4-NRA2-annex-citizenship-150255

Page 1

เอกสารภาคผนวก ๑ สมัชชาปฏิ รปู ระดับชาติ ครัง้ ที่ ๒ ระเบียบวาระที่ ๒.๔

สมัชชาปฏิ รปู ๒/ หลัก๔/ ผนวก ๑ ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

พลังพลเมืองเพื่อขับเคลื่อนประเทศไทย บทนา ถึงแม้ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็ นระบบประชาธิปไตยมาร่วม ๘๐ ปีแล้ว แต่ตลอดระยะเวลาของการเป็นประชาธิปไตยทีผ่ ่านมานัน้ ได้มกี ารเบียดแทรกของการเป็ นเผด็จการเป็ น ระยะๆ และบางครัง้ ดารงอยู่ต่อเนื่องเป็ นเวลานาน มีการปฏิวตั ิรฐั ประหารหลายครัง้ โดยกลุ่มบุคคล ต่างๆ โดยอ้างความเดือดร้อนของประชาชนและการไม่เป็ นประชาธิปไตย ทาให้ในอดีตประชาชนชาว ไทยแทบมิได้เข้าไปมีบทบาทหรือไม่มสี ่วนร่วมในทางการเมืองแต่อย่างใด อานาจส่วนใหญ่ตกอยู่ในกา มือ ของกลุ่ ม บุ ค คลบางกลุ่ ม และอยู่ ท่ีฝ่ า ยบริห ารและข้า ราชการชัน้ ผู้ใ หญ่ อ านาจทางการเมือ งที่ ประชาชนได้รบั เป็ นเพียงการมีสทิ ธิเลือกตัง้ เท่านัน้ และบางครัง้ การเลือกตัง้ ดังกล่าวก็ยงั มีขอ้ สงสัยใน ความบริสุทธิ ์ยุตธิ รรมอีกด้วย ในทีส่ ุดกระแสการเป็ นประชาธิปไตยของโลกได้เข้าสู่ประเทศไทย ทาให้ประชาชนรูถ้ งึ การทีต่ น ควรมีสทิ ธิ เสรีภาพ และมีส่วนร่วมในทางการเมืองมากขึน้ เพื่อผลักดันให้เกิดความเป็ นประชาธิปไตย เต็มใบเสียที โดยประชาชนเชื่อว่าเป็ นระบอบการปกครองทีจ่ ะนาพวกเขาไปสู่การมีชวี ติ ความเป็ นอยู่ท่ี สันติสุขและตลอดไป กลุ่มประชาชนจึงเรียกร้องเพื่อการได้มาซึง่ ประชาธิปไตยเต็มใบหลายครัง้ อาทิ เหตุการณ์ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๙ และพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ แต่ในทีส่ ุดการ เปลีย่ นแปลงทางการเมืองครัง้ สาคัญ เมื่อพฤษภาคม ๒๕๓๕ นัน้ นามาสู่การปฏิรปู ระบบการเมืองของ ไทยอย่างเห็นได้ชดั โดยการเรียกร้องของประชาชนทีจ่ ะเข้ามามีส่วนร่วมในทางการเมือง กระบวนการ ต่างๆ ของการกาหนดนโยบายของรัฐ และอื่นๆ ได้รบั การคานึงถึงจนในทีส่ ุดได้นามาสู่ การทีป่ ระเทศ ไทยได้มรี ะบบการเมืองการปกครองที่จดั ว่าเป็ นประชาธิปไตยมากขึน้ และเป็ น ‚ประชาธิปไตยแบบมี ส่วนร่วม‛ เนื่องจากมีรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ทีม่ เี จตนารมณ์อย่าง ชัดเจนในการคุ้มครองศักดิ ์ศรีความเป็ นมนุ ษย์ สิทธิ เสรีภาพและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ตลอดจนการสร้างระบบการตรวจสอบอานาจรัฐ และก่อให้เกิดเสถียรภาพทางการเมือง เพื่อความยังยื ่ น ของประชาธิปไตย ซึง่ ด้วยสิทธิ เสรีภาพ และการเข้าใจถึงสิทธิของการมีส่วนร่วมของตนเอง ประชาชน จึงสามารถตรวจสอบและเรียกร้องให้ผมู้ อี านาจ ปฏิบตั ติ ามนโยบายต่างๆ ได้ ซึง่ แตกต่างจากอดีตกาล อย่างชัดเจน โดยหลายมาตราในรัฐธรรมนู ญฉบับนี้ได้บญ ั ญัตแิ ล้ว หลายมาตรามีการนาไปปฏิบตั ไิ ว้ อย่างชัดเจน แต่หลายมาตรายังมิได้นาไปปฏิบตั ิ (บวรศักดิ ์ อุวรรณโณ และถวิลวดี บุรกี ุล , ๒๕๔๗) อันนามาสู่การร่างรัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช ๒๕๕๐ ที่กาหนดเรื่องการมีส่วนร่วม ของประชาชนไว้อย่างชัดเจนยิง่ ขึน้ เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๑/๓๓


อนึ่งจากการได้รบั สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนู ญประกอบกับความต้องการเข้าไปมีส่วนร่วม ในกระบวนการทางนโยบายของรัฐ แต่ในความเป็ นจริงกับขาดการดูแลจากหน่ วยงานทีเ่ กี่ยวข้องทีจ่ ะทา ให้เจตนารมณ์ ของรัฐธรรมนู ญเกิดผลอย่างแท้จริง ปญั หาความขัดแย้งจากกระบวนการทางนโยบาย สาธารณะจึงปรากฏให้เห็นหลายครัง้ หลายครา แนวคิดการปฏิรปู การเมืองและประชาธิปไตย ทาให้เกิดองค์กรอาสาสมัครหลายองค์กร และทา ให้เกิดกระบวนการเคลื่อนไหวทีม่ อี ทิ ธิพลต่อการทางานของรัฐบาล และสถาบันทีม่ อี านาจต่างๆ อย่างไร ก็ดภี าคประชาชนและในสังคมมักอยูห่ ่างไกลจากกระบวนการตัดสินใจและห่างไกลจากความสนใจของผู้ มีอานาจ เพราะผู้มอี านาจมักตัดสินใจด้วยตนเอง กลุ่ มเหล่านี้จะไม่ค่อ ยประสบความสาเร็จในการ เคลื่อ นไหวหากปราศจากกระบวนการทางประชาธิป ไตย หลายประเทศที่ม ี ก ารปกครองแบบเสรี ประชาธิปไตยแต่กลับมิได้คานึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน จึงไม่ค่อยมีการปรึกษาหารือประชาชน หรือแม้แต่ผแู้ ทนราษฎรทีม่ าจากการเลือกตัง้ สาหรับการเรียกร้องเพื่อการมีส่วนร่วมจึงเริม่ จากการมีประสบการณ์ในการถูกกีดกันออกไปจาก การได้รบั สิทธิขนั ้ พืน้ ฐานในทางการเมือง จากการได้รบั โอกาสทีจ่ ะเข้ามามีส่วนร่วม การเคลื่อนไหวทาง สังคมทีม่ พี ลังและประสบความสาเร็จในศตวรรษนี้บางครัง้ เกิดขึน้ จากความต้องการของประชาชนกลุ่ม น้ อยที่ถูกกดดัน ขาดการเข้าไปมีส่วนร่วมและขาดการยอมรับถึงการเป็ นพลเมืองที่เท่าเทียมกันและ สมบูรณ์ ในปจั จุบนั ประชาชนในสังคมส่วนมากมีสทิ ธิในการลงคะแนนเสียงเลือกตัง้ แต่การลงคะแนน เสียงอย่างเท่าเทียมกันเป็นเพียงข้อกาหนดอย่างน้อยทีส่ ุดของการเท่าเทียมกันในทางการเมือง (ถวิลวดี บุรกี ุล, ๒๕๔๙) การปฏิบตั ทิ ่เี ป็ นประชาธิปไตยให้ทุกกลุ่มมีส่วนร่วม (inclusive democracy practice) หรือ ประชาธิปไตยแบบพหุภาคี (pluralism democracy) เป็ นการส่งเสริมให้เกิดความที่เป็ นธรรม เพราะ ประชาชนมุ่งหวังทีจ่ ะชักนาผูอ้ ่นื ให้ตระหนักถึงความเป็ นธรรม ความรูแ้ ละสติปญั ญาของเขา และมีการ เปิดรับฟงั ความคิดเห็นของพวกเขาและมีความเข้าใจในเรื่องทีพ่ วกเขาสนใจ อันนาไปสู่การเปลีย่ นแปลง กระบวนการในที่สุด ซึ่งทีผ่ ่านมานักทฤษฎีทางด้านประชาธิปไตยมักตัง้ สมมติฐานว่าการอภิปรายทาง ประชาธิปไตยทีเ่ หมาะสมควรเป็ นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความสนใจและทาความดีร่วมกัน โดยทีจ่ ริงแล้ว การเมืองต้องเป็ นทัง้ การแข่งขันระหว่างกลุ่มหรือปจั เจกชนที่มคี วามสนใจและความเห็นที่ขดั แย้ง ผู้ม ี ส่วนร่วมทางการเมืองมักเลือกเข้าข้างที่เขาสนใจและช่วยกันสร้างความสนใจร่วมของสาธารณะอีกด้วย (Young, ๒๐๐๒: ๑-๑๕) ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม (Participatory Democracy) เกี่ยวข้องกับวิธกี ารกระจายอานาจ และทรัพยากรทีไ่ ม่เท่าเทียมกันอันมีผลกระทบต่อชีวติ ความเป็ นอยู่ของประชาชนและวิธกี ารทีป่ ระชาชน เหล่านัน้ มีอทิ ธิพลต่อการตัดสินใจที่มผี ลกระทบต่อตน ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมจึงหมายถึง การที่ อานาจในการตัดสินใจไม่ควรเป็ นของกลุ่มคนจานวนน้ อย แต่อานาจควรได้รบั การจัดสรรในระหว่าง ประชาชน เพื่อทุกๆ คนได้มโี อกาสทีจ่ ะมีอทิ ธิพลต่อกิจกรรมส่วนรวม หลักการหรือองค์ประกอบสาคัญของคาว่าประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม (สถาบันพระปกเกล้า, ๒๕๔๕) คือ การให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการเมืองและการบริหาร มีการกระจายอานาจในการตัดสินใจ เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๒/๓๓


และการจัดสรรทรัพยากรต่างๆ ในระหว่างประชาชนให้เท่าเทียมกัน อานาจในการตัดสินใจและการ จัดสรรทรัพยากรต่างๆ นัน้ จะส่งผลกระทบต่อชีวติ ความเป็ นอยู่ของประชาชน มีการเพิม่ การคุ้มครอง สิทธิและเสรีภาพของประชาชน มีโครงสร้างการทางานที่สามารถตรวจสอบได้ มีความโปร่งใส และ คานึงถึงความต้องการทรัพยากรของผูม้ สี ่วนร่วม มีการมีส่วนร่วมของประชาชนมีทงั ้ ในระดับท้องถิน่ และ ระดับชาติ ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร กระบวนการทางนโยบาย และกระบวนการยุตธิ รรม ได้ เนื่องจากประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมให้ความสาคัญอย่างยิง่ ต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน เป็ นสาคัญโดยทีก่ ารมีส่วนร่วมของประชาชนเป็ นกระบวนการซึง่ ประชาชน หรือผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียได้ม ี โอกาสแสดงทัศนะ และเข้าร่วมในกิจกรรมต่างๆ ทีม่ ผี ลต่อชีวติ ความเป็ นอยู่ของประชาชน รวมทัง้ มีการ นาความคิดเห็นดังกล่าวไปประกอบการพิจารณากาหนดนโยบายและการตัดสินใจของรัฐ การมีส่วนร่วม ของประชาชนเป็ นกระบวนการสื่อ สารในระบบเปิ ด กล่ าวคือ เป็ นการสื่อ สารสองทาง ทัง้ อย่างเป็ น ทางการและไม่เป็นทางการ ซึง่ ประกอบไปด้วยการแบ่งสรรข้อมูลร่วมกันระหว่างผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียและ เป็ นการเสริมสร้างความสามัคคีในสังคม ทัง้ นี้ เพราะการมีส่วนร่วมของประชาชน เป็ นการเพิม่ คุณภาพ ของการตัดสินใจ การลดค่าใช้จ่ายและการสูญเสียเวลา เป็ นการสร้างฉันทามติ และทาให้ง่ายต่อการ นาไปปฏิบตั ิ อีกทัง้ ช่วยหลีกเลีย่ งการเผชิญหน้าใน ‛กรณีทร่ี า้ ยแรงทีส่ ุด‛ ช่วยให้เกิดความน่ าเชื่อถือและ ความชอบธรรม และช่วยให้ทราบความห่วงกังวลของประชาชนและค่านิยมของสาธารณชน รวมทัง้ เป็ น การพัฒนาความเชีย่ วชาญและความคิดสร้างสรรค์ของสาธารณชน (เครตัน, ๒๕๔๓) การมีส่วนร่วมของประชาชนมีความสาคัญในการสร้างประชาธิปไตยอย่างยังยื ่ นและส่งเสริม ธรรมาภิบาล ตลอดจนการบริหารงาน หากการมีส่วนร่วมของประชาชนมากขึน้ เพียงใดก็จะช่วยให้ม ี การตรวจสอบการทางานของผู้บริหาร และทาให้ผบู้ ริหารมีความรับผิดชอบต่อสังคมมากยิง่ ขึน้ อีกทัง้ ยังเป็ นการป้องกันนักการเมืองจากการกาหนดนโยบายที่ไม่เหมาะสมกับสังคมนัน้ ๆ นอกจากนี้ การมี ส่ว นร่ว มของประชาชนยัง เป็ นการสร้างความมันใจว่ ่ าเสียงของประชาชนจะมีค นรับฟ งั อีก ทัง้ ความ ต้องการหรือความปรารถนาของประชาชนก็จะได้รบั การตอบสนอง ดัง กล่ า วแล้ว ว่ ากระบวนการมีส่ ว นร่ว มของประชาชน เป็ นกระบวนการสื่อ สารสองทางที่ม ี เป้ า หมายโดยรวมเพื่อ ที่จ ะให้ เ กิด การตัด สิน ใจที่ด ีข้ึน และได้ ร บั การสนั บ สนุ น จากสาธารณชน ซึ่ง เป้ า หมายของกระบวนการการมีส่ ว นร่ ว มของประชาชน ก็ค ือ การให้ข้อ มูล ต่ อ สาธารณชนและให้ สาธารณชนแสดงความคิดเห็นต่อโครงการทีน่ าเสนอหรือนโยบายรัฐ และมีส่วนร่วมในการแก้ปญั หาเพื่อ หาทางออกที่ดที ่สี ุดสาหรับทุกๆ คน (เครตัน, ๒๕๔๓:๑๙) การมีส่วนร่วมของประชาชนยังจัดเป็ น รูปแบบหนึ่งของแนวความคิดในการกระจายอานาจจากส่วนกลางมาสู่ส่วนท้ องถิน่ เพราะประชาชนใน ท้องถิน่ คือ ผูท้ ร่ี ปู้ ญั หาและความต้องการของท้องถิน่ ตนเองดีกว่าผูอ้ ่นื การมีส่วนร่วมของประชาชน จึง เป็นการเปิดกว้างในความคิดเห็นโดยการสื่อสารสองทางในประเด็นทีเ่ กี่ยวข้องกับประชาชน ซึง่ ในแต่ละ ประเด็นนัน้ ไม่สามารถใช้เกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่งมาตัดสินใจได้เหมือนกัน โดยแท้จริงนัน้ กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนอาจจะไม่สามารถกระทาได้ในทุกๆ ประเด็น ดังนัน้ จึงมีแนวทางทัวๆ ่ ไปบางประการเกี่ยวกับประเด็นที่ควรใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๓/๓๓


ประเด็นต่างๆ ที่ต้องการกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ได้แก่ การตัด สินใจและมีผลกระทบที่ สาคัญ การตัดสินใจจะมีผลกระทบต่อบางคนมากกว่าคนอื่น การตัดสินใจจะมีผลกระทบต่อผลประโยชน์ ของบางคนหรือกลุ่มคนที่มอี ยู่เดิม การตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่มคี วามขัดแย้งอยู่ก่อนแล้ว ความ จาเป็ นเพื่อให้มกี ารสนับสนุ นต่อผลการตัดสินใจ ดังนัน้ การมีส่วนร่วมของประชาชนจึงมีอยู่ในเกือบทุก กิจกรรมของสังคมขึน้ อยู่กบั ความสนใจและประเด็นในการพิจารณา แต่มเี งื่อนไขพื้นฐานในการมีส่วน ร่วมว่าประชาชนต้องมีอสิ รภาพ ความเสมอภาพ และความสามารถในการเข้าร่วมกิจกรรม นอกจากนี้ การมีส่วนร่วมต้องมีวตั ถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมาย ต้องมีกิจกรรมเป้าหมาย และต้องมีกลุ่มเป้าหมาย ทัง้ นี้เพื่อให้กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนดาเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด การมีส่วนร่วมของประชาชน (Public Participation) จึงเป็ น การกระจายโอกาสให้ประชาชนมี ส่วนร่วมทางการเมือง และการบริหาร เกี่ยวกับการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ รวมทัง้ การจัดสรรทรัพยากร ของชุมชนและของชาติ ซึ่งจะส่ง ผลกระทบต่อวิถชี วี ติ และความเป็ นอยู่ของประชาชนโดยการให้ขอ้ มูล แสดงความคิดเห็น ให้คาแนะนาปรึกษา ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบตั ิ รวมตลอดจนการควบคุมโดยตรงจาก ประชาชน การมีส่วนร่วมของประชาชนเป็ นกระบวนการทีค่ วามห่วงกังวล ความต้องการและค่านิยมต่างๆ ของสาธารณชนถู กรวมอยู่ในการตัดสินใจของรัฐและเอกชนเป็ นการสื่อ การสองทาง และเป็ นการมี ปฏิส ัม พัน ธ์ ซึ่ง มีเ ป้ าหมายโดยภาพรวมของการตัด สิน ใจที่ด ีก ว่ า โดยที่ไ ด้ ร ับ การสนั บ สนุ น จาก สาธารณชน (Creighton, ๒๐๐๕) โดยสรุปการมีส่วนร่วมของประชาชนจึงเป็ นกระบวนการซึง่ ประชาชนหรือผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียได้ มีโอกาสแสดงทัศนะ และเข้าร่วมในกิจกรรมต่างๆ ที่มผี ลต่อชีวติ ความเป็ นอยู่ของประชาชน รวมทัง้ มี การนาความคิดเห็นดังกล่าวไปประกอบการพิจารณากาหนดนโยบายและการตัดสินใจของรัฐ การมีส่วน ร่วมของประชาชนเป็ นกระบวนการสื่อสารในระบบเปิ ด กล่าวคือ เป็ นการสื่อสารสองทาง ทัง้ อย่างเป็ น ทางการและไม่เป็นทางการ ซึง่ ประกอบไปด้วยการแบ่งสรรข้อมูลร่วมกันระหว่างผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสีย และ เป็ นการเสริมสร้างความสามัคคีในสังคม ทัง้ นี้ เพราะการมีส่วนร่วมของประชาชน เป็ นการเพิม่ คุณภาพ ของการตัดสินใจ การลดค่าใช้จ่ายและการสูญเสียเวลา เป็ นการสร้างฉันทามติ และทาให้ง่ายต่อการนาไป ปฏิบตั ิ อีกทัง้ ช่วยหลีกเลี่ยงการเผชิญหน้าใน “กรณีท่รี ้ายแรงที่สุด‛ ช่วยให้เกิดความน่ าเชื่อถือและ ความชอบธรรม และช่วยให้ทราบความห่วงกังวลของประชาชนและค่านิยมของสาธารณชน รวมทัง้ เป็ น การพัฒนาความเชีย่ วชาญและความคิดสร้างสรรค์ของสาธารณชน (ถวิลวดี บุรกี ุล, ๒๕๔๙) สถานการณ์ ในระยะ ๒๕๔๐-๒๕๔๙ ประเทศไทยจัดว่าเข้าสู่ยุคแรกของประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม (ถวิล วดี, ๒๕๔๙) เพราะเกิดจากการทีร่ ฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ มีเจตนารมณ์ สาคัญในการให้ประชาชนมีส่วนร่วมตัง้ แต่การรับรูข้ ้อมูลข่าวสาร ร่วมให้ขอ้ มูล ปรึกษาหารือ ตัดสินใจ ติดตามตรวจสอบ และถอดถอนผู้ทุจริต ทัง้ ยังเปิ ดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการทาง นโยบาย มีการกระจายอานาจไปสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประชาชนสามารถเสนอกฎหมายและ เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๔/๓๓


ข้อบัญญัตทิ อ้ งถิน่ ได้ แต่ช่องว่างระหว่างเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญกับการปฏิบตั จิ ริงยังคงกว้างอยู่มาก ทัง้ นี้เพราะปญั หาการรับรูข้ องประชาชนในเรื่องของกระบวนการมีส่วนร่วม และสิทธิของตนเองในการ เข้ามามีส่วนร่วมได้ ผูน้ าและผูม้ อี านาจยังมิได้เปิดใจและเปลีย่ นทัศนคติในการยอมรับการมีส่วนร่วมของ ประชาชนเท่าที่ค วร ทาให้กฎหมายหลายฉบับที่ไม่สอดคล้องกับรัฐธรรมนู ญไม่ได้รบั การแก้ไข หรือ แม้ก ระทังการออกกฎหมายที ่ ่ค วรออกมาเพื่อ เสริมสร้างกลไกในการมีส่ วนร่วมของประชาชนก็มไิ ด้ ออกมา นับตัง้ แต่การเลือกตัง้ ทัวไปเมื ่ ่อปี ๒๕๔๔ เป็ นต้นมา ประชาชนผูม้ สี ทิ ธิเลือกตัง้ ชาวไทยออกไป ใช้สทิ ธิเลือกตัง้ สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรเฉลีย่ สูงกว่าร้อยละ ๗๐ และมีสดั ส่วนทีเ่ พิม่ ขึน้ ทุกครัง้ จนในการ เลือ กตัง้ ครัง้ ล่ า สุ ด เมื่อ วัน ที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๕๔ มีส ัด ส่ ว นสู ง ถึ ง ร้ อ ยละ ๗๕.๐๓ (ส านั ก งาน คณะกรรมการการเลือกตัง้ , ๒๕๕๔) นอกจากนี้ คนไทยในการเลือกตัง้ ทัวไปแต่ ่ ละครัง้ โดยเฉพาะในช่วง ก่อนการรัฐประหาร ๑๙ กันยายน ๒๕๔๙ ยังมีแนวโน้มทีจ่ ะเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมทีเ่ กี่ยวข้องกับ การรณรงค์หาเสียงเลือกตัง้ (เช่น การเข้าร่วมรับฟงั การปราศรัยของผู้สมัคร การให้การสนับสนุ นแก่ ผูส้ มัคร/พรรคการเมือง เป็ นต้น) มากขึน้ ด้วย (ถวิลวดี บุรกี ุลและสติธร ธนานิธโิ ชติ, ๒๕๔๖; Stithorn Thananithichot, ๒๕๕๔) ผลการวิจ ัย ล่ า สุ ด ของสถาบัน พระปกเกล้า ยัง ค้น พบอีก ว่ า ผู้ม ีส ิท ธิเ ลือ กตัง้ ชาวไทยทัง้ ใน กรุงเทพฯและต่างจังหวัดมิได้เข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมืองเพราะถูกชั กจูงด้วยอามิสสินจ้าง หรืออิทธิพลของผู้นาทางสังคมเสมอไป แต่อ อกไปใช้ส ิทธิเลือ กตัง้ ด้วยความสนใจกับการเลือ กตัง้ ที่ ค่อนข้างสูง มีขอ้ มูลพืน้ ฐานเกี่ยวกับผูส้ มัครและพรรคการเมืองพอสมควร และตัดสินใจเลือกผูส้ มัครโดย พิจารณาในเรื่องความซื่อสัตย์ ความสามารถในการแก้ไขปญั หาชุมชน และการมีความคิดที่ก้าวหน้ า มากกว่าการมองที่คุณลักษณะส่วนบุคคล การช่วยเหลือในเรื่องส่วนตัว และการให้ของกานัลหรือเงิน (ถวิลวดี บุรกี ุล, ๒๕๕๔) ยิง่ ไปกว่านัน้ การสารวจค่านิยมประชาธิปไตยของคนไทยโดยเครือข่ายศึกษา อุณหภูมปิ ระชาธิปไตยแห่งเอเชีย (Asian Barometer) พบว่าคนไทยไม่เพียงแต่จะเป็ นชาติท่ใี ห้การ สนับสนุ นการปกครองระบอบประชาธิปไตยสูงเป็ นอันดับต้นๆ ของเอเชียเท่านัน้ (Albritton and Thawilwadee Bureekul, ๒๐๐๘) แต่ยงั เป็ นประเทศทีป่ ระชาชนมากกว่าร้อยละ ๖๐ มีความเชื่อมันว่ ่ า ประชาชนธรรมดาสามารถมีส่วนร่วมทางการเมือ งได้ ซึ่งเป็ นสัดส่วนที่สูงกว่าประเทศอื่นๆ ในภูมภิ าค เอเชียที่มปี ระชาธิปไตยก้าวหน้ า เช่น ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และไต้หวัน เสียอีก (Yun-Han Chu et al., ๒๐๐๘) อย่างไรก็ตาม การเลือกตัง้ เป็ นเพียงองค์ประกอบขัน้ พื้นฐานของระบอบประชาธิปไตยเท่านัน้ การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทีเ่ กี่ยวข้องกับการเลือกตัง้ จึงเป็ นเพียงแค่จุดเริม่ ต้นเล็กๆ ของการพัฒนาไปสู่ ความเป็ นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยทีแ่ ข็งขันในอนาคต แท้จริงแล้ว ประชาธิปไตยควรสร้างจาก ท้อ งถิ่น ใช้ก ารปกครองระดับท้อ งถิ่นเป็ นเวทีฝึ กฝนให้ประชาชนมีค วามรู้ค วามเข้าใจในกิจการของ บ้านเมือง และทาให้ประชาธิปไตยระดับท้องถิน่ เป็ นรากฐานของประชาธิปไตยระดับชาติ (Mill, ๒๐๐๔; เอนก เหล่าธรรมทัศน์, ๒๕๕๒) รายงานผลการสารวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับความพึงพอใจ ต่อบริการสาธารณะและการทางานของหน่ วยงานต่างๆ ที่สถาบันพระปกเกล้าร่วมกับสานักงานสถิติ เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๕/๓๓


แห่งชาติทาการสารวจระหว่างปี ๒๕๔๘-๒๕๕๓ พบว่าในปี ๒๕๕๓ มีประชาชนประมาณร้อยละ ๒๖.๙ เท่านัน้ ที่ระบุว่าเคยเข้าร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในการวางแผนการให้บริการสาธารณะ และ หากมองย้อนกลับไปในปี ก่อนหน้านัน้ สัดส่วนนี้ถอื ว่าเป็ นแนวโน้มที่ลดลงค่อนข้างจะต่อเนื่อง (สถาบัน พระปกเกล้า, ๒๕๕๔) นอกจากนี้ ถึงแม้ว่าเทคโนโลยีทก่ี ้าวหน้าของโลกยุคปจั จุบนั จะมีส่วนสนับสนุ นให้ประชาชนชาว ไทยสามารถแสดงความคิดเห็น วิพากษ์วจิ ารณ์ และบอกเล่าความต้องการของตนเองต่อสาธารณะและ ผูเ้ กี่ยวข้องได้สะดวกรวดเร็วกว่าในอดีตเป็ นอย่างมาก (Carthew, ๒๐๑๐; Poowin Bunyavejchewin, ๒๐๑๐) แต่ขอ้ มูลการเข้าเยีย่ มชมเว็บไซต์ของคนไทยซึง่ รวบรวมโดยศูนย์เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) พบว่า ในแต่ละวัน ผูเ้ ข้าชมเว็บไซต์ในประเทศไทยมากกว่าครึง่ หนึ่ง จะใช้เว็บไซต์เพื่อเข้าถึงข้อมูลประเภทบันเทิงและเกม ในขณะที่ ผู้ใช้ท่เี ข้าไปเยีย่ มชมเว็บไซต์ข่าวและ หน่วยงานราชการมีรวมกันประมาณร้อยละ ๘ เท่านัน้ ๑ (Thaweesak Koanantakool, ๒๐๐๗) เหตุการณ์การชุมนุมเรียกร้องของประชาชนเรือนหมื่นเรือนแสนไม่ว่าจะสวมเสือ้ สีใดหรือมีฐานะ ทางเศรษฐกิจสังคมระดับไหนทีเ่ กิดขึน้ บ่อยครัง้ ในช่วง ๕-๖ ปีทผ่ี ่านมา เป็ นหลักฐานสาคัญอีกอันหนึ่งที่ สะท้อนถึงความตื่นตัวทางการเมืองของคนไทย นักวิชาการจานวนหนึ่งถึงกับมองว่าการเมืองโดยการ ชุมนุมประท้วงเรียกร้อง (protest politics) ได้กลายเป็นเรือ่ งปกติของวิถชี วี ติ ทางการเมืองของคนไทยไป แล้ว (Chairat Charoensin-o-larn, ๒๐๑๐; Ockey, ๒๐๐๙; Thitinan Pongsudhirak, ๒๐๐๘) อย่างไรก็ ตาม ยังไม่มหี ลักฐานที่สามารถยืนยันได้อย่างหนักแน่ นว่าความตื่นตัวของประชาชนนี้คอื เครื่องบ่งชี้ว่า ประเทศไทยได้มกี ระบวนการพัฒนาการเมืองไปสู่การมีระบอบประชาธิปไตยที่เข้มแข็งแล้ว และการ ออกมาชุมนุ ม ประท้ว งของประชาชนเป็ นการลุ กขึ้นมาต่ อ สู้เ รียกร้อ งของผู้มสี านึกพลเมือ งในสังคม ประชาธิปไตยแล้วในทุก กรณี ปรากฏการณ์ท่เี กิดขึ้นในช่วงที่ประเทศไทยต้องประสบกับวิกฤติมหา อุทกภัยในช่วงปลายปี ๒๕๕๔ แสดงให้เห็นในด้านหนึ่งว่าความรูส้ กึ ว่าตัวเองเป็ นเจ้าของบ้านเมืองและ ความรูส้ กึ ว่าตัวเองมีความสามารถทีจ่ ะดูแลรักษาบ้านเมืองได้ได้เกิดขึน้ แล้วในสานึกของคนไทยจานวน มากผ่านสิง่ ทีเ่ รียกว่า ‚จิตอาสา‛ แต่อกี ด้านหนึ่ง ก็ยงั พบว่าประชาชนจานวนไม่น้อยยังขาดสานึกเหล่านี้ และเอาแต่เฝ้ารอรับการ ‚สงเคราะห์‛ จากรัฐหรือประชาชนคนอื่นเพียงอย่างเดียว ในปจั จุบนั ประชาชนมีการชุมนุ มเรียกร้องเพื่อพิทกั ษ์สทิ ธิของตนมีมากขึน้ รวมถึงการมีความ ต้องการมีส่วนร่วมในนโยบายสาธารณะตัง้ แต่การรับรูข้ อ้ มูลข่าวสาร การมีส่วนร่วมในการแสดงความ คิดเห็นและตัดสินใจในนโยบายหรือโครงการทีม่ ผี ลกระทบต่อชีวติ ความเป็ นอยู่ของประชาชน แต่กลไก ในการมีส่วนร่วมยังไม่เปิดกว้าง ในขณะทีห่ น่ วยงานของรัฐดูเหมือนจะเมินเฉยต่อการกระจายโอกาสให้ ประชาชนมีส่วนร่วมมากขึน้ กว่าการเลือกตัง้

สถิตกิ ารเข้าเยีย่ มชมเว็บไซต์ของคนไทยสามารถแจกแจงตามประเภทของเว็บไซต์ทค่ี นไทยเข้าเยีย่ มชมโดยเฉลีย่ ในแต่ละวันได้ โดยเรียง ตามลาดับ ดังนี้ บันเทิง (ร้อยละ ๔๐.๔๘) เกม (ร้อยละ ๙.๘๕) อินเตอร์เน็ต (ร้อยละ ๖.๕๐) ข้อมูลบุคคล/ทางสังคม (ร้อยละ ๖.๓๔) ข่าว (ร้อยละ ๖.๓๓) ธุรกิจ (ร้อยละ ๓.๗๒) คอมพิวเตอร์ (ร้อยละ ๒.๐๑) การเมืองการปกครอง (ร้อยละ ๑.๗๕) การศึกษา (ร้อยละ ๑.๗๑) เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๖/๓๓


สถานการณ์ความเปลีย่ นแปลงในเชิงพฤติกรรมและทัศนคติทางการเมืองของประชาชนชาวไทย ทีก่ ล่าวมา แสดงให้เห็นว่าการปฏิรปู การเมืองโดยการพัฒนาความเป็ นพลเมืองในสังคมประชาธิปไตยจึง มีประเด็นทีส่ งั คมไทยจะต้องช่วยกันขบคิดและขับเคลื่อนอีกจานวนมาก นโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง จากการที่รฐั ธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ มีเจตนารมณ์สาคัญในเรื่อง ของการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน ทาให้จาเป็ นต้องมีการปรับปรุง แก้ไข หรือตรากฎหมาย ขึ้นใหม่ใ ห้สอดคล้อ งกับรัฐธรรมนู ญ ดังกล่ าว ด้ว ยรัฐธรรมนู ญ ถือ เป็ นกฎหมายสูงสุ ดในการปกครอง ประเทศ แต่ไม่มกี ารดาเนินการ จนกระทังมี ่ รฐั ธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ก็ ยังคงไม่มกี ารปรับปรุง แก้ไข หรือตรากฎหมายขึน้ ใหม่ให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนู ญดังกล่าวอีกเช่นกัน ตัวอย่างที่เห็นได้อย่างชัดเจนคือเรื่องสิทธิการมีส่วนร่วมในการบริหารกิจการขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิน่ ทีม่ กี ารวางหลักการไว้ในมาตรา ๒๘๗ ว่า ‚ประชาชนในท้อ งถิ่นมีส ิทธิมสี ่ว นร่วมในการบริหารกิจการขององค์กรปกครองส่ว น ท้องถิน่ โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ต้องจัดให้มวี ธิ กี ารทีใ่ ห้ประชาชนมีส่วนร่วมดังกล่าว ได้ดว้ ย ในกรณีท่ีก ารกระท าขององค์ก รปกครองส่ ว นท้อ งถิ่น จะมีผ ลกระทบต่ อ ชีว ิต ความ เป็ นอยู่ของประชาชนในท้องถิน่ ในสาระสาคัญ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ต้องแจ้งข้อมูล รายละเอียดให้ประชาชนทราบก่อนกระทาการเป็ นเวลาพอสมควร และในกรณีทเ่ี ห็นสมควร หรือได้รบั การร้องขอจากประชาชนผูม้ สี ทิ ธิเลือกตัง้ ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ต้องจัดให้ มีการรับฟงั ความคิดเห็นก่อนการกระทานัน้ หรืออาจจัดให้ประชาชนออกเสียงประชามติ เพื่อตัดสินใจก็ได้ ทัง้ นี้ ตามทีก่ ฎหมายบัญญัติ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ต้องรายงานการดาเนินงานต่อประชาชนในเรื่องการจัดทา งบประมาณ การใช้จ่าย และผลการดาเนินงานในรอบปี เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการ ตรวจสอบและกากับการบริหารจัดการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในการจัด ท างบประมาณขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่น ตามวรรคสาม ให้ น า บทบัญญัตมิ าตรา ๑๖๘ วรรคหก มาใช้บงั คับโดยอนุโลม‛ แต่ในทางปฏิบตั ิ กฎหมายต่างๆ โดยเฉพาะระเบียบของกระทรวงมหาดไทยทีม่ กี ารตราขึน้ เพื่อ รองรับเจตนารมณ์ของบทบัญญัตมิ าตรานี้กลับมิได้เอื้อให้สทิ ธิการมีส่วนร่วมในการบริหารกิจการของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ของประชาชนเกิดขึน้ ได้อย่างแท้จริง นอกจากนี้ กฎหมายหลายฉบับได้มกี ารบัญญัตใิ นเรื่องของการมีส่วนร่วมของประชาชนไว้บ้าง แต่ไม่ครอบคลุมการมีส่วนร่วมทุกระดับ ยิง่ ไปกว่านัน้ ด้วยกระแสของโลกาภิวตั น์ทใ่ี ห้ความสนใจกับการ อนุรกั ษ์และประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม ทาให้มขี อ้ ตกลงระหว่างประเทศมากมายในเรื่องดังกล่าว และ เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๗/๓๓


กฎหมายของประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้วจะมีเรือ่ งของการมีส่วนร่วมของประชาชนเข้าไปเกีย่ วข้องเสมอ ไม่เว้น แม้ในกระบวนการร่างกฎหมาย กฎหมายอื่นๆ นอกเหนือจากทีก่ ล่าวมาแล้วในส่วนอื่น อาทิ ๑. พระราชบัญญัติ โรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ เนื่อ งจากกฎหมายนี้บญ ั ญัติข้นึ ก่ อนการมีรฐั ธรรมนู ญที่ใ ห้ความสาคัญกับการมีส่ วนร่วมของ ประชาชน อย่างไรก็ดีกฎหมายฉบับนี้ก็จดั ว่ามีเรื่อ งของการมีส่ วนร่ว มอยู่บ้าง แต่ มกั เป็ นการให้ร่ว ม ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย มากกว่าการร่วมรับรู้ คิด ให้ความเห็น ตัดสินใจ อย่างไรก็ดใี นการตรวจสอบนัน้ มี การให้เอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบโรงงานหรือเครื่องจักร แทนเจ้าหน้าที่ได้ดงั ปรากฏใน มาตรา ๙ ซึง่ เป็นการเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนเข้าร่วมในการตรวจสอบแทนเจ้าหน้าทีข่ องรับ ซึง่ มิได้เปิด โอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงแต่อย่างใด ๒. พระราชบัญญัตกิ ารสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ มีการตัง้ คณะกรรมการสาธารณสุขซึ่งมีคณะกรรมการผูท้ รงคุณวุฒทิ ่มี าจากผูม้ คี วามรูส้ ามารถ หรือประสบการณ์ในการสาธารณสุข จัดว่าเป็นการเปิดโอกาสให้ผมู้ คี วามรูเ้ ข้าไปมีส่วนร่วม ในการเสนอ ความเห็นทางนโยบาย ๓. พระราชบัญญัติรกั ษาความสะอาดและความเป็ นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. ๒๕๓๕ บัญญัตใิ ห้ประชาชนต้องร่วมกันดูแลรักษาความสะอาดทางเท้าทีอ่ ยู่ตดิ อาคารของตนตามมาตรา ๖ และสามารถเข้ามามีส่วนร่วมได้ในการติดตามตรวจสอบการกระทาผิดได้ ตามมาตรา ๕๑ ๔. พระราชบัญญัตขิ อ้ มูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ บัญญัตใิ ห้ในเรื่องของการร่วมรับรู้ ประชาชนมีสทิ ธิในการทราบข้อมูลข่าวสารและมีสทิ ธิในการ ขอดูขอ้ มูลข่าวสารของทางราชการ บุคคลไม่ว่าจะมีส่วนได้เสียเกี่ยวข้องหรือไม่ก็ตาม ย่อมมีสทิ ธิเข้า ตรวจดู ขอสาเนาหรือขอสาเนา ที่มคี ารับรองถูกต้องของข้อมูลข่าวสารได้ นอกจากนี้หากผู้ใดเห็นว่า หน่ วยงานของรัฐไม่จดั พิมพ์ขอ้ มูลข่าวสารตาม มาตรา ๗ หรือไม่จดั หา ข้อมูลข่าวสารไว้ให้ประชาชน ตรวจดูได้ตาม มาตรา ๙ หรือไม่จดั หาข้อมูลข่าวสารให้แก่ตนตาม มาตรา ๑๑ หรือฝ่าฝื นหรือไม่ปฏิบตั ิ ตามพระราชบัญ ญัติน้ี หรือ ปฏิบตั ิห น้ าที่ล่ าช้า หรือ เห็นว่าตนไม่ไ ด้รบั ความสะดวกโดยไม่มเี หตุ อ ัน สมควร ผูน้ นั ้ มีสทิ ธิรอ้ งเรียนต่อคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารได้ ๕. พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธกี ารบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี พ.ศ. ๒๕๔๖ กฎหมายนี้ออกมาเพื่อให้หน่ วยงานราชการให้ความสาคัญกับการบริหารจัดการที่ดี ที่คานึงถึง การมีส่วนร่วมของประชาชน การมีความโปร่งใสในการทางาน มีการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ และคุ้มค่า มีการอานวยความสะดวกและตอบสนองความต้องการของประชาชน และมีการประเมินผล การทางาน มีการลดขัน้ ตอนการทางานเพื่อให้เกิดความคล่องตัว ทัง้ นี้เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน โดยให้ประชาชนเป็ นศูนย์กลาง ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ โดย เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ โดยที่มกี ารปฏิรูประบบราชการ เพื่อให้การ ปฏิบตั ิง านของส่ ว นราชการตอบสนองต่ อ การพัฒนาประเทศ และให้บ ริการแก่ ประชาชนได้อ ย่างมี ประสิทธิภาพยิง่ ขึ้น ซึง่ การบริหารราชการและการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องส่วนราชการนี้ ต้องใช้วธิ กี ารบริหาร เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๘/๓๓


กิจการบ้านเมือ งที่ดี เพื่อ ให้ก ารบริห ารราชการแผ่ นดินเป็ นไปเพื่อ ประโยชน์ สุ ขของประชาชน เกิด ผลสัม ฤทธิต์ ่ อ ภารกิจ ของรัฐ มีป ระสิท ธิภ าพ เกิด ความคุ้ม ค่ า ในเชิง ภารกิจ ของรัฐ ลดขัน้ ตอนการ ปฏิบตั งิ านทีเ่ กินความจาเป็น และประชาชนได้รบั การอานวยความสะดวกและได้รบั การตอบสนองความ ต้องการ รวมทัง้ มีการประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการอย่างสม่าเสมอ ๖. พระราชบัญญัตสิ ภาพัฒนาการเมือง พ.ศ.๒๕๕๑ พระราชบัญ ญัติน้ีต ราขึ้นตามบทบัญ ญัติของรัฐ ธรรมนู ญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุท ธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๗๘ (๗) ซึ่ง บัญ ญัติใ ห้ม ีก ารจัด ท าแผนพัฒ นาการเมือ ง รวมทัง้ จัด ให้ม ีส ภาพัฒ นา การเมือ งที่ม ีค วามเป็ น อิส ระ เพื่อ ติด ตามสอดส่ อ งให้ ม ีก ารปฏิบ ัติต ามแผนดัง กล่ าวอย่า งเคร่ง ครัด นอกจากนี้ ในมาตรา ๘๗ (๔) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ยังไดบัญญัตใิ ห้มกี ฎหมายจัดตัง้ กองทุนพัฒนาการเมือ งภาคพลเมือ งเพื่อช่ว ยเหลือ การดาเนินกิจกรรมสาธารณะของชุมชน รวมทัง้ สนับสนุนการดาเนินการของกลุ่มประชาชนทีร่ วมตัวกันในลักษณะเครือข่ายทุกรูปแบบให้ สามารถแสดง ความคิด เห็น และเสนอความต้อ งการของชุ ม ชนในพื้น ที่ จึง กาหนดให้ มสี ภาพัฒ นาการเมือ งโดยมี วัตถุประสงค์ในการพัฒนาการเมืองส่งเสริมการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมของผู้ดารงตาแหน่ งทาง การเมืองและเจาหน้าทีข่ องรัฐ รวมทัง้ ดาเนินการให้ประชาชนมีความเข้มแข็งในทางการเมือง พระราชบัญญัตนิ ้ไี ด้กาหนดให้ประชาชนได้มสี ่วนร่วมทางการเมือง เพื่อพัฒนาการเมือ งในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเ์ ป็นประมุข และส่งเสริมการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมของผูด้ ารง ตาแหน่งทางการเมือง และเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ รวมทัง้ ส่งเสริมให้ประชาชนมีความเข็มแข็งในทางการเมือง ทัง้ นี้โดยส่ งเสริมภาคประชาสังคม และการเมืองภาคพลเมือง โดยที่พระราชบั ญ ญัติน้ีมุ่งเน้ นในการ ส่ งเสริม และให้ค วามช่ ว ยเหลือ ประชาชน ชุ มชน องค์ก รภาคประชาสัง คมให้ใ ช้ส ิทธิต ามกฎหมาย รัฐธรรมนู ญ ทัง้ ในการรับ ทราบและการเข้าถึงข้อ มูล ข่าวสาร การมีส่ ว นร่ว มในการกาหนดนโยบาย สาธารณะ การวางแผนด้านต่างๆ ทัง้ ระดับชาติและท้องถิน่ การตัดสินใจทางการเมือง การจัดทาบริการ สาธารณะและการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐและร่วมมือกับสภาองค์กรชุมชนเพื่อดาเนินการต่างๆ ๗. พระราชบัญญัตสิ ภาองค์กรชุมชน พ.ศ.๒๕๕๑ พระราชบัญญัตนิ ้เี ป็นกฎหมายทีส่ ่งเสริมให้มกี ารขับเคลื่อนภาคประชาสังคมในชุมชน โดยเรียกว่า ‚สภาองค์กรชุมชนตาบล‛ มีการรวมตัวของชุมชนโดยกลุ่มประชาชน เพื่อผลประโยชน์และวัตถุประสงค์ ร่วมกันเพื่อช่วยเหลือหรือสนับสนุ นกัน หรือทากิจกรรมอันชอบด้วยกฎหมายร่วมกัน หรือดาเนินงาน อย่างอื่นเพื่อประโยชน์ร่วมกันของสมาชิก โดยมีการดาเนินการอย่างต่อเนื่อง และมีระบบการบริหาร จัดการและการแสดงเจตนาแทนกลุ่มได้ เหตุผลทีม่ กี ารประกาศใช้พระราชบัญญัตฉิ บับนี้กเ็ นื่องมาจากการทีช่ ุมชนเป็ นรากฐานทางสังคมที่ มีค วามสาคัญ ทางประวัติศ าสตร์ มีว ิถีชวี ิต วัฒนธรรมแตกต่างหลากหลายตามภูมนิ ิเวศ การพัฒนา ประเทศที่ผ่านมาก่อให้เกิดการเปลีย่ นแปลง ทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ ชุมชนอ่ อนแอ ประสบกับปญั หาความยากจน เกิดปญั หาสังคมมากขึน้ ทรัพยากรและสิง่ แวดล้อมของ ชุมชนถูกทาลายลงจนเสื่อมโทรม ดังนัน้ เพื่อให้ชุมชนมีความเข้มแข็งจัดการตัวเองได้อย่างยังยื ่ น รวมทัง้ การมีบทบาทในการพัฒนาประเทศ การสร้างระบอบประชาธิปไตยและธรรมาภิบาลซึ่งรัฐธรรมนู ญได้ เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๙/๓๓


บัญญัตริ บั รองสิทธิชุมชนและประชาชนให้มบี ทบาทสาคัญในการพัฒนาท้องถิน่ ดังนัน้ ชุมชนจึงควรได้ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ และท้องถิน่ อย่างมีประสิทธิภาพ อนึ่ง พระราชบัญ ญัติฉ บับนี้ มคี วามสัมพันธ์เ ชื่อ มโยงกับพระราชบัญ ญัติส ภาพัฒ นาการเมื อ ง เพราะสมาชิกสภาพัฒนาการเมืองส่วนหนึ่งมาจากสภาองค์กรชุมชน (จังหวัดละ ๑ คน) กฎหมายที่นาเสนอนี้เป็ นเพียงบางส่วนเท่านัน้ อย่างไรก็ดี กฎหมายต่างๆ ที่มไิ ด้สอดคล้องกับ เจตนารมณ์ ของรัฐธรรมนู ญ หลายฉบับจาเป็ นต้อ งได้รบั การแก้ไข ทัง้ ยังมีกฎหมายอีกหลายฉบับ ที่ รัฐธรรมนู ญบัญญัตไิ ว้ว่าต้องมี แต่ยงั มิได้ออกมาบังคับใช้แต่อย่างใด ทาให้ประชาชนยังขาดช่องทางใน การเข้ามาสู่กระบวนการมีส่วนร่วมได้อย่างสมบูรณ์ ปัญหาที่สาคัญ จากเหตุการณ์ต่างๆ ทีแ่ สดงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนในรูปแบบต่างๆ ในระยะ ๘๐ ปี ท่ี ผ่านมาพบว่ายังมีปญั หาและอุปสรรคต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนอยู่มาก ถึงแม้ช่วงหลังจะดีขน้ึ บ้าง ด้วยการมีรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐, ๒๕๕๐ แล้วแต่ปญั หาในการมีส่วน ร่วมของประชาชนยังคงมีอยูเ่ พราะยังมีขอ้ จากัดในการแปลงการมีส่วนร่วมจากนามธรรมให้เป็ นรูปธรรม และโอกาส ช่องทางต่างๆยังแคบมากสาหรับประชาชนทัวไป ่ ยกเว้นชนชัน้ ผู้นาที่สามารถใช้ประโยชน์ จากการหาช่องว่างของกฎระเบียบ และอานาจที่ม ี พร้อมระบบอุปถัมภ์ เข้าหาผลประโยชน์ บนความ ทุกข์ของประชาชนและประเทศชาติโดยรวม นามาสู่ความขัดแย้งต่างๆ และจากการทีป่ ระชาชนไม่ค่อย ได้มสี ่วนร่วมในการะบวนการทางนโยบายของรัฐ ด้วยอุปสรรคต่างๆมีมากมายที่ทาให้ไม่เอื้อต่อการ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนให้ดาเนินไปอย่างมีประสิทธิผลตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนู ญ ปญั หาต่างๆทีม่ กี ารศึกษามาก่อนแล้วโดยสถาบันพระปกเกล้า (คนึงนิจ ศรีบวั เอี่ยมและคณะ.๒๕๔๕) และจากกรณีการมีส่วนร่วมต่างๆพอสรุปได้ดงั นี้ ๑. ปญั หาด้านการรับรูเ้ กีย่ วกับแนวคิดและความสาคัญของการมีส่วนร่วมของประชาชน ในส่วน ทีเ่ กีย่ วกับเจ้าหน้าทีภ่ าครัฐและความเชื่อดัง้ เดิมทีค่ ดิ ว่า ข้าราชการคือนายของประชาชน ประชาชนไม่ม ี ความรูค้ วามสามารถทีจ่ ะเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสิน ใจใดๆ ได้ ดังนัน้ การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้า มามีส่วนร่วมได้จงึ มีจากัด ๒. ปญั หาด้านโครงสร้างกฎหมายและกระบวนการนโยบายทีไ่ ม่เอื้อต่อการมีส่วนร่วม เพราะ ช่องทางเข้าถึงกระบานการต่างๆเป็ นไปโดยยาก และกฎหมายประกอบรัฐธรรมนู ญที่จะช่วยเปิ ดช่อง ทางการมีส่วนร่วมเหล่านี้ย งั ไม่ออกมาใช้ ทาให้ความเข้าใจเรื่องการมีส่วนร่วมไม่ชดั เจน และตีความ ต่างๆกันไปในหลายๆ ฝ่าย จนประชาชนไม่สามารถเข้ามามีส่วนร่วมตามปกติได้ กฎหมายต่างๆทีค่ วร จะออกมาโดยเร็วแต่มไิ ด้ออกมา อาทิ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการมีส่วนร่วมของประชาชน (ซึง่ มิใช่เพียง เป็ นกฎหมายที่เกี่ยวกับการรับฟงั ความคิดเห็นประชาชนเท่านัน้ ) กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับสิทธิชุมชน กฎหมายที่เกี่ยวกับสื่อ ที่จะให้การรับรองสื่อของชุมชนหรือไม่ กฎหมายเกี่ยวกับป่าชุมชน ที่จะเปิ ด โอกาสให้ประชาชนจะได้ดูแลรักษาป่าไม้ และใช้ประโยชน์จากป่าโดยไม่ทาลายป่าในชุมชนของตน เป็ น ต้น นอกจากนี้ในการปรับโครงสร้างกระบวนการนิติบญ ั ญัติเพื่อที่จะให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมได้ เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๑๐/๓๓


อย่า งแท้จ ริง ในกระบวนการดังกล่ า ว ยัง เป็ นไปได้ยาก และการยกเลิกกฎหมายที่ล ิด รอนสิทธิของ ประชาชน หรือกฎหมายทีไ่ ม่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญฉบับปจั จุบนั ยังห่างจากความเป็ น จริงอยูม่ าก ๓. ปญั หาการใช้เครือ่ งมือการมีส่วนร่วมของประชาชน เนื่องจากความรูใ้ นเรื่องของการมีส่วน ร่วมของข้าราชการ เจ้าหน้าทีข่ องรัฐต่างๆ และประชาชนไม่เท่ากัน ประกอบกับ เทคนิคของการมีส่วน ร่วมมิได้มกี ารเรียนการสอนกันมาก่อน การมีเพียงเครื่องมือไม่ก่ีประเภททีม่ กั ใช้กนั เพื่อเป็ นเครื่องแสดง ถึงการจัดให้มกี ารมีส่วนร่วมแล้วจึงก่อให้เกิดปญั หาตามมา ดังทีก่ ล่าวมาแล้ว ทัง้ ทีจ่ ริงแล้ว เครื่องมือใน การมีส่วนร่วมมีมากมายและสามารถเลือกใช้ให้เหมาะกับบริบทของสังคมนัน้ ๆ และสถานการณ์ต่างๆได้ อย่างง่ายดาย ประกอบกับประเทศไทยยังขาดแคลนผูม้ ที กั ษะในการนากระบวนการมีส่วนร่วมทีแ่ ท้จริง (meaningful public participation) ทีเ่ พียงพอโดยเฉพาะในวงการราชการ เพราะในอดีตประชาชนเป็ น เพียงผู้รบั ฟงั และเจ้าหน้ าที่ของรัฐไม่ต้องรับฟงั ประชาชน แต่เป็ นผู้สงการ ั่ จึงแทบไม่มกี ารสื่อสารสอง ทาง ช่องว่างระหว่างสองกลุ่มนี้จงึ ห่างกัน เมื่อเครื่องมือในการมีส่วนร่วมมีจากัดและไม่ทราบว่าจะทา อย่างไร โอกาสก็มจี ากัด หากการพยายามสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนโดยสันติเกิดขึน้ แล้วแต่ไม่ม ี ใครรับฟงั อาทิการยื่นหนังสือเรียกร้องสิทธิของตน การรวมตัวกันเพื่อสร้างพลังกลุ่มในการต่อรองจึง เกิดขึ้น และเมื่อชุมชุมโดยสันติแล้วไม่มใี ครรับฟงั การประท้วง การสร้างสถานการณ์เพื่อให้มกี ารฟงั อย่างตัง้ ใจจึงเกิดขึน้ ั หาเรือ่ งวัฒนธรรมทางการเมือ งและความพร้อ มของประชาชน นับ แต่ อ ดีต มีก ารใช้ ๔. ป ญ วัฒนธรรมเชิงอานาจ ทีเ่ ห็นการใช้อานาจเหนือ (power over) ประชาชนเป็ นเรื่องปรกติ เมื่อประชาชน เกิดรูส้ ทิ ธิของตนในการมีส่วนร่วมและเรียกร้องสิทธินัน้ บ้าง ก็จะถูกผู้เคยชินกับวัฒนธรรมแบบเดิมๆที่ เน้นการใช้อานาจ เข้าจัดการและนาไปสูค้ วามรุนแรงหลายครัง้ หลายคราดังอดีตและในทีส่ ุดนาไปสู่การ สูญเสียทัง้ ชีว ิตและทรัพย์ส ิน และไม่มใี ครชนะเลยแม้แต่ น้อย เพราะถึงแม้จะมีผู้ชนะ แต่เป็ นชัยชนะ เพียงชัวคราวเพราะผู ่ แ้ พ้ก็จะเอาคืน และโต้กลับในที่สุดตามหลักธรรมชาติของมนุ ษย์ทไ่ี ม่พยายามก้าว ข้ามวัฒนธรรมเชิงอานาจและธรรมชาติของความเป็นมนุษย์ทค่ี วามอดทนมีจากัด เมื่อถูกกระทาจนถึงจุด หนึ่ ง ก็จ ะโต้ก ลับ และเกิดความรุน แรงในที่สุ ด นอกจากนี้ ใ นเรื่อ งของวัฒ นธรรมทางการเมือ งของ ประชาชนชาวไทยที่ไม่ค่อยสนใจในการมีส่วนร่วมทางการเมืองมากนักเพราะเห็นว่าการเมืองเป็ นเรื่อง ไกลตัว ทาให้เป็ นโอกาสของผู้ต้องการแสวงหาอานาจเข้ามาได้โดยง่ายและแสวงหาประโยชน์เพื่อตน และพวกพ้อง นอกจากนี้ยงั ไม่มกี ารเตรียมความพร้อมให้ประชาขนในการเข้ามามีส่วนร่วมและปกครอง ตนเองตามหลักการการกระจายอานาจเท่าทีค่ วร ทาให้ไม่เกิดการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง ๕. ปญั หาด้านความพร้อมของภาครัฐ โดยเฉพาะความเคยชินของข้าราชการทีค่ อยรับฟงั คาสัง่ ตามลาดับขัน้ ของสายการบังคับบัญชา ไม่จาเป็ นต้องรับฟงั ความคิดเห็นของประชาชน หรือผู้มสี ่วนได้ ส่วนเสียอย่างทัวถึ ่ ง นอกจากนี้การสนับสนุ นด้านงบประมาณทีม่ าจากภาครัฐทาให้ขา้ ราชการตอบสนอง ต่อฝ่ายบริหารเสียส่วนมาก นอกจากนี้ในการเปิ ดเผยข้อมูลของภาครัฐเป็ นไปไม่ง่าย ทัง้ ที่กฎหมายที่ เกี่ยวข้องแล้วก็ตาม เพราะเจ้าหน้ าที่ของรัฐหลายคนยังยึดติดกับรูปแบบการทางานแบบเดิมๆ ทาให้ เข้าใจว่า ‘ปกปิดเป็นหลัก เปิดเผยเป็นข้อยกเว้น’ ทาให้ขอ้ มูลทีป่ ระชาชนควรรับรูม้ จี ากัด เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๑๑/๓๓


๖. ปญั หาเกีย่ วกับตัวชี้วดั การมีส่วนร่วมของประชาชนทัง้ ในด้านการเมืองและมิใช่ดา้ นการเมือง เนื่องจากไม่มตี วั ชีว้ ดั ทีช่ ดั เจนทีจ่ ะบอกให้ทราบว่าประชาชนมีส่วนร่วมแล้วหรือยัง หรือหน่ วยงานของรัฐ เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่มมากน้อยเพียงใด ทาให้ผู้ปฏิบตั งิ านไม่สามารถทางานให้ดขี น้ึ ได้ เพราะไม่มมี าตรฐานในการทางานทีช่ ดั เจน อันทีจ่ ริงก่อนการประกาศใช้รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ เรื่องการมี ส่วนร่วมของประชาชนได้มกี ารระบุไว้บา้ งแล้วในกฎหมาย นโยบาย ระเบียบ และแผนการพัฒนาต่างๆ ของรัฐ เช่น ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยประชา พิจารณ์ พระราชบัญ ญัติส่ งเสริมและรัก ษาคุ ณภาพสิ่งแวดล้อ ม พ.ศ.๒๕๓๕ พระราชบัญ ญัติข้อ มูล ข่าวสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ และพระราชบัญญัตอิ ่นื ๆ เป็ นต้น ซึง่ มีกระบวนการของการมีส่วนร่วม ของประชาชนที่แตกต่างกัน แต่ทงั ้ หมดเป็ นไปเพื่อการพัฒนากระบวนการประชาธิปไตย อย่างไรก็ตาม กฎหมายเหล่ า นี้ ม ิไ ด้ ร ะบุ เ รื่อ งการมีส่ ว นร่ ว มโดยเด่ น ชัด และมิไ ด้ ก าหนดวิธ ีก ารไว้ เช่ น การมี พระราชบัญญัตสิ ่งเสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อม พ.ศ. ๒๕๓๕ ที่ให้ประชาชนมีส่วนร่วมโดยผ่าน องค์กรอิสระ และในมาตรา ๖ (๑) ยังระบุถงึ การรับทราบข้อมูลข่าวสารจากทางราชการในเรื่องเกี่ยวกับ การส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อม เป็นต้น นอกจากนี้ประชาชนมีความตื่นตัวเรื่อง ประชาธิปไตยมีความต้องการมีส่วนร่วมมากขึน้ มีการ ทาประชาพิจารณ์ ซึ่งหลายคนเชื่อ ว่าเป็ นการสร้างการมีส่ วนร่วมของประชาชนที่เ ป็ นมาตรฐานของ ประเทศ แต่ผลทีเ่ กิดขึน้ บางครัง้ ก่อให้เกิดความขัดแย้งของประชาชนหลายฝ่าย หรือระหว่างประชาชน กับรัฐเอง ที่ผ่านมาพบว่าปญั หาในทางปฏิบตั ิของการมีส่วนร่วมมีหลายประการ อาทิ การไม่ระบุเรื่อง การมีส่วนร่วมให้เห็นเด่นชัด คาจากัดความ และกระบวนการของการมีส่วนร่วมไม่ชดั เจน การเข้าใจ สับสนระหว่างประชาพิจารณ์กบั การมีส่วนร่วม และการนาคาว่าประชาพิจารณ์มาใช้โดยไม่เข้าใจหลัก ของประชาพิจารณ์ทาให้เกิดปญั หาความขัดแย้งระหว่างผูเ้ ข้าร่วมทาประชาพิจารณ์ การไม่เข้าใจอย่าง ถ่องแท้ถงึ การมีส่วนร่วมทาให้รฐั บาลมีการตัดสินใจลงไปโดยปราศจากการจัดให้ประชาชนหรือผูม้ สี ่วน ได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนร่วมอย่างแท้จริง ผู้ไ ด้รบั ผลกระทบจากการตัดสินใจทางนโยบายจึงต้องรุกขึ้น ต่อสูเ้ รียกร้องสิทธิเมื่อพวกเขาพบว่าพวกเขากาลังสูญเสียจนทนไม่ได้อกี ต่อไป ทัง้ นี้เพราะคนไทยเป็ น คนทีอ่ ดทน ยินยอมง่าย ไม่อยากมีความขัดแย้ง และการเคยชินกับวิธกี ารปกครองแบบเดิมๆทีร่ ฐั เป็ นผู้ ตัดสินใจทัง้ หมด ทาให้ป ระชาชนไม่ต้องคิดอะไร เพียงแต่รอรับผลจากากรตัดสินใจนัน้ ทัง้ ผลลบและ ผลบวก ตัว อย่า งของการตัดสินใจทางนโยบายที่มคี วามส าคัญ และมีผ ลกระทบต่ อ ประชาชน แต่ ใ น กระบวนการตัดสินใจ หรือในขัน้ ตอนก่อนหน้าตัง้ แต่เสาะหาข้อมูล มิได้เปิดเผยให้ประชาชนได้รบั รูอ้ ย่าง ทัวถึ ่ ง ทันการณ์ เข้าใจง่ายๆ อาทิ เรื่องการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การศึกษา เป็ นต้น ส่วนใหญ่เป็ นโครงการพัฒนาที่มไิ ด้คานึงถึง รูปแบบของการพัฒนาอย่าง ยังยื ่ น มากเท่าไรนัก และนามา หรืออาจนามาซึง่ ความเดือดร้อนจากผลกระทบทางลบ

เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๑๒/๓๓


เรือ่ งการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ มีหลายกรณีทป่ี ระชาชนมีความรูว้ ่าหากการตัดสินใจของรัฐ มีผลเมื่อใด พวกเขาก็จะเดือดร้อนด้วยผลกระทบทางลบหลายด้าน กรณีความขัดแย้งเรื่องท่อก๊าซที่ จังหวัดสงขลา ประเทศไทยเป็ นกรณีตวั อย่างต้นแบบที่รฐั บาลประชาธิปไตยทุกแห่งจะต้องเผชิญ เป็ น การต่ อ สู้ร ะหว่ า งผลประโยชน์ ข องคนกลุ่ มน้ อ ยที่จ ริง จังกับ ผลประโยชน์ ข องคนกลุ่ ม ใหญ่ ท่เี ฉยเมย ประเด็นนี้สะเทือนความรูส้ กึ อย่างยิง่ ต่อประเทศทีก่ าลังเริม่ พัฒนาตัวเองไปสู่ประชาธิปไตยทีต่ ้องต่อสูใ้ ห้ ได้มาซึง่ รัฐบาลทีส่ ะท้อนเสียงส่วนใหญ่ตามระบอบประชาธิปไตย มิตกิ ารขัดแย้งนี้ถูกปรากฏชัดขึน้ เมื่อนายกรัฐมนตรีได้อ้างผลประโยชน์ของชาติจากการพัฒนา แหล่ ง พลัง งานใหม่ ค รัง้ นี้ ในฐานะที่ ร ัฐ บาลได้ ร ับ เลือ กตัง้ มาจากเสีย งส่ ว นใหญ่ ม ีห น้ า ที่ ป กป้ อง ผลประโยชน์ของทัง้ ประเทศแม้ว่าผลประโยชน์นนั ้ จะไปทับซ้อนผลประโยชน์ในท้องถิน่ ของชาวบ้านใน พื้น ที่เ ฉพาะแห่ ง หนึ่ งก็ ต าม แม้แ ต่ ใ นประเทศประชาธิปไตยที่มนคง ั ่ อ านาจก็มใี ห้ใ ช้เ พื่อ การรัก ษา ผลประโยชน์ของคนส่วนใหญ่เหนือผลประโยชน์ของคนกลุ่มน้อยทีต่ ่อต้าน โดยเฉพาะอย่างยิง่ กลุ่มคนที่ ต่อต้านการพัฒนาด้วยเหตุผลเฉพาะถิน่ ของตน๒ กรณีโต้แย้งท่อก๊าซได้ตอกย้าประเด็นปญั หาและความ ตึงเครียดที่คุ้นเคยกันดีเมื่อเกิดเหตุขดั แย้งในทุกเรื่องระหว่างรัฐบาลและประชาชนเกี่ยวกับผลกระทบ ของการพัฒนาโครงการต่างๆในประเทศไทย ความตึงเครียดเหล่านี้ขยายตัวไปไกลกว่ากรณีขดั แย้ง เฉพาะเรื่อ ง ไม่ ว่ า จะเป็ น การก่ อ สร้า งโรงงานพลัง ไฟฟ้ าถ่ า นหิน ที่ป ระจวบคีร ีข นั ธ์ การด าเนิ น การ โครงการเขื่อนปากมูลและเขื่อนอื่นๆ ตลอดจนการหาที่ตงั ้ เตาเผาขยะ ๓ เรื่องทางการพัฒนาเศรษฐกิจ อาทินโยบายเขตการค้าเสรี (Free Trade Area: FTA)๔ ทีค่ าดว่าจะก่อให้เกิดผลกระทบอย่างมากต่อ เกษตรกรไทยในระยะยาวอย่างแน่ นอน และเกษตรกรเหล่านัน้ มิได้ล่วงรูถ้ งึ การตัดสินใจของรัฐ บาลเลย แต่พวกเขาต้องมารับภาระจากการตัดสินใจนี้ ประชาชนไม่สามารถแสดงความคิดเห็น หรือให้ขอ้ ห่วง กังวลต่อผู้มอี านาจตัดสินใจได้ เมื่อเวลาผ่านไป พวกเขาจะพบปญั หามากมายทีพ่ วกเขามิได้ก่อแต่ต้อง รับผล ในทีส่ ุดความขัดแย้งอาจเกิดขึน้ ได้หากผูม้ สี ่วนในการกาหนดนโยบายมิได้ คานึงถึงจุดนี้ ประกอบ กับการอ้างว่ามีการศึกษาวิจยั ดีแล้วว่ามีผลดีมากกว่า แต่การเยียวยาผูร้ บั ผลกระทบจะทาอย่างไร ข้อมูล เหล่านี้มไิ ด้เปิดเผยสู่สาธารณชน หรือหากเปิดเผยก็ยากทีป่ ระชาชนธรรมดาเช่นเกษตรกรทัวไปจะเข้ ่ าใจ ได้งา่ ยๆ (ถวิลวดี บุรกี ุล, ๒๕๔๗) แนวทางการแก้ไขปัญหา จากสถานการณ์และสภาพปญั หาของการมีส่วนร่วมทางการเมืองทีก่ ล่าวมาข้างต้น แนวทางการ พัฒนาความเป็ นพลเมืองทีส่ าคัญและจาเป็ นเร่งด่วนมีอยู่อย่างน้อย ๓ เรื่อง ได้แก่ การเปิดกลไกภาครัฐ ให้ประชาชนเข้ามีส่วนร่วมอย่างแท้จริง การเสริมสร้างความเป็ นพลเมืองผ่านกระบวนการกล่อมเกลา ๒

ปรากฏการณ์น้ใี นบางทีเ่ รียกกันว่าเป็ นประเด็นการโต้แย้ง NIMBY (Not In My Back Yard—ห้ามทาทีห่ ลังบ้านฉัน) สถาบันครอฟท์เพือ่ การศึกษานานาชาติอ๊อกซ์ฟอร์ด มลรัฐมิสซิสซิปปี้ ประเทศสหรัฐอเมริกา และสถาบันพระปกเกล้า. อ้างแล้ว. ๔ เขตการค้าเสรี หมายถึง การรวมกลุ่มเศรษฐกิจโดยมีเป้าหมายเพือ่ ลดภาษีศุลกากรระหว่างกันภายในกลุ่มลงให้เหลือน้อยทีส่ ุด หรือเป็ น ๐% และใช้อตั ราภาษีปกติทส่ี งู กว่ากับประเทศนอกกลุ่ม การทาเขตการค้าเสรีในอดีตมุง่ ในด้านการเปิดเสรีดา้ นสินค้า (goods) โดยการลด ภาษีและอุปสรรคทีไ่ ม่ใช่ภาษีเป็นหลัก แต่เขตการค้าเสรีในระยะหลังๆนัน้ รวมไปถึงการเปิดเสรีดา้ นบริการ (services) และการลงทุนด้วย เขตการค้าเสรีทส่ี าคัญในปจั จุบนั คือ NAFTA และ AFTA ๓

เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๑๓/๓๓


ทางสังคม และการปฏิรปู ระบบกฎหมายเพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน ซึง่ ในแต่ละแนวทาง มีขอ้ เสนอเพื่อนาไปสู่การแก้ไขปญั หา ดังนี้ ข้อเสนอที่ ๑: การเปิ ดกลไกภาครัฐเพื่อให้ประชาชนเข้ามีส่วนร่วมอย่างแท้จริ ง การปฏิรูปการเมืองที่ยงยื ั ่ นนัน้ เกิดจากการมีส่วนร่วมของประชาชน (people participation) ปจั จุบนั ในรัฐธรรมนู ญได้เ ปิ ดช่ องทางให้ประชาชนเข้ามาส่ว นร่ว มทางการเมือง แต่ ในทางปฏิบตั ินัน้ ประชาชนไม่สามารถเข้ามามีส่วนร่วมได้อย่างแท้จริง เนื่องจาก ไม่มกี ฎหมายลูกทีเ่ ข้ามารองรับ ทาให้ยงั ไม่ชดั เจนว่ากระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนทีเ่ ป็ นรูปธรรมนัน้ ควรเป็ นอย่างไร ซึง่ การให้ประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมทีส่ ามารถดาเนินการได้งา่ ยทีส่ ุด คือ การมีส่วนร่วมจากส่วนท้องถิน่ ทีผ่ ่านมาประชาชน มีส่วนร่วมกับการปกครองส่วนท้องถิน่ แค่เพียงการเลือกตัง้ ซึง่ ยังขาดกลไกทีฝ่ ึกให้ประชาชนมีส่วนร่ว ม โดยเริม่ จากภาคส่วนเล็กๆ ก่อน (เช่น อบต.) ซึ่งสามารถขยายผลต่อไปได้ ดังนัน้ ภาครัฐโดยเฉพาะ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่ นต้องเปิ ดกลไกให้ประชาชนเข้ามีส่วนร่วมได้อย่างแท้ จริ งตัง้ แต่ ระดับ โครงการหรือแผนงาน โดยในการเปิ ดกลไกภาครัฐนี้จะต้องเน้ นหนักไปที่การเสริมสร้างพลังอานาจ ให้แก่ประชาชน (empowerment) มุ่งให้ประชาชนตระหนักรูถ้ งึ ความเปลีย่ นแปลงของชีวติ และไม่รสู้ กึ แปลกแยกทางการเมืองหลังจากมีส่วนร่วม หนึ่งในมิตสิ าคัญในการพัฒนาทางการเมืองก็คอื การสร้างตัวชีว้ ดั การมีส่วนร่วมทางการเมืองของ ประชาชน ทัง้ นี้จากเดิมทีค่ าจากัดความเรื่องการพัฒนาทางการเมือง (political development) มุ่งเน้น ไปทีเ่ รื่องของการสร้างเสถียรภาพให้กบั ระบบการเมืองท่ามกลางความเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจสังคม และความคาดหวังทางการเมืองทีเ่ พิม่ มากขึน้ แต่ขาดสถาบันทางการเมืองรองรับ ดังนัน้ การเปลีย่ นแปลง จึงเป็นลักษณะของการเปลีย่ นแปลงทีค่ ่อยเป็ นค่อยไป และใช้กลไกของพรรคการเมืองและการเลือกตัง้ (Huntington, ๑๙๖๘) ผ่ า นการออกแบบรัฐธรรมนู ญ ในระยะเปลี่ย นผ่ า นทางการเมือ ง เพื่อ การ ประนี ประนอมของพลังทางสังคมที่ห ลากหลาย มาสู่เ รื่อ งของการให้ค วามส าคัญ กับการมีส่ ว นร่ว ม ทางการเมืองของประชาชนในมิตขิ องการมุ่งเน้นความโปร่งใส การร่วมใช้อานาจ และความพร้อมรับผิด ของรัฐ (accountability) ต่อประชาชน รวมทัง้ การมองว่าการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมนัน้ มีมติ ทิ าง การเมืองอยูใ่ นนัน้ ด้วย (โดยเฉพาะในมิตดิ า้ นความสัมพันธ์ทางอานาจในการพัฒนา) มากกว่ามองว่าการ พัฒนาทางการเมืองเป็นเรือ่ งทีแ่ ยกพิจารณาจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจสังคมได้ (Kingsbury, ๒๐๐๗) นอกจากนี้แล้ว การให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนนัน้ ยังเชื่อมโยง ถึงเรือ่ งของความเข้าใจในความเป็ นพลเมือง (citizenship) ซึง่ แต่เดิมให้ความสาคัญในเรื่องของสิทธิของ พลเมืองในเชิงนโยบายของรัฐในเรือ่ งสวัสดิการและการมีส่วนร่วมในการเลือกตัง้ ในระดับชาติและท้องถิน่ รวมไปถึงเรื่องของการมองว่าประชาสังคมนัน้ มีความสาคัญในงานอาสาสมัครซึง่ ไม่จาเป็ นต้องให้รฐั เข้า ยุ่งเกี่ยว มาสู่เรื่องของการมองว่า อานาจของพลเมืองจะต้องถูกสร้างเสริมขึ้ น (empowerment) ด้วย กระบวนการของการเสริมสร้างความตระหนักรูแ้ ละความสามารถทีจ่ ะทาให้การมีส่วนร่วมและอานาจใน การตัดสินใจของพลเมือ ง ซึ่งทาให้เกิดศักยภาพในการกระทาที่ก่ อให้เ กิดการเปลี่ยนแปลงในระดับ เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๑๔/๓๓


รากฐานทีน่ าไปสู่การเปลีย่ นแปลงโครงสร้างแห่งโอกาสต่างๆ ในทิศทางที่ดงึ เอาผูค้ นเข้ามาร่วมกัน และ สร้างความเท่าเทียมกันมากขึน้ (Anderson and Siim, ๒๐๐๔) ด้วยเหตุผลดังที่กล่าวมานี้ การพูดถึงการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนนัน้ จึงก้าวเข้าสู่ เรื่องของความสามารถของประชาชนในฐานะที่เขาเป็ นพลเมืองผู้กุมชะตาชีวติ ของเขาเองได้ในการมี อานาจในการกาหนดนโยบายและตรวจสอบการดาเนินนโยบายได้ในชีวติ ประจาวันของเขาด้วย มิใช่ มองเรื่อ งของการมีส่ ว นร่ ว มทางการเมือ งเพีย งแค่ ใ นระดับ ของคุ ณ ค่ า เชิง นามธรรมของทฤษฎี ประชาธิปไตยดังทีม่ กั กล่าวถึงกันในอดีต แม้ว่าจะมีการพูดถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกาหนดนโยบายหรือตรวจสอบนโยบาย สาธารณะมานาน แต่สงิ่ ที่สาคัญก็คอื จะพัฒนาตัวชี้วดั การมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างไรให้สามารถ แยกแยะระหว่างการมีส่วนร่วมทางการเมืองในลักษณะทีไ่ ม่ได้เสริมสร้างอานาจของประชาชน (อาทิ การ ให้ขอ้ มูลฝา่ ยเดียวจากรัฐ) กับการมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างอานาจให้ประชาชน (อาทิ ความสามารถใน การควบคุมตรวจสอบโครงการของรัฐได้) ในทีน่ ้ีจะขอนาเสนอชุดความคิดในการแบ่งประเภทการมีส่วน ร่วมของประชาชนออกเป็ น ๘ ประเภท/ระดับ (Arnstein, ๑๙๖๙) เพื่อให้มคี วามชัดเจนในเชิงความคิด รวบยอด และเป็นพืน้ ฐานเบือ้ งต้นในการพัฒนาตัวชีว้ ดั ในรายละเอียดในขัน้ ต่อไป ๑. การครอบงาและบังคับความคิด (manipulation): เกิดขึน้ จากการทีป่ ระชาชนกลายเป็ นเพียง ตรายางในคณะกรรมการต่างๆ และกลายเป็ นผู้ ท่ถี ูก "ให้การศึกษา" และ "ถูกชี้ทาง" โดยผู้ท่มี อี านาจ ดัง นัน้ การมีส่ ว นร่ว มในแบบนี้ จ ึง ถู ก มองว่ าเป็ นการมีส่ ว นร่ว มแบบที่ไ ม่ม ีส่ ว นร่ว มในเนื้ อ แท้ อีก ทัง้ โครงการต่างๆ ทีพ่ วกเขาเข้าไปเป็นกรรมการนัน้ ยังไม่ค่อยมีความสาคัญจริงๆ ต่อความต้องการและการ จัดลาดับความสาคัญของความต้องการของพวกเขา ๒. การบาบัดทางจิต (therapy): เป็นการมีส่วนร่วมในลักษณะทีไ่ ม่จริงใจและมีลกั ษณะยกตนข่ม ท่าน โดยผู้มอี านาจนัน้ มองว่าคนทีไ่ ม่มอี านาจมีลกั ษณะที่เจ็บป่วยทางจิต ดังนัน้ ในกระบวนการมีส่วน ร่วมจึงเป็ นเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับการบาบัดปญั หาของคนทีไ่ ม่มอี านาจ แทนทีจ่ ะมองว่าปญั หาจริงๆนัน้ เกิดจาก โครงสร้างอคติ หรือการที่พวกเขาเหล่านัน้ ตกเป็ นเหยื่อของอคติ หรือปลอบประโลมผู้ท่ไี ด้ รบั ความ เสียหายจากนโยบายว่าเหตุการณ์รา้ ยๆจะไม่เกิดขึน้ อีก ๓. การแจ้งเพื่อทราบ (informing): การแจ้งให้ประชาชนทราบว่าพวกเขามีสทิ ธิ ความรับผิดชอบ และทางเลือกนัน้ เป็ นการตัง้ ต้นที่ดใี นกระบวนการการมีส่วนร่วมของประชาชน แต่ บ่อยครัง้ การแจ้งให้ ประชาชนทราบว่าเขามีอานาจและสิทธิอะไรนัน้ เป็นเพียง "การแจ้งเพื่อทราบ" กล่าวคือเป็ นการส่งข้อมูล ข่าวสารทางเดียวจากข้าราชการสูประชาชน โดยไมมีช่องทางให้ประชาชน สามารถสะท้อนความคิดเห็น ของเขาขึน้ มา และประชาชนไมมีอานาจในการต่อรอง เครื่องมือทีส่ าคัญในกระบวนการแจ้งเพื่อทราบนี้ประกอบไปด้วย สื่อมวลชน ใบปลิว โปสเตอร์ และการตอบคาถามนอกจากนี้แม้ว่า จะมีการประชุมประชาชน แต่การประชุมก็เต็มไปด้วยการให้ขอ้ มูล ที่ไม่ลกึ ซึ้ง อีกทัง้ ประชาชนยิง่ เข้ามาประชุมก็ยงิ่ ทาให้ประชาชนไม่อยากจะมาประชุม เพราะมีการให้ คาตอบทีไ่ รสาระหรือเต็มไปด้วยภาษาทางเทคนิ คที่ชาวบ้านไมเข้าใจ ซึง่ ทาให้ประชาชนจาต้องยอมรับ ข้อมูลเหล่านัน้ และปล่อยให้เกิดการตัดสินใจทางการเมืองของผูม้ อี านาจและกลไกรัฐต่อไป เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๑๕/๓๓


๔. การปรึกษาหารือ (consultation): การปรึกษาหารือกับประชาชนนัน้ แม้ว่าจะเป็ นจุดตัง้ ต้นทีด่ ี ของการมีส่วนร่วมทางการเมือง แต่ถาการปรึกษาหารือนัน้ มีองค์ประกอบทีไ่ มครบถ้วน ก็อาจเป็ นเพียง การมีส่วนร่วมทีไ่ มให้หลักประกันว่าความกังวลและความคิดเห็นของพวกเขาจะไดรับการนาไปใช้ในการ ตัดสินใจ ด้วยว่าการปรึกษาหารือที่ไ มไดนาความคิดเห็นของประชาชนไปใช้ในการตัดสินใจนัน้ เป็ น เสมือ นการแต่ งหน้ าทาปากกระบวนการมีส่วนร่วมให้ดูดขี ้นึ เท่านัน้ เอง ทัง้ ที่จริงในการปรึกษาหารือ ดังกล่าวประชาชนนัน้ กลายเป็ นเพียงสถิตทิ ม่ี ี ลักษณะนามธรรม และการวัดว่าการมีส่วนร่วมนัน้ ประสบ ความสาเร็จหรือไม ก็อยู่แค่เรื่องว่ามีคนเข้ามาประชุมเท่าไร มีใครหยิบเอาเอกสารประกอบการประชุม กลับไปบ้าง และมีกค่ี นทีต่ อบแบบสอบถาม และในรายละเอียดนัน้ แบบสอบถามทีว่ ่าด้วยเรื่องทัศนคตินนั ้ เป็นแบบสอบถามยอดนิยมในการมีส่วนร่วมทางการเมืองแบบนี้ โดยเฉพาะการมาสอบถามทัศนคติโดย ทีผ่ ทู้ ต่ี อบแบบสอบถามนัน้ ไมไดเห็นว่าจะเกิดความเปลีย่ นแปลงขึน้ หลังจากนัน้ แม้แต่น้อย รวมไปถึงว่า การตอบแบบสอบถามต่างๆ นัน้ ประชาชนไมไดมีความเข้าใจว่าพวกเขามีทางเลือกใดๆ บ้าง ๕. การปลอบโยน-ปิดปาก (placation): เป็นกระทาโดยการจงใจคัดเลือกประชาชนบางคนเข้ามา อยู่ในคณะกรรมการโดยที่ประชาชนที่ถูกเลือกเข้าไปนัน้ ไมไดมีความเชื่อมโยงกับชุมชนของเขาในแงที่ จะต้องรับผิด (accountable) ตอประชาชนในพืน้ ที่ อาทิ เขาไมไดมาจากการคัดเลือกของประชาชนใน พืน้ ที่ หรือมีผู้มอี านาจยินยอมให้มกี ารแต่งตัง้ คนเหล่านัน้ เข้ามามากน้อยแค่ไหน และมีบทบาทได้มาก น้อยแค่ไหน นอกจากนี้ ประชาชนยังรูส้ กึ ว่ายิง่ เข้าไปมีส่วนร่วมก็ยงิ่ รู้ว่าเป็ นไปไม่ได้ทจ่ี ะมีผลสะเทือนต่อ การวางแผนและดาเนินนโยบาย ด้วยข้อจากัดเชิงเทคนิคทีต่ นเองไม่มเี มื่อเทียบกับฝ่ายเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ โดยเฉพาะในขัน้ ตอนของการนานโยบายออกไปปฏิบตั ิ ๖. การเป็ นหุน้ ส่วนทางอานาจ (partnership): การเป็ นหุน้ ส่วนทางอานาจนัน้ สะท้อนให้เห็นการ แบ่งปนั อานาจกันระหว่างผูท้ ม่ี อี านาจกับประชาชนในการตัดสินใจ ซึง่ การมีส่วนร่วมในลักษณะนี้คอื การ ทีเ่ มือ่ ทัง้ สองฝา่ ยมีขอ้ ตกลงร่วมกันในหลักการของการตัดสินใจแลว การเปลีย่ นแปลงหลักการดังกล่าวไม สามารถเกิดขึน้ ไดจากฝ่ายเดียว การจะเป็ นหุน้ ส่วนทางอานาจทีป่ ระสบความสาเร็จไดนัน้ ชุมชนจะต้อง มีการรวมตัวกันในลักษณะทีผ่ นู้ าของเขาจะต้องพร้อมรับผิดต่อชุมชนของเขาได กล่าวคือประชาชนต้อง สามารถทวงถาม ตรวจสอบ และเรียกร้อ งต่ อ ผู้นาชุมชนของเขาได และตัว ผู้น าก็จะต้อ งไดรับ การ สนับสนุ นทางด้านการเงินจากชุมชนของเขาที่ทาให้เขาทางานนี้ไดเต็มเวลา รวมทัง้ ในองค์กรชุมชนนัน้ จะต้องมีผู้ท่มี คี วามรู้ในระดับปฏิบตั ิการ ผู้มคี วามรู ทางกฎหมาย และผู้มคี วามรู ในการบริหารจัดการ รวบรวม ข้อเรียกร้องของชุมชน ซึง่ องค์ประกอบเหล่านี้จะทาให้ประชาชนมีอานาจในการต่อรองทีแ่ ท้จริง ๗. การมอบหมายอานาจของประชาชน (delegated power): ในแบบนี้ประชาชนนัน้ มีอานาจ ครอบงา ในกระบวนการตัดสินใจซึง่ ทาให้พวกเขาสามารถกาหนด ทวงถาม ตรวจสอบ และปรับเปลีย่ นยกเลิกนโยบายต่างๆได โดยในทางรูปธรรมประชาชนสามารถมอบหมายงานให้หน่ วยงานภายใต้กากับ ของพวกเขาไปจัดทาแผนและนโยบายต่างๆ ในการพัฒนาได ดังนัน้ หากหน่ วยงานรัฐต้องการจะเข้ามา พัฒนาหรือตัดสินใจใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับประชาชน หน่ วยงานเหล่านัน้ ก็ต้องเข้ามาเจรจา พัฒนาชุมชน โดยการต่อรองกับเจาของพืน้ ที่ เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๑๖/๓๓


๘. การควบคุมโดยประชาชน (citizen control): หมายถึงว่าประชาชนในพืน้ ทีส่ ามารถปกครอง ดูแล ตนเองได โดยทีไ่ มตองมีหน่ วยงานอื่นใดมาดูแล อาทิเขาอาจจะมีองค์กรปกครองท้องถิน่ ในระดับ ละแวกบ้าน ทัง้ นี้แม้ว่าในหลายกรณีเขาจะไดรับความสนับสนุ นจากองค์กรภายนอกก็ตาม แต่ หวั ใจ สาคัญ ก็คอื เมือ่ พูดถึงการควบคุมโดยประชาชนในฐานะการมีส่วนร่วมทางการเมืองนัน้ ประชาชน จะต้อง สามารถวางแผนอนาคตของเขาไดเอง และจัดทาโครงการต่ างๆ ของเขาเองขึ้นมาพรอมทัง้ ติดตาม ตรวจสอบโครงการเหล่านัน้ ได้ จากการทาความเข้าใจประเภทของการมีส่วนร่วมข้างต้น ประเด็นท้าทายก็คอื การลงไปสารวจ เบื้อ งต้นว่า ภายใต้โครงการต่ างๆ ในพื้นที่นัน้ ที่อ้างว่า มีค วามเกี่ย วเนื่อ งกับ กระ บวนการมีส่ ว นร่ว ม แท้จริงแล้วการมีส่วนร่วมส่วนมากนัน้ อยู่ในขัน้ ไหน เพื่อจะได้สามารถระบุว่าการมีส่วนร่วมแบบไหนทา ให้ประชาชนมีอานาจที่แ ท้จริง ซึ่งนี่คอื ฐานสาคัญ ของการปฏิรูปประเทศในความหมายของการปรับ ความสัมพันธ์ทางอานาจของประชาชนกับรัฐผ่านการสร้างพลเมืองทีม่ อี านาจด้วยตัวเอง ข้อดี ๑) ประชาชนมีความกระตือรือร้น ๒) ประชาชนสามารถควบคุม ตรวจสอบกระบวนการทางการเมืองได้ ๓) ประชาชนมีความพึงพอใจ แนวทางการดาเนิ นการ ๑) หน่ วยงานของรัฐต้องให้ความสาคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วม โดยการพัฒนากลไกการ บริหารงานทีเ่ ปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถเข้ามีส่วนร่วมได้ในทุกขัน้ ตอน ๒) พัฒนาตัวชีว้ ดั การมีส่วนร่วมของประชาชนทีส่ ามารถแยกแยะระหว่างการมีส่วนร่วมทางการ เมืองในลักษณะทีไ่ ม่ได้เสริมสร้างอานาจของประชาชน (อาทิ การให้ขอ้ มูลฝ่ายเดียวจากรัฐ) กับการมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างอานาจให้ประชาชน (อาทิความสามารถในการควบคุ ม ตรวจสอบโครงการของรัฐได้) ๓) มีการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพของข้าราชการทุกระดับให้มคี วามเข้าใจเกี่ยวกับการจัด กระบวนการมีส่วนร่วม ข้อจากัด ๑) ประชาชนทีเ่ ข้าสู่กระบวนมีส่วนร่วมต้องมีความสามารถ แต่ทผ่ี ่านมาประชาชนจานวนมาก ไม่มที รัพยากรในการมีส่วนร่วมทีเ่ พียงพอ ขาดข้อมูลข่าวสาร และส่วนหนึ่งถูกบังคับให้เข้า ร่วมกระบวนการ ๒) ความรูส้ กึ ไม่เท่าเทียมกันของผูเ้ ข้าร่วมกระบวนการ อาจทาให้ไม่กล้าแสดงความคิดเห็น ๓) ภาครัฐไม่เห็นความสาคัญของการมีส่วนร่วม มองว่าเป็นเรือ่ งยุง่ ยาก ทาให้งานล่าช้า

เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๑๗/๓๓


ความคิ ดเห็นต่ อร่างข้อเสนอที่ ๑ จากเวทีเสวนา ๓ ภูมิภาค๕ X ข้อวิ จารณ์  ความเห็นสนับสนุน  การสร้ า งความเป็ น  การเปิ ด กลไกภาครัฐใน พ ล เ มื อ ง ที่ ไ ด้ ผ ล ต้ อ ง ใ ห้ ระดับท้อ งถิ่นมีข้อ จากัดเพราะ ความสาคัญไปที่ท้องถิน่ การ ถูกแทรกแซงโดยราชการส่ว น สร้า งความเข้ม แข็ง ให้ค นใน ภูมภิ าค ชุมชน ท้องถิน่ โดยการรักษา  ที่ ผ่ า น ม า ก า ร เ ปิ ด ใ ห้ รากเหง้าทางวัฒ นธรรมของ ประชาชนเข้า ไปมีส่ ว นร่ว มใน ชุมชน เมื่อคนในระดับชุมชน ระดับท้องถิน่ และระดับจังหวัด ท้อ งถิ่น เข้ม แข็ง การปฏิรู ป มีอ ยู่แ ล้ว แต่ ไ ม่เ กิด ประโยชน์ การเมื อ งในระดั บ ชาติ จ ะ เพราะความคิดเห็น และความ เกิดขึน้ ตามมาโดยอัตโนมัติ ต้องการของประชาชนไม่ได้รบั  การเปิ ด กลไกภาครัฐ การตอบสนอง (มีการรับฟงั แต่ ในระ ดั บ ท้ อ งถิ่ น จ ะช่ ว ย ไม่ได้ปฏิบตั ติ าม) เสริ ม สร้ า งจิ ต ส านึ ก ของ ประชาชนในเรื่อ งการร่ ว ม คิ ด ร่ ว ม ท า แ ล ะ จั ด ก า ร ตนเอง

ข้อเสนอแนะเพิ่ มเติ ม  ส นั บ ส นุ น ก ลุ่ ม ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ท า ง สั ง ค ม ที่ ต้องการแสดงพลังของความเป็ น พลเมือ งให้ ม ากขึ้น เช่ น กลุ่ ม ธุรกิจเพื่อ สังคมและสิง่ แวดล้อม  ควรให้ ค วามส าคั ญ กั บ การเปิ ด กลไกของการปกครอง ส่วนภูมภิ าค (จังหวัดและอาเภอ) ด้วย  แนวทางการเปิ ด กลไก ภาครัฐที่เ ป็ นรูปธรรมอีกอันหนึ่ง คือ การจัดให้ม ี “สภาประชาชน” เ พื่ อ ท า ห น้ า ที่ ส ะ ท้ อ น ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ป ร ะ ช า ช น แ ล ะ ควบคุมตรวจสอบการทางานของ ภาครัฐ

ข้อเสนอที่ ๒: การเสริ มสร้างความเป็ นพลเมืองแก่เยาวชนผ่านกระบวนการกล่มเกลาทางสังคม ปญั หาและจุดอ่ อนของประชาธิปไตยที่สาคัญประการหนึ่งเกิดจากการที่ประชาชนขาดสานึก ความเป็ น พลเมือ ง (citizenship) คือ ไม่รู้ส ึก ว่ า ตนเป็ น เจ้า ของบ้า นเมือ งและไม่รู้ส ึก ว่ า ตัว เองมี ความสามารถทีจ่ ะดูแลรักษาบ้านเมืองได้ (อเนก เหล่าธรรมทัศน์, ๒๕๕๒) การปฏิรปู การเมืองไปสู่การมี ระบอบประชาธิป ไตยที่ก้ า วหน้ า และยัง่ ยืน จึง ควรเริ่ม ต้ น ที่ก ารท าให้ ป ระชาชนชาวไทยมีค วาม กระตือรือร้นที่จะเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมือง มีความรูท้ างการเมืองที่เพียงพอ และมีความยึดมันใน ่ ค่านิยมประชาธิปไตยโดยเฉพาะในเรื่องการยอมรับความแตกต่างและการเคารพสิทธิของผูอ้ ่นื ซึง่ ล้วน เป็ นคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองในสังคมประชาธิปไตยเสียก่อน (Almond and Verba, ๑๙๖๓;

คณะทางานประเด็นการปฏิรูประบบการเมือง : พัฒนาความเป็นพลเมืองในสังคมประชาธิปไตย ได้นาร่างข้อเสนอไปจัดเวทีเสวนารับฟัง ความคิดเห็นใน ๓ ภูมิภาค ได้แก่ (๑) ภาคใต้ ที่จังหวัดสงขลาเมื่อวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๕๕ (๒) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่จังหวัดขอนแก่น เมื่อวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๕๕ และ (๓) ภาคเหนือ ที่จังหวัดพะเยา เมื่อวันที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๕๕ ผู้เข้าร่วมอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประกอบด้วยผู้แทนจากหน่วยราชการและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นาชุมชน ผู้แทนองค์กรภาคเอกชนและภาคประชาสังคม นักวิชาการ และนักการศึกษาในพื้นที่ ตัวแทนเยาวชน ฯลฯ เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๑๘/๓๓


Barber, ๑๙๘๔; Berelson et al., ๑๙๕๔; Conover et al., ๑๙๙๑; Mill, ๑๙๑๐; ๑๙๖๒; Thompson, ๑๙๗๐) การศึกษามีความสาคัญมากกับการสร้างความเป็ นพลเมืองทัง้ ภายในโรงเรียนและในชุมชน ผู้ ออกนโยบายด้านการศึกษาต้องแสดงความมุ่งมันในการจั ่ ดการสอนความเป็ นพลเมืองให้แก่นักเรียน โดยการเรียนการสอนนัน้ จะต้องเน้นในแนวทางที่มุ่งให้ผู้เรียนมีขอ้ มูลความรูท้ ่ี จาเป็ นและเพียงพอ และ เสริมสร้างพลังอานาจให้เยาวชนเหล่านี้เติบโตไปเป็นพลเมืองทีแ่ ข็งขันในอนาคต กระทรวงศึกษาธิการควรปรับปรุงหลักสูตรโดยนาเนื้อหาสาระเกี่ยวกับความเป็ นพลเมืองใน สังคมประชาธิปไตยเข้าไปสอดแทรกอยู่ในการเรียนการสอนทุกระดับชัน้ เพื่อทาให้เด็กไทยได้ทราบถึง ภารกิจหน้าทีอ่ นั หลากหลายของพลเมือง ตลอดจนมีความเข้าใจเกี่ยวกับความรับผิดชอบทีพ่ ลเมืองพึงมี ในการปกครองระบอบประชาธิปไตย พลเมืองที่ได้รบั ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องและเพียงพอจะมีความสามารถในการเชื่อมโยงความ ต้องการของตนเองเข้ากับนโยบายสาธารณะต่างๆ ได้ดกี ว่าคนที่ไม่มขี อ้ มูลข่าวสารหรือเคยได้รบั เพียง เล็ก น้ อ ย โรงเรียนควรมีกิจ กรรมที่ก ระตุ้น ให้นัก เรียนสนใจติด ตามข่าวสารบ้า นเมือ ง ซึ่ง ในปจั จุบ ัน ข่าวสารถูก เผยแพร่ผ่านสื่อที่หลากหลาย สามารถเข้าถึงได้สะดวกและรวดเร็ว ไม่ว่าจะโดยการอ่าน หนังสือพิมพ์ การฟงั จากวิทยุ การดูโทรทัศ น์ และการสืบค้นผ่ านระบบอินเตอร์เ น็ต การนาข่าวสาร บ้านเมืองมาใช้ในห้องเรียนจะช่วยให้นักเรียนมีความสนใจกับสิง่ ที่เกิดขึน้ รอบๆ ตัวในชุมชน และขยาย ต่อไปถึงสังคมประเทศชาติ และสังคมโลก การสืบค้นข่าวสารจากแหล่งข้อมูลทีห่ ลากหลายจะช่วยให้นักเรียนเกิดมุมมองเชิงเปรีย บเทียบ และตระหนัก ว่าการบริโภคข่าวสารจากสื่อประเภทใดประเภทหนึ่งเพียงอย่างเดียวอาจทาให้ตวั ผู้รบั ข่าวสารเองมีอคติ ในส่วนนี้ การนาข่าวสารที่อยู่ในความสนใจของสังคมมาอภิปรายแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นกันในห้องเรียนจะช่วยเพิม่ ทักษะการคิดวิเคราะห์และการใช้เหตุผล ตลอดจนเป็ นการช่วยปลูกฝงั ค่านิยมการยอมรับฟงั ความคิดเห็นทีแ่ ตกต่างให้แก่นกั เรียน โรงเรีย นควรท าหน้ า ที่ส นับ สนุ น โดยการเป็ น ศู น ย์กลางเชื่อ มโยงข้อ มูล เชิง ลึก เพิ่ม เติม จาก แหล่ ง ข้อ มูล อื่น ๆ เช่ น ข้อ มูล จากหน่ ว ยงานในท้อ งถิ่น และควรมีก ารแลกเปลี่ยนข้อ มูล กัน ระหว่ า ง โรงเรียนในพืน้ ทีใ่ กล้เคียง นอกจากนี้ หน่วยงานของอื่นๆ ในพืน้ ที่ เช่น สานักงานคณะกรรมการเลือกตัง้ ประจาจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และสื่อมวลชน ควรเข้าไปร่วมสนับสนุนกิจกรรมเหล่านี้ ไม่ว่า จะโดยการสนับสนุ นข้อ มูล เอกสารเพิ่มเติม และโดยการเข้าไปบรรยายให้ค วามรู้หรือ ร่ว มอภิป ราย แลกเปลีย่ นความคิดเห็นกับนักเรียน การให้การศึกษาทางการเมืองทีด่ ที ่สี ุดคือการฝึ กปฏิบตั ิ ทีผ่ ่านมา ในโรงเรียนก็มกี จิ กรรมทีช่ ่วย วางรากฐานความเป็ นประชาธิปไตยอยู่บ้างแล้ว เช่น การเลือ กตัง้ หัว หน้ าชัน้ การเลือ กตัง้ ประธาน นักเรียน กิจกรรมลูกเสือ และกิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ต่างๆ เป็ นต้น โรงเรียนควรใช้กจิ กรรมเหล่านี้ เป็ นเสมือน ‚ห้องทดลอง‛ ให้นักเรียนได้เรียนรูแ้ ละฝึ กฝนทักษะของพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย ตัวอย่างทีง่ า่ ยและสามารถอธิบายเชื่อมโยงกับปรากฏการณ์ในสังคมการเมืองได้ชดั เจนทีส่ ุดอันหนึ่งก็คอื การเลือกตัง้ โรงเรียนสามารถใช้การเลือกตัง้ ทุกระดับในโรงเรียนเป็ นเวทีสาหรับการเรียนรู้เกี่ยวกับ เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๑๙/๓๓


กระบวนการเลือกตัง้ ของไทยได้เป็นอย่างดี เช่น โดยการนารูปแบบการเลือกตัง้ ผูบ้ ริหารหรือสภาท้องถิน่ มาประยุกต์ใช้ และยังสามารถสอดแทรกความรู้ ข้อคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมและทัศนคติทเ่ี หมาะสมในการ เลือ กตัง้ ให้แ ก่ นัก เรียนไปพร้อ มกัน ด้ว ย เช่น การกระตุ้น ให้นักเรียนที่ล งสมัค รรับ เลือ กตัง้ นาเสนอ นโยบายในการทางานมากกว่าการโฆษณาชวนเชื่อในสิง่ ทีเ่ ป็ นไปไม่ได้ การแนะนาให้นักเรียนทีเ่ ป็ นผูไ้ ป ลงคะแนนให้ความสาคัญกับการมีขอ้ มูลข่าวสารทีเ่ พียงพอเกี่ยวกับผูส้ มัคร และการจัดเวทีให้นักเรียนที่ ลงสมัครกับนักเรียนทีม่ สี ทิ ธิ ์เลือกตัง้ ได้มโี อกาสพบปะเพื่อแลกเปลีย่ นความคิดเห็นกัน เป็ นต้น อย่า งไรก็ต าม กระบวนการกล่ อ มเกลาทางสัง คมผ่ า นระบบการศึกษาและประสบการณ์ ใ น สถาบันการศึกษาถือเป็ นส่วนหนึ่งของการปลูกฝงั สานึกความเป็ นพลเมืองทีย่ งั ต้องการปจั จัยหนุ นเสริม อื่นๆ อีก ทีส่ าคัญมีอย่างน้อย ๔ ประการ ได้แก่ ๑) ครอบครัว ๒) หลักธรรมของศาสนา ๓) การมีบุคคล ต้นแบบ และ ๔) สื่อมวลชน (สานักงานสภาพัฒนาการเมือง, ๒๕๕๔) กล่าวคือ ครอบครัวมีบทบาท สาคัญในการปลูกฝงั พฤติกรรมและค่านิยมที่พงึ ประสงค์สาหรับการอยู่ร่วมกับคนอื่นในสังคม เช่น การ เสียสละ และความรับผิดชอบต่ อ ส่ว นรวม นอกจากนี้ ในแง่พฤติกรรมทางการเมือง คนที่เ ติบโตใน ครอบครัวทีม่ กี ารพูดคุยเรื่องการเมืองกันอยู่เป็ นประจามีแนวโน้มที่จะสนใจความเป็ นไปของบ้านเมือง และอยากเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองมากกว่าคนกลุ่มอื่น ยิง่ ไปกว่านัน้ หลักธรรมของศาสนาก็ม ี ความสาคัญต่อการสร้างสานึกความเป็นพลเมืองด้วยเช่นกัน เนื่องจากคนทีย่ ดึ มันในค ่ าสอนของศาสนาก็ มักจะประพฤติตนให้สอดคล้อ งกับหลักธรรมดังกล่าวด้วย ในเมื่อทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็ นคนดีม ี ความเสียสละเพื่อประโยชน์ส่วนรวม คนที่ปฏิบตั ติ ามคาสอนของศาสนาก็มแี นวโน้มที่จะมีสานึกความ เป็ นพลเมืองตามไปด้วย นอกจากครอบครัวและศาสนา การเรียนรู้จากบุคคลที่เป็ นตัว อย่างที่ดีของ พลเมืองในสังคมประชาธิปไตยถือเป็ นอีกปจั จัยหนึ่งทีช่ ่วยหนุ นเสริมให้บุคคลเกิดแรงบันดาลใจและอย่าง เจริญ รอยตามบุ ค คลต้ น แบบเหล่ า นั น้ ได้ ยิ่ง ในยุ ค ที่ส่ ือ มีอิท ธิพ ลสู ง ดัง เช่ น ป จั จุ บ ัน ด้ ว ยแล้ ว หาก สื่อมวลชนช่วยทาหน้าทีก่ ระตุ้นและตอกย้าจิตสานึกให้แก่พลเมือง การปลูกฝงั สานึกความเป็ นพลเมือง ให้เกิดขึน้ ในสังคมย่อมมิใช่เรือ่ งยาก ข้อดี ๑) เป็นการสร้างพลเมืองในสังคมประชาธิปไตยในระยะยาว ๒) การนาข่าวสารบ้านเมืองมาใช้ในห้องเรียนจะช่วยให้เยาวชนไทยมีความสนใจต่อสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ รอบๆ ตัวในชุมชน สังคมประเทศชาติและสังคมโลก ๓) กิจกรรมส่ งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน จะช่ ว ยให้เ ยาวชนมีโอกาสฝึ ก ทักษะการคิด วิเคราะห์และการใช้เหตุผล ตลอดจนเป็ นการช่วยปลูกฝงั ค่านิยมการยอมรับฟงั ความคิดเห็น ทีแ่ ตกต่างให้แก่นกั เรียน ๔) การเชื่อมโยงการเรียนการสอนในห้องเรียนเข้ากับสังคมภายนอก จะช่วยบ่มเพาะความรูส้ กึ เป็ นเจ้าของบ้านเมืองให้แก่เยาวชน ทาให้เยาวชนรู้สกึ ว่าตัวเองมีความสามารถที่จะดูแล รักษาบ้านเมืองในอนาคตได้

เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๒๐/๓๓


แนวทางการดาเนิ นการ ๑) โรงเรียนมีกจิ กรรมทีก่ ระตุน้ ให้นกั เรียนสนใจติดตามข่าวสารบ้านเมือง ๒) อาศัยกิจกรรมในโรงเรียนที่มอี ยู่แล้ว เช่น การเลือ กตัง้ หัว หน้ าชัน้ การเลือ กตัง้ ประธาน นักเรียน กิจกรรมลูกเสือ ฯลฯ เป็นเวทีฝึกปฏิบตั กิ ารเป็นพลเมืองในสังคมประชาธิปไตย ๓) โรงเรียนเป็ นศูนย์กลางการรวบรวม แลกเปลี่ยน และถ่ายทอดข้ อมูลความรูใ้ ห้แก่เยาวชน โดยเชื่อมโยงกับครอบครัว สถานศึกษาในพืน้ ทีใ่ กล้เคียง หน่ วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและ สื่อมวลชนในท้องถิน่ ๔) หน่ วยงานของอื่นๆ ในพื้นที่ เช่น สานักงานคณะกรรมการเลือกตัง้ ประจาจังหวัด องค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ และสื่อมวลชน ควรเข้าไปร่วมสนับสนุ นกิจกรรมของโรงเรียนโดยการ สนับ สนุ น ข้อ มูล เอกสารเพิ่ม เติม การเข้า ไปบรรยายให้ค วามรู้ ตลอดจนร่ว มอภิป ราย แลกเปลีย่ นความคิดเห็นกับนักเรียน ข้อจากัด ๑) ผู้ก าหนดนโยบายด้า นการศึกษาไม่ใ ห้ค วามส าคัญ กับ เรื่อ งการให้การศึก ษาความเป็ น พลเมืองแก่เด็กและเยาวชนเท่าทีค่ วร ๒) หลักสูตรการศึกษาทีใ่ ช้อยู่เน้นไปทีก่ ารวัดความรูเ้ พื่อเลื่อนชัน้ หรือสอบแข่งขันมากกว่าการ เสริมสร้างทักษะทีจ่ าเป็นของการอยูร่ ว่ มกันในสังคมให้แก่นกั เรียน ๓) ผูบ้ ริหารสถานศึกษาและครูผสู้ อนจานวนมากยังไม่มคี วามพร้อม ไม่มคี วามรูค้ วามเข้าใจที่ เพีย งพอเกี่ย วกับ การปกครองในระบอบประชาธิป ไตย และขาดทัก ษะการเป็ น ผู้เ อื้อ กระบวนการซึง่ มีความจาเป็นสาหรับการจัดเวทีอภิปรายแลกเปลีย่ นความคิดเห็น ๔) ขาดพลัง กดดัน จากภาคส่ ว นต่ า งๆ ท าให้ ก ารปฏิ รู ป การศึ ก ษากลายเป็ น เรื่อ งของ กระทรวงศึกษาธิการและสถาบันการศึกษา ทัง้ ทีเ่ ป็ นเรื่องใหญ่และควรมีการขับเคลื่อนเป็ น วาระแห่งชาติท่ที ุกฝ่ายทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมสามารถเข้าไปมีส่วน ร่วมได้อย่างเข้มข้นและกว้างขวาง ความคิ ดเห็นต่ อร่างข้อเสนอที่ ๒ จากเวทีเสวนา ๓ ภูมิภาค X ข้อวิ จารณ์  ความเห็นสนับสนุน  การปฏิรปู ทีส่ าคัญคือ  การสร้า งส านึก พลเมือ ง การปฏิรู ป ระบบความคิ ด แก่ เ ยาวชนอาจไม่ ท ัน การณ์ ซึ่งควรปลูกฝงั ตัง้ แต่ วยั เด็ก ควรให้ความสนใจกับการสร้าง โดยผ่านระบบการศึกษา ผู้ ใ ห ญ่ ที่ ดี ที่ ส า ม า ร ถ เ ป็ น แบบอย่ า งให้ แ ก่ เ ยาวชนได้ น่าจะดีกว่า  เรือ่ งการปฏิรปู การศึกษา เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

ข้อเสนอแนะเพิ่ มเติ ม  ควรเพิม่ เติมการสร้างความ เป็ นพลเมืองในเยาวชนที่อยู่ใ น สถานพินิ จ เด็ก ชายขอบ และ เด็กออทิสติก  ไม่ ค วรละเลยการปลู ก ฝ งั ความเป็ นพลเมืองในกลุ่มผูใ้ หญ่ โ ด ย เ ฉ พ า ะ นั ก ก า ร เ มื อ ง หน้า ๒๑/๓๓


 ความเห็นสนับสนุน

X ข้อวิ จารณ์ มีก ารพูด กัน มานาน แต่ ย ัง ไม่ เกิ ด ขึ้น เพราะบุ ค ลากรด้ า น ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ไ ท ย ไ ม่ ใ ห้ ความสาคัญ ขาดความรู้ความ เข้าใจ  ร ะ บ บ ก า ร ศึ ก ษ า ใ น โรงเรียนกับสิง่ ทีเ่ ยาวชนเรียนรู้ จากสังคมภายนอกแตกต่างกัน การสร้ า งความเป็ น พลเมือ ง ผ่านการศึกษาในโรงเรียนจึงไม่ มีประโยชน์ ถ้าบรรยากาศของ สั ง คมไม่ เ อื้ อ ต่ อ การพั ฒ นา พ ฤ ติ ก ร ร ม แ ล ะ ค่ า นิ ย ม ประชาธิปไตย

ข้อเสนอแนะเพิ่ มเติ ม เจ้าหน้าที่ของรัฐ และประชาชน ทัวไป ่ ผ่านเวทีประชาเสวนา  อุปสรรคของการสร้างความ เป็ นพลเมือง คือ ระบบต่างๆ ที่ สร้างความอ่อนแอทางความคิด ใ ห้ กั บ ป ร ะ ช า ช น ไ ม่ ไ ด้ ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น มี ส่ ว น ร่ ว ม อ ย่ า ง แ ท้ จ ริ ง ดั ง นั ้ น ค ว ร ใ ห้ ความส าคัญ กับ สถาบัน กล่ อ ม เกลาทางสังคม จารีต ประเพณี เช่ น ครอบครัว และวัด และ สถาบั น ที่ ท าหน้ า ที่ ถ่ า ยทอด ข้อ มูลข่าวสาร เช่น สื่อ มวลชน ในอั น ที่ จ ะต้ อ งร่ ว มกั น สร้ า ง กระบวนการเรียนรู้ท่ปี ระชาชน สามารถคิดวิเคราะห์ได้ดว้ ย

ข้อเสนอที่ ๓: การปฏิ รปู กฎหมายเพื่อเสริ มสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนอันจะนาไปสู่ความ เข้มแข็งและเป็ นสุขในสังคม รัฐ บาลพึง แสดงเจตนารมณ์ ใ นการสนั บ สนุ น และการให้ค วามส าคัญ ต่ อ การมีส่ ว นร่ ว มของ ประชาชนและการกระจายอานาจไปสู่ป ระชาชนอย่างชัดแจ้งโดยการออกกฎหมาย ร่างพระราชบัญญัติ การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการนโยบายสาธารณะ พ.ศ. .... เพื่อ เป็ นการประกาศนโยบาย การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างเปิ ดเผยและอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็ นแนวทางปฏิบตั ขิ อง ข้าราชการประจา ซึง่ จะเป็นการแสดงบทบาทให้ประจักษ์ ด้วยการส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการ กาหนดนโยบายระดับชาติ การสร้างกฎ และการอนุ มตั โิ ครงการต่างๆ ของรัฐบาล และนาความเห็น ของประชาชนไปใช้ประโยชน์อย่างจริงจังอันจะช่วยให้ประชาชนเห็นว่าความคิดเห็นของตนมีค่าซึ่งจะ เป็นแรงจูงใจให้ประชาชนสนใจเข้ามีส่วนร่วมมากยิง่ ขึน้ พระราชบัญญัตนิ ้ีเป็ นไปตามมาตรา ๖๗ และมาตรา ๘๗ ซึง่ อยู่ในส่วนที่ ๑๐ แนวนโยบายด้าน การมีส่ ว นร่ ว มของประชาชนของรัฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจัก รไทย พระราชบัญ ญัติน้ี เ รีย กว่ า ‚พระราชบัญญัตกิ ารมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการนโยบายสาธารณะ พ.ศ. ....‛ (สถาบัน พระปกเกล้า ๒๕๕๓) โดยมีสาระสาคัญคือ

เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๒๒/๓๓


‚นโยบายสาธารณะ‛ หมายความว่า การจัด ทานโยบาย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แผนพัฒนาการเมือ ง แผนยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาของหน่ ว ยงานรัฐเพื่อ พัฒนา เศรษฐกิจ สัง คม ชุ ม ชน หรือ พื้น ที่ หรือ การออกกฎหรือ ระเบีย บของหน่ ว ย งานของรัฐ และให้ หมายความรวมถึง การจัดท าโครงการหรือ กิจกรรมของหน่ ว ยงานของรัฐ ที่ก่ อ ให้เ กิดผลกระทบต่ อ คุณภาพสิง่ แวดล้อม สุ ขภาพอนามัย คุ ณภาพชีว ิต หรือส่ วนได้เสียสาคัญ อื่นใด และ ‚กระบวนการ นโยบายสาธารณะ‛ หมายความว่า การริเริม่ การให้และรับรูข้ อ้ มูล การรับฟงั ความคิดเห็น การร่วม ตัด สิน ใจ การร่ว มด าเนิ น การ การร่ว มติด ตามประเมิน ผล และการตรวจสอบการด าเนิ น นโยบาย สาธารณะ โดยเป็ นการส่งเสริมให้ ‚หน่ วยงานของรัฐ‛ ซึ่งคือ ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมภิ าค รัฐวิสาหกิจ และหน่ วยงานอื่นของรัฐ มีแนวปฏิบตั ทิ เ่ี หมาะสม และเป็ นการป้องกันความขัดแย้ง กับภาค ส่วนต่างๆโดยเฉพาะกับ‚ผูม้ สี ่วนได้เสีย‛ หรือผูซ้ ง่ึ อาจได้รบั ประโยชน์ ได้รบั ความเสียหาย หรือได้รบั ผลกระทบจากนโยบายสาธารณะทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต และกับ ‚ผูม้ สี ่วนเกี่ยวข้อง‛ หรือ ผูม้ สี ่วนได้เสีย องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ผู้แทนองค์กรภาคประชาชน ผู้แทนองค์กรพัฒนาเอกชน และบุคคลอื่นๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ทัง้ นี้ ‚การมีส่วนร่วมของประชาชน‛ หมายความว่า การทีห่ น่ วยงานของรัฐเปิดโอกาสให้ผมู้ สี ่วน เกี่ยวข้อง หรือ ผู้มสี ่ว นได้เสีย ได้เข้ามามีส่ว นร่วมในกระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อนาไปสู่การ ตัดสินใจ ซึง่ จะเป็นการกาหนดมาตรฐานขัน้ พืน้ ฐานเรือ่ งการมีส่วนร่วมในกระบวนการนโยบายสาธารณะ ในทีน่ ้ีประชาชนย่อมมีสทิ ธิในการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการนโยบายสาธารณะ ทัง้ ในด้าน การให้และการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร การแสดงความคิดเห็นหรือ ให้ข้อเสนอแนะ การมีส่ว นร่ว มในการ ตัดสินใจ ทัง้ ในขัน้ ตอนการริเริม่ นโยบาย การจัดทาแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมทีอ่ าจมีผลกระทบต่อ คุณภาพชีวติ และสิง่ แวดล้อม การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม และการจัดการสิง่ แวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติ รวมทัง้ การปฏิบตั ิ และการติดตามประเมินผลตามนโยบาย แผนงาน โครงการ หรือ กิจกรรมนัน้ ส่ว น หน่ ว ยงานของรัฐมีหน้ าที่ส่ งเสริมและสนับสนุ นให้ประชาชนมีส่ ว นร่ว มในกระบวนการ นโยบายสาธารณะได้อย่างมีประสิทธิภาพ และหน่ วยงานของรัฐจะดาเนินการส่งเสริมและสนับสนุ นการ มีส่วนร่ว มของประชาชนในกระบวนการนโยบายสาธารณะ ด้วยรูปแบบและวิธกี ารต่ างๆ ตามความ เหมาะสม ประกอบด้วย (๑) การให้ขอ้ มูลและการรับข้อมูลจากประชาชน (๒) การรับฟงั ความคิดเห็นของประชาชน (๓) การให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดทาหรือปฏิบตั ติ ามนโยบายสาธารณะ (๔) การให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในนโยบายสาธารณะ (๕) การให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการติดตามประเมินผลนโยบายสาธารณะ (๖) การให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใช้อานาจของหน่วยงานของรัฐ

เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๒๓/๓๓


(๗) การให้ป ระชาชนมีส่ ว นร่ว มในการพิจ ารณา แก้ไ ข เปลี่ย นแปลง หรือ ยกเลิก นโยบาย สาธารณะ ที่สาคัญ ก่ อ นที่ห น่ ว ยงานของรัฐจะดาเนินนโยบายสาธารณะที่อ าจมีผ ลกระทบต่ อ คุ ณภาพ สิ่ง แวดล้ อ ม สุ ข ภาพอนามัย คุ ณ ภาพชีว ิต หรือ มีผ ลต่ อ ส่ ว นได้ เ สีย อื่น ของประชาชนหรือ ชุ ม ชน หน่ วยงานของรัฐต้องเปิ ดเผยข้อมูล คาชี้แจง และเหตุผล เพื่อให้ประชาชนและชุมชนที่อาจจะได้รบั ผลกระทบดังกล่าวได้รบั ทราบ และต้องจัดให้มกี ารการรับฟงั ความคิดเห็น และการปรึกษาหารือกับผู้ม ี ส่วนเกีย่ วข้องก่อนทีจ่ ะตัดสินใจพิจารณาดาเนินนโยบายสาธารณะนัน้ หน่ วยงานของรัฐต้องนาผลการรับฟงั ความคิดเห็นตามวรรคหนึ่งไปใช้ประกอบในกระบวนการ ตัด สิน ใจด าเนิ น นโยบายสาธารณะ และต้อ งหลีก เลี่ย งการด าเนิ น การที่จ ะมีผ ลกระทบต่ อ คุ ณ ภาพ สิง่ แวดล้อม สุขภาพอนามัย คุณภาพชีวติ หรือมีผลต่ อส่วนได้เสียอื่นของประชาชนหรือชุมชน แต่ถ้า เป็ นกรณีทจ่ี าเป็ นเพื่อประโยชน์สาธารณะ หน่ วยงานของรัฐต้องจัดให้มมี าตรการป้องกันหรือมาตรการ เยียวยาทีเ่ หมาะสมและเป็ นธรรม เพื่อชดเชยให้กบั ผูซ้ ง่ึ ได้รบั ผลกระทบจากการดาเนินการตามนโยบาย สาธารณะดังกล่าว แนวทางการดาเนินการ ในกรณีท่จี ะต้อ งจัด ให้มกี ารรับฟ งั ความคิด เห็นเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ ก่ อ นด าเนิ นการ ดังกล่าวหน่วยงานของรัฐจะต้องดาเนินการให้ประชาชนได้รบั ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงดังต่อไปนี้อย่างทัวถึ ่ ง และในระยะเวลาทีเ่ พียงพอ (๑) สาระสาคัญของนโยบายสาธารณะ (๒) เหตุผลและความจาเป็นทีจ่ ะต้องดาเนินการ (๓) สถานที่ วิธกี าร ขัน้ ตอน และระยะเวลาทีจ่ ะดาเนินการ (๔) ผลกระทบของการดาเนินการ ทัง้ ผลดีและผลเสียที่อาจเกิดขึ้น รวมทัง้ มาตรการ ป้องกันหรือแก้ไขในกรณีทอ่ี าจเกิดผลเสียหรือผลกระทบ (๕) การวิเคราะห์ความคุม้ ค่าเมือ่ พิจารณาจากผลกระทบตาม (๔) (๖) รายละเอียดอื่นทีจ่ ะทาให้เกิดความเข้าใจอย่างเพียงพอเกี่ยวกับการดาเนินงานของ นโยบายสาธารณะ ซึง่ หน่ วยงานของรัฐมีหน้าทีท่ จ่ี ะต้องปฏิบตั แิ ละดาเนินกระบวนการนโยบายสาธารณะ ตามทีไ่ ด้ ประกาศไปแล้ว โดยเคร่งครัด และ ในระหว่างการดาเนินกระบวนการนโยบายสาธารณะ หน่ ว ยงานของ รัฐจะต้องจัดทารายงานความก้าวหน้าของการดาเนินนโยบายสาธารณะและเผยแพร่ให้ผมู้ สี ่วนเกี่ยวข้อง ทราบ เมือ่ ดาเนินกระบวนการนโยบายสาธารณะเสร็จสิน้ แล้ว ให้หน่ วยงานของรัฐจัดทารายงานสรุปผล การดาเนินการและเผยแพร่ต่อสาธารณะ การจัดทารายงานอย่างน้อยต้องจัดทาและเผยแพร่ปีละหนึ่งครัง้ และรายงานดังกล่าวต้องประกอบด้วย การมีส่วนร่วมของประชาชน ผลกระทบทีม่ ตี ่อประชาชนและชุมชน และมาตรการป้องหรือเยียวยา หรือ การดาเนินการแก้ไขปญั หาและผลกระทบ

เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๒๔/๓๓


ผู้มสี ่วนเกี่ยวข้องใดเห็นว่านโยบายสาธารณะใด ก่อให้เกิดผลกระทบต่อประชาชนและชุมชน และมิไ ด้ด าเนิ นการตามมาตรการป้องกันหรือ เยียวยา หรือ ดาเนิ นการแก้ไ ขปญั หาและผลกระทบที่ เกิดขึ้น ผู้มสี ่ว นเกี่ยวข้องนัน้ สามารถยื่นค าร้อ งต่อหน่ วยงานของรัฐเพื่อ ให้พจิ ารณาดาเนินการตาม มาตรการป้องกันหรือเยียวยา หรือแก้ไขปญั หาและผลกระทบทีเ่ กิดจากนโยบายสาธารณะนัน้ ได้ ในกรณี ที่การดาเนินการตามนโยบายสาธารณะใดก่อให้เกิดผลกระทบอย่างร้ายแรงต่ อคุณภาพสิง่ แวดล้อ ม สุ ข ภาพอนามัย คุ ณ ภาพชีว ิต หรือ ส่ ว นได้เ สียส าคัญ อื่น ใด ผู้มสี ่ ว นเกี่ย วข้อ งสามารถยื่นค าร้อ งต่ อ หน่วยงานของรัฐเพื่อให้ทบทวนหรือยกเลิกนโยบายสาธารณะนัน้ ได้ นอกจากนี้ควรมีคณะกรรมการการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการนโยบายสาธารณะ ที่ ประกอบด้วยผู้แทนจากหลายภาคส่วน โดยเฉพาะจากภาคประชาชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ตลอดจนผู้ทรงคุณวุฒดิ ้านการมีส่วนร่วม เพื่อทาหน้าที่ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ ก าหนดนโยบาย และวางแผนพัฒ นาเศรษฐกิจและสังคมทัง้ ในระดับชาติและท้อ งถิ่น ส่ งเสริมและ สนับสนุ นการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจทางการเมือง การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคม รวมทัง้ การจัดทาบริก ารสาธารณะ กาหนดหลักการพื้นฐานในการมีส่ ว นร่ว มของประชาชน เพื่อให้หน่วยงานของรัฐออกกฎ ระเบียบ แนวทาง หรือดาเนินการให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกาหนด นโยบายสาธารณะ นอกจากนี้ ยังมีแนวปฏิ บตั ิ อื่นๆ คือ มีการทบทวนกฎหมายต่างๆที่ยงั ไม่ออกมา หรือไม่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนู ญที่ ไปขัดขวางการมีส่วนร่วมของประชาชน กาหนดมาตรการทางกฎหมายให้สทิ ธิอุทธรณ์แก่ประชาชนทีถ่ ูกปฏิเสธการมีส่วนร่วมโครงสร้าง กฎหมายเกีย่ วกับการมีส่วนร่วมของประชาชนจะต้องกาหนดกติกา ขอบข่ายการมีส่วนร่วมและวิธกี ารมี ส่วนร่วมให้ชดั เจนด้วยแนวคิดของการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างแท้จริง การมีส่วนร่วมแบบพหุภาคี การแก้ปญั หาความขัดแย้งโดยสันติวธิ ี และการสร้างฉันทามติให้เกิดขึน้ แทนการใช้เสียงข้างมากจะต้อง นามาใส่ไว้ในกฎหมาย จัดความสัมพันธ์ ความเชื่อมโยงระหว่างกฎหมายในกลุ่มการมีส่วนร่วมด้วยกันเองให้ชดั เจนและ เหมาะสมยิง่ ขึน้ โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนควรครอบคลุมทัง้ ระดับการให้ขอ้ เท็จจริง (to inform) ระดับการปรึกษาหารือ (to consult) ระดับการเข้าไปเกี่ยวข้อง (to involve) ระดับการร่วมคิดร่วม ตัดสินใจ (to collaborate) และระดับการมอบอานาจตัดสินใจ (to empower) ซึง่ การมีส่วนร่วมของ ประชาชนต้องมีความหมายผูกพันกับ ‚การตัดสินใจ‛ และควรระบุให้ชดั เจนว่าหน่ วยงานของรัฐพร้อมที่ จะทาความเข้าใจในประเด็นที่เป็ นข้อสงสัย ข้อห่วงใย และข้อทักท้วงของประชาชน และนาประเด็น เหล่านี้ไปปรับปรุงแก้ไขโครงการหรือพัฒนาทางเลือกใหม่ๆ ในการจัดทานโยบาย/โครงการ (เป็ นการมี ส่วนร่วมของประชาชนในระดับการเข้าไปเกีย่ วข้อง) รวมตลอดถึงการนาข้อเสนอแนะของประชาชน และ ความเห็นทีว่ ่า ทางเลือกใดมีความเหมาะสม ไปเป็นประเด็นทีต่ อ้ งคานึงถึงอย่างสาคัญในการตัดสินใจ

เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๒๕/๓๓


ข้อดี ๑) การปฏิรู ป กฎหมายเพื่อ เสริม สร้ า งการมีส่ ว นร่ ว มของประชาชนเป็ น การเสริม สร้า ง ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมให้เป็นจริง ๒) เป็ นการให้ความรู้และความพร้อมแก่หน่ วยงานของรัฐ เนื่องจากมีแนวปฏิบตั ิท่เี หมาะสม การมีส่วนร่วมของประชาชนมีความสาคัญในการสร้างประชาธิปไตยอย่างยังยื ่ นและส่งเสริม ธรรมาภิบาล ตลอดจนการบริหารงาน หากการมีส่วนร่วมของประชาชนมากขึน้ เพียงใดก็ จะช่วยให้มกี ารตรวจสอบการทางานของผู้บริหาร และทาให้ผู้บริหารมีความรับผิดชอบต่อ สัง คมมากยิ่ง ขึ้น อีก ทัง้ ยัง เป็ น การป้ องกัน นั ก การเมือ งจากการก าหนดนโยบายที่ไ ม่ เหมาะสมกับสังคมนัน้ ๆ ๓) เป็ นการป้องกันความขัดแย้งทีจ่ ะเกิดขึน้ จากการตัดสินใจของรัฐ ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ เพราะการมีส่วนร่วมของประชาชนยังเป็ นการสร้างความมันใจว่ ่ าเสียง ของประชาชนจะมีค นรับ ฟ งั อีก ทัง้ ความต้ อ งการหรือ ความปรารถนาของประชาชนก็จะได้รบั การ ตอบสนอง แนวทางดาเนิ นการ ๑) สร้างความร่วมมือของหลายฝา่ ย ๒) มีการฝึกอบรมเรือ่ งรายละเอียดของกฎหมายและแนวปฏิบตั ิ ๓) ให้ความรู้ มีการสนับสนุนทางการเมืองและการเคลื่อนไหวทางสังคม ซึง่ ล้วนมีองค์ประกอบ ภายในอีก มากมาย อาทิ เรื่อ งของความรู้นั ้น หมายถึง การมีอ งค์ ค วามรู้ มีก ารสร้า ง กระบวนการเรียนรูร้ ว่ มกัน มีการใช้ภูมปิ ญั ญาถ่ายทอดไปสู่คนรุ่นต่อไป มีการสนับสนุ นทาง วิชาการจากนักวิชาการและองค์กรพัฒนาเอกชนหรือ NGO และมีการใช้ฐานข้อมูลต่างๆ เพื่อช่วยในการจัด ทาแผนชุมชน ส่วนการเคลื่อนไหวทางสังคมเป็ นการสร้างเครือข่ายทัง้ ภายใน ภายนอก และระหว่างหน่ วยงาน และมีกจิ กรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง ขณะทีห่ ากจะ ทาให้ก ารมีส่ ว นร่ว มบรรลุ ผ ลจาต้อ งมีก ารสนับสนุ นทางการเมือ งทัง้ จากการเมือ งระดับ ท้อ งถิ่นและระดับชาติ อาทิ การมีกฎระเบียบรองรับ มีการสนับสนุ นด้านทรัพยากรจาก องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และหน่ วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ทัง้ หมดนี้ผนึกกาลังเกิดความ พร้อม สมัครใจ มีส่วนร่วมอย่างเสมอภาค ทัง้ ผู้นาประเทศและท้องถิ่น การสร้างความ เชื่อมันไว้ ่ วางใจ และมีการพัฒนาศักยภาพของประชาชนให้สามารถเข้ามามีส่ว นร่วมได้ โดยง่าย ทัง้ หมดนี้ ล้ ว นน าไปสู่ ว ัฒ นธรรมประชาธิป ไตยให้เ กิด ขึ้น ในท้ อ งถิ่น และระดับ ชาติ มีก าร ดาเนินการโดยยึดหลักธรรมาภิบาล มีการพัฒนาอย่างยังยื ่ น เหล่านี้ลว้ นก่อให้เกิดสันติสุขขึน้ ในอนาคต สมเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญทีม่ งุ่ ให้ประชาชนมีส่วนร่วมมากขึน้

เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๒๖/๓๓


ข้อจากัด ๑) กระบวนการออกกฎหมายของประเทศไทยเป็นไปอย่างล่าช้า ๒) กฎหมายเพื่อส่วนรวม แต่อาจไปลดอานาจคนบางกลุ่มมักไม่ได้รบั การพิจารณา หรือไม่ผ่าน รัฐสภา เพราะมีผคู้ ดั ค้าน ๓) การรับ รู้ข องภาครัฐ ที่อ าจมีข้า ราชการ เจ้าหน้ า ที่ของรัฐ ตลอดจนนักการเมือ งที่ย งั ไม่ ยอมรับการเพิม่ ขึน้ ของบทบาทภาคประชาชนในกระบวนการนโยบายสาธารณะ เพราะเกรง ว่าจะทาให้กระบวนการทางนโยบายล่าช้า ๔) ความรูแ้ ละศักยภาพของข้าราชการ และเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ใน การดาเนินกิจกรรมการมีส่วนร่วมตามกฎหมายมีจากัด ๕) การสร้างการมีส่วนร่วมตามกฎหมายอาจต้ องใช้ทรัพยากรทัง้ บุคลากร งบประมาณ และ วิธกี ารจัดการทีเ่ หมาะสม โดยสรุปกฎหมายจะเป็ นมาตรฐานพื้นฐานของการเสริมสร้างประชาธิป ไตยแบบมีส่ ว นร่ว ม (Participatory Democracy) ทีเ่ กี่ยวข้องกับวิธกี ารของการกระจายอานาจและทรัพยากรต่างๆทีไ่ ม่เท่า เทียมกันอันมีผลกระทบต่อชีว ิตความเป็ นอยู่ของประชาชนและวิธกี ารที่ประชาชนเหล่านัน้ สามารถมี อิทธิพลต่อการตัดสินใจที่มผี ลกระทบพวกเขา โดยที่อานาจในการตัดสินใจได้รบั การจัดสรรในระหว่าง ประชาชน เพื่อทุกๆคนได้มโี อกาสทีจ่ ะมีอทิ ธิพลต่อกิจกรรมส่วนรวม โดยมีเงือ่ นไขพืน้ ฐานของการมีส่วน ร่วมของประชาชนทีค่ รบถ้วนคือ ต้องมีอสิ รภาพ หมายถึง มีอสิ ระทีจ่ ะเข้าร่วมหรือไม่กไ็ ด้ การเข้าร่วม ต้องเป็ นไปด้วยความสมัครใจ ประชาชนเข้าร่วมในกิจกรรมใดจะต้องมีสทิ ธิเท่าเทียมกับผูเ้ ข้าร่วมคน อื่น ๆ และต้ อ งมีค วามสามารถ มีจ ิต สาธารณะ ตลอดจนประชาชนหรือ กลุ่ ม เป้ าหมายจะต้ อ งมี ความสามารถพอทีจ่ ะเข้าร่วมในกิจกรรมนัน้ ๆ ความคิ ดเห็นต่ อร่างข้อเสนอที่ ๓ จากเวทีเสวนา ๓ ภูมิภาค X ข้อวิ จารณ์ ข้อเสนอแนะเพิ่ มเติ ม  ความเห็นสนับสนุน  ปญั หาสาคัญของไทยคือ  ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม เ ป็ น  การปฏิรูปกฎหมายควร ก า ร ข า ด ก ร ะ บ ว น ก า ร พลเมือ งโดยการออกกฎหมาย ให้ความสาคัญกับกฎหมายใน ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย ที่ ค า นึ ง ถึ ง ทาได้ยาก เพราะผู้ทม่ี อี านาจใน ร ะ ดั บ พื้ น ที่ เ นื่ อ ง จ า ก ผลประโยชน์ ของคนส่ ว นใหญ่ การร่างกฎหมาย ผูบ้ ริหารสูงสุด กฎหมายบางมาตราล้าสมัยไม่ อย่า งแท้จริง ดัง นัน้ การสร้า ง ในระบบผู้ แ ทน (และบุ ค คลที่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ป ั ญ ห า ใ น กลไก กระบวนการ เพื่อรับฟงั เกี่ยวข้อ งต่ างๆ) เกรงกลัว การ ปจั จุ บนั เอื้อ ประโยชน์ ใ ห้ก ับ ความคิดเห็นและเสริมสร้างการ ลดทอนอ านาจของตนเองจาก คนเพียงบางกลุ่ ม ประชาชน มีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาท้องถิน่ จึง กฎหมาย จึงไม่ได้ร่างกฎหมาย ไม่สามารถเข้าถึงได้ มีความจาเป็น ตามข้อเสนอของประชาชน  ควรให้ค วามส าคัญ กับ  อุ ปสรรคของการพัฒนา การปฏิรูป กฎหมายโดยการ ความเป็ นพลเมื อ งโดยการ ทบทว นกฎหมายเดิ ม ว่ า เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๒๗/๓๓


 ความเห็นสนับสนุน

X ข้อวิ จารณ์ ปฏิรูปกฎหมายที่สาคัญ คือ การ ท าให้ ก ฎหมายในทางปฏิบ ัติ ปญั หาส่วนหนึ่งเป็ นเพราะผู้ท่รี ู้ และเข้าใจกฎหมายอย่างถ่องแท้ นั ้น มีน้ อ ยมาก จึง ไม่ ส ามารถ น า ไ ป สู่ กา ร ป ฏิ บ ั ติ ไ ด้ อ ย่ า ง แท้จริง

ข้อเสนอแนะเพิ่ มเติ ม กฎหมายใดควรคงไว้ ควร ปรับ ปรุ ง แก้ ไ ข หรือ ตัด บาง มาตราออกไป

โดยสรุป การปฏิรปู การเมืองต้องเริม่ จากการพัฒนาความเป็ นพลเมือง โดยต้องให้ประชาชนเข้าไปมีส่วน ร่วมทางการเมืองในทุกระดับ ซึง่ การทีป่ ระชาชนจะสามารถเข้าไปมีส่วนร่วมในกระบวนการทางการเมือง ได้อย่างมีคุณภาพนัน้ จะต้องมีการเสริมพลังอานาจ (empowerment) ให้แก่ประชาชนใน ๓ ด้าน คือ ประการแรก จะต้องเพิม่ อานาจให้แก่ประชาชนโดยการกดดันให้ฝา่ ยการเมืองผ่อนคลายอานาจ ของราชการส่วนกลางมาสู่การปกครองส่วนท้องถิน่ ให้มากขึน้ ควบคู่ไปกับการเสริมสร้างความเข้มแข็ง ให้แก่องค์กรภาคประชาชน (ทีม่ อี ยูแ่ ล้ว เช่น องค์กรสภาชุมชน) ให้ทอ้ งถิน่ มีความสามารถในการบริหาร จัดการตัวเองได้ ทัง้ นี้ เมื่อการปกครองในระดับท้องถิน่ ได้รบั ถ่ายโอนอานาจมาแล้วจะต้องมีการเปิ ด กลไกให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมได้อย่างต่อเนื่องในทุกขัน้ ตอน ทาให้การมีส่วนร่วมของประชาชน เกิดขึน้ ได้จริงในภาคปฏิบตั แิ ละทาให้วถิ ปี ระชาธิปไตยอยูใ่ นวิถกี ารดารงชีวติ ของประชาชนอย่างแท้จริง ประการที่ ส อง จะต้อ งทาให้ป ระชาชนมีสานึ กความเป็ นพลเมือ ง คือ การท าให้ประชาชนมี ความรูส้ กึ ว่าตัวเองมีบทบาทหน้าทีแ่ ละมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม รูส้ กึ ว่าตัวเองเป็ นเจ้าของบ้านเมือง และเชื่อว่าตัวเองมีความสามารถที่จะดูแลรักษาบ้านเมืองได้ ซึง่ ในส่วนนี้จะต้องอาศัยความร่วมมือของ ทุก ฝ่ายตัง้ แต่ ผู้มอี านาจก าหนดนโยบายด้านการศึก ษา สถาบันการศึก ษา สถาบันทางสัง คม/จารีต ประเพณีอ่นื ๆ เช่น ครอบครัว วัด ฯลฯ หน่วยงานภาครัฐและเอกชนในระดับพืน้ ที่ และสื่อมวลชน ในการ สร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันในระดับชุมชนที่มคี วามเชื่อมโยงกับขนบธรรมเนียมประเพณีและภูม ิ ปญั ญาท้องถิน่ และเป็ นการปลูกฝงั ค่านิยมในเรื่องการอดทนรับฟงั ความคิดเห็นทีแ่ ตกต่างและเคารพใน ศักดิ ์ศรีความเป็ นมนุ ษย์ของผูอ้ ่นื ประการที่ สาม จะต้องมีการหนุ นเสริมพลังการมีส่วนร่วมของประชาชนโดยการออกกฎหมาย ว่าด้ว ยการมีส่ ว นร่ว มของประชาชนในกระบวนการนโยบายสาธารณะ เพื่อ กาหนดนิยาม หลักการ พืน้ ฐาน กลไก และแนวทางการดาเนินการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการกาหนดนโยบาย และวาง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมทัง้ ในระดับชาติและระดับพื้นที่ซ่ึ งหมายรวมถึงในระดับจังหวัด อาเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และองค์กรชุมชน เป็ นต้น ทัง้ นี้ ในแนวทางการดาเนินการจะต้องมีการระบุ ขัน้ ตอนของการการมีส่วนร่วมและมีการกาหนดผู้รบั ผิดชอบที่ชดั เจน นอกจากนี้ จะต้องมีการทบทวน เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๒๘/๓๓


กฎหมายต่างๆ ที่อาจล้าสมัยไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ หรืออาจมีเนื้อหาขัดขวางการมีส่วนร่วมของ ประชาชน ไม่ ส อดคล้อ งกับ เจตนารมณ์ ข องรัฐ ธรรมนู ญ ตลอดจนต้ อ งเร่ ง รัด การออกกฎหมายที่ รัฐธรรมนูญบัญญัตใิ ห้มแี ต่ยงั ไม่มกี ารดาเนินการด้วย ภาพรวม การสร้างพลังพลเมืองเพื่อขับเคลื่อนประเทศไทย

เพิ่มอานาจ ประชาชน ในเรื่ององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่ นและองค์กร ภาคประชาชน

เสริมพลัง ประชาชน

สร้างสานึ ก พลเมือง

โดยการปฏิ รปู กฎหมาย

ผ่านกระบวนการกล่อม เกลาทางสังคม

เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๒๙/๓๓


เอกสารอ้างอิ ง ภาษาไทย คนึงนิจ ศรีบวั เอี่ยมและคณะ. รายงานการวิจยั เรื่อง แนวทางการเสริมสร้างประชาธิปไตยแบบมีส่วน ั หา อุ ป สรรค และทางออก. ร่ว มตามรัฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๔๐: ป ญ กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, ๒๕๔๕. เครตัน, เจมส์ แอล. คู่มอื การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการตัดสินใจของชุมชน. แปลโดย ศ. นพ.วันชัย วัฒนศัพท์. นนทบุร:ี ศูนย์สนั ติวธิ เี พื่อการพัฒนาประชาธิปไตย, ๒๕๔๓. น. ๒๕-๒๘ ถวิลวดี บุรกี ุลและคณะ. ๒๕๔๕. โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาดัชนีวดั ผลการพัฒนาระบบบริหารจัดการทีด่ ี. นนทบุร:ี สถาบันพระปกเกล้า ถวิลวดี บุรกี ุล. ๒๕๔๗. การมีส่วนร่วมของประชาชนเพื่อความเข้มแข็งและเป็ นสุขในสังคม. เอกสาร ประกอบการสัม มนาวิช าการประจ าปี ๒๕๔๗ เรื่อ งเหลีย วหลัง แลหน้ า : ยี่ส ิบ ปี เ ศรษฐกิจ สังคมไทย วันที่ ๒๗-๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๗ ณ โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ ซิต้ี จอมเทียน ชลบุร ี ถวิลวดี บุรกี ุล . ๒๕๔๗ ข. การประเมินผลการส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมือ งในบริบทของการ กระจายอ านาจและการจัดทากรณีศึกษาจากประสบการณ์ท่ไี ด้รบั กรณีศึกษา: เครือ ข่ายป่า ชุมชนลุ่มแม่น้ าปิ งตอนบน องค์กรชุมชนประมงพื้นบ้านปตั ตานี สภาพัฒนาหมู่บ้านหนองโก. สถาบันพระปกเกล้าและสานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ. กรุงเทพมหานคร: จรัล สนิทวงศ์การพิมพ์. ถวิล วดี บุ ร ีกุ ล . ๒๕๔๙. “การมีส่ ว นร่ ว มของประชาชน ๒๔๘๙-๒๕๔๙.” ใน นรนิ ติ เศรษฐบุ ต ร (บรรณาธิก าร) . การเมือ งการปกครองไทยในรอบ ๖๐ ปี แห่ ง การครองสิร ิร าชสมบัติข อง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั . นนทบุร:ี สถาบันพระปกเกล้า. ถวิล วดี บุ ร ีกุ ล . ๒๕๕๒. พลวัต การมีส่ ว นร่ว มของประชาชน: จากอดีต จนถึง รัฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. นนทบุร:ี สถาบันพระปกเกล้า. ถวิลวดี บุรกี ุล. ๒๕๕๔. “การเมืองเรื่องการเลือกตัง้ และปจั จัยสาคัญต่อการตัดสินใจเลือกพรรคการเมือง และผูส้ มัคร: วิเคราะห์จากการเลือกตัง้ ๓ ก.ค. ๒๕๕๔.” วารสารสถาบันพระปกเกล้า ๙ (๒): ๕๒๘. ถวิลวดี บุรกี ุลและสติธร ธนานิธโิ ชติ. ๒๕๔๖. รายงานวิจยั เรื่องการวัดระดับความเป็ นประชาธิปไตยและ พฤติกรรมการเลือกตัง้ สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร. นนทบุร:ี สถาบันพระปกเกล้า. บวรศักดิ ์ อุวรรณโณ และถวิลวดี บุรกี ุล. ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม. ๒๕๔๘. หนังสือชุดความรูด้ า้ น การจัดการความ ขัดแย้งด้วยสันติวธิ ี เล่มที่ ๓ สถาบันพระปกเกล้า . กรุงเทพฯ. โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐.

เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๓๐/๓๓


สถาบันพระปกเกล้า. ๒๕๔๕. รายงานการวิจยั เรื่องแนวทางการสร้างเสริมประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม ตามรัฐธรรมนู ญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ปญั หา อุ ปสรรค และทางออก. นนทบุร:ี สถาบันพระปกเกล้า. สถาบันพระปกเกล้า. ๒๕๕๒. ร่างพระราชบัญญัตกิ ารมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการนโยบาย สาธารณะ พ.ศ. ....นนทบุร:ี สถาบันพระปกเกล้า. สถาบันพระปกเกล้า. ๒๕๕๔. มองอดีตแลอนาคต: วัดระดับความเชื่อมันของประชาชนต่ ่ อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจต่อการบริการของรัฐ พ.ศ.๒๕๔๖-๒๕๕๓. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า. สมาคมนานาชาติเพื่อการมีส่วนร่วมของประชาชน, [http://iap๒.org/practitionertools/Index.html.] สุจติ บุญบงการ. ๒๕๔๘. ‚การมีส่วนร่วมทางการเมืองกับพัฒนาทางการเมืองไทย‛. ใน เอกสารการสอน ชุดวิชาปญั หาพัฒนาการเมืองไทย หน่ วยที๕่ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. น.๒๐๖ สานักงานคณะกรรมการการเลือกตัง้ . ๒๕๕๔. สรุปข้อมูลสถิตกิ ารใช้สทิ ธิเลือกตัง้ ส.ส. ๓ กรกฎาคม ๒๕๕๔. Retrieved January ๖, ๒๐๑๒, from http://www.ect.go.th/newweb/th/election/index ๔. php. สานักงานสภาพัฒนาการเมือง. ๒๕๕๔. รายงานวิจยั สานึกพลเมือง. กรุงเทพฯ: สานักแผนพัฒนา การเมืองสานักงานสภาพัฒนาการเมือง. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ . ๒๕๕๒. แปรถิน่ เปลีย่ นฐาน: สร้างการปกครองท้องถิน่ ให้เป็ นรากฐานของ ประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ภาษาอังกฤษ Albritton Robert B. and Thawilwadee Bureekul. Support for Democracy in Thailand. paper presented at Association for Asian Studies (AAS) Annual Meeting, ๔-๗, ๒๐๐๒, Marriott Wardman Park Hotel, Washington, DC. Albritton, Robert B., and Thawilwadee Bureekul. ๒๐๐๘. ‚Developing Democracy under a New Constitution in Thailand.‛ In How East Asians View Democracy, ed. Yun-Han Chu et al. New York: Columbia University Press. Almond, Gabriel, and Sidney Verba. ๑๙๘๙. The Civic Culture: Political Attitudes and Democracy in Five Nations. Newbury Park, CA: Sage Publication. Andersen, John, and Birte Siim, eds. ๒๐๐๔. The Politics of Inclusion and Empowerment. Houndmills: Palgrave Macmillan. Arnstein, Sherry R. ๑๙๖๙. ‚A Ladder of Citizen Participation.‛ Journal of the American Institute of Planners ๓๕ (๔) (July): ๒๑๖-๒๒๔. Barber, B.R. ๑๙๘๔. Strong Democracy: Participatory Politics for a New Age. Berkeley: University of California Press.

เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๓๑/๓๓


Barelson, B.R., Lazarsfield P.F., and McPhee W.N. ๑๙๕๔. Voting: A Study of Opinion Formation in a Presidential Campaign. Chicago: University of Chicago Press. Carthew, Alastair. ๒๐๑๐. Thaksin’s Twitter Revolution: How the Red Shirts Protests Increase the Use of Social Media in Thailand. In Social Media and Politics: Online Social Networking and Political Communication in Asia, ed. Philip Behnke. Singapore: KonradAdenauer-Stiftung. Chairat Charoensin-o-larn. ๒๐๑๐. ‚Thailand in ๒๐๐๙: Unusual Politics Becomes Usual.‛ Southeast Asian Affairs (๒๐๑๐): ๓๐๒-๓๓๑. Chu, Yun-Han, Andrew Nathan, and Doh Chull Shin. ๒๐๐๘ ‚Introduction: Comparative Perspectives on Democratic Legitimacy in East Asia.‛ In How East Asians View Democracy, ed. Yun-Han Chu et al. New York: Columbia University Press. Conover, P.J., Crewe I.M., and Searing D.D. ๑๙๙๑. ‚The Nature of Citizenship in the United States and Great Britain: Empirical Comments on Theoretical Themes.‛ Journal of Politics ๕๓: ๘๐๐-๓๒. Creighton, James L. ๒๐๐๕. The Public Participation Handbook: Making Better Decisions Through Citizen Involvement . San Francisco: Jossiebass. Huntington, Samuel. ๑๙๖๘. Political Order in Changing Societies. New Haven Conn.: Yale University Press. Kingsbury, Damien. ๒๐๐๗. Political Development. London: Routledge. Mill, John Stuart. ๑๙๙๑. Considerations on Representative Government. Retrieved December ๓๐, ๒๐๑๑, from http://www๒.hn.psu.edu/faculty/jmanis/jsmill/considerations.pdf. Ockey, James. ๒๐๐๙. Thailand in ๒๐๐๘: Democracy and Street Politics. Southeast Asian Affairs ๒๐๐๙: ๓๑๕-๓๓๓. Poowin Bunyavejchewin. ๒๐๑๐. ‚Internet Politics: Internet as a Political Tool in Thailand.‛ Canadian Social Science ๖ (๓): ๖๗-๗๒. Stithorn Thananithichot. ๒๕๕๔. Progress (?) In Quantity, Quality, and Equality of Citizen Participation in the Momentous Decade of Thai Democracy. Paper presented at the ๑๒ th National Conference on Political Science and Public Administration, ๘-๙ December ๒๐๑๑, Chiangmai, Thailand. Thaweesak Koanantakool. ๒๐๐๗. Important Internet Statistics of Thailand. Retrieved December ๓๐, ๒๐๑๑, from http://internet.nectec.or.th/document/pdf/๒๐๐๗๐๘๒๔_Important _Intenet _Statistics_of_Thailand.pdf Thitinan Pongsudhirak. ๒๐๐๘. ‚Thailand Since the Coup.‛ Journal of Democracy ๑๙ (๔): ๑๔๐๑๕๓. เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๓๒/๓๓


Thompson, D.F. ๑๙๗๐. The Democratic Citizen. Cambridge: Cambridge University Press. Young, Iris Marion. ๒๐๐๒. Inclusion and Democracy. Oxford, New York: Oxford University Press.

------------------------------------------------------------

เอกสารหลัก ๔ ผนวก ๑ การปฏิรปู ระบบการเมือง : พัฒนาความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฏิรปู ประเทศไทย

หน้า ๓๓/๓๓


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.