1-NRA2-res-labor-140255

Page 1

เอกสารร่างมติ สมัชชาปฏิ รปู ระดับชาติ ครัง้ ที่ ๒ ระเบียบวาระที่ ๒.๑

สมัชชาปฏิ รปู ๒/ ร่างมติ ๑ ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

การปฏิ รปู ระบบแรงงานและสวัสดิ การ : การเพิ่ มอํานาจต่อรองของแรงงาน การปรับโครงสร้างค่าจ้าง การเพิ่ มผลิ ตภาพและการคุ้มครองแรงงาน สมัชชาปฏิรปู ระดับชาติครัง้ ทีส่ อง ได้พจิ ารณารายงานเรื่อง การปฏิรปู ระบบแรงงานและสวัสดิการ : การเพิม่ อํานาจต่อรองของ แรงงาน การปรับโครงสร้างค่าจ้าง และการคุม้ ครองแรงงาน ๑ รับ ทราบ ว่าสัง คมไทย เป็ นสังคมที่มีค วามเหลื่อมลํ้าสูงใน ๕ มิติ คือ รายได้ สิท ธิ โอกาส อํานาจ และศักดิ ์ศรี และผูท้ อ่ี ยูใ่ นฐานะตํ่าต้อยมากๆ ในสังคมทีเ่ หลื่อมลํ้า ก็คอื เกษตรกรยากจน คนงาน พืน้ ฐาน โดยเฉพาะลูกจ้างภาคเกษตร และลูกจ้างในระบบจ้างเหมาช่วง(Sub contracting) ซึง่ คนกลุ่มนี้ คือ กําลังแรงงานทีม่ สี ว่ นสําคัญในการสร้างผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (Gross Domestic Product) แต่คนเหล่านี้ยงั รายได้ต่าํ ด้อยสิทธิ ด้อยโอกาส ไร้อาํ นาจ และขาดศักดิ ์ศรีของความเป็ นมนุษย์ ตระหนัก ว่า การคุม้ ครองทางสังคม(social protection) ซึง่ ประกอบด้วย การคุม้ ครองสิทธิ เสรีภาพในการรวมกลุ่ม การเจรจาต่อรอง การได้รบั ค่าจ้างทีเ่ ป็ นธรรม และการมีสวัสดิการเข้าไปหนุ น เสริม มีความสําคัญต่อการสร้างความเป็ นธรรม ลดความเหลื่อมลํ้าในสังคมเป็ นอย่างมาก การคุม้ ครอง ทางสัง คมเป็ น สิท ธิท่ีผู้ใ ช้แ รงงานทุ ก คนต้ อ งได้ร ับ อย่ า งเท่ า เทีย มกับ ภาคส่ ว นต่ า งๆในสัง คมตาม รัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ รัฐบาล ภาคธุรกิจอุตสาหกรรม นายจ้าง และ ลูกจ้างต้องร่วมกันทําให้เกิดรูปธรรมที่ชดั เจนในการคุม้ ครองทางสังคมแก่ผูใ้ ช้แรงงานเพื่อให้ดํารงชีพ อย่างมีศกั ดิ ์ศรีของความเป็ นมนุษย์เช่นเดียวกับประชากรกลุ่มอื่นในสังคมไทย เข้าใจ ว่าการทําให้ผใู้ ช้แรงงานได้รบั การคุม้ ครองทางสังคมอย่างแท้จริงนัน้ จําเป็ นต้องใช้การ คุ้ม ครองทางสัง คมหลายรูป แบบ บู ร ณาการเข้า ด้ว ยกัน คือ การเจรจาทางสัง คมแรงงาน (social dialogue) ซึง่ ครอบคลุมถึงเรื่องสิทธิการรวมตัวและสิทธิในการเจรจาต่อรอง การยึดหลักการทํางานทีม่ ี คุณค่า (decent work) ซึง่ หมายถึงงานทีส่ ามารถตอบสนองความต้องการเกีย่ วกับชีวติ การทํางานของ มนุ ษย์ตามแนวคิดขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ มาตรฐานแรงงาน หลักการ และสิทธิ (labour standard principles and rights) การมีงานทําและรายได้ (employment and income) การคุม้ ครองทาง สังคมและความมันคงทางสั ่ งคม (social protection and social security) มาเป็ นหลักสําคัญในการ กําหนดนโยบาย แผนงาน และมาตรการที่ภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคประชาสังคม และผูใ้ ช้แรงงานต้อง ร่วมกันดําเนินการ

เอกสาร สมัชชาปฏิรปู ๒ / หลัก ๑

ร่างมติ ๑ การปฏิรปู ระบบแรงงานและสวัสดิการ : เพิม่ อํานาจต่อรองของแรงงาน การปรับโครงสร้างค่าจ้าง การเพิม่ ผลิตภาพและคุม้ ครองแรงงาน

หน้า ๑/๔


ห่วงใย ว่าผูม้ บี ทบาทหน้าทีใ่ นการกําหนดนโยบายและผูน้ ําไปปฏิบตั ยิ งั ขาดความรูเ้ รื่องแรงงาน ขาดความตระหนัก ขาดความเข้าใจ เข้าไม่ถงึ ความซับซ้อนของปญั หาแรงงาน ขาดความต่อเนื่องของ การกําหนดนโยบาย รวมถึงกฎหมายทีม่ ผี ลบังคับใช้ในปจั จุบนั ยังไม่มคี วามเป็ นธรรมต่อผูใ้ ช้แรงงาน จึง ไม่สามารถปฏิรปู ระบบแรงงานและสวัสดิการได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม จึงมีมติ ดังต่อไปนี้ ๑. การเพิ่ มอํานาจต่อรองของแรงงาน ๑.๑ ขอให้รฐั บาลมอบอํานาจให้ผูแ้ ทนของประเทศไทยให้สตั ยาบันตามอนุ สญ ั ญาองค์การ แรงงานระหว่างประเทศฉบับที่ ๘๗ ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและการคุม้ ครองสิทธิในการรวมตัวกัน และอนุสญ ั ญาฉบับที่ ๙๘ ว่าด้วยการปฏิบตั ติ ามหลักการแห่งสิทธิในการรวมตัวและการร่วมเจรจาต่อรอง โดยเร็ว ๑.๒ รัฐบาลและนายจ้างให้สทิ ธิและเสรีภาพในการรวมตัวของคนงานกลุ่มต่างๆ ทัง้ เป็ นการ รวมตัวในกลุ่มอุตสาหกรรม ระหว่างกลุ่มอุตสาหกรรม ระหว่างแรงงานประเภทเดียวกัน และต่างประเภท กัน ระหว่างคนทีเ่ ป็ นลูกจ้างและไม่เป็ นลูกจ้าง รวมทัง้ ลูกจ้างภาครัฐ ๑.๓ ขอให้กระทรวงแรงงานควรยกเลิกระเบียบเก่าและออกระเบียบใหม่ในการเลือกตัง้ ของ ระบบไตรภาคี ให้เป็ นไปตามระบอบประชาธิปไตย คือ ให้แรงงานทุกคนออกเสียงได้ ๑ คน ๑ เสียง ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๘๔ (๗) ๑.๔ พรรคการเมือ งและองค์ก รภาคประชาชนควรเสนอต่ อ สภาผู้แ ทนราษฎรให้มีก าร ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายเลือกตัง้ ทัง้ ระดับชาติและระดับท้องถิ่นโดยให้ลูกจ้างที่ทํางานในพื้นที่ใดๆ ใน จังหวัดใดๆ มีเวลานานตัง้ แต่ ๓ ปี ขน้ึ ไป ให้มสี ทิ ธิเลือกตัง้ และรับเลือกตัง้ ตัวแทนของเขตพืน้ ทีน่ นั ้ ๆ ๒. การปรับโครงสร้างค่าจ้าง ๒.๑ รัฐบาลและนายจ้างจะต้องมีนโยบายทีช่ ดั เจนเรื่องค่าจ้างทีเ่ ป็ นธรรม โดยให้มโี ครงสร้าง ค่าจ้างทีส่ อดคล้องกับประสิทธิภาพ ผลิตภาพ ความเสีย่ งและลักษณะงานของลูกจ้าง ๒.๒ กระทรวงแรงงานควรแก้ไ ขนิ ย ามค่า จ้า งขัน้ ตํ่ าให้เ ป็ น ไปตามหลัก การขององค์ก าร แรงงานระหว่างประเทศ สําหรับลูกจ้างทีเ่ ริม่ ทํางานเป็ นครัง้ แรกให้มรี ายได้พอเพียงเลีย้ งชีพตนเองและ ครอบครัวอีก ๒ คน ๒.๓ รัฐบาลควรสนับสนุ นการจัดตัง้ ธนาคารแรงงาน หรือกองทุนการเงินของคนงาน ตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๘๔(๙) ๓. การพัฒนาสมรรถนะความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะที่พึงปรารถนาเพื่อเพิ่ มผลิ ตภาพ ๓.๑ ขอให้กระทรวงศึกษาธิการบรรจุวิชาด้านแรงงานทุกมิติในหลักสูตรระดับมัธยมและ อุดมศึกษา และเร่งรัดจัดตัง้ องค์กรรับรองวิทยฐานะฝีมอื แรงงานทุกประเภท ๓.๒ ให้กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมและหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง จัดบริการการศึกษาเพื่อแรงงาน การพัฒนาฝี มอื แรงงาน การจัดการการสอนภาษาสําหรับแรงงาน ทัง้ ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศเพือ่ รองรับการเป็ นประชาคมอาเซียน ร่างมติ ๑ การปฏิรปู ระบบแรงงานและสวัสดิการ : เพิม่ อํานาจต่อรองของแรงงาน การปรับโครงสร้างค่าจ้าง การเพิม่ ผลิตภาพและคุม้ ครองแรงงาน

หน้า ๒/๔


๓.๓ ขอให้รฐั บาลมอบหมายให้หน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงแรงาน ธนาคารเพื่อ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม จัดตัง้ กองทุนดอกเบี้ยตํ่า (๒-๓%) ให้ธุรกิจกู้ไปพัฒนาฝี มอื ลูกจ้าง ตามความต้องการ และความจําเป็ น ของธุรกิจแต่ละราย โดยนายจ้างที่ใช้เงินลงทุนเพื่อพัฒนาความรู้ และฝีมอื ลูกจ้างสามารถนําเงินลงทุนนี้ ไปลดหย่อนภาษีได้เพิม่ ขึน้ ๔. การคุ้มครองแรงงาน ๔.๑ ขอให้ก ระทรวงแรงงานร่ ว มกับ นายจ้ า งจัด ตัง้ กองทุ น พิท ัก ษ์ สิท ธิแ์ รงงาน โดยมี วัตถุประสงค์หลักสองประการคือ ๔.๑.๑ ประการแรก ให้นายจ้างและรัฐบาลสมทบเงินเข้ากองทุน เพื่อเป็ นหลักประกัน ว่า เมือ่ มีการเลิกกิจการ ลูกจ้างมีสทิ ธิ ์ได้รบั เงินชดเชยจากกองทุน ๔.๑.๒ ประการที่ สอง ลูกจ้างมีสทิ ธิได้รบั การสนับสนุ นค่าใช้จ่าย ในการดําเนินคดี ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างได้ ๔.๒ ขอให้รฐั บาลสร้างหลักประกันให้หญิงชายต้องมีสทิ ธิและโอกาสเท่าเทียมกัน ลูกจ้างใน กิจการเดียวกันและอยูภ่ ายใต้สภาพการจ้างเดียวกันต้องมีสทิ ธิ ์และโอกาสเท่าเทียมกัน ๔.๓ ขอให้กระทรวงแรงงานร่วมกับนายจ้างจัดตัง้ บริษทั กําลังคน เป็ นบริษทั กลางทีร่ ่วมทุน ระหว่างรัฐ และเอกชน โดยให้บ ริษัทจัดหางานเอกชนที่มีอยู่แล้ว ทัง้ หมดถือหุ้น เพื่อทําหน้ าที่จดั ฝึ ก กําลังคน แสวงหาตลาดงานในต่ างประเทศ ดูแลแรงงานไทยในต่างประเทศ ติดต่ อประสานงานกับ ครอบครัวของแรงงานในประเทศ ดูแลค่าใช้จ่ายในการเดินทาง และจัดหาแหล่งเงินกูด้ อกเบีย้ ตํ่า โดยใช้ สัญญาจ้างงานเป็ นเอกสารคํ้าประกัน ๔.๔ ขอให้กระทรวงแรงงานและสถาบันการศึกษาจัดตัง้ สถาบันส่งเสริมพัฒนานโยบายและ องค์กรแรงงาน เป็ นหน่ ว ยงานอิสระ ทําหน้ าที่ด้านศึกษาวิจยั เชิงระบบและผลกระทบของนโยบาย สาธารณะด้านแรงงาน ส่งเสริมพัฒนาองค์กรแรงงาน เสนอแนะเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ดา้ นแรงงาน ให้สอดคล้องกับความเป็ นประเทศอุตสาหกรรมยุคใหม่ ๔.๕ ขอให้กระทรวงแรงงานเร่งรัดให้มกี ารคุม้ ครองแรงงานทุกประเภท และการประกันสังคม ทัวหน้ ่ า รวมทัง้ สิทธิอ่นื ๆ ทัง้ แรงงานนอกระบบและแรงงานต่างด้าวให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ ๔.๖ ขอให้กระทรวงแรงงานเร่งรัดในการดําเนินการบังคับใช้ พระราชบัญญัตคิ วามปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. ๒๕๕๔ อย่างมีประสิทธิผลโดยให้มมี าตรการที่ ประกันความปลอดภัยของแรงงานทีส่ อดคล้องกับมาตรฐานสากล ๔.๗ ขอให้ก ระทรวงแรงงาน และกระทรวงการพัฒ นาสัง คมและความมันคงของมนุ ่ ษ ย์ กําหนดนโยบายและมาตรการที่ชดั เจนและได้ผล ในการสนับสนุ นให้สถานประกอบการจัดให้มที ่อี ยู่ อาศัยและศูนย์เลีย้ งเด็กให้แก่แรงงาน ในบริเวณใกล้ๆ เขตอุตสาหกรรมหรือสถานทีท่ าํ งาน ๔.๘ ขอให้กระทรวงแรงงานมีนโยบายทีช่ ดั เจนและแน่ นอนว่าจะอนุ ญาตให้แรงงานต่างด้าว เข้า มาทํา งานได้จํา นวนเท่ า ไร และในสาขาอาชีพ อะไรบ้า ง โดยต้อ งมีม าตรการที่เ คร่ ง ครัด และมี ฐานข้อมูลทีช่ ดั เจน

ร่างมติ ๑ การปฏิรปู ระบบแรงงานและสวัสดิการ : เพิม่ อํานาจต่อรองของแรงงาน การปรับโครงสร้างค่าจ้าง การเพิม่ ผลิตภาพและคุม้ ครองแรงงาน

หน้า ๓/๔


๔.๙ ขอให้สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุขร่วมกับสํานักงานประกันสังคมจัดให้มกี ารศึกษาข้อดี ข้อเสียและทางเลือกในการจัดตัง้ โรงพยาบาลของผูป้ ระกันตนในย่านอุตสาหกรรมหนาแน่ น โดยจัดสรร เงินจากกองทุนประกันสังคมมาดําเนินการ เนื่องจากการมีโรงพยาบาลของผูป้ ระกันตน จะทําให้การดูแล สุขภาพของลูกจ้างเป็ นไปอย่างทัวถึ ่ ง และผลกําไรของโรงพยาบาลยังกลับคืนสู่กองทุนประกันสังคมอีก ด้วย ทัง้ นี้โดยศึกษาจากข้อมูลและประสบการณ์ในต่างประเทศด้วย ๕. ข้อ เสนอเชิง นโยบายข้า งต้น นอกจากจะเป็ น ข้อ เสนอต่ อ รัฐ บาลและหน่ ว ยงานของรัฐ ที่ เกีย่ วข้องแล้ว ขบวนการแรงงานจะดําเนินการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กบั ตนเองเพื่อให้เกิดความเป็ น ธรรมและลดความเหลื่อมลํ้าในสังคมอย่างแท้จริง

------------------------------------------------------------

ร่างมติ ๑ การปฏิรปู ระบบแรงงานและสวัสดิการ : เพิม่ อํานาจต่อรองของแรงงาน การปรับโครงสร้างค่าจ้าง การเพิม่ ผลิตภาพและคุม้ ครองแรงงาน

หน้า ๔/๔


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.