หัวข้อที่ ๖. พิกัดอัตราศุลกากร

Page 1

หัวขอที่ ๖. พิกัดอัตราศุลกากร พิกัดอัตราศุลกากร หรือที่เรียกกันทั่วไปวา ภาษีศุลกากร หรือ ภาษีนําเขา นั้น เปนกฎหมายที่ออกโดยอาศัยอํานาจ ตามพระราชบัญญัติศุลกากร พุทธศักราช ๒๔๖๙ และเนื่องจากพิกัดอัตราศุลกากรเปนกฎหมายเกี่ยวดวยการเงิน ที่มีผลตอ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ การออกและการแกไขแตละครั้ง ก็ตองใหทันตอสถานการณทางเศรษฐกิจระหวาง ประเทศ ซึ่งมักจะเปนกรณีที่มีความจําเปนรีบดวน จึงสามารถออกเปนพระราชกําหนดได กฎหมายนี้มีที่มาและสาระสําคัญ เกี่ยวกับจักรยานดังตอไปนี้ พระราชบัญญัติศุลกากร พุทธศักราช ๒๔๖๙ ไดบัญญัติหลักการเริ่มตนในการเก็บภาษีไวดังนี้ มาตรา ๑๐ บรรดาคาภาษีนั้น ใหเก็บตามบทพระราชบัญญัตินี้และตามกฎหมายวาดวยพิกัดอัตราศุลกากร การเสียคา ภาษีใหเสียแกพนักงานเจาหนาที่ในเวลาที่ออกใบขนสินคาให ฯ

๖.๑. พระราชกําหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ มี ๓ มาตราที่เกี่ยวของกับจักรยาน คือ มาตรา ๑๐ กลาวถึงการใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง มีอํานาจประกาศยกเวนหรือลดหยอนอากร ศุลกากร แกของบางประเภทหรือบางชนิด ซึ่งบุคคลที่มีสิทธิไดรับยกเวนหรือลดหยอนอากรนําเขามาเพื่อใชเอง หรือของ บางประเภทหรือบางชนิดที่นําเขามาเพื่อใชประโยชนที่กําหนดไวโดยเฉพาะ มาตรา ๑๒ กลาวถึงการใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง มีอํานาจประกาศลดอัตราอากรสําหรับของใด ๆ จากอัตราที่กําหนดไวในพิกัดอัตราศุลกากร หรือยกเวนอากรสําหรับของใด ๆ หรือเรียกเก็บอากรพิเศษเพิ่มขึ้นสําหรับของ ใด ๆ ไมเกินรอยละหาสิบของอัตราอากรที่กําหนดไวในพิกัดอัตราศุลกากรสําหรับของนั้น ทั้งนี้ ตองเปนไปเพื่อประโยชน แกการเศรษฐกิจของประเทศ หรือเพื่อความผาสุกของประชาชน หรือเพื่อความมั่นคงของประเทศ มาตรา ๑๔ กลาวถึงการใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง มีอํานาจประกาศยกเวน ลดหรือเพิ่มอากรจาก อัตราที่กําหนดไวในพิกัดอัตราศุลกากร หรือประกาศเรียกเก็บอากรตามอัตราที่กําหนดไวในพิกัดอัตราศุลกากร สําหรับ ของที่มีถิ่นกําเนิดจากประเทศที่รวมลงนามหรือลักษณะตามที่ระบุไวในสัญญาหรือความตกลงดังกลาว ทั้งนี้ ตองเปนไป เพื่อการปฏิบัติตามขอผูกพันตามสัญญา หรือความตกลงระหวางประเทศ ที่เปนประโยชนแกการเศรษฐกิจของประเทศ

๖.๒. หลักเกณฑของรถจักรยานเสือภูเขาชนิดที่ใชแขงขัน ที่จะไดรับการลดอัตราอากรศุลกากร เนื่องจาก สหพันธจักรยานโลก (U.C.I.) เปนตนทางในการกําหนดกฎกติกาการแขงขันจักรยานเสือภูเขา และ สมาคมจักรยานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมป คือหนวยงานที่ติดตอโดยตรงกับ U.C.I. กรมศุลกากรจึงถือเอา หลักเกณฑทางดานลักษณะของจักรยานเสือภูเขาชนิดที่ใชแขงขัน (ซึ่งเสียภาษีศุลกากรนอยกวาปกติ) ตามหนังสือที่ ส. จ.ท.๕๘๖/๒๕๔๔ ลงวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๔๔ ซึ่งสมาคมจักรยานแหงประเทศไทยฯ สงไปให ซึ่งมีการกําหนดลักษณะไว ๕ ขอ คือ ๑. ตัวถัง ซึ่งผลิตจากโลหะหรือวัสดุที่มีคุณภาพสูง ดังนี้ ๑.๑. ๑.๒. ๑.๓. ๑.๔. ๑.๕.

อลูมิเนียม อัลลอย โครโมลี ไตตาเนียม คารบอน ไฟเบอร คีเรียม - ๕๔ -


๒. แฮนเดิลบาร จะตองเปนแบบแฮนดตรง หรือมีทรงโคงความกวางไมเกิน ๕๐ เซนติเมตร ผลิตจาก วัสดุที่มีคุณภาพแบบเดียวกับตัวถัง ๓. ขับเคลื่อนดวยโซ ๔. มีระบบเฟองทด ตั้งแต ๒๑ สปด (จานหนา ๓ เฟอง จานหลัง ๗ เฟอง) ขึ้นไป พรอมทั้งระบบ เปลี่ยนเกียร ๕. ขนาดของวงลอ ๒๖ นิ้ว

๖.๓. ภาค ๒ “พิกัดอัตราอากรขาเขา” (เฉพาะรายการที่เกี่ยวกับจักรยาน) ใน พ.ร.ก.พิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ นั้น ภาค ๒ เปนเรื่องของ “พิกัดอัตราอากรขาเขา” สําหรับอากร ศุลกากรของสินคาเกี่ยวกับจักรยานนั้น มีอยูในบัญชีทายประกาศกระทรวงการคลัง จํานวน ๒ ฉบับๆ แรก คือ ประกาศ กระทรวงการคลังเรื่อง การลดอัตราอากรและการยกเวนอากรศุลกากร ตามมาตรา ๑๒ แหง พ.ร.ก.พิกัดฯ ซึ่งเปนอัตรา อากรขาเขาสําหรับของที่มีถิ่นกําเนิดนอกประเทศภาคีของอาเซียน ฉบับที่ ๒ คือ ประกาศกระทรวงการคลังเรื่อง การ ยกเวนอากรและการลดอัตราอากรศุลกากรสําหรับเขตการคาเสรีอาเซียน ( อต.๒๐ ) ตามมาตรา ๑๔ แหง พ.ร.ก.พิกัดฯ ทั้ง ๒ ฉบับ ลงวันที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ ในรายงานฉบับนี้ไดคัดรายการของเฉพาะที่เกี่ยวกับจักรยานมารวมไวใน ที่เดียวกันแลว ดังตารางตอไปนี้ ๖.๓.๑. บัญชีทายประกาศกระทรวงการคลัง เฉพาะรายการเกี่ยวกับจักรยาน

- ๕๕ -


รหัสอางอิง CEPT 4011.50.000 4012.19.200 4012.20.200 4013.20.000 4015.19.010 4203.10.001 4203.21.000 7315.11.009 8712.00.010 8712.00.091 8712.00.092 8713.10.000 8713.90.000 8714.20.000 8714.91.010 8714.91.090 8714.92.010 8714.92.090 8714.93.010 8714.93.090 8714.94.010 8714.94.090 8714.95.010 8714.95.090 8714.96.010 8714.96.090 8714.99.010 8714.99.090

บัญชีทายประกาศกระทรวงการคลัง เฉพาะรายการเกี่ยวกับจักรยาน อัตราตามราคารอยละ ตั้งแตวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2546 ... ภาค 2 .. พิกัดอัตราอากรขาเขา 2547 2548 - ยางนอกชนิดอัดลม ที่เปนของใหม ชนิดที่ใชกับรถจักรยาน 20 10 - - - ยางนอกที่หลอดอกใหม ชนิดที่ใชกับรถจักรยาน 20 10 - - - ยางนอกชนิดอัดลมที่ใชแลว ชนิดที่ใชกับรถจักรยาน 20 10 - ยางใน ชนิดที่ใชกับรถจักรยาน 20 10 - - ถุงมือสําหรับเลนกีฬา ทําดวยยางวัลแคไนซ นอกจากยางแข็ง 10 10 - เสื้อแจกเก็ตทําดวยหนังฟอกหรือหนังอัด 40 40 - - ถุงมือที่ออกแบบเปนพิเศษสําหรับใชในการกีฬาทําดวยหนังฟอก ฯ 10 10 - - โซแบบโรลเลอร โซขับเคลื่อนรถจักรยาน 15 10 รถจักรยานสองลอ เฉพาะจักรยานชนิดที่ใชแขงขัน 1 1 รถสามลอ รถสามลอสงของ ที่ไมขับเคลื่อนดวยมอเตอร 30 30 รถจักรยานสองลอ รถจักรยานที่มีอานขี่ได 2-3 คน (แทนเดม) และอื่น ๆ 30 30 - รถสําหรับคนพิการ ไมไดขับเคลื่อนทางกล ยกเวน ยกเวน - รถสําหรับคนพิการ อื่น ๆ ยกเวน ยกเวน - สวนประกอบและอุปกรณประกอบ ฯ ของรถสําหรับคนพิการ ยกเวน ยกเวน - - โครง ตะเกียบรถ และ ฯ ที่ใชกับรถจักรยานชนิดที่ใชแขงขัน 1 1 - - โครง ตะเกียบรถ และสวนประกอบ ฯ ของจักรยานอื่น ๆ 25 10 - - วงลอและซี่ลอ ที่ใชกับรถจักรยานชนิดที่ใชแขงขัน 1 1 - - วงลอและซี่ลอ ของจักรยานอื่น ๆ 25 10 - - ดุมลอ และลอซี่เฟองแบบฟรีวีล ที่ใชกับรถจักรยานชนิดที่ใชแขงขัน 1 1 - - ดุมลอ และลอซี่เฟองแบบฟรีวีล ของรถจักรยานอื่น ๆ 25 10 - - เบรกรวมถึงที่ครอบเบรกดุมลอ ฯ ที่ใชกับรถจักรยานชนิดที่ใชแขงขัน 1 1 - - เบรกรวมถึงที่ครอบเบรกดุมลอและเบรกดุมลอฯ ของรถจักรยานอื่นๆ 25 10 - - อานรถ ที่ใชกับรถจักรยานชนิดที่ใชแขงขัน 1 1 - - อานรถ ของรถจักรยานอื่น ๆ 25 10 - - คันเหยียบ เฟองขอเหวี่ยง และ ฯ ที่ใชกับรถจักรยานชนิดที่ใชแขงขัน 1 1 - - คันเหยียบ เฟองขอเหวี่ยง และสวนประกอบ ฯ ของรถจักรยานอื่น ๆ 25 10 - - ชิ้นสวนอื่น ๆ ที่ใชกับรถจักรยานชนิดที่ใชแขงขัน 1 1 - - ชิ้นสวนอื่น ๆ ของรถจักรยานอื่น ๆ 25 10

อัตราตามสภาพ อาเซียน หนวย 5 เสน 5 เสน 5 เสน 5 กิโลกรัม 5 5 5 5 5 5 5 ยกเวน ยกเวน ยกเวน 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 -

๖.๔. การนําจักรยานเขามาในราชอาณาจักรชั่วคราว มาตรา ๑๐ แหง พ.ร.ก.พิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ นั้น กลาวถึงการยกเวนหรือลดหยอนอากรศุลกากร แกของบางประเภทหรือบางชนิด ซึ่งบุคคลที่มีสิทธิไดรับยกเวนหรือลดหยอนอากรนําเขามาเพื่อใชเอง อันเปนที่มาแหง บัญชีพิกัดอัตราศุลกากร ภาค ๔ ที่กลาวถึง “ของที่ไดรับยกเวนอากร” พิธีการศุลกากรที่นาจะเกี่ยวของกับ “รถจักรยาน” ไดกลาวไวในประเภทที่ ๓ (ค) โดยมีหลักการวา รถสําหรับเดินบนถนน เรือ และอากาศยาน บรรดาที่เจาของนําเขามา - ๕๖ -


พรอมกับตน หรือนําเขามาเปนการชั่วคราว และจะสงกลับออกไปภายในไมเกินหกเดือน นับตั้งแตวันที่นําเขามานั้น มี สิทธิไดรับยกเวนอากรศุลกากร เนื่องจากกรมศุลกากรไดกําหนดพิธีการศุลกากรไวแตเพียง “รถยนตร และรถจักรยานยนตร” การปฏิบัติพิธีการ เกี่ยวกับการนํา “รถจักรยาน” เขามาในราชอาณาจักรชั่วคราว ตามบัญชีพิกัดฯ ภาค ๔ ประเภทที่ ๓ (ค) แหง พ.ร.ก.พิกัด อัตราศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ จึงตองปฏิบัติตามพิธีการศุลกากรสําหรับ “รถจักรยานยนตร” โดยอนุโลม กรณีที่นํา “รถจักรยาน” เขามาเพื่อการเดินทางทองเที่ยวนั้น ไมตองขออนุญาตจากกระทรวงพาณิชย แตตองขอ อนุญาตจากสํานักงานตรวจคนเขาเมือง โดยทั่วไปจะไดรับอนุญาตใหอยูในประเทศไดประมาณ ๓๐ วัน (ไมเกิน ๖๐ วัน) ขั้นตอนตอไปจึงจะเขาสูพิธีการศุลกากร ๖.๔.๑.

การนําเขาทางสนง.ศุลกากรนําเขาทาเรือกรุงเทพ สนง.ศุลกากรกรุงเทพ และสนง.ศุลกากรทา อากาศยานกรุงเทพ กรมศุลกากรไดกําหนดหลักเกณฑการประกันและการค้ําประกัน สําหรับรถจักรยานยนตรที่นักทองเที่ยวชาว ตางประเทศนําเขาวา ใหค้ําประกันตนเอง(ไมตองวางเงิน)ได ดังนั้น “รถจักรยาน” จึงอยูภายใตหลักเกณฑดังกลาวโดย อนุโลม และสําหรับรถจักรยานนั้นยังไมเคยมีปญหาวา มีความยุงยากในการนําเขา หรือนําเขามาแลวไมนําออกไป ในทาง ปฏิบัติจึงไมตองทําการค้ําประกันตนเอง ๖.๔.๒. การนําเขาทางสนง.ศุลกากรอื่น และดานศุลกากรสวนภูมิภาค ใหวางประกันดวยเงินสด หรือหนังสือค้ําประกันของธนาคาร หรือบุคคล ในกรณีที่เห็นวาผูนําของเขาไมสามารถจะ หาประกันดังกลาวไดจริงๆ ก็ใหค้ําประกันตนเองได แตในทางปฏิบัติสําหรับรถจักรยานยนตร ใหค้ําประกันตนเอง(ไมตอง วางเงิน)ได สวนรถจักรยานไมตองทําการค้ําประกันตนเอง ๖.๔.๓. การกําหนดเงินประกัน และวงเงินค้ําประกัน การกําหนดเงินประกัน และวงเงินค้ําประกัน ใหกําหนดโดยถือตามราคาบวกคาภาษีอากรทุกประเภทของรถที่ นําเขาเปนยอดเงินประกัน โดยใหปดเศษขึ้นเปนเลขกลม ๖.๔.๔. การกําหนดระยะเวลาในสัญญาประกัน และการตออายุสัญญาประกัน ในการทําสัญญาประกัน ใหกําหนดระยะเวลาไมเกิน ๒ เดือน หากรายใดขอทําสัญญาประกันเกิน ๒ เดือน แตไม เกิน ๖ เดือน จะตองแสดงเหตุผลพิเศษใหเปนที่พอใจ แตในทางปฏิบัติจะกําหนดระยะเวลาเพียงเทาที่สํานักงานตรวจคน เขาเมืองอนุญาตใหอยูในราชอาณาจักรได

๖.๕. การนําเขามาหรือสงออกไปซึ่งจักรยาน เพื่อบริจาคเปนการสาธารณกุศล ในมาตรา ๑๐ แหง พ.ร.ก.พิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ นั้น กลาวถึงการยกเวนหรือลดหยอนอากรศุลกากร แก ของบางประเภทหรือบางชนิด หรือของบางประเภทหรือบางชนิด ที่นําเขามาเพื่อใชประโยชนที่กําหนดไวโดยเฉพาะ อัน เปนที่มาของประกาศกรมศุลกากร ๒ ฉบับ คือ ๖.๕.๑.

ฉบับที่ ๕๘/๒๕๔๔ เรื่อง หลักเกณฑและเงื่อนไขสําหรับของตามภาค ๔ ประเภทที่ ๑๑

๖.๕.๑.๑. นําเขามาหรือสงออกไป เพื่อบริจาคเปนการสาธารณกุศลแกประชาชน การยกเวนอากรสําหรับ “รถจักรยาน” ที่นําเขามา หรือสงออกไป เพื่อบริจาคเปนการสาธารณกุศลแกประชาชน โดยผานสวนราชการหรือองคการสาธารณกุศล ตามภาค ๔ ประเภทที่ ๑๑ แหง พรบ.แกไขเพิ่มเติม พ.ร.ก.พิกัดอัตรา ศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ (ฉบับที่ ๕ ) พ.ศ. ๒๕๔๓ มีหลักเกณฑและเงื่อนไขดังตอไปนี้ ๑. ตองนําเขาหรือสงออกในนามของสวนราชการ หรือองคการสาธารณกุศลที่เปนองคการหรือสถาน สาธารณกุศลตามมาตรา ๔๗ (๗)(ข) แหงประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔)(ข) แหงพระราชกฤษฎีกา ออกตามความใน ประมวลรัษฎากร วาดวยการยกเวนภาษีมูลคาเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ - ๕๗ -


๒. มีหลักฐานของผูบริจาคเปนลายลักษณอักษร แสดงความจํานงมอบใหแกสวนราชการ หรือองคการ สาธารณกุศลนั้น เพื่อนําของดังกลาวไปบริจาคแกประชาชนตอไป โดยไมมีเงื่อนไขและขอผูกพันใดๆ ทั้งนี้ ผูบริจาคตอง แสดงความจํานงในหลักฐานดังกลาวไวกอนวันที่นําของเขามาหรือสงออกไป ๓. ถาบริจาคผานสวนราชการ สวนราชการนั้น ตองมีหนาที่ในการดําเนินงานเพื่อชวยเหลือหรือการ บรรเทาทุกขแกประชาชน ถาบริจาคผานองคการสาธารณกุศล องคการสาธารณกุศลนั้นตองนําไปชวยเหลือ หรือบรรเทา ทุกขแกประชาชนตามที่ระบุไวในวัตถุประสงคของการจัดตั้งองคการสาธารณกุศล ๔. ตองไมเปน “รถจักรยาน” ที่จัดซื้อโดยใชเงินของสวนราชการ หรือองคการสาธารณกุศล หรือเงินที่มี ผูมอบให ๖.๕.๑.๒. นําเขามาเพื่อใหแกสวนราชการหรือองคการสาธารณกุศล การยกเวนอากรสําหรับ “รถจักรยาน” ที่นําเขามาเพื่อใหแกสวนราชการหรือองคการสาธารณกุศล ตามภาค ๔ ประเภทที่ ๑๑ แหง พรบ.แกไขเพิ่มเติม พ.ร.ก.พิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ (ฉบับที่ ๕ ) พ.ศ. ๒๕๔๓ มีหลักเกณฑ และเงื่อนไขดังตอไปนี้ ๑. ตองนําเขาในนามของสวนราชการ หรือองคการสาธารณกุศลที่เปนองคการหรือสถานสาธารณกุศล ตามมาตรา ๔๗ (๗)(ข) แหงประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔)(ข) แหงพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวล รัษฎากร วาดวยการยกเวนภาษีมูลคาเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ๒. เปนของที่นําไปใชตามหนาที่ของสวนราชการ หรือนําไปใชประโยชนตามวัตถุประสงคในการจัดตั้ง องคการสาธารณกุศล ๓. มีหลักฐานของผูใหเปนลายลักษณอักษรแสดงวา ไดใหของแกสวนราชการ หรือองคการสาธารณ กุศล โดยไมมีเงื่อนไขและขอผูกพันใดๆ ทั้งนี้ ผูใหตองแสดงความจํานงในหลักฐานดังกลาวไวกอนวันที่นําของเขามาใน ราชอาณาจักร ๔. ตองไมเปน “รถจักรยาน” ที่จัดซื้อโดยใชเงินของสวนราชการ หรือองคการสาธารณกุศล หรือเงินที่มี ผูมอบให ๖.๕.๒.

ฉบับที่ ๕๙/๒๕๔๔, ระเบียบปฏิบัติสําหรับการขอยกเวนอากรของตามภาค ๔ ประเภทที่ ๑๑

๖.๕.๒.๑. การขอยกเวนอากร ใหสวนราชการหรือองคการสาธารณกุศล เปนผูยื่นขอยกเวน อากรตอกรมศุลกากร กอนนํา “รถจักรยาน” ออกจากอารักขาศุลกากร ๑. กรณีสวนราชการเปนผูยื่นขอยกเวนอากร ตองเปนสวนราชการตั้งแตระดับกรมหรือเทียบเทาขึ้นไป และผูลงนามในหนังสือขอยกเวนอากร ตองเปนหัวหนาสวนราชการตั้งแตระดับกรมหรือเทียบเทาขึ้นไป หรือผูที่ไดรับ มอบหมาย ๒. กรณีองคการสาธารณกุศลเปนผูยื่นขอยกเวนอากร ตองเปนองคการหรือสถานสาธารณกุศลตาม มาตรา ๔๗ (๗) (ข) แหงประมวลรัษฎากร และตามมาตรา ๓ (๔) (ข) แหงพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวล รัษฎากร วาดวยการยกเวนภาษีมูลคาเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ และผูลงนามในหนังสือขอยกเวนอากรตองเปนผูมี อํานาจลงนามตามตราสารการจัดตั้งองคการหรือสถานสาธารณกุศลนั้น ๖.๕.๒.๒. สวนราชการ องคการสาธารณกุศล ตองยื่นหนังสือขอยกเวนอากรและเอกสาร ดังนี้ ๑. หลักฐานแสดงความจํานงบริจาคหรือมอบให เปนลายลักษณอักษรที่เปนตนฉบับ ๒. หนังสือตอบรับการบริจาคหรือการให ๓. เอกสารการนําเขา เชน เอกสารสําแดงมูลคาของ “รถจักรยาน” (Invoice) รายละเอียดของ “รถจักรยาน” ใบตราสงสินคา [ BIL (ทางทาเรือ) หรือ Air Way Bill (ทางทาอากาศยาน) ]

- ๕๘ -


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.