เชิงดอย

Page 1



àªÔ§´Í เรื่องและภาพ ติณ นิติกวินกุล


Healthy Planet สุขคดีทองเที่ยวชุมชนเพื่อการเรียนรู เชิงดอย เรื่องและภาพ ติณ นิติกวินกุล ออกแบบปกและรูปเลม น้ำฝน อุดมเลิศลักษณ เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ

978-616-7374-81-9 บรรณาธิการอำนวยการ

ดวงพร เฮงบุณยพันธ กองบรรณาธิการ

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) โดย สำนักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (สน.3) จัดพิมพและเผยแพรโดย

อาคารศูนยเรียนรูสุขภาวะ เลขที่ 99 ซอยงามดูพลี แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท 0 2343 1500 โทรสาร 0 2343 1501 www.thaihealth.or.th และ www.punsook.org พิมพครั้งที่ 1

ธันวาคม 2555


ดำเนินการผลิตโดย

เปนไท พับลิชชิ่ง Penthai Publishing โทรศัพท 0 2736 9918 โทรสาร 0 2736 8891 waymagazine@yahoo.com


6

àªÔ§´ÍÂ


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

7


¤Ó¹Ó ทามกลางกระแสวิกฤติเศรษฐกิจโลกครัง้ ใหญเปน ประวัติการณในรอบหลายสิบป ทำใหเกิดการตั้งคำถาม วาวิกฤตินีจะ ้ ใหญขึน้ อีกเพียงใด จะยืดเยือ้ ขนาดไหน และ วิกฤตินี้จะสงผลกระทบตอสังคมไทยชุมชนหมูบานไทย มากนอยเพียงใด ความวิตกดังกลาวอาจจะไมเกิดขึ้น เลยหากปจจุบันชุมชนหมูบานไทยไมถูกลากเขาสูระบบ การผลิตเพื่อขาย นัก วิชา การ หลายๆ ทาน ได วิเคราะห ถึง ระบบ เศรษฐกิจของประเทศไทยวาในระบบทุนนิยมยังคงมีอีก ระบบดำรงอยูใน  ลักษณะคูขนาน นั่นคือระบบเศรษฐกิจ ชุมชน หรือ อาจ จะ กลาว เปน ศัพท สมัย ใหม ได วา ระบบ เศรษฐกิจแบบพอเพียง ในอดีตชุมชนหมูบ า นจะมีวิถชี​ี วติ ทีเรี ่ ยบงายเนน ความพอเพียง มีครอบครัวเปนหนวยการผลิต การชวย เหลือซึง่ กันและกันมีน้ำใจเปนพืน้ ฐานของชีวติ มีพิธกี รรม ตางๆ เปนระบบการจัดการในชุมชนและใหความสำคัญ ของบรรพบุรุษ ผูเฒ  าผูแก ครอบครัว ตอ มา หลัง จาก รัฐ และ ระบบ ทุนนิยม ได เขาไป มี อิทธิพลตอชุมชน การผลิตเชิงเดี่ยวและลัทธิบริโภคนิยม ทำใหชาวบานมีรายจายทีเป ่ นตัวเงินมากขึน้ เพียงเทานัน้


ยังไมพอสิ่งที่ทำลายความเขมแข็งของชุมชนที่มากที่สุด คือ รัฐและทุนเขาไปถายโอนทรัพยากรจากระบบชุมชน หมูบาน ยิ่ง รัฐ และ ทุน เขาไป กอบโกย มาก เทาไร ชุมชน หมูบานไทยยิ่งประสบความออนแอ คำพูดดังกลาวไมใช คำพูดลอยๆ ที่ไมมีหลักฐานรองรับ หากแตเมื่อกวาดตา ไปทัว่ แผนดินไทย หลังการประกาศแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมมากวา 40 ป จะมีสักกี่ชุมชนทีคนใน ่ ชุมชนไม ประสบปญหาความยากจน ไมประสบปญหาสิง่ แวดลอม หรือไมประสบปญหาสุขภาพ จาก สถานการณ ดัง กลาว ถึง เวลา แลว หรือ ยัง ที่ สังคม ไทย ควร กลับ มา เนน การ พัฒนา ที่ ไม มอง แต มิติ ประสิทธิภาพ การสรางมูลคาและกำไรหรือการตลาด ดาน เดียว แต ควรจะ เปน เพื่อ ประโยชน ของ ชุมชน และ สังคม เราไมควรลดทอนผูคนลงไปเปนเพียงตัวเลข หาก ควร เปน เพื่อ สง เสริม ศักยภาพ และ ศักดิ์ศรี ความ เปน มนุษย คำตอบสำหรับคำถามขางตนนี้ คงจะตองชวยกัน คนหา ไมวาจะใชระยะเวลานานเทาไร คณะผูจัดทำ


10 àªÔ§´ÍÂ

01 à¡ÃÔè¹¹Ó อริสโตเติล (Aristotle) นักปราชญชาวกรีกกลาวไววา มนุษย เปน สัตว สังคม เขา เชื่อ วา โดย สภาพ ธรรมชาติ มนุษย จะ ตอง มี ชีวิต อยู รวม กัน กับ บุคคล อื่นๆ ติดตอ สัมพันธซึ่งกันและกัน ไมสามารถดำรงชีวิตอยางอิสระ ตามลำพังแตผูเดียวได เหตุนี้สังคมจึงเกิดขึ้น ดังนั้นทุกคนยอมเกิดมาในหมูคน  ดำรงชีวิตอยูใน หมูคน และตองมีความสัมพันธเกี่ยวของกับคนอื่นไมวา จะในทางใด เปนไปไมไดทจะ ี่ อยูโดด  เดีย่ วโดยไมสัมพันธ กับคนอื่น ดวยเหตุนีจึ้ งจะเห็นวา สังคมกับมนุษยจะแยกจาก กันไมได เพราะมนุษยเกิดมาก็ตองอาศัยสังคม ตองพึง่ พา อาศัยมนุษยดวยกัน ตองมีความสัมพันธกันและกระทำ ตอกันทางสังคมเพื่อประโยชนของตนและสังคมโดยรวม แตจะทำอยางไรเลาใหมนุษยทุกคนอยูรวมกันได ในสภาพแวดลอมและความเปนอยูที่ทุกคนพอใจ นี่คือ คำถามใหญ


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

มีสถานที่หนึ่งซึ่งสถานที่นั้นอาจจะไมใชคำตอบ ทีส่ ดุ ของคำถามนี้ แตอยางไรเสีย อาจจะตอบคำถามและ ใหความกระจางไดพอสมควร ‘เชิงดอย’ ตำบลหนึ่งในอำเภอดอยสะเก็ด จังหวัด เชียงใหม คือคำตอบของความสงสัยนั้น

11


12 àªÔ§´ÍÂ


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

02 àªÔ§´ÍÂã¹Í´Õμ

13


14 àªÔ§´ÍÂ

ตำบลเชิงดอยตั้งอยูในเขตอำเภอดอยสะเก็ด จั ง หวั ด เชี ย งใหม แต เดิ ม นั้ น เป น เส น ทาง เกวียน และ พัก แรม ของ วัว ตาง มาตาง ของ พอคาแมคาที่ตองเดินทางไปคาขาย หรือขึ้น ไปปาเมี่ยง หรือผานไปยังแมขะจาน อำเภอ เวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย หรือ แยกเขา ทางดอยสะเก็ด ดวยความเปนเสนทางติดตอ ระหวางเชียงรายและเชียงใหม จึงมีกลุม คนที่ อยพยมาตั้งถิ่นฐานเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ สวนใหญ เปนชาวไทใหญ ไทเขิน ไทลื้อ และไทยอง ตำบลเชิงดอยมีเนือ้ ทีโดย ่ รวมประมาณ 63 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 39,375 ไร มีจำนวน 13 หมูบาน แบงเปน 2 สวนคือ อยูในเขตพื้นที่รับผิดชอบของเทศบาลตำบล ดอยสะเก็ดบางสวนไดแก หมู 3 บานเชิงดอย หมู 8 บานลวงใต มีพื้นที่รวมกันบางสวนคือ หมู 2 บานโพธิ์ทองเจริญ หมู 4 บานปาคา และหมู 12 บานปทุมนิเวศน ทัง้ นี้ พืน้ ทีที่ อยู ่  ในเขตรับผิดชอบของเทศบาลตำบลเชิงดอย ทั้งหมดมีจำนวน 8 หมูบาน


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

15


16 àªÔ§´ÍÂ

สรุปรวมความแลวมีหมูบานที่อยูในเขตความรับ ผิดชอบของเทศบาลตำบลเชิงดอย ดังนี้ หมู 1 บานแมดอกแดง หมู 2 บานโพธิ์ทองเจริญ หมู 4 บานปาคา หมู 5 บานเกาะ หมู 6 บานสันอุม หมู 7 บานรองขี้เหล็ก หมู 9 บานสันปานอย หมู 10 บานปาไผศรีโขง หมู 11 บานกิ่วแล หมู 12 บานปทุมนิเวศน หมู 13 บานหนองบัวพัฒนา ทิ ศ เหนื อ ติ ด ต อ เทศบาล ตำบล ลวง เหนื อ และ เทศบาล ตำบล ปา เมี่ยง ทิศ ตะวัน ออก ติดตอ เทศบาล ตำบล แม โปง และ เทศบาล ตำบล ปา เมี่ยง ทิศ ใต ติดตอ เทศบาล ตำบล ป า ป อ ง ทิ ศ ตะวั น ตก ติ ด ต อ เทศบาล ตำบลลวงเหนือและเทศบาลตำบลหนองแหยง อำเภอ สันทราย มีประชากรตามฐานขอมูลของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ วันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2555 รวมทั้งสิ้น 73,571 คน แยกเปนชาย 3,607 คน เปน


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

หญิง 3,750 คน จำนวนบาน 2,923 หลังคาเรือน ประชากร ส ว น ใหญ ประกอบ อาชี พ ด า น เกษตรกรรม เชน ทำนา ทำสวน อาชีพอืน่ ๆ ไดแก อาชีพ รับจางทั่วไป รับราชการ คาขาย ที่นาสนใจคือ ประชากร มีความหลากหลายทางชาติพันธุ เชน ไทลื้อ ไทใหญ ไทเขิน ลัวะ ลื้อ และกลุมชาติพันธุ อาทิ ชาวเขาเผา ตางๆ ที่มีการเคลื่อนยายประชากรมาในพื้นที่พรอมๆ กับมูลนิธิ องคกรตางๆ ที่มาตั้งที่ทำการในเชิงดอยจึงมี ชาวตะวันตกมาอยูอาศั  ยจำนวนไมนอย รวมถึงชาวตะวัน ตกที่แตงงานกับคนไทย สภาพภูมิประเทศนั้น บางสวนเปนภูเขาที่มีปาไม สมบูรณ บาง สวน เปน ที่ราบเชิง เขา และ บางสวน เปน ที่ราบลุม มีคลองสงน้ำชลประทานจาก ‘เขื่อนแมกวง อุดมธารา’ ไหลผานและมีแหลงน้ำธรรมชาติหลายแหง ที่สำคัญ อาทิ หนองบัวพระเจาหลวง ลำน้ำแมดอกแดง และหนองน้ำแดง ลักษณะ ภูมิ อากาศ อยู ภาย ใต อิทธิพล ลม มรสุม ตะวันตกเฉียงใตและลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ โดย มี 3 ฤดูกาล ไดแก ฤดูฝน ฤดูหนาว และฤดูรอน ฤดู ฝน เริ่ ม ประมาณ กลาง เดื อ น พฤษภาคม ถึ ง ประมาณเดือนตุลาคมของทุกป โดยรับอิทธิพลจากลม มรสุม ตะวัน ตก เฉียง ใต ที่ พัด มา จาก มหาสมุทร อินเดีย

17


18 àªÔ§´ÍÂ

ทำใหเกิดฝนตกชุกโดยทั่วไป ฤดูหนาวเริ่มประมาณกลางเดือนตุลาคมไปจนถึง ประมาณเดือนกุมภาพันธของทุกป โดยไดรับอิทธิผลจาก ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งพัดมาจากประเทศจีน นำความแหงแลงและหนาวเย็นมาสูพื้นที่ ฤดู รอน เริ่ม ประมาณ เดือน กุมภาพันธ ไป จนถึง กลาง เดื อ น เมษายน เป น ช ว ง เปลี่ ย น ผ า น ของ มรสุ ม ตะวั น ออก เฉี ย ง เหนื อ ไป เป น มรสุ ม ตะ วั น ตก เฉีย ง ใต อากาศชวงนี้คอนขางรอน นอกจากนี้บางครั้งยังมีลมพายุจร พายุหมุนเขต รอน และ ดีเปรสชั่น พัด มา จาก ทะเลจีนใต ทำให ฝน ตกหนักในชวงประมาณเดือนสิงหาคมและกันยายนของ ทุกป ตำบลเชิงดอย มีจุดเริ่มจากการเปลี่ยนแปลงจาก สภาตำบลเปนองคการบริหารสวนตำบลเชิงดอย เมื่อป 2539 ตามพระราชบัญญัตสภา ิ ตำบลและองคการบริหาร สวนตำบล พ.ศ. 2537 และมีการพัฒนาตำบลอยาง ตอเนื่อง จนกระทั่งยกฐานะเปนเทศบาลตำบลเชิงดอย ในป พ.ศ. 2551 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งองคการบริหารสวนตำบลเชิงดอยยกฐานะมาเปน เทศบาลตำบลเชิงดอย ลงวันที่ 17 กรกฎาคม 2551 การ เลือก ตั้ง สมาชิก สภา เทศบาล ตำบล เชิง ดอย


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

แบงออกเปน 2 เขต มีสมาชิกสภาเทศบาล จำนวน 12 คน โดยแตละเขตแบงไดดังนี้ เขต 1 ประกอบดวย หมู 1 บานแมดอกแดง หมู 2 บานโพธิทอง ์ เจริญ หมู 4 บานปาคา หมู 11 บานกิ่วแล หมู 12 บานปทุมนิเวศน และหมู 13 บานหนองบัวพัฒนา มีสมาชิกสภาเทศบาลจำนวน 6 คน เขต 2 ประกอบดวย หมู 5 บานเกาะ หมู 6 บาน สันอุม หมู 7 บานรองขี้เหล็ก หมู 9 บานปาสักนอย และ หมู 10 บาน ปา ไผ ศรี โขง มี สมาชิก สภา เทศบาล จำนวน 6 คน

19


01 ĎėĨğĦėüĥĈõĦėİċĜĎĦęĉħĎęİþĨûĈġĖ 02 ĜĦęĦĞėʀĦûĞĬö 03 õĦėĞėʀĦûİġõĔĦĒijčõĦėüĥĈõĦėþĬĕþč 04 õġûċĬčĞěĥĞĈĨõĦėþĬĕþčĉħĎęİþĨûĈġĖ 05 ĜĭčĖʃĒĥĆčĦøėġĎøėĥěijčþĬĕþčĉħĎęİþĨûĈġĖ 06 ėʀĦčøʀĦþĬĕþčĎʀĦčõĨĸěıę 07 ĜĭčĖʃĒĥĆčĦİĈķõİęķõěĥĈďċĬĕĞėĦėĦĕ 08 ĜĭčĖʃėʀġĖĞĦčûĦčĜĨęďɾIJėûİėĩĖčĎʀĦčėʀġûöĩĹİğęķõ 09 ĞĔĦİĈķõıęĤİĖĦěþčİċĜĎĦęĉħĎęİþĨûĈġĖ 10 ĜĭčĖʃõĦėĞĦČĦėćĞĬöĕĭęĄĦčþĬĕþč 11 ċħĈĩijğʀıĕɿĈĭ 12 þĕėĕďʅʈčüĥõėĖĦč 13 ġĬʀĖĞġčğęĦč 14 ĔĭĕĨďʅāāĦğĕġİĕīġû 15 ĞīĎĞĦčĜĨęďĤęʀĦččĦ þĕėĕĈčĉėĩĎʀĦčďɺĦĴĐɿĜėĩIJöû

16 ĜĭčĖʃĎėĨõĦėıęĤõĦėĊɿĦĖċġĈİċøIJčIJęĖĩõĦėİõĝĉė 17 ĜĭčĖʃõĦėİėĩĖčėĭʀİõĝĉėġĨčċėĩĖʃ 18 õęĬɿĕöʀĦěþĬĕþč 19 ıõʁĞþĩěĔĦĒ 20 İõĝĉėĐĞĕĐĞĦč 21 İõĝĉėĒġİĒĩĖû 22 ĜĭčĖʃğĥĉĊõėėĕĞĉėĩıĕɿĎʀĦčõĨĸěıę õĦėĐęĨĉĉĬʁõĉĦþʀĦûĈěûĈĩ

23 õęĬɿĕğĥĉĊõėėĕüĥõĞĦčđɷĕīġĎʀĦčďċĬĕčĨİěĜčʃ ğĥĉĊõėėĕĴĕʀĴĐɿ

24 õęĬɿĕıďėėĭďİøėīĸġûĈīĸĕþčĨĈĐû 25 õęĬɿĕüĥõĞĦčĴĕʀĴĐɿ 26 čĹħöʀĦěõęʀġûûġõ

20 àªÔ§´ÍÂ

6 13 25

8

7 24

15

11

9

12

5

20

21


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

21

4

26

1-3 17

9 5

1

19

20

2

13

23

10

14

12

11

22

17

6

7

16

18


22 àªÔ§´ÍÂ

03 àªÔ§´Í¹‹ÒÍÂÙ‹


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

ดวย ลักษณะ ทาง กายภาพ ของ เชิง ดอย ที่ ดู เหมือน ทั้ง เมือง และ ทั้ง ชนบท การผสมผสานของความแตกตาง หลากหลายนี้ เปนโจทยยากในการจัดการบริหารให ชุมชนเกิดความนาอยู ความ นา อยู อัน เปน นามธรรม นี้ จุด รวม ของ คน ทัง้ หมดนัน้ อยูตรง  ไหน เพราะแมแตคนหนึง่ คน ครอบครัว หนึ่งครอบครัว ก็ยังมีความแตกตางในตัวเอง คำตอบ เหลานี้อาจจะอยูที่เรื่องของอาชีพการงาน อาหารการ กิน เรื่องของความมั่นคงปลอดภัยในชีวิต หรือแมกระทั่ง เรือ่ งของการสรางรายได ซึง่ อาจเปนตัวเชือ่ มใหคนทุกคน มีจุดรวมกันก็เปนได ไป หา คำ ตอบ กั น ว า คน เชิ ง ดอย นั้ น เขา ทำ กั น อยางไรใหเปนเมืองนาอยูสำหรับทุกๆ คน

3.1 พบเจาบานและความหมายของศูนยพัฒนา ครอบครัวในชุมชนตำบลเชิงดอย บรรยากาศยามเชาตรูตนฤดูฝน หนาที่ทำการเทศบาล ตำบลเชิงดอย ฟาสะอาดดวยฝนที่ตกอยางหนักตั้งแต ดึกคืนวาน หมอกบางๆ กระจายจับความรูสึกนุมใหชุม ชืน่ ใจ การเดินทางดวยรถทัวรจากหมอชิตกวา 12 ชัว่ โมง ไมไดทำใหเมื่อยลานัก ดวยรถวีไอพี 24 ที่นั่งเอนหลัง หลับสบายของบริษัทขนสง พรอมบริการเสิรฟอาหาร

23


24 àªÔ§´ÍÂ

บนรถไมตองแวะจอดพักที่ไหน เวนแตพักรถ 15 นาที ที่ กำแพงเพชร ทำให การ เดิน ทาง เปน ไป อยาง สะดวก รวดเร็วและราบรื่น หลั ง ทราบ ว า นายก เทศมนตรี เทศบาล ตำบล เชิงดอยนาม มงคล ชัยวุฒิ มักมาทำงานแตเชาตรู ทำให ยัยงพอมเวลาเหลอสำหรบ งพอมีเวลาเหลือสำหรับเดินเลนชม วิ ว ทิ ว ทั ศ น สัสั ก พั ก ใหญ ให ๆ ก อ น ที่ จะ เตรียมมตัตัว เขา พบ เจาของ บาน จะเตรี คนสำคัญ นา ยกฯ มงคล ย เดินทาง ทางมมาถึงและเชิญ ให เข เขาไป พูด คุย กันใน หองงทำง ทำงาน แมบาน เสิ ร ฟ กาแฟ ก มา วาง ตรง หนา ซดไอรอน ตรงหน และ และคความขมปร า เข า ร า งกาย แล ว ก็ ยิงคำถาม คำถา ใสนายกฯ ทันที “ ผ ม เ ป น ค น พื้นที่” นา น ยกฯ มงคล บอก “เกิดที่หมู 1 จบ ประถม ประถมแและ มั ธ ยม ที่


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

โรงเรียนดอยสะเก็ดวิทยาคม จากนั้นก็เรียนนิติศาสตร รามคำแหง รหัส 25 จบมาผมก็ฝกงานเปนทนายความ อยู 2-3 ปที่กรุงเทพฯ กอนจะทำงานบริษัทเอกชนอีก หลายป จนถึงป 2538 ผมก็กลับบานมาทำการเกษตรกับ ครอบครัว ปเดียวกันผมก็ทำคิวรถดอยสะเก็ด-เชียงใหม เปนประธานกองทุนหมูบาน ถัดมาก็เปนเลขาสหกรณ ออมทรัพยและกรรมการในป 2539 “พอ ขึ้น ป 2543 มี การ เลือก ตั้งสมาชิก อบต. ครั้งแรก ผมลงสมัครและไดรับเลือกเปนสมาชิก อบต. หมู 1 จาก นั้น ป 2547 ผม ตัดสิน ใจ ลง สมัคร นายก องคการบริหารสวนตำบลในฐานะคนรุนใหมที่ตองการ ทำงาน ให มากกวา คน รุน เกา ที่ คิด แต สราง ถนน สราง อาคาร ผมไดรับเลือกหนนั้นเปนครั้งแรกที่มีการเลือกตั้ง นายกฯ โดยตรง และสมัยตอมาป 2551 ผมก็ไดรับเลือก อีกครัง้ โดยแนวคิดในการทำงานของผมก็คือ คนในพืน้ ที่ เดียวกันตองรักกัน สมัยนี้การเมืองเขมขนขึ้น มีปญหา

25


26 àªÔ§´ÍÂ

ความไมเขาใจ ความแตกแยก แบงพรรคแบงกลุม เกิดขึน้ ใน หมู ชาว บาน ซึ่ง เปน เรื่อง ที่ ผม พยายาม แกไข และ ทำความเขาใจกับชาวบานมาโดยตลอด” เมือ่ ถูกถามถึงสิง่ ทีวาด ่ หวังสูงสุดในฐานะผูน ำทองถิน่ นายกฯ มงคลตอบวา “ความพอใจและความสุขของคนใน พื้นที่คืองานของผม เพราะทีนี่ ่คือบานของผม” เมื่อ ถาม ถึง แนวคิด ใน การ บริหาร จัดการ ชุมชน นายกฯ ตอบอยางมั่นใจและชัดถอยชัดคำวา “ภายใต แนวคิด ที่ ให ชุมชน ดูแล กันเอง ผม บอก พี่ นอง ของ ผม เสมอวา เราจะดูแลกันและกัน ตั้งแตตั้งครรภจนถึงเชิง ตะกอน” นายกฯ ยิ้ม “และนี่คือหลักที่ใชในการจัดตั้ง ‘ศูนยพัฒนาครอบครัวในชุมชนตำบลเชิงดอย’ ของเราดวย ตั้งแตระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน เราจะชวยเติม เต็มในสวนที่ขาดที่รัฐเขาไมถึง โดยอาศัยวิธการ ี ทำงานที่


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

รวมมือกับหนวยงานตางๆ ในพื้นที่ใหเกิดโครงการเพื่อ แกไขปญหาของพื้นที่ ดังจะไดพบเห็นในเชิงดอยของเรา รวมทัง้ จะตอบคำถามทีว่ า ทำไมเชิงดอยของเราถึงนาอยู เราไดสรางสรรคอะไรและวิธการ ี ใดทีทำให ่ คนเชิงดอยไม เกิดความแตกแยกและอยูรวมกันไดอยางมีความสุข” กับคำถามตอมาวา มีโครงการใดบางทีศู่ นยพัฒนา ครอบครัวฯ ทำแลวประสบผลสำเร็จ “ยกตัวอยางชวงเดือนพฤษภาคมของปที่ผานมา เราจัดโครงการสรางวินัยเชิงบวก เพื่อสรางความรูความ เขาใจที่ถูกตองในการอบรมเลี้ยงดูเด็กและเยาวชนในยุค ปจจุบันใหกับกลุมเปาหมาย ซึ่งก็คือผูปกครองเด็กของ ศูนยเด็กเล็กฯ เพื่อใหพวกเขานำไปถายทอดกับคนอื่นๆ และเอาไปใชสอนลูกสอนหลานสอนเด็กใหรูจ กั สรางวินยั เชิงบวกได เราทำอยางนี้ก็เพื่อเปนการสรางเครือขาย ความรวมมือในการคุมครองเด็กและครอบครัวระหวาง หนวยงานทองถิ่นและชุมชน โดยมีครูพี่เลี้ยงและผูชวย ครูศูนยเด็กเล็กฯ กับคณะทำงานศูนยพัฒนาครอบครัวฯ เขารวมในการอบรมครั้งนี้” น้ำเสียงที่ฉะฉานแตเปนมิตร รอยยิ้มที่ฉีกกวาง แตจริงใจ ทาทีคลองแคลวแตสภุ าพ เปนบุคลิกประจำตัว นายกเทศมนตรีเชิงดอยทีชื่ ่อ มงคล ชัยวุฒิ ผูนี ้

27


28 àªÔ§´ÍÂ

3.2 โฮมสเตย อากาศทีเย็ ่ นสบายของเชิงดอย ทำใหโฮมสเตยแตละแหง นาอยูอยางไมตองสงสัย “กิ๋นขาวเชาเจา” ปาเจาของโฮมสเตยที่ผมเขาพัก อาศัยชวนรับประทานเชา มองดูขาวเหนียวจานโต แกงฮังเล ลาบหมู ผัด เห็ด ถอบ แกลม กับ แคบหมู และ ปา ยัง ให ลาง ปาก ดวย ขนมเทียน เต็มโตะอาหารอยางนี้แลว ตองแอบคิดในใจ วา กินใหหนักทองเขาไวก็คงจะดี กอนจะเดินหนาลุย หาคำตอบตอไป

3.3 กองทุนสวัสดิการชุมชน อาคารสำนักงานไมจำเปนตองมีที่ตั้งเปนหลักเปนฐาน ขอ เพียง แค มี คน ทำงาน และ สมาชิก ที่ มั่นคง จาย ตรง


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

ไมมีปญหา นี่คือเรื่องที่ประธานกองทุนสวัสดิการชุมชน บอก กับ เรา เมื่อ ถึง เวลา ประชุม แตละ ครั้ง คอย จัดหา สถานที่กัน แตตัวกองทุนจริงๆ อยูทีหมู ่  2 บานโพธิ์ทอง เจริญ ภายใตการนำของ ร.ต.สิทธิศักดิ์ เมืองจันทร ซึ่ง บอกเลาถึงจุดกำเนิดของกองทุนวา “จากการที่มีหนวยงานจากภายนอกมาใหความ รูเรื่องการออมวันละบาทแกผูสูงอายุในชุมชน ตอนนั้น นายกฯ มงคล ก็ ใหการ สนับสนุน จัด ให มี การ ประชุม แกน นำ ชุมชน ให ได รับรู ถึงวิธี การออม พวก เรา ก็ เกิด ความสนใจ” ประธานบอก “เราเริม่ ทดลองดวยการออมวันละบาทรวมกับผูส งู อายุทั้งหลายที่หมูบานโพธิ์ทองเจริญกอน ก็ประสบผล สำเร็จดีเกินคาด มีคนสมัครกันมาก” ประธานบอก กอน จะเสริมตอวา “พอไดผล ก็เกิดแนวคิดในการจัดตั้งให

29


30 àªÔ§´ÍÂ

เปนหลักเปนฐาน จึงคิดตัง้ เปนกองทุนขึน้ มาแลวใชชือ่ วา กองทุนสวัสดิการชุมชน โดยไปขึ้นทะเบียนกับกระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย จากนั้นเรา ก็ประชุม วันประชุมครั้งแรกมากันเยอะครับ” ประธาน เลาอยางตื่นเตนพลางผายมือใหเห็น “หองประชุมที่ผม กับคุณคุยกันวันนี้ ก็ใชประชุมกันวันนั้น” มองไปรอบๆ หอง คาดคะเนดวยสายตาหองนี้ สามารถจุคนไดรวมรอยคน “เรา ตกลง กันวา จะ ให สมาชิก รวม กัน ออม วัน ละ บาท มีการจัดการในรูปแบบคณะกรรมการ มีสวัสดิการ แกสมาชิก รวมทั้งสนับสนุนกิจกรรมและการชวยเหลือ คนในชุมชน แตละหมูบานตั้งตัวแทนของตนเพื่อดำเนิน งานภายในหมูบาน” ประธานบอก “สำหรับสวัสดิการที่เราจัดใหแกสมาชิกทุกคนคือ สำหรับเด็กแรกเกิดจะไดรับเงินคนละ 500 บาท แมเด็ก ได 500 บาทดวย แตตองเปนสมาชิกครบ 6 เดือนกอน” ประธานย้ำ “ถาเปนสมาชิกครบ 6 เดือนแลวเกิดเจ็บปวย ขึ้นมา เรามีคาพักรักษาตัวใหทันที แตหากเปนสมาชิก เกิน 1 ปขึ้นไปก็จะไดรับสวัสดิการสูงขึ้น กรณีเสียชีวิต ก็เชนเดียวกัน รวมถึงผูทีเป ่ นสมาชิกครบ 25 ป ก็จะได เงินเดือนละ 300 บาท ซึ่งเปนตามอัตราทีกำหนด ่ หรือ หากอายุครบ 60 ป และเปนสมาชิกตั้งแต 15 ปขึ้นไป


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

ก็จะไดเดือนละ 100 บาท เปนตน อันนี้เปนกติกาที่เรา กำหนดไวใหแลว โดยสวัสดิการเหลานี้จะมีการพัฒนา เพิ่มเติมตอไปในอนาคต” การมีกองทุนทำใหคนในชุมชนไดประโยชนอื่นใดอีกบาง “นอกเหนือจากการสอนใหมีวินัยในการออม ยัง ไดพึ่งพาอาศัยกัน รูจักใชเวลาวางใหเกิดประโยชนและ เกิดกลุมจิตอาสาเยี่ยมบาน ดูแลสมาชิกที่เจ็บปวยและ พิการ ขอนี้เห็นชัดเจน” “นานวันเขาทำใหคนในชุมชนไดมีความรักความ สามั ค คี กั น และ กั น โดย เฉพาะ สิ่ ง ที่ สำคั ญ ที่ สุ ด คื อ หลายคน ทำ ดวย ใจมา กก ว า จำนวน เงิ น เหตุ นี้ ทำให กลุม ของ เรา ดำเนิน มา ดวย ดี โดยตลอด” ทุ ก วั น นี้ ยั ง เก็ บ วั น ละ บาท ตอเนื่องสม่ำเสมอ? “ครั บ แต เรา เก็ บ เป น เดือน เดือนละ 30 บาท เก็บ ทุ ก วั น ที่ 15 ของ เดื อ น ให กรรมการที่มีในแตละหมูบาน ไปเก็บรวบรวมมา”

31


32 àªÔ§´ÍÂ

หาสมาชิกเพิ่มอยางไร “เอาแบบสมัครใจครับ ไมบังคับใหสมัครกัน ตอนนี้ เรามีสมาชิกทั้งหมด 800 กวาคนแลว และยังมีสมาชิก แรกเกิดอีก 3 คน” ประธานยิ้มอยางภูมิใจ

3.4 รานคาชุมชน เอาละ ทำความเขาใจกับสังคมของเชิงดอยทีมี่ สวัสดิการ เปนหลักประกันแลว ฟงดูนาสนใจสำหรับใครคนหนึ่งที่ จะเลือกใชชีวติ ทีนี่ ่ ทวาในการดำรงชีวติ ประจำวัน จะเขา รานคาไหน เลือกซือ้ ขาวของเครือ่ งใช อาหารแหง อาหารสด ในแตละวันละ มีเสียงบอกมาวา “มีเจา จะพาอายไป” แลว เรา ก็ มา ยืน อยู หนา ราน คา ที่ เขา เรียก กันวา ‘รานคาชุมชน’ รานแหงนี้ตั้งอยูที ่หมู 11 บานกิ่วแล หลัง จากเลียบๆ เคียงๆ เดินวนอยูทั้งหนารานและหลังราน แลว (จนคนในรานและลูกคาหันมามอง) เพราะอยาก สังเกตการณสภาพการประกอบกิจการสักพัก ทีส่ ดุ ก็แวะ เขาไปซื้อน้ำดื่มขวดหนึ่งและขนมปงกรอบถุงหนึ่ง รวม ราคาแลว 13 บาท รอ พี่สมพิศ ศรีฟาเลื่อน ผูดูแลราน วางจากลูกคาแวบมาคุยดวย “ไกลคะ” เปนคำตอบสั้นๆ แตไดใจความสมบูรณ


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

เมื่อถามวาทำไมตองเปดรานคาชุมชนแหงนี้ “กลุมแมบานจะซื้ออาหารสดอาหารแหงแตละที ก็ตองไปดอยสะเก็ดโนน จะซื้อทีละเยอะๆ ก็ตองไปถึง ในเวียง (เมือง)” แลวใครเปนเจาของรานคาชุมชนนี้ “เปนของทุกคนคะ แรกสุดยืมเงินเทศบาลสมัยทียั่ ง เรียกวา อบต. นายกฯ มงคลใจดีใหมา 50,000 บาท เรา ก็ระดมหุนกัน หุนละ 10 บาท คนหนึ่งถือไมเกิน 1,000 หุน อาคารนี้เดิมทีวาง อสม. ใชตอนประชุม เราก็เลยขอ มาทำเปนราน” มองไปรอบๆ ทำเลที่ตั้งก็ดูจะเปนศูนยกลางที่ดี อีกทั้งรมรื่นนาจะเปนที่ที่แมบานรวมตัวกันพักผอนพูด

33


34 àªÔ§´ÍÂ

คุยกันไดในตอนเย็น “ขายดีไหม” ถามตอ “ขายไดคะ เราขายถูกกวารานคาทัว่ ไป แถมยังเชือ่ ไดดวย มีปนผลอีกตางหาก” แบบเดียวกับสหกรณ? “คะ แตเราไมไดจดเปนสหกรณ” มองดูพีใน ่ รานอีกคนชือ่ พีอมรา ่ กำลังคิดเงินลูกคา ดวยความเชี่ยวชาญ สามารถจำรหัสลูกคาไดทันทีทีเห็ ่ น หนา แถม บวก ลบ เสร็จ สรรพ ก็ จด ลง สมุด บันทึกอยาง แคลวคลอง “เรายังใชระบบมือและสมองจำเอาคะ ไมตองพึ่ง ระบบบันทึกในคอมพิวเตอร” พี่สมพิศหัวเราะรา เมื่อถามถึงความมั่นคงของกิจการ พี่สมพิศตอบ อยางมัน่ ใจวา “เกิดจากการรวมตัวกันของคนในชุมชนอยู ไดก็เพราะคนในชุมชน หากคนในชุมชนวันหนึ่งไมเอา พวกเราก็ตองเลิก แตเชือ่ วาคงไมเกิด นียั่ งดีนะพวกเซเวน มันยังมาไมถึง พูดถึงเซเวน เห็นเด็กๆ ชอบสะสมแสตมป แลกของกัน เราก็ทำมั่ง ซื้อเทานี้ไดลดเทานี้ ซื้อชิ้นนี้ได แถมชิ้นนั้น แบบซื้อ 1 แถม 1 อยางหางในเวียงเราก็มี เหมือนกันนะ ทันสมัยมั้ย” พีสม ่ พิศพูดประโยคอมตะกอนจากมา “คนเรามัน ตองรูจักปรับตัว”


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

3.5 กลุมขาวชุมชน คนเราตองกินขาว ชุมชนเชิงดอยมีคนกลุมหนึ่งใหความ สำคัญกับขาวที่กินเขาไป เพราะเขาทำมาหากินกับ ‘ขาว’ มาตั้งแตบรรพบุรุษ ‘กลุม ขาวชุมชน’ ตัง้ อยูหมู   13 บานหนองบัวพัฒนา เปนการรวมกลุมกันเพื่อแกปญหาตางๆ ตั้งแตเรื่องน้ำ เรื่องปุย เรื่องถูกกดราคาขาว ฯลฯ อภิชยั อินทนาม ในฐานะวิทยากรประจำกลุม เลา ใหฟงวา “เริม่ ตนตัง้ แตป 2542 เรามีปญหาเรือ่ งการปลูก คือวาพันธุขาวไหนปลูกแลวราคาดีก็เฮโลกันปลูก อยาง ตอนนัน้ พันธุ กข 6 ราคาดีมากก็ปลูกกันใหญ พอมีมากก็ ถูกพอคากดราคา บวกกับยิง่ ปลูกยิง่ ไดปริมาณตอไรนอย ลงๆ เรือ่ ยๆ ก็หันมาใชปุย เคมีกัน ยิง่ ใชดินก็ยิง่ เกิดปญหา

35


36 àªÔ§´ÍÂ

ก็วนไปวนมาอยางนีเป ้ นวัฏจักร เราก็เลยเกิดความคิดจับ กลุม กัน อยางนอยก็ไมถูกกดราคา ชวงไหนพอคาใหราคา ต่ำ เราก็ไมขาย หรืออยางเรื่องปุย เราก็ลงขันกันซื้อปุย ในชวงที่ไมไดทำนา เพราะราคาปุยจะถูก ยิ่งถาซื้อมาก ก็ไดราคาถูก เราก็ลงขันกันแลวซื้อเก็บตุนไวเยอะๆ ใคร ตองการใชปุย ก็เบิกไปใชกอนคอยเก็บเงินทีหลัง การรวม กันเปนกลุมตอนแรกก็แกปญหาตางๆ ไดดีระดับหนึ่ง” นั่นเปนภาพรวม พีอภิ ่ ชัยลงในรายละเอียดตอ “เรื่องขาว ปุย น้ำ ดินนี่แยกกันไมออกครับ” พี่ อภิชัย บอก “กลุม เรา ให ความ สำคัญ กับ สาย พันธุ ขาว เพราะเราตองการขายขาวทีเป ่ นเอกลักษณและเหมาะสม กับทองถิ่นของเรา เรียกวาอยากไดขาวที่เปนขาวประจำ ถิ่น ของ เรา เอง เรา รวม กับ ศูนยวิจัย ขาว เชียงใหม และ มหาวิทยาลัยแมโจ ปรับปรุงพันธุขาว กข 6 ซึ่งเปนขาว ไวแสงและขาวนาปใหดียิ่งขึ้น” คำวาดีของพี่อภิชัยก็คือวา ทนตอโรคขอบใบแหง ทวาไมใชความทนทานตอโรคอยางเดียวที่ทางกลุมให ความสำคัญ แตยังมุงไปที่เรื่องการพัฒนาพันธุขาวด วย โดยพยายามคัดพันธุใหปลูกไดทั้งนาปและนาปรัง รวม ทั้งปลูกทดสอบรวมกับพันธุสันปาตอง 1 เพื่อศึกษาหา สายพันธุ กข 6 ที่ไมไวตอแสง เมื่อถามถึงสมาชิกในกลุมและพันธุขาวใดที่ปลูก กัน พีอภิ ่ ชัยตอบวา “มี 30-40 ครัวเรือน ขาวที่เราปลูกก็


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

มีพันธุ กข 6 สันปาตอง 1 แลวก็พันธุดอกมะลิ 105 ซึ่ง ดอกมะลิ 105 เปนสายพันธุข าวราคาดี แตเราก็พยายาม เฉลี่ยกัน ขอความรวมมืออยาปลูกเหมือนๆ กัน” ครั้น ถาม เรื่อง การ ใช ปุย อินทรีย ก็ได รับคำ ตอบ วา “เราใชปุยอินทรียก็เพราะการใชปุยเคมีมานาน เปน สาเหตุใหดินเสีย เจ็บปวย ใชปุยอินทรียนี่ราคาถูกกวา มาก แตผลผลิตก็ไดนอยลง เราถึงยังใชทั้งปุยเคมีและ ปุยอินทรียกันอยู “ทีนี้พอทำไปเรื่อยๆ ก็เกิดความคิดจะอนุรักษวิถี ชีวิตชาวนาและการทำนาใหคนรุนใหมไดฝกทำนาอยาง ตอเนื่อง เราไมรังเกียจพวกเทคโนโลยี อยางเชนรถไถนา

37


38 àªÔ§´ÍÂ

เครื่องจักรกลตางๆ ในการทำนา เพียงแตเราตองรูจักใช ใหเปน” พีอภิ ่ ชัยเวนจังหวะกอนจะพูดตอวา “สวนเรื่อง การใชน้ำ เมื่อกอนนี้ก็มีปญหามาก ป 2552 นี่แทบฆา กันตายเพราะแยงน้ำกัน เราอยูตนน้ำก็พยายามจัดการ จนไดผล เพราะเรามีกฎระเบียบการปรับโทษที่รุนแรง และเอาจริง” การรวมตัวกันเปนกลุมกอนยอมมีผลดีมากกวา ผลเสีย นอกจากการรวมตัวกันแลวกลุมขาวชุมชนยังคิด ไปไกลถึงเรื่องการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตใหดีขึ้นและการ สรางรายไดที่มากขึ้น ทางหนึ่งของคุณภาพชีวิตก็คือการ ใชปุยอินทรีย โดยคำนึงถึงคุณภาพของผลผลิตที่มีกอให เกิดมูลคา ทำใหเกิดความพยายามที่จะคัดสายพันธุที่ดี ที่สุดเพื่อจะปลูกขาวไดทั้งนาปและนาปรัง ขาวชุมชนที่ปลูกดวยปุยอินทรียจึ งเปนคำตอบ

3.6 ศูนยเรียนรูเกษตร  อินทรีย ดูเหมือนทุกวันนี้จะไมมีใครไมรูจักเกษตรอินทรีย โดย เฉพาะคนทีเกี ่ ย่ วของและทำงานเกีย่ วกับชุมชนทีเชิ ่ งดอย แหงนี้ ลุง เจริญ ยก คำ จู เคย ผจญ กับ ทุกข ภัย จาก การ ใชปุยเคมีมากอน เคยมีปญหาดานสุขภาพ เรื่องตนทุน ปุยที่สูงขึ้นๆ ปญหาดินเสื่อม จนกระทั่งแมลงทั้งหลาย


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

ดื้อยา ลุงเจริญพบวา การใชปุยเคมีสรางแตปญหา จน หาทางออกไมได “ลุ ง เคย ทำงาน ที่ สวน ผล ไม ขนาด ใหญ ทำ มา หลายปจนไดเปน ผูจัดการ เรื่องการใชปุยเคมีใชยาฆา แมลง ลุงอยูกับพวกนี้ทุกวันจนช่ำชอง แตพอนานเขาก็ ไมไหว รางกายแยลงทุกวันๆ สุดทายก็เริ่มปวยเลยตอง ขอลาออกเพื่อกลับบานไปพักรักษาตัว และดวยความ เปนเกษตรกรจะไปทำอยางอื่นก็คงไมได จึงหันมาทำนา แตการทำนาก็ยังหนีพวกปุยและสารเคมีไมพน ทำนาได กำไรเทาไหรก็หมดไปกับคายาคาปุย แลวลุงก็ปวยอีก” เจริญเลาที่มาแตหนหลัง ลุงเจรญเลาทมาแตหนหลง จน กระทั่ ง ป 2540 ลุงเจริญไดเเปปนสมาชิก อบต. ะปมมักั มีกการ อบรม ซึง่ แตละป ารอบรม สั ม นา เป น เรื่ อ ง ปกติ ตอน อบรมเรื่อง ตอนนันั้นลุงไป ไปอบรมเรื เกษตร เกษตรอิอินทรีย ลุงสารภาพ วา “ก็ไป ไปงังั้นๆ แหละ ไมคิคดิ เกษตรอินทรียจะ แก วาเกษตรอิ จ ะชชวยยแก ปญหา ใหได หาให ได”

39


40 àªÔ§´ÍÂ

เมื่อกลับมาวันหนึ่งก็คิดวาในเมื่อมองไปทางไหน ก็หาทางแกไมได ลุงเจริญจึงเปลี่ยนวิธีคิดใหม “ไหนๆ ก็ ไปดูงานมาแลวก็ตองลงมือทำดูสักครั้ง” ลุงเจริญเริม่ ตนทดลองบนทีนา ่ 1 ไรของตัวเองกอน ระยะแรกก็ไมมั่นใจ แตปรากฏวาไดผล ผลผลิตไมไดลด ลงไปกวาเดิม แตตนทุนจากปุยแทบไมมี ลุง ชี้ มือ ไป ยัง ที่ นา ซึ่ง ตั้ง อยู บริเวณ ดาน ขาง ศูนย เรียนรูเกษตร  อินทรียแลวเลาตอไปวา “พอทดลองทำบน ทีนา ่ ของตัวเองไดผล ลุงก็อยากเผยแพร แตไมมใคร ี สนใจ เมื่อกอนไมไดอุดมสมบูรณอยางที่เห็น มองไปทางไหนก็ มีแตทราย หญาสักตนยังไมขึ้น ปลูกอะไรไมไดเลย ไมวา ใครก็ไมคิดวาจะปลูกอะไรขึน้ แตสุดทายลุงก็พิสจู นใหทุก คนเห็นวาปลูกได คุณดูสิ” มองตามไปยังจุดทีลุ่ งเจริญชี้ นาแปลกใจกับสภาพ ตนไม ใบ หญา ดิน ที่ รวน ซุย ไม อยาก เชื่อ ที่ ลุง บอก วา ครั้งหนึ่งเคยเปนดินทรายและเต็มไปดวยฝุนแหงๆ ลุ ง มี เทคนิ ค อย า งไร ถึ ง ชุ บ ชี วิ ต ผื น นา ขึ้ น มา ได แบบนี้ “ใชปุยพืชสดหรือปุยหมักนีแหละ ่ บำรุงดิน ใชหญา แฝกปลูกรอบๆ ตอนเริ่มปลูกขาวใหมๆ ขุดดินลึกลงไป กวาเมตรก็เจอแตทราย มีแตคนบอกวาลุงบาตอนคิดจะ ฟนสภาพดิน หรือไมก็บอกวาเสียเวลาเปลา แตเพียงป


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

เดียวลุงก็ทำสำเร็จ” ความมุงมั่นตั้งใจนำมาซึ่งความสำเร็จในการพลิก ฟนผืนดิน ป 2540 ลุงเจริญไดรางวัล ‘หมอดินดีเดน’ จังหวัดเชียงใหม หลังจากนั้นกิจกรรมตางๆ ที่ลุงเจริญ ลงมือทำก็ไดรางวัลตามมาอีกมาก ป 2546-2548 ลุง ทำ เอง แค คน เดียว จาก นั้น ชวง ป 2548 ตำบล เชิง ดอย ได รับเงิน กองทุน พัฒนา ศักยภาพของหมูบ า นและชุมชน หรือกองทุนเอสเอ็มแอล 250,000 บาท ลุง จึง ขอ อาศัย พื้นที่ ราง ของ โรงเรียน บานโพธิ์ทองเจริญ เพื่อนำมาสรางเปนศูนยเรียนรูตาม แนวเศรษฐกิจพอเพียง ลุง เจริญ เริ่ม ผลิต ปุย อินทรีย น้ำ และ น้ำ สมุนไพร ขับไล แมลง คุณภาพ สูง อยาง จริงจัง ที่ นี่ นอกจาก นี้ ยัง รวมกับ ‘กลุมพัฒนาอาชีพ’ ที่มีสมาชิกอยูกวา 30 คนใน หมูบาน รวมกันสกัดน้ำมันหอมระเหยจากยูคาลิปตัส ตะไครหอมไวขับไลแมลง ผลิตน้ำสมควันไม กำจัดกลิ่น เหม็น ปองกันเชื้อราโรคพืช และเปนอาหารเสริมของพืช ออกจำหนาย

41


42 àªÔ§´ÍÂ

แรก เริ่ม เดิมที การ ทำ แปลง พืช ผัก เกษตร อินทรีย ของศูนยเรียนรูตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงแหงนี้ยังไมมี ใครเขารวมอยางจริงจัง มีลุงเจริญคนเดียวทีตั่ ง้ หนาตัง้ ตา ทำเพียงลำพัง “ลุงก็ใชเนื้อที่ในโรงเรียน 3 แปลง ปลูกถั่วฝกยาว มะเขือ ผักบุง โดยใชปุย หมักเปนอาหารพืช ใชน้ำสมุนไพร ขับไลแมลง สามเดือนผานไปจากทีไม ่ มคน ี เขารวมก็กลาย เปน 19 คน แตหกเดือนแรกเรายังไมไดไปขาย ปลูกไว กินกันเองของใครของมัน แปลงใครแปลงมัน “ตอมามีงานวัดก็เก็บเอาผักพวกนี้ไปชวยงานครัว ปรากฏ วา อยางถั่วฝกยาว มี คน กิน สดๆ บอก วา อรอย หวาน ทำไมจะไม หวานกรอบละ เพราะเราไม ใช สาร เคมี เย็นนั้นเลยมีคนเหมาพวกผักทั้งหลายไปจนหมด กลาย เปนวา มี คน ถาม หา จะ มา ซื้อ อยู ตลอด เวลา” ลุง เจริญบอก ทุกวันนี้มีสมาชิกกลุม 20 คน ลุงเจริญจัดสรรแบง พื้นที่ของโรงเรียนใหคนละ 2 งาน วิธีคิดวิธปลู ี กเอาตาม ความสมัครใจ ใครจะปลูกอะไร ทำอยางไรไดหมด มี กติกา 2 ขอ คือหามใชปุยเคมีและหามใชยาฆาแมลง “การทำเกษตรอินทรียใหไดนั้น ตองมีความตั้งใจ ตองรักตัวเองกอน อยาเอาเงินมาเปนตัวตั้ง อยาเห็นแก ตัว เราเปนเกษตรกร ไมใชเปนฆาตกร” ลุงเจริญบอก “ศู น ย การ เรี ย น รู แห ง นี้ ก็ เหมื อ น แปลง ทดลอง


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

เพราะใครจะทำอะไรก็ได จะปลูกเฉพาะในนี้เอาไปขาย หรือทดลองกอนจะไปปลูกในทีของ ่ ตัวเองก็ได ไมมใคร ี วา มาทำใหมๆ ลุงจะไมแนะนำอะไร แตจะเปนที่ปรึกษาให ทุกคนตองลองดวยตัวเองกอน ถึงจะไดรูจริ  ง” ลุงบอกหลักงายๆ ถึงพืชผักทีจะ ่ ปลูก “กินทุกอยาง ที่ปลูก ปลูกทุกอยางที่กิน” สำหรับรายไดในแปลง 2 งานของแตละคนนั้น “ถาไดวันละ 100 ก็นอยแลว เพราะแตละบานกินที่ตัว เองปลูก ไมตองซื้อเลย เหลือก็เอาไปขายไดอีก ถาขึ้นชื่อ วามาจากศูนยเรียนรูเกษตรอินทรีย มีแตคนรอซื้อ” ทุกวันนีลุ้ งเจริญมีหนาทีเป ่ นวิทยากรหมอดินอาสา ประจำ ตำบล เชิง ดอย เปน ผู คอย ถายทอด ความรู ดาน การพัฒนาที่ดิน ดานการปลูกพืชผักเกษตรอินทรียและ ผลิตภัณฑที่ใชในการปลูกพืชผักอินทรียอยางถูกตอง ดังนั้น แมที่นาของตัวเองจะมีเพียงแค 2 ไร แต ลุงเจริญกลับมีความภาคภูมิใจอยางใหญหลวงที่ไดเปน ผูชี้แนวทางที่ควรเดินใหแกผูอื่น

43


44 àªÔ§´ÍÂ

à´Ô¹ªÁá»Å§¾×ª¼Ñ¡à¡ÉμÃÍÔ¹·ÃÕ¢ͧ Èٹ พื ช ผั ก จาก ที่ นี่ ได รั บ การ รั บ รอง ถึ ง 5 มาตรฐานสำคัญ อันดับแรก Organic Thailand ตรา รับรอง โดยกรมวิชาการ เกษตร สอง คือ IFOAM รับรองโดยสำนักมาตรฐานเกษตรอินทรีย สามคือองคกรมาตรฐานเกษตรอินทรียภาค  เหนือ ที่สำคัญสุดจาก 2 องคกรหลังก็คือ มาตรฐาน เกษตร อินทรีย ของ สหรัฐอเมริกา และ มาตรฐาน เกษตรอินทรียของ  ยุโรป ทำใหพืชผักจากที่นี่สามารถเขาไปเสิรฟใน ราน อาหาร ใหญๆ โรง แรมหรูๆ ได ทั่วประเทศ สามารถขายไดในราคาสูง แถมยังมีผูมารับซื้อถึง แหลงเอง ฟงแลวนาอิจฉาคนเชิงดอยไมนอย แปลงผักลอมดวยหญาแฝก ปุย หมักแบบกอง (ไว) เติมอากาศเอง ชวงนี้ ฤดูฝน ตองกองไวในรม เสร็จแลวตักใสถุง เพิงสำหรับทำน้ำหมักไวใชเอง แปลง สาธิ ต ที่ ปลู ก ไว ด า น หน า ศู น ย การ เรียนรูเกษตรอินทรีย เปนตัวอยางพืชที่นำมาใช สกัดน้ำมันหอมระเหย


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

3.7 เกษตรพอเพียง วิ ถี ชี วิ ต ที่ พอ เพี ย ง และ เพี ย ง พอ ใน ความ เป น อยู ของ ชาวเชิงดอย มีตัวอยางสำคัญจากบุคคลผูหนึ  ง่ มาบอกเลา สภาพ ที่ เห็น ใน ปจจุบัน ตาง ไปจาก เมื่อ ป 2548 ‘ลุงบุญ’ ประสบปญหาเพื่อนบานถมทีสู่ งเพื่อเปดโรงงาน เซรามิค น้ำเสียจากโรงงานจึงมาลงที่สวนของลุงหมด สวนลุงเองก็ไมมีทางน้ำไหล มะนาวเสียหายทั้งหมด ลุง จึงตองถมที่ใหสูงเทากัน การทำสวนลุมๆ ดอนๆ จนอีก 4-5 ปตอมา เกิดโรคในสวนมะนาว ลุงบุญตัดสินใจใช สารเคมีสูกั บโรค แตก็เกิดกลิน่ เหม็นรบกวนเพือ่ นบานอีก จนลุงเองไมรจะ ู ทำอยางไร ลุ ง บุ ญ ได รั บ คำ แนะนำ จาก เกษตร อำเภอ เรื่ อ ง ‘ทฤษฎีใหม’ ของในหลวง ลุงจึงลองทำตาม ชวงเวลานั้น มะลิราคาดี ลุงจึงหันมาปลูกมะลิ โดยแบงครึง่ กับมะนาว อยางละ 2 ไร เพราะยังไมกลาเสี่ยงปลูกมะลิทั้งหมด คราวนี้ลุงไมใชปุยเคมี ไมใชยาฆาแมลง ปรากฏวามะลิ ไดผลดีเกินคาด สวนพื้นที่วางระหวางสวนมะนาวกับ สวนมะลิ ลุงก็ปลูกนั่นแซมนี่ เริ่มจากกลวย พริก และ แบงเปนพื้นที่ปลูกผักสวนครัวอีกสวนหนึ่งสำหรับปลูก คะนา กะหล่ำปลี รวมถึงกันพื้นที่เพื่อขุดเปนบอน้ำ ซึ่ง เปน หัวใจหลักของการทำเกษตรทฤษฎีใหม นับจากป 2542 เปนตนมา สวนของลุงบุญก็เปน

45


46 àªÔ§´ÍÂ

อยางทีเห็ ่ นเชนทุกวันนี้ ผลผลิตแตละชนิดผลิดอกออกผล ใหลุงบุญเก็บไปขายไดสม่ำเสมอ ทั้งไปขายเองและมีคน มารับซื้อถึงสวน ลุงเองก็มีสุขภาพดีขึ้น ไมเจ็บไมปวย และไมมีปญหากับเพื่อนบานอีกตอไป ลุง บุญ ยัง ปลูก ไม ยืนตน แทรก ใน สวน อยาง ตน สารภี ชวงสงกรานตดอกจะหอม เก็บดอกตากแหงขาย ได เปน กิโลๆ หรือ อยาง ผัก โขม ที่ ปลูก แซม ตาม ที่ วาง ก็สามารถพลิกแพลงเปนเมนูอาหารบนโตะ เพิ่มรายได อีกทางหนึ่ง “การทำเกษตรพอเพียงทำไมยากเลย เพียงแตเรา ตองอดทนและใจเย็น ลุงทำอยางนีตั้ ้งแตป 2542 สงลูก เรียนกรุงเทพฯ ทุกวันนี้ลูกเรียนจบแลว ทำงานบริษัท เอกชนใหญๆ ทำงานเมืองนอก ลุงไมตองหวงเลย ลุง ตื่นไปกาด (ตลาด) ตอนเชาทุกวัน เอามะลิไปขายเอง


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

สายๆ กลับบานมาดูนั่นดูนี่ในสวนของลุง ทุกอยางเก็บ กินเอง เหลือก็เก็บไปขาย ลุงสบายมากทุกวันนี้” ลุงบุญ บอกในตอนทาย หลังจากพาเดินชมบาน ขณะที่ภรรยา คุณลุงปอกมะมวงสุกหวานฉ่ำจากตนใหรับประทานสดๆ อยางอรอยลิ้น นี่คือแบบอยางชีวิตที่พอเพียงสมถะของลุงบุญ หนึ่ง ในวิถี คน เชิง ดอย ที่ ทุก คน ควร หา โอกาส ไป สัม ผัส เรียนรู

3.8 เกษตรผสมผสาน อายเกรียงศักดิ์ โชติ เจาของแหลงเรียนรูเกษตร ผสม ผสานของตำบลเชิงดอย ขุดบอเลี้ยงปลา จัดสรรพื้นที่ เลีย้ งไก เลีย้ งหมู เลีย้ งกบ ทำนา และปลูกสารพัดผัก เปน อีกหนึ่งตัวอยางของคนที่มุมานะในการลองผิดลองถูก ดวยตนเอง “เดิ ม ที ผม ทำงาน โรงแรม ราย ได ดี พอ สมควร ทำงานแตเชา ค่ำกลับบาน กินขาว นอนดูทีวี แลวก็เขา นอน เชาเปนแบบเดิม เสารอาทิตยพาลูกเมียไปเที่ยว หางสรรพสินคาในเชียงใหม กลับมานอนดูทีวี กินขาว เขานอน สิ้นเดือนไดเงินเดือนรอบใหมแลวก็วนไปเวียน มาอยางนี้มาตลอดกวา 10 ปที่ผานมา จนวันหนึ่งถาม ตัวเองวาจะใชชีวิตอยางนี้ไปตลอดอีกกี่ป นี่คือชีวิตที่เรา เลือกแลวหรือ คำตอบทีได ่ คือไมใช แลวผมควรทำอยางไร

47


48 àªÔ§´ÍÂ

ละ พอดีไดดูสารคดีเกี่ยวกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงของ พระเจาอยูหัว ผมตอบตัวเองทันทีวา ใช นี่แหละสิ่งที่ผม ชอบ” เขายกมือขึ้นพนมทวมหัวเมื่อกลาวถึงในหลวง อายเกรียงศักดิใน ์ วัยใกล 40 เลาถึงวิถชี​ี วติ ในอดีต และแรงบันดาลใจสำคัญที่ทำใหเขาเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต ไปอีกดาน “ผมเปลี่ยนทุกอยางไมไดหรอก นอกจากเปลี่ยน ตั ว เอง แล ว ผม ก็ เริ่ ม ต น เดิ น หน า เริ่ ม จาก ค น ข อ มู ล เกี่ยวกับทฤษฎีใหมในอินเทอรเน็ต จากหนังสือและศูนย เรียนรูตางๆ ทุกอยางเพิ่งเริ่มตนเมื่อป 2553 ที่ผานมา นี่เอง ผมทำทีละอยาง ยังไมไดลาออกจากงานดวยซ้ำ ผมเริม่ เลีย้ งปลานิล ปลาทับทิม ก็บอกตัวเองวาเราจะทำ อยางสนุกๆ พอดีเกิดน้ำทวม เสียหายหมด ไมเปนไร ผม บอกตัวเอง พอน้ำลดผมก็เริม่ ใหม ทีนขุี้ ดบอแลวเลีย้ งกบ เพิ่ม หัดทำนาดวย แลวก็ปลูกผัก ทำปุยคอกเอง” เมื่อถามวายากไหม สำหรับการเริ่มตนอยางนี้ กับ การใชชีวิตที่ดูเหมือนจะเปนคนเมืองเต็มตัวแลวหันหลัง กลับมาใชชีวิตอีกดาน “ก็ไมนะครับ เพราะผมมีความตั้งใจแตแรกแลว รูอยูกอนแลววาตองเจออะไร เวลาเดียวกัน ผมก็ยังไม ลาออกจากงานประจำ เวลาวางก็ทำ ผมไมไดไปเที่ยว ไปกินเหลากับเพื่อนแลว ลูกเมียก็เขาใจ ถามวายากไหม มันก็ไมยากนะ ตอบอีกทีผมก็จะตอบแบบนี้ อยางเลี้ยง


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

กบนี่ 3-4 เดือนก็ขายได หรือปลานี่ผมเลี้ยงไวขาย แตก็ เอาไวกินเองดวย “เมือ่ กอนอยากกินแปะซะ อยากกินปลาทับทิมเผา เกลือก็ตองไปซื้อเขากิน ปลาเผานี่ตัวละ 200 กวาบาท แตพอผมเลี้ยงเองจะกินกี่ตัวก็กินไดเทาที่อยากกิน เริ่ม แรกก็ตั้งใจจะเลี้ยงไวขายอยางเดียว ชวงนั้นก็รูสึกเครียด เหมือน กัน เพราะ เรา ตั้งใจ มาก แต ตั้งใจ แบบ ผิด ทาง เพราะหลักการทำเกษตรทฤษฎีใหมของในหลวงทาน คือ การเอาตัวเองใหรอดกอน ผมเลยเปลี่ยนความคิดตัวเอง ใหม คือใชชีวติ ใหใกลเคียงธรรมชาติ เลีย้ งปลาก็เลีย้ งแบบ ธรรมชาติ เลีย้ งปลอยๆ อาจจะใหอาหารเม็ดบาง แตผมก็ ไมไดเจาะจงวาถึงเวลานัน้ เวลานีต้ องจับขาย ปลูกผักก็ไม ไดคิดจริงจังวาชวงนีปลู ้ กอะไร กีวั่ นกีเดื ่ อนเก็บขาย กลาย เปนวาทุกวันนี้ผมไมเครียด ปลามันก็โตของมัน ผักมันก็ ขึ้นของมัน” อายเกรียงศักดิ์ยิ้ม จุดเปลี่ยนแปลงของอายเกรียงศักดิ์ก็คือ เมื่อมีคน

49


50 àªÔ§´ÍÂ

เห็นอายเกรียงศักดิทำ ์ เชนนีก็้ เลาใหฟงวาในเชียงใหมมีทำ เหมือนๆ กันประมาณ 30-40 คน จึงเกิดการแลกเปลีย่ น เรียนรูกัน กลายเปนเครือขายขึ้น ถัดมาอีก 2 ปมีคน อยาก ทำ เหมือน อาย เกรียงศักดิ์ บาง จึง เกิด เปน แหลง เรียนรูตามมา จากชนชั้นกลางเต็มตัว จากวิถีชีวิตแบบคนเมือง เคยใสเสื้อเชิรตเดินหาง ถึงวันนี้อายเกรียงศักดิ์สวมเสื้อ มอฮอมเกาๆ ใหอาหารปลา ใหอาหารกบ ดำนา เกีย่ วขาว อายเกรียงศักดิบอก ์ วา “ชีวติ มันมีอีกหลายอยางทีผม ่ ตอง เรียนรู มีอีกหลายอยางใหคนหา ผมมีความสุขกับทุกวันนี้ แลว อยางที่ผมบอก หากผมคิดแตวาผมเปลี่ยนทุกอยาง ได ผมก็จะไมมวัี นนี้ เพราะความจริงของชีวิต เราเปลี่ยน ทุกอยางไมได แตเราเปลี่ยนตัวเราเองได”

3.9 ศูนยบริการสาธารณสุขมูลฐานชุมชน สุขภาพที่ ดี ซื้อ หาไม ได ก็ จริง แต เรียน รูได ณ หมู 12 บ า น ปทุ ม นิ เ วศน มี แหล ง เรี ย น รู สำคั ญ เกี่ ยว กั บ การ สาธารณสุข เรื่องเกิดขึ้นจากกลุมอาสาสมัครที่มีน้ำใจเขามามี สวนรวมในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนในระยะแรก จากนัน้ แทบทุกคนก็เขาอบรมเปน อสม. เกิดความรูความ  เขาใจในดานดูแลสุขภาพ นอกจากนียั้ งมีความรูสามารถ 


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

ชวย ปองกัน และ เฝา ระวัง ปญหา ดาน สาธารณสุข เชน การรณรงคเรื่องไขเลือดออก การฉีดหมอกควันไลยุง นอกจากนียั้ งมีโครงการตางๆ อาทิ โครงการ อสม. ดูแลผูปวยดวยใจ ซึ่งหลักการก็คือ การชวยเหลือผูปวย เบื้องตนและใหความรูในการดูแลสุขภาพ นอกจากนี้ยัง เสริมทางญาติผูปวยโดยการใหคำแนะนำการดูแลผูปวย อีกทาง อาทิ กรณีคุณเอ (นามสมมุ (นามสมมุติ) อายุ 23 ป ไดรับอุบัติติเหตุขขณะ ณะขีขี่มมอเตอร อเตอรไซค ลมพัดตนไมขวางงทางจนรถล ทางจนรถลมคว่ำเปน อัมพาต นอนอยูบานนนานหลายเดื นานหลายเดือน อยางคนหมดอาลัลัยตาย อยาก เมื่อ ตายอยาก ทาง กลุ ม อสม.และ และ คณะ ทราบ เรื่ อ ง จึ ง ได เข า ไป เยี่ ย มเยี ย นนอยู ไปเยี อยู ตลอดอยางตอเนืนอง ่อง ทั้งใหกำลั กำลังใจ และ มอบ สิ่ ง ของง จนอาการ ดี ขึ้ น ทุ ก วั น นี้ คุ ณ เอ เดินได และ มี กำลั​ัง ใจ ใน การ ดำเนิน ใจในการดำเนิ ชีวิต นี่เปนหนึ่งในนการทำงานเชิ การทำงานเชิงรุก ที่กลุม อสม. ภาคภู คภูมิใจ

51


52 àªÔ§´ÍÂ

นอกจากการใหความรูแก  คนในชุมชนเรือ่ งสุขภาพ แลว ยังมีการเก็บขอมูลคนในชุมชนไวเปนฐานขอมูลดาน สุขภาพของคนในพื้นที่อีกดวย งบประมาณของกลุมมาจากทางรัฐ ทางเทศบาล กองทุนตางๆ และระดมกันเอง น้ำใจ การมองอีกดานของชีวิต ทัศนคติเชิงบวก ทำใหเชิงดอยนาอยู

3.10 แกสชีวภาพ : แกสชุมชน การที่ ต ำบลเชิ ง ดอยหั น มาสนใจเรื่ อ งแก ส ชี ว ภาพนี้ นับเปนการพลิกวิกฤตใหเปนโอกาส เนือ่ งจากในชุมชนมี โรงเลี้ยงหมูขนาดใหญตั้งอยูที่หมู 2 แมจะอยูหางชุมชน แตกลิน่ ก็ยังรบกวน รวมทัง้ มีแมลงวันจำนวนมากตามมา บางครัวเรือนถึงกับตองกางมุงกินขาว จึงเกิดการรวมตัว กันพูดคุยทั้งผูนำชุมชน เจาของฟารมหมู และชาวบานที่ เดือดรอน ทายที่สุดตกลงกันวา ใหนำมูลหมูมาใชประโยชน โดยการนำมูลหมูที่ไหลออกจากรางในโรงเลี้ยงลงมาใน บอ ฟองที่ผุดขึ้นมาและสงกลิ่นนั้นนำมาทำแกสชีวภาพ ใชแทนแกสหุงตมได สวนมูลก็นำไปใชทำปุยหมัก ในป 2551 ใชงบโครงการเอสเอ็มแอลจากภาครัฐ 250,000 บาท และ จาก เจ า ของ ฟาร ม มอบ ให อี ก 100,000 บาท เงิ น ที่ ได นำ มา ทำ บ อ เดิ น ท อ พี วี ซี


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

ขนาด 1 นิ้ ว ครึ่ ง ไป ตาม บ า น เรื อ น ที่ ต อ งการ ซึ่ ง บ า น แต ล ะ หลัง จะ เก็บ เพิ่ม อีก 350 บาท สำหรั บ การ เดิ น ท อ เข า ตั ว บ า น สวน แรงงาน เดิน ทอ นั้น ก็ ชวยๆ กันในวันเสารอาทิตย ใชเวลารวม เดือนก็สำเร็จ บริ เ วณ จุ ด เริ่ ม ต น ของ บ อ แก ส กั บ ท อ พี วี ซี ที่ จะ ลำเลียงไปยังครัวเรือน สังเกตวาสงกลิ่นตุๆ เพียงเล็ก นอย รอบบริเวณไมสกปรกแตอยางใด เมื่อไปยังราน กวยเตี๋ยวที่ใชแกสชีวภาพ ไฟจากเตาแกสก็แรงพอที่จะ ตมน้ำในหมอกวยเตี๋ยวขนาด 20 นิ้วใหเดือดปุดๆ ได สบายๆ ป จ จุ บั น มี ชาว บ า น กว า 100 หลั ง คา เรื อ น ใช แกสชีวภาพจากมูลหมู โดยเก็บคาแกสตอเดือนสำหรับ ครัวเรือนทั่วไป 30 บาท สำหรับรานคา 50 บาท ทางเขาโรงเลี้ยงหมูและเลาหมูที่เห็นอยูดานหลัง บริเวณหนา โรงหมู จะ สังเกต เห็ น ว า มี หลุ ม ท อ ซีเมนตที่มีทอพีวีซี ยื่นโผลออกมา นั่น คือ หลุม แกส โดย

53


54 àªÔ§´ÍÂ

ทอพีวีซีคือทอนำแกสออกไป ยังชุมชนเพื่อใชงาน หนารานกวยเตี๋ยว มุม ลางของภาพจะเห็นทอพีวีซีที่ ลำเลียงแกสมายังราน

3.11 ชมรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและเยี่ยมบาน เมื่อป 2546 ที่หมู 9 มีคนกลุมหนึ่งเริ่มตนทำกิจกรรม รวมกับตำบลเพือ่ บริหารจัดการระบบสุขภาพและการจัด สวัสดิการแกคนในชุมชน เชน เยี่ยมบานผูประสบปญหา ทางสังคม ผลที่ไดคือคนในชุมชนมีสุขภาพดีขึ้น เกิดการ เรียนรูการทำงานรวมกันระหวางภาคประชาชน องคกร ทองถิ่น ภาคีเครือขายทั้งภายในและภายนอกตำบล จึง เกิด แนวคิด ในการนำโครงการเขามาทำในหมู 9 ของ ตนเอง เริ่มตนจากปญหาเรื่องสุขภาพของคนในชุมชนที่ ยังแกไมได จัดใหมีการประชุมคณะกรรมการหมูบ า นและ จัดตั้งคณะกรรมการในการดำเนินงาน ป 2550 ไดรับงบประมาณสนับสนุนจากอำเภอ ดอยสะเก็ด 8,000 บาท นำมาเปนเงินขวัญถุง ตั้งชื่อ กองทุนหมูบ า นวา ‘กองทุนแมของแผนดิน’ นอกจากนียั้ ง ไดรับความชวยเหลือจากหลายๆ แหง อีกทัง้ ยังหาทุนเอง โดยการตั้งกองผาปา โดยการขายสลากกินแบงรัฐบาล และเงินบริจาคจากคนในชุมชน จนสามารถจัดกิจกรรม


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

มอบสวัสดิการแกกลุมผูสูงอายุ ผูพิการ และมีการมอบ ทุนการศึกษาแกเด็กดอยโอกาสไดอยางตอเนื่อง ผลการดำเนินงานทำใหคนในชุมชนมีกิจกรรมทำ ยามวางมากขึน้ สุขภาพของคนในตำบลก็ดีขึน้ ซึง่ สะทอน ไดจากขอมูลสุขภาพของ อสม. เนื่องจาก ทราบ วา เงิน กองทุน มี ไมมาก จึง เกิด คำถามวาเกณฑการพิจารณามอบใหผูดอยโอกาสและ ผู สูง อายุ คือ อะไร นอกจาก ความ ยากจน จริง และ เปน ผูสุ งอายุทีเดื ่ อดรอนทางการเงิน คำตอบทีได ่ ก็คือ การจับ สลาก ทั้งนี้ก็เพื่อตัดปญหาถกเถียงเรื่องใครดอยโอกาส กวาใคร ใครจนกวาใคร ใครลำบากกวาใคร แตหากเขา เกณฑเบื้องตนเหมือนกันหมดก็ใชวิธีจับสลากกอนหลัง ซึ่งยุติธรรมที่สุด

3.12 ชมรมปนรถถีบ พุทธสุภาษิตกลาวไววา ‘อโรคยา ปรมาลาภา ความไมมี โรคเปนลาภอันประเสริฐ’ ดูจะเปนคำกลาวสำคัญทีกำนั ่ น วิรัช บัวชุม หนึ่งในแกนนำและผูรวมกอตั้ง ‘ชมรมปนรถ ถีบ’ ของตำบลเชิงดอย ใหคามากที่สุด กำนันวิรัชเลาใหฟงวา หลายปหลังมานี้ไมเพียง ผูเฒาผูแกที่เจ็บปวยดวยโรคที่ไมคอยจะเปนกันในสมัย กอน อยางโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไขขอ

55


56 àªÔ§´ÍÂ

เสื่อม หนุมๆ สาวๆ ก็พากันเปนโรคดังกลาวนี้ตั้งแต อายุไมมาก ซึง่ นอกจากจะพาสุขภาพกายไมดีมาสูตั วเอง สุขภาพใจยังพลอยเสือ่ มไปดวย กำนันจึงชักชวนชาวบาน ใหออกกำลังกายกัน จักรยานดูจะเปนทางเลือกทีดี่ ทีส่ ดุ เพราะทุกบาน มีจักรยานไวถีบไปไหนตอไหนกันอยูแลว อีกทั้งราคา ไมแพง ซื้อแลวใชงานไดหลายวัตถุประสงค อีกทั้งตอน ที่ริเริ่มนั้นมีรถเรขายจักรยานในหมูบาน เก็บเงินเพียง 300 บาทในเดือนแรกแลวก็ผอนเอา จึงมีชาวบานซื้อ ไวใชหลายคน กำนันเล็งเห็นโอกาสนี้จึงคิดวาควรจะใช จักรยานใหเปนประโยชนหลายๆ ทาง จึงชักชวนกันปน จักรยานออกกำลังกายในตอนเชา โดยเฉพาะแมบาน โดยเริ่มกันตั้งแตตี 5 ปนไปรอบๆ หมูบานทุกวัน วันละ 3-5 กิโลเมตร จนถึงทุกวันนี้ปนกันวันละ 5 กิโลเมตร ขึ้นไป หลังจากปนรอบหมูบาน เสร็จ แลว ใคร จะ ปน ตอ ก็ ตาม สะดวก ซึ่งในกลุมมีอยูหลายคน ทีป่ น ไปทางตัวเมืองเชียงใหมหรือ ปนขึ้นดอย กำนั น จั ด ให มี ซุ ม น้ ำ ดื่ ม สมุ น ไพร และ สวน สุ ข ภาพ ใน ชุมชน หลังปน จักรยานแลวก็จะมี เครือ่ งเลนอืน่ ๆ ใหออกกำลังกาย


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

กัน ตอ วัน อาทิตย นอกจาก จะ เปนวัน พิเศษโดย ปน ไป ไกลถึงหนองบัวพระเจาหลวงซึ่งเปนสถานที่ทองเที่ยว ที่มีชื่อเสียงของจังหวัดเชียงใหม เมื่อปนกลับมาก็จะมี ขาวตมทรงเครื่องและขนมหวานเลี้ยงทดแทนเรี่ยวแรง ที่เสียไปดวย เช า ๆ มา รวม ตั ว กั น ลง ทะเบี ย น ก อ น ออก ไป ปนจักรยานทุกวัน ทุกวันนี้มีสมาชิกประมาณ 50 คน ส ว นใหญ เป น แม บ า น เมื่ อ แม บ า น มา แล ว สุ ข ภาพ ดี พอบานก็มักจะตามมาโดยอัตโนมัติ สุขภาพที่ดีหาซื้อไมไดจริงๆ ใครบอกไมใชอยาไป เชื่อ

3.13 ศูนยบริการและถายทอดเทคโนโลยีทางการ เกษตร “อาคารนี้ไดรับเงินทุนใหเปลาหรือพูดเพราะๆ วาเงิน

57


58 àªÔ§´ÍÂ

สนับสนุนจากรัฐบาลญีป่ นุ ในป 2549” พีชั่ ยศิลป รินแกว ใน ฐานะ แกน นำ แหลง เรียน รู นี้ กลาว “ก็ เริ่ม จาก การ ถายยโอนงานจาก โอน งาน จาก กระทรวง เกษตร และ สหกรณใน ในปป พ.ศ. พ 2540 เราก็คิดวา ศูนยแห แหงนี้ตตอ งทำทั้งรับและรุก ศูนย แหง นี้ จะ ไป ได ดี ไป ได สวย ก็ ตอง มา จะไปได จาก การรวมตัวกันของกลุม เกษตรกร จากการรวมตั คน คนทีที่มีมจิีจติ อาสา อ และปราชญชุมชน ด า นนการ การเกษตร ใน ตำบล และ ต อ งงเป เป น คน ที่ มอง เห็ น ความ สำคัญกับกลุมเกษตรดวย” พี่ ชัยศิลปปกลาวถึงที่มาที่ไปของ ศูนย “ แ ต เ ร า ต อ ง ก า ร รั ก ษา รากฐาน ดั้ ง เดิ ม ของ วิถี ชีชีวิต การ ทำ เกษตรกรรม ของ ของชุชุมชนเอาไว พอดีป พ.ศ. 2549 มีเงินใหเปลาจากรัฐบาล ญี่ปุน เราก็เลยจัดตั้งกันจนแลว คณะกรรมการศูนย เรามี เสร็จ คณ จำนวน 116 คน มีการแบงงาน กัน ทำ ใน ฝาย ตางๆ อยาง


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

เปนระบบ กิจกรรมของคณะกรรมการคือการจัดประชุม ประจำเดือน การจัดเวที การระดมความคิด ของคนใน ชุมชนถึงการสำรวจปญหาและชวยกันหาแนวทางในการ แกไขปญหารวมกันของคนในชุมชน” พีชั่ ยศิลปมองไปทาง อาคาร “ศูนยมีการทำงานอยางตอเนือ่ ง เทศบาลตำบลก็ สนับสนุนมาโดยตลอด” พี่ชัยศิลปสรุปเสร็จสรรพ “หนาที่ของศูนยคือรวบรวมปญหา หาทางแกไข และชวยเหลือเกษตรกรในการแกปญหา” คำตอบสำหรับคำถามถึงปญหาของเชิงดอยมีอะไร บาง พี่ชัยศิลปหยุดคิดกอนจะตอบวา “ขาดแคลนแหลง น้ำเพื่อการเกษตรในหนาแลง น้ำดื่มน้ำใชยังมีตะกอน ชาวบานยังขาดเทคนิคขาดความรูในเรื่องการเลี้ยงสัตว ขาดเงินทุนหมุนเวียนในการทำเกษตร แตทุกวันนี้ดีขึ้น มากแลว เมื่อมีการรวมกลุมกัน” พี่ชัยศิลปหยุดยิ้ม กอน จะพูดตอหลังชี้ใหดูอาคารรายรอบทั้งหมด “อาคารมีไวใชประชุม แตศูนยจริงๆ มันอยูที ่คน” พี่ชัยศิลปบอก มัน อยู ที่ คน จริงๆ เชิง ดอย จะ นา อยู จะ อยู ได ก็ เพราะคน! คนเทานั้น!

59


60 àªÔ§´ÍÂ


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

61


62 àªÔ§´ÍÂ


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

04 ÊÌҧÊÃä ãËŒàªÔ§´Í 4.1 ศูนยพัฒนาเด็กเล็กวัดปทุมสราราม ที่หมู 12 ใกลหนองบัวพระเจาหลวงแหงนี้ ขณะไปถึงมี ชาวญี่ปุน 4-5 คน กำลังเลี้ยงอาหารกลางวันแกเด็กใน ‘ศูนยพัฒนาเด็กเล็กวัดปทุมสราราม’ แหงนี้ ศูนย พัฒนา เด็ก เล็กวัด ปทุม ส รา ราม กอ ตั้ง เมื่อ ป 2521 บริเวณวัดปทุมสราราม ปจจุบันสังกัดกองการ ศึกษา เทศบาล ตำบล เชิง ดอย โดย รับ เด็ก ตั้งแตอายุ 2-5 ป โดยยมีมีวัวตั ถุประสงค เหมือนๆ กับศูนยเด็กเล็กทั่วไป ไปก็ก็คืคอื เตรียม ความพรอม ใน ดานนพั พัฒนาการ ทางอารมณ สังคม และะสติ สติปปญ แก  ญา ญาแก เด็กกอนวัยเรียนสูระบบบการศึ การศึกษา ขั้นพื้นฐาน มีครูวัลลภา สุนนั​ันตะ เปนหัวหนาศูนย “เปนเด็กชนเผา 20 คนค คนคะ เด็กในชุมชน 30 กวาคน ทีนี้เเรา รา ก็ตองมีกิจกรรมสมานฉัฉันท โดย เราจัดใหผูปกครองทำกิจกรรม รวมกัน เชน ทอผา ประชุ ระชุมรวม

63


64 àªÔ§´ÍÂ

และเลนรวมกับเด็กๆ” ครูวัลลภายิ้มและบอกอีกวา “เรา สอนใหเด็กกลาแสดงออกคะ” กอนเดินทางมาไดยินกิติศัพทของศูนยเด็กเล็กแหง นีว้ าไดรางวัลมากมายทัง้ ระดับจังหวัดและระดับประเทศ โดยเฉพาะระดับจังหวัดไดระดับดีมากถึง 5 ปซอน ทำให ผูปกครองทั้งในและนอกพื้นที่ตางตองการสงบุตรหลาน มาเรียนที่นี่ “ลาสุดเมื่อวันที่ 27–29 มิถุนายน งานมหกรรม การ จั ด การ ศึ ก ษา ท อ ง ถิ่ น ภาค เหนื อ ครั้ ง ที่ 10 ที่ องคการบริหารสวนจังหวัดแพร เราไปรวมแขงฮูลาฮูป ประกอบเพลง ไดรองชนะเลิศอันดับ 1 มา” ครูวัลลภา กลาว อยาง ภาคภูมิใจ กอน จะ ตอวา “เด็ก เรา ทุก รุน คะ เรา ได รางวั ล หมด ทุ ก ที่ ที่ ไป แข ง ขั น ป ที่ แล วไป แข ง ที่ เมืองทองธานี งานโอท็อปก็ไดที่ 2 ระดับประเทศมา แขงฮูลาฮูปนี่แหละคะ” “เรื่ อ ง อาหาร การ กิ น ก็ มี คน ภายนอก มา เลี้ ย ง


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

อาหาร กลาง วัน เด็กดวย แต เรา เอง ไม ได มีปญหา เรื่อง งบฯหรอกคะ เราไดงบประมาณหัวละ 13 บาทจากทาง เทศบาล เด็กทุกคนจะมีอาหารกลางวัน มีนม มีอาหาร วางรับประทาน แตทีนี่ มั่ กจะมีชาวตางชาติโดยเฉพาะคน ญีป่ นุ มาเลีย้ งอาหารเด็ก ไมรทำไม ู อาจจะพูดตอๆ กันมา โดยเขาจะแจงลวงหนาหลายอาทิตยและเตรียมอาหาร ขนมอรอยๆ มาเลี้ยงเด็กของเรา” สำหรับปญหาอืน่ ๆ เนือ่ งจากทีนี่ มี่ ประกอบไปดวย ชาวชนเผาตางๆ อาศัยอยูมาก ครูวัลลภาบอกวา “ผูป กครองก็ใหความชวยเหลือดวยดี บางคนมาตัด หญาให ปรับปรุงสนาม สถานที่ ซอมของเด็กเลนใหคะ” เด็กในวันนีคื้ อผูใ หญในวันหนา ผูใ หญทีดี่ ก็สามารถ มอบอนาคตที่ดีใหกับเด็กได

4.2 ศูนยรอยสานงานศิลปโรงเรียนบานรองขี้ เหล็ก โรงเรียนรองขีเหล็ ้ กเปนโรงเรียนเล็กๆ มีนักเรียนทั้งหมด 161 คน โดยมีตั้งแตระดับอนุบาลจนถึงมัธยมศึกษาปที่ 3 สวนใหญแลวเด็กที่เรียนในโรงเรียนเปนเด็กในชุมชน และเด็กไทใหญที่ยังไมมีสัญชาติ โรงเรียนรองขี้เหล็กจึง เพิ่มโอกาสใหกับเด็กที่ฐานะทางบานไมเอื้ออำนวยที่จะ สงลูกเรียนโรงเรียนในเมืองได

65


66 àªÔ§´ÍÂ

ในป 2548 สมบูรณ เดชยิง่ ผูอำนวย  การโรงเรียน วัด รอง ขี้ เหล็ก มี แนวคิด การ จัดการ เรียน การ สอน เด็ก นักเรียน ที่ แหวก แนว กวา ที่ อื่น โดย นำ เอา อาชีพ การ ทำนามาสอนใหเด็กนักเรียนเพื่อใหนักเรียนมีความรูใน การทำนา “นักเรียนทีเรี ่ ยนจบจากโรงเรียนบานรองขีเหล็ ้ กไป ไมใชแครูเรื่องการทำนา แตตองทำนาเปน” ครูสมบูรณ กลาวตอวา “เราจะออกแบบความสุขโดยการนำการสอน ศิลปะดานตางๆ และวิถีชีวิตอาชีพของคนในชุมชน เชน การตัดตุง การเพาะเห็ด การทำกรอบรูป ฯลฯ เขามาใน การเรียนการสอนใหเด็กนักเรียนไดเกิดทักษะในการใช ชีวิตและมีสมาธิในการทำงาน” ผ อ . ส ม บู ร ณ ก ล า ว ว า “โรงเรี ย น ของ เรา ไม สามารถ จัดการ ศึกษา ให เด็ก มี ความ เปน เลิศทางวิชาการไดทุกคน เพราะ เด็กเรามีพื้นฐานความแตกตางสูง อาจตองใชเวลาในการพัฒนา แต ก็ยอมรับในความหลากหลายนั้น โดย การ จั ด กิ จ กรรม ที่ เสริ ม การ เรียน รู ตาม ความ สนใจ เด็ก เรา คน ไหน สนใจ อะไร ก็ มุงไป ทำ ใช


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

กิจกรรมกลอมเกลาเด็กใหเปนคนดี ตรงนี้เปนพื้นฐาน นำไปสูการพัฒนาดานอื่นๆ” นักเรียน ของ โรงเรียน บาน รอง ขี้ เหล็ก ได รางวัล จาก การ ประกวด ทุก แขนง วิชา ทุก กิจกรรม ที่ เขา รวม โดยเฉพาะทางดานศิลปะ ที่เปนเชนนี้ไดก็เพราะมีครูดี นอกจากครูสมบูรณ ผูอำนวย  การโรงเรียนคนเกงแลว ยัง มีคณะครูทีเสี ่ ยสละ มีแนวความคิดทีกล ่ าและทาทายแนว ความคิดกระแสหลักในสังคม ครูพิสมัย เทวาพิทักษ หนึ่งในคุณครูคนเกงที่ไม ไดเรียนจบสายศิลปะ แตดวยใจรักศิลปะตั้งแตเด็ก เมื่อ มาเปนครูสอนหนังสือ ก็พยายามสงเสริมเด็กทุกคนที่รัก ศิลปะใหไดแสดงออกทางศิลปะ ใชความพยายามศึกษา ดวยตนเองและสอบถามผูรู แมจะไมไดเรียนมาทางดาน ศิลปะแตครูพิศมัยสามารถออกแบบแผนการสอน ชุด เครื่องไมเครื่องมือสำหรับการสอนศิลปะไดเปนอยางดี นักเรียนที่จบจากที่นี่จึงมีความสามารถรอบดาน โดย เฉพาะดานศิลปะ สามารถกวาดรางวัลจากตางประเทศ มาแลวหลายรางวัล ไมตองพูดถึงรางวัลภายในประเทศ ทุกระดับ ครู เล า ให ฟ ง ถึ ง แรง กระตุ น สำคั ญ เกิ ด จาก “ถูกดูหมิ่นดูแคลนจากแวดวงครูศิลปะวาคงไมสามารถ สอนลูกศิษยใหเกงในทางศิลปะได เพราะเราไมไดเรียน

67


68 àªÔ§´ÍÂ

มา ยิ่งถูกดูหมิ่นยิ่งไมเคยยอทอ ตรงกันขามกลับมอง เปนโอกาสทีจะ ่ พัฒนาตัวเองและลูกศิษยไปพรอมๆ กัน และตองทำใหได” ครู พิสมัย มา จาก ครอบครัว ชาวนา เปน แมพิมพ ของ ชาติ ครั้ง แรก ที่ อำเภอ เมือง ลำปาง ป 2523 ยาย กลับเชียงใหม ป 2534 สอนที่โรงเรียนบานรองขีเหล็ ้ ก โรงเรียนเดียวจนถึงทุกวันนี้ เมื่อ พูด ถึง เรื่อง นี้ ครู พูด อยาง ถอม ตนวา อาศัย หาความ รู เอา เอง ศึกษาจากอินเทอรเน็ต และ ลัก จำ คนอื่นเอา “ผูสอนไมจำเปนตองเปนครู แตจะใชระบบ การ เรียน การสอน แบบ พี่ สอน นอง เพื่อน สอน เพื่อน” ครูพิสมัยบอก แตประโยคคลาสสิกทีส่ ดุ สำหรับวันนีก็้ คือ “จงศรัทธาตอความเปนครู อยารับจางเปนครู”

4.3 อุยสอนหลานและกลุมจักสานไมไผ ตัวอักษรธรรมลานนาที่ หนานจรูญ สันยาย ผูรูแหง หมู 6 เปดสอนมาหลายรุนแลวนั้น นับเปนการสานตอ ตัวอักษรธรรมลานนามิใหสูญหายไปอีกแรงหนึ่ง เพราะ ทุกวันนีก้ ม็ กี ารเปดสอนในมหาวิทยาลัยและวัดหลายแหง แตหนานจรูญเห็นวา การสอนที่บาน จะชวยใหลูกหลาน ไมตองไปเรียนที่ไกล


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

ขณะ ที่ ปู สา หรือ หนาน สา ปราชญ อีก คน หนึ่ง เลา วา ตนเองไดเรียนอักษรธรรมลานนาก็ตอนบวชสมัยหนุม เวลา ผาน ไป หนาน ไม ลืม แต เด็ก รุน ใหมไม คอยสนใจ บวก กับ ตัว อักษร กลาง เขา มา มี บทบาท และ ใช ใน ชีวิต ประจำวัน ชวง 20 ปใหหลังมานี้จึงมีการฟนฟูตัวอักษร ธรรมลานนากันอีกครัง้ เพือ่ สอนคนรุน ใหมทีแทบ ่ จะอาน เขียนไมเปน หนานสาเองก็เปดสอนใหโดยไมคิดคาใชจาย นอก เหนือจาก นี้ หาก สนใจ การ ทำ อาหาร พื้นเมือง และ ตีกลองบูชา หนานก็จะสอนใหดวยเชนกัน เวลาเดียวกันหนานสาก็สอนการจักสานไมไผ นอก เหนือจากการจักสานเพื่อขายในชีวิตประจำวัน โดยมีอุย และหนานอีกหลายคนเขารวมกลุม

69


70 àªÔ§´ÍÂ

4.4 ภูมิปญญาหมอเมือง แมนอย-บัวหา ชัยวุฒิ หนึ่งใน ผูไดรับรางวัล ‘ผูกระทำ ความดีของเมืองไทย’ 2 ปซอน ในป 2553-2554 เลา ใหฟงวา เรื่องภูมิปญญาหมอเมืองนี้อันที่จริงก็เกิดจาก บรรดาอุย และหนานทัง้ หลายไดมาคุยกันเรือ่ งทีคน ่ สมัยนี้ แทบ ไมรู จัก หมอ เมือง และ ไม สนใจ ความ รู ทาง ดาน นี้ ประจวบ กั บ อุ ย หนาน ที่ มี ความ รู เหล า นี้ อายุ ม ากขึ้ น ลูกหลานเติบโตกันไปหมดแลว จึงเกิดการรวมตัวกันขึ้น และอยากเสริมความรูเรื่องการนวดแผนไทยเพิ่มเติมอีก ดวย จึงรวมตัวกันไปแสดงความจำนงตอทางเทศบาล เทศบาลใจดีจัดสงไปอบรมสัมมนาเพิม่ ทักษะและความรู แหง แตแรกๆ อุย และหนานยัง อยูหหลาย  ลายแห งรวมกันทำลูกประคบสมุนไพร เพียงร กอน ตอ มา แม นอย ซึ่ง มี ลูกสาว ทำงาน เปน หมอ นวด แผน โบราณ อยูตตางประเทศ ซึ่งแมนอยเปน ผู ยทอดความรูใหลูกดวยตนเอง ถายท ความ คิ ด ที่ จะ เผย แพร สอน เกิ ด คว ลูก หลาน ให ได ใช องค ความรู นี้ ทำ มา หากิน และ เปนการ สื บ ต อ ไม ให องค ความ รู หมดไป จึงมีหมอเมือง


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

หลาย คน เข า ร ว ม กลุ ม โดย แม นอย เปน แกน นำ คนสำคัญ ใน การ นวด รักษา ด ว ย ลู ก ประคบ ช ว ย ให อาการ ดี ขึ้น และ หาย เร็ว ขึ้น แม นอย เอง ปลูก พืช ที่ เป น สมุ น ไพร หลาย สิ บ อย า ง ภายใน บ า น นอกจาก นี้ ยัง รับ ซื้อจาก เพือ่ นๆ จากผูสู งอายุทุกคนทีปลู ่ กและขายกันเองในกลุม โดยรับซื้อในรูปแบบสมุนไพรแหงซึ่งทำใหเก็บไวไดนาน ในเมื่อแมนอยปลูกพืชสมุนไพรเยอะแยะเต็มบาน กับคำถามทีว่ ามีคนมาขอ แมนอยจะใหไหม แมตอบวาให แตใหไปปลูกเอง ตอไปเขาจะไมกลามาขออีก แมนอยจะ เดินไปเด็ดใหเลยแลวสอนวิธปลู ี กวิธีดูแลดวย แม น อ ย เล า ว า มี พ อ เป น หมอ เมื อ ง มี แม เป น หมอตำแย เห็นพอแมทำงานมาตั้งแตเด็ก ทั้งสองคนก็ ถายทอดปลูกฝงใหความรูเรื  อ่ งยามาแตออนแตออก เมือ่ แตงงานกับสามีซึ่งทำงานรับจางทั่วไป แมนอยไมไดเปน หมอเมือง แตทำงานทั่วไปเหมือนสามี เมื่อสามีเสียชีวิต ตั้งแตแมนอยยังสาว ตองทำงานทุกอยางเลี้ยงลูก 4 คน

71


72 àªÔ§´ÍÂ

ทวาแมนอยก็ทำงานทุกอยางดวยความอุตสาหะ “การกระทำทุกอยางของคนเรา เหมือนปาลูกบอล ใส ผนัง มัน จะ เดง กระดอน กลับ มา หา เรา เสมอ” แม น อย สอน ลู ก เช น นี้ ให รั ก ดี มี ความ มุ ม านะ ไม กลั ว ความลำบาก แมนอยเองนอกจากทำงานรับจางทั่วไป ยังทำดอกไมจันทน ทำน้ำยาลางจาน ทำบายศรี เรียกวา ทำสารพัดไมเลือก จนกระทั่งวันหนึ่งคิดถึงพอแมและ เสียดาย ความ รู ที่ มี ติดตัว จึง รับ นวด รักษา ตาม อยาง หมอเมือง ขณะ เดียวกัน ก็ แสวงหา ความ รู เพิ่ม เติม อยู ตลอด ที่ไหนมีอบรม ที่ไหนมีคนมีความรู ที่ไหนมีคน บอกวานวดเกง แมนอยไปหาหมด ดวยความถอมตนและสุภาพออนนอม แมนอยจึง เปนที่รักใครของทุกคน ในงานแตงงานแบบลานนาหรือ ที่เรียกวา ‘การกินแขกแตงงาน’ มักจะเชิญแมนอยไปจัด พิธีซึ่งแมนอยมีประสบการณและเชี่ยวชาญ ทุกวันนีแม ้ นอยก็ยังเปนแมนอยของทุกคน เปนแม ทีร่ กั ของลูกทัง้ 4 คน เปนอุย ของคนในชุมชน แจกรอยยิม้ มอบความอบอุนใหทุกคนที่พบเห็น สวนงานกลุมภูมิปญญาหมอเมือง แมนอยเปนคน ประสานกับทางเทศบาลซึ่งใหการสนับสนุนงบประมาณ แกกลุม มาโดยตลอด ทางกลุม มีการดำเนินงานในรูปแบบ ของคณะกรรมการรวมกันในการปลูกสมุนไพรเพือ่ ทำลูก


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

ประคบ โดยใหสมาชิกภายในกลุมยืมเงินทุนคนละ 500 บาท เพื่อเริ่มตน ปลูก สมุนไพร แลวก ลับมา ขาย กันเอง ภายใน กลุม นอกจาก นี้ ทาง กลุม ได เพิ่ม ผลิตภัณฑ ให มากขึ้น อาทิ พวงหรีด ดอกไมจันทน หมอนใบชาและ แชมพูมะกรูด เพื่อเปนการสรางรายไดอีกทางหนึ่งแก สมาชิก และ เปนการ รับซื้อ แบบจาย สด ทันที เมื่อ เอา มา ขายกับกลุม อันนี้เปนแรงจูงใจใหแกสมาชิกในการที่จะ เขารวมมกลุ กลุม นอกจาก เหลือ นอกจากนีนียั้ยงั ไดการ ารชชวยยเหลื และ สนับสนุน จาก หนวยยงาน งาน จากหน ต า งๆๆ ทั้ ง กรม วิชาการเกษตร ารเกษตร ใ ห ก า ร สนับสนุนวิจัย ผลิ ต ภั ณ ฑ ให ใ ห ได มาตรฐาน ตรฐาน กระทรวง วัฒนธรรม ใหการ ธรรมให สนับสนุนดานนบรรจุ บรรจุภัภณ ั ฑ ขยายตลาดในการ และมีการ การขยายตลาดในการ จำหนน า ยยลูลู ก ประคบ ออก ประคบออก ไปในกลุมของ โรงแรม ของโรงแรม

73


74 àªÔªÔ§´ÍÂ

สปา และพื้นที่อื่นๆ ป จ จุ บั น มี สมาชิ ก ใน กลุ ม รวม แล ว 110 คน นั บ เ ป น ชุ ม ช น ที่ มี ห ม อ เ มื อ ง มี ฝ มื อ ม า ก ม า ย นาอิจฉาคนเชิงดอยจริงๆ

4.5 กลุมเครื่องดื่มแปรรูปชนิดผง การสรางสรรคไมไดมีคำจำกัดความแคการตอยอด แต อาจหมายรวมถึงความอรอย ณ บริเวณที่ตั้งของศูนยสงเสริมอาชีพกลุมแมบาน เกษตร รอง ขี้ เหล็ก เปน ที่ ตั้ง ของ กลุม เครื่องดื่ม แปรรูป ชนิดผงซึ่งถือเปนอีกแหลงเรียนรูของตำบลเชิงดอย ตั้ง อยูหมู 7 ภายในบริเวณวัดรองขี้เหล็ก พี่ เ หรี ย ญทอง สารแปง กำลั ง บรรจุ สิ น ค า ซึ่งเปนเครื่องดื่มแปรรูปชนิดผง ไดแก ขิง ดอกคำฝอย มะตูม ตะไคร เกกฮวย รางจืด ฟาทะลายโจร และหญา หนวดแมว ทั้งหมดนี้ลวน ผานการรับรองมาตรฐานจาก อย. “คนไทยไมเพียงแตใชพืชสมุนไพรเปนยาเทานั้น ยังดัดแปลงมากินและดื่มดวย รูไหมวาปหนึ่งๆ ตลาด สมุนไพรในประเทศเรามีมูลคากวา 500 ลานบาทเชียว นะ” พีเหรี ่ ยญทองพูด “ตอนพีเป ่ นเด็กก็รูจ กั แตน้ำเกกฮวย น้ำกระเจี๊ยบที่ใชดื่มหอมๆ หวานๆ โดยไมรูวานั่นเปน


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

ยาดวย พอพี่รูเขาก็สนใจ อยากดื่มประเภทที่ไมเคยดื่ม สุดทาย ก็ ทำ ดื่ม เอง อยาง น้ำ มะตูม น้ำ ฟา ทะลาย โจร นั่นก็เพราะความอยากดื่มของพี่เองแหละ” กวาจะมาเปน ผลิตภัณฑอยางที่เห็นก็มี ขั้น ตอน พอสมควร อยางน้ำเกกฮวย พี่เหรียญทองไปซื้อดอก เกกฮวย แหง มา โดย ใช อัตราสวน ใน การ ทำ ดังนี้ ดอก เกกฮวย 1.5 กิโลกรัม ลาง ให สะอาด นำ ไป ตม กับ น้ำ สะอาด 5 ลิตร เคี่ยว จน น้ำ งวด ให เหลือ น้ำ เพียง 5 แกว นำมากรองดวยผาขาวบางเพื่อเอากากทิ้ง น้ำที่ไดไปกวนกับน้ำตาลทราย 8 กิโลกรัม กวน ดวยไฟกลางประมาณ 30 นาที ก็จะไดเกกฮวยผง 6-6.5 กิโลกรัม ซึ่งถือวามีราคาตนทุนแพงที่สุด เมื่อไดแลวก็นำ มารอนในตะแกรงไมไผสาน โดยที่เปนกอนก็ใหนำมาบี้ ในตะแกรงรอนเอาแตผงทีละเอี ่ ยดเทานั้น พี่เหรียญทองอธิบายกรรมวิธีคราวๆ “เกกฮวยมี ฤทธิเย็ ์ นจึงชวยขับพิษรอน ขับลม ขับเหงือ่ แกรอนใน ชวย บำรุงสายตา บำรุงตับ แกไข บรรเทาอาการวิงเวียนศีรษะ หนามืดได ไมใชแคดื่มดับรอนหรือเอากลิ่นหอมๆ” ไดจิบน้ำเกกฮวยใสน้ำแข็งชื่นใจกันแลว ก็กลับมา คุยถึงจุดเริ่มตนในการคิดทำ จึงทราบวาเริ่มทำตั้งแตป 2539 ตอนนั้นพี่เหรียญทองทำดวยตนเอง เนื่องจาก ตองการ ราย ได เสริม ตอ มา มี การ เขา หุน รวม กลุม ขาย

75


76 àªÔ§´ÍÂ

ตามงานเทศกาลตางๆ จนป 2543 มีคนเสนอใหขอ อย. ปรากฏวาน้ำที่ทำขาย ไดแก น้ำเกกฮวย น้ำดอกคำฝอย และน้ำลำไย ผานการรับรองหมด กิจการดำเนินมาจนถึงป 2545 ก็เริ่มคิดสูตรน้ำ สมุนไพรใหมๆ ไดแก น้ำฟาทะลายโจร น้ำชามะนาว และ น้ำตะไคร จนกระทั่งป 2547 ปรากฏวาน้ำสมุนไพรสูตร ใหมก็ผานการรับรองจาก อย. ดวยเชนกัน ป 2550 ไดรับการสนับสนุนจากกรมตรวจบัญชี สหกรณเชียงใหม ปจจุบันทางเทศบาลสนับสนุนสราง โรงเรือนในวัดแหงนี้ แตทางกลุมมีแผนจะยายที่ทำการ ในอนาคต ทุกวันนี้ในกลุมมีทั้งหมด 222 หุน หุนละ 100 บาท ทุกหุนเปนคนในหมูบานทั้งสิ้น รายไดไมรั่วไหล ไปไหน

4.6 ศูนยหัตถกรรมสตรีแมบานกิ่วแล (ตุกตาชาง ดวงดี) ทีหมู ่  11 เปนศูนยหัตถกรรมสตรีแมบานกลุม หนึง่ ซึง่ แต แรกนัน้ เปนเพียงธุรกิจในครอบครัวของลุงดวงดี สมสวย มากอน ในตอนแรกก็เพือ่ สรางรายไดและเลีย้ งดูครอบครัว โดยลุงดวงดีและลูกๆ ชวยกันทำ เริม่ จากถักถุงผาไปวาง ในบริษัททัวรในเชียงใหมและดอยสะเก็ด นอกจากออก


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

ขายตามเทศกาลงานตางๆ ปรากฏวาบริษัททัวรรับซื้อ แตเสนอใหทำตามแบบที่ทางบริษัททัวรกำหนดใหจึงจะ รับซื้อ ซึ่งก็นาจะดี แตเมื่อเขาชวงโลวซีซั่น บริษัททัวร ไมมีคำสั่งซื้อ จึงเบนเข็มวิ่งตามโรงงาน แมจะไดงาน แต ยังผลิตตามเจาของงานกำหนดเหมือนเดิม จน กระทั่ง ป 2540 เปลี่ยน วิธี คิด เพราะ เห็น วานอกจากจะถูกกำหนดคำสั่งซื้อและราคารับซื้อแลว ขายไปกำไรก็ไปอยูใน  มือคนสัง่ หมด จึงเห็นวาตองกำหนด แบบเอง ครั้ง แรก นึกถึง ชาง สัตว ที่ เปน เอ กลัษณ ของ คน ไทย จึงทำตุกตาชางออกเสนอขายและวิ่งตามงานตางๆ เหมือนเดิม ปรากฏวาเปนบริษทั จากตางประเทศสัง่ ออเดอร เขามาและมีจำนวนมากขึน้ ทุกวัน จึงไดชักชวนเพือ่ นบาน และ เครือ ญาติ เขา รวม รวม กลุม กัน ขยาย งาน ออก ไป ไมเพียงผลิตเฉพาะตุกตาชาง แตผลิตเปนหมี นกและ ลิง รวมทัง้ ถุงผาและ ตุ ก ตา สั ต ว ต า งๆ ออก ขาย โดย การ ใช ผ า และ นุ น เป น วั ส ดุ ใน การ ตั ด เย็ บ ตุ ก ตา ใน อิ ริ ย าบถ ตางๆ แตตุกตาชาง

77


78 àªÔ§´ÍÂ

ดวงดีก็ยังถือวาเปน ผลิตภัณฑที่เปนเอกลักษณของศูนย หัตถกรรมฯ เพราะขายดีที่สุด ตอ มา มี การ ประยุกต นำ เอา ใบ ชา ใบ เตย และ ตะไครหอมมาเปนสวนประกอบในการผลิตเพื่อเปนการ เพิ่ม มูลคา ของ ผลิตภัณฑ นำ เอา ถาน มา ทำ เปน ตุกตา ดูดกลิน่ เปนตน รวมทัง้ พยายามคิดผลิตภัณฑทีสื่ อ่ ใหเห็น ถึงภูมปิ ญ  ญาของทองถิน่ และสือ่ ถึงการสืบสานวัฒนธรรม ประเพณี เชน ชางแสนรู ชางทีประทั ่ บ ชางเครือ่ งทรงตาง เปนตน กระทั่งมีหนวยงานราชการเขามาสนับสนุน ทั้ง จากเทศบาลเอง สำนักงานพัฒนาชุมชนและอื่นๆ จาก การ เริ่ม ตน เปน ธุร กิจ ครอบครัว ชวย กัน ทำ 4-5 คน ทุกวันนี้มีกลุมแมบานในหมู 11 และหมูอื่น เขามาสมทบรวมกันกวา 50 คน ทั้งที่นั่งทำกันในศูนย หัตถกรรมฯ และรับไปทำที่บาน ทุกวันนี้มีคำสั่งซื้อจาก ตางประเทศ จา กกรุงเทพฯ และ ที่ อื่นๆ จน ทำ แทบ ไมทัน กลาวไดวา การไดโอท็อป 4 ดาวและเปนแหลง เรียนรู ลวนมาจากความวิริยะอุตสาหะทั้งสิ้น

4.7 กลุมหัตถกรรมจักสานงานฝมือ (หัตกรรม ไมไผ) หมู 12 บานปทุมนิเวศน มีแหลงเรียนรูแนวหัตถกรรม


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

ที่แตกตางไปจากหนานสา หมู 6 ตรงทีเป ่ นไมไผขดและ เนนการถายทอดใหเยาวชนโดยเฉพาะ ทั้ ง หมด เกิ ด จาก การ ว า ง งาน ของ คนใน ชุ ม ชน นาศรีนุช คำกันศิลป จึงมีแนวคิดทีจะ ่ เริ่มจัดตั้งกลุมขึ้น โดยอาศัยภูมปิ ญ  ญาดานการจักสานไมไผขดทีตนเอง ่ มีอยู มาถายทอดใหเยาวชน จนเกิดกลุม ‘เยาวชนโอท็อป’ “การทำเครื่องจักสานไมไผขดเปนภูมิปญญาของ คนลานนา เปนหัตถกรรมจักสานทีมี่ เอกลักษณ ปจจุบนั หาผูมีความรูดานนี้ยากขึ้นทุกที พี่ก็อยากสงตอใหเด็ก รุนลูกรุนหลาน “ตั้งใจเพื่อใหมีราย ไดกัน ไมหันไปหายาเสพติด ใชเวลาวางใหเกิดประโยชน พอแมเด็กก็ชอบทำแลวขาย ไดรายไดดีดวย” นาศรีนุชบอก กลุม มี การ บริหาร จัดการ ใน รูป แบบ การ รวม หุน จัดสรรเงินปนผลอยางเปนระบบ มีการมอบเงินสวัสดิการ ภายใน กลุม และ อีก สวน หนึ่ง มอบ ให ชุมชน เพื่อ ใช เปน สาธารณประโยชน

79


80 àªÔ§´ÍÂ

สำหรับวิธีเตรียมไมเฮียะ ซึ่งก็คือไผชนิดหนึ่งนั้น มีดังนี้ 1.กอนอื่นจะบอกวาทำไมจึงเลือกใชไมเฮียะ ก็คือ วา เนือ่ งจากไมเฮียะเปนไผเนือ้ บาง ทางวิชาการเขาเรียก วามีเนือ้ แปงนอย ทางชาวบานเขาบอกวามอดไมชอบ จึง เลือกนำมาจักสาน ซึ่งเมื่อตัดไผแลว ตองนำมาตั้งตาก แดดตากลมทิ้งไวระยะหนึ่ง 5-7 วัน พอใหแหงหรือตาม ความตองการ ซึ่งยิ่งนานยิ่งดีเพราะไผจะแหง 2.จากนัน้ ก็ตัดขอออกใหเปนไผกลวงๆ ตามความ ยาวของขอ โดยเอาเปลือกออก จะไดไมไผเปนเสนๆ ซึ่ง เรียกวา ‘ตอก’ 3.เอา ตอก มา ขด หรื อ ขึ้ น รู ป ตาม ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

ตองการ ตั้งแตขันโตก โตะ ถาดไมไผ ฯลฯ 4.ทากาวลาเท็กซเพื่อใหยึดติดกัน หากตองการ สีอื่นๆ ที่ไมใชสีเนื้อไมก็ใชกาวลาเท็กซผสมดินสอพอง และสีที่ตองการลงไป กอนจะนำมาทาใหขึ้นเงา จากนั้น ก็ตากใหแหง เมื่อแหงดีแลวตรวจตราดูสีบางสวนที่เกิน ใหขัดออก แค นี้ เอง เหมื อ น ไม ยาก แต ต อ ง ใช ความ ชำนาญสูง หั ต ถกรรม ล า น นา แต โบ ร่ ำ โบราณ ไม หาย สู ญ ก็เพราะมีคนมีน้ำใจและมีคนตั้งใจนั่นเอง

4.8 กลุมสืบสานวัฒนธรรมลานนา (ชมรมดนตรี บานปาไผศรีโขง) ครูเบญจวรรณ เมฆพัฒน เปนครูมากวา 20 ป ขณะที่ ยังสอนประจำ เวลานัน้ เปนป 2545 เห็นเด็กหลายคนใน หมูบ า นซึง่ กำพราบาง ดอยโอกาสยากจนบาง รวมทัง้ เด็ก ทีมี่ ปญหาครอบครัวหันเขาหายาเสพติด ประกอบกับมอง เห็นคนรุนใหมโดยเฉพาะเยาวชนลืมรากเหงาความเปน คนเมืองของตัวเองไปแทบหมด ครูเบญของเด็กๆ อยาก เปน ที่ ปรึกษา ชักชวน เด็ก ไป ใน ทาง ที่ ดี และ รูจัก ศิลปะ วัฒนธรรมลานนาอันดีงาม เนื่องจากครูเบญมีพื้นฐาน การ ฟอน รำ และ เลน ดนตรี พื้น บาน มา กอน จึง ชักชวน

81


82 àªÔ§´ÍÂ

เด็กๆ โดยเฉพาะเด็กผูหญิ  งใหมาหัดฟอนหัดรำ เด็กผูช าย ใหมาเลนดนตรี รวมทั้งสอนการทำตุงดวย เริ่ม แรก มี เด็ก สนใจ มา รวม 4-5 คน กับ ดนตรี 2-3 ชิ้นที่หามาได ครูเบญจวรรณสอนใหเด็กผูหญิงรำ ฟอนได เด็กผูชายเลนซอเปน จากนั้นนำออกงานตางๆ โดยตนเองออกเงินเชาชุดใหเด็ก เมื่อการแสดงทำใหมี รายได เด็กๆ ก็เกิดกำลังใจ ชักชวนเพือ่ นเขารวม ครูเบญ จึงติดตอหนวยงานราชการจนไดเงินซื้อเครื่องดนตรีเพิ่ม ซื้อผามาตัดเปนชุดใชในการแสดง ทุกวัน นี้มี เด็กและ เยาวชน เขา รวม ประมาณ 30 คน เด็กรุนใหมเติบโตไปแลวก็ยังกลับมาสอนรุนนองตอ ดังเชน บอยหรือณัฐพงศซึ่งปจจุบันเปนครูสอนหนังสือ อยูที่โรงเรียนเอกชนแหงหนึ่ง ไดกลับมาสอนดนตรีและ สอนการทำตุงแกนอง “ครู เคย สอน เรา วา กำพรา ที่ รางกาย ได แต อยา กำพราที่ใจ ผมไมเคยลืมเลย หลายครั้งที่ผมทอ ผมก็ นึกถึงคำครูที่บอกวา อยาโกรธสังคม อยาลืมตัวเอง อยา จมไมลง” เรือ่ งนีครู ้ เบญจวรรณบอกเราวา คนเปนครูตองเปน ตัวอยางแกเด็ก ครูเองไมไดมาจากครอบครัวที่มีฐานะ ตรง ขาม นอกจาก ไมใช คน เมือง คือ เปน คน นครนายก แลว ยังยากจนมากอน เรื่องทอเรื่องคิดถอยมีบาง แต


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

เมื่อคิดถึงเด็กๆ ทำใหมีกำลังใจเดินไปขางหนา ทุกวัน นี้พอใจกับที่ผานมาและยังคิดสอนเด็กๆ ตอไปจนหมด ลมหายใจ เปน ครู ไมมี วัน หยุด จริงๆ แม จะ สอน เด็ก ทุก วัน จันทรถึงศุกร แตวันอื่นๆ จิตวิญญาณของความเปนครู ทำใหครูเบญยังคงติดตามความเปนไปของลูกศิษยอยู เสมอและตลอดมา

83


84 àªÔ§´ÍÂ

5 ÊÁÒ¹©Ñ¹· ·ÕèàªÔ§´Í 5.1 ศาลาสรางสุข ศาลาสรางสุขคือ การเพิ่มพื้นที่ทางสังคมให แกทุกกลุมวัยในตำบลเชิงดอยไมวาจะเปน เด็ก สตรี คนชรา แมกระทั่งกลุมผูพิการ และกลุมชนเผา มารวมคิดรวมทำรวมแกไข ปญหาของกลุมตนเอง ซึ่งศาลาสรางสุข แหงนี้ จะ เปน สถาน ที่ สะทอน ปญหา ตางๆ ของภาคประชาชนผานไปสูการ  จัดการปญหา อยางถูกจุดของผูบริหาร ภายในศาลาสรางสุขมีการดำเนิน กิจกรรมหลัก 5 ประการไดแก 1.การเลี้ยงลูก ดวยนมแม 2.ครอบครัวอบอุน 3.การดำเนิน ชีวิตบนวิถของ ี เศรษฐกิจพอเพียง 4.การ จัดการสิ่งแวดลอม 5.การเรียนรูตลอดชีวิต โดยมีเปาหมายสูงสุดในการดำเนินงานก็คือ การทำใหประชาชนในตำบลเชิงดอยดำเนิน ชีวิตอยางมีความสุข


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

5.2 การสรางเอกภาพในชุมชน สมเกียรติ สมร ในฐานะวิทยากรประจำศาลาสราง สุขและการสรางเอกภาพในการจัดการชุมชน เลาใหฟง วา ที่เชิงดอยมีกลุมชนเผาอยูพอสมควร ซึ่งจะอยูมาก ที่สุดที่หมู 1 ประมาณกวา 200 คน สวนใหญจะเปน ละหูหรือมูเซอ นับถือศาสนาคริสตนิกายโปรแตสแตนท นอกนั้นเปนลีซอ อาขา มง เปนกลุมทีคน ่ ทั่วไปเรียกกัน วาชาวเขา

85


86 àªÔ§´ÍÂ

นอกจากภาษาและวิถชี วี ติ ทีแ่ ตกตางจากคนพืน้ ราบ แลว ยังมีเรื่องของอคติที่ชนเผาถูกมองวามาแยงอาชีพ การมองวาเปนพวกลักลอบขนยาเสพติด จนไปถึงการ เปนพาหะโรคระบาด ทำใหตองปรับทัศนคติกันมาก ทางเทศบาลมีโครงการ ‘ตำบลสมานฉันท’ ดวย แนวคิดวา แมแตกตางกัน แตอยูรวมกันอยางสมานฉันท โดยการรวบรวมขอมูลชนเผาทัง้ หมด ทัง้ จำนวนประชากร อาชีพ การโยกยาย ฯลฯ แลวกำหนดใหแตละหมูบ า นทีมี่ ชนเผา (ซึง่ ในเชิงดอยมีจำนวนหมูบ า นทีมี่ ชนเผาอยูอาศั  ย 5 หมูบาน ไดแก หมู 1 หมู 2 หมู 11 หมู 12 หมู 13) เปน 1 ศูนย แตละศูนยสงตัวแทนมารวมประชุม ออก ความเห็น แสดงความตองการจนออกมาเปนขอระเบียบ รวมกันใช ทุกวันนีมี้ การประชุมทุกเดือนเพือ่ รับฟงปญหาและ ทางเทศบาลก็ใชโอกาสนีแจ ้ งใหทราบถึงระเบียบราชการ ระเบียบของเทศบาล รวมทั้งขาวสารขอมูลตางๆ ที่ทาง ชนเผาควรจะรับทราบ “ตัง้ แตออกขอระเบียบรวมกัน พบปญหานอยมาก สวนใหญก็เปนเรือ่ งทะเลาะวิวาทกันเองในหมูชน  เผาและ กับคนพื้นราบ เรื่องอื่นๆ เชน จำนวนประชากรแฝงของ ชนเผาซึ่งนับคอนขางยาก เนื่องจากมีการขามพรมแดน ไปมาไดงาย ซึง่ สวนใหญจะเขามาหางานทำ” พีสม ่ เกียรติ


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

ใหรายละเอียด “แตศูนยทีมี่ ทัง้ หมดไมมปี ญหาใหหนักใจ เลย ตางดูแลกันเองได โดยเฉพาะศูนยของอาจารยยูฮัน เนาบรรพต ซึง่ อยูหมู   1 เปนละหูทั ง้ หมด มีจำนวนหลังคา เรือนทั้งสิ้น 22 หลัง ไมเคยสรางปญหาเลยแมแตนอย” สรุปไดวาหัวใจของการดูแลจัดการก็คือ ‘การรับฟง กันและกัน เคารพกันและกัน ยอมรับกันและกัน’

5.3 การบริหารจัดการเทศบาลตำบลเชิงดอย พบนายกฯ มงคล ระหวางการรับประทานอาหาร ได พูด คุย กัน ถึง เรื่อง การ บริหาร จัดการ ตำบล ใน แนวทาง สมานฉันท หลังจากตระเวนสอด สอง พบปะ พูด คุย เราเรียนรูและสรุปของเราเชนนี้วา เชิง ดอย มี ความ โดด เดน ดาน ความ โปรงใส และ สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน เชิงดอยใหความสำคัญกับเรื่องทั้งสองประการนี้ มาก เห็นไดจากการมีโครงการจำนวนมากที่เกิดขึ้นจาก การริเริม่ หรือความตองการของประชาชนในทองถิน่ อาทิ กลุมนวดแผนไทย ซึ่งเกิดจากการวางงานของกลุมแม บานในตำบลแลวมารวมตัวกันขอใหชวยจัดอบรมเรื่อง นวด แผน ไทย จน ปจจุบัน ชมรม นี้ มี ความ เขม แข็ง และ สามารถตอยอดอาชีพนวดแผนไทยได และยังกลายเปน แหลงเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ

87


88 àªÔ§´ÍÂ

สำหรับ กิจกรรม หรือ การ กอสราง ที่ มี ผลก ระ ทบ ตอ ประชาชน ใน พื้น ที่ มากๆ จะ ให ความสำคัญ โดย ยึด ความเห็นของประชาชนเปนสำคัญและใหประชาชนได เขาไป รับประโยชนจากสิ่งนั้นๆ มากที่สุดผานการจาง งาน หรือ สิทธิ พิเศษ ใน บาง เรื่อง เปนตน นอกจาก นี้ ผู ยากจนในชุมชนมีงาน มีอาชีพ มีโอกาสใหกูยืมเงินแบบ ไมคิดดอกเบี้ยไปลงทุนแลวนำเงินมาใชคืนในภายหลัง โดยทางเทศบาลเองมีการติดตาม ผลวามีการไปดำเนิน การจริงหรือไม ในมุมดานการบริหารงานที่โปรงใส ทางเทศบาล เชิงดอยเนนการประชาสัมพันธขอมูลขาวสารและผลการ ดำเนินงานตางๆ ใหประชาชนทราบในหลากหลายชอง ทาง ไดแก วารสารเชิงดอยสาร คลื่นวิทยุ 94.75 บอรด ประชาสัมพันธของทางเทศบาล ทางเว็บไซตและเฟซบุค แผนพับตางๆ หอกระจายขาวหมูบ า น ในทางกลับกันได เปดโอกาสใหประชาชนแสดงความเห็น ความตองการ รองทุกขหรือแจงขาวสารในหลากหลายชองทางเชนเดียวกัน ไดแก การประชุมผูนำประชาชนประจำเดือน ตูรับเรื่อง รองเรียนและขอเสนอแนะ ตู ปณ. 24 ปณจ. ดอยสะเก็ด และการรองเรียนโดยตรงกับเจาหนาที่ อบต. หรือโทรเขา มือถือนายกฯ รองนายกฯ และปลัดไดโดยตรง นอกจากนี้โครงการที่โดดเดนของทางเทศบาลที่


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

สะทอนถึงความโปรงใสและการมีสวนรวมไดเปนอยางดี ไดแก สภาเด็กและเยาวชนระดับตำบล โดยทีมี่ การดำเนิน กิจกรรมอนุรกั ษสิง่ แวดลอม การจัดใหมีการจัดทำกองทุน ผูติดเชื้อเอดสซึ่งเปนกองทุนสัจจะออมทรัพยวันละบาท โครงการบานเทิดไทเปนโครงการสรางบานใหกับผูยากไร  เปนตน ใคร จะ รู วา เทศบาล ตำบล เชิง ดอย เคย ได รางวัล พระ ปกเกลา มา ตั้งแต สมัย เปน อบต.เชิง ดอย โดย ได รางวัลพระปกเกลาในป 2550 ดานความโดดเดน ดาน ความโปรงใสและสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน

89


90 àªÔ§´ÍÂ

6 àªÔ§´Í¹‹ÒÍÂÙ‹ »ÃЪҪ¹ÊÌҧÊÃä ÊÁÒ¹©Ñ¹· ÊÒÁѤ¤Õ ถึ ง เวลา นี้ แล ว คำจำกั ด ความ ของ คำ ว า น า อยู ใน เชิ ง ประจั ก ษ ต อ สายตา นั้ น เข า ใจ ได ไม ยาก คนคนหนึ่ ง ครอบครัวหนึ่งและสังคมหนึ่งนั้น ไมเพียงกินอิ่ม นอน อุน ทวากินดี อยูดี มีความปลอดภัยในชีวิต มีศิลปะ หลอเลี้ยงจิตใจ มีความรักใครกลมเกลียวและเคารพใน ศักดิ์ศรีกันและกัน นี่คือชีวิตของชาวเทศบาลตำบลเชิงดอย ชีวิตที่ หยัดยืนดวยตัวเอง และมุงสูความยั่งยืนอยางมั่นคง


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

91


92 àªÔ§´ÍÂ


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

ÀÒ¤¼¹Ç¡

93


944 àªÔ§´ÍÂ

1. ชาวไทใหญ ไทเขิน ไทลื้อ และไทยอง ภาคเหนือของประเทศไทยมีชนเผาตางๆ มากกวา 16 กลุม โดยจะแบงกลุมเหลานี้ตามตนกำเนิดภาษา กลุม ชนเผาเดนๆ ในปจจุบันนี้ ไดแก กลุมทีพู่ ดภาษาไทยวน (คนเมือง) ไทใหญ (ฉาน) ไทลื้อ ไทเขิน และไทยอง ไท ใหญ หรือ ฉาน คือ กลุม ชาติพันธุ ใน ตระกูล ภาษาไท-กะได ซึ่งเปนกลุมชาติพันธุขนาดใหญอันดับ 2 ของพมา สวนมากอาศัยในรัฐฉานประเทศพมาและ บางสวนอาศัยอยูชายแดน  ไทยพมา คนไทใหญในประเทศ พมามีประมาณ 3 หรือ 4 ลานคน แตมีหลายแสนคนที่ อพยพเขาสูประเทศไทยเพื่อหนีปญหาทางการเมืองและ หางานทำ ตามภาษาของเขาเองจะเรียกตัวเองวา ‘ไต’ พีน่ อง ไตในพมามีหลายกลุม เชน ไตขืน ไตแหลง ไตคัมตี ไตลือ้ และ ไตมาว แตกลุมใหญที่สุดคือ ไตโหลง ไต = ไท และ โหลง (หลวง) = ใหญ ซึ่งคนไทยเรียก ‘ไทใหญ’ จะเห็น ไดวาภาษาไตและภาษาไทยคลายกันบางแตไมเหมือนกัน นอกจากนี้ยังมีคำเรียกไทใหญอีกอยางวา เงี้ยว แตเปน คำที่ไมสุภาพในการเอยถึงชาวไทใหญ ไทขึน หรือ ไทเขิน เปนกลุมชาติพันธุชาวไทกลุม หนึ่ง ที่อาศัยอยูใน  พมา ไทย จีน และ ลาวเปนสวนมาก ชือ่ จริงของชนกลุม นีก็้ คือ ไทขึน แตคนไทยเรียกวาไทเขิน เคยตั้งอาณาจักรของตน มีเมืองหลวงอยูที่เมืองเชียงตุง


μÔ³ ¹μ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡Å ¡ØÅ

รัฐฉาน ประเทศพมา ภาษาไทขึนเปนกลุม ภาษาไทพายัพ ซึ่งเปนกลุมยอยในกลุมภาษาคำ-ไต ตระกูลภาษาไทกะได ไทยเขินมีความสามารถในการทำภาชนะเครื่องใช จากไมไผทีสาน ่ อยางละเอียดแลวเคลือบดวยยางไมสีแดง จึงเรียกวาเครื่องขึน แตคนไทยเรียกวา ‘เครื่องเขิน’ คำ วา “ขึน” มี ที่มา จาก แม น้ำ ขึน ซึ่ง ไหล ขึ้น ไป ทางเหนือ ไมไดไหลลงไปทางทิศใตเชนเดียวกับแมนำเมย ชาวไตที่อาศัยอยูจึงถูกเรียกวาไตขึน ป จ จุ บั น ชาว ไทย เชื้ อ สาย ไท เขิ น จะ อยู ที่ อำเภอ สันปาตอง จังหวัดเชียงใหม ไทลื้อ หรือ ไตลื้อ เปน ชาวไทกลุมหนึ่ง มีถิ่นฐาน เดิ ม อยู ใน แถบสิ บ สอง ป น นา ของจี น มี เอกลั ก ษณ ที่ โดดเดนคือการใชภาษาไทลื้อและยังมีวัฒนธรรมอันเปน เอกลักษณอื่นๆ เชน การแตงกาย ศิลปะและประเพณี ตางๆ ชาวไทลือ้ บางสวนไดอพยพ หรือถูกกวาดตอนออก จาก เมืองแถน เชียงตุง เชียงแสน และ ลานชาง เพราะ สงครามในชวง 100-200 ปที่ผานมา ลงมาตั้งถิ่นฐาน ใหมในพื้นทีตอน ่ ลาง เชน พมา ลาว และ ไทย ในสมัย รัชกาลที่ 1 เจาผูครองนครนาน 2 องค ยกกองทัพขึ้น ไปกวาดตอนชาวไทลือ้ จากสิบสองปนนามายังเมืองนาน และเมืองบางสวนในประเทศลาว ตอมาในสมัยรัชกาล

995


966 ધ´Í àªÔ§´ÍÂ

ที่ 5 เจาสุริยะพงษ เจาผูครองนครนานก็ไดยกกองทัพ ขึ้นไปกวาดตอนชาวไทลื้อจากสิบสองปนนามายังเมือง นานอีกครั้ง ป จ จุ บั น เชื้ อ สาย ชาว ไท ลื้ อ กระจาย กั น อยู ทาง แถบภาคเหนือ เชียงราย เชียงใหม นานจะมีมากที่สุด รองลงมาคือที่พะเยา ลำปาง และบางสวนอยูทีลำพู ่ น ไทยอง หรือ ชาวเมืองยอง ใชเรียกกลุมคนที่ตั้ง บาน เรือน อยู บริเวณเมือง ยอง และ กระจาย อยู ใน ดาน ตะวันออกของ รัฐฉาน ประเทศพมา เขตสิบสองปนนา ในมณฑลยูนนานของสาธารณรัฐประชาชนจีน ภายหลัง ไดอพยพเขามาตั้งบานเรือนในจังหวัดลำพูน เชียงใหม เชียงราย และนาน ในสมัยรัชกาลที่ 1 ภายใตกุศโลบาย ‘เก็บผักใสซา เก็บขาใสเมือง’ ของ พระเจากาวิละ กษัตริย เชียงใหม เพื่อ รื้อฟน อาณาจักร ลาน นา ภาย หลัง การ ยึดครองของพมาสิ้นสุดลง จากตำนานชาวเมืองยองนัน้ ไดอพยพมาจากเมือง เชียงรุงและเมืองอื่นๆ ในสิบสองปนนา และไดอพยพ เขามาตั้งถิ่นฐานครั้งใหญในเมืองลำพูนและเชียงใหมใน ป พ.ศ. 2348 เจาเมืองยองพรอมดวยครอบครัวและ บรรดาญาติๆ ขุนนาง พระสงฆ และไพรพลจากเมือง ยอง จำนวนกวา 20,000 คน เขามาแผวถางเมืองลำพูน ทีร่ างอยู ตัง้ บานเรือนตามลุม น้ำแมทา ตามแนวแมนำ้ กวง ผูคน ทั่วไป ใน แถบ นันน้น จึง เรียก คน ค ที่มา จากเมือง ยอง วา


μÔ³ ¹Ô¹μ¡Ç¹¡Ø μ³ μÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

ชาวไทยอง ในสมัยนั้น ผูคนตางเมืองที่มาอยูรวมกัน จะเรียก ขานคนที่มาจากอีกเมืองหนึ่งตามนามของคนเมืองเดิม เชน คนเมืองเชียงใหม คนเมืองลำปาง คนเมืองแพร คน เมืองนาน คนเมืองเชียงตุง เปนตน แตคนเมืองยองนั้น ตอมาคำวาเมืองไดหายไป คงเหลือคำวา คนยอง ดังนั้น ยอง จึงมิใชเปนเผาพันธุและ  เมือ่ วิเคราะหจากพัฒนาการ ประวัติศาสตรของเมืองยองแลว ชาวไทยยองก็คือ ชาว ไทลื้อนั่นเอง

2. พันธุข าว กข 6 พันธุสั นปาตองและพันธุข าวขาว ดอกมะลิ 105 พันธุ กข 6 เปนพันธุขาวเหนียว มีลักษณะไวตอชวงแสง ปลูกมากทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของประเทศในพื้นที่นาน้ำฝน พันธุ กข 6 เกิดจากการเปลีย่ นแปลงทางพันธุกรรม ในพันธุขาวขาวดอกมะลิ 105 โดยการนำเอาเมล็ดพันธุ ขาวขาวดอกมะลิ 105 ไปอาบรังสีแกมมา 20 กิโลกรัม แลวนำเมล็ดพันธุขาวมาปลูกคัดเลือกลักษณะตางๆ ที่ สถานีทดลองขาวบางเขนและสถานีทดลองขาวพิมาย คัด เลือกไดสายพันธุข าวเหนียวหลายสายพันธุ สายพันธุข าว KDML105’65G2U-68-254 เปนสายพันธุข าวเหนียวที่ ใหผลผลิตสูง ซึง่ คณะกรรมการ มก พิจารณา าร พันธุข าวไดมีมติ

9 97


98 ધ´Í àªÔ§´ÍÂ

ใหออกใชขยายพันธุได เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2520 ใหชื่อวา กข 6 พันธุ กข 6 เปนขาวตนสูงประมาณ 150 เซนติเมตร ทรง กอ ตั้ง แตก กอ ดี ลำตน แข็ง แรง ปาน กลาง เมล็ด ขาวกลองรูปรางเรียว เมล็ดมีระยะฟกตัว ประมาณ 5 สัปดาห ไดผลผลิตเฉลี่ยประมาณ 670 กิโลกรัมตอไร น้ำหนักขาวเปลือก 1,000 เมล็ด ประมาณ 27.0 กรัม ขอดีของพันธุนี้กลาวคือ ใหผลผลิตที่คอนขางมี เสถียรภาพในสภาพแวดลอมตางๆ ทนแลง ตานทาน ตอโรคใบจุดสีน้ำตาลและโรคไหม ขาวสุกนึ่งมีลักษณะ นุมและมีกลิ่นหอม ขอจำกัด ไม ตานทาน ตอ โรค ขอบ ใบ แหง เพลี้ย กระโดดสีน้ำตาล และแมลงบั่ว พันธุสันปาตอง เปนพันธุขาวเหนียวพันธุพื้นเมืองที่ไวตอแสง ปลูกกันมากแถบภาคเหนือตอนบนและภาคตะวันออก เฉียงเหนือในพื้นทีนา ่ ลุม ลักษณะของตนจะสูงประมาณ 150 เซนติเมตร มีรวงยาวปานกลาง เมล็ดขาวเปลือก มีสีน้ำตาล ใหผลผลิตสูง มีความตานทานโรคใบจุดสี น้ำตาล ทนตอสภาพดินเค็ม มีเมล็ดเรียวยาว ขาวนึ่งสุก จะมีความออนนุม


μÔ³ ¹Ô¹μ¡Ç¹¡Ø μ³ μÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

พันธุขาวขาวดอกมะลิ 105 เปนพันธุขาวเจาไวตอแสง ปลูกไดทั่วทุกภาคของ ประเทศไทย ในพื้นที่นาน้ำฝนที่มีระดับน้ำไมเกิน 80 เซนติเมตร ในฤดูนาป ลักษณะของตนจะสูงประมาณ 140 เซนติเมตร กอ ตั้ง ตน ขาว ออน ลม งาย รวง ขาว คอนขางยาวแนน คอรวงยาว ระแงถี่ กานรวงออน เปน ขาวเจาที่มีคุณภาพเมล็ดดีมาก เมล็ดขาวสารใส แข็งแรง ทนตอสภาพดินเปรี้ยวและดินเค็ม มีความทนแลงไดดี พอสมควร ปลูกในพื้นที่ดอน สภาพขาวไรได ขาวขาวดอกมะลินี้ มีรายงานการพบครัง้ แรกเมือ่ ป 2488 ในนาของเกษตรกรชื่อจรูญ ตันทวุฒิ ตำบลแหลม ประดู อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ตอมาไดแบงเมล็ด ไปปลูกทีท่ าทองหลาง อำเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา จนกระทั่งในชวงระหวางป 2493-2510 กรมการขาว ไดมีโครงการรวบรวมพันธุขาวพื้นเมือง ซึ่งในขณะนั้นได รวบรวมรวงขาวพันธุขาว  ดอกมะลิจากอำเภอบางคลา นำ ไปคัดเลือกและปลูกเพือ่ เปรียบเทียบพันธุ ปรากฏวาขาว พันธุขาวดอกมะลิ 4-2-105 (ตัวเลข 4 หมายถึง ทองถิ่น ที่เก็บรวบรวมคืออำเภอบางคลา 2 หมายถึง หมายเลข ประจำพันธุคื อพันธุข าวพันธุที ่ 2 และ 105 หมายถึงรวง ที่ 105) ใหผลผลิตสูง เมล็ดขาวนุมมีกลิ่นหอม สามารถ ปรับตัวในสภาพพืน้ ทีต่ างๆ ไดดี คณะกรรมการพิจารณา พันธุข าว ไดมีมติใหเปนพันธุ นธุส งเสริมขขยายพันธุได  ชือ่ พันธุ

99


100 ધ´Í 100 àªÔ§´ÍÂ

ขาวขาวดอกมะลิ 105 เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2502 ลักษณะโดดเดนอยางหนึง่ ของพันธุข าวนีก็้ คือ เมือ่ หุงสุกจะมีกลิ่นหอมมาก เมล็ดขาวจะออนนุม จึงเรียก เพี้ยนติดปากคนสวนมากวา ขาวหอมดอกมะลิ เหลือ เพียงขาวหอมมะลิก็มี

3. ขาวนาป ขาวนาปรัง ขาวไวแสง และขาวไมไวแสง คำวา ‘ขาวนาป’ หรือขาวไวตอแสง เปนพันธุข าวทีปลู ่ กได เฉพาะในฤดูฝน ออกดอกตรงตามฤดูกาลเพราะตองการ ชวงแสงจำเพาะเพื่อการออกดอก (ไวตอชวงแสง) ไม วาจะปลูกขาวพันธุนั้นเมื่อใด จะออกดอกในชวงเดือน ตุลาคมเทานั้น สวนคำวา ‘ขาวนาปรัง’ หรือพันธุขาวไมไวตอชวง แสง เปนพันธุขาวที่มีอายุการเก็บเกี่ยวคอนขางแนนอน เมื่อมีอายุครบถึงระยะเวลาออกดอกจะออกดอกโดยไม ตองอาศัยชวงแสงเปนตัวกำหนด จึงปลูกขาวชนิดนี้ได ตลอดทั้งป แตเกษตรกรมักจะเรียกวาขาวนาปรังแมวา จะปลูกไดตลอดปทั้งในฤดูนาปที่อาศัยน้ำฝนและในชวง ฤดูแลงที่ตองใชน้ำชลประทาน 4. รางวัลพระปกเกลา เปนรางวัลของสถาบันพระปกเกลา ซึ่งเปนหนวยงาน อิสระของรัฐภายใตตกำ กำกับของ องรัฐสภา มีหนาที่สงเสริม


μÔ³ ¹μ μ³ ¹Ô¹μ¡Ç¹¡Å μÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ 101 0 01

และ พั ฒ นา ความ รู ด า น การ ปกครอง ใน ระบอบ ประชาธิปไตย สถาบันจัดใหมีการมอบรางวัลพระปกเกลา และ ใบ ประกาศ เกี ย รติ คุ ณ สถาบั น พระปกเกล า แก องค ก ร ปกครอง ส ว น ท อ ง ถิ่ น ที่ มี ความ เป น เลิ ศ ด า น ความ โปร ง ใส และ ส ง เสริ ม การ มี ส ว น ร ว มของ ประชาชน เพื่อเปนการสงเสริมหลักธรรมาภิบาลในการ ปกครองทองถิ่น รางวั ล พระ ปกเกล า มอบแก องค ก ร ปกครอง สวนทองถิน่ ในดานตางๆ ทีกล ่ าวมา แบงการมอบรางวัล ออกเปน 2 ระดับ คือ - โลรางวัลพระปกเกลา พรอมใบประกาศเกียรติคณ ุ มอบใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่ผานการพิจารณา ตัดสิน ของ คณะ กร รม การฯ แลว วา มี ความ เปน เลิศ ใน ดานนั้นๆ - ใบประกาศเกียรติคณ ุ มอบใหแกองคกรปกครอง สวน ทอง ถิ่น ที่ ผาน การ พิจารณา ตัดสิน ของ คณะ กร รม การฯ แลว วา ผาน เกณฑ มาตรฐาน ที่ กำหนด ไว ใน ดาน นั้นๆ รางวั ล พระ ปกเกล า แบ ง เป น 3 ประเภท คื อ ประเภทที่ 1 ดานความโปรงใสและสงเสริมการมีสวนรวม ของประชาชน ประเภทที่ 2 ดานการเสริมสรางสันติสุข และความสมานฉันท ประเภทที่ 3 ดานการเสริมสราง เครือขายรัฐ เอกชน และประชา คม ปร สังงคม


10 ધ´Í 102 àªÔ§´ÍÂÂ

5. มาตรฐานความปลอดภัยของผักและอาหาร สังเกตไดวาในทองตลาดหรือตามหางสรรพสินคาจะมี ตรา สัญลักษณ แสดง มาตรฐาน ความ ปลอดภัย ของ ผัก มากมายเต็มไปหมด ตั้งแตผักปลอดภัยจากสารพิษ ผัก อนามัย ผักไรสารพิษ ผักไฮโดรโปรนิกส แมแตมาตรฐาน ผักอินทรีย ปะไวขางถุงหรือบนพืชผัก ผูบริโภคอยางเราๆ อาจจะสับสน เลยไปถึงเหมา รวมกันไปหมดวาเปนแคชื่อเทานั้น ที่แทก็คือผักที่ปลูก โดยไมใชสารพิษ แตความจริงแลวไมใชเชนนั้น! มาตรฐาน ผัก อิน ทรีย จริงๆ นั้น 1.หาม GMO 2.หามใชปุยเคมี 3.หามใชสารเคมีกำจัดวัชพืช 4.หามใช สารเคมีกำจัดแมลง 5.หามใชฮอรโมนสังเคราะห 6.ตอง มีความปลอดภัยตอผูบริ  โภค 7.ไมเปนพิษตอสิง่ แวดลอม และ 8.มีความหลากหลายทางชีวภาพบริเวณแปลงปลูก ตางจากพืชผักปลอดภัยอืน่ ๆ ทีใช ่ ปุย เคมี ใชยาฆา แมลง ใชยากำจัดวัชพืชก็ได ไมจำเปนตองระบุสายพันธุ ไมจำเปนตองระบุเรือ่ งความหลากหลายหรือการเปนพิษ ตอสิ่งแวดลอม ซึ่งในความเปนจริงแลวพืชผักตางๆ จะ ไดมาตรฐานเกษตรอินทรียนั้นยากมาก แหลงที่ไดตรา ปลอดภัยอืน่ ๆ ทีไม ่ ใชพืชผักปลอดภัยใชยาฆาแมลง ใชยา กำจัดวัชพืช ใชปุยเคมี ฯลฯ อยูตลอด เพียงแตเมื่อตรวจ หาคาสารพิษแลวไมเกินกำหนด หน หามตามคามาตรฐาน


μÔ³ ¹Ô¹μ¡Ç¹¡Ø μ³ μÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ 103 03

อันตรายก็ไดมาตรฐานพืชผักปลอดภัยแลว ซึ่งสวนใหญ ในประเทศไทยเราจะเปนเชนนี้

6. ตัวอักษรลานนา มีคำเรียกทางการวา ‘อักษรธรรมลานนา’ หรือ ตัวเมือง (ตั๋วเมือง) เปนอักษรที่สำคัญและแพรหลายในลานนา การ กำเนิด อักษร ธรรม ลาน นา ก็ คลาย กับ การ กำเนิด อักษรทั้งหลายคือ ปรับปรุงจากอักษรที่มีอยูเปนระบบ มาแลว ในกรณีอักษรธรรมลานนาคือ ปรับปรุงจากอักษร มอญ หลักฐานเกี่ยวกับการ กำเนิดอักษรธรรมลานนา ไมปรากฎ หลัก ฐาน อักษร ธรรม ลาน นา เกา ที่สุด เทา ที่ พบ ในปจจุบันคือ จารึกลานทอง พบทีสุ่ โขทัย จารึกไดระบุศักราชไวตรงกับ พ.ศ.1919 อยางไร ก็ตาม ยังไมพบหลักฐานวา อักษรธรรมลานนาเกิดขึน้ ใน สมัยใด มีผูสันนิษฐานวามาจากความจำเปนทางศาสนา เพื่อ เขียน พระ ธร รม คำ ภีร ให เปน สื่อ แก คนใน วง กวาง อักษรธรรมลานนาจึงเริ่มตนจากการใชเขียนภาษาบาลี เปนหลัก อั ก ษร ธรรม ล า น นา หรื อ ตั๋ ว เมื อ ง มั ก ใช จาร บน คัมภีร ใบ ลาน พับ สา เอกสาร โบราณ โดย เฉพาะ เรื่องราวตางๆ เกี่ยวกับศาสนา เชน ตำราภาษาบาลี ชาดก เรื่องราวการ กัลปนา น สิ่งของแกวัด นอกจากนั้น


100 ધ´Í 104 àªÔ§´ÍÂ

ยังใชบันทึกเอกสารตางๆ อันเกี่ยวเนื่องในพุทธศาสนา ตำราโหราศาสตร ตำราแพทย บทกวีนิพนธ และคาวซอ (คำประพันธรอยกรองของภาคเหนือ) การใชอักษรธรรมลานนามักจะขาดชวงหรือชะงัก ไปบางตามความ ผัน ผวนของเหตุการณบานเมือง แตก็ ยังสามารถสืบทอดกันตลอดมาไดเปนอยางดี จนกระทั่ง ใน ป พ.ศ. 2483 เมื่อ มี การ ประกาศ ใช รัฐนิยม ฉบับ ที่ 3 วาดวยภาษาและหนังสือกับหนาที่พลเมือง หาม การเรียนการสอนอักษรทองถิน่ การใชอักษรธรรมลานนา จึงหยุดชะงักไปเปนเวลานาน ประกอบกับความแพรหลาย ในการใชอักษรไทยปจจุบันของสื่อมวลชนทุกแขนง การ ใชอักษรธรรมลานนาจึงเสื่อมลงตามลำดับ ปจจุบันไดมีความพยายามที่จะฟนฟูอักษรธรรม ลานนาขึน้ อีก โดยไดจัดใหมีการเรียนการสอนอักษรธรรม ลานนาตามวัดในภาคเหนือ และสถาบันการศึกษาตางๆ ทั้งมหาวิทยาลัย และโรงเรียนมัธยม

7. ภาษาไทยถิ่นเหนือ หรือคำเมือง หรื อ ชื่ อ อยา ง เป น ทางการ ว า ‘ภาษา ถิ่ น พายั พ ’ เป น ภาษาถิ่ น ที่ ใช ใน ภาค เหนื อ ตอน บน หรื อ ภาษา ใน อาณาจักร ลาน นา เดิม มัก จะ พูด กัน มาก ใน เชียงใหม เชียงราย อุตรดิตถ แพร นาน แมฮองสอน ลำพูน ลำปาง พะเยา และยังมีการพูดและการ ารผสมภาษากันในบางพืน้ ที่


μÔ³ ¹Ô¹μ¡Ç¹¡Ø μ³ μÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ 105 0 05

ตัวอยางอักษรธรรมลานนา เทียบกับอักษรไทย

ของจังหวัด ตาก สุโขทัย และเพชรบูรณอีกดวย คำเมือง ยังสามารถแบงออกเปนสำเนียงลานนา ตะวันตก (ในจังหวัด เชียงใหม ลำพูน แมฮอ งสอน) และ สำเนียงลานนาตะวันออก (ในจังหวัด เชียงราย พะเยา ลำปาง อุตรดิตถ แพร นาน) ซึ่งจะมีความแตกตางกัน บาง คือ สำเนียงลานนาตะวันออกสวนใหญจะไมพบ สระเอือะ เอือ แตจะใชสระเอียะ เอียแทน (มีเสียงเอือะ และเอือ เพียงแตคนตางถิน่ ฟงไมออกเอง เนือ่ งจากเสียง ที่ออกมาจะเปนเสียงนาสิสกกใใกลเคียง ยงกับเอียะ เอีย) สวน


100 ધ´Í 106 àªÔ§´ÍÂ

คนในจังหวัดลำพูนมักจะพูดสำเนียงเมือง ยอง เพราะ ชาวลำพูนจำนวนมากสืบเชื้อสายจากชาวยองในรัฐฉาน จึงมีสำเนียงที่เปนเอกลักษณ คำเมืองมีไวยากรณเหมือนกับภาษาไทยกลาง แต ใชคำศัพทไมเหมือนกัน แตเดิมใชคูกั บอักษรธรรมลานนา

8. การจาร คือการเขียนหนังสือลงบนวัสดุทีทำ ่ จากพืช ทีนิ่ ยมกันมาก ในสมัยโบราณนั้น ไดแกการจารึกลงใบลาน (Corypha umbraculifera) หรือใบตาล (Borassus flabellifer) เรียก วา ‘คัมภีรใบ  ลาน’ การเขียนตัวอักษรลงบนใบลานทีเรี ่ ยก วา ‘การจาร’ นี้ ใชการฝงเขมาสีดำลงไปในรองทีขี่ ดไวบน ใบลานแลวขัดตกแตงใบลานใหสะอาด จะไดตัวอักษร สีดำฝงอยูในเนื้อของใบลาน การทำคัมภีรใบ  ลานในสมัย นั้น ใชเขาหอหรือผูกหอคัมภีร ตกแตงปกหนาหลังเชน เดียวกับสมุดในปจจุบัน 9. หมอเมือง คือแพทยแผนไทยที่รักษาโรคภัยไขเจ็บ ดวยภูมิปญญา พื้นบานที่สืบทอดกันมา หมอเมืองมีหลายประเภท เชน หมอยาซึ่งเกงใน ทางการแปรรูปสมุนไพร หมอนวดแผนโบราณ ย่ำขาง ขวากซุย จับเสน หมอเปาหูเปาตา หมอสะเดาะเคราะห


μÔ³ ¹Ô¹μ¡Ç¹¡Ø μ³ μÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ 107 0 07

เขียนเทียนและอืน่ ๆ อีกมาก ศาสตรหมอเมืองก็มีพืน้ ฐาน เดียวกันกับแพทยแผนไทยของทางภาคกลาง เพียงแต การรวบรวมหรือการจัดประเภทอาจจะไมเปนทางการ มากนัก มีการรวมตัวของ ‘เครือขายหมอเมืองเชียงใหม’ เนื่องจากหมอเมืองเปนองคความรูและภูมิปญญา โดย เฉพาะอยางยิ่งภูมิปญญาลานนา ซึ่งเปนมรดกที่สืบทอด กันมาจากบรรพบุรษุ หลายชัว่ อายุคน เรียกวา ‘มรดกแหง การรักษา’ วีธการ ี รักษาของหมอเมืองไมไดใชยาเปนหลัก ถึงแมจะใชสมุนไพรตามธรรมชาติมาเปนยา แตหมอเมือง ยัง ใช ความ เชื่อ จิตใจ และ พลัง ชุมชน หรือ สังคม ของ ผูปวยดวย เรียกไดวาเปนองคความรูแบบองครวม โดยมี เปาหมายคือสันติสุขของบุคคลและสังคม หมอเมืองยังเปนตำแหนงทางสังคมทีชุ่ มชนมอบให แกบุคคลที่สังคมยกยอง ในฐานะเปน ผูสรางสรรคและ เยียวยารักษาปญหา โดยเฉพาะอยางยิง่ เรือ่ งโรคภัยไขเจ็บ รวม ไป ถึง คน ที่ ทำนุ บำรุง ความ เปน เอกภาพ ของ ชุมชน สรางความรักใครกลมเกลียวของคนในสังคม หมอเมือง ไมใชคนขายยา ไมใชพอคาสมุนไพร ไมใชวิชาชีพที่แลก มาดวยความรูภูมิปญญา แตเปนจุดศูนยรวมจิตใจของ ชุมชนดวย


10 ધ´Í 108 àªÔ§´ÍÂÂ

10. ลูกประคบสมุนไพร คือการนำสมุนไพรหลายๆ อยางมาหอรวมกัน สวนใหญ เปนสมุนไพรที่มีน้ำมันหอมระเหย วิธีใชก็นำลูกประคบ นึ่งใหรอนแลวใชประคบบริเวณที่ปวดหรือเคล็ดขัดยอก ชวย กระตุน ระบบ ไหล เวียน โลหิต ประโยชน หลัก ของ ลูกประคบ คือ ชวย รักษา อาการ เคล็ด ขัดยอก และ ลด อาการปวด มี คน เขาใจ ผิด คิด วา ใช ครั้ง เดียว แลว ทิ้ง ใน เมื่อ เปนการนำยาสมุนไพรมาหอรวมกันแลวนึ่งใหรอน เมื่อ เย็น แลว ก็ สามารถ นำ ไปนึ่ง ใหม แลว นำ มา ประคบ ซ้ำๆ จนกวาจะพอใจหรือแนใจวาหมดฤทธิ์ยา แตละครั้งนั้น จะกินเวลา 15 นาทีจนถึงหนึ่งชั่วโมงหรือจนลูกประคบ หายรอนก็ได

11. กินแขกแตงงาน เมื่อ ได ตรวจ สอบ วิถี ของ หนุม สาว กับ ตำรา พรหม ชาติ เพื่อความมั่นใจแลวและเลยไปถึงขั้น ผิดผีเสียผีกันเปน ที่เรียบรอยแลว ทั้งสองฝายคือฝายชายและฝายหญิงก็ จะตองตกลงกันวา จะมีการกินแขกแตงงานหรือการเอา ผัวเอาเมียเมื่อใด ทั้งสองฝายก็จะไปหาผูเฒาผูแก ชวยดู เดือนดูวันทีเป ่ นมงคลให โดยมากการหาเดือนทีดี่ จะเปน เดือนคู เชน เดือน 6 เดือน 8 เดือน 12 เปนตน


μÔ³ ¹Ô¹μ¡Ç¹¡Ø μ³ μÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ 109 09

เมื่อ รู กำหนด กิน แขก แตงงาน แลว ฝาย ชาย จะ พยายามเก็บเงินทองไว ฝายหญิงก็จะเลี้ยงหมูเลี้ยงไก เตรียม จัดหา ที่นอน หมอน มุง เมื่อ ถึง วัน กำหนด มา ถึง ทั้ง สอง ฝาย ก็ จะ บอก ให ญาติ และ เพื่อน สนิท เทานั้น ไป รวมในงานมงคล ทั้งนี้จำนวนคนที่ไปรวมในวันเกิดแขก แตงงานจะมีไมมากนัก คืออาจมีจำนวนในราว 20-30 คนเทานั้น ผูใหญฝายหญิงจะทำพิธี ‘ขอเขย’ คือนำดอกไม ธูปเทียนและของทีเป ่ นมงคลไปขอเอาเจาบาวจากพอแม เจาบาว โดยกลาวคำมงคลวา “มาวันนีก็้ เพือ่ จะมาขอเอา แกวงามแสงดีไปไวเปนมังคละที่บานพูน” ทางผูใหญฝายชายจะมีพานขาวตอกดอกไมและ ขันหมากเปนเครือ่ งตอนรับ ทีฝ่ ายหญิงตองไปขอเจาบาว นีเพราะ ้ วาธรรมเนียมทางภาคเหนือฝายชายตองไปอยูที ่ บานฝายหญิง เพื่อจะไดไปชวยแบงเบาภาระในการงาน ตางๆ เชน การทำนา เปนตน ดังนัน้ ก็ตองไปขอเอาจึงถูก ตามประเพณี เพราะหลังจากแตงงานอยูกิ นกันแลว ชายก็ จะตองเปนผูร บั ใชพอแมฝายหญิง สมัยโบราณจึงพูดกันวา มีลูกสาวไดเปรียบเพราะตอไปจะไดลูกอายหลานชายมา ชวยงาน (ลูกชายในที่นี้หมายถึงลูกเขย) ลูกเขยจะตอง ชวยงานของพอตาแมยายอยางนอยเปนเวลา 3 ปจึงจะ แยกตัวลงปกซั้งตั้งกิน คือแแยกไปตั้งเรือนอยูตางหาก


11 ધ´Í 110 àªÔ§´ÍÂÂ

ฝาย หญิง จะ ฆา หมู ฆา ไก เพื่อ เปน เครื่อง เซน ไหว เลี้ยงผีบานผีเรือน เปนการบอกใหผีไดรูว าตอไปจะมีคน มาอยูรวมในเรือนอีกคนหนึ่ง ขอใหผีรับเอาเขาเปนลูก เปนหลานอยาใหเขามีอันตรายดวยประการทั้งปวง เมื่อ เสร็จจากพิธีเซนไหวแลว ฝายชายอาจจะมีของรางวัล โดยมากจะเปนสรอยคอหรือแหวนก็จะมอบใหหญิงใน ตอนนี้ จากนั้นจึงมีการผูกขอมือคูบาวสาว โดยจะขอ คนแกที่มีอายุมากเรียกกันวาคนทีมี่ อายุยืนและที่ชื่อเปน มงคล เชน แกว คำ ยืน เปนตน เปนผูผูกขอมือแลวจะ เชิญผูใ หญทีเป ่ นชายและชือ่ เปนมงคลอีกเชนกัน เปนผูจู ง เอาเจาบาวและเจาสาวเขาสูหองในเรือนซึ่งกั้นไวเตรียม ไวสำหรับทั้งคู หลังจากนั้นจึงนำเอาหมูเอาไกที่เลี้ยงเซน ไหวผีเรือน (บางแหงจะจัดเตรียมไวอีกชุดหนึ่ง) เลี้ยงแก ญาติที่ไปรวมงาน สมัยโบราณการกินแขกแตงงานไมไดทำกันทุกคู เสมอไป คงกระทำแตที่ฝายบาวฝายสาวเปนคนมีหนา มีตา สวนทั่วไปนั้นเมื่อผิดผีแลวก็จัดการเสียผีไหวผีจน เปนที่ตกลงกันแลว ฝายชายจะไปหาครูบาอาจารย ชวย ดูฤกษวันที่จะไปอยูกับเมียที่เรียกวาเอาผัวเอาเมีย เมื่อ ได วัน ที่ ดีแลวชาย มี เสื้อผาหนึ่ง หอ หรือ มี หีบใส เสื้อผา หนึ่งหีบ สะพายดาบหรือเหน็บมีดที่เอวเลมหนึ่ง พรอม พอแมและพีน่ องทีใกล ่ ชิดสองสามคน พาเอาชายหนุม ไป สูเรือนหญิง ถาบานชายและหญิ หญงไมหางกันมาก เวลาที่


μÔ³ ¹Ô¹μ¡Ç¹¡Ø μ³ μÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ 111 11

ไปสงจะเปนเวลาหลังอาหารมือ้ เย็น ถาบานหางกันคนละ อำเภอหรือตำบลที่หางไกล ก็จะสงในเวลาบายไมถึงกับ ค่ำ มีเพื่อนหนึ่งคนหรือสองคนชวยหิ้วใสเสื้อผาของใช ที่จำเปนไปอยูกั บเมีย การไปสงชายไปสูเรือนหญิง นอกจากการหาฤกษ หาวันหายามแลว ยังตองดูทิศที่เปนมงคลวาจะเขาใน เขตบานหญิงจะเขาทางทิศใด ถาวันนั้นไดทิศที่ไมตรง กับประตูบาน ก็มีการตัดรั้วเขาไปทางทิศนั้น เมื่อขึ้นสู เรือน หญิงแลว พอ แม ชาย จะ กลาว ฝากฝง ลูกชาย ไว กับ พอแมฝายหญิง และกลาวโอวาทสั่งสอนพอสมควรแก เวลาจึงลากลับ

12. น้ำดื่มสมุนไพร หากจะสืบสาวถึงความเปนมาของเครื่องดื่มสมุนไพรก็มี มาตัง้ แตครัง้ สมัยพุทธกาล มีน้ำชนิดหนึง่ เรียกวา ‘อัชบาล’ หรือน้ำปานะ ซึ่งพระสงฆ ฉัน น้ำ ชนิดนี้ ได ตลอด ทั้งวัน แทนการขบเคี้ยวอาหารหลังมื้อเพล ตามพุทธบัญญัติ น้ำปานะนี้ใชสมุนไพรหรือพืชผลชนิดที่มีความเผ็ดรอน เชน ขิง ขา กระทือ ตะไคร เปนตน ตมในน้ำรอนและผสม น้ำตาลทรายแดงใหพอมีรสปะแลมๆ ซึง่ ตอมานิยมดืม่ กัน แพรหลายมาถึงฆราวาสดวย มนุษยเรารูจักใชสมุนไพรในดานการบำบัดรักษา โรคนั บ แต ยุ ค ก อ น ประวัวตติ ศ าสตร หลุ ม ฝ ง ศพ มนุ ษ ย


11 ધ´Í 112 àªÔ§´ÍÂÂ

นีแอนเดอรทัลที่ขุดคนพบในประเทศอิรักพบวามีการใช สมุนไพร ชาวมายาในเม็กซิโกใชตนตะบองเพชร (Peyate) เปน ยา ฆา เชื้อ และ รักษา บาดแผล ซึ่งผลการวิจัยทาง วิทยาศาสตรระบุวา ตะบองเพชรมีฤทธิ์กลอมประสาท ชาวสุเมเรียนไดใชสมุนไพร เชน ฝน ชะเอม ไทม และมัสตารด ตอมาชาวบาบิโลเนียน ใชสมุนไพรเพิม่ เติม จากชาวสุเมเรียน ไดแก ใบมะขามแขก หญาฝรัน่ ลูกผักชี อบเชยและกระเทียม ในยุคอียิปตโบราณ ‘อิมโฮเทป’ (Imhotep) แพทยผูมีชื่อเสียงซึ่งตอมาไดรับการยกยอง ใหเปนนักวิทยาศาสตรคนแรกของโลก เขียนตำราสมุนไพร ที่เกาแก คือ Papytus Ebers (เขียนเมื่อ 1,600 ป กอนคริสตศกั ราช คนพบโดยนักอียปิ ตวิทยาชาวเยอรมัน ชื่อ Georg Ebers) ในตำรานี้ไดกลาวถึงสูตรยาสมุนไพร มากกวา 800 ตัว และสมุนไพรมากกวา 700 ชนิด เชน วานหางจระเข เวอรมวูด (warmwood) เปปเปอรมินต เฮนเบน (henbane) เปนตน นอกจากนี้ยังพบวาชาติตางๆ ในแถบยุโรปและ แอฟริกา หลังจากสมุนไพรไดเจริญรุงเรืองในอียิปตแลว ก็ไดมีการสืบทอดกันมา เชน กรีก โรมัน อาหรับ อิรัก เยอรมนี โปรตุเกส และประเทศทางแถบแสกนดิเนเวีย สวนในแถบเอเซีย ตามบันทึกประวัติศาสตรพบวามีการ ใชสมุนไพรที่อินเดีย จีน และบริเวณเอเซียตะวันออก เฉียงใต


μÔ³ ¹Ô¹μ¡Ç¹¡Ø μ³ μÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ 113 13

13. ไมขดและไมเฮียะ การขดไมไผเปนวัฒนธรรมของไทยเขินในลานนา สมัย กอนขดเปนวัสดุใชในชีวติ ประจำวัน อาทิ ขันโตก ถาดรอง หรือทำเพดาน ทำหลังคาแทนกระเบื้อง ปจจุบันมีการ ออกแบบไปตามสมัยนิยมและสงขายตางประเทศ เชน ขดทำเปนแจกัน เปนโคมไฟ กระเชาผลไม คนเหนือมักจะเรียกไผเฮียะวา ไมเฮียะ ไผเฮียะ เปนไผขนาดกลาง ลำเรียว ปลายตรง สูงประมาณ 6-12 เมตร มี เสน ผา ศูนยกลางประมาณ 5-10 เซนติเมตร ปลอง ยาว ประมาณ 50-70 เซนติเมตร เนื้อ ลำ บาง ขอเรียบเห็นไดชัดเจน มีกิ่งเล็กนอย กาบหุมลำขางนอก มีขนสีทองปกคลุมหนาแนน ครีบของกาบแคบ โคนหยัก เปนใบโพธิ์กวาง ปลายเรียวแหลม พบมากในปาดงดิบ หรือปาเบญจพรรณ ผสมปาสัก โดยขึ้นอยูตามริมหวย หนอออนรับประทานได ขยายพันธุโดยเมล็ด ปกและชำ


114 àªÔ§´ÍÂ

ÀÒ¾àÅ‹ÒàÃ×èͧ


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ 115

หนองบัวพระเจาหลวง เปนหนองน้ำธรรมชาติมีเนื้อที่ 102 ไร อยูหมู 12 หนาที่ ทำการเทศบาล เปนที่ รองรับ น้ำ ฝนและ น้ำ จาก แหลงน้ำแมดอกแดง ซึ่งไหลผานลำเหมืองเขาสูหนอง  น้ำ แดง สูห นองบัวดานเหนือและดานใต แตเดิมนัน้ หนองบัว มีพืน้ ทีกว ่ างขวางกวาปจจุบนั มาก ชาวบานสามารถใชน้ำ ในหนองบัวไปทำนาและเปนที่อยูของนกเปดน้ำจำนวน หลายพันตัว

เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2505 พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูห วั และสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินนี าถ ไดเสด็จพระราชดำเนินพรอมดวยพระเจากรุงเดนมารก และพระราชินีอินดริก เพื่อประทับสำราญพระราชฤทัย


116 àªÔ§´ÍÂ

1. มาตรฐาน เกษตร อิ น ทรี ย ภาค เหนือ 2. สำนั ก งาน มาตรฐาน เกษตร อินทรีย 3. มาตรฐาน อาหาร ปลอดภัย โดย กรม สง เสริม การเกษตร กระทรวง เกษตร และสหกรณ 4. มาตรฐาน เกษตร อิ น ทรี ย ของ กระทรวงเกษตร สหรัฐ 5. มาตรฐาน เกษตร อิ น ทรี ย ของ สหภาพยุโรป 6. มาตรฐาน มกท. มาตรฐานเกษตร อินทรียของไทย เป น ระบบ ที่ พั ฒนา ขึ้ น โดย สหพั น ธ เกษตร อินทรีย นานาชาติ (International Federation of Organic Agriculture Movements - IFOAM) ซึ่งไดริเริ่มจัดตั้งโครงการรับรองระบบงานเกษตร อินทรีย IFOAM (IFOAM Accreditation Programme) ขึ้นในป 2535 เพื่อใหบริการรับรองระบบงานแกหนวย ตรวจรับรอง เกษตร อินทรีย ตางๆ ทั่ว โลก ตอ มา ใน ป 2540 สหพันธฯ ไดจัดตัง้ IOAS (International Organic Accreditation Service) ขึ้น เพื่อทำหนาที่ในการให บริการ รับรอง ระบบ งาน นี้ ภาย ใต กรอบ ของ โครงการ


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ 117

รับรองระบบงานเกษตรอินทรีย IFOAM โดย IOAS จด ทะเบียนเปนองคกรไมแสวงกำไร มีสำนักงานใหญตั้งอยู ในประเทศสหรัฐ ‘มกท.’ ไดรับการรับรองระบบงานเกษตรอินทรีย IFOAM นีจาก ้ IOAS ตัง้ แตป 2544 โดยเปนหนวยตรวจ รับรองเกษตรอินทรียแห  งแรกในเอเชียทีได ่ รับการรับรอง ระบบงาน สงผลให มกท. สามารถใหบริการตรวจรับรอง เกษตรอินทรียใน  ขอบขายเกี่ยวกับการเพาะปลูกพืช การ เก็บผลผลิตจากปาและพืน้ ทีธรรมชาติ ่ การเพาะเลีย้ งสัตวน้ำ การแปรรูปและจัดการ ผลผลิตและปจจัยการ ผลิตเพื่อ การคาที่จะสงออกไปไดทั่วโลก การจัดการขยะ ทางเทศบาล จัดการเก็บ ขยะ โดย ไม คิ ด ค า ธรรมเนี ย ม โดย แต ล ะ บ า น ต อ ง ซื้ อ ถุ ง ดำ ของ ทาง เทศบาล ใน ราคา ถุ ง ละ 5 บาท เมื่อถึงวันเก็บขยะ แตละบานก็ตองนำถุงดำใสขยะ มา ไว หนา บาน แตละ สัปดาห ทาง เทศบาล จะ เวี ย น กั น เก็ บ ขยะไปตามหมูบานจนครบ


118 àªÔ§´ÍÂ

การเปดโอกาสใหประชาชนเขาฟงการประชุมสภา เดิมที ป 2548 ใช เสียง ตาม สาย ถายทอด การ ประชุมสภา แตปรากฏวาเปนการรบกวนชาวบานบาง สวน จึงใชวิธีแจงขาวและทำหนังสือถึงผูใหญบานแจงให ชาวบานทราบถึงกำหนดและเวลาการประชุม ชาวบาน สนใจเขารวมรับฟงสามารถแจงความประสงคได นับวา เปนการบริหารจัดการตำบลใหประชาชนมีสวนรวมและ รับรูการ  ทำงานที่ดีทางหนึ่ง

วัดนาถสำราญ (บานเกาะ) กอตั้งในสมัยใดนั้นไมทราบ แตพอประมาณไดวา หลังการกอตัง้ หมูบ า นไมนานก็เริม่ กอสรางวัดขึน้ (กอตัง้ หมูบาน เมื่อ ป 2119 กลาว คือ คนใน สมัย กอน นั้น ถา อพยพเขามาตั้งถิ่นฐาน ณ ทีใด ่ ก็จะทำการสรางวัดเปน ลำดับแรก เพราะวัดเปนที่พึ่งทางจิตใจ เปนสถานที่รวม


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ 119

น้ำใจ สรางความสามัคคีและเพือ่ เปนสิรมงคล ิ แกหมูบ า น) โดยการกอสรางกุฏสิ งฆ ศาลา วิหาร ทำจากไมมุงหลังคา ดวยใบตองใบหญาคา ซึ่งหาไดจากในหมูบาน โดยไมใช งบประมาณของทางราชการแตอยางใด เดิมมิไดใชชื่อวัดนาถสำราญ ชื่อนี้เกิดจากทางทิศ ตะวัน ตก ของวัด มี หนอง น้ำ ขนาด ใหญ มี เกาะ (ดอน) อยูกลางน้ำ มีปาไมขนาดใหญหนาทึบมากมักมีสัตวปา หลายชนิดรวมถึงนาคมักจะออกมาสำแดงอานุภาพ มี แสงสวางเปนลูกคลายลูกไฟลอยไปมาในวันสำคัญทาง ศาสนาเปนประจำ จึงเอานิมติ นีตั้ ง้ นามชือ่ วัดนาถสำราญ (บานเกาะ) วัด นาถ สำราญ (บาน เกาะ) ได รับ พระราชทาน วิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2514


120 àªÔ§´ÍÂ

วัดรองขี้เหล็ก สรางเมื่อป 2321 ที่มาของชื่อวัดในสมัยกอนนั้น มัก นิยมตั้ง ชื่อวัด ตามชื่อ หมูบาน พระพุทธรูป ที่สำคัญ ประจำวัดมีพระประธานปางมารวิชยั ปูนปน ปดทององค ใหญ มีพระพุทธรูปองคเล็กอยูข างละ 2 องค


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ 121

วัดปาไผศรีโขง สรางประมาณรอยปมาแลว มา บูรณะ สมัย เจา อธิการอิ่นคำ ศิรจัิ นทรโท เมือ่ ป 2501 วัดตัง้ อยู ทางทิศตะวันออกของหมูบาน วัดนิวาสไพรสนฑ ป 2403 ขณะ นั้ น เป น เพี ย ง อาราม ไว สำหรั บ ประกอบพิธีการทางศาสนาชั่วคราวในหมูบาน พอถึง เทศกาลเขาพรรษา ชาวบานในหมูบ า นไดนิมนตพระภิกษุ สงฆจากวัดอืน่ มาจำพรรษา พอออกพรรษาพระภิกษุสงฆ ก็กลับวัดเดิม ตอมาป 2474 ชาวบานไดชวยกันบูรณะวัด และตัง้ ชือ่ วัดเปนวัดนิวาสไพรสณฑ โดยนิมนตพระจันทรติบ๊ เขามาจำวัดและรักษาการเปนเจาอาวาสองคแรก


122 àªÔ§´ÍÂ

วัดปทุมสราราม หมู 12 เปนวัดเกาแกของ อำเภอดอยสะเก็ด เปนที่ เคารพ ศรัทธา ของ ผูคน ทั้งใกลและไกล มีพระพุทธรูปสำคัญคือ พระสิงห ตั้งอยู ในพระวิหาร วัดพระธาตุดอยกู ครูบาศรีวิชัย เดิมเปนวัดราง ไมปรากฏหลักฐานวาสรางสมัยใด มีพระธาตุเจดียที่เกาแกชำรุดทรุดโทรมประดิษฐาน ตอ มาครูบาเจาศรีวิชยั นักบุญแหงลานนาไดมาทำการบูรณะ พระธาตุเจดียที่ชำรุดในป 2574 สมัยนั้นยังไมไดเปนวัด เพียงแตเปนสำนักสงฆ มีพระอิน่ คำเปนเจาสำนัก เมือ่ พระ อิ่นคำลาสิกขา สำนักสงฆแหงนี้ไมมีพระสงฆจำพรรษา


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ 123

แต ยัง มี ชาว บาน มา สัก กา ระ บูชา พระ ธาตุ เปน ประจำ ลวงมาจนป 2515-2518 มีพระครูรัตนปญญาญาณ ซึ่งรักษาการแทนเจาคณะอำเภอดอยสะเก็ด ไดนำคณะ พระ ธร รมทูต และ ธรรม จาริก พรอม ดวย คณะ ศรัทธา บาน แม ดอก แดง มาพัฒนา วัดดอย กู โดย ได ขยาย ถนน ทำสะพานขึ้นสูวัด ตลอดจนสรางถาวรวัตถุภายในวัด กระทั่งทำเรื่องอนุมัติจากกรมการศาสนา ขอยกวัดราง ใหมีพระสงฆเปนวัดโดยสมบูรณในป 2517 วัดแหงนี้เดิมมีพระธาตุเจดียที่เกาแก คน ผานไป ผานมาเห็นพระธาตุ ชาวเหนือจะเรียกพระธาตุวากู คือ ที่เก็บกระดูก เลยเปนที่มาของวัดดอยกู หรือวัดพระธาตุ ดอยกู ศูนยศึกษาการพัฒนาหวยฮองไคร ศูนย ศึกษา การ พัฒนา หวย ฮอ ง ไคร อัน เนื่อง มา จากพระราชดำริ กอกำเนิดจากพระราชดำริ เมือ่ วันที1่ 1 ธันวาคม 2525 มีพระราชประสงคทีจะ ่ ใหเปนศูนยกลาง ในการศึกษาทดลองที่เหมาะสมกับพื้นที่ภาคเหนือและ เผยแพรแกราษฎรใหสามารถนำไปปฏิบัติไดดวยตัวเอง ตอไป การศึกษาพัฒนาปาไม 3 อยาง ประโยชน 4 อยาง คือ ใชสอย ไมผล ไมเชื้อเพลิง ซึ่งจะอำนวยประโยชน ในการอนุรักษดินและน้ำ ตลอดจนคงความชุมชื้นเอา


124 àªÔ§´ÍÂ

ไวเปนประโยชนอยางที่ 4 และพื้นที่ตนน้ำลำธารใหได ผลอ ยาง สมบูรณ เปน หลัก โดย ตนทาง เปนการ ศึกษา สภาพ พื้นที่ ปา ไม ตนน้ำ ลำธาร และ ปลาย ทาง เปนการ ศึกษาดานการประมงตามอางเก็บน้ำตางๆ ผสมกับการ ศึกษาดานการเกษตรกรรม ดานปศุสัตวและโคนม ดาน เกษตรอุตสาหกรรม เพื่อใหเปนศูนยที่สมบูรณแบบ กอ ใหเกิดประโยชนตอประชาชนที่จะเขามาศึกษากิจกรรม ตางๆ ในศูนยฯ แลวนำไปใชปฏิบัติอยางไดผลตอไป ดัง มีพระราชดำริวา “ใหศูนยศึกษาการพัฒนาฯ ทำหนาที่ เสมือน ‘พิพิธภัณฑธรรมชาติที่มีชีวิต’ หรืออีกนัยหนึ่ง เปน ‘สรุปผลการพัฒนา’ ทีประชาชน ่ จะเขาไปเรียนรูและ  นำไปปฏิบัติได”


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ 125

ลุงลวน ไชยมงคล ผูพิ การตัวอยางใน การ สู ชีวิต ของ ตำบล เชิง ดอย ลุ ง ล ว น ไม มี แขน ทั้ง สองขาง มาแต กำเนิด ใช เท า ต า ง แขน ทำ ไร กวาสองไรเลี้ยงดูลูกเมีย จนลูกจบการศึกษาระดับ มหาวิทยาลัย ทั้ง สอง คน ปจจุบันอายุ 74 ป ยังคง มีสุขภาพแข็งแรง ทำงานในไรได รานอาหาร รานขนม หรือเพิงขายริมทาง ไมคอยพบเห็นกัน มากนักตามถนนภายใน หมูบ า น เนือ่ งจากชาวบาน สวนใหญประกอบอาชีพ เกษตรกรรม และ เลี้ ย ง สัตว


à¾Å§ÈÑ¡ÂÀÒ¾ªØÁª¹ คำรอง-ทำนอง วสุ หาวหาญ เรียบเรียงดนตรี ศราวุช ทุงขีเหล็ ้ ก ขับรองโดย ฟางแกว พิชญาภา, ศราวุธ ทุงขี้เหล็ก, สมชาย ตรุพิมาย

หนึ่งสมองสองมือที่มี รวมเปนหลายความคิดดีๆ ออกมายืนตรงนี้ ทำเพื่อเมืองไทยดวยกัน ไมวาจะอยูที ไ่ หน เราเปนคนไทยเปย มความสามารถ เปน กำลัง ของ ประเทศ ชาติ พัฒนา บาน เมือง กาว ไกล เปนคนเหนือ อีสาน กลางใต ก็รักเมืองไทยดวยกันทัง้ นัน้ (สรอย) หากเรารวมมือรวมใจ ทำสิ่งไหนก็ไมเกินแรง โครงสราง ชุมชน แข็งแกรง เพราะ เรา รวม แรง รวม มือ สรางสรรค จัดการทรัพยากรชวยกัน ดวยมุมมองที่เรา แบงปน ใชความคิดสรางสรรคใหเต็มศักยภาพ อยูชนบทหางไกล ทำนาทำไร พอเพียงเลี้ยงตัว ใชชุมชนดูแลครอบครัว ใชครอบครัวดูแลชุมชน ปูพืน้ ฐาน จากหมูบานตำบล สรางแปลงเมืองไทยใหนาอยูดังฝน


ชุมชนทองถิน่ บานเรา เรียนรูร วมกันเพือ่ การพัฒนา ชุมชนทองถิ่นบานเรา เรียนรูร วมกันชวยกันพัฒนา อยูตามเมืองใหญเมืองหลวง หัวใจทุกดวงซอนไฟ มุงมั่น กาวออกมาจากรั้วที่กั้นจับมือกันทำเพื่อเมืองไทย คนละมือสองมือคือน้ำใจ โอบกอดชุมชนไวดวยความสุข ยืนนาน หนึ่งสมองสองมือที่มี รวมเปนหลายความคิดดีๆ ออกมายืนตรงนี้ ทำเพื่อเมืองไทยดวยกัน หาก เรา รวม มือ รวมใจ ทำ สิ่ง ไหน ก็ ไม เกิน แรง โครงสราง ชุมชน แข็งแกรง เพราะ เรา รวม แรง รวม มือ สรางสรรค จัดการทรัพยากรชวยกัน ดวยมุมมองที่เรา แบงปน ใชความคิดสรางสรรคใหเต็มศักยภาพ ดวย มุม มอง ที่ เรา แบง ปน ใช ความ คิด สรางสรรค ให เต็ม ศักยภาพ..

เขาไปฟงและดาวนโหลดเพลงศักยภาพชุมชนไดที่ www.punsook.org



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.