกลงร่วมกันในการร่วมประชุมเพื่อประเมินผลการใช้หลักสูตรเมื่อสิ้นปีทางการศึกษา และมี การเลือกตัง้ คณะท�ำงานหลักสูตรสถานศึกษา องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขีน้ ก จากทุนทางสังคม ที่ มีในชุมชน ๑๐.๖ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กรภาครัฐและหน่วยงานอื่นๆ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กร หน่วยงานภาครัฐ และหน่วยงานต่างๆ ในพืน้ ที่ ต�ำบล ยางขีน้ ก ในการจัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษา องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขีน้ ก ได้รบั ความร่วมมือทาง ด้านการส่งเสริมงานวิชาการด้านสุขภาพจาก รพ.สต.ในชุมชน และโรงพยาบาลเขื่องใน ส�ำนักงาน สาธารณสุขอ�ำเภอเขือ่ งใน และการสนับสนุนและประสานงานด้านการจัดท�ำแผนป้องกันอัคคีภยั และ แผนป้องกันเด็กจมน�ำ้ จากมูลนิธกิ ภู้ ยั อ�ำเภอเขือ่ งใน ตลอดจนการประสานความร่วมมือในการช่วยเหลือ เด็กพิเศษจากศูนย์การศึกษาพิเศษอ�ำเภอเขื่องใน
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
363
๑๑. ตอบสนองต่องานและกิจกรรมตัวชี้วัด การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก ตอบสนอง ต่องานและกิจกรรม ๖ ชุดกิจกรรมการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย และตัวชี้วัดดังนี้ คือ ๑๑.๑ เด็กปฐมวัย ๐-๓ ปี ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพ ตัวชี้วัดที่ ๔.พัฒนาหลักสูตรและจัดท�ำคู่มือส�ำหรับ ฝึกอบรมผู้เกี่ยวข้องในการดูแลเด็ก ๐-๓ปี ชุดกิจกรรมที่ ๓ การพัฒนาระบบบริการ เด็ก ๐-๓ ปี ตัวชี้วัดที่ ๑๕ การให้การบริการ เช่น การให้ค�ำปรึกษาผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็กเรื่องสุขภาพอย่างน้อย ๑ ครั้งต่อปี การจัดบริการอาหารเฉพาะ หรือตามความต้องการรวมทั้งการดูแลเด็ก๐-๓ ปี ทั้งเด็กป่วย พิการ และกลุ่มปกติรวมทั้งการประเมิน พัฒนาการที่บ้าน ชุดกิจกรรมที่ ๖ การมีกฎ ระเบียบแนวปฏิบัติเพื่อหนุนเสริมการด�ำเนินกิจกรรมเสริมความ เข้มแข็งชุมชนท้องถิ่น ตัวชี้วัดที่ ๒๙.มีข้อบัญญัติท้องถิ่นเพื่อจัดสรรงบประมาณในการสนับสนุนการ ดูแลเด็ก ๐-๓ปี ที่ทั้งเด็กป่วย พิการ และกลุ่มปกติ ตัวชี้วัดที่ ๓๑. มีการท�ำแผนพัฒนาต�ำบล เพื่อการ ป้องกันแก้ไขปัญหาครอบครัวกับกลุ่มเป้าหมาย ๓ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเด็กเยาวชนก่อนสมรสกลุ่ม ครอบครัวปกติ และกลุ่มครอบครัวมีปัญหา โดยให้เป็นส่วนหนึ่งของแผนพัฒนาต�ำบล ๑๑.๒ เด็กปฐมวัย ๓-๕ ปี ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพ ตัวชีว้ ดั ที่ ๕. จัดท�ำหลักสูตรและคูม่ อื การอบรมผูเ้ กีย่ วข้อง ในการดูแลเด็ก ๓-๕ ปี ตัวชี้วัดที่ ๙. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการจัดท�ำหลักสูตรที่ส่งเสริมการเรียนรู้ หลักสูตรการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยทัง้ ๔ ด้านคือ ร่างกาย จิตใจ- อารมณ์สงั คม และสติปญ ั ญา โดยใช้กิจกรรม ๖ หลักที่ครอบคลุม ๔ สาระให้สอดคล้องกับบริบทของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้แก่ ส่งเสริมพัฒนาการด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่กล้ามเนื้อมัดเล็กความคิดสร้างสรรค์ลักษณะนิสัยให้ เด็กได้แสดงอารมณ์และความรู้สึกด้านศิลปะ ดนตรี ด้านคุณธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะที่ดี ทางสังคมเบื้องต้น ตัวชี้วัดที่ ๔๗. มีการจัดท�ำข้อมูลโดยคนในชุมชนและมีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายตั้งแต่ ขั้นตอนการเก็บการตรวจสอบความถูกต้องการวิเคราะห์เพื่อใช้จัดการดูแลและประเมินผลการดูแล
364
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ภาพที่ ๖๑ การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก อ�ำเภอเขื่องใน จังหวัด อุบลราชธานี
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
365
การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลต�ำบลด่านช้าง ต�ำบลด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี
๑. ที่มาหรือฐานคิดของการด�ำเนินกิจกรรม เทศบาลต�ำบลด่านช้าง มีเด็กอายุ ๐-๕ ปี จ�ำนวน ๔๐๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๓๐ ของ ประชากรทัง้ หมด เด็กนักเรียนทีเ่ ข้าเรียนทีศ่ นู ย์พฒ ั นาเด็กเล็กอายุ ๒-๕ ปี จ�ำนวน ๒๐๖ คน ตามแบบ ส�ำรวจ ปี พ.ศ.๒๕๔๙ จากสภาพสังคมและการด�ำเนินชีวติ ทีเ่ ปลีย่ นไปส่งผลให้ผปู้ กครองในเขตเทศบาล ต�ำบลด่านช้างต้องออกไปประกอบอาชีพนอกบ้าน ท�ำให้ไม่มีเวลาดูแลบุตรหลาน จากสภาพปัญหา ดังกล่าวท�ำให้เทศบาลต�ำบลด่านช้างมีนโยบายและมีความต้องการสร้างศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่อ รองรับเด็ก ๒-๕ ปี และต้องการให้เทศบาลต�ำบลด่านช้าง เป็นศูนย์กลางการศึกษา เพื่อให้เด็กได้รับ การพัฒนาตามเกณฑ์มาตรฐาน คณะผู้บริหารของเทศบาลต�ำบลด่านช้าง ซึ่งน�ำโดยนายกเทศมนตรีในขณะนั้นได้ร่วมกับ ผูอ้ ำ� นวยการสถานศึกษา และคณะกรรมการสถานศึกษาในเขตเทศบาลต�ำบลด่านช้างร่วมประชุมหารือ และวางแผนการแก้ไขปัญหา เพือ่ ยกระดับคุณภาพชีวติ ของเด็กในพืน้ ที่ และพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยใช้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นหน่วยงานในการขับเคลื่อนการพัฒนาอย่างบูรณาการ โดยมีองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น คือ เทศบาลต�ำบลด่านช้างเป็นผู้สนับสนุนงบประมาณ และเป็นผู้ที่จัดสร้างศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กขึ้น เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนให้กับเด็กปฐมวัยตั้งแต่ ๒-๕ ขวบ โดยเทศบาลได้ ท�ำการส�ำรวจข้อมูลค่าใช้จา่ ยของครัวเรือนในการดูแลเด็กปฐมวัย เพือ่ น�ำมาเป็นฐานคิดในการวางแผน สร้างศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในปีวันที่ ๑๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๐ โดยเปิดท�ำการจัดการเรียนการสอน ประจ�ำปีการศึกษา ๒๕๕๑ ขึ้นเป็นครั้งแรก เพื่อดูแลและพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและคนในพื้นที่ รวม ทั้งเป็นการลดรายจ่ายในการดูแลเด็กของผู้ปกครอง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลต�ำบลด่านช้างจึงมี ส่วนที่ช่วยในการแก้ปัญหาที่กล่าวมาข้างต้น และเพื่อให้การด�ำเนินการของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการ ด�ำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพอย่างสูงสุด จึงมีการจัดท�ำหลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กทีบ่ รู ณาการกับ
366
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ชุมชนท้องถิ่นที่เกิดจากการมีส่วนร่วมของผู้บริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ครู ผู้ปกครอง และชุมชนอย่าง แท้จริงตามเจตนารมณ์ของหลักสูตรสถานศึกษาและเพื่อให้เด็กทุกคนในพื้นที่มีสิทธิได้รับการอบรม เลีย้ งดูและส่งเสริมพัฒนาการ ตลอดจนการเรียนรูอ้ ย่างเหมาะสม และสร้างการมีปฏิสมั พันธ์ทดี่ รี ะหว่าง เด็กกับพ่อแม่ ครอบครัว และชุมชนในการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาเด็กปฐมวัย โดยการจัดการ เรียนรู้ได้มีการน�ำทุนทางสังคม กลุ่มปราชญ์ชาวบ้าน กลุ่มอาสา หน่วยงานและแหล่งเรียนรู้ในพื้นที่ เพื่อให้เด็กมีการพัฒนาการเรียนรู้อย่างองค์รวม จนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลต�ำบลด่านช้างมีการ พัฒนาจนได้รบั รางวัลศูนย์เด็กน่าอยู่ปี ๒๕๕๓ และศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ปี พ.ศ.๒๕๕๗
๒. งานและกิจกรรม ๒.๑ ภาพรวมระบบการดูแลเด็กปฐมวัย เทศบาลต�ำบลด่านช้าง มีการพัฒนาศักยภาพเด็กปฐมวัย ดังนี้ ๑) ด้านสร้างสภาวะแวดล้อมที่เกื้อหนุนและปลอดภัย โดยการจัดสภาวะแวดล้อมนอก บ้านในจุดอันตราย คือ ให้ผู้ปกครองดูแลบุตรหลาน โดยไม่ปล่อยให้บุตรหลานออกมาเล่นตามล�ำพัง สนามเด็กเล่น ด�ำเนินการเกี่ยวกับการดูแลความปลอดภัย ความสะอาดโดยเทศบาลต�ำบลด่านช้าง มีบทบาทในการรักษาความสะอาด และดูแลรักษาไฟสาธารณะ มีสนามเด็กเล่น มีลานเอนกประสงค์ ๒) การจัดสภาวะแวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรู้ มีการจัดสภาวะแวดล้อมในชุมชนทีเ่ อือ้ ต่อ การเรียนรู้ มีพนื้ ทีส่ ร้างสรรค์ เพือ่ ส่งเสริมให้เด็กและครอบครัวได้มกี ารท�ำกิจกรรมร่วมกันผูม้ บี ทบาทใน การจัดการเรียนรู้ ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลต�ำบลด่านช้าง จัดการสภาวะแวดล้อมในศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลต�ำบลด่านช้าง ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กเทศบาลต�ำบลด่านช้าง มีการปรับโครงสร้าง อาคารสถานที่ และสิ่งแวดล้อมในสถานที่ให้บริการส�ำหรับเด็ก ๐-๕ ปี ดังนี้การปรับสภาวะแวดล้อม ในอาคารให้มีพื้นที่ในการใช้สอยที่เหมาะสมกับวัยของเด็ก มีการปรับสภาวะแวดล้อมในห้องเรียน เช่น การจัดหาของเล่นให้เหมาะสมกับวัยของเด็ก เพือ่ เป็นการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กให้เหมาะสม ตามวัย การปรับสภาพแวดล้อมด้านการป้องกันอุบัติเหตุ ได้แก่ การจัดโครงการปลอดภัยไว้ก่อน เพื่อ เป็นการป้องกันอัคคีภยั โดยการให้ความรูก้ บั เด็ก ครู และบุคลากรภายในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก การปรับ สภาวะแวดล้อมด้านการปฐมพยาบาลเบื้องต้น เทศบาลต�ำบลด่านช้าง มีการจัดห้องพยาบาลไว้ใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาเบื้องต้นในการเกิดอุบัติเหตุกับเด็กภายในศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก การปรับสภาวะแวดล้อมด้านการป้องกันโรคติดต่อ มีการคัดกรองเด็กในตอนเช้า ช่วงที่ ผู้ปกครองมาส่งเด็กเข้าเรียนในตอนเช้า
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
367
๓) การส่งเสริมการดูแลสุขภาพอนามัยที่ดี โดยโรงพยาบาลด่านช้าง มีการจัดให้มี จุดบริการส�ำหรับเด็ก ระดับ ๐-๕ ปี โดยเฉพาะ เช่น สถานที่ตรวจและฉีดวัคซีนเด็กในโรงพยาบาล เนือ่ งจากเด็กในช่วงวัยนีภ้ มู คิ มุ้ กันร่างกายเขามีนอ้ ย จึงไม่สมควรทีจ่ ะมารับการตรวจรวมกับผูป้ ว่ ยทัว่ ไป ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีมีการชั่งน�้ำหนัก วัดส่วนสูง ติดตามและประเมินผลทุกเดือน หากพบเด็กมี ปัญหาเราจัดท�ำโครงการสงเสริมพัฒนาการเด็กอ้วน-ผอม มีนโยบายการป้องกันและดูแลเพื่อให้ ห่างไกลโรคติดต่อทั้งทางด้าน การติดตามวัคซีน การฝึกเด็กนักเรียนล้างมือ ๗ ขั้นตอน การคัดกรอง เด็กนักเรียนก่อนเข้าห้องเรียน ๔) การสร้างความสัมพันธ์ และเรียนรู้วิถีชุมชน มีการส่งเสริมให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมใน การจัดการเรียนรู้ในการบริหารงานศูนย์ มีโครงการส่งเสริมภูมปิ ัญญาท้องถิน่ โดยขอความร่วมมือจาก ปราชญ์ชาวบ้าน และการเรียนรู้วิถีชุมชนจากแหล่งพิพิธภัณฑ์ และงานประเพณีต่างๆ ๒.๒ การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๑) การส่งเสริมการเรียนรู้ มีการจัดท�ำหลักสูตรพัฒนาหลักสูตรและจัดท�ำคู่มือส�ำหรับฝึก อบรมผู้เกี่ยวข้องในการดูแลเด็ก ๒-๕ ปี ด้านสติปัญญาและการเรียนรู้ ออทิสติก และเด็กที่มีความผิด ปกติทางด้านพฤติกรรม มีการจัดท�ำโครงการพัฒนาการเด็กพิเศษ มีการจัดท�ำแผนการจัดประสบการณ์ ตามหน่วยการเรียนรู้ตามสาระการเรียนรู้เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่ แวดล้อมเด็ก ธรรมชาติรอบตัว สิ่งต่างๆ รอบตัวเด็กประเมินพัฒนาการเด็กและพัฒนาเด็กตามแบบ กระทรวงสาธารณสุข(การประเมิน DSPM) และประสานงานกับทางโรงพยาบาลหากพบเด็กมีพฒ ั นาการ ล่าช้า ๒) การส่งเสริมพัฒนาการ มีการจัดการการพัฒนาติดตามและประเมินผลการประเมินความ ฉลาดทางด้านอารมณ์ มีแผนและการจัดกิจกรรมการส่งเสริม/พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์บรู ณาการ ไปกับการจัดประสบการณ์เรียนการสอน มีการจัดท�ำโครงการพัฒนาเด็กพิเศษ และจัดท�ำวิจัยเพื่อ พัฒนาเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า ๓) สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ที่เป็นพื้นที่สร้างสรรค์หรือสนามเด็กเล่น มีพื้นที่ สร้างสรรค์ เพื่อส่งเสริมให้เด็กและครอบครัวได้มีการท�ำกิจกรรมร่วมกัน ผู้มีบทบาทในการจัดการ เรียนรู้ ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลต�ำบลด่านช้าง จัดการสภาวะแวดล้อมในศูนย์พัฒนา เด็กเล็กเทศบาลต�ำบลด่านช้าง ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กเทศบาลต�ำบลด่านช้าง มีการปรับโครงสร้างอาคาร สถานที่ และสิ่งแวดล้อมในสถานที่ให้บริการส�ำหรับเด็ก ๒-๕ ปี ปรับสภาวะแวดล้อมในอาคารให้มี พื้นที่ในการใช้สอยที่เหมาะสมกับวัยของเด็ก มีการปรับสภาวะแวดล้อมในห้องเรียน เช่น การจัดหา ของเล่นให้เหมาะสมกับวัยของเด็ก เพื่อเป็นการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กให้เหมาะสมตามวัย การ
368
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ปรับสภาพแวดล้อมด้านการป้องกันอุบตั เิ หตุ ได้แก่ การจัดโครงการปลอดภัยไว้กอ่ น เพือ่ เป็นการป้องกัน อัคคีภยั โดยการให้ความรูก้ บั เด็ก ครู และบุคลากรภายในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก การปรับสภาวะแวดล้อม ด้านการปฐมพยาบาลเบือ้ งต้น มีการจัดห้องพยาบาลไว้ในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก เพือ่ เป็นการแก้ไขปัญหา เบื้องต้นในการเกิดอุบัติเหตุกับเด็กภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๔) การเฝ้าระวังป้องกันโรคให้เด็ก ๒-๕ ปี มีการจัดกิจกรรมเกีย่ วกับการป้องกันและควบคุม โรคติดต่อโดยจัดท�ำเป็นโครงการคือโครงการเพิม่ ประสิทธิภาพครูผดู้ แู ลเด็ก โครงการส่งเสริมความรูใ้ ห้ แก่ผู้ปกครองในการเลี้ยงดูบุตร โครงการปลอดภัยไว้ก่อน โครงการก�ำจัดลูกน�้ำยุงลาย มีการท�ำความ สะอาดเครื่องเล่น เครื่องใช้ ของเด็กและอาคารทุกวัน มีตารางกิจกรรมหน้าเสาธง โดยจัดกิจกรรมให้ ความรูเ้ รือ่ งโรคติดต่อแก่เด็กทุกวันศุกร์ ครูผดู้ แู ลเด็ก และบุคลากรทีไ่ ด้สมั ผัสและใกล้ชดิ เด็ก ได้รบั การ ตรวจสุขภาพทุกคน ทุกปีๆ ละ ๑ ครั้ง เด็กทุกคนได้รับการตรวจสุขภาพคัดกรองอาการป่วยและลง บันทึกทุกวัน มีการบันทึกการตรวจสุขภาพทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์ ตรวจผม ตา ปาก ฟัน หู จมูก เล็บ มือเท้าผิวหนัง มีการคัดกรองเด็กในตอนเช้า ช่วงที่ผู้ปกครองมาส่งเด็กเข้าเรียนในตอนเช้า ๕) ระบบการจัดการอาหาร มีการการตรวจสอบคุณภาพอาหาร โดยใช้เกณฑ์ คือ อาหาร ปรุงสุก สะอาด ร้อน ไม่ค้างมื้อ มีการบรรจุอาหารในภาชนะที่ปิดมิดชิด เก็บอาหารสูงจากพื้นอย่าง น้อย ๖๐ ซม. ไม่ใช้มือสัมผัสอาหารที่สุกแล้ว และมีปริมาณเพียงพอต่อเด็ก มีการตรวจสอบคุณภาพ นม ใช้วิธกี ารสุ่มตรวจสอบคุณภาพนม โดยสุ่มตรวจนมจากถุงเทใส่แก้ว สังเกต สี ตะกอน ฟอง กลิ่น และชิมรสขาตินม ส�ำรวจนมทุกแก้วที่เตรียมให้เด็กดื่มสังเกต สี ตะกอน ฟอง กลิ่น สุ่มชิมรสชาติ นม จากแก้ว ห้องละ ๕ แก้ว ผู้ประกอบอาหารมีสุขภาพดี ได้รับการอบรมด้านสุขาภิบาลอาหารและ โภชนาการอย่างน้อยทุก ๒ ปี ๖) การบริหารจัดการของศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กอย่างแบบ มีการจัดท�ำแผนพัฒนาการศึกษา สามปี แผนปฏิบตั กิ ารประจ�ำปีงบประมาณ ยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้านการศึกษา แนวทางการพัฒนา การศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ยุทธศาสตร์ การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา แนวทางการ พัฒนา ครูและบุคลากรทางการศึกษาโครงการ พัฒนาเพิม่ ประสิทธิภาพครูผดู้ แู ลเด็ก โครงการ โรงเรียน พ่อแม่
๓. ทุนทางสังคม ๓.๑ ทุนทางสังคมทีด่ ำ� เนินการหลัก ประกอบด้วย ๑) ระดับบุคคลและครอบครัว มีปราชญ์ ชาวบ้าน ๗ คน ได้แก่ เรือ่ งพิธกี รรมทางศาสนาและความเชือ่ การนวดแผนไทย ด้านการประกอบอาชีพ การท�ำอาหาร บุคลที่เป็นจิตอาสา บุคคลสนับสนุนการท�ำงาน ๒๔ คน ได้แก่ จิตอาสา อสม. ผู้ทรง
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
369
คุณวุฒิทางการศึกษา ๘ คน ๒) ระดับกลุ่มทางสังคม องค์กรชุมชน มีกลุ่มแม่บ้าน ช่วยเหลือดูแล เด็กในชุมชน ๓) ระดับหน่วยงานและแหล่งประโยชน์ มีโรงเรียนวัดด่านช้าง โรงเรียนอนุบาลด่านช้าง ช้าง ให้ความรูใ้ นการจัดท�ำหลักสูตร และเป็นทีป่ รึกษาในการจัดการเรียนการสอน โรงพยาบาลด่านช้าง สถานพยาบาลพัฒนาทักษะครู ผู้ปกครอง ดูแลเรื่องการป้องกันโรคติดต่อ และงานทันตกรรมของเด็ก สาธารณสุขอ�ำเภอพัฒนาทักษะครู ผูป้ กครอง ดูแลเรือ่ งการป้องกัน เทศบาลต�ำบลด่านช้างวางนโยบาย สนับสนุนการด�ำเนินงานด้านสนับสนุนงบประมาณการจัดการเรียนการสอน และศูนย์มอนเทสเซอร์รี่ ท�ำหน้าทีส่ ง่ เสริมสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนแบบมอนเทสเซอร์รใี่ ห้กบั ผูส้ นใจ พิพธิ ภัณฑ์อ�ำเภอ ด่านช้าง แหล่งศึกษาให้ความรู้ถึงรากเหงาท้องถิ่นด่านช้างและศูนย์อาเซียนศึกษาท�ำหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนให้กบั เด็กและครู ๔) ระดับ ชุมชน/หมูบ่ า้ น คณะกรรมการศูนย์พฒ ั นา เด็กเล็กร่วมออกแบบหลักสูตร และการบริหารจัดการภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๕) ระดับต�ำบล มีกองทุนสวัสดิการสังคม คอยสนับสนุนความเป็นอยู่ของเด็ก กลุ่ม อสม. ดูแลเรื่องสุขภาพของเด็กใน ชุมชน ๓.๒ ทุนทางสังคมทีด่ ำ� เนินการรอง ประกอบด้วย ๑) ทุนระดับหน่วยงานและแหล่งประโยชน์ มีหอกระจายข่าว การให้ความรู้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก สถานีต�ำรวจด่านช้าง อ�ำนวยความสะดวก ขณะเด็กจัดกิจกรรม ตลาดสดเทศบาลต�ำบลด่านช้าง แหล่งอาหารและอุปกรณ์การจัดการเรียน การสอน วัดบรรหารแจ่มใส สถานที่ประกอบพิธีการทางศาสนา และการร่วมงานประเพณีและ แหล่งเรียนรู้เรื่องศาสนา สนามกีฬาอ�ำเภอด่านช้าง สนามฟุตซอลสถานที่ออกก�ำลังกายของเด็กและ ครอบครัว สนามกีฬาโรงเรียนอนุบาลด่านช้าง แหล่งออกก�ำลังกาย และฝึกซ้อมการเล่นกีฬาของเด็ก และครอบครัว และลานอเนกประสงค์ สถานที่ประกอบกิจกรรม โครงการต่างๆของเด็กนักเรียน เช่น โครงการกีฬาสี ๒) ระดับ ชุมชน/หมู่บ้าน คณะกรรมการชุมชน ร่วมบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และ ประสานงานเกี่ยวกับเด็กและชุมชน ๓) ระดับเครือข่าย มีสโมสรไล้อ้อน ให้ทุนการศึกษา และอุปกรณ์ แก่เด็กที่ยากไร้ กิ่งกาชาด ช่วยเหลือเด็กในชุมชนที่ประสบปัญหาต่างๆ
๔. วัตถุประสงค์ ๔.๑ เพื่อส่งเสริม และสนับสนุนให้เด็กได้รับการดูแลที่ถูกสุขลักษณะ และได้รับการฝึกฝน พัฒนาตามวัยและเต็มตามศักยภาพ ๔.๒ เพื่อพัฒนาความพร้อมของเด็กในทุกๆ ด้านแบบองค์รวม ตามจิตวิทยาพัฒนาการและ หลักการจัดการศึกษาปฐมวัย
370
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๔.๓ เพื่อกระตุ้นให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัด และพัฒนาความพร้อมของเด็กก่อนเข้าเรียน ระดับประถมศึกษา ตลอดจนส่งเสริมให้ครอบครัวเป็นฐานในการเลีย้ งดู และพัฒนาเด็กได้อย่างถูกวิธี ๔.๔ เพื่อส่งเสริม สนับสนุนความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับชุมชน ให้ สามารถร่วมกันวางแผน และด�ำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายได้ ๔.๕ เพื่อแบ่งเบาภาระการอบรมเลี้ยงดูเด็กของผู้ปกครองที่มีรายได้น้อยให้สามารถออกไป ประกอบอาชีพได้โดยสะดวก และเป็นการกระจายโอกาสในการพัฒนาความพร้อมส�ำหรับเด็กทุกคน ให้ได้รับการพัฒนาอย่างทั่วถึง ๔.๖ เพื่อให้การบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นไปอย่างเหมาะสมและมีคุณภาพ
๕. วิธีการท�ำงาน ๕.๑ จัดท�ำแบบสอบถามความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับความต้องการการพัฒนาและ ดูแลเด็ก ๕.๒ ศึกษาข้อมูล รวบรวมข้อมูล หาแนวทางการแก้ไข การด�ำเนินการ ผลกระทบ ๕.๓ จัดท�ำนโยบายการบริหาร การส่งเสริมด้านการศึกษา และการจัดตัง้ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ๕.๔ ด�ำเนินการจัดท�ำหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยมีความสอดคล้องกับหลักสูตร แกนกลาง และ สภาพตามบริบททางวัฒนธรรม วิถีชีวิตของสังคม ชุมชน และท้องถิ่นของผู้เรียน ซึง่ มีลกั ษณะแตกต่างกันไป ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้สถานศึกษาได้ใช้หลักสูตรสถานศึกษาเป็นแนวทางในการจัดการ ศึกษา ให้มปี ระสิทธิภาพ และมีมาตรฐานทัดเทียมกัน โดยก�ำหนดถึงความสอดคล้องระหว่างหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐานและหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย เพื่อให้ผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง และชุมชน มี ความรู้ ความเข้าใจที่ชัดเจน และสามารถน�ำไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพโดยการจัดกิจกรรมส่งเสริม สุขภาพกาย จริยธรรม และการอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น เสริมสร้างทักษะกระบวนการคิด การแก้ปัญหา และการช่วยเหลือตนเอง ในชีวติ ประจ�ำวัน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างหลากหลายโดยเน้นผูเ้ รียนเป็นส�ำคัญ บรรยากาศ และสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ พัฒนาครูและบุคลากร พัฒนาระบบการบริหารจัดการ ให้มีประสิทธิภาพโดยชุมชน และผู้ปกครองมีส่วนร่วม ๕.๕ จัดให้มกี ารประชุมชีแ้ จงให้ชมุ ชนทราบ ชีน้ ำ� ให้เห็นประโยชน์และความจ�ำเป็นของหลักสูตร ประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนทราบเกี่ยวกับการด�ำเนินงานประสานงานและประชาสัมพันธ์การด�ำเนินงาน ของหลักสูตร ให้ประชาชน และหน่วยงานต่างๆ รับทราบ
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
371
๕.๖ จัดให้มีการติดตามและประเมินผลการด�ำเนินงานของหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กใน ลักษณะไตรภาคี ๓ ฝ่าย จากภาคส่วนต่างๆ คือ ภาคประชาชน หรือผูแ้ ทนชุมชนในท้องถิน่ หน่วยงาน ผู้ทรงคุณวุฒิด้านวิชาการ และผู้แทนจากหน่วยงานภาครัฐ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
๖. การเชื่อมโยงหรือส่งผลที่เอื้อต่อการท�ำงานกับกลุ่มงานและกิจกรรมอื่นๆ ได้แก่ กลุ่มปราชญ์ชาวบ้านมาให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนในเรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่น คณะ กรรมการชุมชนท�ำกิจกรรมงานประเพณีต่างๆร่วมกับเด็กนักเรียน
๗. ผลผลิตและผลลัพธ์ ๗.๑ ผลต่อประชากรเป้าหมาย เด็กอายุ ๒– ๕ ปี ของเทศบาลต�ำบลด่านช้าง ได้รบั การพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ และ จิตใจ สังคมและสติปัญญาที่เหมาะสมกับวัย และได้รับการจัดการเรียนการสอนตามคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ ร่างกายเจริญเติบโตตามวัย มีความสุข มีจติ ใจทีด่ งี าม ช่วยเหลือตนเองได้อย่างเหมาะสม กับวัย อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข และปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ใช้ภาษาสื่อสารได้ อย่างเหมาะสม สามารถในการคิดและแก้ปัญหาได้เหมาะสมกับวัย มีจินตนาการและความคิด สร้างสรรค์ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ ๗.๒ ผลต่อคุณภาพชีวิตของกลุ่มประชากร ๕ มิติ ๑) ด้านสังคม เด็กได้รับการดูแลช่วยเหลือ งานด้านศาสนา วัฒนธรรม ความเชื่อ การ ช่วยเหลือสนับสนุนด้านการศึกษา การช่วยเหลือสนับสนุนด้านการจัดการศึกษาเป็นตัวกลางในการ จัดงานวันส�ำคัญ และงานประเพณี โดยการเชิญเด็ก ชุมชนมาท�ำกิจกรรมร่วมกัน ตักบาตรวันขึน้ ปีใหม่ แห่เทียนพรรษา รดน�ำ้ ด�ำหัวผูส้ งู อายุในวันสงกรานต์ การช่วยเหลือในภาวะฉุกเฉิน เช่น อุบตั เิ หตุฉกุ เฉิน จะมีหน่วยงานของมูลนิธิกู้ภัยเสมอกัน ให้การช่วยเหลือส่งต่อไปยังโรงพยาบาลด่านช้าง ซึ่งเป็นสถาน บริการสุขภาพที่ใกล้ที่สุด เด็ก ครู จะได้รับการฝึกอบรม เพื่อให้มีความรู้เข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพ ของเด็ก การปฐมพยาบาลเบือ้ งต้น การซักซ้อมหนีอคั คีไฟ ในโครงการปลอดภัยไว้ก่อน โดยหน่วยงาน ของโรงพยาบาลด่านช้าง และเจ้าหน้าที่ป้องกันสาธารณภัย ของเทศบาลต�ำบลด่านช้าง ๒) ด้านเศรษฐกิจ เศรษฐกิจในระดับครัวเรือน มีคา่ ใช้จา่ ยในการดูแลเด็กในครัวเรือนน้อยลง แต่มคี ณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ี เด็กเรียนรูก้ ารประหยัดอดออม และการประกอบอาชีพต่างๆ แบบง่ายโดยปราชญ์ ชาวบ้าน
372
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๓) สภาวะแวดล้อม การจัดการสภาวะแวดล้อมของเทศบาลต�ำบลด่านช้าง จัดให้มีบริเวณ พื้นที่ในอาคารที่สะอาด ปลอดภัย และเพียงพอเหมาะสมกับการปฏิบัติกิจกรรมของเด็ก เช่น การเล่น การเรียนรู้ การรับประทางอาหาร และการนอน โดยแยกเป็นสัดส่วนจากห้องประกอบอาหาร ห้องส้วม และที่พักของเด็กป่วย นอกจากนี้พื้นที่ส�ำหรับจัดกิจกรรมพัฒนาเด็กอาจจัดแยกเป็นห้องเฉพาะ หรือ จัดรวมเป็นห้องเอนกประสงค์ทใี่ ช้สำ� หรับจัดกิจกรรมทีห่ ลากหลายโดยใช้พนื้ ทีเ่ ดียวกันแต่ตา่ งเวลา และ อาจปรับเปลี่ยนวัสดุอุปกรณ์ หรือย้ายเครื่องเรือนตามความเหมาะสม สภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ และควรตั้งอยู่ห่างจากแหล่งอบายมุข ฝุ่นละออง กลิ่น หรือเสียงที่รบกวน มีการจัด ระบบสุขาภิบาล การระบายน�้ำ การระบายอากาศ และการจัดเก็บสิ่งปฏิกูลให้เหมาะสม มีพื้นที่เล่น กลางแจ้ง โดยจัดให้มีเครื่องเล่นกลางแจ้งที่ปลอดภัย และมีพอสมควรกับจ�ำนวนเด็ก เช่น ในบริเวณ วัด หรือในสวนสาธารณะ ๔) ด้านสุขภาพ การบริการสุขภาพโดยโรงพยาบาล บริการตรวจสุขภาพ คัดกรอง รักษา ฟื้นฟู ตามสภาพการเจ็บป่วย มีการให้ความรู้และจัดกิจกรรมให้แก่ครู ผู้ปกครอง และตัวเด็ก ได้แก่ โรงพยาบาลด่านช้าง ส�ำนักงานสาธารณสุขอ�ำเภอด่านช้าง เทศบาลต�ำบลด่านช้าง ส่งเสริมให้มกี ลไก ในการพัฒนางานเพื่อดูแลเด็กปฐมวัย เช่น แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่มี คณะกรรมการทีม่ าจากทุกภาคส่วนในชุมชน เช่น ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาล ผู้ใหญ่บ้าน แกนน�ำชุมชน ต�ำรวจ สาธารณสุขอ�ำเภอ ผู้ทรงคุณวุฒิทางการศึกษาและผู้ปกครองเด็ก และด�ำเนินตามหลักสูตร จัดท�ำโครงการการด�ำเนินกิจกรรมการลดพฤติกรรมเสี่ยงทางด้านสุขภาพในเด็ก ได้แก่ (๑) โครงการ อ้วนผอม (๒) โครงการหนูน้อยฟันสวย (๓) โครงการลดการกินขนมกรุบกรอบ (๔) โครงการปลอดภัย ไว้กอ่ น และ(๕) โครงการส่งเสริมการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็ก ท�ำให้เด็กได้รบั การส่งเสริมพัฒนาการ ที่เหมาะสมครบทั้ง ๔ ด้าน ๕) ด้านการเมืองการปกครอง เทศบาลต�ำบลด่านช้าง มีการด�ำเนินงานและกิจกรรม พัฒนา กฎกติการะเบียบแนวปฏิบัติ เช่น มีเทศบัญญัติท้องถิ่น แผนงบประมาณในการสนับสนุนการดูแล เด็ก จัดให้มีกองทุนสวัสดิการเพื่อการดูแลเด็กปฐมวัย มีการท�ำประชาคมร่วมกับทุกหมู่บ้านเพื่อให้มี นโยบาย ท�ำให้มีการจัดตั้งคณะกรรมศูนย์มีการวางนโยบายการจัดท�ำหลักสูตรที่สอดคล้องกับพื้นที่ ๗.๓ ผลต่อทุนทางสังคมอืน่ ๆ ได้แก่ องค์กรเอกชนให้ความสนใจและสนับสนุนมากขึน้ เกิด แหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับเด็กเพิ่มมากขึ้น ได้แก่ ศูนย์อาเซียน ศูนย์การจัดการเรียนการสอนมอนเทศรี่
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
373
๘. กลไก เครื่องมือในการด�ำเนินงาน ๘.๑ คณะกรรมการศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ครูผดู้ แู ลเด็กร่วมวางกรอบแนวคิดในการจัดท�ำหลักสูตร ๘.๒ จัดท�ำฐานข้อมูลเด็กในช่วงวัย ๐-๕ ปีในเขตเทศบาลต�ำบลด่านช้าง ๘.๓ หัวหน้าศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กจัดท�ำหลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ให้สอดคล้องกับมาตรฐาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๘.๔ จัดท�ำคู่มือการใช้หลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๘.๕ จัดท�ำแผนการจัดประสบการณ์การเรียนการสอนให้สอดคล้องกับหลักสูตรศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก ๘.๖ สร้างความร่วมมือระหว่างองค์กรภาครัฐและเอกชนในการสนับสนุนการศึกษาแก่เด็ก ๘.๗ พัฒนาเด็กเล็กตามหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
๙. ปัจจัยเงื่อนไข ๙.๑ มีกระบวนการขับเคลื่อนการพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโดยกระบวนการมี ส่วนร่วม มีคณะกรรมการศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กเทศบาลต�ำบลด่านช้าง คณะกรรมการศูนย์ ได้แก่ นายก เทศมนตรีต�ำบลด่านช้าง รองนายกเทศมนตรีต�ำบลด่านช้าง รองนายกเทศมนตรีต�ำบลด่านช้าง ผูท้ รงคุณวุฒทิ างการศึกษา ผูท้ รงคุณวุฒทางสาธารณสุข ปลัดเทศบาลต�ำบลด่านช้าง นักพัฒนาชุมชน ผู้อำ� นวยการกองการศึกษา ประธานคณะกรรมการตลาด ประธานชุมชนต่างๆ ตัวแทนผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็ก มีหน้าที่ก�ำหนดนโยบายและแผนพัฒนาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลต�ำบลด่านช้าง ส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กเล็กทุกคนได้รับการเตรียมพร้อมอย่างมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน ส่งเสริมให้มีการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา เสนอแนวทางและมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการด้าน วิชาการ งบประมาณ การบริหารงานและการบริหารทั่วไปของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลต�ำบล ด่านช้าง เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างศูนย์พัฒนาเด็กเล็กกับชุมชน ๙.๒ มีกระบวนการขับเคลือ่ นการพัฒนาหลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กโดยการน�ำใช้ขอ้ มูล และ ทุนสนับสนุน เทศบาลต�ำบลด่านช้าง มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลในการส่งเสริมแก้ไข จัดการปัญหา เด็ก ๐-๕ ปี ดังนี้ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กการจัดท�ำฐานข้อมูล ประเมินพัฒนาการและการจัดท�ำโครงการ เด็กพิเศษ และการจัดท�ำฐานข้อมูล การประเมินความฉลาดทางด้านอารมณ์ศนู ย์พฒ ั นาเด็กเล็กมีการ จัดท�ำฐานข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาเด็กฟันผุ ปัญหาเด็กอ้วนผอม ปัญหาพัฒนาการล่าช้าของเด็ก พร้อม ทั้งการส่งเสริมแก้ไขปัญหารพ.สต. มีการติดตามประเมินพัฒนาการเด็ก และการได้รับวัคซีนของเด็ก เทศบาลสนับสนุนเงินงบประมาณในการบริหารจัดการ การจัดท�ำหลักสูตร การจัดท�ำโครงการต่างๆ
374
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนเงินค่าใช้จ่ายรายหัวเด็ก และ ค่าอาหารกลางวัน
๑๐. ความเชื่อมโยงต่อ ๗ คุณลักษณะการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่น ๑๐.๑ การสร้างการเรียนรู้ มีสง่ เสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย การส่งเสริมศักยภาพการดูแลเด็กปฐมวัยของผูป้ กครอง โดย การใช้ข้อมูล ข้อมูลปัญหาสุขภาพของแม่และเด็กปฐมวัยโรงพยาบาลด่านช้าง เพื่อจัดการต่อปัญหา และความต้องการของชุมชนในการการดูแลเด็กปฐมวัย พัฒนาหลักสูตรและจัดท�ำคูม่ อื ส�ำหรับฝึกอบรม ผู้เกี่ยวข้องในการดูแลเด็ก ๐-๓ปี เช่น หลักสูตรและคู่มือการดูแลเด็ก ๐-๓ ปี ที่มีความพิการทางด้าน ร่างกายและการเคลือ่ นไหว ด้านสติปญ ั ญาและการเรียนรู้ ออทิสติก และเด็กทีม่ คี วามผิดปกติทางด้าน พฤติกรรม คือ โครงการเฝ้าระวังปัญหาโภนาการ(อ้วนผอม) โครงการลดการกิน ขนมกรุบกรอบ โครงการ อาหารโครงการอาหารดีมปี ระโยชน์ โครงการโรงเรียนพ่อแม่ โครงการพัฒนาประสิทธิภาพครูผดู้ แู ลเด็ก ในเรื่องการดูแลสุขภาพเด็ก พฤติกรรมเสี่ยงของ เด็กปฐมวัยการสร้างเสริมภูมิคุมกันโรค การส่งเสริม การเรียนรูพ้ ฒ ั นาการทางปัญญาและอารมณ์ เช่นส่งเสริมการเรียน ส่งเสริมการเล่น เป็นต้น และให้การ ดูแลช่วยเหลือเมือ่ พบความผิดปกติ เช่น พฤติกรรมและการเรียนรูผ้ ดิ ปกติ มีความพิการทางสติปญ ั ญา พิการด้านร่างกาย เพื่อให้การดูแลช่วยเหลืออย่างถูกต้อง เช่น การดูแลเรื่องอาหาร การกระตุ้นพัฒนา การ กล้ามเนื้อต่างๆ ๑๐.๒ การสร้างกลไกการจัดการตนเอง เทศบาลต�ำบลด่านช้างมีการสร้างกลไกในการบริหารจัดการในการดูแลเด็กปฐมวัยในทุกระดับ ตัง้ แต่ระดับครอบครัว เพือ่ ให้งา่ ยต่อการบริหารจัดการ และการแก้ปญ ั หาในครอบครัวมีคณะกรรมการ บริหารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ซึง่ ประกอบด้วยผูท้ รงคุณวุฒจิ ากหลายหน่วยงาน ผูน้ ำ� ชุมชนเพือ่ เจรจาไกล่ เกลี่ยปัญหาในระดับครอบครัว มีแกนน�ำและคณะกรรมการบริหารกลุ่มและองค์กรชุมชนต่างๆ เช่น กลุ่ม อสม. กลุ่มสายใยรัก กลุ่มผู้สูงอายุ เพื่อถ่ายทอดความรู้และทักษะในการดูแลเด็กปฐมวัย มีกลุ่ม คณะกรรมารชุมชน และศูนย์พัฒนาครอบครัว ท�ำหน้าที่ในการเชื่อมประสานการท�ำงานในการดูแล เด็กปฐมวัยในช่วงปกติ เมื่อเกิด ภัยพิบัติ ภาวะฉุกเฉิน หรือโรคติดต่อ มีการประสานความช่วยเหลือ ทั้งในและนอกต�ำบล ในการให้ความช่วยเหลือเด็กปฐมวัยและครอบครัว
๑๐.๓ การสร้างคนให้จัดการตนเอง เทศบาลต�ำบลด่านช้างมีกระบวนการในการด�ำเนินงานโดย มีการพัฒนาศักยภาพของแม่และ
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
375
ครอบครัว อาสาสมัครให้มคี วามเชีย่ วชาญในงานและกิจกรรมต่างๆ เพือ่ เป็นแกนน�ำในการด�ำเนินงาน มีการแต่งตัง้ ผูท้ มี่ คี วามเชีย่ วชาญในการดูแลเด็กปฐมวัยให้เป็นผูน้ ำ� ในการท�ำงาน เช่น การเลีย้ งลูกด้วย นมแม่ การจัดท�ำของเล่นพื้นบ้านเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็ก การส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญา พื้นบ้านในการเลี้ยงเด็ก โรงเรียนพ่อแม่ นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาอาสาสมัครในการดูแลเด็กปฐมวัย และครอบครัว ซึ่งมีการเรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริง โดยการถ่ายถอดบทเรียนและความรู้ผ่านจาก ท�ำงานจริง จากการที่ได้เข้ามาร่วมเป็นคณะกรรมการ สมาชิก และอาสมัครในด้านต่างๆ ในการร่วม กันก�ำหนดแนวทาง หาทางออกร่วมกัน จนทุกคนในชุมชนมีความตระหนักถึงปัญหาการดูแลเด็กปฐมวัย ที่เกิดขึ้นเป็นปัญหาของส่วนรวม ที่ทกุ ฝ่ายต้องร่วมกันแก้ไข ๑๐.๔ การสร้างการมีส่วนร่วมและการระดมทุนและทรัพยากร เทศบาลต�ำบลด่านช้างมีการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนตาม หลักสูตรและจากการที่ทุกชุมชนมีเข้าร่วมสนับสนุนทางด้านทรัพยากรปราชญ์ชาวบ้าน และแหล่ง เรียนรู้ต่างๆ จิตอาสาในการด�ำเนินงาน ๑๐.๕ การมีข้อตกลง เทศบาลต�ำบลด่านช้างได้มกี ารจัดท�ำข้อตกลงทัง้ ในระดับบุคคลและครอบครัว ระดับกลุม่ และ องค์กร ระดับหน่วยงาน ระดับหมูบ่ า้ น ระดับต�ำบล และระดับเครือข่าย โดยมีเป้าหมาย ในการพัฒนา ศักยภาพแม่และครอบครัว อาสาสมัครในการดูแลเด็กปฐมวัย มีการท�ำวิจยั ชุมชน เพือ่ น�ำสูก่ ารจัดการ แก้ปัญหาในการดูแลเด็กปฐมวัยในพื้นที่ มีการสร้างข้อตกลงและกติกาเพื่อการดูแลเด็กปฐมวัยและ ครอบครัว เช่น การเฝ้าระวังความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดเด็กปฐมวัย การขับขีป่ ลอดภัยในชุมชน ซึง่ กระบวนการ การจัดท�ำข้อตกลงและกติกา ถือเป็นกระบวนการเรียนรู้และการจัดการความรู้โดยเฉพาะการจัดการ เงื่อนไขของการท�ำงานและการจัดกิจกรรมทั้งหลายของชุมชน ๑๐.๖ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กรภาครัฐและหน่วยงานอื่นๆ เทศบาลต�ำบลด่านช้าง มีการจัดการความร่วมมือกับโรงพยาบาลด่านช้าง ส�ำนักงาน สาธารณสุขระดับอ�ำเภอและจังหวัด โดยหน่วยงานดังกล่าวเข้ามาช่วยในการสนับสนุนการดูแลเด็ก ปฐมวัยในพื้นที่ เช่น การส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กพิเศษ การ อบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครในการดูแลเด็กปฐมวัยและครอบครัวการดูแลด้านทันตกรรม และ โรคติดต่อในเด็กปฐมวัย
376
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๑๑. การตอบสนองต่อ ๖ ชุดกิจกรรมการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย โดยชุมชนท้องถิ่น ตัวชี้วัด ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กของเทศบาลต�ำบลด่านช้าง ตอบสนอง ๖ ชุดกิจกรรมการพัฒนาระบบการ ดูแลเด็กปฐมวัยดังนี้ ๑๑.๑ ชุดกิจกรรมที่ ๑ สอดคล้องกับตัวชี้วัดที่ ๑ ฝึกอบรมผู้ปกครองหรือผู้ดูแลในครอบครัว เด็ก ๓-๕ ปีให้เข้าใจ ความจ�ำเป็นของการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การส่งเสริมการเรียนรู้พัฒนาการ ทางปัญญาและอารมณ์โครงการโรงเรียนพ่อแม่ในการให้ความรู้ผู้ปกครอง โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการเรียนการสอนให้กับครูผู้ดูแลเด็กและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง การจัดท�ำหลักสูตรแลพัฒนา หลักสูตรของศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก และตัวชี้วัดที่ ๔ มีโครงการเยี่ยมบ้านเพื่อรับทราบปัญหา เครือข่าย ดูแลช่วยเหลือสร้างช่วยเหลือกันโดยเชื่อมประสานทุนทางสังคมอื่นๆในพื้นที่ ๑๑.๒ ชุดกิจกรรมที่ ๒ การพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก ๓-๕ ปี สอดคล้องกับตัวชี้วัด ที่ ๑๓ มีการปรับสภาวะแวดล้อมในห้องเรียน เช่น การจัดหาของเล่นให้เหมาะสมกับวัยของเด็ก เพื่อ เป็นการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กให้เหมาะสมตามวัย ตัวชี้วัดที่ ๑๕ เทศบาลต�ำบลด่านช้าง มีการ จัดห้องพยาบาลไว้ในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาเบื้องต้นในการเกิดอุบัติเหตุกับเด็ก ภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก การปรับสภาวะแวดล้อมด้านการป้องกันโรคติดต่อ มีการคัดกรองเด็กใน ตอนเช้า ช่วงที่ผู้ปกครองมาส่งเด็กเข้าเรียนในตอนเช้า ตัวชี้วัดที่ ๑๖ ศพด.มีการปรับโครงสร้าง อาคารสถานที่ และสิ่งแวดล้อมในสถานที่ให้บริการส�ำหรับเด็ก ๐-๕ ปี ปรับสภาวะแวดล้อมในอาคาร ให้มพี นื้ ทีใ่ นการใช้สอยทีเ่ หมาะสมกับวัยของเด็ก มีการปรับสภาวะแวดล้อมในห้องเรียน ตัวชีว้ ดั ที่ ๑๗ ศพด. มีโครงการอาหารดีมีประโยชน์ ในการก�ำหนดรายการอาหารที่ดีตรงตาม ๕ หมู่ ตัวชี้วัดที่ ๑๘ ศพด. มีสนามเด็กเล่นคอยให้บริการแก่เด็กในชุมชนสามารถเข้ามาท�ำกิจกรรมได้ ตัวชี้วัดที่ ๒๐ ศพด. มีการก�ำจัดขยะเป็นประจ�ำ มีห้องน�้ำ ห้องส้วมที่เพียงพอ และตรงตามมาตรฐานสาธารณสุข ตัวชี้วัด ที่ ๒๑ ศพด. มีตัวอาคารมั่งคงแข็งแรง มีรั่วรอบอาคาร ตัวชี้วัดที่ ๒๒ ศพด. มีทางม้าลาย มีสถานที่ จอดรถเพียงพอ และมีจุดคัดกรองสุขภาพ ตัวชี้วัดที่ ๒๕ ศพด. มีโครงการปลอดภัยไว้ก่อน ป้องกัน อัคคีภัย การปฐมพยาบาลเบื้องต้น ๑๑.๓ ชุดกิจกรรมที่ ๓ การพัฒนาระบบบริการ สอดคล้องกับตัวชีว้ ดั ที่ ๒๖ การจัดการศึกษา ส�ำหรับเด็กปฐมวัย โดยการมีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่อให้เด็กปฐมวัยได้มีการเตรียมความพร้อมด้าน การศึกษาส�ำหรับช่วงชั้นที่สูงขึ้น เทศบาลต�ำบลด่านช้าง ได้จัดสร้างศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อดูแลและ พัฒนาคุณภาพชีวิตให้กบั คนในพื้นที่และลดรายจ่ายในการดูแลของผู้ปกครอง ตัวชี้วัดที่ ๓๘ ศพด. มี มาตรการการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ตัวชี้วัดที่ ๔๓ ศพด. มีระบบการประกันคุณภาพภายใน
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
377
๑๑.๔ ชุดกิจกรรมที่ ๔ การจัดตั้งกองทุนหรือจัดให้มีสวัสดิการช่วยเหลือกัน ตัวชี้วัดที่ ๔๖ การจัดท�ำโครงการเพิ่มประสิทธิภาพครู เป็นการอบรมเพิ่มความรู้ให้แก่ครู และบุลากรที่เกี่ยวข้อง มีการให้ทนุ การศึกษาแก่ครูในการศึกษาต่อ ๑๑.๕ ชุดกิจกรรมที่ ๕ การพัฒนาและน�ำใช้ข้อมูลในการส่งเสริมแก้ไข จัดการปัญหาเด็ก ๓-๕ ปี ตัวชี้วัดที่ ๔๘ การพัฒนาและน�ำใช้ข้อมูลการส่งเสริมแก้ไขจัดการปัญหาเด็ก มีการจัดท�ำฐาน ข้อมูลเด็กทั้งในเรื่องพัฒนาการ การฉีดวัคซีน ข้อมูลทันตสุขภาพมีแผนการพัฒนาอีคิว มีโครงการเด็ก พิเศษเพื่อรองรับเด็กพิเศษ และการจัดท�ำวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหา ๑๑.๖ ชุดกิจกรรมที่ ๖ ด้านการพัฒนากฎกติการะเบียบแนวปฏิบตั เิ พือ่ หนุนเสริมการด�ำเนิน กิจกรรมเสริมความเข้มแข็งชุมชนท้องถิ่น สอดคล้องกับตัวชี้วัดที่ ๕๓ การจัดท�ำแผนงบประมาณใน การสนับสนุนศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ตัวชีว้ ดั ที่ ๕๔ มีธรรมนูญสุขภาพก�ำหนดการจัดระบบบริการเพือ่ ดูแล เด็ก ๓-๕ ปี เช่น ก�ำหนดให้มกี ารพัฒนากระบวนการบริการสาธารณสุขเชิงรุกอย่างต่อเนือ่ งส�ำหรับการ ดูแลเด็ก ๓-๕ ปี
378
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
379
ภาพที่ ๖๒ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้าน ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น เทศบาลต�ำบลด่านช้าง อ�ำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี
ภาพที่ ๖๓ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิน่ เทศบาลต�ำบลด่านช้าง อ�ำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี
380
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ภาพที่ ๖๔ การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก เทศบาลต�ำบลด่านช้าง อ�ำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
381
การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนต�ำบลไหล่ทุ่ง อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี
๑. ที่มาหรือฐานคิดของการด�ำเนินกิจกรรม ข้อมูลจากการวิจัยชุมชน (TCNAP) พบว่าประชากรภายในต�ำบลไหล่ทุ่ง มีประชากรทั้งหมด ๘,๔๙๐ คน แยกเป็นชาย ๔,๒๗๒ คน หญิง ๔,๒๑๘ คน และมีเด็ก ๐-๓ ปี จ�ำนวน ๑๖๑ คน แยก เป็นชาย ๘๖ คน หญิง ๗๕ คนเด็ก ๓-๕ ปี จ�ำนวน ๑๔๗ คน แยกเป็นชาย ๗๔ คน หญิง ๗๓ คน มีจ�ำนวนครัวเรือน ๑,๙๕๙ ครัวเรือน ในอดีตทีผ่ า่ นมาสถาบันครอบครัวไทยมีเอกลักษณ์โดดเด่นเรือ่ งการมีครอบครัวทีอ่ บอุน่ เข้มแข็ง มีระบบเครือญาติและสายใยความผูกพันทีเ่ หนียวแน่นมัน่ คงยึดถือขนบธรรมเนียมประเพณีวฒ ั นธรรม ทีด่ งี าม ซึง่ เป็นทุนทางสังคมทีส่ ำ� คัญของการพัฒนาประเทศ แต่ปัจจุบนั ครอบครัวก�ำลังประสบปัญหา อยู่ ๓ อย่าง คือ ๑) ปัญหาสัมพันธภาพของสมาชิกในครอบครัวลดน้อยลง ๒) ปัญหาการใช้เวลา ร่วมกันระหว่างสมาชิก มีคุณภาพลดน้อยลง ๓) ปัญหาด้านเศรษฐกิจของครัวเรือนรายรับไม่เพียงพอ ต่อรายจ่าย จากปัญหาดังกล่าว ส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินชีวิตในแต่ละครัวเรือน น�ำไปสู่ปัญหาการ ดูแลเด็กปฐมวัยของเด็กเล็กภายในครอบครัว การดูแลเด็กปฐมวัยของชุมชนนอกเหนือจากครอบครัวทีม่ บี ทบาทหลักในการดูแลแล้ว คนใน ชุมชนยังมีบทบาทในการร่วมดูแลเด็กปฐมวัยกับทางครอบครัว เพื่อที่จะส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยได้รับ การดูแลที่ครอบคลุมทุกมิติ การดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบลไหล่ทุ่งในอดีตมีการดูแลตามศักยภาพของ แต่ละครอบครัวเด็ก ส่งผลให้เด็กทีอ่ าศัยอยูใ่ นครอบครัวทีม่ ศี กั ยภาพในการดูแลน้อย ได้รบั การส่งเสริม การดูแลที่ไม่มีคุณภาพ ส่งผลต่อการพัฒนาเด็กในการที่จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ในวันข้างหน้า ทาง อบต.ไหล่ทุ่งได้เล็งเห็นปัญหาดังกล่าว จึงได้มีมีการพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในต�ำบล ที่มีลักษณะหลักสูตรเตรียมความพร้อม การส่งเสริมทักษะและจัดประสบการณ์เรียนรู้แก่
382
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
เด็กปฐมวัยทีอ่ ายุตงั้ แต่ ๓-๕ ปี โดยผ่านกิจกรรมการเล่นให้ได้รบั การพัฒนาทัง้ ทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาโดยการส่งเสริมการจัดประสบการณ์เรียนรู้ ปูพนื้ ฐานทักษะด้านต่างๆ เพือ่ ให้มีความพร้อมในการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีความพร้อมในการศึกษาในช่วงชั้นที่สูงขึ้น
๒. งานและกิจกรรม ๒.๑ ภาพรวมระบบการดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบล แบ่งการดูแลเป็น ๒ ส่วน คือ เด็กปฐมวัย อายุ ๐-๓ ปี และเด็กปฐมวัย อายุ ๓-๕ ปี ๑) เด็กปฐมวัย อายุ ๐-๓ ปี เป็นช่วงที่เด็กส่วนมากจะอยู่ในการดูแลของผู้ปกครอง องค์การ บริหารส่วนต�ำบลไหล่ทงุ่ มีสว่ นในการดูแลเด็ก ได้แก่ ๑) การพัฒนาศักยภาพ มีการฝึกอบรมผูป้ กครอง ฝึกทักษะอาสาสมัครสาธารณสุข ช่วยเหลือและส่งเสริมสุขภาพ ตลอดทัง้ ดูแลให้คำ� แนะน�ำโภชนาการ และการดูแลช่องปาก และฟัน ๒) การพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก ช่วยแนะน�ำการปรับเปลี่ยน ภายในบ้านที่เอื้อต่อการด�ำเนินชีวิตของเด็ก ๐-๓ปี การจัดวางเครื่องใช้ไฟฟ้า ของมีคม เครื่องเล่นเด็ก ที่ได้มาตรฐานปลอดภัย ๓) การพัฒนาระบบบริการ จัดให้มีการเยี่ยมบ้าน จัดให้มีการสื่อสัมพันธ์ ครู ผู้ปกครอง ดูแลสุขภาพทั้งปกติและเจ็บป่วย การจัดการบริการดูแลร่างกายและจิตใจ ๒) เด็กปฐมวัย อายุ ๓-๕ ปี เป็นช่วงที่เด็กต้องเข้ามาอยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ซึ่งเด็กอายุ ๓-๕ ปี ในต�ำบลไหล่ทุ่ง มีจ�ำนวน ๒๑๑ คน รวมเด็กอายุ ๒ ปี จ�ำนวน ๖๔ คน องค์การบริหาร ส่วนต�ำบลไหล่ทุ่ง ได้เล็งเห็นความส�ำคัญของการจัดการศึกษา จึงได้พัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนา เด็กเล็กขึ้น มีลักษณะหลักสูตรเตรียมความพร้อม การส่งเสริมทักษะและจัดประสบการณ์เรียนรู้แก่ เด็กปฐมวัยทีอ่ ายุตงั้ แต่ ๒-๕ ปี โดยผ่านกิจกรรมการเล่นให้ได้รบั การพัฒนาทัง้ ทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาโดยการส่งเสริมการจัดประสบการณ์เรียนรู้ ปูพื้นฐานทักษะด้านต่างๆ ๒.๒ ประเด็นเด่นของระบบการดูแลเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลไหล่ทุ่ง ได้มีการพัฒนาหลักสูตร โดยแบ่งหลักสูตรออกเป็น ๒ หลักสูตร ได้แก่ ๑) หลักสูตรภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประกอบด้วย (๑) หลักสูตรการส่งเสริมการเรียนรู้ ได้แก่ การเล่านิทานจากภาพ การโยงรูปภาพจ�ำนวนกับตัวเลข การตอบค�ำถามเสียงสัตว์ และการเล่น ภาพตัดต่อ (๒) หลักสูตรการส่งเสริมพัฒนาการ ได้แก่ การเล่นมุมบล็อก มุมบ้าน มุมบทบาทสมมุติ การวาดภาพระบายสี การปั้นดินน�ำ้ มัน การเล่นกลางแจ้ง (๓) หลักสูตรการป้องกันโรคในศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก ได้แก่ การตรวจสุขภาพเด็ก ๗ ขั้นตอนก่อนเข้าเรียน การล้างมือก่อน-หลังเข้าศูนย์พัฒนาเด็ก
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
383
การแยกเด็กป่วยออกจากเด็กปกติ การส่งเสริมให้เด็กได้รับวัคซีน และรับการตรวจสุขภาพจาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลทุกเดือน (๔) หลักสูตรการบริหารจัดการในศูนย์ ได้แก่ มีการจัด ประชุมผู้ปกครองนักเรียน ผู้ดูแลเด็ก คณะกรรมการศูนย์ และรายงานผลการประชุมให้กับหน่วยงาน ได้รับทราบ (๕) หลักสูตรการจัดการอาหาร ได้แก่ การจัดการเมนูอาหารรายวัน รายเดือน รายสัปดาห์ โดยการใช้วตั ถุดิบจากชุมชน มีการควบคุมขั้นตอนการปรุงอาหารโดยการลดรสหวาน มัน เค็ม และ เน้นการรับประทานผักและผลไม้ ๒) หลักสูตรภายนอกศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประกอบด้วย (๑) หลักสูตรการดูแลสุขภาพ ได้แก่ การตรวจสุขภาพในช่องปากและฟันของเด็กโดยครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กร่วมกับเจ้าหน้าที่จาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล ทุกวันศุกร์ และจดบันทึกผลการตรวจลงสมุดคู่มือสุขภาพเพื่อ ให้ผู้ปกครองได้รับทราบ และมีการรณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคไข้เลือดออกทุกวันศุกร์ (๒) หลักสูตรด้านศิลปวัฒนธรรม ได้แก่ กิจกรรมสานสัมพันธ์ของเด็กกับผู้ปกครอง มีการร่วมกิจกรรมใน วันพระ เช่น การท�ำบุญตักบาตร มีกิจกรรมการท�ำสื่อการเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น การเล่น กะลา (๓) หลักสูตรด้านการจัดสวัสดิการ ได้แก่ การฝึกออมเงิน โดยให้เด็กออมเงินทุกวัน โดยครูศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก (๔) หลักสูตรการพัฒนาด้านอาชีพ ได้แก่ อาชีพจักสาน เรียนรู้ในการจักสานไม้ไผ่ การสานหวด สานตะกร้า สานกระติบข้าว อาชีพปลูกเผือก เช่น วิธีการปลูกเผือก การแปรรูปเป็น ผลิตภัณฑ์ เช่น เผือกทอด เผือกฉาบ อาชีพตีเหล็ก เช่น การตีเหล็กเป็นผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร มีด ขวาน เสียม จอบ และเรียนรู้ด้านเกษตรกรรม การท�ำนาตามวิถภี มู ปิ ัญญาชาวบ้าน และแนะน�ำอาชีพ อื่น เช่น แพทย์ พยาบาล ต�ำรวจ ครู
๓. ทุนทางสังคม ๓.๑ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการหลัก ๑) องค์การบริหารส่วนต�ำบลไหล่ทงุ่ รวบรวมข้อมูลและแต่งตัง้ คณะกรรมการสถานศึกษา พร้อมทั้งสนับสนุนงบประมาณในการด�ำเนินงาน การออกประชาคม การจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์การ พัฒนาการศึกษา แผนสามปี ข้อบัญญัติ แผนพัฒนาการศึกษา และการจัดท�ำหลักสูตรปฐมวัย ๒) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลไหล่ทุ่ง รวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพและการส่งเสริม พัฒนาระบบสุขภาพ เช่น การตรวจสุขภาพในช่องปาก การตรวจพัฒนาการเด็ก การให้วัคซีน และให้ ความรู้ในการควบคุมโรค ๓) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ่อหิน รวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพและการส่งเสริม พัฒนาระบบสุขภาพ เช่น การตรวจสุขภาพในช่องปาก การตรวจพัฒนาการเด็ก การให้วัคซีน และให้
384
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ความรู้ในการควบคุมโรค ๔) กลุ่ม อสม. ท�ำหน้าที่ในการส่งเสริมและพัฒนาเกี่ยวกับพัฒนาการและการดูแลสุขภาพ ของเด็กในด้านการเจริญเติบโต การประเมิน และส่งเสริมการพัฒนาการของเด็ก การตรวจคัดกรอง และรณรงค์ป้องกัน พร้อมให้ความรู้ด้านสุขภาพ เช่น การชั่งน�ำ้ หนัก วัดส่วนสูง ประเมินพัฒนาการ เป็นต้น ๕) ผู้น�ำชุมชนดูแลและบริหารจัดการ ร่วมจัดการและสนับสนุนการออกแบบกิจกรรมเพื่อ การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย เช่น โครงการปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้ ๖) ปราชญ์ชาวบ้าน ให้ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็ก ปฐมวัย ๗) ผู้สูงอายุ ให้ความรู้เกี่ยวกับส่งเสริมการพัฒนาเด็ก เช่น การเล่านิทาน การสร้างสัมพันธ์ คนในครอบครัว ๘) วัด เป็นศูนย์รวมแหล่งเรียนรู้ ในด้านความรู้ ร่างกาย จิตใจ เช่น โครงการครอบครัว ธรรมะ ๙) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไหล่สูง ท�ำหน้าที่ในการจัดท�ำหลักสูตรเพื่อการพัฒนาและการ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย รวมทั้งส่งเสริมและดูแลด้านสุขภาพและการส่งเสริมและ พัฒนาเกี่ยวกับพัฒนาการและการดูแลสุขภาพของเด็ก ๑๐) ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กบ้านไหล่ทงุ่ ท�ำหน้าทีใ่ นการจัดท�ำหลักสูตรเพือ่ การพัฒนาและการ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย รวมทั้งส่งเสริมและดูแลด้านสุขภาพและการส่งเสริมและ พัฒนาเกี่ยวกับพัฒนาการและการดูแลสุขภาพของเด็ก ๑๑) ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กบ้านดอนงัว ท�ำหน้าทีใ่ นการจัดท�ำหลักสูตรเพือ่ การพัฒนาและการ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย รวมทั้งส่งเสริมและดูแลด้านสุขภาพและการส่งเสริมและ พัฒนาเกี่ยวกับพัฒนาการและการดูแลสุขภาพของเด็ก ๑๒) ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กบ้านบ่อหิน ท�ำหน้าทีใ่ นการจัดท�ำหลักสูตรเพือ่ การพัฒนาและการ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย รวมทั้งส่งเสริมและดูแลด้านสุขภาพและการส่งเสริมและ พัฒนาเกี่ยวกับพัฒนาการและการดูแลสุขภาพของเด็ก ๑๓) คณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ดูแลและบริหารจัดการรวมทั้งร่วมจัดการ และสนับสนุนการออกแบบกิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ๑๔) คณะครูผู้ดูแลเด็กด�ำเนินการศึกษา รวบรวมข้อมูล จัดท� ำหลักสูตรสถานศึกษา ออกแบบกิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ของเด็ก จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กและรวมทั้งการ ประเมินผลพัฒนาการของเด็ก
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
385
๓.๒ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการรอง ๑) กลุ่ม อปพร. ให้ความร่วมมือในการอ�ำนวยความสะดวกและการป้องกันภัย เช่น ให้ความ รู้ด้านป้องกันอัคคีภัยและซ้อมแผนป้องกันภัยแก่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๒) กู้ชีพกู้ภยั ๑๖๖๙ ให้ความช่วยเหลือบริการรับส่งเด็กเมื่อเกิดอุบัติเหตุ หรือเจ็บป่วย ๓) กองทุนหมู่บ้านสนับสนุนทุนการศึกษาให้กับเด็กปฐมวัย ๔) กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ส่งเสริมกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ในครัวเรือน
๔. วัตถุประสงค์ ๔.๑ เพื่อพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น ๔.๒ เพื่อเป็นแนวทางหลักในการพัฒนาและการจัดการศึกษาเด็กปฐมวัย ในชุมชนต�ำบล ไหล่ทุ่ง ๔.๓ เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีกรอบแนวคิดและวิธีการในการด�ำเนินการพัฒนาและการ จัดการเรียนรู้ให้กบั เด็กปฐมวัย
๕. วิธีการท�ำงาน ๕.๑ การส�ำรวจข้อมูล วิเคราะห์หาแนวทางเนื้อหา ในการน�ำมาปรับใช้ข้อมูลเพื่อพัฒนา หลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ๕.๒ แต่งตัง้ คณะท�ำงานพัฒนาหลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ประกอบไปด้วย ผูบ้ ริหารท้องถิน่ ผู้แทนชุมชน ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนศาสนา ผู้ทรงคุณวุฒทิ างการศึกษาหรือผู้มปี ระสบการณ์ด้านเด็ก ปฐมวัย ๕.๓ การออกแบบหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่อให้สอดคล้องกับบริบทในพื้นที่ ๕.๔ การน�ำหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไปใช้เพื่อพัฒนาการเด็กทั้ง ๔ ด้าน ประกอบด้วย ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ – จิตใจ ด้านสังคม ด้านสติปัญญา ๕.๕ การประเมินติดตามผลปีละ ๒ ครั้ง
386
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๖. การเชื่อมโยงหรือส่งผลที่เอื้อต่อการท�ำงานกับกลุ่มงานและกิจกรรมอื่นๆ การที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์การบริหารส่วนต�ำบลไหล่ทุ่ง ได้จัดท�ำหลักสูตรการพัฒนา ศูนย์เด็กเล็ก โดยได้รบั ความร่วมมือจากครูผู้ดูแลเด็กท�ำหน้าที่เก็บรวบรวมข้อมูลทุนทางสังคม เพื่อน�ำ มาวิเคราะห์งานและกิจกรรมทีม่ ผี ลกระทบโดยตรงหรือโดยอ้อม และน�ำข้อมูลทีไ่ ด้มารวบรวมเพือ่ จัดการ เทียบเคียงประเด็นการพัฒนาเด็ก โดยมีขอ้ มูลด้านการส่งเสริมสุขภาพจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ต�ำบลไหล่ทุ่ง และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ่อหิน โดยร่วมกับ อสม. เพื่อส่งเสริมและพัฒนา เกี่ยวกับพัฒนาการและการดูแลสุขภาพของเด็กในด้านการเจริญเติบโต การประเมิน และส่งเสริมการ พัฒนาการของเด็ก การตรวจคัดกรอง และรณรงค์ป้องกัน พร้อมให้ความรู้ด้านสุขภาพ เช่น การชั่ง น�้ำหนัก วัดส่วนสูง เพื่อเป็นการส่งเสริมทักษะและจัดประสบการณ์เรียนรู้แก่เด็กปฐมวัยที่อายุตั้งแต่ ๓-๕ ปี โดยผ่านกิจกรรมการเล่นให้ได้รับการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติ ปัญญา นอกจากนัน้ องค์การบริหารส่วนต�ำบลไหล่ทงุ่ ได้เชิญคณะกรรมการบริหารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ผู้น�ำท้องถิ่น ผู้น�ำท้องที่ ครูผู้ดูแลเด็ก ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้สูงอายุ ของต�ำบลไหล่ทุ่ง มาด�ำเนินการ จัดท�ำหลักสูตรปฐมวัยและหลักสูตรท้องถิ่น ซึ่งหลักสูตรดังกล่าวมีการเชื่อมโยงหรือส่งผลที่เอื้อต่อการ ท�ำงานกับกลุ่มงานและกิจกรรมอื่นๆ ได้แก่ กิจกรรมการจัดพื้นที่สร้างสรรค์เพื่อการพัฒนากิจกรรม ทางกาย กิจกรรมการพัฒนาศิลปวัฒนธรรมประเพณีทอ้ งถิน่ กิจกรรมการเล่านิทานโดยผูส้ งู อายุ เป็นต้น
๗. ผลผลิตและผลลัพธ์ ๗.๑ ผลต่อประชากรเป้าหมาย ๑) เด็กปฐมวัย ได้รบั การพัฒนาทัง้ ทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปญ ั ญาโดย การผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ ปูพื้นฐานทักษะด้านต่างๆ เพื่อให้มีความพร้อมในการพัฒนาระดับสูงขึ้น ไป ๒) ครูผู้ดูแลเด็ก ได้รับการพัฒนาศักยภาพให้มีองค์ความรู้ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านศักยภาพ การเรียนการสอน และการประเมินพัฒนาการเด็ก ๓) ผูป้ กครองเด็กเล็กมีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาการของเด็กในด้านสังคม ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และจิตใจ ๔) คณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ร่วมพัฒนาและแนะน�ำการพัฒนาหลักสูตร เช่น การจัดท�ำสื่อการเรียน การสอน เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการของเด็ก
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
387
๗.๒ ผลต่อคุณภาพชีวิตของกลุ่มประชากร ๕ มิติ (สังคม เศรษฐกิจ สภาวะแวดล้อม สุขภาพและการเมืองการปกครอง ๑) ด้านสังคม มีการพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองและผู้ให้การดูแลเด็ก โดยการส่งเสริมการ เรียนรู้ พัฒนาการทางปัญญาและอารมณ์ เช่น การส่งเสริมการเรียน การเล่น ส่งเสริมการอ่าน และ ให้การดูแลช่วยเหลือเมื่อพบความผิดปกติ เช่น พฤติกรรมและการเรียนรู้ผิดปกติ ความพิการด้าน ร่างกายและสติปัญญา การประสานหน่วยงานที่จัดบริการเฉพาะด้าน ๒) ด้านเศรษฐกิจ มีการส่งเสริมการลดค่าใช้จ่ายและเพิ่มรายได้ในครัวเรือนกับผู้ปกครอง ของเด็กมีการส่งเสริมอาชีพ เช่น การเลี้ยงโค กระบือ การปลูกมะนาว การเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ โดยมีแหล่ง เงินที่เข้ามาเป็นทุนในการสนับสนุนเพื่อการประกอบอาชีพ ได้แก่ กองทุนสวัสดิการชุมชน ๓) ด้านสภาวะแวดล้อม การจัดสภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพเด็กปฐมวัย พื้นที่เสี่ยงต่อ การเกิดอันตรายส�ำหรับเด็ก ได้แก่ การตรวจสอบเครื่องเล่นในสนามเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้ง ๔ แห่ง ทุก ๑ เดือน ให้มีความปลอดภัยเสมอ การจัดพื้นที่สร้างสรรค์ การส่งเสริมสายสัมพันธ์แม่และ เด็ก การมีเวทีให้เด็กได้กล้าแสดงออก จัดโครงสร้างอาคารสถานที่ให้ปลอดภัย การติดตั้งปลั๊กไฟให้ พ้นมือเด็ก ๔) ด้านสุขภาพ การจัดการดูแลทางด้านร่างกาย จิตใจ การให้ค�ำปรึกษาผู้ปกครอง ผู้ดูแล เด็ก ให้การช่วยเหลือกรณีอุบัติเหตุฉกุ เฉิน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง ด้านสุขภาพ เช่น นั่งสมาธิ ก่อนเรียน ล้างมือก่อนและหลังรับประทานอาหาร การตรวจสุขภาพอนามัยเด็ก อย่างน้อยสัปดาห์ละ ๓ ครัง้ การประเมินพัฒนาการของเด็กรายสัปดาห์ แจ้งผลการพัฒนาการเด็กให้ผปู้ กครองทราบ ก�ำหนด แนวทางการแก้ไขปัญหาและเฝ้าระวังการจัดท�ำโครงการดูแลเด็ก เช่น โครงการลดหวาน มัน เค็ม โครงการเต้นฮูลาฮูป โครงการอาหารดีมปี ระโยชน์ โครงการคัดกรองเด็กทีเ่ จ็บป่วยและส่งต่อกรณีฉกุ เฉิน ๕) ด้านการเมืองการปกครอง มีการสร้างกฎกติกา ข้อตกลง ระหว่างหน่วยงาน ประสาน ความร่วมมือด้านการศึกษา เพือ่ เป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตร เช่น อปท. หน่วยงานสถานศึกษา ภายในต�ำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชน
๘. กลไก เครื่องมือในการด�ำเนินงาน ๘.๑ มีการจัดตั้งคณะท�ำงานพัฒนาระบบพัฒนาเด็กปฐมวัย ซึ่งประกอบไปด้วยผู้แทนจาก กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ อปท. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์พฒ ั นาครอบครัว รพ.สต. อาสาสมัคร ปราชญ์ ชาวบ้านและทุนทางสังคมต่างๆ ในชุมชน
388
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๘.๒ มีการจัดท�ำคู่มือเป็นแนวปฏิบัติส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อน�ำ ไปใช้ประกอบการเรียนการสอน เช่น แผนการเรียนการสอน สื่อการเรียนการสอน เทคโนโลยี ๘.๓ มีกฎ ระเบียบและแนวทาง นโยบายของผู้บริหารท้องถิ่นประกอบการพัฒนาหลักสูตร ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
๙. ปัจจัยเงื่อนไข ๙.๑ คณะท�ำงานมีความเข้มแข็งซึ่งการด�ำเนินการครั้งนี้ คณะกรรมการประกอบด้วย คณะผู้บริหาร นักวิชาการ แกนน�ำ การจัดประชุม ๓ เดือน/ครั้ง เพื่อสร้างความเข้าใจในแผนปฏิบัติ การ และวางแผนการจัดกิจกรรมในพื้นที่ ๙.๒ การท�ำงานเป็นเครือข่าย ความร่วมมือของท้องถิ่น ท้องที่ องค์กรชุมชน โดยมีหน่วยงาน ภาครัฐให้การสนับสนุน ภายใต้วิถีชีวิตประเพณี วัฒนธรรมของชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่นตามวิถี ต�ำบลไหล่ทุ่ง
๑๐. ความเชื่อมโยงต่อ ๗ คุณลักษณะการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่น ๑๐.๑ การสร้างการเรียนรู้ การสร้างการเรียนรู้ปัญหาและความต้องการของชุมชน ต�ำบลไหล่ท่งุ มีการก�ำหนดเป้าหมาย เพือ่ การดูเด็กปฐมวัย ได้แก่ มีสง่ เสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย การส่งเสริมศักยภาพการดูแลเด็กปฐมวัย ของแม่และครอบครัว การส่งเสริมศักยภาพอาสาสมัครในชุมชน โดยการใช้ข้อมูลจาก RECAP และ TCNAP ข้อมูลปัญหาสุขภาพของแม่และเด็กปฐมวัยจาก รพ.สต.ไหล่ทุ่ง เพื่อจัดการต่อ ปัญหาและ ความต้องการของชุมชนในการการดูแลเด็กปฐมวัย ๑๐.๒ การสร้างกลไกการจัดการตนเอง การสร้างกลไกการบริหารจัดการตนเองในทุกระดับ ต�ำบลไหล่ทงุ่ มีการสร้างกลไกในการบริหาร จัดการในการดูแลเด็กปฐมวัยในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว เพื่อให้ง่ายต่อการบริหารจัดการ และ การแก้ปัญหาในครอบครัวมีผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้น�ำ ผู้เฒ่าผู้แก่ ศูนย์พัฒนาครอบครัว เพื่อเจรจาไกล่เกลี่ย ปัญหาในระดับครอบครัว มีแกนน�ำและคณะกรรมการบริหารกลุ่มและองค์กรชุมชนต่างๆ ได้แก่ กลุ่ม อสม. ชมรมผู้สูงอายุ เพื่อถ่ายทอดความรู้และทักษะในการดูแลเด็กปฐมวัย มีกลุ่มอาสาสมัคร ได้แก่ กลุ่มอสม. ศูนย์พัฒนาครอบครัว ท�ำหน้าที่ในการเชื่อมประสานการท�ำงานในการดูแลเด็กปฐมวัยใน
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
389
ช่วงปกติ เมื่อเกิดภัยพิบัติ ภาวะฉุกเฉิน มีการประสานความช่วยเหลือทั้งในและนอกต�ำบล ในการให้ ความช่วยเหลือเด็กปฐมวัยและครอบครัว นอกจากนี้ครอบครัวของเด็กปฐมวัย ยังมี ส่วนร่วมกับการ บริหารและจัดการตนเองของต�ำบลโดยการเข้าร่วมเวทีประชาคมหมู่บ้าน อบต.เคลื่อนที่ การประชุม ของกลุ่มต่างๆ และองค์กรที่เป็นสมาชิก ๑๐.๓ การสร้างคนให้จัดการตนเอง การจัดการตนเอง ให้มคี วามรูส้ กึ เป็นเจ้าของ ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้เกิด กระบวนการในการผลักดันและ ขับเคลื่อนให้จดั การและแก้ปัญหาในการดูแลเด็กปฐมวัยในพื้นที่ มากกว่าที่จะให้หน่วยงานองค์กรอื่น ภายนอกชุมชน เข้ามาให้การช่วยเหลือ ต�ำบลไหล่ทงุ่ มีกระบวนการใน การด�ำเนินงานโดย มีการพัฒนา ศักยภาพของแม่และครอบครัว อาสาสมัครให้มีความเชี่ยวชาญในงาน และกิจกรรมต่างๆ เพื่อเป็น แกนน�ำในการด�ำเนินงาน มีการแต่งตั้งผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในการดูแลเด็ก ปฐมวัยให้เป็นผู้นำ� ในการ ท�ำงาน ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญในการไกล่เกลี่ยปัญหาในครอบครัว การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การจัดท�ำของ เล่นพืน้ บ้านเพือ่ ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก การส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมภูมปิ ญ ั ญา พืน้ บ้านในการเลีย้ งเด็ก นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาอาสาสมัครในการดูแลเด็กปฐมวัยและครอบครัว ซึ่งมีการเรียนรู้จากการ ปฏิบัติงานจริง โดยการถ่ายถอดบทเรียนและความรู้ผ่านจากท�ำงานจริง จากการที่ได้เข้ามาร่วมเป็น คณะกรรมการ สมาชิก และอาสมัครในด้านต่างๆ ในการร่วมกันก�ำหนดแนวทาง หาทางออกร่วมกัน จนทุกคนในชุมชนมีความตระหนักถึงปัญหาการดูแลเด็กปฐมวัยที่เกิดขึ้นเป็นปัญหาของ ส่วนรวมที่ ทุกฝ่ายต้องร่วมกันแก้ไข ได้แก่ การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว การจัดให้มพี นื้ ทีส่ าธารณะเพือ่ การ มีกิจกรรมร่วมกันของสมาชิกในครอบครัวและชุมชน ๑๐.๔ การสร้างการมีส่วนร่วม การสร้างการมีส่วนร่วม ในทุกมิติการดูแลเด็กปฐมวัยในชุมชน โดยการร่วมคิด ร่วมท�ำงาน ร่วมรับประโยชน์ และร่วมปรับแนวทางในการด�ำเนินงานเพือ่ ให้เกิดประโยชน์ตอ่ เด็กปฐมวัย โดยต�ำบล ไหล่ทุ่งมีการเปิดโอกาสให้ครอบครัว กลุ่มองค์กรชุมชน หน่วยงานภาครัฐในพื้นที่ โดยเน้นการสร้าง กระบวนการที่ให้แต่ละฝ่ายสามารถมีส่วนร่วมได้ตามรูปแบบที่เหมาะสมกับตน ได้แก่ การระดมความ คิดเห็นผ่านเวทีประชาคม การร่วมท�ำกิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมและพัฒนาการดูแลเด็กปฐมวัย การผลักดัน ให้เกิดรูปแบบงานใหม่เพื่อการดูแลเด็กปฐมวัย ทั้งนี้ ครอบครัว ผู้นำ� แกนน�ำรวมทั้ง ชาวบ้านสามารถ ก�ำหนดบทบาทตนเองในการมีส่วนร่วมได้ เช่น การเป็นผู้นำ� เป็นกรรมการ เป็นสมาชิก คนท�ำงานหลัก คนช่วยท�ำงาน และคนรับประโยชน์ มีการเปิดโอกาสให้ผู้เชี่ยวชาญด้านเด็กปฐมวัย ภายนอกพื้นที่ มามีส่วนร่วมในการพัฒนางานและกิจกรรมเพื่อการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยในพื้นที่
390
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๑๐.๕ การระดมทุนและทรัพยากร การระดมเงินและทรัพยากรเพื่อเป็นทุน เพื่อจัดสรรการดูแลเด็กปฐมวัยและครอบครัว จาก การที่ทุกหมู่บ้านจะมีการสร้างกองทุนสวัสดิการชุมชนต�ำบลไหล่ทุ่ง กลุ่มออมทรัพย์ กองทุนหมู่บ้าน เพื่อเป็นกลไกสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจของครอบครัวเด็กปฐมวัย มีแหล่งเงินทุนเพื่อกู้ยืมในการ ประกอบอาชีพ ของครอบครัวเด็กปฐมวัยอย่างต่อเนือ่ ง ท�ำให้มเี งินทุนหมุนเวียนของชุมชนเพือ่ การดูแล เด็กปฐมวัย ครอบครัวและชุมชน ถูกน�ำมาใช้ในการท�ำเป็นทุนเพื่อต่อยอดและขยายงานในกลุ่มอาชีพ เดิม และสร้างกลุ่มอาชีพใหม่ในครอบครัวเด็กปฐมวัย มีการจัดสวัสดิการเพื่อการดูแลเด็กปฐมวัยและ ครอบครัว ได้แก่ การจัดสวัสดิการดูแลตั้งแต่เกิดจนตาย การจัดสวัสดิการเงินทุนเพื่อประกอบอาชีพ การจัดสวัสดิการทางด้านการศึกษา เป็นการเพิ่มศักยภาพให้กับครอบครัว แกนน�ำกลุ่ม ในการดูแล ช่วยเหลือกัน ๑๐.๖ การมีข้อตกลง การมีข้อตกลงเป้าหมายเพื่อสร้างความยั่งยืน และสร้างความสัมพันธ์ แนวราบ อันเกิดจาก การช่วยเหลือเกื้อกูลกันของคนในชุมชน ต�ำบลไหล่ทุ่งได้มีการจัดท�ำข้อตกลงทั้งใน ระดับบุคคลและ ครอบครัว ระดับกลุม่ และองค์กร ระดับหน่วยงาน ระดับหมูบ่ า้ น ระดับต�ำบล และระดับ เครือข่าย โดย มีเป้าหมาย ในการพัฒนาศักยภาพแม่และครอบครัว อาสาสมัครในการดูแลเด็กปฐมวัย มี การท�ำวิจยั ชุมชน เพือ่ น�ำสูก่ ารจัดการแก้ปญ ั หาในการดูแลเด็กปฐมวัยในพืน้ ที่ มีการสร้างข้อตกลงและ กติกาเพือ่ การดูแลเด็กปฐมวัยและครอบครัว ได้แก่ การเฝ้าระวังความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับเด็กปฐมวัย การขับขี่ ปลอดภัยในชุมชน ซึ่งกระบวนการการจัดท�ำข้อตกลงและกติกา ถือเป็นกระบวนการเรียนรู้และการ จัดการความรู้โดยเฉพาะการจัดการเงื่อนไขของการท�ำงานและการจัดกิจกรรมทั้งหลายของชุมชน ๑๐.๗ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กรภาครัฐและหน่วยงานอื่นๆ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กร หน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานต่างๆ ในพืน้ ที่ ต�ำบล ไหล่ทุ่งได้เข้ามาช่วยในการสนับสนุนการดูแลเด็กปฐมวัยในพื้นที่ ได้แก่ การส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัย โครงการเกลือไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ การอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครในการดูแล เด็กปฐมวัยและครอบครัว การส่งเสริมอาชีพ ศักยภาพการจัดการตนเองของต�ำบลในการดูแลเด็ก ปฐมวัย
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
391
๑๑. การตอบสนองต่อ ๖ ตัวชี้วัด การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กของ อบต.ไหล่ทงุ่ ตอบสนอง ๖ ชุดกิจกรรมการพัฒนา ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยดังนี้ ๑๑.๑ ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพ ตัวชี้วัดที่ ๕ จัดท�ำหลักสูตรและคู่มือการอบรม ผู้เกี่ยวข้องในการดูแลเด็ก ๓-๕ ปี เช่น หลักสูตรและคู่มือการดูแลเด็ก ๓-๕ ปี ที่พิการร่างกาย สติ ปัญญา หลักสูตรและคู่มอื การดูแล ส่งเสริมกลุ่มเด็ก ๓-๕ ปีที่มีพฤติกรรมการเรียนรู้ผิดปกติ เป็นต้น ตัวชีว้ ดั ที่ ๙ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กมีการจัดท�ำหลักสูตรทีส่ ง่ เสริมการเรียนรู้ หลักสูตรการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัยทั้ง ๔ ด้านคือ ร่างกาย จิตใจ- อารมณ์สังคม และสติปัญญา โดยใช้กิจกรรม ๖ หลักที่ ครอบคลุม ๔ สาระให้สอดคล้องกับบริบทของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้แก่ ส่งเสริมพัฒนาการด้านการ ใช้กล้ามเนือ้ มัดใหญ่กล้ามเนือ้ มัดเล็กความคิดสร้างสรรค์ลกั ษณะนิสยั ให้เด็กได้แสดงอารมณ์และความ รู้สึกด้านศิลปะ ดนตรี ด้านคุณธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะที่ดีทางสังคมเบื้องต้น มีแผนการ ด�ำเนินกิจกรรมตามหลักสูตร และมีการประเมินผลหลักสูตร ตัวชี้วัดที่ ๑๐ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการ จัดหา ผลิตสื่อและใช้สื่อในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมพัฒนาการทุกด้านอย่าง เหมาะสมและสอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ ๑๑.๒ ชุดกิจกรรมที่ ๕ การพัฒนาและน�ำใช้ข้อมูลในการส่งเสริมแก้ไขจัดการปัญหาเด็ก ๓-๕ ปีตัวชี้วัดที่ ๔๗ มีการจัดท�ำข้อมูลโดยคนในชุมชนและมีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายตั้งแต่ขั้นตอนการ เก็บการตรวจสอบความถูกต้องการวิเคราะห์เพื่อใช้จัดการดูแลและประเมินผลการดูแล ๑๑.๓ ชุดกิจกรรมที่ ๖ การพัฒนากฎกติการะเบียบแนวปฏิบัติเพื่อหนุนเสริมการด�ำเนิน กิจกรรมเสริมความเข้มแข็งชุมชนท้องถิ่น ตัวชี้วัดที่ ๕๓ มีข้อบัญญัติท้องถิ่นแผนการดูแลจัดสรร งบประมาณในการสนับสนุนการดูแลเด็ก ๓-๕ ปีที่ครอบคลุมทั้งงานบริการกิจกรรมกองทุนสวัสดิการ เช่นข้อบัญญัติท้องถิ่นส�ำหรับดูแลเด็ก ๓-๕ ปีแผนการดูแลเด็ก ๓-๕ ปีที่พิการโครงการคัดกรองเด็กที่ มีการเรียนรู้ผดิ ปกติโครงการส่งเสริมการกระตุ้นพัฒนาการเด็ก Cerebral palsyเป็นต้น ตัวชี้วัดที่ ๕๔ มี ธรรมนูญสุขภาพก�ำหนดการจัดระบบบริการเพือ่ ดูแลเด็ก ๓-๕ ปีเช่นก�ำหนดให้มกี ารพัฒนากระบวนการ บริการสาธารณสุขเชิงรุกอย่างต่อเนื่องส� ำหรับการดูแลเด็ก ๓-๕ ปีโดยการจัดให้มีอาสาสมัคร ให้เพียงพอต่อการดูแลส่งเสริมสนับสนุนและร่วมกันดูแลช่วยเหลือเด็ก เช่นการกระตุน้ พัฒนาการทีบ่ า้ น การประเมินพฤติกรรม EQ IQ โดยนักจิตวิทยา ในกลุ่มเด็ก ๓-๕ ปีเป็นต้น
392
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ภาพที่ ๖๕ การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนต�ำบลไหล่ทุ่ง อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
393
การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาเชือก อ�ำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์
๑. ที่มาหรือฐานคิดของการด�ำเนินกิจกรรม ในพื้นที่ต�ำบลนาเชือก มีทั้งหมด ๑๔ หมู่บ้าน มีประชากรทั้งหมด ๗,๔๓๕ คน แบ่งเป็นชาย ๔,๐๐๒ คน หญิง ๓,๙๖๑ คน จ�ำนวน ๒,๐๔๗ ครัวเรือน มีประชากรอายุ ๐-๓ คน จ�ำนวน ๒๑๘ คน ชาย ๑๐๘ คน หญิง ๑๑๐ คน เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า ๑ คน เด็กสภาวะสุขภาพปกติ ๒๑๗ คน เด็ก ๓ – ๕ ปี จ�ำนวน ๑๘๖ คน ชาย ๙๗ คน หญิง ๘๙ คน เด็กสภาวะสุขภาพปกติ ๑๘๖ คน ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม รับจ้าง ท�ำประมง เลี้ยงสัตว์ สภาพการอยู่อาศัยของ เด็ก อายุ ๐-๕ ปี ต�ำบลนาเชือก อาศัยอยู่กับพ่อแม่ ๑๒๖ คน อาศัยกับตายาย ปู่ย่า ๒๒๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๔.๔๖ อาศัยกับญาติ ๕๘ คน เด็กเข้าเรียนศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กในพืน้ ที่ ร้อยละ ๔๐.๕๙ การด�ำเนินการจัดท�ำหลักสูตรปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เป็นการจัดบนพื้นฐานการอบรมเลี้ยงดูและ การส่งเสริมกระบวนการเรียนรูท้ ตี่ อบสนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการของเด็กแต่ละคน ตามศักยภาพ ภายใต้บริบทของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตรท้องถิ่น และหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.๒๕๕๖ ด้วยความรัก ความเข้าใจ ใส่ใจและความเอื้ออาทร เพื่อ สร้างรากฐานคุณภาพชีวิตให้เด็กมีการพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ อยู่ในสังคมได้อย่างมี ความสุข เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าของประเทศต่อไป ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลนาเชือก ได้มีการจัดท�ำหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อให้ เหมาะสมกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ให้เป็นไปตามมาตรฐานของกรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่น สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่นและหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.๒๕๕๖ ให้กับเด็กปฐมวัยในต�ำบลให้ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ และเป็นแนวทางให้กับครูผู้ดูแล เด็กเล็กและทุนทางสังคมในต�ำบลนาเชือกใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริมการเรียนรู้และส่งเสริม พัฒนาการ
394
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๒. งานและกิจกรรม ๒.๑. ภาพรวมระบบการดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบล ๑) มีการดูแลเด็กตัง้ แต่อยูใ่ นครรภ์ ส่งเสริมให้แม่ได้รบั การฝากครรภ์ตามเกณฑ์ มีการส่งเสริม การได้รบั ภูมคิ มุ้ กัน ส่งเสริมการได้รบั สารไอโอดีนเพือ่ เสริมสร้างพัฒนาการทางด้านสมองของเด็กตัง้ แต่ อยู่ในครรภ์ ส่งเสริมการดื่มนมแม่นาน ๖ เดือน ๒) มีการส่งเสริมอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมูบ่ า้ นในการประเมินและส่งเสริมพัฒนาการ เด็ก ตรวจวัดการเจริญเติบโตของเด็ก ๓) ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของผู้ปกครองให้สามารถดูแลเด็กปฐมวัยได้อย่างมีคุณภาพ ๔) มีการจัดตั้งกองทุนสวัสดิการส�ำหรับเด็กปฐมวัยด้านการดูแลสุขภาพการเพิ่มรายได้ให้กับ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็กที่เจ็บป่วย พิการในต�ำบลนาเชือก ๕) มีการสร้างวัฒนธรรมในการดูแลและช่วยเหลือเด็กปฐมวัย เช่น การบริจาคเงิน การมอบ เงินทุนเพื่อช่วยเหลือเด็กที่ยากจนขาดแคลนทุนทรัพย์และด้อยโอกาส ๖) มีการน�ำใช้ขอ้ มูลทุนทางสังคมและแหล่งประโยชน์เพือ่ จัดท�ำแผนงานโครงการ และการจัด สวัสดิการท้องถิ่นในการดูแลช่วยเหลือเด็กปฐมวัย ๒.๒. ประเด็นเด่นของระบบการดูแลเด็กปฐมวัย หลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อบต.นาเชือก เป็นหลักสูตรที่เข้ากับบริบทของศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก และสอดคล้องกับหลักสูตรท้องถิ่น หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.๒๕๕๖ โดยมีการก�ำหนด โครงสร้างของหลักสูตร เพื่อให้การจัดการศึกษาเป็นไปตามหลักการ จุดหมายที่ก� ำหนดไว้ และ ผู้เกี่ยวข้องกับการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฏิบัติ ในการจัดหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมีสาระการ เรียนรู้เพื่อประสงค์จะให้ครูผู้ดูแลเด็กสามารถก�ำหนดรายละเอียดขึ้นเองให้สอดคล้องกับวัย ความ ต้องการ ความสนใจของเด็ก อาจยืดหยุ่นเนื้อหาได้โดยค�ำนึงถึงประสบการณ์และสิ่งแวดล้อมในชีวิต จริงของเด็ก ครูผู้ดูแลเด็กสามารถน�ำสาระที่ควรเรียนรู้มาบูรณาการ จัดประสบการณ์ต่างๆ ให้ง่าย ต่อการเรียนรู้ โดยไม่ให้เด็กท่องจ�ำเนื้อหาเพียงอย่างเดียว แต่เป็นการให้เด็กเกิดแนวคิดหลังจากน�ำ สาระการเรียนรู้นั้นๆ มาจัดประสบการณ์ให้เด็ก เพื่อให้บรรลุจุดหมายที่ก�ำหนดไว้ สาระการเรียนรู้ ส�ำหรับเด็กปฐมวัยมีจ�ำนวน ๔ สาระ ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก กลุ่ม สาระการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ ๓ ธรรมชาติรอบตัว และกลุม่ สาระการเรียนรูท้ ี่ ๔ สิง่ ต่างๆ รอบตัวเด็ก จัดกิจกรรมในการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ของสาระการเรียนรู้ ทั้ง ๔ สาระ ตามกิจกรรมหลัก มี ๖ กิจกรรม คือ กิจกรรมเคลื่อนไหว และจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเสรี กิจกรรมกลางแจ้ง และ กิจกรรมเกมการศึกษา
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
395
ต�ำบลนาเชือก มีการพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยการเชื่อมโยงงานและกิจกรรม กับทุนทางสังคมในพืน้ ทีม่ าร่วมด�ำเนินกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาการเด็กปฐมวัย ๓ -๕ ปี ทั้งในและนอกศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ประกอบด้วย ๑) กิจกรรมการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาการที่ครอบคลุมเด็กปฐมวัยทุก ประเภท เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้าน ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา เพื่อให้มี คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ ดังนี้ (๑) มีรา่ งกายเจริญเติบโตตามวัย และมีสขุ นิสยั ทีด่ ี (๒) เด็กมีพฒ ั นาการ ของกล้ามเนื้อมัดใหญ่ และกล้ามเนื้อมัดเล็กแข็งแรง ใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน (๓) เด็กมีสขุ ภาพจิตดี และมีความสุข (๔) เด็กมีคุณธรรม จริยธรรมและมีจิตใจที่ดีงาม (๕) เด็กได้ แสดงออกทางศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหว และรักการออกก�ำลังกาย (๖) เด็กได้ช่วยเหลือตนเองได้ อย่างเหมาะสมกับวัย(๗) เด็กมีความรักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมและความเป็นไทย (๘) เด็ก สามารถอยู ่ ร ่ ว มกั บ ผู ้ อื่ น ได้ อ ย่ า งมี ค วามสุ ข และปฏิ บั ติ ต นเป็ น สมาชิ ก ที่ ดี ข องสั ง คมในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (๙) เด็กสามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้อย่าง เหมาะสมกับวัย (๑๐) เด็กมีความสามารถในการคิดและแก้ปัญหาได้เหมาะสมกับวัย (๑๑) เด็กมี จิตนาการและความคิดสร้างสรรค์(๑๒) เด็กมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้และมีทักษะในการแสวงหา ความรู้ งานและกิจกรรม ได้แก่ การฝึกอบรมให้ความความรู้แก่ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กในการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย การติดตาม ประเมินพัฒนาการเด็ก การชั่งน�้ำหนักวัดส่วนสูงและ วิเคราะห์คดั กรองเด็กด้านสุขภาพ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ พัฒนาเด็กโดยองค์รวมผ่านการเล่น และกิจกรรมที่เหมาะสมกับวัยให้สามารถด�ำรงชีวิตประจ�ำวันได้อย่างมีคุณภาพและมีความสุข โดย ยึดหลักการเลีย้ งดูและการให้การศึกษาทีเ่ น้นเด็กเป็นส�ำคัญ และค�ำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล และวิถีชวี ิตของเด็กตามบริบทของท้องถิ่นและวัฒนธรรมไทย ๒) การจัดสิง่ แวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรูแ้ ละเป็นพืน้ ทีส่ ร้างสรรค์สำ� หรับเด็กปฐมวัย โดยจัดให้มพี นื้ ทีส่ เี ขียว มุมบทบาทสมมติ มุมบล็อค มุมการศึกษา สนามกีฬา สนามเด็กเล่น กิจกรรม การคัดแยกขยะ ๓) กิจกรรมการป้องกันโรคติดต่อ โรคคระบาดทีเ่ กิดกับเด็กปฐมวัย ได้แก่ การจัดฝึกอบรม ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กเกี่ยวกับการป้องกันและแนวทางปฏิบัติเมื่อเป็นโรคติดต่อ โรค ระบาดที่เกิดกับเด็กปฐมวัย เช่น โรคไข้เลือดออก โรคมือเท้าปาก ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ และกลุ่ม อสม. กลุ่ม อผส. ๔) กิจกรรมการป้องกันด้านความปลอดภัย จัดฝึกอบรมให้ความรูก้ บั ผูป้ กครองและผูด้ แู ล เด็กในการป้องกันอัคคีภัย และการจมน�้ำ จัดท�ำคู่มือแนวทางปฏิบัติ ร่วมกับกลุ่ม อปพร.
396
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๕) กิจกรรมอาหารปลอดภัย ได้แก่ ลดขนม อาหารหวาน มัน เค็ม ลด ละ เลิก น�ำ้ อัดลม ขนมกรุบกรอบ เน้นอาหารครบ ๕ หมู่ โดยการจัดท�ำเมนูอาหารและคุณค่าทางอาหาร ซึ่งใช้วัตถุดิบ ในชุมชน และจัดให้มกี ารตรวจสุขภาพของผูด้ แู ลเด็กและผูป้ ระกอบอาหาร เป็นประจ�ำทุกปี อย่างน้อย ปีละ ๑ ครั้ง ๖) การประสานความร่วมมือระหว่างครอบครัว ชุมชนและสถานศึกษาในการพัฒนาเด็ก โดยการมีส่วนร่วมของทุนทางสังคมในชุมชนเข้ามาร่วมเป็นคณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีการประชุมคณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อย่างน้อยปีละ ๒ ครั้ง เพื่อให้ข้อเสนอแนะใน การปรับปรุง พัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๗) จัดหลักสูตรการศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่มีการเรียนการสอนในชุมชนที่เรียกว่า หลักสูตรท้องถิ่น โดยการเชื่อมประสานกับกลุ่มต่างๆ ในชุมชน เช่น ชมรมผู้สูงอายุ จัดท�ำกิจกรรม ผู้สูงวัยใส่ใจลูกหลาน จัดกิจกรรมการเล่านิทาน การปลูกผักสวนครัว สานปลาตะเพียน สวดมนต์ ม้าก้านกล้วย และการเรียนรูแ้ หล่งเรียนรูท้ างศิลปะ วัฒนธรรม ศาสนา ได้แก่ การส่งเสริมประเพณีบญ ุ บั้งไฟ ส่งเสริมประเพณีแห่เทียนพรรษา โบราณสถาน เช่น วัดดุสิตอินทราราม วัดสุวรรณไชยศรี วัดสว่างอารมณ์ วัดสว่างนิวรณ์นาแก เรียนรู้เรื่องศาสนาและวัฒนธรรม เป็นต้น ๘) กิจกรรมส่งเสริมอาชีพ เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีรายได้เพิ่มขึ้น ได้แก่ การฝึกอบรม ผู้ปกครองในการส่งเสริมอาชีพปลูกดอกดาวเรือง นวดแผนไทย แปรรูปปลา ร่วมกับทุนทางสังคม เช่น กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี กองทุนหมู่บ้าน กลุ่มออมทรัพย์ต�ำบลนาเชือก กองทุนสวัสดิการต�ำบล นาเชือก
๓. ทุนทางสังคม ๓.๑ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการหลัก ๑) องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาเชือกจัดท�ำหลักสูตรท้องถิน่ ทีเ่ อือ้ ต่อการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยและจัดให้มีพื้นที่สร้างสรรค์ส�ำหรับเด็กปฐมวัย ๒) ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ด�ำเนินการจัดท�ำหลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ในการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการเด็กในเรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง เกี่ยวกับบุคคลและสถานที่สำ� คัญ เกี่ยวกับธรรมชาติ เกี่ยวกับสิ่งต่างต่างๆ รอบตัว เรื่องราววันส�ำคัญต่างๆ ให้สอดคล้องกับคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ ๓) ชมรมผูส้ งู อายุ เข้ามาช่วยในการเรียนการสอน เช่น การเล่านิทาน การท�ำอาหาร ท�ำขนม การท�ำของเล่นที่มาจากภูมปิ ัญญา
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
397
๔) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านนาเชือก รวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพ ตรวจรักษา พยาบาล คัดกรองเด็ก แนะน�ำให้คำ� ปรึกษาแก่ผปู้ กครองและผูด้ แู ลเด็กในการดูแล ป้องกัน และควบคุม โรค ตลอดจนการจัดสิ่งแวดล้อมที่มีความปลอดภัยส�ำหรับเด็กปฐมวัย ๕) กลุ่ม อสม. เก็บรวบรวมข้อมูล พัฒนาการเด็ก การเจริญเติบโต การดูแลสุขภาพของ เด็ก ให้ความรู้และรณรงค์การป้องกันโรคระบาด ติดตาม ประเมิน ตรวจคัดกรองเด็ก แนะน�ำให้ค�ำ ปรึกษาเกี่ยวกับการดูแลเด็กให้แก่ผู้ปกครอง ๖) ผู้น�ำ แกนน�ำ จัดให้มีการช่วยเหลือเด็กปฐมวัย ระดมทุนโดยการจัดผ้าป่าการศึกษา ๗) ครูผู้ดูแลเด็ก จัดแผนการเรียนรู้ จัดประสบการณ์การเรียนรู้ส�ำหรับเด็กปฐมวัย ตาม หลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กตามมาตรฐานของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ สอดคล้องกับหลักสูตร ท้องถิ่น หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๕๖ มีการวัด ติดตาม ประเมินเด็กและกิจกรรมการ เรียนรู้ ๘) ปราชญ์ชาวบ้าน ให้ความรูเ้ กีย่ วกับภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ๙) สภาวัฒนธรรมต�ำบลนาเชือก รวบรวมข้อมูลทางวัฒนธรรมท้องถิ่น โบราณสถานที่ แหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม จัดกิจกรรมในการส่งเสริมด้านคุณธรรมจริยธรรม ส่งเสริมและอนุรักษ์ ประเพณีท้องถิ่น เช่น ประเพณีบุญบั้งไฟ ๑๐) คณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีหน้าที่และบทบาทส�ำคัญ ได้แก่ (๑) ก�ำหนดแนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการด�ำเนินงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในด้านต่างๆ ให้ได้ คุณภาพและมาตรฐานการด�ำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตามนโยบายและแผนพัฒนาขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ (๒) เสนอแนะให้ขอ้ คิดเห็นเกีย่ วกับการด�ำเนินงาน การพัฒนาคุณภาพศูนย์พฒ ั นา เด็กเล็กแก่ผบู้ ริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ (๓) พิจารณาเสนอผูบ้ ริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เกี่ยวกับการบริหารบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (๔) พิจารณาเสนอแผนงานหรือโครงการและ งบประมาณในการส่งเสริมและพัฒนาศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กตามหลักวิชาการและแผนพัฒนาเด็กปฐมวัย ๓.๒ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการรอง กลุ่มทางสังคม องค์กรชุมชน และแหล่งประโยชน์ที่เป็นแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ตามหลักสูตร ท้องถิ่น เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านอาชีพ การออม การช่วยเหลือกัน ได้แก่ ๑) ศูนย์เครือข่ายอินทร์ทรง เป็นแหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสมกับเด็ก ในเรื่องราวสิ่งรอบตัว เช่น การปลูกพืชยืนต้น การปลูกพืชสมุนไพร การเลี้ยงกบ เลี้ยงปลา การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ๒) กลุม่ ทอพรมเช็ดเท้า เป็นเหล่งเรียนรูเ้ กีย่ วกับการด�ำเนินชีวติ ในเรือ่ งการรวมกลุม่ ทอพรม เช็ดเท้า เพื่อส่งเสริมอาชีพทั้งระยะสั้น ระยะยาว และเพิ่มรายได้
398
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๓) กลุ่มหมักปุ๋ยชีวภาพ เป็นแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับปุ๋ยอินทรีย์ จากกิ่งไม้ ใบไม้ เศษอาหาร เศษผักผลไม้จากครัวเรือนเพื่อน�ำไปใช้ในการเกษตร เช่น ใส่บ่อปลา ใส่นาข้าว ดอกไม้ ต้นไม้ ๔) กลุ่มออมทรัพย์บ้านแสนส�ำราญ เรียนรู้เรื่องการออมเงิน ๕) กองทุนสวัสดิการชุมชนต�ำบลนาเชือก เรียนรู้เรือ่ งการออมเงิน การช่วยเหลือพึง่ พากัน การจัดสวัสดิการต่างๆ ๖) กองทุนหมู่บ้านสนับสนุนทุนการศึกษาให้กับเด็กปฐมวัย ๗) อปพร. ฝึก ทบทวน ให้ความรู้แก่ผู้ดูแลเด็กและเด็กปฐมวัยในการป้องกันอัคคีภัยและ การช่วยเหลือเด็กจมน�้ำ
๔. วัตถุประสงค์ เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่เอื้อต่อการจัดประสบการณ์การ เรียนรูข้ องเด็กปฐมวัยทีม่ คี วามเหมาะสมกับวัย ความสามารถ และความแตกต่างระหว่างบุคคลทัง้ ทาง ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพื่อปลูกฝังให้เด็กมี คุณธรรมและจริยธรรม
๕. วิธีการท�ำงาน ๕.๑ ต�ำบลนาเชือก จัดตั้งคณะกรรมการการศึกษาองค์การบริหารส่วนต�ำบลนาเชือก ตาม หนังสือสั่งการของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ๕.๒ ประชุมคณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ผู้น�ำ แกนน�ำ กลุ่มองค์กรต่างๆ และ ผู้ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๕.๓ ประชุมคณะกรรมการการศึกษาองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ผู้นำ� แกนน�ำ กลุ่มองค์กร ต่างๆ และผู้ท่เี กี่ยวข้อง ในการจัดท�ำหลักสูตรท้องถิ่น ๕.๔ มีการน�ำหลักสูตรไปใช้ และมีการพัฒนาปรับปรุงเพื่อให้สอดคล้องกับบริบทข้องท้องถิ่น และเหมาะสมกับวัย ความสามารถ และความแตกต่างระหว่างบุคคล ทั้งทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา เพื่อให้มคี ุณลักษณะที่พึงประสงค์
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
399
๖. การเชื่อมโยงหรือส่งผลที่เอื้อต่อการท�ำงานกับกลุ่มงานและกิจกรรมอื่นๆ ต�ำบลนาเชือก ได้มีการจัดท�ำและพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก โดยได้รับความ ร่วมมือจากครูผู้ดูแลเด็ก เก็บรวบรวมข้อมูลทุนทางสังคมเพื่อน�ำมาวิเคราะห์งานและกิจกรรมที่มี ผลกระทบโดยตรงหรือโดยอ้อมและน�ำข้อมูลที่ได้มารวบรวมเพื่อจัดการเทียบเคียงประเด็นการพัฒนา เด็ก ซึง่ ได้รบั มีขอ้ มูลด้านสุขภาพจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลนาเชือก และกลุม่ อสม. ในการ ส่งเสริมและพัฒนาการและการดูแลสุขภาพของเด็กในด้านการเจริญเติบโต การวัดและการประเมินผล และส่งเสริมการพัฒนาการของเด็ก การตรวจคัดกรอง และการรณรงค์ป้องกัน การส่งเสริมทักษะและ จัดประสบการณ์การเรียนรู้แก่เด็กปฐมวัยที่อายุตั้งแต่ ๓-๕ ปี โดยผ่านกิจกรรมการเล่น ให้ได้รับการ พัฒนาทัง้ ทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปญ ั ญา นอกจากนัน้ องค์การบริหารส่วนต�ำบล นาเชือก โดยคณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและคณะกรรมการการศึกษาองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลนาเชือก ซึ่งประกอบด้วย ผู้น�ำท้องถิ่น ผู้น�ำท้องที่ ครูผู้ดูแลเด็ก ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้สูงอายุ ของต�ำบลนาเชือก มาร่วมเป็นคณะกรรมการในการด�ำเนินการจัดท�ำหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและ หลักสูตรท้องถิ่น ซึ่งหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีการเชื่อมโยงกับทุนทางสังคม แหล่งเรียนรู้ที่มีใน พื้นที่ ได้แก่ ชมรมผู้สูงอายุ โบราณสถาน เช่น วัดดุสิตอินทราราม วัดสุวรรณไชยศรี วัดสว่างอารมณ์ วัดสว่างนิวรณ์นาแก แหล่งเรียนรู้ทางการเกษตร เช่น ศูนย์เครือข่ายอินทร์ทรง ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจ พอเพียงบ้านแสนส�ำราญ เป็นต้น
๗. ผลผลิตและผลลัพธ์ ๗.๑ ผลต่อประชากรเป้าหมาย มีหลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรูเ้ ด็กปฐมวัย ๓-๕ ปี ทีเ่ หมาะสมกับเด็กแต่ละ คน และมีการเชื่อมโยงหลักสูตรกับหลักสูตรท้องถิ่น เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้มีประสบการณ์การเรียนรู้ที่ นอกเหนือจากในห้องเรียน และมีการดึงการมีส่วนร่วมของชุมชนเข้ามาร่วมในการพัฒนาหลักสูตรกับ ทางศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ๗.๒ ผลต่อคุณภาพชีวิตของกลุ่มประชากร ๕ มิติ ๑) ด้านสังคม มีผู้นำ� แกนน�ำ ร่วมเป็นคณะกรรมการบริหารหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๒) ด้านเศรษฐกิจ มีการส่งเสริมอาชีพให้กับผู้ปกครอง ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ ได้แก่ การ แปรรูปเนือ้ ปลา เช่น การท�ำปลาร้า ปลาซิวแก้ว ปลาส้ม โดยกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีต�ำบลนาเชือก การท�ำดอกไม้จัน โดยชมรมผู้สูงอายุ และการท�ำปลูกฝังให้เด็กปฐมวัย เรียนรู้จากประสบการณ์ ใน
400
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
แหล่งเรียนรู้ที่มีในพื้นที่ในการส่งเสริมการออม การประกอบอาชีพในชุมชนเพื่อให้เห็นแหล่งที่มาของ รายได้ ๓) ด้านการจัดการสิง่ แวดล้อม ท�ำให้มกี ารจัดสิง่ แวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการจัดประสบการณ์การ เรียนรู้ของเด็กปฐมวัยและเป็นพื้นที่สร้างสรรค์ส�ำหรับเด็กปฐมวัย เช่น สนามกีฬา สนามเด็กเล่น ๔) ด้านสุขภาพ จัดให้มรี ะบบการดูแลเด็กปฐมวัยด้านสุขภาพ เพือ่ เด็กปฐมวัยมีสขุ ภาพจิตใจ ที่ดี ไม่จำ� เจในการเรียนรู้ ๕) ด้านการเมือง การปกครอง มีผู้น�ำ แกนน�ำ ร่วมเป็นคณะกรรมการการศึกษาองค์การ บริหารส่วนต�ำบลนาเชือก คณะกรรมการบริหารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก มีกฎ ระเบียบและแนวทางปฏิบตั ิ เพื่อจัดท�ำและพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่ได้มาตรฐานกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น มีความสอดคล้องกับบริบทท้องถิ่น หลักสูตรท้องถิ่นและหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.๒๕๔๖ ๗.๓ ผลต่อทุนทางสังคมอื่นๆ มีการประสานความร่วมมือในทุกภาคส่วน เกิดเครือข่ายการท�ำงาน สร้างความเข้มแข็งในชุมชน ส่งผลต่อการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็ก
๘. กลไก เครื่องมือในการด�ำเนินงาน ๑) ต�ำบลนาเชือก มีการแต่งตัง้ คณะท�ำงานพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย ประกอบด้วย ผู้ บริหารองค์การบริหารส่วนต�ำบลนาเชือก สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนต�ำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุข ภาพต�ำบลบ้านนาเชือก กลุ่มองค์กร ทุนทางสังคมและผู้ที่เกี่ยวข้อง ๒) ต�ำบลนาเชือก มีการแต่งตัง้ คณะกรรมการการศึกษาองค์การบริหารส่วนต�ำบลนาเชือก ส่ง เสริม สนับสนุนการจัดท�ำแผนการศึกษา แผนพัฒนาสามปี เพื่อสนับสนุนงบประมาณในการจัดการ ศึกษาปฐมวัย ๓) ต�ำบลนาเชือก แต่งตัง้ คณะกรรมการบริหารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก มีการจัดท�ำหลักสูตรศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก ด้วยการร่วมมือกับทุนทางสังคมในพื้นที่ ๔) ต�ำบลนาเชือก มีการแต่งตั้งคณะกรรมการสภาวัฒนธรรมต�ำบลนาเชือก เพื่อส่งเสริมการ เรียนรู้ทางศิลปะ ศาสนา วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นส�ำหรับเด็กปฐมวัย
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
401
๙. ปัจจัยเงื่อนไข ๑) ต�ำบลนาเชือก มีผู้น�ำที่มีวิสัยทัศน์ที่ให้ความส�ำคัญกับการส่งเสริมการพัฒนาระบบการดู เด็กปฐมวัย โดยการพัฒนาหลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก เพือ่ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยทัง้ ๔ ด้าน คือ ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา โดยการมีส่วนร่วมของทุนทางสังคมทุกระดับใน พื้นที่ ๒) คณะกรรมการต่างๆ ได้แก่ คณะกรรมการพัฒนาระบบเด็กปฐมวัย คณะกรรมการ การศึกษาองค์การบริหารส่วนต�ำบลนาเชือก คณะกรรมการบริหารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก คณะกรรมการ สภาวัฒนธรรม คณะกรรมการสภาเด็กและเยาวชน เป็นต้น มีความเข้มแข็งในการด�ำเนินงา มีการ ประชุม ขับเคลื่อนการศึกษาปฐมวัย อย่างน้อยปีละ ๒ ครั้ง ๓) มีการน�ำใช้ข้อมูลทุนทางสังคมในพื้นที่ โดยการท�ำงานในรูปแบบเครือข่าย ประสานความ ร่วมมือกับทุนทางสังคมในพื้นพื้นที่ในการด�ำเนินงาน จัดท�ำหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พัฒนา ปรับปรุง ให้สอดคล้องกับหลักสูตรท้องถิ่น หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.๒๕๔๖ ๔) มีการติดตาม วัดและประเมินผลการใช้หลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
๑๐. ความเชื่อมโยงต่อ ๗ คุณลักษณะการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่น ๑๐.๑ การสร้างการเรียนรู้ปัญหาและความต้องการของชุมชน ต�ำบลนาเชือก ใช้ข้อมูลจาก RECAP และ TCNAP ในการวางแผนและจัดท�ำโครงการและ กิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาเด็กและครอบครัว ๑๐.๒ การสร้างกลไกการบริหารจัดการตนเองในทุกระดับ ต�ำบลนาเชือก มีการสร้างกลไกในการบริหารจัดการในการดูแลเด็กปฐมวัยในทุกระดับ มีผนู้ �ำ เจรจาไกล่เกลี่ยกรณีมีปัญหา กลุ่ม อสม. ชมรมผู้สูงอายุ กลุ่มอาสาสมัคร ศูนย์พัฒนาครอบครัว ท�ำ หน้าทีใ่ นการเชือ่ มประสานการท�ำงานในการดูแลเด็กปฐมวัยในช่วงปกติ เมือ่ เกิดภาวะฉุกเฉินมีการให้ ความช่วยเหลือทั้งในและนอกต�ำบล ๑๐.๓ การจัดการตนเอง ต�ำบลนาเชือก มีการพัฒนาศักยภาพของแม่และครอบครัว อาสาสมัครให้มีความเชี่ยวชาญ ในงานและกิจกรรมต่างๆ มีการแต่งตัง้ ผู้ทมี่ คี วามเชีย่ วชาญในการดูแลเด็กปฐมวัย ส่งเสริมพัฒนาการ เด็ก ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาพื้นบ้านในการเลี้ยงเด็ก
402
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๑๐.๔ การสร้างการมีส่วนร่วมในทุกมิติการดูแลเด็กปฐมวัยในชุมชน โดยการร่วมคิด ร่วมท�ำงาน ร่วมพัฒนา และร่วมปรับแนวทางในการด�ำเนินงาน เพื่อให้เกิด ประโยชน์ต่อเด็กปฐมวัย เปิดโอกาสและสร้างกระบวนการให้ครอบครัว กลุ่มองค์กรชุมชน หน่วยงาน ภาครัฐในพืน้ ที่ มีสว่ นร่วมในการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย เช่น การระดมความคิดเห็นผ่านเวที ประชาคม ๑๐.๔ การระดมเงินและทรัพยากร เพือ่ เป็นทุนจัดสรรส�ำหรับการดูแลเด็กปฐมวัยและครอบครัว เช่น การจัดการกองทุนต่างๆ กลุม่ ออมทรัพย์ กองทุนหมู่บ้านทุกหมู่บ้าน ซึ่งเป็นแหล่งเงินทุนส�ำหรับออมหรือกู้ยืมในการประกอบอาชีพ และการจัดสวัสดิการการดูแลตั้งแต่เกิดจนตาย ๑๐.๕ การมีข้อตกลงเป้าหมายเพื่อสร้างความยั่งยืน และสร้างความสัมพันธ์แนวราบ ต�ำบลนาเชือก มีการจัดท�ำข้อตกลงทั้งในระดับบุคคลและครอบครัว ระดับกลุ่มและองค์กร ระดับหน่วยงาน ระดับหมู่บ้าน ระดับต�ำบล และระดับเครือข่าย มีการท�ำวิจัยชุมชนในการจัดการแก้ ปัญหาในการดูแลเด็กปฐมวัยในพื้นที่ มีการเฝ้าระวังความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับเด็กปฐมวัย เช่น การ ขับขี่ปลอดภัยในชุมชน ๑๐.๖ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กร หน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานต่างๆ ได้แก่ โรงพยาบาลยางตลาด โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ในการสนับสนุน การดูแลเด็กปฐมวัยในพืน้ ที่ โดยส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย โครงการเกลือไอโอดีนในหญิงตัง้ ครรภ์ การอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครในการดูแลเด็กปฐมวัยและครอบครัว การส่งเสริมอาชีพ
๑๑. การตอบสนองต่อตัวชี้วัด ๑๑.๑ ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพ กลุ่มเด็ก ๓ -๕ ปี ตัวชี้วัดที่ ๙ คือ ศูนย์พัฒนา เด็กเล็กมีการจัดท�ำหลักสูตรทีส่ ง่ เสริมการเรียนรู้ หลักสูตรการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยทัง้ ๔ ด้าน คือ ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา โดยใช้กิจกรรมหลักที่ครอบคลุม ๔ สาระ ให้ สอดคล้องกับบริบทของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้แก่ ส่งเสริมพัฒนาการด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ กล้ามเนื้อมัดเล็ก ความคิดสร้างสรรค์ ลักษณะนิสัยให้เด็กได้แสดงอารมณ์ และความรู้สึกทางด้าน ศิลปะ ดนตรี ด้านคุณธรรมจริยธรรมคุณลักษณะที่ดีทางสังคมเบื้องต้น เช่น ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี มีน�้ำใจรู้จกั การรอคอยและรู้จกั การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ กติกาของ
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
403
ห้องเรียนและศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กเหมาะสมตามวัย มีแผนการด�ำเนินกิจกรรมตามหลักสูตร และมีการ ประเมินผลหลักสูตร ๑๑.๒ ชุดกิจกรรมที่ ๒ การพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็กปฐมวัยกลุ่มเด็ก ๓ – ๕ ปี ตัวชี้วัดที่ตัวชี้วัดที่ ๑๖ คือ สนับสนุนให้มีกลุ่มช่วยดูแลเด็ก ๓-๕ ปี เช่น กลุ่มท�ำอาหารส�ำหรับเด็ก ทั้ง เด็กป่วย พิการ และกลุ่มปกติ กลุ่มเพื่อนบ้านช่วยเหลือกันดูแลกันในการับยาการส่งเสริมพัฒนาการ กิน กอด เล่น เล่าเยี่ยมให้ก�ำลังผู้ดูแลเฝ้าระวังความรุนแรงในครอบครัว เป็นต้น ๑๑.๓ ชุดกิจกรรมที่ ๓ การพัฒนาระบบบริการ กลุ่มเด็ก ๓-๕ ปี ตัวชี้วดั ที่ ๒๖ คือ การให้ บริการอื่นๆ เช่น ให้ค�ำปรึกษาผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็กเรื่องสุขภาพอย่างน้อย ๑ ครั้งต่อปี การเบิกรับยา การบริการอื่นๆ เช่น การจัดบริการอาหารเฉพาะหรือตามความต้องการรวมทั้งการดูแลเด็ก ๓-๕ ปี ที่มีความผิดปกติ พิการ ๑๑.๔ ชุดกิจกรรมที่ ๔ การจัดตั้งกองทุนหรือสวัสดิการช่วยเหลือ กลุ่มเด็ก ๓-๕ ปี ตัวชี้วดั ที่ ๔๓ คือ ศูนย์พฒ ั นาครอบครัวร่วมกับแกนน�ำชุมชนและกลุ่มทางสังคม จัดตั้งกองทุนและสวัสดิการ ส�ำหรับเด็ก ๓ – ๕ ปี ด้านการดูแลสุขภาพการเพิ่มรายได้ให้ผู้ปกครอง ผู้ดูแลกลุ่มเด็กที่เจ็บป่วย พิการ เช่น กองทุนสวัสดิการชุมชน สถาบันการเงินของชุมชน กองทุนสัจจะออมทรัพย์ กลุ่มสหกรณ์ ออมทรัพย์ กองทุนเพื่อช่วยเหลือผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือตามความจ�ำเป็น กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ เป็นต้น ๑๑.๕ ชุดกิจกรรมที่ ๕ การพัฒนาและการน�ำใช้ขอ้ มูลในการส่งเสริมแก้ไข/จัดการปัญหาเด็ก กลุ่มเด็ก ๓-๕ ปี ตัวชี้วัดที่ ๔๗ คือ มีการจัดท�ำระบบข้อมูลโดยคนในชุมชนและมีส่วนร่วมจากของ ๖ กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ อปท. ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ศูนย์พฒ ั นาครอบครัว รพ.สต. อาสาสมัครและ ทุนทางสังคมต่างๆ ในชุมชนทุกฝ่าย ตั้งแต่ขั้นตอนการเก็บการตรวจสอบความถูกต้องการวิเคราะห์ เพื่อใช้จัดการดูแลและประเมินผลการดูแลมีข้อมูลเด็ก ๓-๕ ปี ที่ครบถ้วน ครอบคลุมเพือ่ ใช้จัดบริการ ดูแล ๑๑.๖ ชุดกิจกรรมที่ ๖ การพัฒนากฎ กติกา ระเบียบแนวทางปฏิบัติเพื่อหนุนเสริมการ ด�ำเนินกิจกรรมเสริมความเข้มแข็งชุมชนท้องถิน่ กลุ่มเด็ก ๓-๕ ปี ในตัวชีว้ ดั ที่ ๕๒ มีข้อบัญญัตทิ ้องถิน่ แผนการดูแลจัดสรรงบประมาณในการสนับสนุนการดูแลเด็ก ๓-๕ ปี ที่ครอบคลุมทั้งงานบริการ กิจกรรม กองทุนสวัสดิการ
404
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
405
ภาพที่ ๖๖ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้านระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาเชือก อ�ำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์
ภาพที่ ๖๗ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิน่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาเชือก อ�ำเภอนาเชือก จังหวัด มหาสารคาม
406
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ภาพที่ ๖๘ การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กโดยชุมชนท้องถิน่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาเชือก อ�ำเภอ นาเชือก จังหวัดมหาสารคาม
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
407
การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนต�ำบลสันทราย อ�ำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่
๑. ที่มาหรือฐานคิดของการด�ำเนินกิจกรรม ต�ำบลสันทรายมีจ�ำนวนประชากรทั้งสิ้น ๖,๔๑๘ คน มีจำ� นวนครัวเรือน ๒,๓๔๐ คน จ�ำนวน ประชากรเด็กปฐมวัย อายุ ๐-๕ ปี ๓๕๖ คน แยกเป็นช่วงอายุ ๐-๓ ปี จ�ำนวน ๑๖๓ คน อายุ ๓-๕ ปี จ�ำนวน ๑๙๓ คน อาศัยอยู่กับพ่อแม่ จ�ำนวน ๓๒๘ คน อาศัยอยู่กับปู่ย่าตายาย จ�ำนวน ๒๕ คน อาศัยอยู่กบั ญาติ จ�ำนวน ๑ คน และอาศัยอยู่กับครอบครัวใหม่ จ�ำนวน ๒ คน การดูแลเด็กปฐมวัยให้เติบโตมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัยทั้ง ๔ ด้าน คือ ด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา นอกจากจะเป็นภาระหน้าที่ของ พ่อ แม่ ผู้ปกครองและผู้ดูแล เด็กแล้ว การจัดท�ำ วิเคราะห์หลักสูตรปฐมวัยให้เหมาะสมกับวัยส่งผลต่อพัฒนาการเด็กด้วย หลักสูตร สถานศึกษาปฐมวัย(อายุต�่ำกว่า ๓ ปี)เป็นหลักสูตรเฉพาะใช้สำ� หรับเด็กช่วงอายุ ๐-๓ ปี และหลักสูตร สถานศึกษา(ระดับอายุ ๓-๕ ปี) น�ำไปใช้กับเด็ก ๓-๕ ปี ซึ่งมีรายละเอียดมาตรฐานสอดคล้องกับ คุณลักษณะตามวัยของเด็กแต่ละช่วงวัย องค์การบริหารส่วนต�ำบลสันทราย ได้ด�ำเนินงานที่สอดรับนโยบายกรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย ในการพัฒนาการศึกษาปฐมวัยอย่างจริงจัง เพื่อให้การศึกษาปฐมวัยมี การพัฒนาความพร้อม ให้ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลงของสังคมโลก จึงได้มกี ารพัฒนาการจัดหลักสูตรศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กขึ้น เพื่อสร้างเสริมเด็กปฐมวัยให้เติบโต มีการพัฒนาทุกด้านอย่างสมดุล เหมาะสมกับ วัยเป็นคนดี คนเก่งและมีความสุข เติบโตเป็นพลเมืองที่ดี มีคุณภาพต่อไป
408
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๒. งานและกิจกรรม ๒.๑ ภาพรวมระบบการดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบลสันทราย องค์การบริหารส่วนต�ำบลสันทราย มีการด�ำเนินงานด้านการดูแลเด็กปฐมวัย ช่วงอายุ ๐-๕ ปี เริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบล บ้านขามสุ่มและบ้านหนองปิด ด�ำเนินงานงานแม่และเด็ก งานให้คำ� ปรึกษา บริการสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ การประเมินพัฒนาการเด็ก ๐-๕ ปี การฉีดวัคซีน การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรค การบ�ำบัดรักษาและดูแล เฉพาะระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอด องค์การบริหารส่วนต�ำบลสันทราย จัดสรรงบประมาณในการ ด�ำเนินการโครงการอาหารเสริม(นม) โครงการอาหารกลางวัน ให้กบั เด็กในโรงเรียนและศูนย์พฒ ั นาเด็ก เล็ก องค์การบริหารส่วนต�ำบลสันทราย จัดการศึกษาระดับปฐมวัยในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ระดับต�ำ่ กว่า ๓ ปี และระดับ ๓-๕ ปี ให้เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนาทั้ง ๔ ด้าน คือ ด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา และทุกๆ ปีจะตั้งงบประมาณสนับสนุนค่าอาหารกลางวัน และอาหารเสริมนม จัดซื้อเครื่องเล่นกลางแจ้ง ค่าจัดการเรียนการสอนให้เด็กทุกๆ ปี ให้โรงเรียนอนุบาลสันทรายพัฒนา และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัด ทั้ง ๓ ศูนย์ ได้มีการพัฒนาศักยภาพครูผู้สอนโดยการส่งครูเข้าร่วม การอบรมเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก และส่งให้เรียนต่อจนจบจบปริญญาตรี สาขาปฐมวัย ทุกคน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องผ่านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบล ๒ แห่ง ก็จะร่วมกับ องค์การบริหารส่วนต�ำบลสันทรายจัดให้มีโครงการทันตสุขภาพของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อสม.แต่ละหมู่บ้านจะมีการวัดรอบศีรษะ ชั่งน�ำ้ หนักและวัดส่วนสูง ให้เด็กปฐมวัย เพื่อเก็บข้อมูลให้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชน ต�ำบล ๒ แห่ง ใช้เป็นข้อมูลในการด�ำเนินงาน ต่อไป ๒.๒ ประเด็นเด่นของการจัดหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๑) หลักสูตรทีเ่ หมาะสมกับพัฒนาการเด็ก ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กจัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษา ปฐมวัย (อายุตำ�่ กว่า ๓ ปี)เป็นหลักสูตรเฉพาะใช้ส�ำหรับเด็กช่วงอายุ ๐-๓ ปี และหลักสูตรสถานศึกษา (ระดับอายุ ๓-๕ ปี) ที่มีการน�ำไปปรับใช้กับเด็ก ๓-๕ ปี ๒) การจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ ละการเล่น โดยมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรูเ้ รือ่ งราว เกีย่ วกับประเพณีส�ำคัญในชุมชน ได้แก่ การน�ำเด็กเข้าร่วมกิจกรรมกิจกรรมในงานบุญประเพณีส�ำคัญ ในชุมชน เช่น งานสลากภัณฑ์ งานถวายเทียนพรรษา งานถอดผ้าป่าสามัคคีของ และการส่งเสริม การเรียนรูเ้ กีย่ วกับสถานทีบ่ คุ คลส�ำคัญ กิจกรรมการศึกษา นอกสถานทีใ่ นการจัด กิจกรรมทางศาสนา เช่น วัดสันปง วัดหนองปิด วัดขามสุ่ม เป็นต้น ๓) การส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ให้เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนาทั้ง ๔ ด้าน คือ ด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา โดย
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
409
มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องราว เกี่ยวตัวเด็ก มีการให้ความรู้ เรื่องส่วนต่างๆ ของร่างกาย การเรียนรู้เกี่ยวกับบุคคลและสถานที่สิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็ก โดยมีกลุ่มต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วม เช่น กลุ่มจักสาน เข้ามาจัดกิจกรรมการสานของเล่นและ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องอาชีพการปลูกผัก สวนครัว ๔) การส่งเสริมสุขภาพและการดูแลเพื่อป้องกันโรคและการเจ็บป่วย อุบัติเหตุ โดยมี การจัด โครงการตรวจสุขภาพช่องปากและฟันให้กับเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก การดูแลสุขภาพและ เสริมสร้างพัฒนาการเด็ก ส่งเสริมการดูแลช่องปาก การจัดกิจกรรมการออกก�ำลังกายให้กับเด็กใน ศพด. การจัดการดูแลเรื่องอาหารมีเมนูอาหารเพื่อสุขภาพเด็ก ๕) การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพและการเรียนรู้ของเด็ก โดยมีการจัดการจัด สิ่งแวดล้อมภายในบ้านเอื้อต่อการดูแลเด็ก เช่น การติดตั้งปลั๊กไฟ สวิซ์ทไฟ ที่ปลอดภัย รวมทั้งมีการ จัดสนามเด็กเล่นที่ปลอดภัยต่อเด็ก
๓. ทุนทางสังคม ๓.๑ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการหลัก ในการบริหารงานขององค์การบริหารงานต�ำบลสันทรายเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อพัฒนาการดูแลและส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย มีทุนทางสังคมที่ดำ� เนินการ หลัก ประกอบด้วยกลุ่มเลี้ยงโคนม ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ กลุ่มจักสาน กลุ่มออกก�ำลังกาย ศูนย์ กสิกรรมธรรมชาติ สถาบันการเงินชุมชนบ้านสันปง กลุ่มสวัสดิการชุมชน ต�ำบลสันทราย กลุ่ม ออมทรัพย์สุขาภิบาล สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนพร้าวจ�ำกัด กลุ่มออมทรัพย์กระบอกไม้ไผ่ กลุ่มเกษตรกร ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ศูนย์เรียนรู้ปลูกพืชสวนครัวและการเกษตรพอเพียง กลุ่มพลังงานทดแทน (บ่อแก๊สชีวภาพ) กลุม่ ส่งเสริมการท่องเทีย่ วโป่งน�ำ้ พุรอ้ นบ้านหนองครก กลุม่ ส่งเสริมการท่องเทีย่ วน�ำ้ ตก ห้วยป่าพลู การบริหารจัดการขยะชุมชน ในการจัดกิจกรรมตามหลักสูตร มีครูผู้ดูแลเด็กเป็นผู้จัด กิจกรรมตามหลักสูตรในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ผ่านแผนการจัดประสบการณ์รายวัน รายเดือน ๓.๒ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการรอง นอกจากทางสังคมที่ด�ำเนินการหลักที่สนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาการเด็กเล็ก ยังมีทุนทางสังคมอื่นๆ ที่หนุนเสริม ประกอบด้วย กลุ่มส่งเสริมอาชีพสวนล�ำไยในฤดูและนอกฤดู กลุ่ม บริหารจัดการป่า ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มส่งเสริมอาชีพสวนล�ำไยในฤดูและ นอกฤดู กลุม่ บริหารจัดการป่า ธนาคารข้าว(กลุม่ ข้าวนาน�ำ้ ฝน) กลุม่ ออมทรัพย์แม่บา้ น กลุม่ ยุง้ ฉางข้าว
410
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
กลุ่มเกษตรกรบ้านสันผักฮี้ กลุ่มเกษตรกรท�ำไร่บ้านสันทราย กลุ่มคัดเมล็ดพันธุ์ข้าว กลุ่มส่งเสริม การท่องเทีย่ วน�้ำตกห้วยน�้ำริน กลุ่มเรียนรู้พลังงานทดแทน กลุ่มทอผ้าพืน้ เมือง กลุ่มทอผ้าชนเผ่า กลุ่ม ถั่วเหลือง
๔. วัตถุประสงค์ ๔.๑ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย (หลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก) ๔.๒ เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ได้นำ� หลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไปปรับใช้ใน การพัฒนาเด็กปฐมวัย ๔.๓ เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนาทั้ง ๔ ด้าน คือ ด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติ ปัญญา
๕. วิธีการท�ำงาน องค์การบริหารส่วนต�ำบลสันทราย มีการด�ำเนินงานและกิจกรรมต่างๆ ร่วมกับกลุ่มองค์กร ภายในต�ำบลป่าสัก ที่มุ่งเน้นในการดูแลและส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับเด็กปฐมวัยโดยมีกระบวนการ ด�ำเนินงาน ดังนี้ ๕.๑ เริม่ จากผูบ้ ริหารท้องถิน่ มีนโยบายทีจ่ ะพัฒนาศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กในสังกัดองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลสันทราย ให้ได้มาตรฐานตามมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กแห่งชาติ และได้มาตรฐานของ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ โดยมีนโยบายให้ดำ� เนินโครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ทุกปีการศึกษา ๕.๒ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลสันทรายได้แต่งตัง้ คณะท�ำงานเพือ่ พัฒนาหลักสูตรปฐมวัย ๕.๓ คณะท�ำงานจัดประชุมก�ำหนดแนวทางในการด�ำเนินงาน ก�ำหนดผู้รับผิดชอบในการ ท�ำงานและก�ำหนดระยะเวลาเริม่ ต้นและสิน้ สุดในการจัดเก็บข้อมูล เพือ่ ค้นหาปัญหาและความต้องการ ในเด็กปฐมวัยช่วงวัย ๐-๕ ปี ๕.๔ ท�ำการส�ำรวจข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาและความต้องการของเด็กปฐมวัย โดยการลงไปใน พืน้ ทีแ่ ละใช้แบบสอบถามศักยภาพชุมชนท้องถิน่ และการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิน่ ให้ครอบคลุม ทุนทางสังคม ๖ ระดับ ได้แก่ บุคคลและครอบครัว กลุ่มทางสังคม หน่วยงานและแหล่งประโยชน์ หมู่บ้านหรือชุมชนจัดการตนเอง ต�ำบล และเครือข่าย
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
411
๕.๕ น�ำข้อมูลที่ได้จากการส�ำรวจการวิจัยชุมชนเชิงชาติพันธุ์วรรณาแบบเร่งด่วน (RECAP) และข้อมูลต�ำบล (TCNAP) มาจัดเก็บในคอมพิวเตอร์ เพื่อเป็นฐานข้อมูลประกอบการดูแลเด็กปฐมวัย ๕.๖ น�ำข้อมูลที่ได้มาประมวลผล เพื่อให้ทราบถึงปัญหา และความต้องการของเด็กปฐมวัย ช่วงวัย ๐-๕ ปี เพื่อเป็นข้อมูลในการด�ำเนินงานพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น ด้านการจัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยและการเรียนรู้ของเด็ก ๕.๗ ใช้การท�ำงานแบบการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ได้แก่ ประสานงานให้เจ้าพนักงาน ป้องกันและบรรเทาสาธารณะภัยมาฝึกซ้อมแผนป้องกันอัคคีภัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก การประสาน งานกองช่างให้เขียนแบบประมาณการราคาโครงการการก่อสร้างศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กบ้านหนองปิด การ ประสานเจ้าหน้าที่ รพ.สต.ต�ำบลสันทราย มาตรวจสุขภาพช่องปากให้เด็กปฐมวัย ให้เจ้าพนักงาน ป้องกันและบรรเทาสาธารณะภัยมาฝึกซ้อมแผนป้องกันอัคคีภัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เป็นต้น
๖. การเชื่อมโยงหรือส่งผลที่เอื้อต่อการท�ำงานกับกลุ่มงานและกิจกรรมอื่นๆ การพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชน เกี่ยวกับการจัดท�ำหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็ก เล็กของต�ำบลสันทรายท�ำให้เกิดการท�ำงานร่วมกันหลายภาคส่วนในพื้นที่ มีการจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับ ปัญหาและความต้องการเกี่ยวกับเด็กอายุ ๐-๕ ปี โดยคนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมจากของ ๖ กลุ่ม เป้าหมายหลัก ได้แก่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลสันทราย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาครอบครัว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบล ๒ แห่ง อาสาสมัครและทุนทางสังคมต่างๆ มีการจัดคนให้ ตรงกับงาน มีการพัฒนาศักยภาพแกนน�ำส�ำหรับการเป็นวิทยากรผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ของแหล่ง เรียนรู้ ได้ทำ� กิจกรรมร่วมกับผู้น�ำชุมชนในการประชุมปรึกษาหารือเกี่ยวกับการก�ำหนดแนวทางในการ ด�ำเนินงาน ปราชญ์ชาวบ้านได้ให้ความรู้แก่เด็กปฐมวัยในการถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการท�ำของเล่น จากภูมิปัญญาท้องถิ่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบล ๒ แห่งเข้ามามีบทบาทในการ ตรวจคัดกรอง เกีย่ วกับพัฒนาการและสุขภาพของเด็ก เพือ่ เป็นข้อมูลในการพัฒนาเด็ก ผูป้ กครอง และ คนในชุมชนมีสว่ นร่วมในการพัฒนาสภาพแวดล้อมในชุมชน และในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก เช่น การบริจาค เงินช่วยเหลือในการบริหารจัดการศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก เพือ่ เป็นค่าน�ำ้ มันเครือ่ งตัดหญ้า ค่าวัสดุงานบ้าน งานครัว เป็นต้น องค์การบริหารส่วนต�ำบลสันทราย ตั้งงบประมาณในข้อบัญญัติงบประมาณ รายจ่ายประจ�ำปีงบประมาณ ค่าสาธารณูปโภค ค่าวัสดุ ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลสันทราย เป็นต้น
412
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๗. ผลผลิตและผลลัพธ์ ๗.๑ ผลต่อประชากรเป้าหมาย ต�ำบลสันทรายมีแนวทางในการพัฒนาระบบการดูแลเด็ก ปฐมวัย ด้านการจัดท�ำหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ครูผู้ดูแลเด็ก พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ได้น�ำหลักสูตร ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไปปรับใช้ในการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีความพร้อมทางพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน คือ ด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา ๗.๒ ผลต่อคุณภาพชีวิตของกลุ่มประชากร ๕ มิติ (สังคม เศรษฐกิจ สภาวะแวดล้อม สุขภาพ และการเมืองการปกครอง) ๑) ด้านสังคม การจัดท�ำหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้รวบรวมข้อมูลในการพัฒนาเด็ก ปฐมวัยในต�ำบลสันทราย ซึ่งได้มาจาการประชาคมหมู่บ้าน การสอบถามผู้ปกครอง ซึ่งสะท้อนปัญหา และความต้องการของสังคม ท�ำให้เกิดงานและกิจกรรมที่สอดคล้องกับต�ำบลสันทรายอย่างแท้จริง ผ่านการจัดท�ำแผนการจัดประสบการณ์ของครูผู้ดูแลเด็ก และน�ำไปใช้ในการจัดกิจกรรมส่งเสริม พัฒนาการเด็กต่อไป ๒) ด้านเศรษฐกิจ หลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลสันทราย ที่สะท้อนด้านเศรษฐกิจ คือ มีการจัดกิจกรรม ดังนี้ ๑) กิจกรรมการออมของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตามโครงการไผ่แตกกอหน่ออมทรัพย์ โดยให้เด็กน�ำเงินมาออมในกระบอกไม้ไผ่ โดยไม่เน้นเรื่องจ�ำนวน แต่เน้นเรื่องความสม�่ำเสมอในการ ออมของเด็ก และสนับสนุนให้ครอบครัวเด็ก เข้ามาร่วมเป็นสมาชิกกองทุนสวัสดิการชุมชนต�ำบล สันทราย ๒) การลดค่าใช้จา่ ยในครัวเรือนของเด็ก โดยฝึกเด็กปลูกผักสวนครัวตามโครงการเศรษฐกิจ พอเพียงในโรงเรียนอนุบาลสันทรายพัฒนาและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๓) ด้านสภาวะแวดล้อม ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลสันทรายมีการจัดการสภาวะแวดล้อม ที่เอื้อต่อสุขภาพเด็กปฐมวัยโดยการจัดสภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ การปรับปรุง ภูมิทัศน์ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก การด�ำเนินโครงการหนึ่งห้องเรียนหนึ่งโครงการเกษตร การจัด ประสบการณ์เรียนรู้ในสาระการเรียนรู้ธรรมชาติรอบตัวเด็ก ให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการดูแลรักษา ธรรมชาติ การปลูกต้นไม้ การรดน�้ำต้นไม้ และได้สังเกตการณ์เจริญเติบโตของต้นไม้ การจัดมุม ประสบการณ์ในห้องเรียน การจัดสนามเด็กเล่นให้เด็กได้มีการเคลื่อนไหวอย่างสนุกสนาน เกิด พัฒนาการที่ดีสมวัย โดยในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ จะมีครูให้การดูแลเด็กให้มีความปลอดภัย ๔) ด้านสุขภาพ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลสันทราย ส่งเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัยในศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก โดยจัดโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพครูผู้ดูแลเด็ก เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพ
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
413
ในการดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัยในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก เรือ่ ง การประเมินพัฒนาการเด็ก การตรวจสุขภาพ เด็ก การจัดจุดดื่มน�้ำ ล้างมือ จัดผ้าเช็ดหน้าและอุปกรณ์ประจ�ำตัวเด็ก การตรวจสอบคุณภาพนม โรงเรียน การตรวจคัดกรองโรคในเด็กปฐมวัย โดยการสนับสนุนจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชน ต�ำบล และกระทรวงสาธารณสุข ๕. ด้านการเมืองการปกครอง ผู้บริหารมีนโยบายส่งเสริมด้านการศึกษาปฐมวัย การ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ทั้งเด็กที่อยู่ในชุมชน และที่เข้าเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตั้งงบประมาณในข้อบัญญัตเิ พื่อสนับสนุนการพัฒนาเด็กปฐมวัย ๗.๓ ผลต่อทุนทางสังคมอื่นๆ กลุม่ บุคคลในพืน้ ต�ำบลสันทรายทีม่ คี วามเชือ่ มโยงกับการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดย ชุมชนท้องถิน่ เพราะวิถชี วี ติ ในต�ำบลสันทรายเป็นแบบพึง่ พาอาศัยกันช่วยเหลือซึง่ กันและกัน กลุม่ ทาง สังคมหลายกลุม่ จ�ำเป็นต้องมีการเชือ่ มทัง้ งานและคนร่วมกัน ท�ำให้เกิดการบริหารคน งาน ข้อมูล และ งบประมาณในการด�ำเนินการ เกิดการสร้างงานให้แก่คนในชุมชน ทัง้ ยังเป็นแหล่งเรียนรูร้ ะบบการดูแล เด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น
๘. กลไก เครื่องมือในการด�ำเนินงาน การพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัย โดยชุมชนท้องถิ่นเพื่อให้ครอบคลุมทุกด้านจ�ำเป็นต้อง มีการบริหารจัดการร่วมกันกับคนในชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผ่านการประชุมหรือประชาคม ร่วมกันโดยให้ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้มีบทบาทในการเสนอความคิดเกี่ยวกับการพัฒนาเด็ก เสนอ แนวทางเกี่ยวกับการด�ำเนินงานเกี่ยวกับเด็กช่วงอายุ ๐-๕ ปี และการลงพื้นที่เพื่อสัมภาษณ์ จัดเก็บ ข้อมูลของชุมชนเกีย่ วกับเด็กทัง้ ทีเ่ ป็นปัญหา และความต้องการ เพือ่ น�ำมาวางแผน ในข้อมูลมาวางแผน ในการด�ำเนินงาน มีการด�ำเนินงานโดยอาศัยคู่มือการด�ำเนินงานเกี่ยวกับการปรับสภาวะแวดล้อมให้ เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก เป็นแนวในการด�ำเนินงานที่ตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการ เด็กได้ รับการส่งเสริมพัฒนาการได้ถูกต้องสมวัย มีคณ ุ ภาพ พร้อมที่จะเข้าเรียนในระดับที่สูงขึ้น
414
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๙. ปัจจัยเงื่อนไข ปัจจัยที่ท�ำให้ท�ำได้สำ� เร็จ ๑) การมีสว่ นร่วมของผูท้ ำ� งาน การจัดคนให้ตรงงานหรือตามความสนใจ ความถนัด ความ สามารถ การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ส่งผลให้งานทุกอย่างส�ำเร็จได้ ๒) ข้อมูล มีกระบวนการจัดเก็บข้อมูลเกีย่ วกับปัญหาและความต้องการของเด็กปฐมวัย อายุ ๐-๕ ปี ที่ครอบคลุมและถูกต้องเชื่อถือได้ทุกมิติ เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการจัดการกับปัญหา และ ความต้องการ ได้ตรงจุดกับกลุม่ เป้าหมายมากทีส่ ดุ รวมทัง้ การน�ำใช้ขอ้ มูล ประกอบด้วย ข้อมูลจ�ำนวน เด็ก ข้อมูลด้านสุขภาพ ข้อมูลด้านทุนทางสังคม ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ ข้อมูลด้านสิง่ แวดล้อม ซึง่ มีแหล่ง ข้อมูลจาก RECAP และTCNAP ในการจัดท�ำโครงการ แผนงานทีเ่ กีย่ วกับการจัดท�ำหลักสูตรศูนย์พฒ ั นา เด็กเล็ก ๓) ทุน เงิน โดยในต�ำบลมีการจัดตั้งกองทุนหรือสวัสดิการ ประกอบด้วย กองทุนสวัสดิการ ชุมชนต�ำบลสันทราย มีองค์การบริหารส่วนต�ำบลสันทราย เป็นหน่วยงานหลักในการขับเคลื่อนงาน กองทุนและการพัฒนาระบบบริการ ประกอบด้วย การจัดบริการด้านสุขภาพของโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพต�ำบล ที่ดูแลครบทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยอาศัยความร่วมมือในการออกปฏิบัติงานในหมู่บ้าน จากกลุม่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมูบ่ า้ น (อสม.) ในการขับเคลือ่ นงานด้านสุขภาพ การจัดบริการ ด้านการศึกษาปฐมวัย มีการจัดท�ำแผนการจัดประสบการณ์ให้เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ โดยครู จะน�ำไปจัดประสบการณ์ทั้งในและนอกห้องเรียน เพื่อให้เกิดพัฒนาการสมวัย ครบทั้ง ๔ ด้าน คือ ร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา องค์การบริหารส่วนต�ำบลสันทราย เป็นหน่วยงานใน การสนับสนุนนโยบายและงบประมาณในการดูแลสุขภาพของแต่ละหมูบ่ า้ นให้เหมาะสมและสอดคล้อง กับความต้องการของประชาชน ๔) โอกาสหรือแนวทางการพัฒนา การสร้างความเข้าใจกับคนในชุมชน และหน่วยงานที่ เกีย่ วข้องเพือ่ ให้เกิดความเข้าใจไปในทิศทางเดียวกันเกีย่ วกับการด�ำเนินกิจกรรมการจัดการสิง่ แวดล้อม ทีเ่ อือ้ ต่อสุขภาพเด็กและการเรียนรูข้ องเด็ก เมือ่ คนในชุมคน หรือหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ได้รบั รูแ้ ละเข้าใจ ตั้งแต่ต้นแล้ว เมื่อมีการประสานขอความร่วมมือเพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ ก็จะเป็น ไปอย่างเรียบร้อย สามารถแก้ไขปัญหาและสนองความต้องการด้านเด็กปฐมวัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
415
๑๐. ความเชื่อมโยงต่อ ๗ คุณลักษณะการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่น ๑๐.๑ การสร้างการเรียนรู้ ต�ำบลสันทรายมีกลุม่ ทุนทางสังคมเข้ามามีสว่ นร่วมในการสร้างการเรียนรู้ ได้แก่ กลุม่ ผูส้ งู อายุ เข้ามาสอนการฟ้อนเล็บ การแปรรูปอาหาร กลุ่มจักสาน เข้ามาสอนเรื่องของเล่นจักสาน และวิทยากร ในชุมชนจากกลุม่ อืน่ ๆ ตามความถนัด เพือ่ ให้เด็กได้รแู้ ลเข้าใจในเรือ่ งเป็นแนวทางในการจัดท�ำแผนการ จัดท�ำประสบการณ์การเรียนรู้ และน�ำไปใช้กบั เด็กปฐมวัย ๑๐.๒ การสร้างกลไกการจัดการตัวเอง โรงเรียนบ้านแม่ปาคี โรงเรียนอนุบาลสันทราย พัฒนา ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กบ้านแม่ปาคี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสันปง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนอง ปิด เป็นองค์กรหลักที่ต้องขับเคลื่อนการจัดท�ำและพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยมีชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการเป็นคณะกรรมการต่างๆ ให้การสนับสนุนข้อมูล และมี องค์การบริหารส่วน ต�ำบลสันทราย อ�ำนวยการสนับสนุนงบประมาณในการจัดท�ำหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๑๐.๓ การสร้างคนให้จดั การตนเอง ครู พ่อ แม่ ผูป้ กครอง ผูด้ แู ลเด็ก รวมไปถึงบุคคล ใกล้ชิด ผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบอบรมเลี้ยงดูเด็ก มีความเข้าใจบทบาทหน้าที่ในการส่งเสริม สนับสนุน ให้ความรัก ความเอาใจใส่เด็ก โดยน�ำหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไปปรับใช้ให้เหมาะสม บนพื้นฐาน การอบรมเลีย้ งดูและการส่งเสริมกระบวนการเรียนรูท้ สี่ นองต่อธรรมชาติของเด็กแต่ละคนตามศักยภาพ ภายใต้บริบทสังคม วัฒนธรรมทีเ่ ด็กอาศัยอยู่ ด้วยความรัก ความเอือ้ อาทร และความเข้าใจของทุกคน เพื่อสร้างรากฐานคุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปส่งความเป็นมนุษย์ที่สมบรูณ์เกิดคุณค่าต่อตัวเองและ สังคม ๑๐.๔ การสร้างการมีส่วนร่วม หลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กจะต้องผ่านกระบวนการวิเคราะห์ สังเคราะห์ โดยการเก็บรวบรวม ข้อมูลปัญหาและความต้องการของผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาท้องถิ่นต�ำบลสันทราย ได้แก่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลสันทราย ชมรมก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้านต�ำบลสันทราย อาสาสมัครสาธารณสุข ประจ�ำหมูบ่ า้ น ศูนย์พฒ ั นาครอบครัว ชมรมผูป้ กครอง โรงเรียนและศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก คณะกรรมการ บริการสถานศึกษา คณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล บ้านขามสุ่มโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล บ้านหนองปิด มีส่วนร่วมในการเสนอปัญหาและ ความต้องการในการจัดท�ำหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่สนองตอบสนองต่อความต้องการในการ พัฒนาการศึกษาปฐมวัยของต�ำบลสันทราย
416
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๑๐.๕ การระดมทุนและทรัพยากร กองทุนสวัสดิการชุมชนต�ำบลสันทราย จัดสวัสดิการในการรับ ส่งผู้ป่วย การระดมเงิน และทรัพยากรเพื่อเป็นทุนในการพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กของต�ำบลสันทราย มีการจัดกิจกรรม ทอดผ้าป่าสามัคคีศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กในเดือนเมษายนของทุกปี เพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาของศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก ได้แก่ การจัดซื้อวัสดุในการจัดท�ำหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เป็นต้น ๑๐.๖ การมีข้อตกลง การมีขอ้ ตกลงในการมีหลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ กระทรวง มหาดไทย มีนโยบายให้พัฒนาการศึกษาปฐมวัยอย่างจริงจัง เพื่อให้การศึกษาปฐมวัยมีการพัฒนา ความพร้อม ให้ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก จึงก�ำหนดให้จัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย เพือ่ ให้พอ่ แม่ ผูป้ กครอง ครูผดู้ แู ลเด็กหรือทุนทุกระดับใช้เป็นแนวทางในการอบรมเลีย้ งดูเด็ก และจัดการ ศึกษาให้มปี ระสิทธิภาพ สร้างเสริมให้เด็กปฐมวัยให้เติบโต มีการพัฒนาทุกด้านอย่างสมดุล เหมาะสม กับวัยเป็นคนดี คนเก่งและมีความสุข เติบโตเป็นพลเมืองทีด่ ี มีคณ ุ ภาพ มีระเบียบ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง กับการจัดการศึกษาปฐมวัยโดยกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย เป็นข้อปฏิบัติที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้องปฏิบัติตาม ๑๐.๗ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กรภาครัฐและหน่วยงานอื่นๆ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กร หน่วยงานภาครัฐ และหน่วยงานอื่นๆ มีสมาคมครู ผู้ดูแลเด็กนครพิงค์ สาขาอ�ำเภอพร้าว เป็นองค์กรที่เข้ามาสนับสนุนงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้แก่ โครงการแข่งขันทักษะวิชาการปฐมวัย อ�ำเภอพร้าว และโครงการแข่งขันกีฬาปฐมวัยพร้าวสัมพันธ์เพือ่ ให้เกิดการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้ง ๑๐ แห่งในอ�ำเภอพร้าว
๑๑. การตอบสนองต่อตัวชี้วัด ในการจัดท�ำหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตอบสนองต่อ๖ ชุดกิจกรรมการพัฒนาระบบการ ดูแลเด็กปฐมวัย ในกลุ่มเด็ก ๐- ๓ ปีดังนี้ ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพ ตัวชี้วัดที่ ๑ มีการพัฒนาหลักสูตรปฐมวัยของศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก ใช้เป็นคูมือในการจัดการศึกษาปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อายุต่�ำกว่า ๓ ปี ชุดกิจกรรมที่ ๕ การพัฒนาและน�ำใช้ข้อมูลในการส่งเสริมแก้ไขหรือจัดการปัญหาเด็ก ๐-๓ ปี ตัวชีว้ ดั ที่ ๒๖ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กมีการจัดท�ำข้อมูลสถิติ ข้อมูลประวัตเิ ด็กไว้อย่างเป็นระบบและ สามารถน�ำมาใช้ในการส่งเสริม แก้ไข หรือจัดการปัญหาเด็ก ๐-๓ ปีได้
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
417
ในการจัดท�ำหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตอบสนองต่อ๖ ชุดกิจกรรมการพัฒนาระบบการ ดูแลเด็กปฐมวัย ในกลุ่มเด็ก ๓-๕ ปีดังนี้ ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพ ตัวชี้วัดที่ ๕) มีการพัฒนาหลักสูตรปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ใช้เป็นคู่มือในการจัดการศึกษา ปฐมวัยในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก อายุ ๓-๕ ปี ๖) มีการจัดท�ำสมุดบันทึกข้อมูลเด็กรายบุคคล ตามมาตรฐาน ตัวชี้วัดพัฒนาการเด็กปฐมวัย ๙) มีการจัดท�ำหลักสูตรที่ส่งเสริมการเรียนรู้ หลักสูตรการพัฒนาการเด็กปฐมวัยทั้ง ๔ ด้าน คือร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคมและสติปัญญา โดยใช้กจิ กรรม ๖ หลัก ที่ครอบคลุม ๔ สาระให้ สอดคล้องกับบริบทศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๑๒)มีการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ชุดกิจกรรมที่ ๓ การพัฒนาระบบบริการ ตัวชี้วัดที่ ๔๑)ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กมีกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องอาหารส�ำหรับเด็ก ชุดกิจกรรมที่ ๕ การพัฒนาและน�ำใช้ข้อมูลในการส่งเสริมแก้ไขหรือจัดการปัญหาเด็ก ๓-๕ ปี ตัวชี้วัดที่ ๔๘) ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กมีการจัดท�ำข้อมูลสถิติ ข้อมูลประวัตเิ ด็กไว้อย่างเป็นระบบและสามารถ น�ำมาใช้ในการส่งเสริม แก้ไข หรือจัดการปัญหาเด็ก ๓-๕ ปีได้ ๔๙) ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กมีการจัดท�ำข้อมูลสถิติ ข้อมูลประวัตเิ ด็กไว้อย่างเป็นระบบและสามารถ น�ำมาใช้ในการส่งเสริม แก้ไข หรือจัดการปัญหาเด็ก ๐-๓ ปีได้ ๕๐) มีการน�ำใช้ข้อมูลเด็กปฐมวัยในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย
418
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
419
ภาพที่ ๖๙ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้าน ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลสันทราย อ�ำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่
ภาพที่ ๗๐ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิน่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลสันทราย อ�ำเภอพร้าว จังหวัด เชียงใหม่
420
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ภาพที่ ๗๑ การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนต�ำบลสันทราย อ�ำเภอพร้าว จังหวัด เชียงใหม่
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
421
การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองกุงใหญ่ อ�ำเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น
๑. ที่มาหรือฐานคิดของการด�ำเนินกิจกรรม ในพื้นที่ต�ำบลหนองกุงใหญ่ มีทั้งหมด ๑๓ หมู่บ้าน มีประชากรทั้งหมด ๑๐,๑๑๖ คน แบ่งเป็นชาย ๕,๐๒๖ คน และหญิง ๕,๐๙๐ คน จ�ำนวนหลังคาเรือนทั้งหมด ๒,๓๒๗ ครัวเรือน ประชากร อายุ ๐-๓ ปี จ�ำนวน ๓๖๑ คน ประชากร อายุ ๓-๕ ปี จ�ำนวน ๒๙๓ คน ประชาชน ส่วนใหญ่มอี าชีพเกษตรกรรม รับจ้าง ขายล็อตเตอรี่ สภาพการอยู่อาศัยของเด็ก อายุ ๐-๕ ปี ต�ำบล หนองกุงใหญ่ อาศัยอยู่กบั พ่อแม่ จ�ำนวน ๒๙๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๔.๘๐ อาศัยกับปู่ย่าตายาย จ�ำนวน ๓๖๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๕.๒๐ เด็กเข้าเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่ ร้อยละ ๖๓.๔๘ เด็กเข้าเรียนศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กนอกพืน้ ที่ จ�ำนวน ๑๐๗ คน การด�ำเนินงานการจัดท�ำหลักสูตรปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กประชากรส่วน มีแนวความคิดในการบริหารจัดการ การพัฒนาระบบการดูแล เด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น โดยได้รับความร่วมมือจากอาสาสมัคร ผู้ปกครอง ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องใน การพัฒนาเด็กระหว่างช่วงอายุ ๐-๕ ปี เพื่อขับเคลื่อนการท�ำงานโดยภาคีเครือข่ายในพื้นที่ เช่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล(รพ.สต.) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ศพด.) จิตอาสาด้านภูมิปัญญา และ ภาคีเครือข่ายนอกพื้นที่ เช่น โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชอ� ำเภอกระนวน พัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ และพัฒนาชุมชนอ�ำเภอกระนวน ฐานคิดส�ำคัญของการขับเคลื่อนการพัฒนา ตลอดจนการก�ำหนดหลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองกุงใหญ่ ได้สนอง นโยบายจัดท�ำโดยการ น�ำเอาหลักสูตรการศึกษาเด็กปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๔๖ เป็นแกนกลางควบคู่ การจัดท�ำหลักสูตรท้องถิ่นโดยการจัดกิจกรรมต่างๆ ตามหลักสูตรเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กโดย ผ่านการเล่นและการท�ำกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก โดยมีความสอดคล้องกับหลักสูตร แกนกลางและสภาพบริบททางวัฒนธรรม วิถีชีวิตทางสังคม ชุมชนท้องที่ ให้มีประสิทธิภาพและมี มาตรฐานทัดเทียมกัน ซึง่ ข้อมูลทีไ่ ด้มาจากข้อมูลของทุนทางสังคมทีม่ งี านและกิจกรรมทีเ่ ด่นและกระทบ โดยตรงกับการจัดการศึกษาเด็กปฐมวัยพร้อมทัง้ ข้อมูลด้านวัฒนธรรมประเพณีและแหล่งเรียนรู้ ทีม่ ใี น
422
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ท้องถิ่น มาด�ำเนินการจัดท�ำสาระของหลักสูตรโดยเน้นการเพิ่มศักยภาพของทุนทางสังคมภายใต้ หลักการมีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษาเด็กปฐมวัย และน�ำข้อมูลทีไ่ ด้มารวบรวมและวิเคราะห์โดยผ่าน คณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กร่วมพิจารณาหลักสูตรเพื่อน�ำมาจัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษาและ หลักสูตรท้องถิ่นศูนย์ เพื่อใช้ในการส่งเสริมและพัฒนาเด็กปฐมวัย ขององค์การบริหารส่วนต�ำบล หนองกุงใหญ่
๒. งานและกิจกรรม ๒.๑ ภาพรวมระบบการดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบล ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลหนองกุงใหญ่ท�ำงานเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต ต�ำบลหนองกุงใหญ่ และรพ.สต.บ้านหนองโอง เพื่อการดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัยในชุมชนและในศพด. โดยมีสมุดบันทึก สุขภาพเด็กหลังคลอดเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานสุขภาพของเด็ก และจะมีการประเมินพัฒนาการเด็กทั้ง ๓ ด้าน ได้แก่ ร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา พร้อมกับเชิญเจ้าหน้าที่สาธารณสุขมาร่วมให้ ความรู้แก่ผู้ปกครอง และข้อมูลของเด็กจะถูกส่งต่อไปยัง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ท�ำให้เด็กได้รับการดูแล อย่างต่อเนื่อง ครูที่รับช่วงดูแลต่อจะได้รับทราบพัฒนาการของเด็กว่าเป็นอย่างไรเพื่อให้การดูแลเป็น รายกรณี การเชื่อมต่อการท�ำงาน ได้จัดท�ำเป็น “ภาคีเครือข่ายสุขภาพ” โดยมีคณะกรรมการที่มาจาก นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนต�ำบล ผู้ใหญ่บ้าน ก�ำนัน ผู้น�ำ ภูมิปัญญาพื้นบ้าน เจ้าหน้าที่ รพ.สต. และศูนย์พัฒนาเด็ก ซึ่ง รพ.สต.จะดูแลเรื่องการตรวจคัดกรอง สุขภาพ ดูการเจริญเติบโต พัฒนาการ และการได้รับภูมิคุ้มกัน มีการเยี่ยมบ้านร่วมกันระหว่างครูและ เจ้าหน้าทีร่ พ.สต.ในกรณีทพี่ บว่าเด็กมีปญ ั หา เช่น สมาธิสนั้ เด็กขาดสารอาหาร เด็กฟันผุจะได้วางแผน หาแนวทางการดูแลพร้อมกัน มีกจิ กรรมส่งเสริมผู้ปกครองเกีย่ วกับการเฝ้าระวังโรคติดต่อ ส่งเสริมการ ดูแลสุขภาพในช่องปากและฟัน กิจกรรมส่งเสริมการออกก�ำลังกายในเด็กปฐมวัย ทุกวัน ๒.๒ ประเด็นเด่นของระบบการดูแลเด็กปฐมวัย องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองกุงใหญ่มรี ะบบการด�ำเนินงานในการดูแลเด็กปฐมวัยทีโ่ ดดเด่น คือ การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยมีกระบวนการพัฒนาศักยภาพครูผู้ดูแลเด็ก มีการ ฝึกอบรม การจัดท�ำสื่อนวัตกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กการฝึกอบรมการ พัฒนาศักยภาพตามหลักสูตรการอบรมเลีย้ งดูเด็กปฐมวัยโดยไม่ใช่ความรุนแรง การฝึกอบรมเพือ่ พัฒนา ศักยภาพการปฏิบัติงานครูผู้ดูแลเด็กและผู้ดูแลเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองเข้าร่วม ประชุมวิชาการอนามัยแม่และเด็กระดับต�ำบลมีการฝึกอบรมหรือส่งเสริมให้ผ้ทู มี่ หี น้าทีร่ บั ผิดชอบดูแล
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
423
เด็กเฉพาะกลุ่ม ๓-๕ ปี ในชุมชน มีการจัดการขอความร่วมมือองค์กร หน่วยงานภาครัฐและหน่วยงาน ต่างในพื้นที่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลร่วมกับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลหนองกุงใหญ่มีความร่วมมือ กับรพ.สต.ต�ำบลหนองกุงใหญ่ รพ.สต.บ้านหนองโอง มีการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย กิจกรรม ส่งเสริมผู้ปกครองเกี่ยวกับโรคติดต่อ กิจกรรมส่งเสริมการดูแลสุขภาพในช่องปากและทันตกรรม กิจกรรมส่งเสริมการออกก�ำลังกายในเด็กปฐมวัย เช่นกิจกรรมเต้นเข้าจังหวะ
๓. ทุนทางสังคม ๓.๑. ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการหลัก ๑) องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองกุงใหญ่จัดท�ำหลักสูตรท้องถิ่น ที่เอื้อต่อการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยและจัดให้มีพื้นที่สร้างสรรค์ส�ำหรับเด็กปฐมวัย ๒) ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ด�ำเนินการจัดท�ำหลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ในการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการเด็กในเรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง เกี่ยวกับบุคคลและสถานที่สำ� คัญ เกี่ยวกับธรรมชาติ เกี่ยวกับสิ่งต่างต่างๆ รอบตัว เรื่องราววันส�ำคัญต่างๆ ให้สอดคล้องกับคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ ๓) ชมรมผูส้ งู อายุ เข้ามาช่วยในการเรียนการสอน เช่น การเล่านิทาน การท�ำอาหาร ท�ำขนม การท�ำของเล่นที่มาจากภูมปิ ัญญา ๔) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลหนองกุงใหญ่ รวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพ ตรวจ รักษาพยาบาล คัดกรองเด็ก แนะน�ำให้ค�ำปรึกษาแก่ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กในการดูแล ป้องกัน และ ควบคุมโรค ตลอดจนการจัดสิ่งแวดล้อมที่มีความปลอดภัยส�ำหรับเด็กปฐมวัย ๕) กลุ่ม อสม. เก็บรวบรวมข้อมูล พัฒนาการเด็ก การเจริญเติบโตการดูแลสุขภาพของเด็ก ให้ความรู้และรณรงค์การป้องกันโรคระบาด ติดตาม ประเมิน ตรวจคัดกรองเด็ก แนะน�ำให้ค�ำปรึกษา เกี่ยวกับการดูแลเด็กให้แก่ผู้ปกครอง ๖) ผู้น�ำ แกนน�ำ จัดให้มีการช่วยเหลือเด็กปฐมวัย ระดมทุนโดยการจัดผ้าป่าการศึกษา ๗) ครูผู้ดูแลเด็ก จัดแผนการการเรียนรู้ จัดประสบการณ์การเรียนรู้สำ� หรับเด็กปฐมวัย ตาม หลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ทีส่ อดคล้องกับหลักสูตรท้องถิน่ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๕๖ มีการก�ำหนดแนวทาง ติดตาม ประเมินเด็กและกิจกรรมการเรียนรู้ ๘) ปราชญ์ชาวบ้าน ให้ความรูเ้ กีย่ วกับภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย เช่น กิจกรรมถ่ายทอดภูมปิ ัญญาผู้สูงอายุ
424
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๙) สภาวัฒนธรรมต�ำบลหนองกุงใหญ่ รวบรวมข้อมูลทางวัฒนธรรมท้องถิน่ โบราณสถาน แหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม จัดกิจกรรมในการส่งเสริมด้านคุณธรรมจริยธรรม ส่งเสริมและอนุรักษ์ ประเพณีท้องถิ่น เช่น ประเพณีบุญบั้งไฟ ๑๐) คณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีหน้าที่และบทบาทส�ำคัญ ได้แก่ (๑) ก�ำหนดแนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการด�ำเนินงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในด้านต่างๆ ให้ได้ คุณภาพและมาตรฐานการด�ำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตามนโยบายและแผนพัฒนาขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ (๒) เสนอแนะให้ขอ้ คิดเห็นเกีย่ วกับการด�ำเนินงาน การพัฒนาคุณภาพศูนย์พฒ ั นา เด็กเล็กแก่ผบู้ ริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ (๓) พิจารณาเสนอผูบ้ ริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เกี่ยวกับการบริหารบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (๔) พิจารณาเสนอแผนงานหรือโครงการและ งบประมาณในการส่งเสริมและพัฒนาศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กตามหลักวิชาการและแผนพัฒนาเด็กปฐมวัย ๓.๒ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการรอง กลุ่มทางสังคม องค์กรชุมชน และแหล่งประโยชน์ที่เป็นแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ตามหลักสูตรท้อง ถิ่น เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านอาชีพ การออม การช่วยเหลือกัน ได้แก่ ๑) กลุ่มแปรรูปผลไม้ เป็นแหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสมกับเด็ก ในเรื่องราวสิ่งรอบตัว เช่น การ สร้างให้เด็กรู้จักการแปรรูปผลไม้ ๒) กลุม่ เลีย้ งโคขุน เป็นเหล่งเรียนรูเ้ กีย่ วกับการด�ำเนินชีวติ ในการเลีย้ งสัตว์ เพือ่ ส่งเสริมอาชีพ ให้รู้จักการอนุรักษ์สัตว์ ๓) กลุ่มออมทรัพย์ต�ำบลหนองกุงใหญ่ เรียนรู้เรื่องการออมเงิน ๔) กองทุนสวัสดิการชุมชนต�ำบลหนองกุงใหญ่ เรียนรู้เรื่องการออมเงิน การช่วยเหลือ พึ่งพากัน การจัดสวัสดิการต่างๆ ๕) กองทุนหมู่บ้านสนับสนุนทุนการศึกษาให้กับเด็กปฐมวัย ๖) อปพร. ฝึก ทบทวน ให้ความรู้แก่ผู้ดูแลเด็กและเด็กปฐมวัยในการป้องกันอัคคีภัยและ การช่วยเหลือเด็กจมน�้ำ รวมทั้งอ�ำนวยความสะดวกด้านจราจร
๔. วัตถุประสงค์ ๑) เพื่อเป็นแนวทางหลักในการพัฒนาและการจัดการศึกษาเด็กปฐมวัย ในชุมชน ๒) เพือ่ สร้างพัฒนาการของเด็กปฐมวัยให้มขี ดี ความสามารถในการเรียนรูแ้ ละการพัฒนาระบบ การดูแลเด็กปฐมวัยโดยมีส่วนร่วมอของคนชุมชนท้องถิ่น
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
425
๓) เพือ่ ให้ศนู ย์พฒ ั นาเด็กเล็กมีกรอบแนวคิดและวิธกี ารในการด�ำเนินการพัฒนาและการจัดการ เรียนรู้ให้กบั เด็กปฐมวัย ๔) เพือ่ กระตุน้ ให้ชมุ ชนมีสว่ นร่วมในการจัด และพัฒนาความพร้อมของเด็กก่อนเข้าเรียนและ พัฒนาเด็กๆ ได้อย่างถูกวิธี ๕) เพื่อพัฒนาเพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างครู และทุนทางสังคมในการจัดการเรียนรู้ และการดูแลเด็กปฐมวัยในชุมชนท้องถิ่นตนเอง
๕. วิธีการท�ำงาน มีแนวทางการท�ำงานโดยผู้บริหารท้องถิ่นร่วมกับผู้น�ำชุมชน ผู้น�ำท้องที่ ผู้บริหารศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก ร่วมประชุมวางแผนก�ำหนด จากการประชาคมหมู่บ้านเพื่อจัดท�ำแผนสนับสนุนกิจกรรม สนับสนุนเด็กปฐมวัย ดังนี้ กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ กิจกรรมกีฬาสีสัมพันธ์ และการสร้างเครือข่ายกับ หน่วยงานองค์กร เช่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลหนองกุงใหญ่ และโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพบ้านหนองโอง สนับสนุนอ�ำนวยการในการรวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพและการส่งเสริม และพัฒนาเกี่ยวกับพัฒนาการและการดูแลสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพของเด็ก ศูนย์พัฒนา เด็กเล็กในท�ำหน้าที่ในการจัดท�ำหลักสูตรเพื่อการพัฒนาและการออกแบบการจัดการเรียนรู้ของ เด็กปฐมวัย รวมทั้งส่งเสริมและดูแลด้านสุขภาพและการส่งเสริมและพัฒนาเกี่ยวกับพัฒนาการและ การดูแลสุขภาพของเด็กและขอความร่วมมือหน่วยสนับสนุนจากทุนทางสังคม กลุ่มผู้สูงอายุทำ� หน้าที่ ในการอบรมเลี้ยงดูเด็กและมีการจัดกิจกรรมการถ่ายทอดการเรียนให้กับเด็กปฐมวัย กลุ่ม อสม.ท�ำ หน้าที่ในการการส่งเสริมและพัฒนาเกี่ยวกับพัฒนาการและการดูแล สุขภาพของเด็ก คณะกรรมการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ดูแลและบริหารจัดการรวมทั้งร่วมจัดการและสนับสนุนการออกแบบกิจกรรมเพื่อ การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ผู้น�ำท้องถิ่น ดูแลและบริหารจัดการรวมทั้งร่วมจัดการและสนับสนุนการ ออกแบบกิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ผู้นำ� ท้องที่ ดูแลและบริหารจัดการรวมทั้งร่วมจัดการ และสนับสนุนการออกแบบกิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
๖. การเชื่อมโยงหรือส่งผลที่เอื้อต่อการท�ำงานกับกลุ่มงานและกิจกรรมอื่นๆ ต�ำบลหนองกุงใหญ่ ได้มีการจัดท�ำและพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กโดยได้รับ ความร่วมมือจากครูผ้ดู แู ลเด็กเก็บรวบรวมข้อมูลทุนทางสังคม เพือ่ น�ำมาวิเคราะห์งานและกิจกรรมทีม่ ี ผลกระทบโดยตรงหรือโดยอ้อมและน�ำข้อมูลที่ได้มารวบรวมเพื่อจัดการเทียบเคียงประเด็นการพัฒนา
426
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
เด็กซึ่งได้รับมีข้อมูลด้านสุขภาพจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลหนองกุงใหญ่ และ กลุ่มอสม. ในการส่งเสริมและพัฒนาการและการดูแลสุขภาพของเด็กในด้านการเจริญเติบโตการวัดและการ ประเมินผล และส่งเสริมการพัฒนาการของเด็ก การตรวจคัดกรอง และการรณรงค์ปอ้ งกัน การส่งเสริม ทักษะและจัดประสบการณ์เรียนรู้แก่เด็กปฐมวัยที่อายุตั้งแต่ ๓-๕ ปี โดยผ่านกิจกรรมการเล่นให้ได้รับ การพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา นอกจากนั้นองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลหนองกุงใหญ่ โดยคณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและคณะกรรมการการศึกษา ซึ่งประกอบด้วย ผู้น�ำท้องถิ่น ผู้น�ำท้องที่ ครูผู้ดูแลเด็ก ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้สูงอายุ มาร่วมเป็น คณะกรรมการในการด�ำเนินการจัดท�ำหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและหลักสูตรท้องถิ่น ซึ่งหลักสูตร ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีการเชื่อมโยงกับทุนทางสังคม แหล่งเรียนรู้ที่มีในพื้นที่ วัฒนธรรมท้องถิ่น
๗. ผลผลิตและผลลัพธ์ ๗.๑ ผลต่อประชากรเป้าหมาย มีหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ๓–๕ ปี ที่เหมาะสมกับ เด็กปฐมวัย และมีการเชื่อมโยงหลักสูตรกับหลักสูตรท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมประเพณี ท้องถิ่นเพื่อให้เด็กปฐมวัยได้มีประสบการณ์การเรียนรู้ที่นอกเหนือจากในห้องเรียน และมีการก�ำหนด กิจกรรม ที่ทุนทางสังคมได้มีส่วนร่วมของชุมชนเข้ามาร่วมในการพัฒนาหลักสูตรกับทางศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก ๗.๒ ผลต่อคุณภาพชีวิตของกลุ่มประชากร ๕ มิติ ๑) ด้านสังคม มีผ้นู ำ� ท้องที่ แกนน�ำ ผู้น�ำท้องถิน่ ร่วมเป็นคณะกรรมการบริหารหลักสูตรศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก ๒) ด้านเศรษฐกิจ มีการส่งเสริมอาชีพให้กับผู้ปกครอง ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ ได้แก่ การ แปรรูปผลไม้ เช่น มะม่วงดอก กล้วยอบสมุนไพร โดยชมรมผู้สงู อายุ และการท�ำปลูกฝังให้เด็กปฐมวัย เรียนรู้จากประสบการณ์ ในแหล่งเรียนรู้ที่มีในพื้นที่ในการส่งเสริมการออม สอนให้รู้จักการท�ำม้าก้าน กล้วย สอนการท�ำตระกร้อด้วยก้านมะพร้าว การประกอบอาชีพในชุมชนเพื่อให้เห็นแหล่งที่มาของ รายได้ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม ท�ำให้มีการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ของเด็กปฐมวัยและเป็นพื้นที่สร้างสรรค์ส�ำหรับเด็กปฐมวัย เช่น สนามกีฬา สนามเด็กเล่น พัฒนาการ จากของเล่น
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
427
๓) ด้านสุขภาพ จัดให้มีระบบการดูแลเด็กปฐมวัยด้านสุขภาพ การดูแลสุขภาพ การรักษา ความสะอาดให้กบั ตนเอง เช่น สอนให้รู้จักล้างมือก่อนทานอาหาร ๔) ด้านการเมือง การปกครอง มีผู้น�ำท้องที่ ผู้นำ� ท้องถิ่น แกนน�ำ ร่วมเป็นคณะกรรมการ การศึกษาองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองกุงใหญ่ คณะกรรมการบริหารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก เพือ่ จัดท�ำ และพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีความสอดคล้องกับบริบทท้องถิ่น วัฒนธรรมประเพณี ท้องถิ่น หลักสูตรท้องถิ่นและหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.๒๕๔๖
๘. กลไก เครื่องมือในการด�ำเนินงาน การด�ำเนินงานการพัฒนาหลักสูตรศูนย์พฒ ั นาเด็กล็ก องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองกุงใหญ่ ร่วมกับศพด. มีการวางแผน การก�ำหนดขัน้ ตอน โดยอาศัยเครือ่ งมือแนวปฏิบตั กิ ารการพัฒนาหลักสูตร ศพด. และการน�ำหลักสูตรมาใช้รว่ มกับระบบชุมชน โดยมี คณะท�ำงานร่วมก�ำหนดกิจกรรมการจัดการ เรียนรูแ้ ละกิจกรรมการาพัฒนาการแก่เด็ก ประสานงานขอความร่วมมือกับทุนทางสังคมเพือ่ เตรียมการ ด�ำเนินงานกิจกรรม มีการติดตามและประเมินผลกิจกรรมทีด่ �ำเนินการและของบประมาณสนับสนุนใน การด�ำเนินหลักสูตรวิชาการและกิจกรรมและมีแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีการ จัดท�ำหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ด้วยการร่วมมือกับทุนทางสังคมในพื้นที่และคณะกรรมการ สภาวัฒนธรรมต�ำบลหนองกุงใหญ่เพือ่ ส่งเสริมการเรียนรูท้ างศิลปะ ศาสนา วัฒนธรรมและภูมปิ ญ ั ญา ท้องถิ่นส�ำหรับเด็กปฐมวัย
๙. ปัจจัยเงื่อนไข ๙.๑) การมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการขับเคลื่อนการพัฒนาหลักสูตรศูนยืพัมนาเด็กเล็ก ของต�ำบลหนองกุงใหญ่ ๙.๒) มีระบบข้อมูลของต�ำบลในการน�ำมาใช้เพื่อการพัฒนาหลักสูตรของต�ำบล ๙.๓) มีหน่วยงานสนับสนุนการจัดท�ำกิจกรรม เช่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองกุงใหญ่ รพสต. กองทุนหลักประกันสุขภาพ (สปสช.) ๙.๔) มีการจัดท�ำงบประมาณในการจัดท�ำกิจกรรมข้อบัญญัตติ ำ� บล เพือ่ มาสนับสนุนการพัฒ นาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยของต�ำบล
428
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๑๐. ความเชื่อมโยงต่อ ๗ คุณลักษณะการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่น ๑๐.๑ การสร้างการเรียนรู้ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองกุงใหญ่ มีการก�ำหนดเป้าหมายเพือ่ การดูเด็กปฐมวัย เสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย การส่งเสริมศักยภาพการดูแลเด็กปฐมวัยของแม่และ ครอบครัว การส่งเสริมศักยภาพอาสาสมัครในชุมชน และมีการสร้างกิจกรรมประจ�ำวัน กิจกรรมที่ใช้ กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็ก กิจกรรมที่เป็นรายบุคคล กลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ ทั้งกิจกรรม ออกก�ำลังกายสลับกิจกรรมที่ไม่ต้องออกก�ำลังกายมาก จะช่วยให้เด็กสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเอง ๑๐. ๒ การสร้างกลไกการจัดการตนเอง มีการสร้างกลไกในการบริหารจัดการในการดูแลเด็กปฐมวัยในทุกระดับ ตัง้ แต่ระดับครอบครัว เพื่อให้ง่ายต่อการบริหารจัดการ และการแก้ปัญหาในครอบครัว มีผู้นำ� ผู้ใหญ่บ้าน ก�ำนัน เพื่อเจรจา ไกล่เกลี่ยปัญหาในระดับครอบครัว มีแกนน�ำและคณะกรรมการบริหารกลุ่มและองค์กรชุมชนต่างๆ เช่น กลุ่มอสม. เพื่อถ่ายทอดความรู้และทักษะในการดูแลเด็กปฐมวัย มีกลุ่มอปพร. ท�ำหน้าที่ ในการเชือ่ มประสานการท�ำงานในการดูแลเด็กปฐมวัยในช่วงปกติ มีการประสานความช่วยเหลือทัง้ ใน และนอกต�ำบล ในการให้ความช่วยเหลือเด็กปฐมวัยและครอบครัว นอกจากนีค้ รอบครัวของเด็กปฐมวัย ยังมีส่วนร่วมกับการบริหารและจัดการตนเองของต�ำบลโดยการเข้าร่วม เวทีประชาคมหมู่บ้าน การ ประชุมของกลุ่มและองค์กรที่เป็นสมาชิก ๑๐.๓ การสร้างคนให้จัดการตนเอง เกิดกระบวนการที่ผลักดันและขับเคลื่อนให้ต้องแก้ปัญหาด้วยชุมชนเอง มากกว่าการรอรับ ความช่วยเหลือจากผู้อื่น มีตัวแทนจากชุมชนผู้น�ำท้องที่กลุ่มองค์กรร่วมกันพัฒนาหลักสูตรปฐมวัย ร่วมกันพัฒนาและบริหารจัดการให้มีความส�ำเร็จต่อไปการสร้างการมีส่วนร่วม ๑๐.๔ การสร้างการมีส่วนร่วม องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองกุงใหญ่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และ ชุมชนทั้งจากบุคคลและ กลุ่มองค์กร เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรศพด. ท�ำให้เกิดเป็นการท�ำงานร่วมกัน เกิดเป็น เครือข่ายในการท�ำงานในพื้นที่ ๑๐.๕ การระดมทุนและทรัพยากร ถือเป็นจุดเด่นของต�ำบลหนองกุงใหญ่ จากการทีท่ กุ หมูบ่ า้ นมีการสร้างองค์กรการเงิน กองทุน ต่างๆ ของชุมชน ให้เป็นแหล่งประโยชน์ เพื่อเป็นกลไกการสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในการ
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
429
พึง่ ตนเองของชุมชนให้สามารถด�ำเนินการได้อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้สามารถด�ำเนินงานตามหลักสูตรเด็ก ปฐมวัย ๑๐.๖ การมีข้อตกลง ต�ำบลหนองกุงใหญ่ ได้รับความร่วมมือในการจัดท�ำข้อตกลงทั้งระดับบุคคลและครอบครัว ระดับกลุ่มและองค์กรชุมชน ระดับหน่วยงาน ระดับหมู่บ้าน ระดับต�ำบล และระดับเครือข่าย เช่น มีข้อตกลงร่วมกัน ในการก� ำหนดหลักสูตรปฐมวัย เครื่องมือ ตัวชีวัด และติดตามประเมินผล ซึ่งกระบวนการจัดท�ำข้อตกลงและกติกา ถือเป็นกระบวนการเรียนรู้และจัดการความรู้โดยเฉพาะการ จัดการกับเงื่อนไขของการท�ำงานและจัดกิจกรรมทั้งหลายของชุมชน คุณลักษณะนี้พบที่เข้มแข็ง ของหมู่บ้านในต�ำบลหนองกุงใหญ่ ๑๐.๗ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กรภาครัฐและหน่วยงานอื่นๆ ต�ำบลหนองกุงใหญ่มีการจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กรและหน่วยงานดังกล่าวตามงาน และกิจกรรมในพื้นที่ ในการ สนับสนุนงบประมาณพัฒนา เช่น การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส ด้วยการช่วยเหลือถุงยังชีพ การรับเบี้ยยังชีพ การซ่อมแซมที่อยู่อาศัย การอบรม ให้ความรู้ในการรณรงค์ป้องกันยาเสพติดในสถานศึกษา การอบรมให้ความรู้โครงการการป้องกันการ ตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น เป็นต้น โดยองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองกุงใหญ่ร่วมกับผู้น�ำในชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต. พัฒนาชุมชน กศน.ต�ำบลหนองกุงใหญ่ ร่วมบูรณาการในการด�ำเนิน กิจกรรมร่วมกันในส่วนเกี่ยวข้อง
๑๑.การตอบสนองต่อตัวชี้วัด การอบสนองต่อ งานและกิจกรรมตัวชี้วัด ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพ ฝึกอบรมผู้ปกครองหรือผู้ดูแลในครอบครัวเด็ก ๐-๓ ปี ตัวชีวดั ที่ ๑ ฝึกอบรมผูป้ กครองหรือผูด้ แู ลในครอบครัวเด็ก ๐-๓ ปี ให้เข้าใจ ความจ�ำเป็นของการสร้าง เสริมภูมิคุมกันโรค การส่งเสริมการเรียนรู้พัฒนาการทางปัญญาและอารมณ์ เช่นส่งเสริมการเล่น เป็นต้น และให้การดูแลช่วยเหลือเมื่อพบความผิดปกติ เช่น พฤติกรรมและการเรียนรู้ผิดปกติ มีความ พิการทางสติปัญญา พิการด้านร่างกาย เพื่อให้การดูแลอย่างถูกต้อง เช่น การดูแลเรื่องอาหาร การ กระตุ้นพัฒนาการกล้ามเนื้อต่างๆ การประสานหน่วยงานทีจัดบริการเฉพาะด้าน เช่น ด้านสวัสดิการ การดูแลส่งเสริมการเรียนรู้ออทิสติก โรงเรียนสอนคนตาบอด เป็นต้น ฝึกอาสาสมัครในชุมชน เช่น อาสาสมัครสาธารณสุข อาสานมแม่กลุ่มเด็ก ๐-๓ ปี เป็นต้น เพื่อให้มีความรู้เข้าใจเรื่องการประเมิน และส่งเสริมพัฒนาการ การเจริญเติบโต การรับภูมิคุ้มกัน ให้การดูแลช่วยเหลือตามสภาพทั้งในภาวะ 430
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ปกติ เช่น การจัดกิจกรรมหรือกระตุ้นผู้ปกครอง ส่งเสริมพัฒนาการเด็กในครอบครัว และชุมชน กลุ่ม ที่มีความผิดปกติ พิการ เช่น การประเมินให้ความช่วยเหลือ การสนับสนุนให้ครอบครัวให้การดูแลได้ ตัวชีวัดที่ ๑ ฝึกอบรมผู้ปกครองหรือผู้ดูแลในครอบครัวเด็ก ๐-๓ ปี ชุดกิจกรรมที่ ๒ การพัฒนาสภาพแวดล้อม ตัวชีวัดที่ ๙ ปรับโครงสร้างอาคารสถานที่ และ สิ่งแวดล้อมในสถานที่ให้บริการส�ำหรับเด็ก ๐-๓ ปี เช่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สถานดูแลเด็กกลางวัน ให้เอื้อต่อการดูแลเด็ก ๐-๓ ปี เช่น ของเล่นเด็กที่มีมาตรฐาน ปลอดภัย ปลัก๊ ไฟ อุปกรณ์ทไี่ ม่ก่อให้เกิด อันตราย อุปกรณ์หรือวัสดุที่ไม่ใส่สีที่เป็นอันตราย อุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดอันตราย อุปกรณ์หรือวัสดุ ที่ไม่ใส่สีท่เี ป็นอันตราย เลื่อน หลุดง่าย เป็นต้น ตัวชีวดั ชุดกิจกรรมที่ ๓ การพัฒนาระบบบริการ ตัวชีวดั ที่ ๑๖ จัดบริการรับ – ส่ง ๒๔ ชั่วโมง เพื่อ การรักษาช่วยเหลือและกรณีอบุ ตั เิ หตุฉกุ เฉิน เช่น ชัก ถูกกระท�ำรุนแรงโดยครอบครัว ชุมชน หน่วยงาน ทีใ่ ห้บริการแก่เด็ก ๐-๓ ปี เช่น รพ.สต.อปท. จัดพืน้ ทีเ่ ฉพาะไว้รองรับเด็ก ๐-๓ ปี เช่น การจัดทีน่ งั่ เฉพาะ ห้องตรวจ จุดมุมให้นมแม่ เป็นต้น ที่เป็นช่องทางพิเศษเพื่อลดระยะเวลาบริการ เป็นต้น ชุดกิจกรรมที่ ๔ การจัดตั้งกองทุนหรือสวัสดิการช่วยเหลือ ตัวชี้วัดที่ ๒๒ จัดตั้งกองทุน และสวัสดิการส�ำหรับเด็ก ๐-๓ ปี ด้านการดูแลสุขภาพการเพิ่มรายได้ให้ผู้ปกครอง ผู้ดูแลกลุ่มเด็กที่ เจ็บป่วย พิการ เช่น กองทุนสวัสดิการชุมชน สถาบันการเงินของชุมชนกองทุนสัจจะออมทรัพย์ กลุม่ สหกรณ์ออมทรัพย์ กองทุนเพือ่ ช่วยเหลือผูท้ ตี่ อ้ งการความช่วยเหลือตามความจ�ำเป็นกองทุนส�ำรอง เลี้ยงชีพ เป็นต้น ชุดกิจกรรมที่ ๕ การพัฒนาและการน�ำใช้ข้อมูลในการส่งเสริมแก้ไข/จัดการปัญหาเด็ก กลุ่มเด็ก ๐-๓ ปี ตัวชี้วัดที่ ๔๗ คือ มีการจัดท�ำระบบข้อมูลโดยคนในชุมชนและมีส่วนร่วมจากของ ๖ กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ อปท. ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ศูนย์พฒ ั นาครอบครัว รพ.สต. อาสาสมัครและ ทุนทางสังคมต่างๆ ในชุมชนทุกฝ่ายตั้งแต่ขั้นตอนการเก็บการตรวจสอบความถูกต้องการวิเคราะ ห์เพื่อใช้จัดการดูแลและประเมินผลการดูแลมีข้อมูลเด็ก ๐-๓ปีที่ครบถ้วน ครอบคลุม มีข้อมูลด้าน ครอบครัว เพื่อน�ำมาวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาครอบครัวที่เกิดขึ้นในชุมชนรวมทั้งผลกระทบต่อการ ด�ำเนินชีวิตของคนในชุมชนพร้อมทั้งหาแนวทาง วิธีการแก้ไขและ แนวทางในการป้องกันปัญหาที่จะ เกิดขึ้น ชุดกิจกรรมที่ ๖ การพัฒนากฎ กติกา ระเบียบแนวทางปฏิบัติเพื่อหนุนเสริมการด�ำเนิน กิจกรรมเสริมความเข้มแข็งชุมชนท้องถิ่น กลุ่มเด็ก ๐-๓ ปี ตัวชี้วัดที่ ๒๙ คือ มีการจัดท�ำระบบข้อมูล โดยคนในชุมชนและมีส่วนร่วมจากของ ๖ กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ อปท. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาครอบครัว รพ.สต. อาสาสมัครและทุนทางสังคมต่างๆ ในชุมชนทุกฝ่ายตั้งแต่ขั้นตอน การเก็บการตรวจสอบความถูกต้องการวิเคราะห์เพื่อใช้จัดการดูแลและประเมินผลการดูแลมีข้อมูล เด็ก ๓-๕ ปีที่ครบถ้วน ครอบคลุมเพื่อใช้จัดบริการดูแล
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
431
432
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ภาพที่ ๗๒ ทุนทางสังคมและศักยภาพรายหมู่บ้าน ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองกุงใหญ่ อ�ำเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น
ภาพที่ ๗๓ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองกุงใหญ่ อ�ำเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
433
ภาพที่ ๗๔ การพัฒนาหลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองกุงใหญ่ อ�ำเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น
434
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
435
รับเด็ก ประเมิน ดนตรี ร่างกาย กิจกรรมกลุ่ม
รับเด็ก ประเมิน กิจกรรม ร่างกาย เคลือ่ นไหว และดนตรี
รับเด็ก ประเมิน เล่านิทาน ร่างกาย กิจกรรมกลุ่ม
รับเด็ก ประเมิน เล่นของเล่น ร่างกาย หยิบจับ
อังคาร
พุธ
พฤหัสบดี
ศุกร์
๐๘.๓๐-๙.๓๐
รับเด็ก ประเมิน กิจกรรม ร่างกาย เคลือ่ นไหว และดนตรี
๗.๓๐-๘.๓๐
จันทร์
กิจกรรม เวลา
ตัวอย่าง การจัดกิจกรรมตามหลักสูตรรายวัน
นอนพักผ่อน ให้นม อาหาร
เล่านิทาน กิจกรรมกลุ่ม
ฝึกนั่ง คลาน ยืน เดิน
เล่านิทาน
ให้นม อาหาร นอนพักผ่อน ให้นม /ดูแล ทั่วไป นอนพักผ่อน
ดูแลสุขวิทยา
ฝึกนั่ง คลาน ยืน เดิน
ให้นม อาหาร นอนพักผ่อน ดูแลสุขวิทยา
ดูแลสุขวิทยา
ดูแลสุขวิทยา
ดูแลสุขวิทยา
ดูแลสุขวิทยา
เล่านิทาน
ให้นม อาหาร นอนพักผ่อน ดูแลสุขวิทยา
๑๒.๐๐-๑๓.๐๐
๑๑.๐๐-๑๒.๐๐
๙.๓๐-๑๑.๐๐
ให้นม อาหาร นอนพักผ่อน
ให้นม อาหาร นอนพักผ่อน
ฝึกนั่ง คลาน ยืน เดิน
ให้นม อาหาร นอนพักผ่อน
ดนตรีเพลงผ่อน ให้นม อาหาร คลาย นอนพักผ่อน
เล่นเกม เข้ากลุ่ม ให้นม อาหาร นอนพักผ่อน
เล่านิทาน
เล่นของเล่น กิจกรรมกลุ่ม
เล่นของเล่น เตรียมส่งเด็ก กลับบ้าน
เล่นของเล่น เตรียมส่งเด็ก กลับบ้าน
เล่นของเล่น เตรียมส่งเด็ก กลับบ้าน
เล่นของเล่น เตรียมส่งเด็ก กลับบ้าน
เล่นของเล่น เตรียมส่งเด็ก กลับบ้าน
๑๓.๐๐-๑๔.๐๐ ๑๔.๐๐-๑๕.๓๐ ๑๕.๓๐-๑๗.๐๐
436
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
สัปดาห์ที่ ๓
ส่งเสริมการพัฒนาทักษะทางด้านจิตใจ และอารมณ์ เช่น ดั่งดอกไม้บาน มารู้จกั อารมณ์กัน เถอะเรา วันนี้อารมณ์ของหนูเป็นอย่างไร เต้น ๆ….ร้อง ๆ แดนเซอร์ ตัวน้อย
สัปดาห์ที่ ๔
ส่งเสริมการกินอาหารและดื่มน�้ำ ส่งเสริมการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก เช่น ส่งเสริมทักษะทางปัญญา เช่น กินเก่งๆ หนูกนิ เอง รู้จกั กิน รู้จกั จับจองมองสี ขีดๆ…เขียนๆ จูงมือหนูเดิน เช่น ปั้น ๆ….ขย�้ำ….ตามจินตนาการ ฉีก เลือก (สอนให้เด็กกินผัก) ดื่มน�้ำดับ เดินเข็นรถ กระดาษติดแปะภาพ กระหาย ใช่เราดื่มเอง
ส่งเสริมการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ (กิจกรรมในร่ม) เช่น ลากฉันไปด้วยซิ กลิ้งๆลูกบอลของหนู การกระโดด กระเด้ง แข่งกับเธอ (ลูกบอล)
ส่งเสริมทักษะทางปัญญา เช่น ฉันอยู่กลุ่มไหน ภาพคู่เหมือน เพื่อน กัน
ส่งเสริมการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ (กิจกรรมในร่ม) เช่นโยคะ คลายเครียด
ส่งเสริมการพัฒนาทักษะทางด้าน ส่งเสริมการพัฒนาทักษะทางด้าน จิตใจและอารมณ์ จิตใจและอารมณ์ เช่น ดั่งดอกไม้บาน เช่น ดั่งดอกไม้บาน เต้นๆ….ร้องๆ แดนเซอร์ ตัวน้อย
ส่งเสริมการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก เช่น จูงมือหนูเดิน เดินเข็นรถ
ส่งเสริมการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก เช่น หยิบๆ ของใส่ลงขวด มาลัยน้อย ร้อย ลูกปัด
ส่งเสริมด้านความเข้าใจและการใช้ ภาษา เช่น บทกลอนที่ไพเราะ ฟังนิทาน แสนสนุก กิจกรรมการเชิดหุ่น
ส่งเสริมด้านความเข้าใจและการ ใช้ภาษา เช่น ฟังนิทานแสนสนุก เลือกภาพ ตามบอกได้
ด้านความเข้าใจและการใช้ภาษา เช่น ส่งเสริมการท�ำความสะอาดร่างกาย กิจกรรมการเชิดหุ่น ฟังซิ เสียงอะไร เช่น ล้างมืออย่างถูกวิธี แปรงฟันอย่างถูก วิธี หนูอาบน�้ำท�ำอย่างไร
ส่งเสริมการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ ส่งเสริมทักษะทางปัญญา เช่น ฉันอยู่ (กิจกรรมกลางแจง) เช่น สไลเดอร์ กลุ่มไหน ภาพคู่เหมือน เพื่อนกัน หรรษา อุโมงค์เขาวงกต ปีนป่าย ไป ด้วยกัน กิจกรรมการเล่นกลางแจง เช่น เล่นทราย
สัปดาห์ที่ ๒
ทักษะทางปัญญา เช่น คู่ฉนั อยู่ไหน (จับคู่วัตถุกับรูปภาพ) สีฉันคู่ใคร……. (จับคู่ผลไม้พลาสติกกับสีของกระดาษ)
ทักษะทางสังคมและการเล่น เช่น การทักทายตอนเช้า การเล่นมุม เสรี การเข้าแถวเคารพธงชาติ กิจกรรม สวดมนต์ไหว้พระ และ ยืนสมาธิรู้จัก สิ่งแวดล้อม
สัปดาห์ที่ ๑
ตัวอย่าง การจัดกิกรรมตามหลักสูตรรายสัปดาห์
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
437
กิจกรรมการปรับตัว
หน่วยตัวฉัน
หน่วยฝนจ๋า
หน่วยสีแสนสวย
หน่วยสัตว์น�้ำ
หน่วยดอกไม้
หน่วยพ่อของฉัน
หน่วยเด็กดี
หน่วยอาหาร
หน่วยแมงมุม
หน่วยฤดูร้อน
หน่วยสัตว์ปีก
กรกฎาคม
สิงหาคม
กันยายน
ตุลาคม
พฤศจิกายน
ธันวาคม
มกราคม
กุมภาพันธ์
มีนาคม
เมษายน
พฤษภาคม
สัปดาห์ที่ ๑
มิถุนายน
เดือน
ตัวอย่าง การจัดกิจกรรมตามหลักสูตรรายเดือน
หน่วยวันเวลา
หน่วยแมลง
หน่วยต้นไม้
หน่วยสัตว์เลี้ยง
หน่วยวันเวลา
หน่วยผัก
หน่วยลอยกระทง
หน่วยสัตว์บก
หน่วยของใช้
หน่วยแม่
หน่วยความปลอดภัย
สัปดาห์ที่ ๒
เลื่อนชั้น
หน่วยหนูคนไทย
หน่วยหนูเรียนรู้
หน่วยสถานที่ส�ำคัญ
หน่วยธรรมชาติ
หน่วยฤดูหนาว
หน่วยผีเสื้อ
หน่วยอาชีพ
หน่วยผลไม้
หน่วยเพื่อนของฉัน
หน่วยบ้านที่รัก
สัปดาห์ที่ ๓
หน่วยน�้ำ
หน่วยกล้วย
หน่วยมะละกอ
หน่วยโรงเรียน
หน่วยวันปีใหม่
หน่วยสัตว์เลื้อยคลาน
หน่วยยานพาหนะ
หน่วยรูปทรง
หน่วยเครื่องแต่งกาย
หน่วยฟันสวย
สัปดาห์ที่ ๔
438
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
เครื่องเล่นสนาม มอญซ่อนผ้า (สังคม กล้ามเนื้อมัดใหญ่ (ด้านการช่วยเหลือตนเอง การปรับตัว) และสังคม)
ร้องเพลงประกอบ ร้อยลูกปัด ท่าทาง (กล้ามเนื้อมัดเล็ก) (สังคม กล้ามเนื้อมัดใหญ่ การปรับตัว)
ร้องเพลง ศิลปะ (สังคม กล้ามเนื้อมัดใหญ่ (อารมณ์ ความรู้สกึ ความ การปรับตัว) คิดริเริ่มสร้างสรรค์)
วันพุธ
วันพฤหัสบดี
วันศุกร์
กายบริหาร (สังคม กล้ามเนื้อมัดใหญ่ การปรับตัว)
ร้อยลูกปัด (กล้ามเนื้อมัดเล็ก)
วันอังคาร
๐๘.๓๐ - ๐๙.๔๐ น.
เครื่องเล่นสนาม เล่นจิ๊กซอว์ (สังคม กล้ามเนื้อมัดใหญ่ (สติปัญญา สังคม การปรับตัว) กล้ามเนือ้ มัดเล็ก)
๗.๓๐ -๐๘.๓๐ น
วันจันทร์
กิจกรรม/เวลา
ตัวอย่าง กิจกรรมการส่งเสริมพัฒนาการ ๑๕.๐๐ -๑๕.๓๐ น.
๑๕.๓๐ - ๑๖.๓๐ น.
Pet Therapy ศิลปะ เล่นเสรี (ด้านการช่วยเหลือตนเอง (สติปัญญา อารมณ์ (ทักษะด้านการช่วยเหลือตนเอง และสังคม) ความรู้สกึ ความคิดริเริ่ม และสังคม) สร้างสรรค์)
ปั้นดินน�้ำมัน (สติปัญญา สังคม กล้ามเนื้อมัด เล็ก อารมณ์ ความรู้สกึ ความ คิดริเริ่ม สร้างสรรค์)
ร้องเพลง ศิลปะ (สังคม กล้ามเนื้อมัดใหญ่ (สติปัญญา อารมณ์ ความรู้สกึ การปรับตัว) ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์)
เล่านิทาน การเล่นเสรี (ด้านภาษาสติปัญญา (ทักษะด้านการช่วยเหลือ อารมณ์ ความรู้สกึ ความ ตนเองและสังคม) คิดริเริ่มสร้างสรรค์)
เล่นจิ๊กซอว์ (กล้ามเนื้อมัดเล็ก)
ไม้บล๊อค ศิลปะ เล่นเสรี (ด้านการช่วยเหลือตนเอง (อารมณ์ ความรู้สกึ (ทักษะด้านการช่วยเหลือตนเอง และสังคม) ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์) และสังคม)
ไม้บล๊อค ศิลปะ อาสาท�ำดี (ด้านการช่วยเหลือตนเอง (อารมณ์ ความรู้สกึ (ทักษะด้านการช่วยเหลือตนเอง และสังคม) ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์) และสังคม)
๑๐.๓๐ - ๑๑.๐๐ น.
๔.๒ รูปธรรมการด�ำเนินงานของการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชน
ยุววิจัย
เทศบาลต�ำบลเขมราฐ ต�ำบลเขมราฐ อ�ำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี
๑. ที่มาหรือฐานคิดของการด�ำเนินกิจกรรม โครงการยุววิจัยท้องถิ่นเกิดจากการสนับสนุนของกองทุนการวิจัย (สวก.) กับมหาวิทยาลัย อุบลราชธานีได้ให้โอกาสโรงเรียนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ๘ จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัด อุบลราชธานี มุกดาหาร อ�ำนาจเจริญ สุรินทร์ บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ ยโสธรและนครพนม ตามโครงการนี้ เทศบาลได้เข้าไปหนุนเสริมผลของยุววิจัยก็ปรากฏชัดขึ้น ในรูปแบบของงานวิจัยประวัติศาสตร์ชุมชน เพียงปีเดียวยุววิจัยก็สามารถน�ำเสนอผลงานได้ถึง ๕ เรื่อง ซึ่งประกอบด้วย ๑. สนามบินลับเขมราฐ กับการกู้ชาติร่วมกับเสรีไทย ๒. ต้นเค้านามชุมชน ๓. สัญลักษณ์นักล่าอาณานิคม ๔. พิธีอุปสมบท กลางแม่น้ำ� โขง ผลงานทั้ง ๔ เรื่องเป็นการวิจยั ในกรอบของประวัติศาสตร์ท้องถิ่น และผลงานชิ้นที่ ๕ ของยุวิจัยเป็นงานวิจัยที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเรื่อง “ไหว้พระ ๓ พี่น้อง” ซึ่งเป็นผล งานที่แตกต่างไปจาก ๔ เล่มแรก โรงเรียนเขมราฐพิทยาคมได้ส่งผลงานเรื่อง สนามบินลับเขมราฐกับ การกูช้ าติรว่ มกับเสรีไทย และได้รบั ผลงานวิจยั ดีเด่น ผลจากการท�ำยุววิจยั ครัง้ นัน้ ก็ทำ� ให้ยวุ วิจยั ได้เกิด แนวคิดว่า งานวิจยั สามารถน�ำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ตอ่ ชุมชนของตนเองได้ เพราะท้องถิน่ เกิดจากการ เข้าใจรากเง้าความเป็นมาของตนเองและสิง่ แวดล้อมทีอ่ ยู่รอบด้าน ประวัตศิ าสตร์ท้องถิน่ จึงน่าจะเป็น เครือ่ งมือส�ำคัญของการเรียนรูท้ งั้ ในและนอกห้องเรียน จึงน�ำเรือ่ งนีเ้ สนอต่อนายวชิระ วิเศษชาติ นายก เทศมนตรีต�ำบลเขมราฐในขณะนั้น คณะยุววิจัยประวัติศาสตร์สามัญชนเทศบาลต�ำบลเขมราฐ จึงได้ ก่อก�ำเนิดขึ้นมา ในปี ๒๕๕๒
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
439
๒. งานและกิจกรรม ๒.๑ ภาพรวมระบบการดูแลเด็กและเยาวชนของต�ำบล การสร้างการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนต�ำบลเขมราฐ เป็นการบูรณางานของทุนด้านต่างๆ ที่ อยู่ในพื้นที่เพื่อพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนในพื้นที่ให้ได้รับโอกาสในด้านการกีฬา การส่งเสริม พัฒนาการเด็ก มีความปลอดภัยและความสุขในสังคม เป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนาต�ำบลต่อไปใน อนาคต โดยมีการด�ำเนินงานผ่านแหล่งปฏิบัติงาน สโมสร ป.ซิต้ี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลต�ำบล เขมราฐ และยุววิจัย จากการเห็นและใช้ข้อมูลปัญหาของเด็กและเยาวชน การตอบสนองนโยบายด้านการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพมาตรฐานด้านการศึกษา และความต้องการให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการ ส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและเยาวชน น�ำมาสู่การด�ำเนินงาน กิจกรรม ดังนี้ ๑) การจัดตั้งสโมสร ป.ซิตี้ จากการมีแกนน�ำคือนายปริญญา เหล็กดี หรือโค้ชแหง่น ที่มีใจ รักกีฬาฟุตบอลได้ทุ่มเทในการสร้างเด็กและเยาวชนสู่การเป็นนักฟุตบอลอาชีพระดับชาติ ได้มีการ ประสานงานและร่วมในการเป็นกรรมการทั้งผู้ที่มีใจรักกีฬาฟุตบอล และทีมที่ปรึกษา นักกีฬาฟุตบอล อ�ำเภอเขมราฐ อาจารย์จากโรงเรียนเขมราฐ ด�ำเนินการสร้างนักกีฬามาฝึกซ้อม เข้าร่วมแข่งขันจน ประสบความส�ำเร็จ เป็นผู้จดั การแข่งขันกีฬาฟุตบอล สร้างเครือข่ายในระดับจังหวัด เขต และระดับ ประเทศได้เป็นนักกีฬาเยาวชนระดับทีมชาติไทย ๒) การจัดตัง้ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กเทศบาลต�ำบลเขมราฐ การตอบสนองนโยบายสนับสนุน จัดการศึกษาปฐมวัยทั้งภาครัฐและท้องถิ่น และการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ในการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กน�ำมาสู่การด�ำเนินงาน กิจกรรมต่อไปนี้ การพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมให้เด็ก เกิดการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยความร่วมมือจากทุกฝ่ายทั้ง ภาครัฐและท้องถิน่ การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนแบบบูรณาการ ทีส่ ง่ เสริมการเรียนรูก้ บั ชุมชน และการอยู่ร่วมกันในสังคม พัฒนาศักยภาพและการส่งเสริมสุขภาพเด็ก ผู้ดแู ลเด็ก แม่ครัว ผู้ปกครอง ๓) กลุ่มยุววิจัย จัดตั้งขึ้นเพื่อศึกษาประวัตศิ าสตร์และวัฒนธรรมของพื้นที่ ซึ่งจากการจัดท�ำ วิจยั ในครัง้ นัน้ ก็ทำ� ให้ยวุ วิจยั ได้เกิดแนวคิดว่า งานวิจยั สามารถน�ำมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ชมุ ชน ของตนเองได้ ๒.๒ ประเด็นเด่นของระบบการดูแลเด็กและเยาวชน ยุววิจัย การจัดตั้งกลุ่มยุววิจัยเกิดจาก การสนับสนุนของส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (สกว.) ร่วมกับ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ส่งงานวิจยั เข้าร่วมประกวด เรือ่ ง สนามบินลับเขมราฐกับการกู้ชาติร่วมกับ
440
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
เสรีไทย ได้รับรางวัลยุววิจัยดีเด่นของจังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งจากการจัดท�ำวิจัยในครั้งนั้น ก็ท�ำให้ ยุววิจัยได้เกิดแนวคิดว่า งานวิจัยสามารถน�ำมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชนของตนเองได้ จึงจัด ตัง้ เป็นกลุม่ ยุววิจยั ท้องถิน่ ในเทศบาลต�ำบลเขมราฐขึน้ มา เพือ่ ศึกษาด้านประวัตศิ าสตร์ วัฒนธรรมและ การเป็นอยู่ของชาวต�ำบลเขมราฐ ตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน การตั้งถิ่นฐานเริ่มต้นของชาวอ�ำเภอ เขมราฐ หรืออาจจะเป็นเรื่องที่น่าสนใจ แต่ได้ถูกหลงลืมไปแล้ว ๕ เรื่อง ซึ่งประกอบด้วย ๑. สนามบิน ลับเขมราฐกับการกู้ชาติร่วมกับเสรีไทย ๒. ต้นเค้านามชุมชน ๓. สัญลักษณ์นักล่าอาณานิคม ๔. พิธี อุปสมบทกลางแม่นำ�้ โขง ผลงานทัง้ ๔ เรือ่ งเป็นการวิจยั ในกรอบของประวัตศิ าสตร์ทอ้ งถิน่ และผลงาน ชิ้นที่ ๕ ของยุวิจัยเป็นงานวิจัยที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเรื่อง “ไหว้พระ ๓ พี่น้อง”
๓. ทุนทางสังคม ๓.๑ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการหลัก ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการหลัก ได้แก่ ๑) เทศบาลต�ำบลเขมราฐ มีบทบาทในการวางนโยบายในการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กและ เยาวชน และนายกเทศมนตรีตำ� บลเขมราฐมีบทบาทในการผลักดันให้เกิดการพัฒนาและสนับสนุนงบ ประมาณด้านเงิน อุปกรณ์ ในการลงพื้นที่เก็บข้อมูลและจัดท�ำเอกสารงานวิจัย ๒) โรงเรียนเขมราฐพิทยาคม ในการสนับสนุนการจัดตั้งกลุ่มยุววิจัย ๓) กลุ่มผู้สูงอายุและปราชญ์ชาวบ้าน ที่สนับสนุนการด�ำเนินงานของยุววิจยั การส่งเสริม พัฒนางานวิชาการ จากผู้ทรงคุณวุฒิทางการศึกษาในพื้นที่ ๑) ศูนย์วจิ ัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สนับสนุนด้านวิชาการในการน�ำใช้กระบวนการรถอดบทเรียนเพื่อศึกษาประวัติศาสตร์ชุมชน ๒) มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มีบทบาทในการเสริมสร้างศักยภาพการศึกษาประวัตศิ าสตร์ ชุมชน โดยใช้กระบวนการการท�ำวิจัยเป็นแนวทางในการสรุปผลการเรียนรู้ ๓.๒ ทุนทางสังคมที่ด�ำเนินการรอง ผู้สนับสนุนและร่วมพัฒนา ได้แก่ ๑) นักวิชาการศึกษา มีบทบาทร่วมกับนายกเทศมนตรีต�ำบลเขมราฐ เสนอแผนงาน การ เบิกจ่ายเงิน ประสานความร่วมมือในการท�ำกิจกรรมงานประเพณีต่างๆ เช่น ลอยกระทง สงกรานต์ แข่งเรือยาวนานาชาติ แห่เทียน และงานกีฬา เป็นต้น ๒) ผูป้ กครองและชุมชน มีบทบาทในการสานต่อกิจกรรม การสนับสนุนการด�ำเนินการวิจยั ของบุตรหลานเด็กและเยาวชน
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
441
๔. วัตถุประสงค์ ๔.๑ ส่งเสริมให้เยาวชนส�ำนึกรักในท้องถิ่นของตนเอง ๔.๒ สร้างการมีส่วนร่วมในชุมชน ๔.๓ มีเอกสารทางวิชา เชิงประวัตศิ าสตร์ของชุมชน สามารถน�ำข้อมูลทางประวัติศาสตร์ มา เผยแพร่ให้เป็นที่ปรากฏ ๔.๔ มีเวทีให้เยาวชนได้แสดงออกในเชิงสร้างสรรค์ ๔.๕ เสริมสร้างศักยภาพให้กบั เด็กและเยาวชนในพื้นที่
๕. วิธีการท�ำงาน ประกอบด้วย ๑) การจัดการข้อมูล ๒) การจัดการทุนคน ๓) การจัดการทุนทรัพยากร และ ๔) การจัดการงาน กล่าวคือ ๕.๑ การจัดการข้อมูล เป็นการจัดการข้อมูลที่แสดงให้เห็นกระบวนการหาและใช้ข้อมูลในหลายรูปแบบ เพื่อให้ผู้ เกีย่ วข้องได้รบั รูแ้ ละเรียนรูข้ อ้ มูลปัญหา พร้อมทัง้ น�ำใช้ในการออกแบบกิจกรรมและวางแผนการท�ำงาน ร่วมกัน ซึ่งมี ๓ องค์ประกอบดังนี้ ๑) การได้มาซึง่ ข้อมูล ส่วนใหญ่ได้มาจากการสังเกต การบันทึกสถิติ การพูดคุย เวทีประชุม ครู ผู้ปกครอง และการค้นหาจากฐานข้อมูลของโรงเรียน ฐานข้อมูลจากส�ำนักงานพื้นที่การศึกษาฯ และท�ำให้กลุม่ แกนน�ำ กลุม่ ผูน้ ำ� ชุมชน กลุม่ ผูป้ กครอง และผูท้ เี่ กีย่ วข้อง เห็นข้อมูลปัญหาในการบริหาร จัดการปัญหา ด้านการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนในชุมชน ๒) ลักษณะข้อมูล เป็นข้อมูลที่แสดงให้เห็น ปัญหาของเด็กและเยาวชน ข้อมูลทรัพยากร บุคคลและทรัพยากรธรรมชาติที่ช่วยสนับสนุนปฏิบัติการ การเรียนรู้ให้กับเด็ก เช่น สถานที่ใช้ในการ เรียนคับแคบ ปัญหาด้านการเรียน การใช้สารเสพติดและการทะเลาะวิวาทของเด็กและเยาวชน ข้อมูล ศักยภาพของบุคคลด้านประวัติศาสตร์ในพื้นที่ ๓) การน�ำใช้ข้อมูล เป็นการน�ำใช้ข้อมูลเพื่อออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริม เด็กและเยาวชนมีทักษะในการน�ำใช้ข้อมูล หาแนวทางในการพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนโดยใช้ เวทีประชุมครูโรงเรียนหรือเวทีประชาคม เป็นกลไกในการสร้างการมีส่วนร่วม น�ำเสนอข้อมูลปัญหา และหาแนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน
442
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๕.๒ การจัดการทุนคน เป็นการจัดการเพื่อ ๑) หาและใช้ทุนทางสังคมที่มีอยู่ในพื้นที่ โดยการรับสมัครครูผู้สอนที่เป็นผู้รู้จากชุมชน ผ่านเวทีประชุม ประชาคม การประสานผูท้ มี่ คี วามสามารถและเป็นผูร้ ดู้ า้ นประวัตศิ าสตร์ ซึง่ ส่วนใหญ่ เป็นผู้ที่มจี ิตอาสาชอบช่วยเหลือผู้อื่นในสังคม ๒) พัฒนาศักยภาพทุนทางสังคมกลุ่มต่างๆ ได้แก่ กลุ่มครูผู้สอนและกลุ่มเด็กและเยาวชน โดยมีการพัฒนาการท�ำงานวิจัยประวัติศาสตร์ชุมชน ๕.๓ การจั ด การทุ น ทรั พ ยากร เป็ น การหาและใช้ ท รั พ ยากรที่ มี อ ยู ่ ใ นท้ อ งถิ่ น รวมถึ ง งบประมาณเพือ่ ใช้ในการพัฒนาโครงสร้างทางกายภาพทีเ่ ป็นแหล่งสนับสุนนให้เกิดการเรียนรูเ้ ด็กและ เยาวชน ได้แก่ ๑) สถานที่ที่ใช้ในการเรียนรู้ สื่อการเรียนการสอน วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ และอุปกรณ์การเรียน การสอน สื่อวิดีทัศน์ต่างๆ ต้นไม้ เครื่องดนตรี อุปกรณ์กีฬา ห้องประชุม และหนังสือเรียน เป็นต้น ๒) สถานที่ใช้ในการรวบรวมจัดท�ำเอกสารงานวิจัยประวัติศาสตร์ชุมชนของกลุ่มยุววิจัย คือ ห้องต�ำบลสุขภาวะเทศบาลต�ำบลเขมราฐ และโรงเรียนเขมราฐพิทยาคม ๕.๔ การจัดการงาน เป็นการจัดการกิจกรรมตามลักษณะและประเภทของงาน ทั้งในด้าน งานเดี่ยว งานร่วม และงานเชื่อม ดังนี้ ๑) งานเดี่ยว เป็นการด�ำเนินงานเฉพาะแต่ละกลุ่ม องค์กรด�ำเนินการ ได้แก่ โรงเรียนจัดการ สอนการศึกษาประวัติศาสตร์ชมุ ชน ๒) งานรวม เป็นการด�ำเนินงานทีแ่ ต่ละบุคคล กลุ่มหรือทีมงานได้ด�ำเนินงานตามภารกิจของ ตนเองแต่มเี ป้าหมายการท�ำงานที่เหมือนกัน และร่วมกิจกรรมการด�ำเนินงานด้วยกัน ได้แก่ เทศบาล จัดกิจกรรมให้เด็ก เยาวชน ผู้ปกครอง และคนในชุมชนร่วมงานบุญประเพณี วันส�ำคัญต่างๆ เช่นการ แห่เทียน สงกรานต์ และจัดงานวันเยาวชนแห่งชาติ เป็นต้น ครูผู้สอน เทศบาล ผู้ปกครอง ร่วมกัน สนับสนุนอุปกรณ์ส่งเสริมการเรียนรู้ เด็กและเยาวชนร่วมแข่งกีฬา และร่วมกิจกรรมในวันส�ำคัญของ ชุมชน ๓) งานเชือ่ ม เป็นการด�ำเนินงานทีแ่ ต่ละบุคคล องค์กรหรือหน่วยงานได้มกี ารประชุมปรึกษา หารือเพื่อก�ำหนดแนวทางในการด�ำเนินงาน หรือวางแผนงานท�ำงาน พร้อมทั้งมีการมอบหมาย การด�ำเนินงานตามภารกิจหรือความช�ำนาญของแต่ละบุคคลหรือทีม และด�ำเนินงาน ได้แก่ เทศบาล ต�ำบลเขมราฐ ประชุมและท�ำแผนแนวทางในการด�ำเนินงานและสนับสนุนการด�ำเนินงานของกลุ่ม เยาวชน เทศบาลต�ำบลเขมราฐสนับสนุนการด�ำเนินงาน
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
443
๖. ผลผลิตและผลลัพธ์ ๖.๑ ผลต่อประชากรเป้าหมาย ๑) เด็กและเยาวชน ได้รับการพัฒนาศักยภาพที่สอดคล้องกับความต้องการของเด็กและ เยาวชน ศึกษาประวัติศาสตร์ชมุ ชนในรูปแบบของผลการวิจัย ๒) เกิดการรวมกลุ่มเด็กและเยาวชน ท�ำประโยชน์ให้กับชุมชน ๖.๒ ผลต่อคุณภาพชีวิตของกลุ่มประชากร ๕ มิติ ๑) ด้านสังคม เกิดการท�ำงานเป็นทีม การท�ำงานร่วม และการท�ำงานเชื่อมที่สามารถเชื่อม ประสานกับคนหรือองค์กรทั้งในและนอกพื้นที่ เกิดแกนน�ำที่มีจิตอาสาช่วยเหลือเกื้อกูลกันเอง เช่น แกนน�ำอาสาถ่ายทอดความรู้ในแหล่งเรียนรู้ต่างๆ และแกนน�ำอาสาสมัครอย่างเป็นทางการที่มี ความเชี่ยวชาญเฉพาะเรื่อง ได้แก่ แม่อาสา อผส. อปพร. เป็นต้น รวมถึงท�ำให้เกิดการถ่ายทอด ประวัตศิ าสตร์ให้แก่คนรุน่ หลังจากการทีม่ ยี วุ วิจยั สืบต่อกันจากรุน่ สูร่ นุ่ สร้างความผูกพันแก่คนในชุมชน และท�ำให้เกิดสายใยของความเคารพนับถือผู้สูงอายุที่อยู่ในพื้นที่ ๒) ด้านเศรษฐกิจ แบ่งเบาภาระผูป้ กครองให้มเี วลาประกอบอาชีพมากขึน้ ผูป้ กครองนักเรียน มีส่วนร่วมในการส่งเสริม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ท�ำความเข้าใจ ๓) ด้านสภาวะแวดล้อม ท�ำให้เกิดความหวงแหนในทรัพยากรธรรมชาติ และการช่วยกัน อนุรักษ์สถานที่ที่เกี่ยวข้องกับประวัติความเป็นมาของชุมชน ๔) ด้านสุขภาพ มีกิจกรรมการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ร่วมกับชุมชนอย่างต่อเนื่อง เช่น โครงการคุณตาเอื้อเฟื้อคุณยายเผื่อแผ่ กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมงานบุญประจ�ำปีวัดชัยภูมิ การรวม การเรียนรู้แหล่งภูมปิ ัญญาชุมชน เป็นต้น ๕) ด้านการเมืองการปกครอง การสร้างการมีส่วนร่วมในการด�ำเนินงานของยุววิจยั ท�ำให้ คนในชุมชนได้เห็นถึงความส�ำคัญของประวัติศาสตร์ชุมชนที่ตนอาศัยอยู่ และข้อมูลของยุววิจัยท�ำให้ เทศบาลต�ำบลเขมราฐได้นำ� มาออกแบบการให้บริการเพือ่ บรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนในท้อง ถิ่น เช่น ด้านสุขภาพ ด้านอาชีพ เป็นต้น และผลงานได้มีเป็นที่รู้จักมีการบันทึกเทปและออกอากาศ ผ่านช่องทางการสื่อสารต่างๆ ท�ำให้ประวัติศาสตร์เขมราฐเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย ๖.๓ ผลต่อทุนทางสังคมอื่นๆ เยาวชนศึกษาประวัตศิ าสตร์ชมุ ชนท�ำให้กลุม่ ต่างๆทีม่ อี ยูใ่ นพืน้ ที่ ให้ความสนใจและช่วยเหลือ ในการด�ำเนินงานของยุววิจยั ได้แก่ กลุ่มปราชญ์ชาวบ้าน แกนน�ำชุมชน กลุ่มผู้สูงอายุ บุคลากรทาง ด้านการศึกษาทั้งในและนอกพื้นที่ เป็นต้น
444
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
๗. กลไก เครื่องมือในการด�ำเนินงาน ๗.๑ การรวมกลุ่มกันของเยาวชนที่มีความเข้มแข็ง มีการแต่งตั้งผู้นำ� เยาวชนมีการแบ่งหน้าที่ กันอย่างชัดเจนท�ำให้เอื้อต่อการด�ำเนินงาน ๗.๒แนวทางการด�ำเนินการวิจยั ทีย่ ดึ หลักวิชาการในการศึกษา ท�ำให้ผลทีไ่ ด้มคี วามเชือ่ ถือได้ ๗.๓ งบประมาณสนับสนุนจากเทศบาล
๘. ปัจจัยเงื่อนไข ๘.๑ ข้อมูล จากการเห็นและให้ข้อมูลปัญหาของเด็กและเยาวชนในพื้นที่ ท�ำให้เกิดการรับรู้ สถานการณ์ปัญหาด้านการเรียนรู้เด็กและเยาวชนในต�ำบล การรับรู้ศักยภาพของคนในต�ำบล นายก องค์ก ารบริหารส่วนต�ำบล ผู้นำ� ชุมชน อาจารย์ในโรงเรียน ครูผู้สอน แกนน�ำ อาสาสมัครต่างๆ และ ผูป้ กครอง น�ำมาสูก่ ารพูดคุย ประชุมปรึกษาหารือเพือ่ สร้างความร่วมมือของ องค์การบริหารส่วนต�ำบล ผู้ปก ครอง คร แกนน�ำ และชุมชน มาร่วมกันออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้พัฒนาหลักสูตรที่ส่งเสริม การเรียนรู้กบั ชุมชนให้กับเด็กและเยาวชน ๘.๒ กลุ่มเยาวชนที่มีจิตอาสา มีความเข้มแข็งพร้อมที่จะเรียนรู้ และมีการท�ำงานเป็นทีม ๘.๓ การได้รับสนับสนุนงบประมาณจากเทศบาลและหน่วยงานภายนอก รวมถึง การสนับสนุนทางด้านวิชาการ
๙. ความเชื่อมโยงต่อ ๗ คุณลักษณะการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่น ๙.๑ การสร้างการเรียนรู้ ยุววิจัยเป็นการสร้างการเรียนรู้ให้แก่คนในชุมชน ให้หันมาสนใจประวัติศาสตร์ของชุมชน ของตน จากการที่กลุ่มต่างๆ เช่น ผู้นำ� ชุมชนปราชญ์ชาวบ้าน ผู้สูงอายุ เป็นต้น ได้เข้ามามีส่วนร่วมใน กระบวนการท�ำให้เกิดการเรียนรู้ขึ้น ๙.๒ การสร้างกลไกการจัดการตนเอง กลุ่ มยุววิจัยมีการสร้างกลไกในการด�ำเนินงานของกลุ่ม โดยมีการแต่งตั้งประธานกลุ่ม และ แบ่งหน้าทีก่ นั มีการจัดการงานโดยการสอนและสืบทอดให้กบั รุ่นน้อง และการได้รบั การสนับสนุนจาก โรงเรียนและเทศบาลอื่นท�ำให้การด�ำเนินงานเป็นไปด้วยดี
รูปธรรมวิธกี ารท�ำงานส�ำหรับคน ๓ วัย โดยชุมชนท้องถิ่น
445
๙.๓ การสร้างคนให้จัดการตนเอง กลุ่มยุววิจัยเป็นการที่เยาวชนต้องการที่จะศึกษาประวัติศาสตร์ของพื้นที่ตนเอง ได้รับการ พัฒนาศักยภาพด้านการศึกษาประวัตศิ าสตร์ การวิจยั ชุมชนท�ำให้สามารถทีจ่ ะจัดการงานของกลุ่มได้ ๙.๔ การสร้างการมีส่วนร่วม การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการด�ำเนินงานของยุววิจัย ได้แก่ โรงเรียน เทศบาล บุคลากรทางด้านการศึกษา ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้สูงอายุ ผู้รู้ที่อยู่ในพื้นที่ เป็นต้น ๙.๕ การระดมทุนและทรัพยากร การระ ดมทุนและทรัพยากรจากประชาชนในพื้นที่ ระดมแรงร่วมกันในการศึกษาประวัติศาสตร์ของ ชุมชน การได้รบั การสนับสนุนด้านความรู้ ทักษะในการวิจัยจากสถาบันการศึกษา ๙.๖ การจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กรภาครัฐและหน่วยงานอื่นๆ มีการจัดการความร่วมมือกับเทศบาลต�ำบล โรงเรียน สถาบันการศึกษา ทัง้ ในด้านงบประมาณ และวิชาการในการด�ำเนินงานของยุววิจัย ท�ำให้เกิดเครือข่ายการท�ำงาน
๑๐. การตอบสนองต่อตัวชี้วัด ๑๐.๑ ชุดกิจกรรมที่ ๑ การเพิม่ ทักษะและสร้างการเรียนรูข้ องเด็กและเยาวชน ตัวชีว้ ดั ที่ ๒ ๖ ๗ ๘ ในการจัดโครงการให้แก่เด็กและเยาวชนร่วมเป็นผูน้ �ำ การมีเครือข่ายเยาวชนในพืน้ ที่ จัดกิจกรรม ให้เด็กและเยาวชนร่วมมีบทบาทในการพัฒนากิจกรรมในพื้นที่ จัดฝึกอบรมพัฒนาศักยภาพแกนน�ำ เด็กและเยาวชน ๑๐.๒ ชุดกิจกรรมที่ ๒ การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไข ปัญหาของเด็กและเยาวชน ตัวชี้วัด ๑๖ ๒๐ ๒๑จัดตั้งกลุ่มหรือกิจกรรมเพื่อสร้างจิตส�ำนึกรักบ้านเกิด จัดกิจกรรม โครงการ เพื่อ พั ฒ นา เด็ ก และเยาวชน โดยเน้ น การสื บ ทอดและอนุ รั ก ษ์ ข นบธรรมเนี ย มประเพณี ข องชุ ม ชน สร้างนวัตกรรมเด็กและเยาวชน ที่เชื่อมโยงสถาบัน บ้าน องค์กรศาสนา โรงเรียน ๑๐.๓ ชุดกิจกรรมที่ ๓ การบริหารจัดการกองทุนและสวัสดิการส�ำหรับกิจกรรมสร้างสรรค์ ตัวชี้วัดที่ ๒๒ การจัดตั้งกองทุนที่สนับสนุนการจัดกิจกรรมของเด็กและเยาวชน ๑๐.๔ ชุดกิจกรรมที่ ๔ การพัฒนาระบบข้อมูลด้านเด็กและเยาวชนและการน�ำใช้ ตัวชี้วัดที่ ๒๗ ๒๘ ๒๙ มีการด�ำเนินการทบทวนวิจัยชุมชนและข้อมูลพื้นฐานต�ำบลเพื่อน�ำไปใช้ในงานพัฒนา สุขภาวะเด็กและเยาวชน สร้างช่องทางในการสือ่ สารและประชาสัมพันธ์ข้อมูลการด�ำเนินงานด้านเด็ก และเยาวชน จัดท�ำรายงานการประเมินผลและรายงานสถานการณ์ ปัญหา และคุณภาพชีวิตของเด็ก และเยาวชน 446
การดูแลเด็กปฐมวัยและระบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถิ่น
ผู้เขียน
ขนิษฐา นันทบุตร อรุณณี ใจเที่ยง
คณะผู้เขียนจากพื้นที่ พรรณพิมล ไชยสุวรรณ์ สุริยัน ไชยดวงค�ำ นพพร ปิจดี นารีรัตน์ สายศักดิ์ ศศิธร ศิริต้นื ลี ธนิษฐา ใกล้กลาง ทองค�ำ สิทธิโชติ ศิริพร พรมมงคล ทรงศักดิ์ ภูขามคม สุมลมาลย์ แม่นมั่น พัชรีภรณ์ ดงสงคราม อังคะนา การปรีชา สิงหา วงศ์ใหญ่ รวงทอง ปิยะเลิศ เย็น หน่อค�ำหล้า ณัฐญาดา กันทะเนตร ปารวี สุทธหลวง รัญจวน มูลสิงห์ เทียน แผลงฤทธิ์ พรทิพย์ วรรณทวี กิตติยาภรณ์ สิทธิธรรม แก้วตา ไชยโคตร เพ็ญศรี สร้อยมาตร สุรชัย ฉลอม วุฒิชัย กว้างยาว รจนา สุขโภชน์ ปิยะนันท์ โตแห้ว ชาคริยา มาอ้าย รินดารา ใจสีธิ จีรภา ด้วงโน สุขจิตร มหายศนันท์ เสาวนีย์ อุดด้วง ปวีณา ตาสุภา มยุรี เขียวใหม่ กิ่งกาญจน์ ดวงแค นันทิชา โหมดนุช ชฎานันท์ อนุลีจันทร์ วัลลภา อาจเจริญ
พีรพงษ์ บุญสวัสดิ์กุลชัย รัตน์ดาวรรณ คลังกลาง
สมปรารถนา ดาผา นิตยา พันธ์งาม
ทต.เชียงเคี่ยน อ.เทิง จ.เชียงราย ทต.เชียงเคี่ยน อ.เทิง จ.เชียงราย ทต.เชียงเคี่ยน อ.เทิง จ.เชียงราย ทต.เชียงเคี่ยน อ.เทิง จ.เชียงราย อบต.แก้งแก อ.โกสุมพิสัย จ.มหาสารคาม อบต.แก้งแก อ.โกสุมพิสัย จ.มหาสารคาม อบต.แก้งแก อ.โกสุมพิสัย จ.มหาสารคาม อบต.แก้งแก อ.โกสุมพิสัย จ.มหาสารคาม อบต.นาเชือก อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์ อบต.นาเชือก อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์ อบต.นาเชือก อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์ อบต.นาเชือก อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์ อบต.ป่าสัก อ.ภูซาง จ.พะเยา อบต.ป่าสัก อ.ภูซาง จ.พะเยา อบต.ป่าสัก อ.ภูซาง จ.พะเยา อบต.ป่าสัก อ.ภูซาง จ.พะเยา อบต.ผาสิงห์ อ.เมือง จ.น่าน อบต.ผาสิงห์ อ.เมือง จ.น่าน อบต.ยางขี้นก อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี อบต.ยางขี้นก อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี อบต.ยางขี้นก อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี อบต.ยางขี้นก อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี อบต.ยางขี้นก อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี อบต.วังดิน อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ อบต.วังดิน อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ อบต.วังดิน อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ อบต.วังดิน อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ อบต.สถาน อ.นาน้อย จ.น่าน อบต.สถาน อ.นาน้อย จ.น่าน อบต.สถาน อ.นาน้อย จ.น่าน อบต.สถาน อ.นาน้อย จ.น่าน อบต.สันทราย อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ อบต.สันทราย อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ อบต.สันทราย อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ อบต.สันทราย อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ อบต.เสม็ดใต้ อ.บางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา อบต.เสม็ดใต้ อ.บางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา อบต.เสม็ดใต้ อ.บางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา
พัชรินทร์ พูลทวี
ณัฐชรี สิตรานนท์ จิราภรณ์ วงษ์สวุ รรณ์ สุธาสิณี บุตดีจีน นาท มนตรีชน อรรินทร์ นนตรี รุ่ง ฟักทอง เบญจวรรณ จันทร์คุ้ม ภัสฎาภรณ์ นาคมี วิจิตรา อินจง ธีรศักดิ์ ปีตพิ งษ์ค�ำสุนีย์ ธีรยุทธ มะโนชาติ ธิติวุฒิ มะโนชาติ ศิตาพัชญ์ ดอกค�ำ พิชญ์สิณี ศิริวชิราภรณ์ สิรินภา บุญเนาว์ สุพัตรา หุ่นประเสริฐ ดวงพร พุ่มจ�ำปา ขอใจ การภักดี ณฐา บัญชานิธิการ พรพรรณ แก้วค�ำภา พิชญาพร ศรีหลิ่ง พรทิพย์ สิทธิโส อรทัย แสบงบาล ทุติยพงศ์ สมสุข ชุติกาญจน์ อ้นกลิ้ง จ�ำนงค์ ยิ้มกล�่ำ ฉัตราภรณ์ ฤทธิ์ตระกูล สุทธิพงษ์ เปลี่ยนเนียม สมาน บุญเลิศ ชาญวิทย์ จันละมุด ชุติมา ศรีทอง นงรัก ชาวงษ์ วันชัย บัวนาค ปนัดดา เอราวัณ ธัญญลักษณ์ แก้วขาว เบญจมาศ พัฒมะณี นัคมน แก้วมงคล สุขเกษม โคสอน มาลี ทับเอี่ยม วิลาวรรณ ค�ำมินทร์ มาริษา เนื้อนาค วิภาวดี ตาสุติน พัชราภรณ์ ครุฑจู เอนก ศักดี เกศรินทร์ พงษ์แขก รัตนา วังสมุทร
อบต.เสม็ดใต้ อ.บางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา อบต.หนองกุงใหญ่ อ.กระนวน จ.ขอนแก่น อบต.หนองกุงใหญ่ อ.กระนวน จ.ขอนแก่น อบต.หนองกุงใหญ่ อ.กระนวน จ.ขอนแก่น อบต.หนองกุงใหญ่ อ.กระนวน จ.ขอนแก่น อบต.หินลาด อ.วัดโบสถ์ จ.พิษณุโลก อบต.หินลาด อ.วัดโบสถ์ จ.พิษณุโลก อบต.หินลาด อ.วัดโบสถ์ จ.พิษณุโลก อบต.หินลาด อ.วัดโบสถ์ จ.พิษณุโลก อบต.ไหล่ทุ่ง อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี อบต.ไหล่ทุ่ง อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี อบต.ไหล่ทุ่ง อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี อบต.ไหล่ทุ่ง อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี อบต.ไหล่ทุ่ง อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี อบต.ไหล่ทุ่ง อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี ทต.ด่านช้าง อ.ด่านช้าง จ.สุพรรณบุรี ทต.ด่านช้าง อ.ด่านช้าง จ.สุพรรณบุรี ทต.ด่านช้าง อ.ด่านช้าง จ.สุพรรณบุรี ทต.ด่านช้าง อ.ด่านช้าง จ.สุพรรณบุรี ทต.เหล่าใหญ่ อ.กุฉิณารายณ์ จ.กาฬสินธุ์ ทต.เหล่าใหญ่ อ.กุฉิณารายณ์ จ.กาฬสินธุ์ ทต.เหล่าใหญ่ อ.กุฉิณารายณ์ จ.กาฬสินธุ์ ทต.เหล่าใหญ่ อ.กุฉิณารายณ์ จ.กาฬสินธุ์ ทต.บางไผ่ อ.บางมูลนาก จ.พิจิตร ทต.บางไผ่ อ.บางมูลนาก จ.พิจิตร ทต.บางไผ่ อ.บางมูลนาก จ.พิจิตร ทต.บางไผ่ อ.บางมูลนาก จ.พิจิตร ทต.บางไผ่ อ.บางมูลนาก จ.พิจิตร ทต.พุเตย อ.วิเชียรบุรี จ.เพชรบูรณ์ ทต.พุเตย อ.วิเชียรบุรี จ.เพชรบูรณ์ ทต.พุเตย อ.วิเชียรบุรี จ.เพชรบูรณ์ ทต.พุเตย อ.วิเชียรบุรี จ.เพชรบูรณ์ ทต.พุเตย อ.วิเชียรบุรี จ.เพชรบูรณ์ อบต.กุดสะเทียน อ.ศรีบุญเรือง จ.หนองบัวล�ำภู อบต.กุดสะเทียน อ.ศรีบุญเรือง จ.หนองบัวล�ำภู อบต.กุดสะเทียน อ.ศรีบุญเรือง จ.หนองบัวล�ำภู อบต.กุดสะเทียน อ.ศรีบุญเรือง จ.หนองบัวล�ำภู อบต.ตากตก อ.บ้านตาก จ.ตาก อบต.ตากตก อ.บ้านตาก จ.ตาก อบต.ตากตก อ.บ้านตาก จ.ตาก อบต.ตากตก อ.บ้านตาก จ.ตาก อบต.ตากตก อ.บ้านตาก จ.ตาก อบต.มหาชัย อ.ไทรงาม จ.ก�ำแพงเพชร อบต.มหาชัย อ.ไทรงาม จ.ก�ำแพงเพชร อบต.มหาชัย อ.ไทรงาม จ.ก�ำแพงเพชร อบต.มหาชัย อ.ไทรงาม จ.ก�ำแพงเพชร