ÃÇÁ 16 àÃ×èͧ µŒ¹¡Óà¹Ô´ÊÔ觢ͧ·Õè¤Ø³ÍÒ¨ÂѧäÁ‹ÃÙŒÁÒ¡‹Í¹ !!
สิเมื่งอแรก งไทย ใน
ปก
ชุด สิ่งของแรก
เรื่อ
ง-ภ
าพ : ร
ัฐศักดิ์
สิเมื่งอแรก งไทย ใน
เรื่อง
-ภ
ชุด สิ่งของแรก
าพ
:
ร ัฐ
ศัก
ดิ์
ก า ร ศึ ก ษ า คื อ อ า วุ ธ อั น ท ร ง พลังที่สุดที่คุณสามารถใช้เพื่อ เปลี่ยนโลก
Nelson Mandela
ประธานาธิบดีแอฟริกาใต้ ผู้ต่อต้านการเหยียดสีผิว
CONTENTS สารบัญ
1 2 3 4
หน้า 10
แรกธนบัตรไทย
หน้า 3
เรือบรรทุกเครื่องบินลำ�แรก
หน้า 12
แท็กซี่คันแรกของไทย
หน้า 5
รถยนต์พระที่นั่งคันแรก
หน้า 14
รถเมล์ที่วิ่งเป็นสายแรก
หน้า 7
ธงไทยผืนแรก
หน้า 9
หน้า 16
เครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยเครื่องแรก
คอมพิวเตอร์เครื่องแรก
5 6 7 8
9
13 10 14 11 15 12 16 หน้า 18
ตุ๊กตุ๊กคันแรกของไทย
หน้า 27
ATM แรก ของไทย
หน้า 21
หนังสือพิมพ์ฉบับแรก
หน้า 29
หนังสามมิติแรกของไทย
หน้า 23
ไม้ขีดไฟแรกของไทย
หน้า 31
บันไดเลื่อนแรกของไทย
หน้า 25
น้ำ�อัดลมแรก
หน้า 33
หนังสือการ์ตูนเล่มแรกของไทย
01
ที่มา : หนังสือ ADAY ฉบับ 77
เรือหลวงจักรีนฤเบศร
8
เรือบรรทุกเครื่องบิน การรบด้วยเรือเป็นเรื่องเก่ามาก นับกันตั้งแต่ยุคโจรสลัด แต่ก็ มีการพัฒนาการทางด้านวัตถุเช่นเรือ พัฒนากันยิ่งใหญ่ เป็นเรือรบ และเรื อ รบที่ ยิ่ ง ใหญ่ แ ละมี ชื่ อ เสี ย งในประเทศไทยคงหนี ไ ม่ พ้นเรือหลวงจักรีนฤเบศร ซึ่งเป็นเรือรบแรกและหนึ่งเดียวที่เป็นเรือ บรรทุกเครื่องบินของไทย ซึ่งมีที่มาจาก ปี พ.ศ. 2532 ได้เกิดพายุ ไต้ฝุ่นเกย์ กองทัพเรือได้รับมอบหมายให้ทำ�หน้าที่ค้นหาและช่วยเหลือผู้ ประสบภัยทางทะเล แต่ประสบปัญหาคือเรือขนาดใหญ่ที่สุดที่กองทัพ เรือมีอยู่ขณะนั้นไม่สามารถทนสภาพทะเลได้้กองทัพเรือจึงว่าจ้างสร้าง เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์กับประเทศสเปน และได้รับมอบเรือเมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2540
เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อเรือหลวง ลำ�นี้ว่า เรือหลวงจักรีนฤเบศร แปลว่า ผู้เป็นใหญ่แห่งราชวงศ์จักรี
3
02
2 ที่มา : หอจดหมายเหตุแห่งชาติ
ราชยานยนต์คันแรกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
4
รถยนต์พระที่นั่งคันแรก รถยนต์คันแรกที่เข้ามาในไทยนั้นไม่มีการบันทึกเป็นที่แน่นอนแต่ ว่ากันว่าฝรั่งเป็นคนนำ�เข้ามา แต่มีการบันทึกในรัชกาลที่ 5 ว่า “รถคันแรก ในเมืองไทย รูปร่างคล้ายรถบดถนน ล้อยางตัน หลังคาเป็นปะรำ� มีที่นั่ง สองแถว ใช้น้ำ�มันปิโตรเลียมไฟหน้าลักษณะคล้ายเตาฟู่” และรถยนต์ได้รับ ความนิยมอย่างมากในหมู่ขุนนาง และผู้มีหน้ามีตาในไทย และในรัชกาลที่ 5 ได้มีการถวายรถพระที่นั่งคันแรก โดยกรมหลวง ราชบุรีดิเรกฤทธิ์ทรงประชวร ได้สั่งซื้อจากฝรั่งเศษ เป็นรถ เดมเลอร์เบนซ์ รุ่น 28 HP 4 สูบ 35 แรงม้า ในปี พ.ศ. ๒๔๔๔ และต่อมา เดมเลอร์ก็ได้ เปลี่ยนชื่อเป็น เมอร์เซเดสเบนช์ นั้นเอง
เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย ปัจจุบันรถยนต์พระที่นั่งคือ ยี่ห้อมายบัค 62 สีครีม เลขทะเบียน ร.ย.ล.1 ทรงใช้เป็นรถยนต์ พระที่นั่งทรงในปัจจุบัน โดยได้จัดซื้อมาใช้ แทนรถยนต์พระที่นั่ง โรลส์-รอยซ์ แฟนทอม ซิกซ์ (VI) ที่ใช้เป็นรถยนต์พระที่นั่งทรงมานานถึง 30 ปี
5
03
3 ที่มา : หอจดหมายเหตุแห่งชาติ
ธงชาติไทยในสงครามโลกครั้งที่ 1
6
ธงไทยผืนแรก แต่เดิมการใช้ธง เป็นการใช้เพื่อให้รู้ว่าทัพไหนฝ่ายไหน โดยประ เทศไทยแต่เดิมใช้ธงแดงล้วน โดยต้นกำ�เนิดมาจาก ในรัชสมัยสมเด็จพระ นารายณ์มหาราช แห่งกรุงศรีอยุธยา เรือฝรั่งเศษมาไทย เมื่อถึงไทยฝรั่ง เศษได้ชัดธงชาติตัวเองขึ้น ประเทศไทยก็ยิงสลุตตามธรรมเนียม แต่เมื่อ ไทยชักธงขึ้นบ้าง ฝรั่งเศษไม่ยิงสลุต เหตุผลคือธงที่ชักขึ้นเป็นธงของ ฮอลันดา ซึ่งเป็นศัตรูกับฝรั่งเศษอยู่ ทาง ไทยจึงใช้ผ้าแดงชักขึ้นแทน เรือฝรั่งเศษ จึงยิงสลุตให้ นับเป็นครั้งแรกที่ไทยมีธง ของประเทศตัวเอง ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 1 ทางไทยได้ ใช้จักรมากวางกลางธงแดง และเปลี่ยนมาเรื่อยๆ จนถึงธงไตรรงค์ ซึ่งใช้ครั้งแรกในปี พ.ศ.2460
เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย ทางประเทศไทยได้เปลี่ยนธงมาแล้วทั้งสิ้น 7 ครั้ง และธงไตรรงค์ มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยม ผืนผ้า กว้าง 6 ส่วน ยาว 9 ส่วน ด้านกว้างแบ่งเป็น 5 แถบตลอดความยาวของผืนธง ตรง กลางเป็นแถบสีน้ำ�เงินแก่กว้าง 2 ส่วน ต่อจากแถบสีน้ำ�เงินแก่ออกไปทั้ง 2 ข้างเป็นแถบสีขาว กว้างข้างละ 1 ส่วน ต่อจากแถบสีขาวออกไปทั้ง 2 ข้างเป็นแถบสีแดงกว้างข้างละ 1 ส่วน
7
04
4 ที่มา : หอจดหมายเหตุแห่งชาติ
คอมพิวเตอร์ IBM1620
8
คอมพิวเตอร์เครื่องแรก คอมพิวเตอร์ในตอนนี้แทบจะเป็นวัตถุติดตัวแล้ว งานแทบทุกประ เภทในปัจจุบันนี้ ต้องใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องช่วย สำ�หรับคอมฯเครื่องแรกของไทยมีไว้สำ�หรับการทำ�งานด้านสถิติ โดยเครื่องแรกเป็นคอมยี่ห้อ IBM รุ่น 1620 ในปี พ.ศ.2506โดยเป็นของ ศาสตราจารย์ บัณฑิต กันตะบุตร ซึ่งตอนนั้นเป็นเลขาธิการสำ�นักงานสถิติ แห่งชาติ (สสช.) โดยคอมเครื่องแรกมีราคาประมาณ 2 ล้านบาทกว่าๆ ศาสตราจารย์ บัณฑิต กันตะบุตร ได้รับการยกย่องว่าเป็น พระบิดาแห่งวิชาสถิติ ของไทยกันเลยทีเดียว และนอกจากนั้น ท่านยังเป็นคนบุกเบิกด้านคอมพิวเตอร์ของไทยอีกด้วย
เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย คอมพิวเตอร์เครื่องแรก อยู่ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แต่เครื่องที่สองอยู่ที่สำ�นักงานสถิติ แห่งชาติ โดยเครื่องที่ 2 IBM1401
9
แรกธนบัตรไทย แต่เดิมคนไทยใช้หอยเบี้ย และเปลี่ยนมาเป็นเงินพดด้วย ไปเรื่อย จนถึงเหรียญกษาปณ์ ซึ่งเป็นของมีค่าเพื่อเป็นสื่อการในการแลกเปลี่ยน แต่การใช้กระดาษมาเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนนั้นมาจากไหนล่ะ ธนบัตรเกิดครั้งแรกในปีพ.ศ.2396 เพราะในสมัยนั้นมีการผลิต เงินพดด้วงเลียนแบบขึ้น พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรด ให้ทำ�เงินกระดาษโดยเรียกว่า “หมาย” เป็นกระดาษขาวพิมพ์ด้วยหมึกดำ� มีตราพระราชลัญจกรประจำ�พระองค์เพื่อป้องกันการเลียนแบบ แต่ไม่ได้ รับความนิยม ต่อมาในปี พ.ศ.2417 พระบาทสมเด็จพระจุลจอลเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าให้จัดทำ�เงินกระดาษ เรียกว่า “อัฐกระดาษ” ต่ อ จากนั้ น ธนาคารก็ อ อกบั ต รธนาคาร ออกมาเรียกว่าแบงก์โน้ต แต่ชาวไทยก็ย่อ คำ�เรียกว่าแบงก์จนติดปากมาจนทุกวันนี้
เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย เหตุผลในการออกธนบัตรมาเพื่อใช้ในการเป็นสื่อนั้น มีเพียงเหตุผลเดียวในทุกยุคทุกสมัย เหตุผล คือผลิตเหรียญกษาปณ์ออกมาไม่ทันนั้นเอง
10
05
ที่มา : หอจดหมายเหตุแห่งชาติ
เงินกระดาษหรือแบงก์ต่างยุคต่างสมัย
11
แท็กซี่คันแรกของไทย รถสาย 935 คงเป็นคำ�คลาสสิคอีกคำ�หนึ่งที่เอาไว้เรียกแท๊กซี่ มิเตอร์ (มุกกากมุกละออง) แต่เชื่อได้ว่าคนที่อยู่ในกรุงเทพฯนั้นครั้งหนึ่ง ต้องเคยนั่งแท๊กซี่ และอย่างที่เราเห็นในตอนนี้ ว่าแท๊กซี่วิ่งกันเต็มบ้านเต็ม เมืองเลย แรกเริ่มของแท๊กซี่มาจากไอเดียของนายพลโท พระยาเทพหัสดิน ที่เห็นว่ารถสาธรณะในสมัยนั้นมีไม่เพียงพอต่อประชาชน จึงเอารถยนต์ มาทำ�เป็นรถสาธารณะบ้าง โดยรุ่นแรกนั้นแท๊กซี่เป็นรถยนต์ยี่ห้อ ออสติน ขนาด 7 แรงม้า จำ�นวน 4 คัน เมื่อปีพ.ศ.2466 โดนคนกรุงเทพฯเรียกรถ ประเภทนี้ว่ารถไมล์ ด้วยความที่ว่าคิดค่าโดยสารตามไมล์ และคนขับจะเป็น อดีตทหารในสงครามโลกครั้งที่ 1 กิจการแท๊กซี่จึงเป็น งานหลังปลดเกษียณของทหารนั้นเอง
เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย แต่เดิมแท๊กซี่ไม่ได้เริ่มต้นที่ 35 บาท แต่เริ่มต้นที่ 15 สตางค์ ไมล์ต่อไปก็ 15 สตางค์เช่นกัน
12
06
ที่มา : หนังสือสิ่งแรกในสยาม
รถออสตินที่ใช้เป็นแท๊กซี่ในสมัยก่อน
13
รถเมล์ทีเป็นสายแรก เริ่มต้นของรถเมล์มีการบันทึกเมื่อปี พ.ศ. 2428 ว่า “ประเทศไทย นั้นมีรถเทียมม้าซึ่งเรียกกันว่ารถเมล์วิ่งตามเส้นทางเรือเมล์อยู่ก่อนแล้ว” แต่ให้บริการเพียง 2 ปีก็ต้องปิดตัวลงเพราะว่ามีกิจการรถรางเข้ามาแทน และต่อมานั้นในปี พ.ศ.2450 นายเลิศ เศรษฐบุตรก็ทำ�กิจการรถเมล์ขึ้น มาใหม่โดยวิ่งจากสะพานยศเส ไปยังประตูน้ำ�สระปทุม ซึ่งเป็นเส้นทางแรก ของรถเมล์ แต่เนื่องจากใช้ม้าลากจึงไม่เป็นทีนิยม ต่อมาในปี พ.ศ.2456 รถเมล์ก็ปรับปรุงครั้งใหญ่โดยนำ�รถยนต์ยี่ ห้อฟอร์ดมาใช้แทน โดยตอนต้นนั้นชาวบ้านเรียกรถเมล์ชนิดว่ารถเมล์ขาว นายเลิศ และเมื่อจบจากสงครามโลกครั้ง ที่ 2 รถเมล์เริ่มมีความนิยมมาก จึงมีการ เอารถบรรทุ ก มาปรั บ แต่ ง และใช้ วิ่ ง กั น และพัฒนารูปแบบรถจนเป็นอย่างที่เห็น ในปัจจุบัน
เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย จำ�นวนรถโดยสารสาธารณะในขณะนี้ (พ.ศ.2556) รถเมล์มีจำ�นวนทั้งสิ้น 8,193 คัน คิด เป็น 53% จากรถโดยสารสาธารณะทั้งหมด (ข้อมูลจาก องค์การข่นส่งมวลชนกรุงเทพ)
14
07
ที่มา : หอจดหมายเหตุแห่งชาติ
รถเมล์ขาวนายเลิศ
15
เครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยเครื่องแรก เรื่องของการทำ�เอกสาร ถ้าไม่มีเครื่องพิมพ์แบบในปัจจุบันคง เขียนกันจนมือหงิกกันเลย นับเป็นการลงโทษได้เลย แต่โชคดีเรามีเครื่อง มือช่วยในการพิมพ์คือคอมพิวเตอร์ เก่ากว่านั้นก็คงเป็นเครื่องพิมพ์ดีด ซึ่ ง แต่ เ ดิ ม นั้ น เครื่ อ งพิ ม พ์ ดี ด เป็ น ภาษาอั ง กฤษล้ ว นๆจนกระทั้ ง ปี พ.ศ.2438 นายเอดวิน แมคฟาร์แลนด์ ดัดแปลงเครื่องพิมพ์ดีดภาษา อังกฤษเป็นเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทย และก็ได้โรงงาน Smith Premier ซึ่ง อยู่ที่กรุงนิวยอร์คเป็นผู้ผลิตให้ หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2435 นายเอดวิน แมคฟาร์แลนด์ ได้นำ�เครื่องพิมพ์ดีดดังกล่าวเข้ามาถวายรัชกาลที่ 5 ซึ่ง พระองค์ได้ทรงทดลองพิมพ์ และเป็นที่พอ พระราชหฤทัยอย่างยิ่ง สั่งซื้อเครื่องพิมพ์ ดีดภาษาไทย Smith Premier จำ�นวน 17 เครื่องเข้ามาใช้ในราชการ หลัวจากนั้นก็มีการพัฒนาเครื่อง พิมพ์ดีดมาเรื่อยๆ และเปลี่ยนการพิมพ์ เป็นคอมพิวเตอร์ในเวลาต่อมานั้นเอง
เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย หลังจากการสั่งทำ�เครื่องพิมพ์ดีปรากฏว่า Mcfarland ได้ลืมบรรจุตัวอักษร “ฃ” ( ขอ ขวด ) และ ฅ ลงไปจึงเป็นเหตุให้การเขียนคำ�ว่าคนใช้ ค ควาย แทนที่จะเป็น ฅ ฅน และ ขวด ใช้ ข ไข่ แทน ฃ ฃวดนั้นเอง
16
08
ที่มา : หนังสือ ADAY ฉบับ 77
เครื่องพิมพ์ดีดไทยสมิทพรีเมียร์แบบแป้นพิมพ์ 7 แถว
17
ตุ๊กตุ๊กคันแรกของไทย สองไม่เอา สี่ไม่ใช่ !! สามล้อนี่แหละโอเคสุด ย้อนไปในปี พ.ศ.2476 คุณเลื่อน พงษ์โสภณ คิดเล่นๆ ที่จะ ดัดแปลงรถจักรยานโดยเพิ่มล้อไปอีก 1 แล้วจัดให้มันสมดุล ปรับแต่งจน เข้าที่เข้าทาง สามล้อก็เกิดขึ้นแล้วท่านก็เอาออกไปจดทะเบียนรับจ้าง (ซะ งั้น) กะว่าเอาเด่นเลย ต่อมาในปี พ.ศ. 2503 มีการนำ�รถสามล้อเครื่อง กระบะบรรทุก จากประเทศญี่ปุ่น เข้ามาดัดแปลง เพื่อทดแทน รถสามล้อถีบ ซึ่งถูกห้าม วิ่ง ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยเริ่มจาก รถยี่ห้อไดฮัทสุ รุ่นมิดเจ็ท ดีเค จากญี่ปุ่นเป็นครั้งแรก เป็นจำ�นวน 30 คัน โดยคนไทยในยุคนั้นเรียกกันว่า “สามล้อ เครื่อง” และต่อมาก็เรียกติดปากกันว่าตุ๊ก ตุ๊ก คาดว่าคงได้แรงบันดาลใจชื่อมาจาก เสียงของเจ้ารถคันนี้นั้นเอง
เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย รถตุ๊กตุ๊กในปัจจุบันเป็นของ บริษัท ไทย ตุ๊ก ตุ๊ก มอเตอร์ จำ�กัด ชื่อรุ่น TT 550 SD เครื่องยนต์ isuzuohc เป็นรถหกจังหวะ 248cc
18
09
9 ที่มา : หอจดหมายเหตุแห่งชาติ
รถสามล้อเครื่อง
19
10
ที่มา : หอจดหมายเหตุแห่งชาติ
Bangkok Recorder ฉบับปฐมฤกษ์
20
หนังสือพิมพ์แรกในไทย แต่เดิมหนังสือพิมพ์ มีชื่อเรียกว่าหนังสือข่าว ตามคำ�ในภาษา อังกฤษว่า Newspaper ต่อมาสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้สนใจงาน หนังสือพิมพ์มาก โดยเฉพาะการแพร่เนื้อหาที่อาจทำ�ให้เกิดความเข้าใจผิด ในประชาชานได้ และท่านทรงเรียกว่า หนังสือพิมพ์ เป็นพระองค์แรก ต่างประเทศนั้นหนังสือพิมพ์ได้เจริญไปมากแล้ว แต่ในประเทศไทย ยังไม่มีหนังสือพิมพ์ เพราะว่าไม่มีเครื่องพิมพ์ จนกระทั่งปี พ.ศ.2387 หมอบรัดเลย์ ได้นำ�เครื่องพิมพ์เข้ามา และพิมพ์หนังสือพิมพ์ โดยมีชื่อว่า จดหมายเหตุบางกอก หรือ Bangkok Recorder ซึ่งถือเป็นหนังสือพิมพ์ ฉบับแรกของไทย ส่วนหนังสือพิมพ์ของไทยนั้นมีขี้นมาเรื่อยๆ เช่น สยามไทม์ บางกอกเพรส ไทยรัฐ และ เดลินิวส์ และเป็นข้อมูลข่าวมาจนปัจจุบัน
เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย หนังสือพิมพ์นั้น มีปัญหากับทางรัฐบาลมาต่อเนื่อง เช่นในปี พ.ศ.2410 มีพระบรมราชโองการ ให้ประกาศว่า “หนังสือพิมพ์นั้นเชื่อฟังเอาจริงไม่ได้ ท่านผู้ใดอ่านแล้วอย่าเชื่อฟังเอาเป็นจริง ให้เข้าใจดังประกาศนี้เทอญ” เราอ่านหนังสือพิมพ์ก็ใช้วิจารณญานในการอ่านด้วยนะ
21
11
ที่มา : หนังสือแรกเริ่มเดิมทีในสยาม
กล่องไม้ขีด
22
ไม้ขีดไฟแรกของไทย เมื่อก่อนหากต้องการจุดไฟจะทำ�ไง ?? ไม้ขีดไฟไงครับ ซึ่งไม้ขีดไฟ ยุคแรกมีความสำ�คัญต่อประชาชนมากเพราะตอนนั้นยังไม่มีไฟแช๊ก ไม่ขีดไฟเข้าไทยในสมัยของพระบาทสดเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นไม้ขีดจากประเทศ สวีเดน ต่อมาก็เป็นไม้ขีดของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งทาง ญี่ปุ่นได้ออกแบบหน้ากล่องไม้ขีดไฟเป็นหลายรูปมากมาย และในยุคสมัย ของพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ญี่ปุ่นได้ทำ�รูปหน้ากล่องเป็นภาพ วาดของรัชกาลที่ 5 ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ หัวคนไทยสามารถผลิตไม้ขีดไฟเองได้ทำ�ให้การนำ�เข้าเริ่ม หายไปและมีบริษัทที่คนไทยน่าจะรู้จักกันดีคือ บริษัทไม้ ขีดไฟ คือผู้ผลิตไม้ขีด ตรา พยานาคนั้นเอง
เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย ไม่ขีดไฟนั้นมีผิวสำ�หรับขีดอยู่ข้างกล่องไม้ขีดซึ่งมีฟอสฟอรัสแดง ทาติดอยู่ ด้วยยางไม้ หรือ กาวชนิดอื่น ส่วนที่หัวไม้มีโปแตสเซียมคลอเรตซึ่งเมื่อกระทบกับ ฟอสฟอรัสแดง ก็จะเกิด ปฏิกิริยาให้ความร้อนมากพอและไฟจะติดขึ้นได้
23
12
ที่มา : พิหนัพงิธสืภัอณADAY บ 77 ฑ์การศึกฉบั ษาแห่ งชาติ
ขวดน้ ำ�มะเน็ ตึกโอเรี ยนเต็ดน
24
น้ำ�อัดลมแรก เรารู้จัก โค้ก เป๊ปซี่ เอส แฟนต้า และอีกหลากหลายยี่ห้อของน้ำ� อัดลม แต่จะมีใครบ้างรึเปล่าที่รู้จัก น้ำ�มะเน็ด ว่าเป็นน้ำ�อัดลมชนิดแรกที่ นำ�เข้าประเทศไทย มะเน็ด เป็นการเลียนเสียงของคำ�ว่า LEMONADE ซึ่ง น้ำ�ประเภทนี้มีการโฆษณาใน จดหมายเหตุบางกอก ด้วย ในฉบับที่ 27 ธันวาคม พ.ศ.2409 เอกลักษณ์ของ น้ำ�มะเน็ดคือ รสมะนาวจี๊ดจ๊าด มีขวด รูปทรงแปลกๆ โดยมีลูกเล่นคือมีลูกแก้วอยู่ภายใน ว่ากันว่า มีไว้เพื่อรักษาความซ่าของน้ำ�นั้นเอง แต่ในที่สุดก็หายไปจากเมืองไทยเมื่อราว 50-60 ปีก่อน
เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย วิธีการคือเวลาเทน้ำ�ให้ทำ�ยังไงก็ได้ อย่าให้ลูกแก้วปิดทางเดินน้ำ� และเมื่อไม่กินแล้ว ให้ลูกแก้ว นั้นมาปิดทาง แล้วก็ปิดฝาทับจะเป็นการรักษาความซ่าได้เป็นอย่างดี (แต่ก็ไม่มีการรับประกัน จากใครว่ามันจะซ่านานจริง)
25
13
13 ที่มา : ยุพารัตน์ อาษาสุจริต
ATM ของธนาคารไทยพาณิชย์
26
ATM แรก ของไทย วันที่ 24 มีนาคม พ.ศ.2526 ธนาคารไทยพาณิชย์ ได้สร้างความ ประหลาดใจแก่วงการธนาคารในเมืองไทย โดยใช้เจ้าสิ่งที่เรียกว่า ATM ATM ย่อมาจาก Automatic Teller Machine พูด ง่ายๆว่าเป็นเครื่องบริการเงินอัตโนมัติ โดยการเปิด ตัว ATM ครั้งนี้ทำ�ให้ภาพลักษณ์ธนาคารเปลี่ยน เป็นธนาคารที่ทันสมัยมาในสมัยนั้น โดยบัตรแรก เป็นของ คุณพูนเพิ่ม ไกรฤกษ์ ซึ่งเป็นผู้บริหารของ ธนาคารนั้นเอง ปัจจุบันธนาคารไทยพาณิชย์มีตู้ ATM ให้ บริการถึง 4,000 เครื่อง
เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย ในพิธีเปิดการใช้ ATM สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทดลองบัตรเบิก เงินและพระราชทานบัตรให้แก่ทางธนาคาร และนำ�ไปจัดแสดงที่ พิพิธภัณฑ์ธนาคารไทย
27
14
ที่มา : หนังสือ สิ่งแรกในสยาม
โปสเตอร์ของ T-REX
28
หนังสามมิติแรกของไทย เทคโนโลยีของการฉายภาพยนต์เป็นสิ่งที่เพิ่มความสนุกในการดู หนังได้มาก และเมื่อมีโรงภาพยนต์หรือที่เรียกว่าโรงหนังแล้ว ก็ต้องมีหนัง ที่ดี ซึ่งภาพยนต์ของไทยที่ฉายในโรงภาพยนต์คือ “มหาภัยใต้ทะเล” ในปี พ.ศ.2476 แต่ที่น่าสนใจคือหนัง 3 มิติของไทยที่นำ�เข้ามา โดยเรื่องแรกที่เป็น หนัง 3 มิติและฉายในไทยคือเรื่อง T-REX โดยฉายที่โรงภาพยนต์ไอแมกซ์ สาขารัชโยธิน ซึ่งฉายในวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ.2541 โดยมีรายได้คือ 500,000บาท ใน 6 เดือน
เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย ว่ากันเรื่องภาพยนตร์ พ.ศ. 2475 ภาพยนตร์เสียงของไทยเรื่องแรก “หลงทาง” ออกฉาย พ.ศ. 2476 ภาพยนตร์สีเรื่องแรกของไทย “ปู่โสมเฝ้าทรัพย์
29
15
15 ที่มา : หอจดหมายเหตุแห่งชาติ
โปสเตอร์โปรโมทห้างไทยไดมารู
30
บันไดเลื่อนแรกของไทย สิ่งที่เห็นได้ทั่วไปในห้างปัจจุบันคือ บันไดเลื่อน ซึ่งคงเป็นเรื่องปกติ ธรรมดาของทุกคน แต่บันไดเลื่อนในตอนแรกคงเป็นอะไรที่น่าสนุกไม่น้อย (อารมณ์เด็กเล่นลิฟท์) แล้วถ้าถามว่าบันไดเลื่อน ที่แรกคือที่ไหน บอกไปว่าคือในห้างไทยไดมารู คง มีหลายคนสงสัยว่า ห้างไทยไดมารู มันอยู่ตรงไหน บอกเลยว่าถูกทุบทิ้งไปนานแล้วครับ ห้างไทยไดมารูนั้นเปิดบริการในปีพ.ศ.2507 เป็นห้างของญี่ปุ่น และได้ใช้บันไดเลื่อนเป็นจุดขาย ของห้าง ซึ่งได้ผลมีคนเข้าไปใช้กันแน่นห้างสรรพ สินค้า เรียกว่าเข้าไปเล่นบันไดเลื่อนกันอย่างสนุกนั้น เอง แต่หลังจากหมดสัญญากับที่เก่า ห้างก็ย้ายไปอยู่ ที่ศูนย์การค้าเสรีเซ็นเตอร์ (พาราไดซ์ พาร์ค) แต่ด้วย เศรษฐกิจที่ไม่ได้ทำ�ให้ ห้างไทยไดมารูปิดตัวลงในที่สุด
เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย ถามถึงที่อยู่เดิมของห้างไทยไดมารู คือ บิ๊กซีราชประสงค์ในปัจจุบันนั้นเอง แต่ตึกเก่าถูกทุบไป แล้วนะครับ
31
16
16 ที่มา : หนังสือแรกเริ่มเดิมที
ตุ๊กตาหนังสือการ์ตูนเล่มแรก,การ์ตูนในหนังสือพิมพ์
32
หนังสือการ์ตูนเล่มแรกของไทย ในรั ช สมั ย ของพระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว รัชกาลที่ 6 ภาพล้อเลียนหรือการ์ตูนในเมืองไทยเป็นที่นิยมแพร่หลาย มาก โดยเฉพาะแนวการ์ตูนล้อเลียนการเมือง ยุคนี้ได้มีนักเขียนการ์ตูน ล้อการเมืองคนแรกเกิดขึ้น คือ ขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต (เปล่ง ไตรปิ่น) แม้แค่รัชกาลที่ 6 ก็ทรงโปรดการ์ตูนลักษณะดังกล่าว ดังปรากฏหลัก ฐานว่า มีภาพวาดฝีพระหัตถ์ล้อเหล่าเสนาบดีและข้าราชบริพารใน พระองค์อยู่เสมอๆ ตีพิมพ์ลงหนังสือพิมพ์ดุสิตสมิต พ.ศ. 2495 ได้มีการ์ตูนเด็กเกิดขึ้นเป็น เล่มแรก คือ หนังสือการ์ตูน “ตุ๊กตา” ที่เป็นผล งานของนักเขียนการ์ตูนพิมล กาฬสีห์ มีตัวละคร หลักสี่คน คือ หนูไก่ หนูนิด หนูหน่อย และหนู แจ๋ว และประสบความสำ�เร็จอย่างสูง ปัจจุบัน การ์ ตู น ไทยที่ ถื อ ได้ ว่ า ครองใจคนไทยทุ ก เพศทุ ก วัยเป็นอันดับหนึ่งของประเทศในเวลานี้ก็คือ ขาย หัวเราะ-มหาสนุก
เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย รู้หรือไม่ว่า การ์ตูนขายหัวเราะ ออกวางจำ�หน่ายในปี พ.ศ.2516 นับว่าเป็นนิตยสารการ์ตูนที่ มีอายุยาวนานโดยมีอายุถึง 41 ปี(พ.ศ.2557)
33
ขอขอบคุณ 34
อาจารย์ ฐปนนท์ อ่อนศรี อาจารย์ อดิสรณ์ สมนึกแท่น และอาจารย์สาขาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยจันทรเกษมทุกท่าน หอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร ธนาคารแห่งประเทศไทย คุณยุพารัตน์ อาษาสุจริต นิตยสาร ADAY
เกี่ยวกับผู้เขียน รัฐศักดิ์ เดชพันธ์
สาขาจิตรกรรม วิทยาลัยอาชีวศึกษาปัตตานี ปี พ.ศ. 2552 ศิลปกรรม ออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยจันทรเกษม ปี พ.ศ. 2556
35
EDITOR NOTE เมื่อเราใช้ชีวิตถึงช่วงหนึ่ง เราจะเริ่มตั้งคำ�ถามกับสิ่งโน้น สิ่งนี้ว่าต้น กำ�เนิดของมันมาจากไหนนะ แล้วมันมาไทยยังไง เมื่อเริ่มสงสัยก็ต้องหาคำ�ตอบ เรื่องของสิ่งแรกนั้นเป็นเรื่องใกล้ตัวที่ไกลตัวมาก เพราะสิ่งของรอบตัว ย่อมมีครั้งแรกเกิดขึ้นมาก่อนแล้วจึงพัฒนามาเป็นรูปแบบที่เห็นกันในทุกวันนี้ ทั้งรถเมล์ ATM แบงก์ หรือแม้กระทั่งบันไดเลื่อน คิดกันเล่นๆว่า ครั้งแรกที่มีการ ใช้บันใดเลื่อน คนไทยจะสนุกกับมันมากขนาดไหน แค่คิดก็สนุกแล้ว และการที่เราอยากรู้ มันเป็นเรื่องดี อย่างน้อยก็ทำ�ให้คุณได้มีความ รู้มากขึ้น เอาไปเล่าให้เพื่อน พี่น้อง ลูกหลานฟังได้ และถ้าเป็นอย่างงั้น คุณก็เป็น คนหนึ่งที่สามารถพูดได้ว่า “เราคือคนที่สืบทอดประวัติศาสตร์ชาติไทย”
รัฐศักดิ์ ผู้เขียน
ที่มาเนื้อหา โกสินทร์ รัตนประเสริฐ สิ่งแรกในสยาม ถุงเงิน พุทธสรณ์ แรกเริ่มเดิมที...ในสยาม ADAY Vol7 number 77 ปก 100 สิ่งแรกในเมืองไทย แถมสุข นุ่มนนท์ ประวัติศาสตร์ไทย เทพชู ทัพทอง กรุงเทพในอดีต ปาลเลกัวซ์ แปลโดย สันต์ ท. โกมลบุตร เล่าเรื่องกรุงสยาม สมบัติ จำ�ปาเงิน รู้เรื่องเมืองบางกอก สุทธิลักษณ์ อำ�พันธ์วงศ์ คนเด่นในอดีต โรม บุนนาค 100 แรกมีสยาม เอนก นาวิกมูล แรกมีในสยาม เล่ม 1,2,4
สิ่ ง เ ดี ย ว ที่ เ อ า ช น ะ กาลเวลาได้คือ...ความทรงจำ� น้าเน็ก
เกตุเสพย์สวัสดิ์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา พิธีกร
40
สิเมื่งอแรก งไทย ใน
เรื่อง
-ภ
ชุด สิ่งของแรก
าพ
:
ร ัฐ
ศัก
ดิ์
41
àÃ×èͧ ¤ÍÁ¾ÔÇàµÍà à¤Ã×èͧáá àÃ×èͧ ¹éÓÍÑ´ÅÁáá àÃ×èͧ ˹ѧÊ×;ÔÁ¾ ©ºÑºáá Âѹ件֧àÃ×èͧ¢Í§ ºÑ¹ä´àÅ×è͹áá !! ÃǺÃÇÁàÃ×èͧÊÔ觢ͧáá¢Í§ä·Â ·Õè¤Ø³ÍÒ¨¨ÐäÁ‹à¤ÂÃÙŒÁÒ¡‹Í¹ ¤Ñ´ÁÒáÅŒÇ 16 àÃ×èͧ์¹æ