เก้าเลี้ยว

Page 1



à¡ŒÒàÅÕÂé Ç

เรื่องและภาพ : อาทิตย เคนมี


Healthy Planet สุขคดีทองเที่ยวชุมชนเพื่อการเรียนรู เกาเลี้ยว เรื่องและภาพ อาทิตย เคนมี ออกแบบปกและรูปเลม ณขวัญ ศรีอรุโณทัย เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ

978-616-7374-85-7 บรรณาธิการอำนวยการ

ดวงพร เฮงบุณยพันธ กองบรรณาธิการ

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) โดย สำนักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (สน.3) จัดพิมพและเผยแพรโดย

อาคารศูนยเรียนรูสุขภาวะ เลขที่ 99 ซอยงามดูพลี แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท 0 2343 1500 โทรสาร 0 2343 1501 www.thaihealth.or.th และ www.punsook.org พิมพครั้งที่ 1

ธันวาคม 2555


ดำเนินการผลิตโดย

เปนไท พับลิชชิ่ง Penthai Publishing โทรศัพท 0 2736 9918 โทรสาร 0 2736 8891 waymagazine@yahoo.com


¤Ó¹Ó ท า มกลาง กระแส วิ ก ฤติ เศรษฐกิ จ โลก ครั้ ง ใหญ เป น ประวัติการณในรอบหลายสิบป ทำใหเกิดการตั้งคำถาม วาวิกฤตินีจะ ้ ใหญขึน้ อีกเพียงใด จะยืดเยือ้ ขนาดไหน และ วิกฤตินี้จะสงผลกระทบตอสังคมไทยชุมชนหมูบานไทย มากนอยเพียงใด ความวิตกดังกลาวอาจจะไมเกิดขึ้น เลยหากปจจุบันชุมชนหมูบานไทยไมถูกลากเขาสูระบบ การผลิตเพื่อขาย นัก วิชา การ หลายๆ ทาน ได วิเคราะห ถึง ระบบ เศรษฐกิจของประเทศไทยวาในระบบทุนนิยมยังคงมีอีก ระบบดำรงอยูในลักษณะคูขนาน นั่นคือระบบเศรษฐกิจ ชุมชน หรือ อาจ จะ กลาว เปน ศัพท สมัย ใหม ได วา ระบบ เศรษฐกิจแบบพอเพียง ในอดีตชุมชนหมูบานจะมีวิถีชีวิตที่เรียบงายเนน ความพอเพียง มีครอบครัวเปนหนวยการผลิต การชวย เหลือซึง่ กันและกันมีน้ำใจเปนพืน้ ฐานของชีวติ มีพิธกี รรม ตางๆ เปนระบบการจัดการในชุมชนและใหความสำคัญ ตอบรรพบุรุษ ผูเฒ  าผูแก ครอบครัว ตอ มา หลัง จาก รัฐ และ ระบบ ทุนนิยม ได เขาไป มี อิทธิพลตอชุมชน การผลิตเชิงเดี่ยวและลัทธิบริโภคนิยม ทำใหชาวบานมีรายจายทีเป ่ นตัวเงินมากขึน้ เพียงเทานัน้


ยังไมพอ สิ่งทีทำลาย ่ ความเขมแข็งของชุมชนที่มากที่สุด คือ รัฐและทุนเขาไปถายโอนทรัพยากรจากระบบชุมชน หมูบาน ยิ่ง รัฐ และ ทุน เขาไป กอบโกย มาก เทาไร ชุมชน หมูบานไทยยิ่งประสบความออนแอ คำพูดดังกลาวไมใช คำพูดลอยๆ ที่ไมมีหลักฐานรองรับ หากแตเมื่อกวาดตา ไปทัว่ แผนดินไทย หลังการประกาศแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมมากวา 40 ป จะมีสักกี่ชุมชนที่คนในชุมชนไม ประสบปญหาความยากจน ไมประสบปญหาสิง่ แวดลอม หรือไมประสบปญหาสุขภาพ จาก สถานการณ ดัง กลาว ถึง เวลา แลว หรือ ยัง ที่ สังคม ไทย ควร กลับ มา เนน การ พัฒนา ที่ ไม มอง แต มิติ ประสิทธิภาพ การสรางมูลคาและกำไรหรือการตลาด ดาน เดียว แต ควรจะ เปน เพื่อ ประโยชนของ ชุมชน และ สังคม เราไมควรลดทอนผูคนลงไปเปนเพียงตัวเลข หาก ควร เปน เพื่อ สง เสริม ศักยภาพ และ ศักดิ์ศรี ความ เปน มนุษย คำตอบสำหรับคำถามขางตนนี้ คงจะตองชวยกัน คนหา ไมวาจะใชระยะเวลานานเทาไร คณะผูจัดทำ




-1ªÕÇÔμÊÒ¹éÓ คุงน้ำทอดยาวไกลสุดตาแล เมื่อกระทบแดดอุน ยามเชาก็เปลงแสงสุกใสสีทองประกายวับวาว เตนระยิบ ระยับ ตาม แรง ลม ราวกับ จะ ชักชวน ให ทุก สรรพ ชีวิต เคลื่อนไหวไปตามจังหวะเพื่อเริ่มตนวันใหมไปพรอมๆ กัน


สายน้ำ ที่ ทอด ยาว ออก ไป จาก จุด นี้ จน สุด ปลาย ทางที่ปากน้ำโพ นับไดถึง 9 โคง 9 เลี้ยว ผูเฒาผูแก  ที่มา ปกหลักตั้งรกรากที่นี่จึงพากันเรียกขานผืนแผนดินริมฝง แมน้ำปงสายนี้วา ‘à¡ŒÒàÅÕéÂÇ’ วิ ถี ชี วิ ต คน ไทย ตั้ ง แต สมั ย บรรพ ชน ผู ก พั น กั บ สายน้ำอยางแยกกันไมขาด ผูค นทีอยู ่ ริ มน้ำลวนไดพึง่ พา อาศัยดื่มกิน คนโบร่ำโบราณจึงมักตั้งถิ่นฐานโดยอิงแอบ กับ แมน้ำ เปน หมุด หมาย สำคัญ เพราะ น้ำ คือ ตน ธาร การ กอ เกิด ของ ชีวิต เปน แหลง สั่งสม บม เพาะ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และจะดำรงสืบตอไปถึงลูกหลาน ตราบใดที่ผูคนยังซื่อสัตยตอธรรมชาติและใชชีวิตอยาง สมดุ ล ไม ขาด ไม เกิ น ไม เบี ย ดเบี ย น ซึ่ ง กั น และ กั น จนเกินพอดี ‘àÁ×ͧÊÕèá¤Ç’ นครสวรรค เมืองที่แมน้ำสี่สายไหลมา บรรจบพบกัน ทั้งปง-วัง-ยม-นาน ตางสายธาร ตางแหลง กำเนิด แตหลอมรวมเปนหนึ่งเจาพระยา โดยมีจุดหมาย ปลาย ทาง เดี ย วกั น คื อ มุ ง หน า ออก สู ห ว ง มหาสมุ ท ร อันกวางไกล เหมือนเชนชาวเกาเลี้ยว ตำบลเล็กๆ ที่สงบเงียบ ไรแสง-สี-เสียงอึกทึก แตคละเคลาดวยผูคนตางเชื้อชาติ ตางรากเหงา กอเกิดเปนชุมชนที่ผสมผสานระหวางชาว ไทย-จีน เต็มไปดวยสีสันแหงชีวิต ขับขานเรื่องราวจาก


12 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

รุน หนึง่ ไปสูอี กรุน หนึง่ เหมือนสายธารทีไหล ่ ลองไปอยาง ตอเนื่อง ไมจมหายไปกับกระแสกาลเวลา ชุมชนเกาเลี้ยวอาจไมแตกตางกับชุมชนชาวไทยจีนโดยทั่วไปที่ถือกำเนิดขึ้นในยุคเสื่อผืนหมอนใบ หาก ความแตกตางอยูตรงที่ความเขมแข็งของคนในชุมชนเอง ทียั่ งคงรักษาเอกลักษณทางวัฒนธรรมไวไดอยางเหนียวแนน ดวยความหวงแหนและภาคภูมิใจในความเปน ‘ÅÙ¡Áѧ¡Ã’ ควบคูกับการคงไวซึ่งวิถชี​ี วิตแบบกึ่งเมืองกึ่งชนบท การเติบโตของชุมชนดำเนินไปอยางคอยเปนคอยไป ตามครรลองและทวงทำนองของการอนุรักษสิ่งดีงามที่ สั่งสมบมเพาะมาแตดั้งเดิม ขณะเดียวกันก็ใชวาจะหยุด นิ่งอยูกับที่ หากแตคนในชุมชนยังพรอมที่จะอาแขนรับ แนวความคิดและวิธีการใหมๆ เพื่อจะนำมาใชพัฒนา ทองถิ่นของตนเองใหเขมแข็งอยางยั่งยืน ภายใตสมการ


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

แหงความสมดุล ทั้งกาย-จิต-สังคม-ปญญา จนสามารถ ปกธง ‘μÓºÅÊØ¢ÀÒÇÐ’ เปนลำดับที่ 39 ของประเทศ และ เปนอีกหนึ่งเสาหลักใหชุมชนอื่นๆ ไดเขามาแลกเปลี่ยน เรียนรูและศึกษาเปนแบบอยาง สำคัญที่สุดคือ ณ วันนี้พวกเขาพรอมที่จะยืนหยัด ดวยขาของตัวเอง ดวยระบบการจัดการภายในชุมชนที่ ทุกคนลวนมีสวนรวมคิด รวมทำ รวมรับผิดชอบ เพื่อ พัฒนาถิ่นฐานบานเกิดไปดวยกัน

13


14 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

-2»ÃÐμÙºÒ¹áá กลางฤดูฝนป 2555 พายุโซนรอนเคลื่อนตัวจาก ประเทศจีนมุง หนาเขาสูภาค  เหนือและภาคอีสานของไทย และคอยๆ ออนกำลังลงเปนพายุดีเปรสชั่น อิทธิพลของ ลมพายุจึงสงผลเพียงแคพัดพาสายฝนโปรยปราย สราง ความชุม ชืน่ เย็นฉ่ำมาสูท องไรทองนา มากกวาทีจะ ่ นำพา ภัยพิบตั มา ิ ให เสมือนเปนการแวะเวียนเขามาทักทายหมู มวลมนุษยตามโมงยามแหงฤดูกาล การ มา เยือน ชุมชน เกาเลี้ยว ในวัน ที่ ทองฟา ครึ้ม ไป ดวย เมฆ ฝน แม จะ เปยก ปอน ไป บาง แต ก็ ทำให ได


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

สัมผัสกับความเขียวขจีของทองทุง ทีดู่ มีชีวติ ชีวา เคลาดวย ไอดินกลิ่นหญาที่ชวยใหรูสึกสุขสดชื่นในบรรยากาศแบบ ชนบท ประตู บาน นั้น เปด รอ ตอนรับ...ทันที ที่ ผู มา เยือน เดินทางมาถึง ในฐานะเจาบาน กิตติวัฒน เลิศพรตสมบัติ นายก เทศมนตรีตำบลเกาเลีย้ ว ทำหนาทีเป ่ ดประตูบานแรกให ผูมาเยือนไดรูจักกับความเปนมาของชุมชนริมแมน้ำปง แหงนี้ในเบื้องตน วากันวาทำเลทีตั่ ง้ ของชุมชนเกาเลีย้ วนับเปนชัยภูมิ ทีสมบู ่ รณแบบในดานศูนยกลางการคา โดยมีชาวจีนโพน ทะเล ทั้งไหหลำ แตจิ๋ว และจีนแคะ เปนผูบุกเบิกการคา โดย อาศั ย การ คมนาคม ขนส ง ทาง เรือ ผาน เสน ทาง แมน้ำปง ครัน้ เมือ่ พอคาชาวจีน ผู ก เรื อ โยง เพื่ อ มา รั บ ซื้ อ กลวยไขจากเมืองกำแพงเพชร ลองผานเกาเลีย้ วเขาตัวเมือง ปากน้ ำ โพ จน มา ถึ ง ที่ นี่ ก็ จะตะโกนบอกนายทายเรือ เปนภาษาจีนวา ‘à¡ŽÒàËÅÕéÂÇ’ ซึ่งแปลวา ‘¶Ö§ áŌǒ เมื่อคำ

15


16 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

นี้ถูกใชกันจนติดปากจึงอาจเรียกเพี้ยนไปเปน ‘à¡ŒÒàÅÕéÂÇ’ ในที่สุด อีกบางตำนานก็วา สมัยกอนชาวบานที่ตองการ เดินทางสัญจรไปนครสวรรคตองลองเรือไปตามลำน้ำปง ผานโคงน้ำถึง 9 คุง จึงจะถึงปากน้ำโพ จนกลายเปนทีม่ า ของชื่อตำบลเกาเลี้ยว เรื่องเลาขานเกี่ยวกับตำนานชุมชนเกาเลี้ยวมีให ฟง หลาก หลาย เรื่อง ราว แต ก็ ยัง ไมมี ใคร สืบ สาว ไป ถึง ตนตอ หรือ หา ขอ สรุป ทาง ประวัติศาสตร เพราะ คนใน ชุมชนตางรูดีวา ตำนานทั้งหลายแมวาจะเปนเพียงเรื่อง เลาปากตอปาก พวกเขาก็ยังคงภาคภูมิใจในรากเหงา ของตนเองเสมอ เชนเดียวกับความภูมิใจในความเปนลูกเกาเลี้ยว ของนายกฯ กิตติวัฒน หรือที่ชาวบานเรียกกันติดปากวา ‘หมอเอี๊ยง’ เพราะที่บานเปดรานขายยาอยูกลางชุมชน และ เปน ผู สืบทอด กิจการ รุน ตอ มา รวม ทั้ง เคย ทำงาน คลุกคลีในแวดวงสาธารณสุขมากอน หมอเอียง ๊ เกิดทีนี่ ่ โตทีนี่ ่ และปกหลักอยูที นี่ มา ่ 57 ปเต็ม ถือเปนเจเนอเรชั่นที่ 3 นับตั้งแตสมัยที่อากงหอบ เสื่อผืนหมอนใบมาจากซัวเถา กระทั่งวันหนึ่งหมอเอี๊ยง ไดรับความไววางใจจากคนในชุมชนใหเปนนายกฯเล็ก แหงเมืองเกาเลี้ยว


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

สิง่ ทีเขา ่ คิดทำอันดับแรกคือ ทำอยางไรทีจะ ่ พัฒนา บานเกิดเมืองนอนของตัวเองใหมีชีวิตความเปนอยูที่ดี ขึ้น ทวาลำพังอำนาจของผูบริหารทองถิ่นและกลไกการ บริหารราชการแบบเกาคงไมเพียงพอที่จะตอบโจทยให กับชุมชนได นอกเสียจากตองอาศัยเรีย่ วแรงของชาวบาน เปนฟนเฟองทีช่ วยขับเคลื่อนไปพรอมๆ กัน จนกระทั่งไดรูจักกับคำวา ‘μÓºÅÊØ¢ÀÒÇÐ’ ซึ่งเปน แนวทางการบริหารจัดการชุมชนมิติใหมที่สามารถตอบ โจทยในสิ่งที่ชาวบานตองการได สิ่ ง ที่ น า ทึ่ ง ก็ คื อ ภายใน ระยะ เวลา เพีย ง ไม กี่ ป หลังจากไดแลกเปลี่ยนเรียนรูและศึกษาดูงานจากตำบล แมขาย ภาพความเปลี่ยนแปลงก็เริ่มปรากฏเคาลางขึ้น เมื่อตำบลเล็กๆ แหงนี้ซึ่งมีประชากรอยูเพียง 2,059 ครัวเรือน หรือประมาณไมเกิน 6,000 ชีวิต สามารถ พัฒนาและจัดระบบแหลงเรียนรูภายใน  ชุมชนขึน้ มาไดถึง 7 ระบบ 32 แหลงเรียนรู และในจำนวนนีมี้ ถึง 26 แหลง เรียน รู ที่ โดด เดน และ มี ศักยภาพ สามารถ เปนตน แบบ ใน การ ถ า ยทอด ประสบการณ ให กั บ เครื อ ข า ยอื่ น ๆ ตอไป

17


18 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

7 Ãкº 26 áËÅ‹§àÃÕ¹ÃÙŒ ตำบล เกาเลี้ยว จัด หมวด หมู การ บริหาร จัดการ ชุมชนออกเปน 7 ระบบ ประกอบดวย 26 แหลงเรียนรู ที่มีศักยภาพเขมแข็ง ดังนี้

1.Ãкº¡ÒúÃÔËÒèѴ¡Ò÷ŒÍ§¶Ôè¹ - การบริหารจัดการตำบลแบบ ททท. (ทำทันที) - ศูนยรับปรึกษาดานกฎหมาย - กลุม อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) - กลุมเถิดเทิง - ศาลเจาพอเกาเลี้ยว - วัดเกาเลี้ยว - พิพิธภัณฑชุมชน - กลุมสงเสริมสมุนไพรไทย

2.ÃкºÊÇÑÊ´Ô¡ÒÃÊѧ¤Áâ´ÂªØÁª¹

- กองทุนสวัสดิการชุมชนตำบลเกาเลี้ยว - กองทุนหมูบานหาดเสลา หมู 5

3.Ãкºà¡ÉμûÅÍ´ÀÑÂ

- กลุมอนุรักษธรรมชาติ - กลุมปลูกผักปลอดภัย - กลุมโรงสีขาวชุมชน


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

4.Ãкº¾Åѧ§Ò¹·´á·¹ - กลุมปนเตาซุปเปอรอั้งโล - กลุมเตาเผาถาน/น้ำสมควันไม - กลุมรีไซเคิล 108 ลีลา - ผลิตภัณฑผักตบชวา

5.ÃкºàÃÕ¹ÃÙŒ¢Í§à´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹

- ศูนยพัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลเกาเลี้ยว - อาสาสมัครสาธารณสุขยุวชน (อสม.นอย) - ชมรมคนรักตะกรอเกาเลี้ยว - กลุมขนมไทย - กลุมแพรพันลาย (ผูกผา/จัดดอกไม)

6.Ãкº¡ÒôÙáÅÊØ¢ÀÒ¾ªØÁª¹

- อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมูบาน (อสม.) - กองทุนประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเกาเลี้ยว - ชมรมปนจักรยานอำเภอเกาเลี้ยว - กลุมศิลปะบำบัด

7.Ãкº¡ÒèѴ¡ÒÃÀѾԺÑμÔ

19


á¼¹·ÕèáËÅ‹§»¯ÔºÑμÔ¡Òó ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

áÁ‹¹éÓ» § ¶¹¹ÃÔÁà¢×è͹

dl bq br bt 5

7

·Ò§ä»ÁËÒ⾸Ôì

¶¹¹à¡ŒÒàÅÕéÂÇÇÔ¶Õ

dm

μ

à¡ŒÒ ¶¹ ¹

ÅÒ

4

´

àÅÂÕé ÇÊÒÁ ¤Ñ ¤Õ bs

cp cs

à·ÈºÒÅ μÓºÅÏ

bo ·ÕèÇ‹Ò¡ÒÃÍÓàÀÍ

6 cn âçàÃÕ¹

ä»ÁËÒ⾸Ôì

ระบบบริหารจัดการทองถิ่น

ระบบเรียนรูของเด็กและเยาวชน

ระบบสวัสดิการสังคมโดยชุมชน

ระบบดูแลสุขภาพชุมชน

ระบบเกษตรปลอดภัย

ระบบการจัดการภัยพิบัติ

ระบบพลังงานทดแทน

ʶҹÕμÓÃǨ


bl bm

co 8 9 ck cr dk bk bn ¡È¹.

cm 1 2 3 cl cq ct

bp

ä»ËÑÇ´§

1 การบริหารแบบ ททท. (ทำทันที) 2 ศูนยรับปรึกษาดานกฎหมาย 3 อปพร. 4 ชมรมกูภัยเกาเลี้ยว 5 กลองวงจรปด 6 กลุมเถิดเทิง (กลองยาว) 7 ศาลเจาเกาเลี้ยว 8 วัดเกาเลี้ยว 9 พิพิธภัณฑชุมชน 10 กลุมสงเสริมสมุนไพรไทย 11 กองทุนสวัสดิการชุมชน 12 กองทุนหมูบานหาดเสลา ม.5 13 กลุมอนุรักษธรรมชาติ 14 กลุมปลูกผักปลอดภัย 15 กลุมโรงสีขาวชุมชน 16 กลุมปนเตาซุปเปอรอั้งโล 17 กลุมเตาเผาถาน/น้ำสมควันไม 18 กลุมรีไซเคิล 108 ลีลา 19 ผลิตภัณฑผักตบชวา 20 ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ทต.เกาเลี้ยว 21 สภาเด็กและเยาวชน ต.เกาเลี้ยว 22 ศูนยการศึกษานอกโรงเรียน กศน. 23 อสม.นอย 24 ชมรมคนรักตะกรอเกาเลี้ยว 25 กลุมขนมไทย 26 กลุมแพรพันลาย (ผูกผา/จัดดอกไม) 27 ชมรมผูสูงอายุ 28 อสม.ประจำหมูบาน 29 กองทุนประกันสุขภาพเทศบาล 30 ชมรมปนจักรยานเกาเลี้ยว 31 กลุมดนตรีบำบัด 32 กลุมศิลปะบำบัด


22 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

-3¡Ç‹Ò¨Ð¶Ö§Çѹ¹Õé กวาจะยืดอกเปนตำบลนาอยู ทัง้ ชาวเกาเลีย้ วและ เจาหนาที่เทศบาลตองทุมเทน้ำพักน้ำแรงไมนอย การทำงานในชวงแรกคอนขางขลุกขลัก เพราะคำ วาตำบลสุขภาวะถือเปนของแปลกใหมที่ฟงแลวอาจไม คุน หูสำหรับคนในชุมชน ความทาทายของภารกิจนีจึ้ งอยู ทีว่ า ทำอยางไรที่จะสื่อสารใหทุกภาคสวนที่เกี่ยวของได รับรูร วมกัน และสรางแรงจูงใจใหชาวบานอยากเขามามี สวนรวมดวยความเต็มใจ “คำถามที่ผุดขึ้นในชวงแรกๆ สำหรับชาวบานคือ ตำบลสุขภาวะคืออะไร ดังนั้นจำเปนที่จะตองอธิบายให ทุกฝายมองเห็นเปาหมายเดียวกัน นัน่ ก็คือความสุขอยาง ยั่งยืนทั้ง 4 มิติ หนึ่งคือสุขกาย สุขภาพแข็งแรง ไมเจ็บ ไมไข สองคือสุขใจ มีสุขภาพจิตดี ไมมีความกังวลหดหู สามคือสุขภาวะทางสังคม รมเย็นเปนสุข สมานฉันท เอื้ออารีตอกัน และสี่ สุขภาวะทางปญญา ตองมีการ แลกเปลีย่ นเรียนรู มีการเชือ่ มโยงกัน หนุนเสริมซึง่ กันและกัน และถายทอดไปสูรุนลูกรุนหลานได” หากนับขอดีไดทั้ง 4 ขอนี้แลว โดยที่ทุกฝายเห็น พองตองกัน ก็เทากับวาสำเร็จไปแลวเกือบครึ่งทาง


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

นายกฯกิตติวัฒน เริ่มตั้งหลักดวยการศึกษาความ สำเร็จจากชุมชนตนแบบวามีรูปแบบการจัดการ ชุมชน ทองถิ่นอยางไร โดยสงแกนนำชุมชนเขาไปแลกเปลี่ยน เรียนรูที ตำบล ่ อุทยั เกา อำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทยั ธานี ซึ่ง เปน พื้นที่ บาน ใกล เรือน เคียง มี สภาพ วิถี ชีวิต และ รูปแบบเศรษฐกิจทีพอ ่ จะเทียบเคียงกันได จากนัน้ จึงยอน กลับมาทบทวนตนเองวา ชุมชนเกาเลีย้ วมีดีตรงไหน และ มีศักยภาพเขมแข็งในดานใดบาง เพือ่ จะนำความรูที ได ่ มา ประยุกตใหเขากับบริบทของชุมชน “กอนอื่นตองคนหารากเหงาและตัวตนของเราให ไดกอน เพื่อจะพัฒนาชุมชนของเราไดอยางไมหลงทิศ หลงทาง แรกๆ ก็ยังสับสนอยูวาจะจัดการอยางไร แต

23


24 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

เมื่อแกนนำชุมชนเขาไปเอกซเรยพื้นที่ของตัวเองแลวก็ พบวา ชุมชนของเราก็มีของดีอยูในมือ เพียงแตยังไมมี การจัดการใหทุกอยางเกิดการรอยเรียงเชื่อมโยงกันให เกิดความชัดเจน” หมอเอี๊ยงบอก วิธี การ ทำงาน อยาง หนึ่ง ที่ หมอ เอี๊ ยง นำ มา ใชได คอนขางสัมฤทธิ์ผลมีเคล็ดลับอยูที่การเฟนหาคน ‘ËÑÇäÇ ã¨¡ÅŒÒ’ ขึ้นมาเปนแกนนำหัวกะทิ เพื่อเขาไปแลกเปลี่ยน เรียนรูดูงานที่อื่นกอน จากนั้นคอยกลับมาพัฒนาชุมชน ตนเอง นอกจากนี้เขายังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการ ศึกษาดูงานใหมีความเขมขนจริงจังมากขึน้ จากเดิมมักใช วิธเหมา ี รถบัสยกขบวนกันไปเปนหมูคณะ  แตสุดทายผล ที่ไดก็ไมตรงเปา หมอเอี๊ยงจึงใชวิธลด ี ขนาดลงเปนคณะ ‘·ÑÇà öμÙŒ’ ในลักษณะของหนวยเคลื่อนที่เร็ว แบงเปนชุด ละประมาณสิบกวาคน ซึง่ เหมาะสำหรับการศึกษาดูงาน ชนิดที่เรียกวาไดเนื้อไดหนังมากกวา


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

“สำหรับผมมีหลักคิดในการสรางตำบลสุขภาวะ วา การที่จะทำใหชาวบานเขามาทำงานไดจะตองสราง แนวรวมทุกองคาพยพ คือ เริ่มที่พอ-กอที่แม-แกที่ลูกปลุกอาจารย-ไหววานพระสงฆ จะเห็นวาแหลงเรียนรู ของเราจะดึงคนทุกภาคสวนเขามาทำงานรวมกัน ทำให ขับเคลื่อนงานไดเร็ว “ขอสำคัญปญหาเรือ่ งการแบงฝกแบงฝายทางการ เมือง ก็ จะ หาย ไป เพราะ ทุก คน ตาง มุง ไป ที่ เปา หมาย เดียวกัน นั่นคือ เอาความอยูดีมีสุขเปนตัวตั้ง” นายกฯ กิตติวัฒนกลาวดวยความเชื่อมั่น

25


26 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

-4ÃءẺ ···. (·Ó·Ñ¹·Õ) ใน อดี ต ช ว ง ระหว า ง ป 2544-2547 เทศบาล ตำบล เกาเลี้ยวประสบปญหาในการนำ นโยบายไปสูการปฏิบัติ แมจะมี การกำหนดแผนงานตางๆ ภายใต การ บริหาร จัดการ ของ เทศบาล แตก็ไมสามารถตอบสนองความ ต อ งการ ของ ประชาชน ได อย า ง มี ประสิทธิภาพ เนื่องจากติดขัด กลไก และ วัฒนธรรม การ ทำงาน ในระบบราชการ “กอนหนานี้ชาวบานมักคิด วาภารกิจทุกอยางเปนหนาทีของ ่ องคกรปกครองทองถิน่ โดยมีเทศบาลเปน ผูหยิบยื่นความชวยเหลือใหแตเพียง ฝายเดียว ทำใหเราฉุกคิดขึน้ มาวาตองเปลีย่ นหลักคิดใหม โดยเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมใหมากขึ้น และเนนใหชุมชนพึ่งตนเองเปนหลัก” นายกฯกิตติวัฒน ย้ำดวยน้ำเสียงหนักแนน หนึ่งในแนวคิดที่หมอเอี๊ยงนำมาใชเปนนวัตกรรม


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

ในการบริหารจัดการชุมชนรูปแบบใหม เรียกวา ‘นโยบาย เชิงรุกแบบ ททท. (ทำทันที)’ ที่เนนการแกปญหาอยาง ทันทวงที ภายใตโครงสรางหลักของเทศบาล คือ กอง การศึกษา (ครู) กองคลัง (คลัง) กองชาง (ชาง) กอง สาธารณสุข (หมอ) และสำนักปลัดเทศบาล ขณะเดียวกัน ก็ได สง เสริม ให ชุมชน จัด ตั้ง โครงการ แหลง เรียน รู ของ ตัวเอง ซึ่งถือเปนการขับเคลื่อนทั้ง 2 มิตไป ิ พรอมๆ กัน “ประชาชนในพื้นที่ตองรูวาแตละฝายทำหนาที่แก ปญหาอะไรไดบาง เชน ขยะ กลิน่ เหม็น น้ำเนาเสีย เสียงดัง รบกวน เพือ่ ใหสามารถแจงปญหาผานประธานชุมชน แลว เทศบาลจะรีบเขาไปจัดการทันที หากทุกขของชาวบาน ไดรับการแกไขรวดเร็วเทาไหร ก็จะเกิดความไววางใจตอ กัน ปญหาในพื้นที่ก็จะบรรเทาเบาบางลง” นโยบาย เชิง รุก แบบ ททท. ไม เพียง จะ เนน การ ทำงาน ที่ ตอบสนอง ปญหาชุมชน ได อยาง รวดเร็ว ทันใจ แลว ยังมุง สงเสริมใหคนเกาเลีย้ วทัง้ 6,000 คน ตองรวม กันเปนเจาภาพ ในฐานะเปนเจาของพืน้ ที่ มิใชมอบความ ไววางใจใหนายกฯ รับผิดชอบเบ็ดเสร็จแตเพียงผูเดี  ยว “หลังจากชาวบานเกิดความตื่นตัวที่จะเขามามี สวนรวมอยางจริงจัง สงผลใหวัฒนธรรมในการทำงาน เปลี่ยนแปลงไปอยางกาวกระโดด กลับกลายเปนวาทุก วันนี้ชาวบานเริ่มเปนฝายคิดเอง ทำเอง และแกปญหา

27


28 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

เปน ขณะที่เทศบาล จะทำหนาที่เปนเพียงพี่เลี้ยงคอย ประคับประคองและหนุนเสริมในจุดออนเทานัน้ ” นายกฯ กิ ต ติ วั ฒน เล า ถึ ง สภาพ ป ญ หา ที่ เคย เกิ ด ขึ้ น ก อ น ที่ ภายหลังจะเริ่มมีการปรับเปลี่ยนทัศนคติในการทำงาน ใหม จนกอเกิดเปนความไวเนื้อเชื่อใจระหวางประชาชน กับองคกรทองถิ่น ทั้งหมดนี้ลวนเกิดขึ้นไดภายใตแนวคิดแบบ ททท. นวัตกรรมใหมแหงการบริหารจัดการชุมชน


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

-5ÊÒÂÅÁáË‹§¤ÇÒÁà»ÅÕè¹á»Å§ เปนความจริงทีปฏิ ่ เสธไมไดวา สภาพแวดลอมและ ชีวิตความเปนอยูของคนเกาเลี้ยวจากอดีตจนถึงปจจุบัน มีความเปลีย่ นแปลงไปมาก ซึง่ ถือเปนเรือ่ งธรรมดาสามัญ ที่ทุกสรรพสิ่งยอมมีการเปลี่ยนผานไปตามยุคสมัย นับตัง้ แตถนนสายตางๆ ตัดเขามาถึงหนาหมูบ า น พรอมกับความสะดวกสบายของโลกสมัยใหม ผูคนเริ่ม คลายความนิยมจากการสัญจรทางน้ำและหันมาใชชีวิต บนบกเต็มรูปแบบ วิถการ ี ดำเนินชีวติ แบบดัง้ เดิมจึงคอยๆ เลือนหายไป เสียงตะโกน ‘เกาเหลี้ยว’ ของพอคาชาวจีนที่ลอง เรือโยง มาตาม ลำ น้ำ ปง ถึง วัน นี้ ไมมี ให ไดยิน ไดฟง อีก แลว... กระทัง่ สัญญาณแหงความเปลีย่ นแปลงเริม่ ปรากฏ ชัดในชวง 2 ปทีผ่ านมา เมือ่ หางคาปลีกขามชาติยักษใหญ รุกคืบมาถึงหมูบาน สงผลกระทบตอวิถีชีวิตผูคาหาบเร แผงลอยและเศรษฐกิจชุมชนอยางหลีกเลี่ยงไมได ในชวงแรกเกิดแรงตานอยางหนักจากกลุมผูคา มี การเรียกรองใหเทศบาลหาวิธีสกัดกั้น ทวาเงื่อนไขทาง กฎหมายก็เกิดชองโหวใหหางคาปลีกขนาดยักษที่ปรับ

29


30 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

ลด ขนาด ลง มา ใน รูป ของ มิ นิ มาร ทสา มา รถ เปด กิจการ ในเขตเทศบาลได ทาย ที่สุด คนใน ชุมชน จึง ได ระดม ความ คิด กันวา หากจะดำรงวิถการ ี ทำมาคาขายใหอยูรอด  ได คนในชุมชน จะตองชวยอุดหนุนเกื้อกูลกัน เพราะไมมีใครรูจักลูกคา ไดดีเทาแมคาในพื้นที่ อาศัยพลังความสามัคคีของคน ในชุมชน ชวยกันซื้อ ชวยกันขาย ก็สามารถเพิ่มอำนาจ ตอรองกับทุนยักษใหญขามชาติได ขณะเดียวกัน ทางเทศบาลก็ไดเรงแกปญหาดวย การจัดพืน้ ทีจุ่ ดผอนผัน โดยเนรมิตถนนสายหลักใจกลาง เมืองใหกลายเปน ‘¶¹¹¤¹à´Ô¹’ ตัง้ แตชวง 15.00-18.00 น. เปดใหคาขายไดทุกวัน เวนวันอังคาร รวมทั้งสงเสริมให ชาวบานพยายามรวมกลุมกันเพื่อสรางความเขมแข็ง ทุกๆ เย็น บรรยากาศกลางเมืองจะคึกคักมีชีวิต ชีวา ขึ้น ทันตา เห็น จน ถนน สาย นี้ กลาย เปน เอกลักษณ อยางหนึ่งของตำบลเกาเลี้ยว นี่ เป น เพี ย ง ตั ว อย า ง หนึ่ ง ที่ ทำให ชาว บ า น เริ่ ม ตระหนักไดวา ดวยพลังของคนในชุมชนที่ลุกขึ้นสูดวย ตนเอง ยอม สามารถ เอาชนะ ตอ ความ ยาก ลำบาก ได ไมวาอุปสรรคที่วานั้นจะใหญแคไหนก็ตาม

31


32 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

-6‘ËÂÔ¹-ËÂÒ§’ ¨ÔμÇÔÞÞÒ³¤¹à¡ŒÒàÅÕéÂÇ อะไร หรือ คือ ศูนย รวม จิตใจ ที่ ทำให คน เกาเลี้ยว เกิด ความสมัครสมานเปนหนึ่ง เดียวได เชน นี้ หากมิใช ดวย ความ เชื่อ และ ความ ศรัทธา ที่ มี ตอ สิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ ที่ พวกเขายึดมั่น หนึ่งในแรงศรัทธาที่วานั้นก็คือ ‘ÈÒÅ਌Ғ ซึ่งเปน สถานที่ยึดเหนี่ยวทางใจของชาวเกาเลี้ยวมาตั้งแตสมัย บรรพชน หรืออาจเรียกไดวาเปนจิตวิญญาณเกาเลี้ยวก็ คงไมเกินเลยนัก ซึ่งอาจเปนเรื่องที่ผูคนตางถิ่นยากจะ เขาใจหากไมไดมาสัมผัสรับรูดวยตัวเอง เวลานีสาย ้ ฝนคอยๆ ซาเม็ดลงแลว หลังโปรยปราย มาตลอดคืนจนถึงชวงเชา ทำใหทองฟาในชวงสายของ วันนี้เริ่มแจมใสปลอดโปรงขึ้นมาอีกครั้ง แสงแดดออนๆ สองลอดแมกไมกระทบผิวน้ำระเหยกลายเปนไอพัดโชย มาถึงศาลาริมน้ำที่ตั้งอยูขางศาลเจา ชวยใหบรรยากาศ โดยรอบดูผอนคลายเบาสบาย ใตรมเงาไมใหญใกลกับศาลเจาพอเกาเลีย้ ว ฐิตวุิ ฒิ ชูแกว ในฐานะผูดูแลศาลเจา ยืนรอตอนรับผูมาเยือน ดวยรอยยิ้มเบิกกวาง พรอมกับอัครชัย ตั้งไกรสรสิทธิ์ รองนายกเทศมนตรี ซึ่งเปนอีกคนหนึ่งที่ผูกพันใกลชิด


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

กับศาลเจามาตั้งแตวัยเด็ก ฐิติวุฒิเลาเทาความถึงเสนทาง 9 คุงคดเคี้ยวตาม ลำน้ำปง ซึ่งเปนแหลงกำเนิดอารยธรรมรวมระหวางชาว ไทย-จีน เมือ่ มาตัง้ ถิน่ ฐานรกรากทีนี่ แล ่ วประกอบกิจการ รุงเรืองจึงไดมีการตั้ง ‘ÈÒÅ਌Ҿ‹ÍËÁÍ’ และ ‘ÈÒÅ਌Ҿ‹Í à¡ŒÒàÅÕéÂÇ’ โดยเลือกชัยภูมิติดแมน้ำปง “วา กัน ตาม หลัก ฮ วง จุย หรือ ลักษณะ ภูมิศาสตร จังหวัดนครสวรรคเปนเหมือนปากมังกร เกาเลี้ยวเปน ทอง สวนอำเภอบรรพตเปนหาง เกาเลี้ยวก็เลยคอนขาง อุดมสมบูรณ แมไมถึงกับฟูฟา แตก็ไมอด พออยูพอกิน เพราะ ชัยภูมิ ดี ป ที่ แลว น้ำ ทวม เกือบ ทั้ง ประเทศ แต

ฐิติวุฒิ ชูแกว

33


34 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

เกาเลี้ยวไมทวม หนาแลงก็ไมแลง ภัยธรรมชาติไมคอยมี ชวงภาวะวิกฤติเกาเลี้ยวจึงเปนเหมือนคลังอาหารใหกับ ตำบลขางเคียงและยังเปนทีอพยพ ่ ชัว่ คราวใหกับผูประสบ  ภัยอีกดวย” เขาเลา สายเลือดมังกรยัง คงคุก รุน อยู ในกายของฐิติวุฒิ เต็มรอย นับตั้งแตจำความได ราวสัก 6-7 ขวบ เขาก็ คลุกคลีวิ่งเลนอยูในศาลเจามาตลอด พอโตขึ้นก็ไดรับ การถายทอดวิทยายุทธการเชิดสิงโต กระทั่งตอมาไดรับ เลือกเปน ‘ÁŒÒ·Ã§’ ในพิธีกรรมศํักดิสิ์ ทธิ์ “ผมดูแลศาลเจามารวม 11 ปแลว ทุกคนทีนี่ ่ลวน เปนลูกหลานเจาพอเกาเลี้ยวทั้งนั้น เพราะเกิดมาก็ได อัครชัย ตั้งไกรสรสิทธิ์


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

รวมขบวนแหเจา ไดซอมเชิดเสือ เชิดสิงโตกันตั้งแตเล็ก เริม่ จากถือหางสิงโตกอนแลวคอยมาเชิดหัวสิงโต เหมือน เปนการฝกความสามัคคีไปดวย” ฐิตวุิ ฒบอก ิ เชน เดียว กับรอง นา ยกฯ อัคร ชัย ที่ เคย ผาน การ ฝกรายรำทั้งกระบี่กระบอง และตีกลองดวยความชำนิ ชำนาญ เพราะไดรับ การปลูก ฝง บม เพาะจนซึมซับ อยู ใน สาย เลือด โดย เฉพาะ การ เชิด เสือ ไหหลำ ซึ่ง เปน ภูมิปญญา ของ ชาว เกาเลี้ยว ที่ มี ทวงทา การ รำ เปน แบบ ฉบับเฉพาะตัวและมีตนตำรับมาจากเมืองจีน ครั้ง หนึ่ง เมื่อสมัย ที่ยัง หนุม แนน ฐิติวุฒิเคย ผาน ประสบการณ เฉี ย ด เป น เฉี ย ด ตาย จาก การ เชิ ด สิ ง โต ผาดโผนบนความสูงราวตึก 3 ชั้น เสี้ยววินาทีที่กำลังยืน รายรำอยูบน  เสาไมไผไดเกิดเหตุการณไมคาดฝนขึน้ เชือก เสนหนึ่งขาดสะบั้นลง รางของเขารวงหลนลงมากลาง สีแยก ่ ทามกลางเสียงหวีดรองของชาวบานทีอยู ่ ใน  อาการ แตกตื่นตกใจสุดขีด “โชคดีทีตอน ่ นัน้ ศีรษะยังอยูใน  หัวสิงโต ทำใหสมอง ไมไดรับการกระทบกระเทือนมาก แตก็นอนสลบอยูใน โรงพยาบาลถึง 13 วัน ชาวบานคิดวาผมคงจะพิการเสีย แลว แตก็รอดมาไดดวยความศักดิ์สิทธิ์ของเจาพอ” เขา เลาพรอมกับหวนคิดถึงวีรกรรมวัยหนุมที่รอดตายมาได อยางปาฏิหาริย

35


36 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

นับแตนั้นมาหลังพนขีดอันตราย...ฐิติวุฒิจึงอุทิศ ทั้ง ชีวิต ให กับ การ ปรนนิบัติ รับ ใช ศาลเจา เพื่อ เปนการ ทดแทนบุญคุณบรรพชนและองคเทพที่ชวยใหฟนกลับ มามีชีวิตใหมอีกครั้ง ไมเฉพาะตัวของฐิติวุฒิเทานั้นที่เปยมดวยความ ศรัทธาอันแรงกลา แตคนเกาเลีย้ วทัง้ ตำบลตางก็รูส กึ และ สัมผัสไดเชนเดียวกัน เมือ่ ถามถึงงานประเพณีสำคัญประจำป ฐิตวุิ ฒเล ิ า ดวยความภาคภูมใิ จวา ทุกครัง้ ทีมี่ การจัดงานคนเกาเลีย้ ว จำนวนไมนอยทีไป ่ ทำมาคาขายอยูต างบานตางเมือง เมือ่ ไดดิบไดดีหรือเจริญเติบโตในหนาทีการ ่ งานก็จะหวนกลับ คืนถิ่นทุกป เพื่อมารวมแรงรวมใจกันจัดงานประเพณีให สำเร็จลุลวง “โดยเฉพาะเทศกาลวันขึ้นปใหม ขึ้น 15 ค่ำ เดือน อาย ซึง่ คนจีนถือวาเปนวันทีมี่ พลังมากทีส่ ดุ ในรอบป ทุก คนจะพรอมใจกันสวมเสื้อสีแดงสดกันทั้งตำบล แตละ บานจะตั้งโตะหมูบูชารับเจาเสด็จ รูปแบบคลายกันกับ จังหวัดภูเก็ต มีมาทรงเดินไปใหพรตามบานตางๆ เพียง แตไมมการ ี เจาะรางกายหรือแสดงอิทธิฤทธิแนว ์ บู เพราะ ที่นี่จะเนนการทำบุญนั่งสมาธิมากกวา” ดวยสำนึกรักบานเกิด ประกอบกับเปนโอกาสอันดี ที่ทุกคนจะไดกลับมาเยี่ยมบานและมากราบไหวขอพร


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

เจา พอ จน เปน ที่ รู กัน โดย ไม ตอง นัด หมาย ทำให งาน ประเพณีของเกาเลี้ยวโดงดังยิ่งขึน้ กระทั่งคนตางถิ่นตาง อำเภอยังตองแวะเวียนมาเทีย่ วชมงาน ซึง่ ยิง่ ใหญอลังการ ไมแพงานเทศกาลตรุษจีนของเมืองปากน้ำโพ จังหวัด นครสวรรคเลยทีเดียว เมื่อเลาถึงตรงนี้ นายกฯเอี๊ยง ซึ่งนั่งฟงอยูขางๆ ก็ กลาว เสริมขึ้นวา อีก หนึ่ง เทศกาล ที่สะทอน ถึง ความ ผสม ผสาน ทาง วัฒนธรรม ระหวาง คน ไทย เชื้อ สาย จีน

37


38 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

กับคนไทยในพื้นที่ โดยมีการหลอมรวมกันระหวางงาน ศาลเจากับงานวัด โดยเฉพาะอยางยิง่ งานมหาสงกรานต ทีคน ่ เกาเลีย้ วจัดขึน้ 5 วัน 5 คืน ทุกวันที่ 13-17 เมษายน ของทุกป นายกฯเอียง ๊ บอกวา ในวันที่ 17 เมษายน ซึง่ เปนวัน สุดทายของการจัดงานจะมีการสรงน้ำพระ โดยพระสงฆ จาก วั ด เก า เลี้ ยว จะ ยก คณะ มา จั ด กิ จ กรรม ร ว ม กั น ที่ ศาลเจา จน เกิด เปน ศูนยกลาง ความ ศรัทธา เพียง หนึ่ง เดียว ขณะทีชาว ่ บานจะนำสำรับมาทำบุญกันทีศาล ่ เจาใน ชวงเชา เสร็จจากนัน้ จะทำพิธลอย ี เรือสำเภาเพือ่ สะเดาะ เคราะหสง สงกรานต ซึง่ เปนเรือทีส่ รางจากลำไมไผผา ซีก ่ ชมไดที่ วางบนแพตนกลวย และเปนประเพณีเกาแกทีหา เกาเลี้ยวแหงเดียวเทานั้น หลังลอยเรือสำเภาสะเดาะเคราะหแลว ชาวบาน ทั้งหมดจะไปรวมตัวกันอีกครั้งทีวั่ ด เพื่อเตรียมแหขบวน พระพุทธสิหิงคไปรอบตลาด และใหชาวบานไดรวมกัน สรงน้ำพระเพื่อความเปนสิริมงคล “ดวยลักษณะเชนนี้แหละที่ถือไดวาเปนอัตลักษณ ของเรา ฉะนั้นเมื่อไดทบทวนถึงตัวตนของเราแลวก็พบ วา สิ่งที่เปนศูนยรวมจิตใจของคนเกาเลี้ยวก็คือ ความ เปน ‘ËÂÔ¹-ËÂÒ§’ หรือความสมดุลของชีวิตที่มีทั้งพลัง รอน-พลังเย็น เปรียบเหมือนคนไทยและคนจีนทีอยู ่ รวม


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

กันอยางสมดุล ชวยเหลือเกื้อกูลกัน จนเกิดเปนวิถีชีวิต และเปนเสนหของเมืองเกาเลี้ยว” นายกฯกิตติวัฒน สรุป หัวใจสำคัญไวในบรรทัดสุดทาย ราวกับเปนการขีดเสนใต เขมๆ ใหเห็นถึงเนื้อในของจิตวิญญาณคนเกาเลี้ยว ดวยพลังแหงศรัทธาและเชื่อมั่น จึงไมนาแปลกใจ เลย ที่ ศาล เจา พอ เกาเลี้ยว แหง นี้ จะ ถูก ยก ให เปน แหลง เรียนรูสำคั  ญประจำตำบล เพือ่ ใหอนุชนรุน หลังไดสืบทอด ตำนานเกาเลี้ยวตอไป

39


40 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

อลังการงานประเพณีพีน ่ องไทย-จีน งานประเพณีของศาลเจาที่ขึ้นชื่อของตำบลเกาเลี้ยว จะมีการจัดงานอยางตอเนื่องตลอดป ไดแก • วันจับโหงว หลังจากวันตรุษจีน 15 วัน มีการแหเจาพอ เกาเลี้ยว เจาแมกวนอิม • วันมหาสงกรานตและประเพณีลอยเรือสำเภาสะเดาะ เคราะห 13-17 เมษายน • วันเกิดเจาพอกวนอู มีการจัดแสดงงิ้วถวาย • วันเกิดเจาพอเกาเลี้ยว มีแสดงงิ้วถวายเชนกัน • วันซิโกว (เทกระจาด) เดือนสิบ • วันไหวพระจันทร งาน ประเพณี สำคัญที่ นัก ทอง เที่ยวไม ควร พลาด ชม หาก มี โอกาสได แวะ เวียน มา ถึง เมือง สอง แคว แหง นี้ โดย เฉพาะ วัน จับโหง ว หรือ หลังจากวันตรุษจีน 15 วัน จะ มี การเฉลิมฉลองยิ่งใหญอลังการ ประกอบไปดวยขบวนแห เจาพอเกาเลี้ยว เจาแมกวนอิม และแหขบวนนางฟา สิงโต มังกร ครบ ถวน ตาม ตำรับ ชาว จีน แม จะไม อาจ เทียบ เทา งาน ประเพณี ตรุษ จีน ระดับ ชาติ ที่ เมือง ปากน้ำโพ จังหวัด นครสวรรค และไมไดรับการโปรโมทใหบรรจุอยูในปฏิทิน การทองเที่ยวไทย แตก็เปนงานที่เกิดขึ้นดวยน้ำพักน้ำแรง ของ ลู ก หลาน เก า เลี้ ย ว ทุ ก คน ที่ ช ว ย กั น รั ง สรรค ขึ้ น ด ว ย ตนเอง

41


42 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

ÈÒÅ਌Ҿ‹Íà¡ŒÒàÅÕéÂÇ ศาล เจา พอ เกาเลี้ยว ตั้ง ขึ้น ริม แม น้ำ ปง หลัง ยุค ชาวจีนโพนทะเลหอบเสื่อผืนหมอนใบขึ้นเรือสำเภามุงสู เมืองไทย โดยนำเอาตุกตาจีนที่ทำจากไมแกะสลัก ถือ เปนสัญลักษณแทนเทพเจาองคตางๆ นั่นก็คือ เจาพอ เกาเลี้ยว เจาพอกวนอู เจาพอรอยแปดพระองค เจาแม ทับทิม และเทพเจาอีกหลายองคตามคติความเชื่อของ คนจีน


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

ÈÒÅ਌Ҿ‹ÍËÁÍ ตำ นาน ความ ศักดิ์ สิทธิ์ ของ เจา พอ หมอ มี ขึ้นตั้งแต สมัย โบราณ เนื่องจากยุค นั้น โรคหา ระบาดอยางหนัก คนจีน เชื่อวาเจา พอ หมอจะ สามารถปดเปาโรคภัยไขเจ็บได โดยมีการอัญเชิญ มาประทับผานรางทรงเพือ่ นำทางไปเก็บสมุนไพร ตามปาเขาแลวนำมาตมยา พรอมกับมีการเผา กระดาษยันตหรือที่ชาวจีนเรียกวา ‘ฮู’ แลวจุม กระดาษ ลง ใน หมอ ตม ยา เพื่อ ทำ น้ำมนต จาก นั้นจะนำน้ำที่เหลือจากการเผาฮูใหชาวบานดื่ม กิน จน หาย จาก อาการ ปวย ไข อยาง นา อัศจรรย ปจจุบัน มี การ อัญเชิญ เทพเจา มา ประทั บ ที่ ศาล ถึง 10 องค

43


44 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

¡§Ëŋǹ

มี ลักษณะ เปน เกาอี้ ไม คลาย เกี้ยว เปน สัญลักษณ แทนที่ประทับของเทพเจาแตละองค เมื่ออัญเชิญเทพเจา มาสถิตอยูที กง ่ หลวนแลว จะตองใชคน 2 คนในการหามกง หลวนไปตามเสนทางตางๆ ผานบานแตละหลัง ซึง่ ชาวบาน จะตั้งโตะพิธีไวตอนรับเทพเจาและถวายสิ่งของบูชาเพื่อ เปนสิริมงคล ใน ภาพ เป น การ แสดง อิ ท ธิ ฤ ทธิ์ ปาฏิ ห าริ ย ของ กง หล วน ที่ สามารถ ตั้ ง อยู บน ถ ว ย ชา ด ว ย ขา เก า อี้ เพี ย ง ขางเดียว โดยจะตั้งอยูนิ่งนานนับตั้งแตอัญเชิญเทพเจามา ประทับจนกระทั่งเสร็จสิ้นพิธีกรรม


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

àÊ×ÍäËËÅÓ เปนหัวเสือที่ใชในการเชิดตามงานสำคัญตางๆ มี ลวดลายและรูปแบบการประดิษฐที่แตกตางกับหัวสิงโต ที่พบเห็นโดยทั่วไป รวมทั้งทวงทาในการรำก็สวยงาม เปนเอกลักษณเฉพาะของชาวจีนไหหลำ เชน ทารำดาบคู รำหอก ทวน และการรำลอเสือเพื่อมากินอาหารที่จัด เตรียมไวบนโตะ ซึ่งชาวจีนเชื่อวาจะเปนสิริมงคลแกคน ในบานและครอบครัว ‘เสือ’ เปนสัญลักษณขับไลภูตผีปศาจและสิง่ ชัว่ ราย ‘สิงโต’ ใหโชคใหลาภ โชคดีมีชัย หรืออีกนัยหนึ่งก็คือสัตว พาหนะขององคเทพเจา การเชิดหัวเสือไหหลำไดรับการถายทอดกันมารุน ตอรุน ปจจุบันหาดูไดยากและคาดวามีเหลืออยูเพียง ไมกี่แหงในประเทศไทย

45


46 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

-7ËÁ⾸ÔËì Áä·Ã ใกลถึงชวงเย็น ทองฟาที่มีแสงแดดอุนๆ เมื่อไม กี่ชั่วโมงมานี้เริ่มคลุมครึ้มไปดวยเมฆฝนอีกครั้ง นายกฯ เอี๊ ยง และ เจา หนาที่ เทศบาล นำ คณะ เดิน ทาง ตอ ไป ยัง ‘ÇÑ´ à¡ŒÒàÅÕéÂÇ’ ซึ่ง เปน ศูนยรวมใจ ของ คนใน ตำบล นอก เหนือจากศาลเจาทั้งสองแหงที่เปนจุดยึดเหนี่ยวของชาว เกาเลี้ยว สายฝนเริม่ โปรยเม็ดลงมาแลว ใบไมปลิดปลิวจาก


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

กิ่งกานตามแรงลมที่พัดโหมกระพือมาเปนระยะ คลาย เปนสัญญาณเตือนใหรูว า อีกไมนานเมฆครึม้ ฝนกอนนัน้ จะกลั่นตัวเปนหยดน้ำเทลงมาสรางความชุมฉ่ำอีกครั้ง คณะ เจ า หน า ที่ รี บ พา กั น เข า มา หลบ ใต ชายคา วิหาร กอนที่ผูมาเยือนจะทันสังเกตเห็นวา รูปทรงและ องคประกอบของวิหารแหงนีดู้ ชางงดงาม ปรากฏรองรอย ของความเกาแกทีให ่ ความรูส กึ ขรึมขลังทรงพลัง สะกดให ผูค นทีเข ่ ามาในสถานทีแห ่ งนีต้ องอยูใน  อาการสำรวม และ เมือ่ กาวพนธรณีประตูเขามาแลวก็สัมผัสไดถึงความเย็นสบาย-สงบ ไรเสียงรบกวนจากสิ่งเราของโลกภายนอก เบื้องหนาพระประธานองคใหญในวิหารพระพุทธ ชินราชจำลอง พระสงฆรูปหนึ่งนั่งคอยทาอยูสักครูแลว ทานแยมยิม้ ทักทายอยางเปนกันเอง กอนจะผายมือแนะ ใหทุกคนนั่งลงกราบพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ จากนั้นบทตนสนทนาจึงเริ่มขึ้น “วิหารแหงนี้มีความศักดิ์สิทธิ์มาก เมื่อกอนเคยมี เสาตกน้ำมันอยูตนหนึ่ง ขาวของที่นี่ไมเคยหายเลย แต พอ ยาย พระ ประธาน องค เดิม ไป ไว ที่ วิหาร อีก แหง หนึ่ง ระหวางทีกำลั ่ งบูรณะซอมแซม พระเกาแกโบราณองคนัน้ ก็ หาย ไป อยาง ไร รอง รอย” พระครู นิทาน สุต กิจ รอง เจาอาวาสวัดเกาเลี้ยว เกริ่นนำใหฟงถึงทีมา ่ ความเกาแก ของวิหารแหงนี้ หลังจากสังเกตเห็นผูมา  เยือนแหงนหนา

47


48 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

ชมบรรยากาศรายรอบจนคอตั้งบา อาจเปนกฎธรรมดาสามัญของโลกทีต่ องเผชิญหนา กับความเปลี่ยนแปลงอันไมจีรัง แมแตเสาหลักของมหา วิหารขนาดเทาคนโอบยังผุกรอนจากปลวกมอดชอนไช จน ตอง มี การ บูรณ ปฏิสังขรณ กัน ใหม นับ ประสา อะไร กับจิตใจคนที่ยอมชำรุดเพราะถูกความโลภโกรธหลงเขา ครอบงำ กระทั่งรูปเคารพศักดิ์สิทธิ์ยังถูกขบวนการโจร ใจบาปลักลอบขโมยไปเพือ่ แลกกับเศษเงิน คงเหลือเพียง คำสอนของพระพุทธองคเทานั้นทียั่ งดำรงอยู โลกทุกวันนี้เต็มไปดวยสิ่งยั่วใจใหมนุษยหลงผิด หาก จะ ชำระ โลก ให นา อยูคง ตอง เริ่ม ตน ที่ การ ขัดเกลา จิตใจคน หลวงพี่เลาวา แนวคิดที่จะนำพาผูคนใหหันหนา


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

เขา สู พระ ธรรม สวน หนึ่ง มา จาก ปณิธาน ของ พระครู นิติธรรมคุณ หรือ ‘หลวงพอหนอง’ อดีตเจาอาวาส วัดเกาเลี้ยวซึ่งมรณภาพไปเมื่อป 2545 ทานเปนพระ นักพัฒนาที่ชาวบานใหความเลื่อมใสศรัทธาเปนอันมาก “หลวงพอหนองทานมีดำริวา วัดควรจะมีกิจกรรม ดึงดูดใหชาวบานเขาใกลพุทธศาสนาบาง หลังจากนั้น วัดจึงเริม่ จัดกิจกรรมสวดมนตไหวพระทุกวัน มีการอบรม ปฏิบัติธรรมใหกับเด็กนักเรียน การศึกษาภาพจิตรกรรม ฝาผนัง และกิจกรรมวันพอวันแม เปนตน” พระครูนิทาน สุตกิจกลาว ป จ จุ บั น วั ด เก า เลี้ ย ว เป น ศู น ย ก ลาง การ อบรม คุณธรรม จริยธรรม แก เด็ก นักเรียน ชั้น ป.6 ทั้ง อำเภอ

49


50 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

เกาเลี้ยว เด็กประมาณ 300 คน จะตองมาอบรมเขม 3 วัน 2 คืนกับพระอาจารย เพือ่ ฝกปฏิบตั ธรรม ิ รูจ กั หนาที่ การเปนพุทธมามะกะ และรูจ กั การทำศาสนพิธอย ี างงาย เชน การอาราธนาศีล อาราธนาธรรม การถวายทานพระ ภายใตชื่อโครงการวา ‘ÁѤ¹Ò¡¹ŒÍÂ’ เมื่อ ถึง ชวง ปด เทอม ใหญ ทาง วัด ยัง จัด กิจกรรม บรรพชาสามเณรฤดูรอน โดยมีเด็กและเยาวชนเขารวม อุปสมบทไมต่ำกวา 30-40 คน นอกจากนี้ยังมี ‘â¤Ã§¡Òà ¾Ãоط¸ ÈÒÊ¹Ò Çѹ ÍÒ·Ôμ ’ โดย ให เด็ก นักเรียน สมัคร เขา มาเรียนที่วัดเกาเลี้ยว กลุมเปาหมายคือเด็กชั้น ป. 4-6 เปนโรงเรียนปริยัติซึ่งเปดสอนทั้งทางโลกและทางธรรม มีอินเทอรเน็ตกวา 20 เครื่องใหเด็กไดเรียนรู โดยมีพระ อาจารย เปน ผู ชี้แนะ การใช งาน อยาง มี สติ และ รู เทา ทัน โลกไอที สวนทุกเชาวันอาทิตยจะมีการทำบุญ ‘Çѹ¾ÃÐ Çѹ ÍÒ·Ôμ ’ เพราะหากยึดวันพระตามปฏิทินอาจไมสะดวก สำหรับคนทั่วไปที่ติดภารกิจการงาน ทางวัดจึงกำหนด ใหมีวันพระทุกวันอาทิตย หลวง พี่ เล า ต อ ไป ว า จุ ด เด น อี ก อย า ง ของวั ด เกาเลี้ยวก็คือ ทุกครั้งทีมี่ งานบุญตางๆ ทั้งงานบวช งาน ตาย ทาง วัด จะ สอด แทรก กิจกรรม การ บรรยาย ธรรม ใหญาติโยมไดฟงและคอยๆ ซึมซับไปดวย เพราะหาก


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

51


52 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

รำลึกหลวงพอหนอง อดีตเจาอาวาสวัดเกาเลี้ยว ซึ่งมรณภาพไปเมื่อป 2545 อยูใต  รมกาสาวพัสตรรวมทั้งสิ้น 60 พรรษา ถือเปนพระผูบุกเบิกงานพัฒนาของตำบลเกาเลี้ยว จนมีความเจริญกาวหนามาถึงทุกวันนี้ ในชวงที่ทานยังมีชีวิตอยูไดสรางคุณูปการ ใหกับตำบลเกาเลี้ยวไวมากมาย ทานเปนผูริเริ่ม แนวคิดในการสรางอาคารที่วาการอำเภอเกาเลี้ยว ดวยวิธีการเรี่ยไรบุญจากชาวบานตามกำลังศรัทธา จนกระทั่งสามารถระดมทุนสรางอาคารไดสำเร็จ ไมเพียงเทานั้น หลวงพอหนองยังใหความ สำคัญในดานการศึกษาและการใหความรูแกชุมชน โดยสงเสริมใหมีการสรางพิพิธภัณฑเกาเลี้ยว เพื่อ เก็บรวบรวมสิ่งของเกาแกอันบงบอกถึงรากเหงาของ คนเกาเลี้ยว เพื่อใหลูกหลานไดเขามาศึกษาเรียนรู


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

53


54 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

แคสวดพระอภิธรรมเพียงอยางเดียวชาวบานก็ไมอาจ เขาถึงรสพระธรรมได ดังนั้นจึงตองอาศัยการเทศนเปน กุศโลบายอยางหนึ่งที่ชวยใหธรรมะเปนเรื่องใกลตัวมาก ขึ้น “การเทศนนอกจากจะเปนการสื่อสารธรรมะกับ ชาวบานไดงายแลว ยังทำใหพระสงฆของเรามีคุณภาพ มากขึน้ ดวย เพราะพระทุกรูปจะตองฝกเทศนฝกบรรยาย ธรรมใหชาวบานฟง ผลก็คือทำใหคนในชุมชนไดเขาใจ ธรรมะมากขึน้ อยางนอยก็รูจ กั เกรงกลัวตอบาป” พระครู นิทานสุตกิจกลาว พระครูนิทานสุตกิจ เนนย้ำดวยวา สิ่งสำคัญที่สุด คือการปลูกฝงธรรมะแกเด็กและเยาวชน เพราะจะเปน ผูสืบทอดพระศาสนาใหธำรงสืบเนื่องตอไป โดยทางวัด จะจัดกิจกรรมเชิงรุกที่โรงเรียน มีพระสงฆผลัดเปลี่ยน หมุนเวียนเขาไปสอนวิชาศาสนา สอนปฏิบัติธรรม นั่ง สมาธิ เพื่อฝกฝนจิตใจเด็ก รวมทั้งมีการจัดสอบชิงทุน การศึกษา การแขงขันบรรยายธรรม แขงขันสวดทำนอง สรภัญญะ การ ตอบ ปญหา ธรรมะ ซึ่ง กิจกรรม เหลา นี้ จัดขึ้นเพื่อดึงดูดใหผูคนเขาใกลศาสนามากขึ้น “สังคมสมัยนีมี้ สิ่งลอใจมาก เด็กหลายคนมีปญหา ทองตั้งแตวัยเรียน เห็นแลวก็นาสงสาร ทั้งเด็กและพอ แม ตอง วิ่ง มา ขอ คำ ปรึกษาพระ ทาง วัด จึง ตองหา วิธี ที่


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

จะเขาไปขัดเกลาจิตใจเด็กๆ ใหมีสติอยูกับเนื้อกับตัว เสมอ” ขอสังเกตของพระครูนิทานสุตกิจที่มุงเสริมสราง ภูมิคุมกันทางโลกใหแกเด็กและเยาวชน ทำใหหวนนึก ไปถึงโอวาทของทานพุทธทาสภิกขุ แหงสวนโมกขพลาราม ดัง คำ สอน ที่ วา ‘ศีล ธรรม ของ ยุวชน คือ สันติภาพ ของ โลก’

à¢μÇÑ´ËŒÒÁàÁÒ ทุกครัง้ ทีมี่ งานอุปสมบทแหนาคก็มักจะตองมี ‘᤹ ǧ’ เปนของคูกัน โดยจะมีการรองรำทำเพลงจนเปนที่ ครื้นเครงในหมูชาวบาน มีผูคนมารวมแสดงความยินดี ลนหลาม แถมพวงดวยเหลา-เบียร สรางความเมามันให เหลาขบวนแหนาคไดคึกคักสนุกสนาน บรรยากาศ ลั ก ษณะ นี้ กลาย เป น ภาพ ชิ น ตา ที่ พบเห็นไดทั่วไปไมวาจะเปนสังคมเมืองหรือสังคมชนบท แตสิ่งเหลานี้นับวันก็ยิ่งเบียดบังเนื้อแทของพิธีกรรมทาง พุทธศาสนา จนทำใหผูคนยึดถือปฏิบัติตามกันมาแบบ ผิดๆ

55


56 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

ดวยเหตุนี้เองทางวัดเกาเลี้ยวจึงตั้งขอกำหนดขึ้น วา หากเขามาภายในเขตวิสุงคามสีมา หามนำแคนวง เขามาโดยเด็ดขาด แตขอใหรออยูนอกรั้ววัดเทานั้น สวน นาคนั้นก็ใหเดินรอบโบสถดวยความสงบ ซึ่งวัดเกาเลี้ยว ไดพยายามบมเพาะรากฐานนีไว ้ เพือ่ เปนแบบอยางใหแก วัดอื่นๆ ไดปฏิบัติตาม


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

57


58 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

ËÍ¡ÃШÒ¢‹ÒÇ จุดเดนของวัดเกาเลี้ยวคือ พระสงฆแตละรูปจะ ไดรับการฝกฝนใหสามารถบรรยายธรรมใหชาวบานฟง โดยเนนการเทศนในเรื่องใกลตัวที่ชาวบานจับตองและ เขาถึงไดงาย จนเปนที่ร่ำลือของตำบลขางเคียงวาหาก ใครตองการฟงเทศนใหมาที่วัดเกาเลี้ยว ‘ËÍ¡ÃШÒ¢‹ÒÇ’ เปนอีกหนึ่งชองทางในการเผยแผ ธรรมะ เปดรายการตั้งแตตี 5 ทุกเชาวันอาทิตย วันพระ และวันสำคัญทางศาสนา “เสียง จาก ลำโพง มัน ไป ไกล ไดยิน กัน ทั้ง ชุมชน เชาๆ ชาวบานตืน่ ขึน้ มาเก็บดอกมะลิก็จะไดฟงธรรมะไป ดวย ไปขายของทีตลาด ่ ก็ฟงธรรมะเขาหูไปดวย ฉะนัน้ เรา จึงไมเทศนเฉพาะเรื่องธรรมะลวนๆ เพราะอาจฟงยาก เกินไป แตจะพยายามหาเรื่องใหมๆ ที่ให ชวนคิดและสะกิดใจ เพือ่ ใหชาวบานเขาถึง ไดงาย” พระครูนิทานสุตกิจกลาว


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

-8¡ÃØÊÁºÑμÔà¡ŒÒàÅÕéÂÇ ดังทีกล ่ าวถึงหลวงพอหนองไววา ทานเปนพระนัก พัฒนาและเนนหนักในดานการศึกษา ฉะนั้นพื้นที่แทบ ทุกตารางนิว้ ของวัดเกาเลีย้ วจึงถูกใชสอยใหเกิดประโยชน อยางสูงสุดเพือ่ ใหเปนศูนยกลางการเรียนรูของ  ชุมชน ไม วาจะในทางธรรมหรือทางโลก หลังกราบลาพระครูนิทานสุตกิจ รองเจาอาวาสวัด เกาเลี้ยวแลว ถัดจากวิหารพระพุทธชินราชจำลองเพียง ไมกี่กาวคณะผูมาเยือนก็ถือโอกาสแวะเขาไปเยี่ยมชม ‘¾Ô¾Ô¸Àѳ± ªØÁª¹à¡ŒÒàÅÕéÂÇ’ ซึ่งตั้งอยูภายในเขตรั้วเดียวกัน นั่นเอง พิพิธภัณฑ ชุมชน เกาเลี้ยว แหง นี้ เปน สถาน ที่ เก็บ รวบรวมสิง่ ของเครือ่ งใชตางๆ ในชีวติ ประจำวันของคนรุน กอนที่สะทอนใหเห็นถึงความเปนมา วิถีชีวิต วัฒนธรรม เปรียบ เสมือน คลัง ปญญา ให ลูก หลาน ได เขา มา ศึกษา หาความรู ทีสำคั ่ ญยังเปนอีกหลักฐานหนึง่ ทียื่ นยันถึงปณิธาน อันมุงมั่นของหลวงพอหนอง ที่ตองการสืบสานรากเหงา ภูมิปญญาของบรรพชนชาวเกาเลี้ยวไมใหสูญหายไปกับ กงลอกาลเวลา เหมือนคำกลาวที่วา...เรียนรูอดีต-เขาใจ

59


60 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

61


62 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

ปจจุบัน-สรางสรรคอนาคต อารีย ลอยเมฆ อาจารยผูดูแลพิพิธภัณฑ แงมกรุ สมบัติโบราณใหผูมาเยือนไดชื่นชม พรอมภูมิใจนำเสนอ สิ่งของเครื่องใชแตละชิ้นที่มีความเกาแกโบร่ำโบราณ มี รองรอยทีผ่ านการใชงานมาหลายชัว่ อายุคน ไมวาจะเปน ถวยโถโอชาม หมอไห ครกบดยา อาวุธ ตะเกียง นาิกา เครื่องมือดานการเกษตร ฯลฯ กอนจะกลายมาเปนพิพิธภัณฑชุมชนอยางที่เห็น


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

อารีย ลอยเมฆ

แรก เริ่ม เดิมที เกิด จาก ชาว บาน ได นำ สิ่งของ เครื่อง ใช เหลานีมาบ ้ ริจาคใหกับทางวัด เพราะเห็นวาสิง่ ของเหลานี้ หากปลอยทิ้งไวที่บานก็อาจไมกอใหเกิดประโยชนอะไร ขึ้นมา แตหากมีการเก็บรักษาไวที่วัด วันใดวันหนึ่งก็อาจ เกิดคุณคาขึ้นมาได หลังจากเก็บรวบรวมไวไดจำนวนหนึง่ แลว อาจารย อารียจึงเขามารับหนาที่ในการจำแนกแยกแยะหมวดหมู เชน พระพุทธรูป เครื่องจักสาน เครื่องเคลือบดินเผา เครื่องครัว เครื่องมือการเกษตร อุปกรณดำรงชีพ ของใช ในชีวิตประจำวัน เปนตน เพื่อใหงายตอการศึกษาเรียนรู สำหรับผูที่จะมาเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ “ตอน นี้ เรา พยายาม จั ด หมวด หมู ให เกิ ด ความ ชัดเจนมากขึ้น แตก็ยังไมสำเร็จรอยเปอรเซ็นต เพราะ

63


64 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

สิ่ ง ของ บาง อย า ง ก็ ยั ง ขาด อยู ซึ่ ง ทำให ประวัติศาสตรบางชวงขาดตอนไป แต ถา มี ครบ ถวน ทุก ชิ้น ก็ จะ เปน แหลง เรียนรูที่สมบูรณแบบได” อาจารย อารี ย บ อก อี ก ว า โบราณวัตถุที่มีการขุดคนพบใน ตำบลเกาเลี้ยวนั้น ชิ้นที่มีความ เกา แก ที่สุด มีอายุ ถึง ประมาณ 4,000 ป หลาย ตอ หลาย ชิ้น เ ก า แ ก กว า ยุ ค บ า น เ ชี ย ง สวนใหญเปนเครื่องปนดินเผา ซึ่ง ชาว บาน ขุด พบ โดย บังเอิญ ขณะ กำลั ง ทำ สวน ทำ ไร จึ ง นำ มาบริจาคใหกับวัด อยางไรก็ดี อาจารยอารีย อธิบาย เพิ่ม วา เครื่องปนดินเผา ที่ ขุ ด พบ นั้ น แม จะ มี ความ เก า แก แค ไหน ก็ ต าม แต หาก มอง ใน แง มูลคาแลวอาจเทียบไมไดกับของเกา ยุคบานเชียงที่สวยงามกวาและเปนที่ นิยมของบรรดานักสะสม


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

“เครื่องปนดินเผาพวกนี้ถาเอาไป ขาย ก็ได ราคา ไม มาก นัก เพราะ มัน ไม สวยเหมือนยุคบานเชียง แตถาเปนของ ที่ขาย ได รา คา แพงๆ ปาน นี้คง หาย หมดแลว” อาจารยอารียหัวเราะ อยางขันขื่น ถึงตอนนีสิ้ ง่ ของเครือ่ งใช หลาย ชิ้ น ยั ง คง กอง พะเนิ น อยู ใน พิพิธภัณฑ เพราะ อยู ระหวางการปรับปรุงตอเติม สถาน ที่ รอ การ จัด ระเบียบ ให เปน หมวด หมู สิ่ง เหลา นี้ แม อาจ ไม มี มู ล ค า สำหรั บ ตลาด มื ด ใน วงการ ค า วั ต ถุ โบราณ หาก แต คุ ณ ค า ทาง ประวั ติ ศ าสตร และ คุ ณ ค า ทาง ใจ ของ ชาว เก า เลี้ ย ว ย อ ม ไมอาจประเมินได

65


66 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

-9¤èÓ¹Õé·ÕèâÎÁÊàμ สาย ฝน หลน พรำ ความ มืด เริ่ม โรย ตัว ใกล ถึง เวลาพลบค่ำที่ทุกคนจะตองแยกยายกันไปพักผอนเอา เรี่ยวแรง ค่ำคืน นี้ คณะ เจา หนาที่ เทศบาล ตอนรับ ผู มา เยือนดวยการเปดบานพักโฮมสเตยหลังงามทีเพี ่ ยบพรอม ไปดวยสิ่งอำนวยความสะดวกครบครัน ในบรรยากาศที่ โอบลอมไปดวยพรรณไมนานาชนิดที่เจาของบานลงมือ ปลูกดวยตนเอง มีทั้งไมยืนตน ไมผล ไมดอกไมประดับ สลับกับพรรณไมหายาก ตางแขงกันชูชอออกดอก สง กลิ่นหอมฟุงกำจายไปทั่วบริเวณ เจาของ โฮม สเตย หลัง นี้ ไมใช คน อื่น คน ไกล แต


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

เปนบานของธนกฤต วรเดชาติวงศ รองปลัดเทศบาล ตำบลเกาเลีย้ ว ผูอยู  เบื  อ้ งหลังการปลุกปน โครงการตำบล สุขภาวะจนสามารถกอรูปเกิดรางมาจนถึงทุกวันนี้ เมื่อเก็บสัมภาระเขาที่ ปลดเปลงจากหลัง ยังพอ มี เวลา เหลือ ให ได นั่ง สนทนา กับ รองปลัดธน ก ฤต ใน บรรยากาศผอนคลาย หลังจากเหน็ดเหนือ่ ยกันมาตลอด วัน รองปลัดธนกฤต เปดใจวา โฮมสเตยคืออีกหนึ่ง ความใฝฝนลึกๆ ทีตั่ ง้ ใจไว โดยกอนหนานีเขา ้ เองก็คอยๆ ตกแตง ตอ เติม บาน พัก สวน ตัว ไว สำหรับ ตอนรับ แขก ตอ มา ชาว บาน อีก สวน หนึ่ง ก็ เริ่ม มอง เห็น โอกาส และ ชองทางในการสานฝนโฮมสเตยใหเปนจริง กระนั้น ก็ตาม โจทย ใหญ ที่ เขา ตั้ง เปา ไว สูงสุด ก็ คือ ชาว บาน ที่มา รวม ทำ โฮม สเตย ดวย นั้น ทุก คน จะ

ธนกฤต วรเดชาติวงศ

67


68 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

ตอง สามารถ ถายทอด เรื่อง ราว เกาเลี้ยว ให กับ แขกที่มาพักได เพื่อใหรูจักความเปนคนเกาเลี้ยว มาก ขึ้ น เพราะ หลั ง จาก นี้ จะ ต อ ง มี เครื อ ข า ย ตำบล สุข ภาวะ อีก หลาก หลาย คณะ ผลัด เปลี่ยน หมุนเวียนกัน เขา มาศึกษาแหลง เรียนรู ในตำบล เกาเลี้ยวอยางตอเนื่อง “ในอนาคตหากการทองเทีย่ วเมืองเกาเลีย้ ว ไดรับการสงเสริมสนับสนุนใหเปนทีรู่ จ กั กวางขวาง ยิ่งขึ้น ทั้งงานประเพณีไหลเรือไฟ งานศาลเจา งานมหาสงกรานต และงานเทศกาลประจำปที่ จัด ขึ้น ตอ เนื่อง ตลอด ป ก็ ไม แน วา โฮม สเตย ที่ มี อยูอาจจะไมเพียงพอสำหรับรองรับนักทองเที่ยว ก็ได เพียงแตขณะนีอาจ ้ ยังไมมการ ี ประชาสัมพันธ ในวงกวางเทาที่ควร และหากเปนไปไดก็ฝนวา อยากใหมีการรือ้ ฟน กิจกรรมการทองเทีย่ วทางน้ำ การลองเรือพายตามแมน้ำปง และเทีย่ วชมวิถชี​ี วติ ริมน้ำ” รองปลัดธนกฤต เลาถึงความตั้งใจที่จะ พัฒนาเมืองเกาเลี้ยวใหนาอยูยิ่งขึ้นไป ถึ ง วั น นี้ แม โครงการ โฮม สเตย จะ ยั ง อยู ระหวางชวงบุกเบิกกรุยทาง แตหากฐานรากและ ลำตน แข็ง แรง มั่นคง แลว อีก ไม นาน ยอม แตก กิ่ง กาน สาขา เกิด ดอก ออก ผล เหมือน ตนไม ที่ รองปลัดธนกฤต เฝาเพียรปลูกไวรายรอบบาน นั่นเอง

69


70 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

-10à¶Ô´à·Ô§ เชาตรูของวันใหม หยดน้ำคางยังคงเกาะเปนเม็ด พราวใสบนกลีบดอกไมใบไม อากาศยามเชาชุมชื่นจน ตองสูดลมหายใจลึกๆ เขาเต็มปอด เสร็จจากมือ้ เชาดวยโจกรอนๆ ตามดวยกาแฟและ ปาทองโก คณะเจาหนาที่เทศบาลและรองปลัดธนกฤต พรอมแลวที่จะนำผูมาเยือนออกเดินทางตอไปยังแหลง เรียนรูอื่นๆ ที่รออยูอี กหลายแหง พลันทีเดิ ่ นทางมาถึงโรงเรียนบานแหลมยาง หมู 4 ขบวนกลองยาวตั้งแถวอยูอยางเปนระเบียบรอตอนรับ ผูมาเยือนดวยใจจดจอ เด็ ก นั ก เรี ย น ตั ว จ อ ย ทั้ ง หญิ ง และ ชาย ใน ระดั บ


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

ประถมศึกษา ตระเตรียมการแสดงรำกลองยาวชุดใหญ หลังฝกซอมกันมาอยางชำนิชำนาญ จากนัน้ ก็เริม่ บรรเลง เปนจังหวะพื้นบานที่ฟงแลวคึกคักสนุกสนาน ยิ่งผสม ผสานกับลีลาการรำกลองยาวของเด็กๆ แลว ยิ่งสัมผัส ไดถึงอารมณสดใสราเริง ไมวาใครตางก็อดไมไดทจะ ี่ ตอง อมยิ้มและรูสึกทึ่งในความตั้งใจของเด็กนอย ‘¡ÅØ‹Áà¶Ô´à·Ô§’ ไมไดเกิดขึ้นอยางไรที่มาที่ไป หาก แตยังสืบสาวไปไกลถึงยุคประวัติศาสตรกวา 100 ปที่ ผานมา เมื่อครั้งทีพระพุ ่ ทธเจาหลวง รัชกาลที่ 5 เสด็จ ประพาสตน ตามเสนทางลำน้ำปงมาถึงปากน้ำโพและ เสด็จขึน้ ทีท่ าน้ำบริเวณศาลเจาพอเกาเลีย้ ว โดยชาวบาน ได จัด ขบวนเถิดเทิงหรือขบวนกลอง ยาวมา รอรับ เสด็จ อยางสมพระเกียรติ และถือเปนทีเชิ ่ ดหนาชูตาของตำบล เกาเลี้ยว จากเหตุการณประวัตศิ าสตรครัง้ นัน้ ขบวนเถิดเทิง จึง ถือ เปน สัญลักษณ ใน การ ตอนรับ แขก บาน แขก เมือง รวมทั้งใชในงานรื่นเริง งานประเพณี และกิจกรรมตางๆ ในชุมชน ไมวาจะเปนงานบวชนาค งานทอดกฐิน แห ขันหมาก ก็ นิยม เลน กัน เพื่อ ความ ครื้นเครง ใน หมู ชาว บาน เมื่อ คน ยุค เกา คอยๆ โรยรา ไป ที ละ คน สอง คน คนในชุมชนจึงเริ่มมองเห็นคุณคาและพยายามรื้อฟนขึ้น

71


72 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

ใหม กอนที่เลือนหายไปกับกาลเวลา โดยมีการรวมตัว จัดตั้งกลุมกลองยาวขึ้นเมื่อป 2552 มีแกนนำสำคัญคือ จู หงสไกร อดีตผูใหญบานหมู 4 ประเจิด ศรีหยวก ผูใหญบานหมู 4 และประจวบ เชิงเอี่ยม ผูใหญบาน หมู 3 “คนยุคนั้นเลนกลองยาวกันเยอะ เลนกันมาตั้งแต สมัยหนุมๆ แตตอนนี้ก็ลมหายตายจากกันไป เหลืออยู ไมกี่คนนีแหละ” ่ ผูใหญจูเลาใหฟงอยางติดตลก ขณะที่ธวัช เลิศธนากิจ วิทยากรพิเศษ ผูฝกสอน การ ตี กลอง ยาว ให กับ เด็ก นักเรียน โรงเรียน บานแหลม ยาง เลาวา ในชวงแรกเริม่ นัน้ ตองตัง้ ตนดวยการไปควาน หาวัสดุอุปกรณที่ชำรุดแลวมาทดลองเลนกัน และไดรับ สมทรง-ธวัช-ผูใหญจู


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

ความเมตตาจากพระครูนิวิฐ สังฆกิจ เจาคณะอำเภอ เกาเลีย้ ว ซึง่ ไดมอบเงินทุนตัง้ ตนให 10,000 บาท สำหรับ กอตั้งและพัฒนากลุมเถิดเทิงขึ้น “เริม่ จากหากลองยาวเกาๆ เอามาขัดใหม มานัง่ ขึง หนังกันเอง หัดทำกันเอง คนในชุมชนก็มีหลายคนที่เลน เปนอยูแล  ว แตอาจจะหางเหินไปนาน ก็ตองมานัง่ รือ้ ฟน ความจำกันใหม คอยๆ สอนกันไป” ครูธวัชกลาว ครู ธวัช บอก อีก วา ทุก ครั้ง ที่ มี งาน ประเพณี และ กิจกรรม ตางๆ กลุม เถิดเทิง ก็ สามารถ รับ ใช ชุมชน ได โดยเฉพาะการสรางความสนุกสนานรื่นเริงให กับ กลุม ผู สูง อายุ ที่ สามารถ เขา มา รวม กิจกรรมรำ ฟอน กัน แม กระทั่งงานตางอำเภอ เชน งานประเพณีปากน้ำโพ กลุม เถิดเทิงเกาเลี้ยวก็ไดรับเชิญใหไปรวมขบวนดวย “ขอดีอีกอยางของวงกลองยาวคือชวยสรางความรัก ความสามัคคี เพราะในชุมชนยอมมีการเมือง การเมือง ยอมมีฝก ฝาย แตกลอง ยาวสามารถเชื่อมประสานทุก กลุมใหหันหนาเขามาหากันได ทุกคนทิ้งความแบงแยก แตกตาง ดนตรีพื้นบานจึงเปนสิ่งจรรโลงใจที่ชวยสลาย ความขัดแยงลงได จากคนที่ไมเคยคุยกัน ก็มีโอกาสได มาพูดคุยกัน” ครูธวัชบอกเลาประสบการณ ไม เพี ย ง แค กลุ ม เถิ ด เทิ ง จะ มี บทบาท สำคั ญ ใน การเชื่อมความ สามัคคีใน หมู คณะ เทานั้น แต ยัง มีการ

73


74 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

75


76 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

สงไมตอไปยังกลุมเด็กและเยาวชนในชุมชน โดยไดรับ การสนับสนุนจากโรงเรียนบานแหลมยางเพื่อถายทอด ความ รู ไป ยั ง เด็ ก นั ก เรี ย น ตั้ ง แต ระดั บ ชั้ น ป. 4-6 ถือเปนการสืบสานภูมิปญญาทองถิ่นและวิถีวัฒนธรรม คนเกาเลี้ยวใหสืบทอดตอไป กลองยาวใบเดียวตีอยางไรก็ดัง แตการตีกลองยาว

ศลิ ปะกลองยาว สมทรง ยอดนิล ผูอำนวยการโรงเรียนบานแหลมยาง เลา วา ทางโรงเรียนไดประยุกตวัฒนธรรมกลองยาวมาบรรจุลงใน หลักสูตรทองถิ่นภายใตชื่อวิชา ‘ศิลปะกลองยาว’ โดยนักเรียน ชั้น ป. 4-5 จะมีวิชาเรียนกลองยาว 36 ชั่วโมง ตอเทอม สวนชั้นอนุบาล 1 จนถึง ป. 3 จะใช เปนหลักสูตรเสริม เชน งานประดิษฐอุปกรณ กลองยาวรูปแบบตางๆ และยังชวยใหเด็กไดใช เวลาใหเกิดประโยชน “จากเดิมเด็กๆ ไมเคยมีพื้นฐานมากอน แตเมื่อไดเห็นผูใหญเลนก็อยากเลนบาง จากวง กลองยาวก็เลยขยายเปนวงรำ จนถึงตอนนีกล ้ าทา ไดเลยวา เด็กนักเรียนที่นี่ทุกคนตีกลองยาวเปน” ผอ.สมทรงบอกอยางภูมิใจ


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

พรอมๆ กันนับสิบๆ ใบใหฟง แล ว ไพเราะ เสนาะ หู ได ก็ ต อ เมื่ อ มี ความ สามั ค คี เป น หนึ่ ง เดียว เทานั้น ซึ่ง ณ วัน นี้ ลูก หลาน ชาว เก า เลี้ ย ว ได แสดง ฝมือใหเห็นแลว

ปจจุบันกลุมกลองยาวมีสมาชิกจำนวน 30 คน ทุกเชาในชวงเคารพธงชาติจะมีการบรรเลงของวงกลองยาว ผสมผสานกับวงดุริยางค จนกลายเปนเอกลักษณของ โรงเรียนบานแหลมยาง

77


78 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

-11ªØÁª¹äÁ‹·Ô駡ѹ สังคมนาอยู...เพราะชุมชนไมทอดทิ้งกัน เปนอีก หนึ่งสโลแกนประจำใจของคนเกาเลี้ยวที่มีความหวงใย ในสุขภาพซึ่งกันและกัน ดวยเหตุที่วาแนวโนมผูสูงอายุกำลังมีเพิ่มมากขึ้น ในสังคม ขณะที่ประชากรเกาเลี้ยวเกือบ 6,000 คน ใน จำนวนนีเป ้ นผูสู งอายุถึง 1,000 คน หรือคิดเปนสัดสวน 6 ตอ 1 ฉะนั้นสิ่งที่จะตามมาคือโรคภัยไขเจ็บและโรค ประจำตัวตางๆ เชน เบาหวาน ความดัน เสนเลือดตีบ สมองเสื่อม และอื่นๆ อีกมากมาย จากขอมูลของโรงพยาบาลเกาเลี้ยว พบวา เมื่อ 4 ปกอนมีผูไปรับบริการเฉลี่ย 100 รายตอวัน จาก ประชากรทั้งอำเภอ 30,000 ราย แตปจจุบันเพิ่มขึ้น เปนวันละ 300 ราย หรือ 3 เทาตัว ซึ่งหากปลอยให สถานการณ เชน นี้ ดำเนิน ตอ ไป สังคม อาจ เต็ม ไป ดวย ผูป วย ‘â¤Ã§¡ÒÃá¤Ã ·ÕÁ’ ภายใตการดำเนินการของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมูบาน (อสม.) ตำบลเกาเลี้ยว จึงเกิดขึน้ ภายใตแนวคิดสังคมไมทอดทิง้ กัน โดยจัดตัง้ ทีม เฉพาะกิจเขาไปชวยเหลือดูแลผูสูงอายุ ผูปวยอัมพฤกษ


อัมพาต ผูป วยติดเตียง และผูด อยโอกาสในชุมชน ซึง่ จาก การสำรวจพื้นที่ทั้งตำบลเกาเลี้ยว พบวา มีผูปวยทั้งสิ้น 26 รายที่ตองไดรับการดูแลอยางตอเนื่อง ผูปวยบางรายตองอยูบานอยางโดดเดี่ยว เพราะ ลูกหลานและญาติที่ใกลชิดตางติดภารกิจการงาน ไม สามารถดูแลได ตลอด 24 ชั่วโมง ดัง นั้น อสม. จึง มี บทบาทเขาไปชวยเหลือทั้งในเรื่องอาหารการกิน ที่หลับ ที่นอน แมกระทั่งงานถางหญารอบบาน ซอมแซมบาน เรือน สิ่งเหลานี้ลวนเปนการแสดงไมตรีจิต การพึ่งพา อาศัยกันและกัน นอกเหนือจากงานหลักของ อสม. ทีต่ อง ดูแลเรื่องลูกน้ำยุงลายและการฉีดวัคซีนทั่วไป ในฐานะทีเป ่ นจิตอาสายุคบุกเบิก ส.ต.ยิง่ ดีสารพันธ ประธานกลุม อสม. กลาวถึงหลักการทำงานวา การเปน อสม. จะตองอาศัยความรูและ  ทักษะในการดูแลสุขภาพ


80 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

เบื้องตน รวมถึงตองใชทั้งศาสตรและศิลปในการพูดคุย กับชาวบานใหเขาใจบทบาทของ อสม. เพือ่ จะไดใหความ รวมมือในการทำหนาทีของ ่ อสม. ดวยดี “หลักการรักษาของเราจะไมใชยาของแพทยแผน ปจจุบันอยางเดียว แตจะใชยาสมุนไพรไทยผสม ผสาน ดวย เชน โรคเริม งูสวัด เพราะสมุนไพรบางตัวก็รักษาให หายได ที่สำคัญคืออยากใหชุมชนรูจักพึ่งพาตนเองกอน


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

ที่จะไปพึ่งหมอเพียงอยางเดียว ซึ่งเปน หลักการทีเรา ่ เนนย้ำมาตลอด” ขณะ ที่ สังเวียน นวล ผอง รอง ประธาน กลุ ม อสม. เล า ว า จุ ด เริ่ ม ตนที่เขามาเปนจิตอาสา เนื่องจาก แม ป ว ย เป น โรค เบา หวาน จึ ง เกิ ด ความ ตื่นตัวหาความรูดวยตัวเองในการดูแล สุขภาพเบื้องตน เพื่อจะไดไมตองพึ่งพา โรงพยาบาลอยูร่ ำไป จวบถึงวันนีสั้ งเวียน ไดทำหนาที่ อสม. มาเปนเวลากวา 20 ปแลว “อสม. จะตองผานการอบรมจาก เจาหนาทีโรง ่ พยาบาลและเทศบาล คนที่ เขามาเปน อสม. ก็เปนจิตอาสาลวนๆ ทำงานโดยไมได รับผลตอบแทน ทุกวันนีก็้ มีอาสาสมัครเขามาเรือ่ ยๆ และ เราก็คาดหวังวาจะมีการขยายตอไปเปน อสม. รุนใหม เชน โครงการ อสม.นอย ซึ่งเปนเครือขายยอยที่จะไดไป ชวยกันดูแลเพื่อนๆ ในโรงเรียน รวมถึงดูแลผูปกครอง ที่บาน” สังเวียนบอก สำหรับวิธการ ี ทำงานของกลุม แครทีม จะมีการแบง ทีมดูแลในแตละโซนพืน้ ทีของ ่ ตัวเอง โดย อสม. 1 คน จะ รับผิดชอบเฉลี่ยประมาณ 10 ครัวเรือน และใน 1 ทีม

81


82 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

จะ ประกอบ ดวย ทีม งาน 4 คน หมุนเวียน กัน เขาไป เยี่ยมเยียน ผูปวย เพื่อจะไดรับรูปญหารวมกัน ปจจุบัน ทั้งตำบลมี อสม. ทั้งสิ้นกวา 60 กวาคน ครอบคลุมทั้ง 5 หมูบาน ในมุมมอง อสม. รุนลายครามอยาง ส.ต.ยิ่ง เขา มองวา หากคนในชุมชนรูจักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ มี ความ ตื่น ตัว ใน การ ดูแล สุขภาพ มาก ขึ้น ก็ ยอม มี การ ถายทอดความรูให  กับคนรุนตอๆ ไป ซึ่งจะชวยแบงเบา ภารกิจของ อสม. ลงได “การดูแลรักษาสุขภาพใหสมดุลก็เหมือนกับความ หมายของหยินกับหยาง รอนกับเย็น อยางทีชาว ่ เกาเลีย้ ว


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

พูดๆ กัน ฉะนั้น อสม. จึงมีหนาทีช่ วยชีแ้ นะใหกินอาหาร ทีปลอด ่ จากสารเคมี ใหชาวบานไดรูจ กั พิษภัยของอาหาร ทีไม ่ สะอาดปลอดภัยเหลานี้ โดยเฉพาะสมัยนีคน ้ มักเปน โรคความดัน เบาหวาน ถาไมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมก็จะ เปนภาระใหกับหมอ ซึง่ ทุกวันนีหมอ ้ ก็ไมเพียงพออยูแล  ว” ส.ต.ยิ่ง สะทอนปญหาใหฟง สิ่งสำคัญที่สุดคือ สุขภาพกายกับสุขภาพใจมีผล เชื่อม โยง ถึงกัน หาก หมั่น ดูแล รักษา ทั้ง กาย และ จิต ให แจมใสอยูเสมอ โรคภัยก็จะไมเบียดเบียน เมื่อคนเรา สุขภาพดี ครอบครัวก็เปนสุข ชุมชนยอมแข็งแรง กอเกิด เปนสังคมที่มีภูมิคุมกันในที่สุด

83


-12¡Í§·Ø¹»ÃСѹÊØ¢ÀÒ¾ สุขภาพดีตองมีหลักประกัน หลักประกันทีดี่ จะเกิด ขึ้นไดก็ตอเมื่อมีทุนหนุนเสริม นี่จึงเปนที่มาของ ‘¡Í§·Ø¹ »ÃСѹÊØ¢ÀÒ¾à·ÈºÒÅμÓºÅà¡ŒÒàÅÕéÂÇ’ ภายใตนโยบายของ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) สมใจ ณะกัณฑ ประธานกองทุนประกันสุขภาพ หมู 1 เลาวา หลังมีกองทุนขึน้ มาแลว ทำใหงานของ อสม. สะดวกราบรื่นและเต็มประสิทธิภาพมากขึ้น สามารถ สรางสรรค โครง การ ใหมๆ เพื่อ การ เสริมสราง สุขภาพ ของคนในชุมชนใหมีชีวิตความเปนอยูทีดี่ ขึ้น โดยเฉพาะ ‘โครงการจิตอาสาพัฒนาสูแครทีม’ “มีอยูเคสหนึ่งเราเรียกวา ‘เจาชายกบ’ ซึ่งมีปญหา


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

ดานพัฒนาการทางสติปญญา ไมสามารถสื่อสารได เมื่อ อสม. เขาไปเยี่ยมก็พบวา เขาอยูกับพอเพียงลำพัง พอก็ อายุมากแลว ตองออกไปทำงานขายของ ไมมเวลา ี ดูแลได เทาที่ควร ทำไดแคชงนมไวให และมีวิทยุเครื่องหนึ่งเปด ทิ้งไวใหฟงเปนเพื่อนแกเหงา เราจึงดึงเคสนี้เขามาอยูใน  โครงการ โดยให อสม. ที่อยูบานใกลเรือนเคียงแวะเวียน เขาไปดูแลแทนพอเขาบาง” สมใจเลา อีกตัวอยางหนึง่ ทีนั่ บวาเปนผลงานความภาคภูมใิ จ ของ อสม. คือการชวยเหลือผูปวยอัมพฤกษใหสามารถ กลับมา ใช ชีวิต ใหม ได จาก เดิม เปน ผู ปวย ติด เตียง ไม สามารถเดินเองได จนกระทัง่ ไดนำงบประมาณสนับสนุน จาก สปสช. มาสรางอุปกรณสำหรับกายภาพบำบัด ไดแก ราวไมสำหรับฝกเดินและไมเทาสามขา ทำให ณ วันนี้ ผูปวยสามารถกาวเดินไดดวยตนเองไดในที่สุด ซึ่ง อสม. ยังเฝาติดตามผลความคืบหนาอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ งบประมาณจากกองทุนประกันสุขภาพ ยังถูกนำไปชวยเหลือผูปวยรายอื่นๆ เชน จัดซื้อที่นอน ไมไผสำหรับผูป วยทีเกิ ่ ดภาวะแผลกดทับ รวมถึงอุปกรณ เครือ่ งมือตางๆ ทีจำเป ่ นสำหรับผูป วยแตละราย ไมวาจะ เปนผูพิการตาบอด หูหนวก เปนตน ขณะ ที่ อาคม แรง กสิ วิทย ผู อำนวย การก อง สาธารณสุข เทศบาล ตำบล เกาเลี้ยว อธิบาย เพิ่ม วา

85


86 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

กองทุน ประกัน สุขภาพ มี สวน สำคัญ ใน การ หนุน เสริม กิจกรรม อีก หลาย ดาน เพราะ ลำพัง การ ทำงาน แบบ จิตอาสาก็สามารถขับเคลื่อนไดแคระดับหนึ่ง แตเมื่อมี กองทุนแลวทำใหสามารถเขาถึงผูป วยไดหลายหลาก ทัง้ ผูพิ การ ผูสูงอายุ และผูปวยเรื้อรัง ผอ.อาคม กลาววา กองทุนประกันสุขภาพเริ่มตน จากแนวคิดในการดูแลผูสูงอายุ โดยไดรับงบประมาณ จาก สปสช. คูณ 40 บาทตอหัว ซึ่งตำบลเกาเลี้ยวจะได รับประมาณ 240,000 บาท โดยทางเทศบาลจะสมทบ ใหอีกครึ่งหนึ่งเพื่อตั้งเปนกองทุน ซึ่งกลุมองคกรตางๆ ในชุมชนยังสามารถของบประมาณจากกองทุนเพื่อไป ดำเนินกิจกรรมดานสุขภาพได “จุดประสงคหลักของกองทุนเปนการสรางเสริม สุขภาพของประชาชน เพราะระบบราชการปกติไมสามารถ ทำไดทัว่ ถึง อยางโรงพยาบาลก็สามารถมาเยีย่ มผูป วยได เพียงแคเดือนละครัง้ แต อสม. สามารถไปไดทุกวัน ทำให การดูแลตอเนือ่ งได ฉะนัน้ จะรอการดูแลจากภาครัฐเพียง อยางเดียวไมได ชุมชนตองทำดวยตัวเอง ถาภาคชุมชนไม สามารถลุกขึ้นมาชวยเหลือตัวเองได อาจยิ่งทำใหปญหา สุขภาพทวีความรุนแรงมากขึ้น” ผอ.อาคมกลาวทิ้งทาย


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

-13¡Í§·Ø¹à§Ô¹ÅŒÒ¹ เงินทองเปนของนอกกาย หาไดเทาไหรก็เอาติดตัว ไปไมได แตก็ปฏิเสธไมไดเชนกันวา คนเราตองกินตองใช หากวันหนึง่ วันใดชักหนาไมถึงหลังก็อาจตองบากหนาไป กูหนี้ยืมสิน ถึงขั้นตองยอมเปนหนี้ระบบ โชคดีที่ตำบลเกาเลี้ยวในวันนี้ มีกองทุนที่เขมแข็ง และเปนที่พึ่งพายามยากใหกับคนในชุมชนได โดยมีทั้ง กองทุน ประกัน สุขภาพ กองทุน หมูบาน และ กองทุน สวัสดิการชุมชน สำหรับ ‘¡Í§·Ø¹ËÁÙº‹ ÒŒ ¹’ เกิดขึน้ จากนโยบายรัฐบาล เมื่อป 2544 โดยตั้งแกนนำในชุมชนเปนคณะกรรมการ บริหารกองทุน 9 คน ไดแก ฝายบริหาร ฝายพิจารณา เงินกู ฝายประเมินผล และฝายเรงรัดติดตาม ปญหาทีเกิ ่ ดขึ้นกับชาวบานสวนใหญไมใชเพียงแค เขาไมถึงแหลงเงินกู หากแตยังประสบปญหาถูกเจาหนี้ นอกระบบขมขูคุกคามและใชความรุนแรงสารพัด ถึงขั้น บาง ราย ตอง อพยพ ยาย ถิ่น เพื่อ หนี หนี้ สิน จน บาน แตก สาแหรกขาด “สมัยกอนคนตางหวัดเปนหนี้นอกระบบกันมาก ภาษาชาวบานเรียกวา ‘ตกเขียว’ คือกินกอนแลวใชคืน

87


88 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

ทีหลัง อยางเชนคนอาชีพรับจาง ตัดออย เกี่ยวขาว ไมมี เงินใชจายก็ตองไปขอกูนายทุนมากอนแลวคอยทำงาน ใชหนี้ แตพอระยะหลังวิกฤติหนักขึ้น เพราะเจาหนีนอก ้ ระบบโขกดอกเบี้ยถึงรอยละ 15-20 ตอเดือน ถาใคร ไมจายก็จะเจอ ‘แกงหมวกกันน็อค’ มาตามทวงหนี้ถึง บาน ทั้งดา ทั้งทำรายรางกาย” มลิวัลย จันทรสุวรรณ ประธานกองทุนหมูบานหาดเสลา หมู 5 ฉายภาพความ รุนแรงเมื่อครั้งอดีตที่ชาวบานตกอยูในสภาพกลืนไมเขา คายไมออก ภาย หลัง เมื่อ เกิด กองทุน หมูบาน ละ ลาน ทำให ประชาชนเขาถึงแหลงเงินกูไดงายขึ้น ดวยอัตราดอกเบี้ย เพียงรอยละ 6 และสามารถตั้งหลักทำมาหาเลี้ยงชีพ ได หลังจากนั้นแกงหมวกกันน็อคก็คอยๆ หมดไป จน ปจจุบันคาดวาเหลือไมถึง 10 เปอรเซ็นตที่ยังเปนหนี้ นอกระบบ “เวลา นี้ ใคร เดื อ ด ร อ น ก็ เข า มา ปรึ ก ษา คณะ กรรมการกองทุนไดวาตองการความชวยเหลือเรือ่ งอะไร สวนใหญชาวบานจะกูเงินไปทำการเกษตร รองลงมาคือ ไปลงทุนเพื่อการคาขาย ซึ่งหลังจากตั้งกองทุนขึ้นมาก็ เห็นไดชัดวาชาวบานเริ่มมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น อยางนอยก็ ไมตองเสี่ยงกับแกงหมวกกันน็อค” เธอบอก ปจจุบนั เงินสะสมของกองทุนหมูบ า นและโครงการ


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

สัจจะออมทรัพย มียอดเงินรวมทั้งสิ้นเกือบ 2 ลานบาท ลาสุดในป 2555 ไดผานประเมินผลในระดับ aaa เพื่อ เตรียมยกระดับเปนธนาคารชุมชนตอไป “กอน หนา นี้ ก็ เคย มี คน ปรามาส วา เงิน กองทุน หมูบานละลาน ใหชาวบานไปไมเกิน 3 ปเดี๋ยวก็ละลาย หมด แตคนในชุมชนเรารูดี วา เงินกอนนีเป ้ นทุนของชุมชน ฉะนั้นตองหวงแหนไวใหดี” จุดเดนอีกประการในการบริหารกองทุนหมูบานก็ คือ ความมีเมตตาตอกัน เห็นอกเห็นใจกัน โดยเฉพาะ การ ติดตาม ทวง หนี้ ตอง อาศัย ศิลปะ ใน การ พูด คุย ตาม ประสาคนบานเดียวกัน ลุงนาวิน ทัพยา เหรัญญิกกองทุนหมูบาน หรือที่ ชาวบานเรียกกันงายๆ วาฝายเรงรัดหนี้สิน พูดถึงเรื่อง นี้วา เทคนิคสำคัญอยูที่การเจรจาดวยทาทีเปนมิตร ใช อัธยาศัยไมตรีพูดคุยกันแบบลูกหลาน “ลุงเปนฝายทวงหนี้ ถึงรางกายจะไมคอยไหว แต ก็อาศัยรถสามลอคูชีพพาไปไดทุกที่ ก็พยายามคุยกับ ลูกหนี้แบบเปนกันเอง ไมใชไปดวยทาทีขมขู ถาเขามี ปญหาเราก็ใหคำปรึกษา อยางนอยในสังคมชุมชนเราก็ รูจักกันหมด คนกันเองทั้งนั้น” ลุงนาวินมองวา ณ วันนีชาว ้ บานไดมองเห็นคุณคา ของกองทุนแลว หากทุกคนชวยกันรักษาไวก็จะกลายเปน

89


90 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

นาวิน ทัพยา

มรดกตกทอดไปถึงลูกหลานได ซึง่ ในอนาคตหากกองทุน แข็งแรงมัน่ คง ชุมชนก็สามารถอยูรอด  ไดโดยไมตองพึง่ พา เงินนอกระบบอีกตอไป “สิ่ง ที่ นา เปน หวง ที่สุด ใน สังคม เวลา นี้ คือ หวย อบายมุข และสิ่งมอมเมาทั้งหลาย ถาชาวบานลดละเลิก ตรงนีลง ้ ไดจะชวยใหมีคุณภาพชีวติ ดีขึน้ มาก แตเรือ่ งนีคง ้ ยาก เพราะแมกระทั่งผูรักษากฎหมายเองก็ยังพึ่งพาไม ได” ลุงนาวินรำพึงรำพัน


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

-14¡Í§·Ø¹-¡Í§ºØÞ “มีสลึง พึงบรรจบ ใหครบบาท...” เปนคติสอนใจ ที่ใชไดดีทุกยุคทุกสมัย และเปนหัวใจสำคัญของการกอ ตั้ง ‘¡Í§·Ø¹ÊÇÑÊ´Ô¡ÒêØÁª¹μÓºÅà¡ŒÒàÅÕéÂÇ’ ภายใตหลักการ ออมวันละบาท เพียงชวงระยะเวลาสั้นๆ แค 1 ปนับตั้งแตที่เริ่มมี การกอตัง้ กลุม จนถึงวันนีมี้ สมาชิกกองทุนรวมทัง้ สิน้ กวา 960 คน และมีเงินสะสมมากถึง 200,000 บาท “ทีผ่ านมาเรามองเห็นปญหาวา ชาวบานสวนใหญ ไมมหลั ี กประกันอะไรในชีวิต ไมมเงิ ี นสำรองไวใชในยาม ฉุกเฉิน จะ ไป ทำ ประกัน ชีวิต กับ บริษัท ใหญๆ ก็ ไม ได คนจนจะเอาเงินที่ไหนไปทำ แลวถารอนเงินขึ้นมาเมื่อ ไหรก็ตองไปกูเขาอยางเดียว แตหากมีกองทุนนี้ขึ้นมา แลวอยางนอยก็นาจะชวยใหชาวบานมีคุณภาพชีวิตที่ดี ขึ้นบาง” ครูประวิทย พลตรี วัย 63 ป ในฐานะประธาน กองทุนสวัสดิการชุมชน บอกเลาที่มาของแรงบันดาลใจ ในการจัดตั้งกลุม จุดประสงคหลักของกองทุนสวัสดิการฯ ก็คือ เพือ่ ชวยเหลือคนทุกระดับ ไมจำกัดอายุ ไมวาจะเปนผูสู งอายุ ผูพิการ ผูดอยโอกาส หรือเด็กแรกเกิด ก็สามารถสมัคร

91


92 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

ครูประวิทย-มลิวัลย

สมาชิ ก ได เพี ย ง แค จ า ย เงิ น สมทบ เข า กองทุ น วั น ละ 1 บาท ก็มีสิทธิไดรับสวัสดิการชวยเหลือ ครอบคลุม ทุกเรื่องตั้งแตเกิด-แก-เจ็บ-ตาย ครูประวิทยเลาวา ปจจุบันสมาชิกที่อายุนอยที่สุด คือ เด็กทารกวัย 1 เดือน เพราะพอแมเห็นคุณคาของกอง ทุน และยังเปนการฝกนิสัยการออมใหกับเด็ก “สิทธิประโยชนที่สมาชิกจะไดรับ เชน คาเดินทาง ไปโรงพยาบาล คารักษาพยาบาล คาทันตกรรม คาคลอด บุตร และสิทธิการตาย อยางปที่แลวนี่ใชสิทธิไป 6 ราย (หัวเราะ) ทางกรรมการก็ไปแจกซองชวยในงานศพเลย ถานอนปวยอยูที่บานเราก็จะไปมอบใหถึงบาน เรียกได วา ไมเดียวดาย ถาทานจายวันละบาท” ครูประวิทยเลา อยางอารมณดี


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

ขณะทีมลิ ่ วัลย จันทรสุวรรณ ที่ปรึกษากองทุนฯ กลาวเสริมวา ชวงกอตัง้ แรกๆ ตัง้ เปาวา จากประชากรทัง้ 5 หมูบ า น ขอใหไดสมาชิกอยางนอยสัก 100 คน หรือหมู ละ 20 คน แตปรากฏวาหลังจากอธิบายใหชาวบานเขาใจ ในหลักการของกองทุนแลว มีผูสนใจ  สมัครสมาชิกเขามา เดือนแรกมากถึง 300 คน จนถึงขณะนีเกื ้ อบ 1,000 คน และมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะทุกคนเล็งเห็น ประโยชนจากสวัสดิการนี้วาสามารถชวยไดจริง “เงินวันละบาท อาจดูเหมือนไมมาก เพราะสมัยนี้ ถาเงินหลนบาทหนึง่ ก็แทบไมอยากเก็บแลว แตถาทุกคน ช วยๆ กันออม มันก็มีมูลคามากขึ้นและเกิดประโยชน มหาศาล ที่ สำคัญ ยัง เปน ชวย เหลือ ครอบครัว ที่ ขัด สน จริงๆ คนที่ไดจายเงินสมทบวันละบาทก็พลอยอิ่มบุญ ไปดวย สวนคณะกรรมการทีเข ่ ามาทำงานตรงนีก็้ ไมมคี า ตอบแทนอะไร ไมมีเงินเดือน แตทำดวยจิตอาสา เพราะ เปนการชวยเหลือคนในชุมชนของเราเอง เห็นชาวบาน มีความสุขเราก็ปลื้มใจ จึงเปนที่มาของคำวา กองทุนกองบุญ” มลิวัลยบอก

93


94 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

สทิ ธประโยชน ิ กองทุนสวัสดกิ ารชุมชน • ผูที่เปนสมาชิกเกิน 3 เดือนขึ้นไป หาก เขาพักรักษาตัวโรงพยาบาลจะไดรับเงิน ชวยเหลือคืนละ 100 บาท ปหนึ่งใชสิทธิ์ ไดไมเกิน 12 คืน • หากเปนสมาชิกครบ 1 ป จะไดเงินชวย เหลือคาเดือนทางไปโรงพยาบาลครัง้ ละ 100 บาท ปหนึ่งไมเกิน 12 ครั้งเชนกัน • หาก คนใน ครอบครัว เสีย ชีวิต จะได รับ เงินชวยเหลือ 2,500 บาท แตหากเปน สมาชิกเกิน 1 ป จะไดรับเงิน 5,000 บาท สมาชิก 2 ป 10,000 บาท และสมาชิก 4 ป 15,000 บาทตามลำดับ • ผูคลอด  บุตรจะไดเงินรับขวัญคนละ 500 บาท หาก เปน ลูก แฝด รับ ทันที 1,000 บาท  เปนสมาชิกครบ 15 ป จะไดรับ • หากผูใด คาตอบแทนเปนเงินบำนาญอีกเดือนละ 300-500 บาท


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

เธอบอกอีกวา แมชวงแรกจะมีคนทีไม ่ เห็นดวยนัก กับกองทุนนี้ เพราะเปนการจายขาด ไมเหมือนเงินออม แต หาก พิจารณา ให ถี่ถวน แลว จะ เห็น วา กองทุน นี้ ก็ เปรียบเหมือนการรวมทำบุญ ไมตางอะไรกับกองกฐิน ผาปา เพียงจายแควันละบาทก็สามารถชวยเหลือเกื้อกูล คนในชุมชนทีขั่ ดสนได และยังเปนการสรางความสามัคคี ในชุมชน เปนสังคมที่ไมทอดทิ้งกัน ทาง ดาน ครู ประวิทย บอก ถึง ความ ตั้งใจ วา ใน อนาคตหากกองทุนนี้เติบโตขึ้นอาจมีการพิจารณาขยาย สิทธิ์ตางๆ เพื่อใหครอบคลุมมากยิ่งขึ้น โดยขณะนี้จะ ดำเนินการขอรับการสนับสนุนจากเทศบาลอีกสวนหนึ่ง และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย (พม.) อีกสวนหนึ่ง เพื่อใหเปนกองทุน 3 ขา เพิ่มความ มั่นคงของกองทุนยิ่งขึ้น เสร็จจากการสนทนากับแกนนำกลุม กองทุนตางๆ ทำใหไดขอมูลความรูมาแบบเต็มอิ่ม หากไมใชดวยพลัง ของคนในชุมชนที่ลุกขึ้นสูดวยตัวเองแลว เรื่องราวดีๆ เหลานี้ก็คงยากที่จะเกิดขึ้นได

95


96 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

-15ªÕÇÔμ»ÅÍ´ÊÒà ระหวางเดินทางไปยังแหลงเรียนรูดานการเกษตร ซึง่ เปนจุดหมายตอไป ทิวทัศนสองขางทางเขียวครึม้ แลดู เพลินตา สวนมะลิทีชาว ่ บานปลูกไวกำลังงอกงาม ดอกตูม สีขาวใหความรูสึกสดชื่นอยางบอกไมถูก ทวาจากคำบอกเลาของใครหลายคนตางพูดเปน เสียงเดียวกันวา ความงามที่เห็นเปนเพียงภาพลวงตา... เปน ที่ ทราบ กันวา ตำบล เกาเลี้ยว ขึ้น ชื่อ ใน เรื่อง การทำสวนมะลิ เพราะเปนแหลงผลิตขนาดใหญสงตรง ถึงปากคลองตลาด แตกวาที่ผลผลิตปริมาณมหาศาลจะ ถูกสงไปขายในเมือง เบือ้ งหลังนัน้ คือความเปนความตาย ของชีวิตเกษตรกร เม็ดเงินที่ไดมาตองแลกดวยปญหา สุขภาพ ความเจ็บไขไดปวย เหตุจากการใชปุย เคมีสารพัด ชนิดเพื่อเรงผลผลิตปอนสูตลาด ผลกำไรสวนทางกับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรที่ ย่ำแยลงทุกลมหายใจ ไมเฉพาะแคสวนมะลิเทานั้นที่ปน เปอ นไปดวยสารเคมี แตยังรวมถึงเรือกสวนไรนาประเภท อื่นๆ ก็ตกอยูในสภาพไมตางกัน ทันทีที่เดินทางมาถึง ‘¡ÅØ‹Á͹ØÃÑ¡É ¸ÃÃÁªÒμÔà¡ŒÒàÅÕéÂÇ’ สายตาตองสะดุดอยูที แผ ่ นปายขนาดใหญ เขียนขอความ


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

ปลุกเราชวนใหฮึกเหิมวา ‘คืนชีวติ ใหกับแมพระธรณี รวม ปลดหนี้ใหเกษตรกร’ นั่นคือแผนผังความคิดของ ‘ลุง สุม’ นิคม ศิรบุิ ตร วัย 67 ป ปราชญชาวบานดานการ ทำเกษตรปลอดสารพิษ อดีตทหารพลรมปาหวาย ยศ รอยโท ลุงสุมเชื้อเชิญผูมาเยือนนั่งลอมวงสนทนาโดยมี ภรรยาคูใจ ศุภรัตน นอยกลัด ในฐานะประธานกลุม นั่งรวมวงดวย ปราชญชาวบานอยางลุงสุม ไมไดอัจฉริยะมาตัง้ แต เกิด แต เกิด จาก ความ อุตสาหะ และ การ ดิ้นรน หา ทาง

97


98 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

นิคม ศิริบุตร

ปลดแอกเกษตรกรใหเปนอิสระจากสารเคมี “ชวง 7-8 ปกอน ลุงขับรถเกาๆ ผานทุงนา ผานไร ออย ไรมัน สวนมะลิแทบทุกวัน วันหนึ่งกลิ่นยาฆาแมลง โชยมาเตะจมูกจนรูส กึ ปวดหัว เพราะชาวบานใชกันเยอะ มาก ก็เลยมานัง่ คิดวาจะชวยชาวบานยังไงไมใหตองผจญ กับสารพิษ ทำยังไงใหชาวบานลด ละ เลิก การใชสารเคมี” ลุงสุมบอกถึงแรงบันดาลใจ หลังลองผิดลองถูกอยูนาน ไมกี่ปถัดมานวัตกรรม สิง่ ประดิษฐชิน้ แรกของลุงสุม ก็ปรากฏสูสายตา  มันคือเตา เผาแบบโบราณที่ใชกลั่นสารสกัดจากสมุนไพรสารพัด ประโยชน เปนทั้ง ยาปองกัน โรค พืช และใช ขับ ไล แมลง แทนสารเคมี


ÍÒ·Ôμ हÁÕ

แรกๆ ลุง สุม ผลิต ออก มา เพื่อ แจก จาย ให ใช กัน ฟรีๆ แตชาวบานสวนใหญก็เอาไปตั้งทิ้งไวจนกลายเปน อนุสาวรีย เพราะไมเชื่อมั่นในสรรพคุณ จากนั้นลุงสุมจึง เปลี่ยนวิธีคิดใหมเปนการผลิตเพื่อขาย ติดปายราคาให เห็นกันชัดๆ เพื่อเพิ่มคุณคาในสายตาชาวบาน จนทำให เริ่มมีคนซื้อไปทดลองใชในไรนา “บางคนใชยาเกินขนาด เพราะเห็นวาของถูกๆ ก็ ใสซะเกือบหมดขวดจนใบหงิกหมด (หัวเราะ)” ลุงสุมนึก ขันในความไมรของ ู ชาวบาน กอนจะพูดตอวา “คนโบราณ เขาสอนกันมาตลอดวาสมุนไพรไทยเปนของดี ถาใชนอย ก็เปนยา แตถาใชมากเกินไปก็ไมดี” ชวงที่ลุงสุมกลั่นน้ำสมุนไพรออกขายขวดละ 100 บาท เวลานั้นมีโฆษณาขายยาบำรุงพืชสูตรสมุนไพรของ บริษัทสินคาเกษตรรายใหญที่ชาวบานนิยมใชกัน แตมี ราคาสูงถึง 3,500 บาท นั่นหมายความวา นอกจาก ลุงสุมจะตองแขงขันกับ บริษทั นายทุนยักษใหญ แล ว ยั ง ต อ ง เอาชนะ ความ เชื่อ ของ ชาว บาน และ พิ สู จ น ตั ว เอง ให เปนทียอมรั ่ บใหได “พอชาวบานลอง

99


100 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

เอายาสมุนไพรของลุงไปใช แค 3 วันแรกเขาก็รีบโทรมา หา บอกวาหนอนรวงจากตนมะลิหมดเลย เมื่อกอนเก็บ มะลิไดแควันละประมาณ 10 กิโล แตพอใชน้ำยาของลุง ไดมะลิเกือบ 30 กิโล” ลุงสุมเปรียบเทียบใหเห็นระหวาง เทคโนโลยีชั้นสูงของบริษัทยักษใหญกับสิ่งประดิษฐจาก ภูมิปญญา ชาว บาน ที่ แม จะ มี รูป ลักษณ ไม สวยงาม แต ราคายอมเยาและมีประสิทธิภาพทีไม ่ ดอยไปกวากัน “ตอนนี้ชาวบานที่หลายอำเภอแหมาซื้อกันทีละ เปนรอยลิตร ปกติที่นา 40 ไรของเขาตองลงทุนหลาย หมืน่ บาท กวาจะไดขาว 6 เกวียน แตพอใชของลุง ลงทุน แค 3,000 บาท ไดขาวถึง 36 เกวียน ที่สำคัญสุขภาพ รางกายของเกษตรกรสมบูรณแข็งแรงขึ้น เพราะไมตอง ทนอยูกั บสารเคมีอีกแลว แถมยังปลดหนีปลด ้ สินไดดวย” ลุงสุมยิ้มอยางภูมิใจ ลุงสุมมักบอกกับเกษตรกรเสมอวา หากคิดจะใช ยาสมุนไพรสูตรลุงสุม แลวจะตอง ‘หักดิบ’ เลิกใชสารเคมี ชนิด อื่น โดย เด็ด ขาด และ สอน ชาว บาน ให ทำ นา ดวย สมอง เกือบ 10 ปที่ลุงสุมศึกษาคนควาการกลั่นน้ำยา สมุนไพร ตองยอมทนตอเสียงครหาและคำดูถูกเหยียด หยาม กวาจะฝาฟนมาถึงจุดนี้ไดตองอาศัย ‘ใจ’ เทานั้น


ÍÒ·Ôμ हÁÕ 101

นวัตกรรมเตากลัน ่ สมุนไพร เตากลั่นสมุนไพรของลุงสุมใชหลักการ เดียวกับเตาตมเหลาเถื่อน ซึ่งเปน กระบวนการทางวิทยาศาสตร คือใช ความรอนทำใหไอน้ำควบแนนจนได หยดน้ำสมุนไพรทีเข ่ มขนบริสุทธิ์ การกลั่นพืชสมุนไพรใหมีฤทธิ์บริสุทธิ์ 100 เปอรเซ็นต เทคนิคสำคัญอยูที่การควบคุมความรอน ใหคงที่ อุณหภูมิทีพอ ่ เหมาะตองไมเกิน 90 องศา เซลเซียส ซึ่งจะทำใหไดตัวยาสมุนไพรในสัดสวน 70 เปอรเซ็นต น้ำ 30 เปอรเซ็นต แตหากรอนเกิน 100 องศาเซลเซียส จะทำใหเกิดการ ‘อวก’ หรือขยอนออก มา ทำใหสมุนไพรเจือจางไมไดประสิทธิภาพ และนั่น คือศาสตรของ ‘ความพอดี’

ลุงสสุมุ +ศุภรัตน นอยกลัด


ÊÁعä¾ÃäÅ‹áÁŧ น้ำยา สกัด จาก สมุนไพร มี สรรพคุณ ครอบจักรวาล เพราะมีสารประกอบกวา 200 ชนิ ด เช น ป อ ง โรค พื ช ไล แมลง ฆาเชื้อรา เปดตาดอก เรงราก ฯลฯ วิธีใช - นำน้ำยาอเนกประสงค 3 ชอน น้ำสมควันไม 3 ชอน ผสมน้ำ 20 ลิตร ฉีดพน ตามใบและลำตน ทำใหหนอนและแมลงไมสามารถกัด กินพืชได ชวยเพิ่ม ผลผลิตและลดตนทุนของเกษตรได อยางมหาศาล


ÍÒ·Ôμ हÁÕ 103

-16Êѧ¤ÁÊÕà¢ÕÂÇ โชคดีทีคน ่ เกาเลีย้ วไมปลอยใหลุงสุม โดดเดีย่ วเพียง ลำพัง เพราะยังมีเกษตรกรอีกจำนวนไมนอยที่มีวิธีคิด เชนเดียวกับลุงสุม ดังเชน ‘¡ÅØ‹Á»ÅÙ¡¼Ñ¡»ÅÍ´ÀÑÂ’ ของ ประ พิ ศ โพธิ์ สะอาด เกษตรกรหัวใจสีเขียวแหง ตำบลเกาเลี้ยว หมู 4 ในวัน ที่ เดิน ทาง ไป เยี่ ย มเยี ย น แหล ง เรี ย น รู ของกลุม ปลูกผักปลอดภัย ประพิศนำผลผลิตพืช ผัก ประพิศ โพธิ์สะอาด นานา ชนิ ด ออก มา วาง เรียงรายใหผูมาเยือนไดชื่มชม ผลงาน พรอมพาเดินชม สวน ผักและไรออยที่ปลูกเองกับมือดวยความภาคภูมิใจ พื ช ผั ก เหล า นี้ ล ว น เกิ ด จาก หยาด เหงื่ อ แรง กาย ของ เกษตรกร ผู ซื่ อ สั ต ย ต อ พระ แม ธรณี โดย ปราศจาก สิ่งเจือปนของสารเคมีทุกชนิด ประพิศเลาใหฟงวา กอนหนานีเกษตรกร ้ เกาเลีย้ ว ได รับ บท เรียน ความ เจ็บ ปวย จาก สาร เคมี ที่ ตกคาง ใน


104 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

รางกายจนเกิดปญหาสุขภาพ อีกทั้งยังพบวาตนทุนการ ผลิตก็สูงขึน้ ตามไปดวย โดยใชตนทุนทำนาไรละ 4,0005,000 บาท แตขายผลผลิตไดเพียง 6,000-7,000 บาท เมื่อหักลบกลบหนี้แลวแทบไมคุมกับการลงทุน และยัง ตองเผชิญกับสารพิษที่สะสมมากขึ้นทุกวันๆ ครัง้ หนึง่ อสม. ไดเจาะเลือดตรวจรางกายเกษตรกร 60 คน ในจำนวนนีพบ ้ ผูที มี่ สารพิษตกคางมากถึง 50 คน จึง เปน ปจจัย สำคัญที่ กระตุน ให ประชาชน ใน ตำบล หัน กลับมาใสใจในสุขภาพ ในที่สุดจึงเกิดการรวมกลุมปลูก ผักปลอดสารพิษทีมุ่ ง เนนการผลิตเพือ่ การบริโภคกันเอง ภายในครัวเรือน สวนทีเหลื ่ อก็ยังสามารถนำไปจำหนาย จายแจกกันในชุมชนได จุดเดนของกลุมคือไมหยุดนิ่งอยูกับที่ แตจะมีการ พัฒนาและคัดเลือกสายพันธุที ดี่ อยูตลอด  นอกจากนียั้ งมี การเพาะเมล็ดพันธุแจก  จายใหกับผูที ต่ องการนำไปปลูก ตอ โดยสมาชิกในกลุมกวา 40 รายจะปลูกพืชไมซ้ำกัน เพื่อไมใหเปนการแยงตลาดกันเอง และสามารถซื้อขาย แลกเปลี่ยนกันไดภายในกลุม เมือ่ ครัง้ เกิดมหาอุทกภัยปลายป 2554 ผูค นเกือบ ทั้งประเทศตองเผชิญวิบากกรรมขาดแคลนอาหาร แต สำหรับคนเกาเลีย้ วกลับสามารถอยูรอด  กันไดดวยพืชผัก ทั้งหลายที่พวกเขารวมกันปลูก และยังสงเสบียงคลังไป


ÍÒ·Ôμ हÁÕ 105

ชวยเหลือผูคนตางอำเภอใหไดกินอาหารที่ปลอดภัย แนวคิด ใน การ คืน ชีวิต สี เขียว ของ ทั้ง ลุง สุม และ ประพิศยังสอดคลองกับ ‘¡ÅØ‹Á Ê‹§ àÊÃÔÁ ÊÁعä¾Ã ä·Â’ ที่มี อโนชา ยั ง ฉิ ม อสม. หนุ ม วั ย 44 ป เป น แกน นำ คนสำคัญ ดวย ความ ที่ พอ ของ อโนชา เปน หมอ แผน โบราณ ทำให เขา ได สัม ผัส คลุกคลี กับ ยา สมุนไพร มา ตั้งแต เด็ก ขณะ นี้ กำลัง ศึกษา ตอ สาขา เภสัชกรรม แพทย แผน ไทย เพื่อนำความรูมาพัฒนาสมุนไพรพื้นบานใหถูกตองตาม หลักวิชาการ “การ ทำ ยา สมุ น ไพร ต อ ง มี หลั ก วิช าการ รองรั บ เพราะ สมัย นี้ มี พวก ที่ ไมรู จริง มา ผลิต ยา สมุนไพร กัน


106 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

เยอะ ซึง่ อาจจะเปนผลรายได ถากินมากเกินไปมันก็ไมดี ทุกอยางตองมีความพอดี ที่สำคัญยาหมอตองสะอาด ถูกขั้นตอน อยาไปกินสุมสี่สุมหา” อโนชาบอก ทุ ก ครั้ ง ที่ อโนชา และ กลุ ม อสม. ลงพื้ น ที่ ไป เยี่ยมเยียน ผู ปวยก็ จะนำยาตางๆ ติดไม ติดมือ ไปแจก ชาวบาน ทั้งยานวด ยาทา ยาหมอ ซึ่งอโนชาจะย้ำเตือน ชาว บาน เสมอวา อยาหวัง วาสมุนไพร จะชวยรักษาได ทุกโรค เพราะไมใชยาเทวดา บางโรคก็จำเปนตองพึ่งพา


ÍÒ·Ôμ हÁÕ 107

หมอดวย อโนชาอธิบายวา พืชผักสวนครัวพืน้ บานเปนของดี ใกลตัวทีบาง ่ ครัง้ เราอาจมองขามไป ไมวาจะเปนกระเทียม ตะไคร ใบ มะกรูด หาก รูจัก นำ มา ใชสอย และ จัด สวน ประกอบใหเหมาะสมก็สามารถเปนยาขนานเอกได เขา จึงสงเสริมใหชาวบานชวยกันปลูกพืชสมุนไพรไวใชสอย ในยามจำเปน “ทีบ่ านผมอาจจะไมไดใหญโตหรูหรา แตก็สามารถ


108 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

ปลูกสมุนไพรไดเปนรอยชนิด ไมวาใครก็เขามาหาผมได ไมมีเงินก็มาได ถาคนปวดหัว ผมไมแนะนำใหซื้อยาแผน ปจจุบัน เพราะยาบางชนิดก็มีฤทธิ์คอนขางแรง บางครั้ง หามกินติดตอกันเกิน 5-7 วัน ตางกับยาสมุนไพรไทยที่ สามารถกินแลวเปนยาอายุวัฒนะได ถาเจ็บปวยเล็กๆ นอยๆ ก็ลองกินยาหมอสักพักเพื่อเปนการพึ่งพาตัวเอง กอน หากไมดีขึ้นคอยไปปรึกษาแพทยแผนปจจุบนั ” แม ผลิ ต ภั ณ ฑ ของ กลุ ม จะ ติ ด อั น ดั บ เป น สิ น ค า โอท็อปประจำตำบล แตสิ่งที่อโนชาทำอยูทุกวันนี้ไมได หวังร่ำรวย เขาเพียงหวังวาจะไดมีสวนชวยเหลือคนใน ชุมชน หรือ อยาง นอย ก็ อาจ เปนการ กระตุน ใหคน เห็น ความสำคัญของสมุนไพรไทยอีกครั้ง อโนชา ยังฉิม


ÍÒ·Ôμ हÁÕ 109

-17¹Ñ¡»˜›¹ÃØ‹¹ÅÒ¤ÃÒÁ อยาง ที่ทราบกันวา สังคมไทย กำลั ง ก า ว เข า สู สั ง คม ผู สู ง อายุ โดย เฉพาะในสังคมชนบท ลูก หลานตาง ตองไปทำงานตางถิน่ เหลือเพียงผูเฒ  า ผูแกคอยเลี้ยงหลานอยูกับบาน


110 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

สงา ภูพันธ

ฟ ง ดู แล ว อาจ รู สึ ก หดหู แต อาจ ไมใช เสมอ ไป สำหรับตำบลเกาเลีย้ ว เพราะ ผู สู ง วั ย ที่ เห็ น นั่ ง จั บ กลุ ม กั น อยู นั้ น ต า ง เต็ ม ไป ด ว ย รอยยิม้ และเสียงหัวเราะ อีก ทั้ ง สุ ข ภาพ ยั ง แข็ ง แรง กว า คนหนุมสาวบางคนเสียดวยซ้ำ แดดรมลมตก คณะเจาหนาทีเทศบาล ่ พาผูมา  เยือน เดิน ทาง มายัง หมู 1 ที่ บาน ของ อาจารย สงา ภู พันธ ซึ่งเปน สถาน ที่พบปะ ของ กลุม ผู สูง อายุ ที่มารวม ตัวกัน ในนาม ‘ªÁÃÁ¨Ñ¡ÃÂÒ¹à¾×èÍÊØ¢ÀÒ¾ÍÓàÀÍà¡ŒÒàÅÕéÂÇ’ อาจารย สง า ใน ฐานะ ประธาน ชม รมฯ ให ก าร


ÍÒ·Ôμ हÁÕ 111

ตอนรับอยางเปนกันเอง กอนจะเลาเรื่องราวแตหนหลัง ใหฟงวา สมัยกอนการเดินทางคอนขางลำบาก เสนทาง ทุรกันดาร รถจักรยานจึงเปนพาหนะชนิดเดียวที่สะดวก ที่สุด แต เมื่อ ถนน หนทาง สะดวก ขึ้น ความ เจริญ เริ่ม ตามมา ผูคนจึงหันไปใชรถมอเตอรไซค รถยนต และ รถ โดยสาร ปลอย ให จักรยาน กลาย เปน สิ่ง ชำรุด ทาง ประวัติศาสตร บาง เก็บ ไว ใตถุน บาน บาง ขาย ทิ้ง เปน เศษเหล็ก “จนกระทั่งเมื่อ 10 กวาปใหหลัง ชาวบานเริ่มเห็น วาการใชรถยนตเปนการสิ้นเปลือง สรางมลภาวะ และ เพิม่ ความเสีย่ งในชีวติ มากขึน้ จึงหันมารือ้ ฟน นำจักรยาน มาใชใหม” อาจารยสงาบอก 26 พฤศจิกายน 2545 ชมรมจักรยานไดกอตัง้ ขึน้ โดยประธานผูบุกเบิกคนแรกคือ ประเสริฐ ศักดิ์ดี หรือ อดีตนายกเทศมนตรี มีจุดประสงคเพื่อใหสมาชิกไดออก กำลังกาย ใหผูสู งวัยมีกิจกรรมคลายเหงา และยังเปนการ สรางความสามัคคีในหมูคณะ  จนถึ ง ปจ จุ บั น มี สมาชิ ก ชมรม ทั้ ง สิ้ น 118 คน สวนใหญอยูในวัยสูงอายุ เพราะมีเวลาวางหลังเกษียณ โดย สมาชิก ที่ อายุ มาก ที่สุด คือ 85 ป ถือ เปน ชมรม ที่ คอนขางเหนียวแนนและมีกิจกรรมตอเนื่องยาวนาน อาจารยสงาเลาวา ทุกเชาราวตี 5 สมาชิกชมรม


112 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

จะ มา รวม ตัว กัน โดย ไม ตอง นัด หมาย เพื่อ ออก มา สูด อากาศบริสุทธิ์และบริหารปอดดวยการปนจักรยานออก นอกเมือง ตามเสนทางที่เต็มดวยทิวทัศนสวยงาม ผาน สะพานขามแมน้ำปง ลัดเลาะไหลเขา แลววกกลับเขา หมูบาน รวมระยะทาง 15 กิโลเมตร ปฏิบัติเชนนี้อยาง ตอเนื่องถึง 10 ปเต็ม กิจกรรมเดนๆ ของชมรมมีมากมาย เชน ขีป่ น ปนใจ เพื่อ ผู สูง วัย ไม ทิ้ง กัน เปนการ ขี่ จักรยาน ไป เยี่ยมเยียน ผูสูงอายุ ผูปวยติดเตียง และมอบสิ่งของเครื่องใชเปน กำลังใจใหผูป วยใหผูสู งวัย สรางความอิม่ อกอิม่ ใจทัง้ ผูให  และผูรับ นอกจากนี้ยังเขารวมกิจกรรมขี่จักรยานเทิด พระเกียรติในวันเฉลิมพระชนมพรรษาทุกป รวมถึงมีการ แลกเปลี่ยนเรียนรูกั บชมรมจักรยานในอำเภอตางๆ

บุญเลิศ หมากสุก


ÍÒ·Ôμ हÁÕ 113

ทาง ดาน ลุงบุญเลิศ หมากสุก กรรมการ ชมรม เสริมขึ้นวา สิ่งที่ชมรมคาดหวังไวคือ การสงเสริมใหเด็ก นักเรียนและคนรุน ใหมๆ หันมาใชจักรยานกันใหมากขึน้ เพื่อสานตอกิจกรรมชมรมไมใหขาดชวง “ครั้ ง หนึ่ ง เรา เคย ไป ร ว ม กิ จ กรรม ที่ จั ง หวั ด นครสวรรค โดนวัยรุน แซว โอย รถก็เกา คนก็แก (หัวเราะ) คนอืน่ เขาขีรถ ่ จักรยานคันละเปนหมืน่ ๆ แตของเราไมเนน ราคา และกลายเปนเอกลักษณของชมรมเราก็คือ รูปทรง จั ก รยาน ที่ ค อ น ข า ง คง ความ เก า แก ไม เหมื อ น ใคร” ลุงบุญเลิศเลาอยางอารมณดี ดู เ ห มื อ น ว า คน เก า เลี้ ย ว จะ รั ก ษา สุ ข ภาพ ได ดี เป น พิ เ ศษ คณะ เจ า หน า ที่ เทศบาล พา ผู มา เยือน เดิน ทาง ไป แวะ ชม บรรยากาศ ยาม เย็ น ที่ สวน สาธารณะ ริ ม แมน้ำปง ที่นั่นมีลานกีฬา อเนกประสงค และ สนาม


114 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

ตะกรอที่เด็กๆ กำลังฝกซอมกันอยางเอาจริงเอา จัง สวนที่ดานขางสนาม ชายวัยกลางคนคนหนึ่ง กำลังเฝาดูการฝกซอมของเด็กๆ ที่เขาปนขึ้นมา กับมือ เกรียงฤทธิ์ แบบประเสริฐ ในฐานะประธาน ‘ªÁÃÁ¤¹ÃÑ¡μСÌÍà¡ŒÒàÅÕÂé Ç’ บอกกับผูมา  เยือนวา ประโยชน ของการเลนกีฬานอกจากนี้จะทำใหสุขภาพแข็งแรงแลว ยังชวยใหเด็กและเยาวชนหางไกลจากยาเสพติด ทำให เกิดภูมิคุมกันตอสิ่งยั่วยุและอบายมุขทั้งหลาย เกรียง ฤทธิ์ เอง นับ เปน มือ วาง อัน ดับ ตนๆ ของ เมืองไทย กวาดถวยรางวัลมานับไมถวน และเคยเก็บตัว กับนักตะกรอทีมชาติมาแลว กอนจะผันตัวมาตั้งชมรม คนรักตะกรอเกาเลี้ยว ปนทีมลารางวัลทั้งระดับจังหวัด และระดับภาค ปจจุบันมีสมาชิกชมรมกวา 30 คน “ผมบอกกับเด็กๆ เสมอวา การเลนกีฬาก็สามารถ เปนอาชีพได พวกเขาก็รูสึกตื่นเตนและมีกำลังใจมากขึ้น


จากเมื่อกอนเด็กเหลานี้เลนอะไรไมเปนเลย เราก็คอยๆ ฝกฝนให ทั้งเด็กหญิงและเด็กชายก็มาเลนดวยกัน” สิ่งที่เกรียงไกรบมเพาะใหกับเยาวชน ไมเพียงแค การตั้งเปาหมายไปสูเสนทางนักกีฬาเทานั้น แตยังเนน หนักใหรูจักการมีน้ำใจนักกีฬา รูแพ-รูชนะ-รูอภั  ย เพราะ นั่นคือพื้นฐานสำคัญในการอยูรวมกันในสังคม

-18Èٹ ¾Ñ²¹Òà´ç¡àÅç¡ เมื่อ เอย ถึง การ จัดการ แหลง เรียน รู ของ เด็ก และ เยาวชน คงไมอาจผานเลย ‘Èٹ ¾Ñ²¹Òà´ç¡àÅç¡à·ÈºÒÅμӺŠࡌÒàÅÕÂé Ç’ เพราะทีนี่ มี่ การบริหารจัดการทีเรี ่ ยกไดวาอยูใน  ระดับดีเยี่ยม เห็นไดจากรางวัลการันตีมากมาย ลาสุดป 2554 ไดรับโลประกาศเกียรติคุณศูนย พัฒนาเด็กเล็กดีเดนระดับจังหวัด และรางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 2 ประเภทเทศบาล


116 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

ศูนยแหงนีเกิ ้ ดจากแนวคิดทีต่ องการแบงเบาภาระ ให กับ ผู ปกครอง ใน การ เลี้ยง ดู บุตร หลาน โดย มุง เนน ใหเด็กทุกคนไดกินอิ่มนอนอุน สงเสริมใหเด็กเกิดการ เรียนรูและมีพัฒนาการสมวัย ‘ครูน้ำ’ ดวงนภา โพพิมล ผูดูแลศูนยเด็กเล็กแหง นี้ กลาววา พัฒนาการขั้นพื้นฐานทีเด็ ่ กเกาเลี้ยวจะไดรับ การบมเพาะมีอยู 4 ดาน คือรางกาย อารมณ จิตใจ และสังคม ที่สำคัญยังอยูภายใตนโยบายเรียนฟรีที่ทาง เทศบาลสนับสนุนดูแลอยางเต็มที่ ทั้งอุปกรณการเรียน นม และอาหารครบ 3 มื้อ ทำใหผูปกครองเบาใจเมื่อได พาบุตรหลานมาที่นี่ ดูจากภาพเด็กๆ ที่กำลังนอนหลับฝนดี คงไมตอง สาธยายเลยวา เด็กๆ ที่ศูนยแหงนี้กินอิ่มนอนอุนขนาด ไหน


ÍÒ·Ôμ हÁÕ 117

-19¢Í§½Ò¡¨Ò¡à¡ŒÒàÅÕéÂÇ ใครทีมี่ โอกาสมาเยือนเมืองเกาเลีย้ ว ไมควรพลาด ที่ จะ แวะ ไป เยี่ ย ม ชม งาน จั ก สาน พื้ น บ า น ที่ มี ชื่ อ เสี ย ง ติดอันดับโอท็อประดับจังหวัด ผักตบชวาทีขึ่ น้ อยูมากมาย  ตามชายคลองจนกลาย เปนวัชพืชไรคา แตสำหรับ อาจารยดรุณี วลัญชอารยะ กลับมองวา นีคื่ อชองทางใหมในการสรางสรรควัสดุทีหา ่ ไดจากทองถิน่ มาใชใหเกิดประโยชนแกชุมชน จนเกิดเปน ‘¡ÅØ‹Á¼ÅÔμÀѳ± ¼Ñ¡μºªÇÒ’ อาจารย ดรุ ณี เริ่ ม ต น ด ว ย การนำ เด็ ก นั ก เรี ย น โรงเรียนเกาเลี้ยววิทยาไป ศึ ก ษา ภู มิ ป ญ ญา ท อ ง ถิ่ น ดรุณี วลัญชอารยะ ตามจังหวัดตางๆ จากนั้น จึ ง นำ ความ รู กลั บ มา ถ า ยทอด ใน ชั้ น เรี ย น และ เริ่มกระบวนการผลิตอยาง จริ ง จั ง จาก ห อ งเรี ย น ของ เด็ ก ๆ จึ ง ขยาย ไป สู ค ร อ บ ค รั ว แ ล ะ ชุ ม ช น ในที่สุด โดยเปดสอนเปน


118 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

วิทยาทานใหแกผูที่สนใจและยังสามารถสรางรายไดให กับกลุมแมบานที่วางจากการทำไรนาได จนถึงวันนี้ผักตบชวาไมไดมีสถานะเปนแควัชพืช อีกตอไป แตกลายเปนสมบัติของทองถิ่นที่คนในชุมชน ตางหวงแหนและมองเห็นคุณคา

¡ÅØ‹ÁÃÕ ä«à¤ÔÅ 108 ÅÕÅÒ ผลิตภัณฑรีไซเคิลชุมชนเกาเลีย้ วเปนอีกหนึง่ ผลงาน ทีสะท ่ อนถึงความพยายามในการแปรวัสดุเหลือใชใหเกิด ประโยชนเพื่อลดปญหาสิ่งแวดลอมในชุมชน อาจารยสุวรรณา จักรผัน และ อาจารยสมศรี ปน กันอินทร อดี ต ครู โรงเรี ย น อนุ บ าล เก า เลี้ ย ว ใช เวลา ว า ง หลั ง เกษี ย ณ ด ว ย การ รวม ตั ว กั น ทำงาน ศิ ล ปะ ประดิ ษ ฐ จาก เศษวัสดุ เหลือ ใช ในนามของ ‘¡ÅØ‹ÁÃÕ ä«à¤ÔÅ 108 ÅÕÅÒ’ กว า 10 ป มา แล ว ที่ อาจารย สุ ว รรณ สร า งสรรค ผลงานจากสิ่งของไรคาใหเกิด


ÍÒ·Ôμ हÁÕ 119

เปนมูลคา เริม่ จากรับซือ้ ขยะจากชุมชนแลวนำมาแปรรูป เปนสิ่งประดิษฐนานาชนิด จนกระทั่งชาวบานสนใจมา ศึกษาเรียนรูและทำเปนอาชีพเสริม สามารถสรางรายได เป น ก อบ เป น กำ ผล พวง ที่ ตาม มา คื อ ขยะ ใน ชุ ม ชน เริ่มหายไป เพราะชาวบานตางรูดีวาขยะทุกชิ้นมีคา

สุวรรณา จักรผัน - สมศรี ปนกันอินทร


120 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

-20¨Ñºà¢‹Ò¤Ø¹Ò¡Ïà¡ŒÒàÅÕéÂÇ 3 วัน 2 คืนกับการมาเยือนเกาเลี้ยว ทำใหตอง เปลีย่ นทัศนะใหมในการทองเทีย่ วทีไม ่ ใชเพียงแคการเสพ ชมความงดงามของธรรมชาติ แมกไมลำธาร ปาเขาลำเนา ไพร ซึ่งบางครั้งอาจดูผิวเผินเกินไป แตการทองเที่ยว ชุมชนรูปแบบใหมนั้น คือการไดศึกษาเรียนรูนวัตกรรม ในการบริหารจัดการทองถิน่ ทีเกิ ่ ดจากการรวมคิดรวมทำ ของ คนใน ชุ ม ชน เอง เป น การ เป ด โลก ทั ศ น ใหม ให ผูมาเยือนไดเห็นถึงพัฒนาการอีกขั้นของชุมชนทองถิ่นที่ แตกตางไปจากกรอบความคิดแบบเดิมๆ กอนร่ำลาเมืองเกาเลี้ยว ไดมีโอกาสจับเขาคุยกับ นายกฯกิตติวัฒนอีกครั้งเปนการสงทาย กับ คำถามที่ วา เปน ไปได หรือ ไม ที่จะได เห็น คน ทุ ก พื้ น ที่ ทุ ก ตำบล ลุ ก ขึ้ น มาส ร า ง ความ เปลี่ ย นแปลง ดวยตัว เองเชนเดียวกับ ตำบลเกาเลี้ยว เพื่อ ขับ เคลื่อน ประเทศไทยใหเขมแข็งกวาที่เคยเปนมา นายกฯเอี๊ยงตอบอยางมั่นใจวา ทุกอยาง ยอมมี จุดเริ่มตน การปกธงตำบลสุขภาวะก็เปนเพียงจุดเริ่มตน หนึ่งในการปลุกเราวัฒนธรรมการมีสวนรวม หลังจากนี้ ยังมีภารกิจที่รออยูข างหนาคือ การรอยเรียงเชื่อมโยงกับ


ÍÒ·Ôμ हÁÕ 121

ทองถิ่นอื่นๆ เพื่อกาวไปสูสังคมสุขภาวะอยางสมบูรณ แบบ ซึ่งเชื่อวาอีกไมนานความเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ ดียอมเกิดขึ้นตามมาแนนอน “ทิศทางตอไป ผมมองวา ถามีองคกรทองถิ่นสัก 30 เปอรเซ็นตสามารถกาวขึ้นมาสูตำบลสุขภาวะได ก็ เทากับวาประเทศไทยมีทุนทางสังคมเพิ่มขึ้น ประชาชน มีศักยภาพมากขึ้น ไมตองมีผูชี้นำอีกตอไป ซึ่งอานิสงสนี้ จะสงผลมหาศาลตอทั้งประเทศ เหมือนกับที่พระบาท สมเด็จพระเจาอยูห วั เคยตรัสไวในหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงวา ขอเพียงแคประสบความสำเร็จสัก 30-40 เปอรเซ็นต ประเทศชาติก็อยูรอดแลว ถาเกินจากนี้ก็ถือ เปนกำไร” นายกฯกิตติวัฒนกลาวทิ้งทาย เชน เดียว กับ ธน ก ฤต วร เดชา ติ วงศ รองปลัด เทศบาล มองวา การสรางตำบลสุขภาวะไมใชการนำปลา ไปแจกชาวบาน แตเปนการสอนใหรูจ กั วิธหา ี ปลา ฉะนัน้ หากสามารถเปลี่ยนกระบวนทัศนของประชาชนไดยอม เกิดแรงเหวี่ยงใหทุกอยางขับเคลื่อนไดดวยตนเอง “ตอง อยา ลืม วา เสน ตรง เสน หนึ่ง เกิด ขึ้น ได จาก จุดสองจุด ฉะนั้นหากทุกตำบลมีแหลงเรียนรูเปนหมุด หมาย ใน ชุมชน แลว ก็ จะ สามารถ ลาก เสน เชื่อม ตอ ไป ไดไมสิ้นสุด และหากทำทั้งประเทศรับรองวาเกิดความ เปลี่ยนแปลงแนนอน”


122 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

หมด ยุ ค ที่ ผู น ำ องค ก ร ปกครอง ท อ ง ถิ่ น จะ เป น ฮีโรแตเพียงผูเดียว ทุกอยางขึ้นอยูกับจิตสำนึกของคน ใน ชุมชนวา พรอม แลว หรือ ไม ที่ จะ กาว ไป ขาง หนา เพื่อ พัฒนา ถิ่นฐาน บาน เกิด ไป ดวย กัน และ นี่ คือ บท สรุป ปลายทางที่ไดจากการมาเยือนเมืองเกาเลี้ยว


ÍÒ·Ôμ हÁÕ 123


124 à¡ŒÒàÅÕéÂÇ

ขอมูลตำบลเกาเลีย้ ว ตำบล เกาเลี้ยว มี ลักษณะ เปน ที่ราบ ตั้ง อยู ริม ฝง แม น้ำ ปง ซึ่งไหลผานจากทิศเหนือสูทิศใต พื้นที่ริมฝงแมน้ำคอนขาง อุดมสมบูรณ ลักษณะดินทรายรวนเหมาะแกการปลูกไมผล พื้นที่ ราบ ตอน กลาง เหมาะ สม กับ การ ทำ นา และ ปลูก พืชไร เชน ออย มะลิ ฝรั่ง ลักษณะชุมชนทองถิ่นเปนสังคมเกษตรกรรมกึ่งเมือง กึ่งชนบท แบงเปนพื้นที่เกษตรกรรม 80 เปอรเซ็นต อีก 20 เปอรเซ็นต เปนพืน้ ทีเศรษฐกิ ่ จชุมชน ยานการคา และสถานที่ ราชการ มีตลาดเกาเลี้ยวเปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจ สินคา ที่ ซื้อ ขาย กัน สวนใหญ เปน สินคา ประเภท อาหาร และ เครื่อง อุปโภคบริโภคในชีวิตประจำวัน มีประชาชนตำบลใกลเคียง แวะเวียนมาจับจายอยูเสมอ


ÍÒ·Ôμ हÁÕ 125

เทศบาลตำบลเกาเลีย้ ว ไดรับการยกฐานะขึน้ จากสุขาภิบาล เปนเทศบาลตำบลเมื่อป 2542 ประกอบไปดวยเขตการปกครอง 5 หมูบาน ไดแก หมูที่ 1 ชุมชนเกาเลี้ยว หมูที ่ 2 ชุมชนเกาเลี้ยว หมู ที่ 3 บานคลองหัวดุม หมูที ่ 4 บานแหลมยาง และหมูที ่ 5 บานหาด เสลา จำนวนประชากร 5,952 คน 2,059 ครัวเรือน พื้นที่โดยรวม ประมาณ 17.7 ตารางกิโลเมตร หรือราว 1 หมื่นกวาไร การบริหารจัดการตำบลเกาเลี้ยวใชแนวคิดการบริหารแบบ มีสวนรวม โดยยึดแผนพัฒนา แกไขปญหาแบบเชิงรุก ที่สำคัญคือ นโยบาย ททท. (ทำทันที) ซึ่งเปนหนึ่งในแผนบริหารจัดการชุมชน สุขภาวะ ภายใตการทำงานรวมกันขององคกรในพื้นที่ 3 ภาคสวน หลัก ไดแก เทศบาลตำบลเกาเลี้ยว องคกรทองที่ (กำนัน/ผูใหญ บาน) องคกรภาคประชาชน (แกนนำกลุม/แหลงเรียนรู) และยังมี หนวยงานภายนอกใหการสนับสนุน ทั้งวัด โรงเรียน โรงพยาบาล เกาเลี้ยว สถานีตำรวจภูธร สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเกาเลี้ยว สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอเกาเลี้ยว เปนตน เพื่อใหกลไกชุมชน ทองถิ่นสามารถขับเคลื่อนได


à¾Å§ÈÑ¡ÂÀÒ¾ªØÁª¹ คำรอง-ทำนอง วสุ หาวหาญ เรียบเรียงดนตรี ศราวุช ทุงขีเหล็ ้ ก ขับรองโดย ฟางแกว พิชญาภา, ศราวุธ ทุงขี้เหล็ก, สมชาย ตรุพิมาย

หนึ่งสมองสองมือที่มี รวมเปนหลายความคิดดีๆ ออกมายืนตรงนี้ ทำเพื่อเมืองไทยดวยกัน ไมวาจะอยูที ไ่ หน เราเปนคนไทยเปย มความสามารถ เปน กำลัง ของ ประเทศ ชาติ พัฒนา บาน เมือง กาว ไกล เปนคนเหนือ อีสาน กลางใต ก็รักเมืองไทยดวยกันทัง้ นัน้ (สรอย) หากเรารวมมือรวมใจ ทำสิ่งไหนก็ไมเกินแรง โครงสราง ชุมชน แข็งแกรง เพราะ เรา รวม แรง รวม มือ สรางสรรค จัดการทรัพยากรชวยกัน ดวยมุมมองที่เรา แบงปน ใชความคิดสรางสรรคใหเต็มศักยภาพ อยูชนบทหางไกล ทำนาทำไร พอเพียงเลี้ยงตัว ใชชุมชนดูแลครอบครัว ใชครอบครัวดูแลชุมชน ปูพืน้ ฐาน จากหมูบานตำบล สรางแปลงเมืองไทยใหนาอยูดังฝน


ชุมชนทองถิน่ บานเรา เรียนรูร วมกันเพือ่ การพัฒนา ชุมชนทองถิ่นบานเรา เรียนรูร วมกันชวยกันพัฒนา อยูตามเมืองใหญเมืองหลวง หัวใจทุกดวงซอนไฟ มุงมั่น กาวออกมาจากรั้วที่กั้นจับมือกันทำเพื่อเมืองไทย คนละมือสองมือคือน้ำใจ โอบกอดชุมชนไวดวยความสุข ยืนนาน หนึ่งสมองสองมือที่มี รวมเปนหลายความคิดดีๆ ออกมายืนตรงนี้ ทำเพื่อเมืองไทยดวยกัน หาก เรา รวม มือ รวมใจ ทำ สิ่ง ไหน ก็ ไม เกิน แรง โครงสราง ชุมชน แข็งแกรง เพราะ เรา รวม แรง รวม มือ สรางสรรค จัดการทรัพยากรชวยกัน ดวยมุมมองที่เรา แบงปน ใชความคิดสรางสรรคใหเต็มศักยภาพ ดวย มุม มอง ที่ เรา แบง ปน ใช ความ คิด สรางสรรค ให เต็ม ศักยภาพ...

เขาไปฟงและดาวนโหลดเพลงศักยภาพชุมชนไดที่ www.punsook.org



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.