วารสารปฏิรูป "แรงงานรุก"

Page 1

·Òงออ¡ส¶Òน¡Òó

ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

ปรัชÞา àÈÃÉ°¡Ô¨ ¾Íà¾Õ§ หยØดอÀิÁหา อันµรายäดŒ ˹ŒÒ 2

. ŒÒ 2-15 . . É Ë¹

‘ไ¿ãต้ ’ ¡ÒÃà¨Ã¨Ò áกŒä¢äดŒดŒÇย

พลังขับàคล×่อน

เ·่านัéน ˹ŒÒ

àพ×่อàปลี่ยนสังคม

8-9

Ô¾ ÈÔÊÁѪªÒ à

áç§Ò¹ÃØ¡ µ

Á »Ø 6

ÊÃ

à¾ÔèÁÍíÒ¹Ò¨µ‹ÍÃͧ จี้คุ้มครองสÔท¸Ô ชีวÔต ครอบครัว ˹ŒÒ

5

คÇÒมเËลื่อมลéíÒ

ค‹Ò¨ŒÒงคนä·ย ป.ตรี ËÁ×è¹á»´ ´Ã.á»´ËÁ×è¹

7

à´‹¹ ãน©บับ

������-������� 5.5.indd 1

ผงะเอกชน จ่ายสินบนระบาดหนัก เศรษฐีไทยเกาะอำานาจรัฐ คอร์รัปชั่น

12

4/23/55 BE 3:51 PM


2

พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 พฤษภาคม 2555

ÊÒä´Õ¾ÔàÈÉ

ปรัชÞาเศรษฐกÔจ¾อเ¾ียง หยØดอÀิÁหาอันµรายäดŒ

รณี เ กิ ด แผ่ น ดิ น ไหว ใหญ่ 8.7 ริก เตอร์เขย่าใต้ทะเล นอกชาย ฝังเกาะ สุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2555 ทำ า ให้ ต้ อ งประกาศเตื อ นภั ย คลื่นยักษ์ “สึนามิ” กันทั่วทุก ชาติที่ตั้งอยู่ชายฝังมหาสมุทร อิ น เดี ย ด้ ว ยหวั่ น เกรงว่ า จะ เผชิญโศกนาฏกรรมมหาวิบัติ สึนามิซำ้ารอยปี 2547 ณ ตอน นี้ โ ลกและประเทศไทยกำ า ลั ง ประสบกั บ สิ่ ง ที่ เ ป็ น อภิ ม หา • ชาÇภูàกçตáละนักท‹องàที่ยÇต‹างอพยพกันâกลาËล Ëลังมีประกาศàต×อนÇ‹ามีàËตุἋนดินäËÇ อันตรายอันยิ่งใหญ่ อันเนื่อง 8.7 ริกàตอร์ นอกชาย½˜›งàกาะสุมาตรา อินâดนีà«ีย àม×่อ 11 àม.ย. 2555 ทรั พ ยากรนำ า มาใช้ จ นเหลื อ วัตถุต่างๆ ทั้งที่ส่วนใหญ่ไม่มี มาจาก • ÁÕ»ÃЪҡÃ˹Òṋ¹à¡Ô¹ä» น้ อ ยลง เกิ ด เป็ น ความขาด ความจำาเป็นอะไร ขณะที่เรา เ มื่ อ 6 0 ปี ที่ แ ล้ ว แคลน บางกรณี ถึ ง ขั้ น วิ ก ฤต ยั ง คงมี ค วามยากจน ความ ประเทศไทยมีประชากรไม่ถึง หรือถูกทำาให้เสือ่ มโทรมจนเป็น อดอยาก การขาดอาหาร อยูใ่ น 20 ล้านคน แต่ปัจจุบันนี้มีถึง อันตราย เป็นผลเสียต่อประชา ประเทศและในโลก การทีเ่ รามี 67 ล้านคน ทั่วทั้งโลก จาก กรจำ า นานมากขึ้ น ภั ย พิ บั ติ ประชากรทีห่ นาแน่นจนเกินไป ประชากรประมาณ 2000 ล้าน ต่ า งๆ ทั้ ง จากธรรมชาติ แ ละ ทำาให้คนเก่งๆ สามารถช่วงชิง คน กลายเป็น 7000 ล้านคน ผลโดยทางตรงและทางอ้อม เพือ่ ให้ได้บริโภคมากกว่าสะสม ในขณะที่ ท รั พ ยากรยั ง มี เ ท่ า อันเกิดจากนำ้ามือมนุษย์ ซึ่งมี ได้มากกว่า ทั้งโดยวิธีการถูก เดิม ทั้ง ที่ดิน ป่า แร่ ธาตุ ทะเล ผลไปทั่วทั้งโลก หากไม่ได้รับ กฎหมายและผิ ด กฎหมาย อากาศ ชั้นบรรยากาศที่ห่อหุ้ม การแก้ไขร่วมกันย่อม มีผลเสีย ทำาให้เกิดความไม่เป็นธรรม ใน โลก ล้ ว นถู ก ทำ า ลาย และ ยากต่ อ การแก้ ปั ญ หาในภาย สังคม ความเหลื่อมลำ้าในฐานะ ทางเศรษกิจ สังคม และการ เสื่อมโทรมไปเยอะ และสั่งสม หลัง มากขึ้นไปเรื่อยๆ ประชากรที่ • Çѵ¶Ø-ºÃÔâÀ¤¹ÔÂÁÁÒ¡à¡Ô¹ä» เมื อ ง ระหว่ า งกลุ่ ม คนต่ า งๆ กระแสโลกที่ทำาให้เรา มากขึน้ ทำาให้สงั คมในประเทศ เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ทำาให้เกิด การแก่งแย่งแข่งขันกัน ช่วงชิง มุ่งสะสมความรำ่ารวย สะสม ไทยและในโลกเกิดความแตก

. . . É

Ô¾ È à

สรุป�6�มติสมัชชาป¯ิรูประดับชาติครั้งที่�ò

มติที่

เรือ่ ง การปฏิรปู ระบบแรงงาน และสวัสดิการ : การเพิ่มอำานาจต่อ รองของแรงงาน การปรับโครงสร้าง ค่าจ้าง การเพิ่มผลิตภาพ และการ คุ้มครองแรงงาน มีมติ ดังต่อไปนี้ ๑. การเพิ่มอำานาจต่อรอง ของแรงงาน ๑.๑ ให้รฐั บาลให้สตั ยาบัน ตามอนุ สั ญ ญา องค์ ก ารแรงงาน

������-������� 5.5.indd 2

แยกและขาดความสั น ติ สุ ข ตั้งแต่บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์ ก ร สั ง คม โลก และ อย่างกว้างขวาง • ¤Ø³¸ÃÃÁ¤ÇÒÁ´Õ¹ÍŒ Âà¡Ô¹ä» มนุษยชาติ ฉะนั้น “ปรัชญาของ การแก่งแย่งชิงทรัพยา กรกัน ความโลภที่มีเกินขอบ เศรษฐกิจพอเพียง” ถ้าคิดให้ เขต ผู้คนนำานิสัยส่วนที่ไม่ดีใน กว้าง ถ้าคิดให้ไกล ไม่ไปเข้ม จิตใจออกมาใช้ ได้แก่ ความ งวดกับความหมาย แต่เอาหลัก โลภ ความโกรธ ความเกลียด มาใช้ คื อ ความพอประมาณ ความยึดถือตัวตน ความเห็นแก่ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกัน ตัว และความไม่ดีอื่นๆ ส่วน การใช้คุณธรรมความดี การใช้ คุณธรรมความดี ทีเ่ ป็นพืน้ ฐาน ความรู้ ค วามสามารถอย่ า ง อยู่ในทุกคน ได้แก่ ความรัก รอบคอบ แล้วนำามาประยุกต์ ความเป็นมิตร ความมีเมตตา ใช้ให้เป็น ยุทธศาสตร์และแผน ความเอือ้ เฟือ้ เผือ่ แผ่ ความรูร้ กั งานในระดับประเทศและระดับ สามัคคี ความกตัญู เป็นต้น โลก รวมทั้ ง ทำ า ให้ เ ป็ น ขบวน กลับถูกลดทอนความสำาคัญ ไม่ การทางสั ง คม ที่ ทุ ก ฝ่ า ยใน ถูกนำาออกมาใช้ ไม่ได้รบั การส่ง สั ง คม รวมทั้ ง ฝ่ า ยการเมื อ ง เสริม สนับสนุมากพอ คุณธรรม ภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคประชา ความดีในตัวคนและในสังคม สั ง คม ภาคประชาชนและ จึ ง เกิ ด ความเสี ย ดุ ล มากๆขึ้ น ชุมชน นักวิชาการต่างๆ นัก วิชาชีพ ศิลปิน ฯลฯ มาร่วม ทุกวัน ยุ ท ธ์ ศ าสตร์ ห นึ ง ที่ จ ะ กันขับเคลื่อน “ปรัชญาของ ช่ ว ยได้ คื อ “ปรั ช ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง” โดยอาจ เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง” ตามที่ ดัดแปลง รูปแบบ กระบวนการ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว วิธกี าร ให้เหมาะกับบริบท และ ทรงมีพระราชดำารัส เมือ่ วันที่ 9 สถานการณ์ ในแต่ละกรณีด้วย มิถนุ ายน 2554 ว่า “เศรษฐกิจ ก็ได้ เชื่ อ ได้ ว่ า จะสามารถ พอเพี ย งจะช่ ว ยให้ โ ลกพ้ น ช่ ว ยบรรเทาและแก้ ปั ญ หา จากวิกฤตได้” ถ้ า เราคิ ด ในภาพใหญ่ “อภิมหาอันตรายของประเทศ แบบนี้ เศรษฐกิจพอเพียงไม่ใช่ ไทยและของโลก” ได้ ••• เรื่องเล็ก เป็นเรื่องใหญ่ และ เป็นเรื่องสำาคัญมากทุกระดับ

ระหว่างประเทศฉบับที่ ๘๗ ว่าด้วยเสรีภาพ ในการสมาคมและการคุม้ ครองสิทธิในการ รวมตัวกัน และอนุสัญญาฉบับที่ ๙๘ ว่า ด้วยการปฏิบัติตามหลักการแห่งสิทธิใน การรวมตัวและการร่วมเจรจาต่อรอง ภาย ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ๑.๒ รัฐบาลและนายจ้างให้สทิ ธิ และเสรี ภ าพในการรวมตั ว ของแรงงาน กลุ่ ม ต่ า งๆ ทั้ ง เป็ น การรวมตั ว ในกลุ่ ม อุตสาหกรรม ระหว่างกลุ่มอุตสาหกรรม ระหว่างแรงงานประเภทเดียวกัน และต่าง ประเภทกัน ระหว่างคนที่เป็นลูกจ้างและ ไม่เป็นลูกจ้าง รวมทั้งข้าราชการและแรง งานทุกประเภททั้งภาคเอกชนและภาครัฐ ๑.๓ ให้กระทรวงแรงงานยกเลิก

ระเบียบเก่า และออกระเบียบใหม่ในการ เลือกตั้งของระบบไตรภาคี ให้เป็นไปตาม ระบอบประชาธิปไตย คือ ให้แรงงานทุก คนออกเสี ย งได้ ๑ คน ๑ เสี ย ง ตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธ ศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๘๔ (๗) ๑.๔ พรรคการเมืองและองค์กร ภาคประชาชน ต้องเสนอต่อสภาผู้แทน ราษฎรให้มีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย เลือกตั้งทั้งระดับชาติและระดับท้องถิ่น โดยให้สิทธิลูกจ้างที่ทำางานในพื้นที่ใดๆ ใน จังหวัดใดๆ มีเวลานานตัง้ แต่ ๒ ปีขนึ้ ไป ให้ มี สิ ท ธิ เ ลื อ กตั้ ง และสมั ค รรั บ เลื อ กตั้ ง ตั ว แทนของเขตพืน้ ทีน่ นั้ ๆ หรือหากลูกจ้างนัน้ ประสงค์จะไปใช้สิทธิในภูมิลำาเนาเดิมก็

สามารถทำาได้ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญใน ปัจจุบัน ๑.๕ รัฐบาลต้องสนับสนุนการ จัดตั้งธนาคารแรงงานหรือกองทุนการเงิน ของแรงงาน ตามรั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราช อาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๘๔ (๙)

๒. การปรับโครงสร้างค่าจ้าง ๒.๑ รัฐบาลและนายจ้างต้องมี นโยบายที่ชัดเจนเรื่องค่าจ้างที่เป็นธรรม โดยโครงสร้างค่าจ้างของแรงงานให้คำานึง ถึงค่าครองชีพ และฝีมือที่สอดคล้องกับ ประสิทธิภาพ ผลิตภาพ ความเสี่ยงและ ลักษณะงานของลูกจ้าง และค่าจ้างที่เป็น

4/23/55 BE 3:51 PM


3

พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 พฤษภาคม 2555

กล่าวออกไปก็ตาม เพราะนี้คือการดำาเนินนโยบายที่เป็นสัญญาประชาคม พลังขับàคล×่อน

àพ×่อàปลี่ยนสังคม

Àารกิจรั°บาลยิ่งลักɳ Àารกิจ‘ป®ิรูปประเทÈ’

ขณะเดียวกันนโยบายการปรับอัตราเงินเดือนข้าราชการระดับ ปริญญาตรีแรกเข้า 15,000 บาท ซึง่ แม้จะต้องเลือ่ นการประกาศใช้ออกไปก็เพือ่ ให้เกิดความสมดุลและสอดคล้องกับการปรับฐานระบบเงินเดือนของข้าราชการ ซึ่ ง ต้ อ งใช้ ง บประมาณจำ า นวนมาก รวมถึ ง การประกาศแจกคอมพิ ว เตอร์ “แทปเล็ต” ให้แก่เด็กนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 ทัว่ ประเทศจำานวน 1 ล้าน เครื่อง ก็กำาลังอยู่ในระหว่างดำาเนินการจัดซื้อจัดจ้างตามระบบระเบียบทาง ราชการ

การดําเนินนโยบายดังกล่าวข้างต้นและอีกหลายๆนโยบายของ รัฐบาลย่อมปฏิเสธไม่ได้ว่า นี่คือ “นโยบายประชานิยม” ซึ่งถือว่าเป็นความ จำาเป็นของทุกรัฐบาลที่จะต้องสร้างคะแนนนิยมให้เกิดขึ้น เพื่อให้ได้รับการ รัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี บริหารประเทศ สนับสนุนในการบริหารประเทศต่อไป เพราะหากไม่ดาำ เนินนโยบายดังกล่าวย่อม ย่างเข้าเดือนที่ 10 ท่ามกลางอุปสรรคขวากหนามสารพัด ทั้งภัยพิบัติธรรมชา ถือว่ารัฐบาลไม่ได้ปฏิบัติตามสัญญาประชาคมที่ให้ไว้กับประชาชน ซึ่งเข้าข่าย ตินำ้าท่วมใหญ่ ตลอดจนสถานการณ์แผ่นดินไหว ซึ่งยังไม่นับความขัดแย้ง หลอกลวงและอาจจะขัดต่อรัฐธรรมนูญด้วยก็ได้ ภายในประเทศทีย่ งั หาทางออกไม่ได้ ในขณะทีภ่ ารกิจสำาคัญของรัฐบาลคือการ แต่การดําเนินนโยบายเพื่อนําพาประเทศชาติให้เดินหน้าต่อไป ดำาเนินนโยบายทีไ่ ด้ประกาศไว้ในช่วงหาเสียงเลือกตัง้ ก็ตอ้ งถือเป็นหน้าทีท่ จี่ ะ ได้ ท ่ า มกลางความขั ดแย้งแบ่งแยกแตกกลุ่มนั้น “กองบรรณาธิการปฏิรูป” มี ต้องดำาเนินการไม่แพ้การแก้ปัญหาอื่นๆของประเทศ ความเห็นว่ามีแต่รัฐบาลจะต้องดำาเนินนโยบายปฏิรูปประเทศในทุกๆด้านไป โดยเฉพาะการปรับค่าจ้างขั้นตํ่า 300 บาททั่วประเทศ ซึ่งในที่สุด พร้อมกัน เพื่อลดความเหลื่อมลำ้า ลดความขัดแย้งแบ่งแยกในสังคม ทั้งด้าน ก็ได้ดาำ เนินการนำาร่องใน 7 จังหวัด และกรุงเทพมหานคร ตัง้ แต่วนั ที่ 1 เมษายน แรงงาน การศึกษา การกระจายอำานาจสู่ท้องถิ่น รวมทั้งการปฏิรูปโครงสร้าง 2555 เป็นต้นมาและในต้นปี 2556 ก็จะปรับเป็น 300 ทั่วประเทศ แม้ว่าภาค อำานาจด้านอื่นๆไปพร้อมๆกัน มากกว่าจะดำาเนินนโยบายเพื่อความนิยมของ เอกชนโดยเฉพาะผู้ประกอบการระดับกลางและรายย่อยที่ได้รับผลกระทบที่ รัฐบาลและคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเท่านั้น จะต้องเพิม่ ต้นทุนการผลิตจะขอผ่อนผันและเลือ่ นการประกาศปรับค่าจ้างดัง ••• เปิดเป็นเวทีสาธารณะ ยิ น ดี รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ทรรศนะ วิพากษ์วจิ ารณ์ จาก นักวิชาการ ตลอดจนบุคคล ทั่ ว ไปและองค์ ก รเครื อ ข่ า ย เพื่ อ นำ า มาต่ อ ยอดแนวคิ ด แนวทางในการปฏิรูปประเทศไทย ให้ดำาเนินไปในทิศทางที่ สร้ า งสรรค์ ให้ ผู้ อ่ า นพิ จ ารณาและวิ นิ จ ฉั ย โดยกอง บรรณาธิการไม่จำาเป็นต้องเห็นด้วย >> วารสารรายเดือน

ธรรมสามารถเพิม่ ขึน้ ได้โดยวัดจากประสบ การณ์ ฝีมือ และทักษะของแรงงานที่เพิ่ม ขึ้น ๒.๒ กระทรวงแรงงานต้องแก้ไข นิยามค่าจ้างขั้นตำ่าให้เป็นไปตามหลักการ ขององค์ ก าร แรงงานระหว่ า งประเทศ สำาหรับลูกจ้างที่เริ่มทำางานเป็นครั้งแรกให้ มี ร ายได้ พ อเพี ย งเลี้ ย งชี พ ตนเอง และ ครอบครัวอีก ๒ คน

๓. การพัฒนาสมรรถนะ ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะทีพ่ งึ ปรารถนาเพือ่ เพิ่มผลิตภาพ ๓.๑ ให้ ก ระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร บรรจุวิชาด้านแรงงานที่เกี่ยวกับเจตคติ ด้านแรงงาน สิทธิแรงงาน แรงงานสัมพันธ์ การคุ้ ม ครองแรงงาน ประกั น สั ง คม ประวัติศาสตร์ขบวนการแรงงาน รวมทั้ง วิชาศีลธรรม จริยธรรม ในหลักสูตรทุก ระดับชั้น โดยให้สอดคล้องกับบริบทของ

������-������� 5.5.indd 3

> เจ้าของ : สำานักงานปฏิรูป เลขที่ 126/146 ชั้น 4 อาคาร 10 ชั้น สถาบันบำาราศนราดูร ถนนติวานนท์ ซอย 14 ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทรศัพท์ 02-965-9531-3 โทรสาร 02-965-9534 www.reform.or.th

แต่ละพื้นที่ ๓.๒ ให้ ก ระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร และกระทรวงแรงงาน เร่งรัดจัดตั้งองค์กร อิ ส ระรั บ รองวิ ท ยฐานะฝี มื อ แรงงานทุ ก ประเภท ๓.๓ ให้ ก ระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร กระทรวงแรงงาน สถานประกอบการ และ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง จัดบริการการศึกษา เพื่อแรงงาน การพัฒนาฝีมือแรงงานตาม บริบทอาชีพแรงงานในท้องถิน่ การจัดการ การสอนภาษาสำาหรับแรงงานทัง้ ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศเพือ่ รองรับการเป็น ประชาคมอาเซียน ๓.๔ ให้ รั ฐ บาลมอบหมายให้ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เช่ น กระทรวง แรงงาน กระทรวงการคลัง ธนาคารพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่ง ประเทศไทย เป็นต้น จัดตัง้ กองทุนดอกเบีย้ ตำา่ ร้อยละ ๒ ต่อปี ให้ธรุ กิจกูไ้ ปพัฒนาฝีมอื ลูกจ้างตามความต้องการและความจำาเป็น

> คณะที่ปรึกษา

ศ.นพ.ประเวศ วะสี นพ.วิชัย โชควิวัฒน นพ.อำาพล จินดาวัฒนะ นพ.สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ นพ.ชูชัย ศุภวงศ์ ทพ.กฤษฎา เรืองอารีรัชต์ รศ.ดร.วิลาสินี อดุลยานนท์ กรรณิการ์ บรรเทิงจิตร ดร.วณี ปินประทีป

> บรรณาธิการบริหาร ทรงวิทย์ ดลประสิทธิ์

> กองบรรณาธิการ พัชรา อุบลสวัสดิ์ สุรศักดิ์ บุญเทียน ปนัดดา ขาวสะอาด ครรชิต ปิตะกา วิไลวรรณ สิริสุทธิ์

ของธุรกิจแต่ละราย โดยนายจ้างที่ใช้เงิน ลงทุนเพื่อพัฒนาความรู้และฝีมือลูกจ้าง สามารถนำาเงินลงทุนนี้ไปลดหย่อนภาษีได้ เพิ่มขึ้น

๔. การคุ้มครองแรงงาน ๔.๑ ให้กระทรวงแรงงานร่วม กั บ นายจ้ า งจั ด ตั้ ง กองทุ น พิ ทั ก ษ์ สิ ท ธิ แรงงาน โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก สอง ประการ คือ ๔.๑.๑ ประการแรก ให้นายจ้าง และรัฐบาลสมทบเงินเข้ากองทุน เพื่อเป็น หลั ก ประกั น ว่ า เมื่ อ มี ก ารเลิ ก กิ จ การ ลูกจ้างมีสทิ ธิได้รบั เงินชดเชยและเงินอืน่ ใด ที่ลูกจ้างมีสิทธิได้รับจากกองทุน ๔.๑.๒ ประการที่ ส อง ลู กจ้างมี สิ ท ธิ ไ ด้ รั บ การสนั บ สนุ น ค่ า ใช้ จ่ า ยจาก กองทุนพิทักษ์สิทธิแรงงานในการดำาเนิน คดีระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างได้ ๔.๒ ให้รฐั บาลสร้างหลักประกันให้

นงลักษณ์ ยอดมงคล พฤทธิ์ ขวัญเจริญ บัญชา เทียนดำา วันวิสา แสงทิม จิตติมา อุ้มอารีย์ รัฐวรรณ เฮงสีหาพันธ์ > กราฟฟคและผลิต สุพรรณี สุวรรณศรี โดย บริษทั ชินเซียงซ้ง มีเดีย กรุป จำากัด นาตยา แท่นนิล สายใจ ปัสตัน พรทิพย์ เชื้องาม อาภาภรณ์ กิจศิริ

หญิ ง ชายต้ อ งมี สิ ท ธิ แ ละโอกาสเท่ า เทียมกัน ลูกจ้างในกิจการเดียวกันและ อยู่ภายใต้สภาพการจ้างเดียวกันต้องมี สิทธิและโอกาสเท่าเทียมกัน ๔.๓ ให้กระทรวงแรงงานร่วม กับ ภาคเอกชนจัดตั้งบริษัท กำา ลังคน เป็นบริษัทกลางที่ร่วมทุนระหว่างภาค รัฐ ภาคเอกชน และลูกจ้าง โดยให้ บริษัทจัดหางานเอกชนที่มีอยู่แล้วทั้ง หมดถือหุ้น เพื่อทำาหน้าที่จัดฝึกกำาลัง คน แสวงหาตลาดงานในต่างประเทศ ดูแลแรงงานไทยในต่างประเทศ ติดต่อ ประสานงานกับครอบครัวของแรงงาน ในประเทศ ดูแลค่าใช้จ่ายในการเดิน ทาง และจัดหาแหล่งเงินกู้ดอกเบี้ยตำ่า โดยใช้สัญญาจ้างงานเป็นเอกสารคำ้า ประกั น นอกจากนั้ น ในการจั ด ตั้ ง บริษทั จัดหางานดังกล่าว ผูเ้ กีย่ วข้องจะ ต้องมีการวางระบบธรรมาภิบาลเพื่อ รักษาประโยชน์ของลูกจ้าง

4/23/55 BE 3:51 PM


4

พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 พฤษภาคม 2555

·Õè¹Õè...ʶҹջ¯ÔÃÙ»

นายพิภพ ธงไชย แกนนำา กลุม่ พันธมิตรประชาชนเพืป่ ระชาธิป ไตย (พธม.) แสดงท่ า ที แ ละการ เคลื่ อ นไหวล่ า สุ ด ว่ า ในวั น ที่ 22 เมษายนนี้ พันธมิตรฯ จะเดินสายทัว่ ประเทศ โดยเริ่มที่ จังหวัดขอนแก่น เพื่ อ ถามความเห็ น ในการปฏิ รู ป ประเทศ เนื่องจากช่วงนี้มีการพูดถึง เรื่อง “การปฏิรูประบบการเมือง” กั น มากขึ้ น เพราะหากปล่ อ ยให้ นักการเมือง “เล่น” กันอย่างไม่มี ระบบ แบ่งพรรค แบ่งพวก และขัด แย้งกันรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ ประ เทศชาติก็จะไปไม่รอด ทัง้ ๆทีน่ กั การเมืองหรือผูแ้ ทน ราษฎรหรือสส.ก็โพนทะนา เป็นสูตร สำาเร็จมาตลอดว่า เข้ามารับใช้ชาติ บ้านเมือง ทำาเพื่อบ้านเมือง ให้เจริญ ก้าวหน้า แต่พอลับหลัง (การเลือก ตั้ ง ) ไม่ น านนั ก การเมื อ งเหล่ า นี้ ก็ “เล่น” เพื่อตัวเองและพวกพ้องมา ตลอด เผลอๆถ้าประชาชนไม่สนใจ ก็แอบเสนอขึน้ เงินเดือนให้ตวั เอง ทัง้

ที่ความจริงนักการเมืองคือผู้ที่อาสาเข้า มารับใช้ชาติบ้านเมือง ทำาไมจะต้องรับ และขอขึ้นเงินเดือนตัวเองถ้า “อาสา” อย่ า งที่ ป ากคุ ย โวจริ ง ก็ ไ ม่ ต้ อ งรั บ เงิ น เดือนเลยยังได้ ล่ า สุ ด จึ ง มี ข้ อ เสนอว่ า ต้ อ งให้ ประชาชนเข้าไปมีสว่ นร่วมทางการเมือง ในทุ ก ระดั บ โดยการเพิ่ ม อำ า นาจให้ ประชาชน พร้อมๆกับลดอำานาจของ ข้าราชการส่วนกลาง ให้ชุมชนท้องถิ่น สามารถบริหารจัดการพื้นที่ของตนเอง ได้ ควบคู่ไปกับการเสริมสร้างความเข้ม แข็งให้แก่องค์กรชุมชนและภาคประชา สังคม ลำาพังการกระจายอำานาจจาก ส่วนกลางลงไปยังองค์การปกครองส่วน ท้องถิ่น (อปท.) หรือองค์การบริหาร ส่วนจังหวัด (อบจ.) และองค์การบริหาร ส่วนตำาบล (อบต.) คงไม่เพียงพอที่จะ พัฒนาระบบการเมืองได้ ทั้ ง นี้ ทั้ ง นั้ น เพราะทุ ก วั น นี้ อ งค์ การปกครองส่วนท้องถิน่ แทบทุก ระดับ ถูก “นักการเมือง” ลงไปครอบงำาทำามา หากินกันจนแทบจะไม่เหลืออะไรแล้ว โดยเฉพาะเรือ่ งงบประมาณ เพราะพวก

นี้รู้ดีว่า มีโครงการอะไรบ้าง ถนนหน ทาง สะพาน ฝายกั้นนำ้า แม้แต่ถังขยะ ประจำาหมู่บ้าน-ชุมชน ชั ด เจนที่ สุ ด คื อ นั ก การเมื อ ง ระดับชาติ เคยเป็นรัฐมนตรี ส.ส.ชื่อดัง ระดับดาวสภา ยังสู้อุตส่าห์ลงไปสมัคร (หากิน) ในตำาแหน่ง สจ.บ้าง นายกฯ อบจ.บ้าง แม้แต่อบต.ระดับตำาบล ก็ยัง ลงไปแทรกซึมถึงขนาดนั้นแล้ว ถามว่าคนในจังหวัดสุพรรณ บุรี จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดสระแก้ว และจังหวัดที่มีนักการเมืองอยู่ในพื้นที่ พี่ น้ อ งประชาชนในจั ง หวั ด และพื้ น ที่ นั้นๆไม่มีความรู้ความสามารถที่จะเข้า มาช่วยพัฒนาชาติบา้ นเมืองหรืออย่างไร นักการเมืองชื่อดังในจังหวัดนั้น ในพืน้ ทีน่ นั้ ฉลาดและปัญญาเลิศเลอจน หาคนเทียบไม่ได้หรืออย่างไร ก็เปล่าเลย แต่คนในจังหวัดและพื้นที่นั้นๆ เขาไม่มี โอกาส ไม่มเี งินทุนสนับสนุน จึงไม่ได้เข้า มามีส่วนร่วมบริหารบ้านเมืองต่างหาก เดี๋ยวนี้พี่น้องประชาชนในพื้นที่ และจั ง หวั ด ต่ า งๆมี ก ารศึ ก ษาสู ง มาก ระดับดอกเตอร์ก็มีให้เห็น แต่เขาไม่มี โอกาสที่จะเข้ามามีส่วนร่วมพัฒนาชาติ บ้านเมือง เพราะถูกนักการเมืองที่ไม่รู้ จักพอ ไม่รจู้ กั อิม่ ครอบครองพืน้ ทีม่ าช้า นาน และกำาลังหาช่องทางทีจ่ ะถ่ายทอด “วิชามาร” ให้ลูกหลานสืบทอดต่อไป จังหวัดนี้ พื้นที่นี้ พ่อเป็นนักการ เมือง พอจะไปไม่ไหว หรือถูกสังหาร เพราะขัดผลประโยชน์คนอืน่ ก็ให้ลกู มา

๔.๔ ให้ ก ระทรวงแรงงาน และสถาบันการศึกษา จัดตั้งสถาบันส่ง เสริมพัฒนานโยบายและองค์กรแรงงาน เป็ น หน่ ว ยงานอิ ส ระ ทำ า หน้ า ที่ ด้ า น ศึกษาวิจยั เชิงระบบและผลกระทบของ นโยบายสาธารณะด้านแรงงาน ส่งเสริม พัฒนาองค์กรแรงงาน เสนอแนะเชิง นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านแรงงาน ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ความเป็ น ประเทศ เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมยุคใหม่ ๔.๕ ให้ ก ระทรวงแรงงาน เร่ ง รั ด ให้ มี ก ารคุ้ ม ครองแรงงานทุ ก ประเภท และมีสวัสดิก ารตามความ เสี่ยงของการประกอบอาชีพและการ ประกันสังคมถ้วนหน้า รวมทัง้ สิทธิอนื่ ๆ ทั้ ง แรงงานนอกระบบและแรงงาน ต่างด้าวให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ๔.๖ ให้ สำ า นั ก งานประกั น สังคมแก้ไขพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ ให้มีผลคุ้มครองลูกจ้างที่

เกิดอุบัติเหตุในระหว่างเดินทางไปกลับ จากการทำางาน รวมถึงจ่ายค่าทดแทนการ ขาดรายได้จากอุบัติเหตุร้อยละ ๑๐๐ ๔.๗ ให้กระทรวงแรงงานเร่งรัด ในการดำาเนินการบังคับใช้พระราชบัญญัติ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพ แวดล้อม ในการทำางาน พ.ศ. ๒๕๕๔ อย่าง มีประสิทธิผล โดยให้มีมาตรการที่ประกัน ความปลอดภัยของแรงงานทีส่ อดคล้องกับ มาตรฐานสากล รวมทั้งเผยแพร่ สื่อสาร และสร้างความเข้าใจต่อกลุ่มแรงงานและ ชุมชน ๔.๘ ให้กระทรวงแรงงานและ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คง ของมนุษย์ กำาหนดนโยบายและมาตรการ ที่ชัดเจนและได้ ผล ในการสนับสนุน ให้ สถานประกอบการจัดให้มีที่อยู่อาศัยและ ศูนย์พัฒนาเด็กให้แก่ แรงงาน ในบริเวณ ใกล้ๆ เขตอุตสาหกรรมหรือสถานทีท่ าำ งาน โดยถูกสุขภาวะและปลอดมลพิษ

๔.๙ ให้กระทรวงแรงงาน สภา หอการค้าแห่งประเทศไทย สภาอุตสาห กรรมแห่งประเทศไทย และองค์กรแรงงาน ร่ว มกั น กำ า หนดนโยบายที่ ชัด เจนในการ อนุญาตให้แรงงานต่างด้าวเข้ามาทำางานได้ จำานวนเท่าไร และในสาขาอาชีพอะไร โดย ต้องมีมาตรการทีเ่ คร่งครัดและมีฐานข้อมูล ที่ชัดเจน ๔.๑๐ ให้สถาบันวิจัยที่เกี่ยวข้อง ร่วมกับสำานักงานประกันสังคม ศึกษาถึง ประสิ ท ธิ ภ าพและข้ อ จำ า กั ด ในการให้ บริการของโรงพยาบาลที่เป็นคู่สัญญา กับ สำ า นั ก งานประกั น สั ง คมเพื่ อ พั ฒ นาและ ปรับปรุงระบบบริการสุขภาพแก่ผู้ประกัน ตนได้เข้าถึงและมีคุณภาพยิ่งขึ้น รวมทั้ง ศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ใ นการจั ด ตั้ ง โรง พ ย า บ า ล ข อ ง ผู้ ป ร ะ กั น ต น ใ น ย่ า น อุตสาหกรรมหนาแน่น ทั้งนี้ให้ศึกษาจาก ข้ อ มู ล และประสบการณ์ ใ นประเทศที่ มี บริบทที่ใกล้เคียงด้วย โดยจัดสรรเงินจาก

• กองบรร³า¸ิการ •

สรุป 6 มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้งที่สอง

·ÔÈ·Òงป¯ÔÃÙปปÃÐเ·È นักการเมืองต้องมีวาระ

������-������� 5.5.indd 4

พิภพ ธงไชย

“เล่นการเมือง” ต่อ ให้เมีย ให้หลาน ให้นอ้ ง ให้นอ้ งเมีย ให้ญาติๆน้องเมียมา “เล่ น การเมื อ ง” ปิ ด โอกาสคนทั้ ง จังหวัด ปิดโอกาสคนทั้งพื้นที่ และเป็น อย่างนี้มานาน ผมจึ ง ขอเสนอว่ า เพื่ อ ให้ บ้ า น เมืองมีการพัฒนาที่เจริญรุ่งเรือง ไม่มี นั ก การเมื อ งมาแสวงหาประโยชน์ “นักการ เมืองต้องมีวาระ” เช่น ให้เป็น ส.ส.หรือ สจ. หรืออบต. ได้คนละ 1 หรือ 2 สมัยเท่านั้น และหากพ้นวาระไปแล้ว ก็ไปประกอบอาชีพอื่น ทำาอย่างอื่นที่ไม่ เกีย่ วกับการเมือง หรือหากอยากจะช่วย ชาติบ้านเมืองจนตัวสั่น ก็ให้ตั้งมูลนิธิ หรือกองทุนการกุศลมาสนับสนุนการ เงินหรือด้านอื่นๆ ได้ เพราะหากเป็ น นั ก การเมื อ ง หลายสมัยหรือมากกว่านั้น ก็อาจจะ กองทุนประกันสังคมสนับสนุนการศึกษา

๕. ข้อเสนอเชิงนโยบายข้างต้น

นอกจากจะเป็นข้อเสนอต่อรัฐบาลและ หน่วยงานของรัฐทีเ่ กีย่ วข้องแล้ว ขบวนการ แรงงานจะดำาเนินการเสริมสร้างความเข้ม แข็งให้กบั ตนเองเพือ่ ให้เกิดความเป็นธรรม และลดความเหลื่อมลำ้าในสังคมได้อย่าง แท้จริง

มติที่

เรื่อง การปฏิรูปโครงสร้างอำานาจ สู่การปรับดุลอำานาจที่เหมาะสมระหว่าง รัฐบาลกับชุมชนท้องถิ่นมีมติ ดังต่อไปนี้

๑. ให้คณะกรรมการสมัชชาปฏิรปู

เสนอคณะรัฐมนตรี เพื่อมีมติให้ความเห็น ชอบตามข้อเสนอของคณะกรรมการปฏิรปู ในเรื่องการสร้างความเป็นธรรมในระบบ

4/23/55 BE 3:51 PM


สร้างอิทธิพลไปยังเจ้าหน้าที่ หรือ ข้ า ราชการและขยายอาณาจั ก ร ความยิ่งใหญ่ได้ เช่นนักการเมือง ปัจจุบัน (บางคน) ทั้งนี้เพื่อเปิดโอกาสให้คน อืน่ ทีเ่ ขาจะขออาสาเข้ามาช่วยชาติ บ้านเมือง ซึ่งอาจจะทำาได้ดีกว่า นักการเมืองปัจจุบัน และอาจจะ ไม่มนี อก-มีในกับผลประโยชน์และ งบประมาณเลยก็ได้ ถึงมีกค็ งจะไม่ สามารถไปครอบงำาข้าราชการ หรือ เจ้าหน้าที่ หน่วยงานต่างๆได้เกิน 1 หรือ 2 สมัย ขณะเดี ย วกั น องค์ ก รปก ครองส่วนท้องถิ่นต่างๆ ก็ต้องหา ช่องทางส่งเสริมและสนับสนุนให้ ภาคประชาชนและองค์กรชุมชน ได้เรียนรูเ้ กีย่ วกับสิทธิ หน้าทีใ่ นการ ร่วมพัฒนาท้องถิน่ ทุกๆด้าน พร้อม กับติดตามตรวจสอบการทำางาน ของทุกหน่วยงานทุกระดับ เพื่อให้ เกิ ด การดำ า เนิ น การจริ ง กั บ พื้ น ที่ และท้องถิ่นของตนเอง เพราะถ้ า ประชาชนไม่ ม า เรียนรู้ ติดตามและตรวจสอบแบบ เข้มข้น นักการเมือง (หน้าเดิมๆ) และนักการเมืองผูกขาดหลายสมัย ก็จะได้ใจและฉวยโอกาสโพนทะนา ว่าตนเองมีผลงานสร้างความเจริญ ให้บ้านเมืองมาตั้งแต่สมัย ปู่ สมัย พ่ อ สมั ย พี่ และสมั ย ต่ อ ๆไปไม่ สิ้นสุด ••• งบประมาณเพื่ อ ลดความเหลื่ อ มลำ้ า ใน สังคม [1] โดยมอบหมายให้สาำ นักงานคณะ กรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ กระทรวงการคลัง และสำานักงบ ประมาณ รวมทัง้ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ร่วม กันดำาเนินการให้มีการออกระเบียบสำานัก นายกรัฐมนตรี รองรับการดำาเนินงานของ โครงการนำาร่องในเรือ่ งการพัฒนาระบบงบ ประมาณเพื่อลดความเหลื่อมลำ้าในสังคม และให้ถือเป็นกลไกการทำางานร่วมกันทั้ง ภาคประชาชน ภาคท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาครัฐ

๒. ให้คณะกรรมการสมัชชาปฏิรปู เสนอคณะรัฐมนตรี จัดตั้งองค์กรอิสระ ที่ มี ก ารบริ ห ารจั ด การร่ ว มกั น ของภาค ประชาชน ภาคท้องถิ่น ภาคเอกชน และ ภาครั ฐ เพื่ อ จั ด ทำ า ร่ า งกฎหมายปฏิ รู ป โครงสร้างอำานาจระหว่างส่วนกลาง ส่วน ภูมภิ าค และส่วนท้องถิน่ ตามข้อเสนอของ

������-������� 5.5.indd 5

5

พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 พฤษภาคม 2555

àÃ×èͧ¨Ò¡»¡

ดันแรงงานเ¾Ô่มอำานาจต่อรอง จี้คุ้มครองสÔท¸Ô ชีวÔต ครอบครัว สมัชชาปฏิรูปรุกจี้รัฐปรับโครง สร้างค่าจ้างให้ลูกจ้างมีรายได้เลี้ยงชีพ และครอบครัวอีก 2 คน เร่งให้สัตยาบัน “ไอแอลโอ” เปิดช่องให้แรงงานรวมตัว เจรจาต่อรอง จัดตั้งกองทุนพิทักษ์สิทธิ และคุ้มครองแรงงาน พร้อมตั้ง “บริษัท กำาลังคน” ส่งคนงานไปต่างประเทศ ครบวงจร แนะใช้เงินกองทุนประกัน สังคมตัง้ โรงพยาบาลผูป้ ระกันตนในย่าน อุตสาหกรรมหนาแน่น แม้ว่ารัฐบาลโดยนายเผดิมชัย สะสมทรัพย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง แรงงาน จะเดินหน้าปรับค่าจ้างขั้นตำ่า 300 บาท ตามนโยบาย โดยไม่ยอมผ่อน ปรนตามข้อเรียกร้องของภาคเอกชนที่ ขอเลือ่ นขึน้ ค่าแรง 300 บาททัว่ ประเทศ ออกไปอีก 2 ปี เป็นปี 2558 ก็ตาม แต่รศ.ดร.ณรงค์ เพชรประเสริฐ ประธานคณะทำางานปฏิรูประบบแรง งานและสวัสดิการฯสมัชชาปฏิรูป เห็น ว่ า ทุ ก วั น นี้ โ ครงสร้ า งค่ า แรงของไทย พิ ก ลพิ ก ารไปหมดแล้ ว รั ฐ บาลก็ แ ก้ ปัญหาความยากจนตามอาการ แค่ยา แดงทาแผล ไม่ได้แก้ปัญหาที่สาเหตุ ซึ่ง ไม่มรี ฐั บาลชุดไหนกล้าปฏิรปู โครงสร้าง อำานาจรัฐและอำานาจทุน “ที่สำาคัญการ คณะกรรมการปฏิรูป และให้องค์กรอิสระ ดั ง กล่ า วดำ า เนิ น กิ จ กรรมขั บ เคลื่ อ นและ รณรงค์แนวคิดการปฏิรปู สังคม อันนำาไปสู่ การคืนอำานาจให้ประชาชนมาเป็นกำาลัง หลักของประเทศ

๓. ให้คณะกรรมการสมัชชาปฏิรปู

เสนอให้คณะรัฐมนตรี มอบหมายให้คณะ กรรมการกระจายอำ า นาจให้ แ ก่ อ งค์ ก ร ปกครองส่วนท้องถิ่น ร่วมกับกรมส่งเสริม การปกครองท้ อ งถิ่ น สมาคมองค์ ก าร บริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด แห่ ง ประเทศไทย สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย สมาคมองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นตำ า บลแห่ ง ประเทศไทย สมาคมข้าราชการองค์การ บริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด แห่ ง ประเทศไทย สมาคมพนักงานเทศบาลแห่งประเทศไทย สมาคมข้าราชการส่วนตำาบลและเทศบาล สมาพันธ์ปลัดองค์การบริหารส่วนตำาบล แห่งประเทศไทย และสมาคมสมาชิกสภา

• รศ.ดร.ณรงค์ เพชรประเสริฐ

แก้ปัญหาต้องให้ประชาชนมีส่วนร่วม และตระหนักร่วมกัน โดยมีอำานาจต่อ รองด้วยไม่ใช่รัฐบาลเพียงฝ่ายเดียว” ส่ว นแนวทางการปฏิรูประบบ แรงงานนัน้ สำานักงานปฏิรปู และสมัชชา เพื่ อ การปฏิ รู ป ได้ มี ม ติ ใ ห้ มี ก ารเพิ่ ม อำานาจการต่อรองของแรงงานด้วยการ ให้ รั ฐ บาลมอบอำ า นาจให้ ผู้ แ ทนของ ประเทศไทยให้สัตยาบันตามอนุสัญญา องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ไอ แอลโอ) ฉบับที่ 87 ว่าด้วยเสรีภาพใน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผลักดันมติ สมัชชาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อ การปฏิรูป ให้บังเกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม ภายใน ๑ ปี นับตั้งแต่วันที่คณะรัฐมนตรี รั บ มติ ข องคณะกรรมการสมั ช ชาปฏิ รู ป โดยให้มีการตรากฎหมายที่มีสาระครอบ คลุมถึงกฎหมายการจัดตัง้ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น กฎหมายกำาหนดแผนและขั้น ตอนการกระจายอำ า นาจให้ แ ก่ อ งค์ ก ร ปกครองส่วนท้องถิ่น กฎหมายรายได้ท้อง ถิ่น และกฎหมายเกี่ยวกับข้าราชการส่วน ท้องถิน่ ดังทีร่ ฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๘๓ และ ๓๐๓ ได้บัญญัติไว้แล้ว

๔. ให้คณะกรรมการสมัชชาปฏิรปู เสนอผู้ที่รับผิดชอบในการยกร่างรัฐธรรม นูญ กำาหนดให้การปฏิรปู โครงสร้างอำานาจ สู่การปรับดุลอำานาจที่เหมาะสมระหว่าง รัฐบาล กับชุมชนท้องถิ่น เป็นหลักการ

การสมาคมและคุม้ ครองสิทธิในการรวม ตัวกันและอนุสัญญาฉบับที่ 98 ว่าด้วย การปฏิบตั ติ ามหลักการแห่งสิทธิในการ รวมตัวและการร่วมเจรจาต่อรองโดย เร็ว ขณะเดี ย วกั น ให้ รั ฐ บาลและ นายจ้างให้สิทธิเละเสรีภาพในการรวม ตัวของคนงานกลุ่มต่างๆ ทั้งเป็นการ รวมตัวในกลุ่มอุตสาหกรรม ระหว่าง กลุ่มอุตสาหกรรม ระหว่างแรงงานใน ประเภทเดียวกัน และต่างประเภทกัน ระหว่างคนที่เป็นลูกจ้าง และไม่เป็น ลูกจ้าง รวมทัง้ ลูกจ้างภาครัฐ โดยขอให้ กระทรวงแรงงานยกเลิกระเบียบเก่า และออกระเบียบใหม่ ในการเลือกตั้ง ของระบบไตรภาคี ให้ เ ป็ น ไปตาม ระบอบประชาธิปไตย คือ ให้แรงงาน ทุกคนออกเสียงได้ 1 คน 1 เสียง ตาม รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 มาตรา 84 (7) “ส่วนการปรับโครงสร้างค่าจ้าง รัฐบาล และนายจ้าง จะต้องมีนโยบาย ที่ชัดเจน เรื่องค่าจ่างที่เป็นธรรม โดยให้ มี โ ครงสร้ า งค่ า จ้ า งที่ ส อดคล้ อ ง กั บ ประสิทธิภาพ ผลิตภาพ ความเสีย่ ง และ ลั ก ษณะงานของลู ก จ้ า ง กระทรวง แรงงาน ควรนิยมแก้ไขนิยาม ค่าจ้างขัน้ ตำ่า ให้เป็นไปตามหลักการ ขององค์การ แรงงานระหว่างประเทศ สำาหรับลูกจ้าง ทีเ่ ริม่ ทำางานเป็นครัง้ แรก ให้มรี ายได้ พอ เพียงเลี้ยงชีพตนเอง และครอบครัวอีก 2 คน” ด้านการพัฒนาสมรรถนะความ รู้ ทักษะ และคุณลักษณะทีพ่ งึ่ ปรารถนา

สำาคัญในรัฐธรรมนูญ มติที่

เรื่อง การปฏิรูประบบเกษตร กรรม : เพื่อความเป็นธรรมและความ มั่นคงทางอาหารมีมติ ดังต่อไป นี้

๑. ให้รฐั บาล หน่วยงานของรัฐ

ทีเ่ กีย่ วข้ององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ องค์กรชุมชน เครือข่ายเกษตรกร และ องค์กรสาธารณประโยชน์ร่วมกันขับ เคลื่อนให้แนวทางเกษตรกรรมยั่งยืนที่ น้อมนำาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทางหลักในการพัฒนาระบบ เกษตรกรรมและอาหารของประเทศ โดยกำาหนดให้เป็นวาระแห่งชาติ และ ให้เกิดผลในทางปฏิบตั ภิ ายใน ๓ ปี เพือ่ การรั บ มื อ กั บ วิ ก ฤติ ค วามมั่ น คงทาง อาหารและพลังงาน คลีค่ ลายปัญหาหนี้

4/23/55 BE 3:51 PM


สรุป 6 มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้งที่สอง

6

พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 พฤษภาคม 2555

ผู้สูงอายุ 3.2 ล้าน ยังทำ�งานนอกระบบ

เพื่อเพิ่มผลผลิตภาพ นั้นให้กระทรวง ศึกษาธิการ บรรจุวิชาด้านแรงงานทุก มิ ติ ใ นหลั ก สู ต รระดั บ มั ธ ยมและอุ ด ม ศึ ก ษา และเร่ ง จั ด ตั้ ง องค์ ก ร รั บ รอง วิทยฐานะฝีมือแรงงานทุกประเภท ส่วนด้านการคุ้มครองแรงงาน ขอให้กระทรวงแรงงาน ร่วมกับนายจ้าง จัดตั้งกองทุนพิทักษ์สิทธิแรงงาน โดย มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก สองประการคื อ ประการแรก ให้นายจ้างและรัฐบาล สมทบเงิ น เข้ า กองทุ น เพื่ อ เป็ น หลั ก ประกันว่า เมือ่ มีการเลิกกิจการ ลูกจ้าง มี สิ ท ธิ ไ ด้ รั บ เงิ น ชดเชยจากกองทุ น ประการที่สอง ลูกจ้างมีสิทธิได้รับการ สนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการดำ�เนินคดี ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างได้ นอกจากนี้ ยังขอให้รฐั บาลสร้าง หลักประกันให้หญิง-ชายต้องมีสทิ ธิและ โอกาสเท่าเทียมกัน พร้อมให้กระทรวง แรงงานร่วมกับนายจ้างจัดตั้ง “บริษัท

กำ�ลังคน” เป็นบริษัทกลางที่ร่วมทุน ระหว่างรัฐและเอกชน โดยให้บริษัท จัดหางานเอกชนที่มีอยู่แล้วทั้งหมดถือ หุ้น เพื่อทำ�หน้าที่จัดฝึกกำ�ลังคน แสวง หาตลาดงานในต่างประเทศ ดูแลแรง งานในต่างประเทศ ติดต่อประสานงาน กับครอบครัวแรงงานในประเทศ ดูแล ค่ า ใช้ จ่ า ยในการเดิ น ทางและจั ด หา แหล่งเงินกูด้ อกเบีย้ ตํา่ โดยใช้สญ ั ญาจ้าง งานเป็นเอกสารคํา้ ประกัน ซึง่ ต้องทำ�กับ บริ ษั ท กลางเท่ า นั้ น เพื่ อ ป้ อ งกั น การ หลอกลวงแรงงาน “ขอให้ ก ระทรวงแรงงานและ สถาบันการศึกษา จัดตัง้ สถาบันส่งเสริม พัฒนานโยบายและองค์กรแรงงานเป็น หน่วยงานอิสระ ทำ�หน้าที่ด้านศึกษา วิจัยระบบและผลกระทบของนโยบาย สาธารณะด้านแรงงาน เสนอแนะเชิง นโยบายและยุทธศาสตร์ดา้ นแรงงานให้ สอดคล้องกับความเป็นประเทศ อุตสาห

กรรมยุ ค ใหม่ พร้ อ มเร่ ง รั ด ให้ มี ก าร คุ้มครองแรงงานทุกประเภทและการ ประกันสังคมทั่วหน้า รวมทั้งสิทธิอื่นๆ ทั้งแรงงานนอกระบบและแรงงานต่าง ด้าวให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น” ประธานคณะทำ � งานปฏิ รู ป ระบบแรงงานฯยังเน้นยํ้าด้วยว่าขอให้ กระทรวงแรงงานเร่งดำ�เนินการบังคับใช้ พรบ.ความปลอดภัยอาชีวอนามัยและ สภาพแวดล้อมในการทำ�งานพ.ศ. 2554 อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ประกั น ความ ปลอดภัยของแรงงานให้สอดคล้องกับ มาตรฐานสากล ส่วนแรงงานต่างด้าวก็ ให้มีความชัดเจนว่าจะให้เข้ามาทำ�งาน ได้เท่าไร ในสาขาอาชีพอะไรบ้าง โดย ต้องมีมาตรการที่เคร่งครัดและมีฐาน ข้อมูลที่ชัดเจน “ ข อ ใ ห้ ส ถ า บั น วิ จั ย ร ะ บ บ สาธารณสุขร่วมกับสำ�นักงานประกัน สั ง คมจั ด ให้ มี ก ารศึ ก ษาข้ อ ดี ข้ อ เสี ย และทางเลือกในการจัดตั้งโรงพยาบาล ของผู้ประกันตนในย่านอุตสาหกรรม หนาแน่น โดยจัดสรรเงินจากกองทุน ประกันสังคมมาดำ�เนินการ เพื่อดูแล ลูกจ้างอย่างทั่วถึงและผลกำ�ไรของโรง พยาบาลยังกลับคืนสู่กองทุน ประกัน สังคมอีกด้วย” ข้อเสนอ เชิงนโยบายข้างต้น เพือ่ ให้รฐั บาลและหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องร่วม กันเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ เกิดความ เป็ น ธรรมและลดความเหลื่ อ มลํ้ า ใน สังคม เพื่อให้แรงงานไทยมีเกียรติและ ศักดิศ์ รีเท่าเทียมกับชนชัน้ อืน่ ๆในสังคม

แหล่งข่าวจากสำ�นักงานสถิติ แห่งชาติเปิดเผยภาวะการทำ�งานของผู้ สูงอายุของไทย ปี 2554 พบว่า ผูส้ งู อายุ หรือผู้ที่มีอายุเกิน 60 ปีของประเทศ ไทย ที่มีอยู่ทั้งหมด 8.3 ล้านคน เป็นผู้ ที่ทำ�งานกว่า 3.2 ล้านคน ส่วนใหญ่ ทำ�งานในฐานะแรงงานนอกระบบถึง 2.9 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 90 ซึ่ ง หมายถึ ง เป็ น ผู้ ทำ � งานที่ ไ ม่ ไ ด้ รั บ สวัสดิการและความคุ้มครองจากการ ทำ�งานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขณะ ที่อีกส่วนหนึ่งเป็นแรงงานในระบบที่มี จำ�นวนเล็กน้อยเพียง 310,000 คน คิด เป็นร้อยละ 9.7 ทั้งนี้ ผู้สูงอายุที่เป็นแรงงานใน ระบบส่วนใหญ่ประกอบอาชีพขั้นพื้น ฐานต่างๆ คือ ด้านการขายร้อยละ 25.4 รองลงมาเป็นผู้ปฏิบัติงาน ด้านความ สามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าร้อย ละ 16.7 พนักงานบริการและพนักงาน ขายในร้านค้าร้อยละ 16.4 ผูป้ ฏิบตั งิ าน ที่มีฝีมือในด้านการเกษตรและประมง ร้อยละ 11.8 และผู้บัญญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับอาวุโส และผู้จัดการ ร้อยละ 10.6 ส่วนผู้สูงอายุที่เป็นแรงงานนอก ระบบ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ผูป้ ฏิบตั ิ งานที่ มี ฝี มื อ ในด้ า นการเกษตรและ ประมงร้ อ ยละ 67 รองลงมาเป็ น

สิน สร้างเสริมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ส่งเสริมสิ่งแวดล้อมและสุขภาพที่ดีของ ประชาชนในสังคมไทย โดย ๑.๑ ให้องค์กรเกษตรกรและ ภาคประชาชน โดยการสนับสนุนของ หน่ ว ยงานภาครั ฐ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เช่ น สมาชิกรัฐสภา กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ สำ � นั ก งานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ร่ ว มกั บ คณะกรรมการส่ ง เสริ ม และ พัฒนาระบบเกษตรกรรมยัง่ ยืน ทีต่ งั้ ขึน้ ตามระเบี ย บสำ � นั ก นายกรั ฐ มนตรี ว่ า ด้ ว ยการส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาระบบ เกษตรกรรมยั่งยืน พ.ศ. ๒๕๕๔ ดำ�เนิน การเร่งรัดให้มีการตราพระราช บัญญัติ พัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืน ให้แล้วเสร็จ ภายในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ โดยพระราช บัญญัติดังกล่าวให้มีการจัดตั้งกองทุน เกษตรกรรมยั่งยืน การประกันราคา ผลผลิตจากระบบเกษตรกรรมยั่งยืน มี

หลักประกันคุม้ ครองความเสีย่ งจากผลกระ ทบของภัยพิบัติต่างๆ ต่อเกษตรกร เช่น ความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงของสภาพ ภูมอิ ากาศ ทัง้ นีโ้ ดยมีคณะกรรมการบริหาร ที่มีสัดส่วนของเกษตรกรร้อยละ ๖๐ และ จากหน่วยงานอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ร้อยละ ๔๐ พร้ อ มทั้ ง ให้ จั ด ตั้ ง กองทุ น ระดั บ ตำ � บลที่ เกษตรกรบริหารจัดการเองเป็นหลัก ทั้งนี้ เพื่อขับเคลื่อนให้การพัฒนาเกษตรกรรม ยั่งยืนบรรลุเป้าหมายที่ได้วาง ไว้ ๑.๒ ให้ ก ระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ กระทรวงพาณิ ช ย์ กระทรวง มหาดไทย หน่ ว ยงานอื่ น ๆ ของรั ฐ ที่ เกี่ ย วข้ อ ง สำ � นั ก งานกองทุ น ฟื้ น ฟู แ ละ พัฒนาเกษตรกร องค์กรปกครองส่วนท้อง ถิ่น และสภาเกษตรกรแห่งชาติร่วมจัดทำ� แผนงบประมาณ สนับสนุนการพัฒนาและ ขยายผลเกษตรกรรมยั่งยืน โดยให้มีกลไก การทำ�งานทั้งในเมืองและชนบท ร่วมกับ จังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ

องค์กรชุมชน ซึ่งกลไกดังกล่าวมีสัดส่วน ของเกษตรกร ไม่นอ้ ยกว่า ๒ ใน ๓ เพือ่ การ พัฒนาและขยายผลให้บรรลุเป้าหมายวิถี เกษตรกรรมยั่งยืน การสร้างความมั่นคง ทางอาหาร และการพึ่ ง ตนเองดั ง ที่ ไ ด้ กำ�หนดไว้ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ ๑.๓ ให้องค์กรเกษตรกรร่วมกับ ชุมชนเป็นผู้ดำ�เนินการ และให้หน่วยงาน ภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นผู้ ให้การสนับสนุนจัดทำ�หลักสูตรการเรียน การสอนว่าด้วยเกษตรกรรมยั่งยืน ตาม ศักยภาพของพื้นที่ที่เน้นคุณค่าและมูลค่า และปฏิ รู ป กระบวนการเรี ย นรู้ จ ากการ ปฏิบัติจริงแบบมีส่วนร่วม โดยผ่านกลไก ต่างๆ เช่น ศูนย์ปราชญ์ชาวบ้าน ศูนย์ ถ่ า ยทอดเทคโนโลยี ก ารเกษตรประจำ � ตำ�บล ศูนย์เรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียงชุมชน กระบวนการโรงเรี ย นชาวนา นั ก วิ จั ย เกษตรกร อาสาสมัครเกษตร สภาเกษตรกร

และสถาบันวิจยั และพัฒนาการเกษตรท้อง ถิ่น เป็นต้น พร้อมปรับทิศทางการทำ�งาน ให้สนับสนุนและทำ�งานร่วมกับเกษตรกร และชุมชนมากขึน้ ทัง้ นีเ้ พือ่ สร้างนวัตกรรม ขยายผลเกษตรกรรมยัง่ ยืนอย่างกว้างขวาง และจัดการปฏิรูปที่ดินโดยคำ�นึงถึงสภาพ ของแต่ละพื้นที่ เพื่อรองรับผู้จบการศึกษา ทางการเกษตร ๑.๔ ให้รัฐบาล สภาเกษตรกร แห่ ง ชาติ ร่ ว มกั บ องค์ ก รเกษตรกร และ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนให้ เกิ ด การสร้ า งเกษตรกรรุ่ น ใหม่ แ ละคุ้ ม ครองอาชีพเกษตรกรรม โดยใช้นโยบาย และมาตรการสร้างแรงจูงใจ เช่น นโยบาย การเงิน การคลัง สนับสนุนทุนการศึกษา ที่ เ กี่ ย วกั บ เกษตรกรรมยั่ ง ยื น จนจบการ ศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาทั้ ง ในและต่ า ง ประเทศแก่บุตรหลานเกษตรกร โดยให้ เรียนฟรีแบบมีเงือ่ นไขเพือ่ มาทำ�งานในท้อง ถิ่นของตนเอง เช่น ส่งเสริมโครงการหนึ่ง

������-������� 5.5.indd 6

4/23/55 BE 3:51 PM


พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 พฤษภาคม 2555

พนักงานบริการและพนักงานขายใน ร้านค้าร้อยละ 19.9 และผู้ปฏิบัติงาน ด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจ การค้า ร้อยละ 6.8 นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาถึงค่า จ้ า งและเงิ น เดื อ นของผู้ สู ง อายุ ที่ เ ป็ น แรงงานในระบบพบว่า โดยภาพรวมมี ค่าจ้างเฉลี่ยต่อเดือนประมาณ 12,609 บาท ผู้สูงอายุที่อยู่ในภาคการค้าและ บริการได้รบั ค่าจ้างเฉลีย่ ต่อเดือนมากที่ สุดประมาณ 18,417 บาท รองลงมา ภาคการผลิต 7,381 บาท และภาค เกษตรกรรม 4,427 บาท ส่วนผู้สูงอายุ ที่เป็นแรงงานนอกระบบมีค่าจ้างเฉลี่ย 3,833 บาทเท่านั้น โดยในภาคการผลิต ได้ รั บ ค่ า จ้ า งเฉลี่ ย ต่ อ เดื อ นมากที่ สุ ด ประมาณ 4,754 บาท รองลงมาเป็น ภาคการค้ า และการบริก ารประมาณ บัณฑิตหนึ่งโครงการ เป็นต้น ยกเว้นภาษี เกษตรกรรุ่ น ใหม่ แ ละผู้ ป ระกอบอาชี พ เกษตรกรรมยั่งยืน ภายใน ๗ ปี รวมถึง สนับสนุนพืน้ ทีแ่ ละการปรับปรุงโครงสร้าง พื้นฐานการประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ยั่งยืน ๑.๕ ให้ ก ระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ กระทรวงศึกษาธิการ ยกย่องเชิดชู เกษตรกรรุ่ น ใหม่ ที่ ทำ � การเกษตรกรรม อย่างยั่งยืน และจัดทำ�ทะเบียนเกษตรกร รุน่ ใหม่ทกุ ปี โดยมอบใบประกาศเกียรติคณ ุ รางวัลเชิดชูเกียรติ และทุนการผลิต

๒. ปฏิรูปกฎหมายและนโย บาย โดยการมีส่วนร่วมของเกษตรกรและ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย เพื่ อ สร้ า งความเป็ น ธรรม สำ�หรับเกษตรกรและผูบ้ ริโภคในระบบการ ผลิ ต ทางการเกษตรและการกระจาย อาหาร ๒.๑ ให้รัฐบาล สมาชิกรัฐสภา

������-������� 5.5.indd 7

7

แบงก์ชาติ พบความเหลือ่ มลาํ้ ค่า จ้างคนไทย เผยสิ้นปี 2554 โดยเฉลี่ย ปริ ญ ญาเอกรั บ อื้ อ เดื อ นละ 80,000 บาท ขณะที่ ป ริ ญ ญาตรี เ ฉลี่ ย ค่ า จ้ า ง แรงงานอยู่ที่ 18,843 บาท แรงงานไร้ การศึกษาแค่ 4,789 บาทต่อเดือน ส่วน

มัธยมปลายสายอาชีวะรายได้ดี เงิน เดือนแซงระดับอนุปริญญา เมื่ อ เร็ ว ๆนี้ ฝ่ า ยเศรษฐกิ จ ใน ประเทศ ธนาคารแห่ ง ประเทศไทย (ธปท.) ได้รายงานตัวเลขค่าจ้างแรงงาน เฉลี่ยของแรงงานไทยเฉลี่ยสิ้นปี 2554 ที่ผ่านมา แยกตามการศึกษา และสาขา อาชีพ โดยแยกค่าจ้างแรงงานเฉลีย่ ของ แรงงานไทยตั้งแต่ไม่มีการศึกษา จนถึง ปริ ญ ญาตรี เ ฉลี่ ย ทุ ก สาขาอาชี พ ทั่ ว ประเทศ พบว่า ค่าจ้างแรงงานเฉลีย่ ของ แรงงานที่ไม่มีการศึกษา ณ สิ้นปี 2554 อยูท่ ี่ 4,789.17 ต่อเดือน ขณะทีแ่ รงงาน ที่มีการศึกษาตํ่ากว่าประถมศึกษา มีค่า จ้างแรงงานเฉลีย่ สูงขึน้ เป็น 5,734 บาท ต่อเดือน สำ�หรับแรงงานที่มีการศึกษา ระดับประถมศึกษา มีค่าจ้างเฉลี่ยราย เดือนอยู่ที่ 6,089.98 บาท ส่วนแรงงาน ที่มีการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอน ต้น พบว่า ได้ค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยอยู่ที่ 6,972.18 บาทต่อเดือน ด้านค่าจ้างแรงงานที่มีการศึกษา ระดับมัธยมปลายนั้น จะแยกเป็น 3 ประเภท โดยค่าจ้างแรงงานของผู้จบ มัธยมปลายสายอาชีวะจะมีค่าจ้างแรง งานเฉลี่ยต่อเดือนสูงที่สุดที่ 12,500.59 บาท ส่วนแรงงงานทีจ่ บมัธยมปลายสาย สามัญจะมีค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยตํ่าที่สุด 7,863.45 บาทต่อเดือน ขณะที่ค่าจ้าง แรงงานในสายวิชาการศึกษา ซึ่งหมาย ถึงด้านวิเคราะห์ วิจัย วางแผนพัฒนา เทคโนโลยี ใ นการศึ ก ษา จะมี ค่ า จ้ า ง แรงงานเฉลีย่ ต่อเดือนที่ 7,960.42 บาท

สำ�หรับแรงงานระดับอนุปริญญา มีค่าจ้างแรงงานเฉลี่ย รวมทุกประเภท อยู่ ที่ 11,209.59 บาทต่อเดือน โดยค่า จ้างแรงงานเฉลี่ยของผู้จบสายสามัญมี รายได้เฉลีย่ สูงอยูท่ ี่ 13,647.59 บาทต่อ เดือน สายอาชีวศึกษากลายเป็นสายที่ ได้ค่าจ้างเฉลี่ยตํ่าที่สุดที่ 11,054.49 บาทต่อเดือน ขณะที่สายวิชาการการ ศึกษามีค่าจ้างเฉลี่ยอยู่ที่ 11,443.89 บาทต่อเดือน เมือ่ สำ�รวจถึงค่าจ้างแรงงานระดับ ปริ ญ ญาตรี พบว่ า แรงงานในระดั บ ปริญญาตรีสนิ้ ปี 2554 มีคา่ จ้างเฉลีย่ อยู่ ที่ 18,210.34 บาท แยกเป็ น สาย วิชาการมีค่าจ้างเฉลี่ย 17,882.10 บาท ต่อเดือน สายวิชาชีพมีค่าจ้างเฉลี่ยต่อ เดือน 17,032.20 บาท โดยในระดับ ปริญญาตรีนั้น สายวิชาการการศึกษา ขึน้ มาเป็นสายทีม่ คี า่ จ้างแรงงานเฉลีย่ สูง ที่สุดที่ 22,796.45 บาทต่อเดือน อย่างไรก็ตาม เมื่อเปรียบเทียบค่า จ้างแรงงานเฉลีย่ ระหว่างผูท้ มี่ กี ารศึกษา ระดับปริญญาตรี กับสูงกว่าปริญญาตรี จะเห็นการเพิ่มขึ้นของค่าจ้างแรงงาน เฉลี่ยแบบก้าวกระโดด โดยจากค่าจ้าง แรงงานเฉลี่ยในปี 2554 ของแรงงาน ระดับปริญญาตรีที่ 18,843.53 บาทต่อ เดื อ น เมื่ อ ขึ้ น มาเป็ น แรงงานระดั บ ปริญญาโทจะมีค่าจ้างเฉลี่ยเพิ่มขึ้นเป็น 33,881.35 บาทต่อเดือน และหากเป็น แรงงานระดับปริญญาเอกค่าจ้างเฉลี่ย ต่อเดือนจะขึ้นไปที่ 80,288.83 บาท •••

และหน่ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งออกพระราช บัญญัติว่าด้วยการคุ้มครองเกษตรกรภาย ใต้ ร ะบบการเกษตรแบบพั น ธะสั ญ ญา ภายในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ โดยให้มีเนื้อหาเพื่อ มิ ใ ห้ เ กษตรกรต้ อ งกลายเป็ น ผู้ รั บ ภาระ ความเสี่ ย ง และการได้ รั บ ผลตอบแทน อย่างไม่เป็นธรรม โดยในระหว่างที่ยังไม่มี กฎหมายบังคับใช้ ให้หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ร่วมกับเครือข่ายเกษตรกรที่ได้รับผลกระ ทบ จัดทำ�และกำ�หนดค่ามาตรฐานกลาง ของปัจจัยการผลิต จัดตั้งระบบการไกล่ เกลีย่ และการระงับข้อพิพาทตามแนวสันติ วิธี กำ�หนดให้ขอ้ ตกลงทีเ่ กีย่ วข้องกับระบบ เกษตรพันธะสัญญาเป็นสัญญาที่มีแบบ มาตรฐาน รวมทั้งให้มีมาตรการเยียวยา และฟื้นฟูเกษตรกรผู้ได้รับผลกระทบจาก ระบบเกษตรพันธะสัญญา ๒.๒ ให้รัฐบาล สมาชิกรัฐสภา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่งผลักดัน ร่าง พ.ร.บ. การประกอบธุรกิจค้าปลีกค้าส่ง

พ.ศ. .... เพื่อกำ�กับและดูแลธุรกิจ ค้าปลีก ค้าส่งไม่ให้ส่งผลกระทบต่อความอยู่รอด และความเจริญก้าวหน้าของผู้ประกอบ การรายย่ อ ยในท้ อ งถิ่ น รวมทั้ ง แก้ ไข ปรับปรุง พ.ร.บ.การแข่งขันทางการค้า พ.ศ. ๒๕๔๒ ตามมติสมัชชาปฏิรูปเฉพาะ ประเด็นเรื่อง “การปฏิรูปนโยบาย และ กฎหมายเพือ่ ลดการผูกขาด และสนับสนุน การแข่งขันเศรษฐกิจไทย” เพือ่ ควบคุมการ แข่งขันทีไ่ ม่เป็นธรรม โดยมีคณะกรรมการ และการบริหารงานที่เป็นอิสระจากอิทธิ พลของผู้ประกอบการ ๒.๓ ให้กระทรวงพาณิชย์ หอ การค้าแห่งประเทศไทย องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องร่วม กันฟืน้ ฟูและส่งเสริมกลไกค้าปลีกรายย่อย เพื่อเป็นทางเลือกที่หลากหลายของระบบ อาหาร พัฒนาตลาดกลางใกรุงเทพมหา นคร ระดับจังหวัด และระดับท้องถิ่น ซึ่ง เป็นช่องทางการกระจายสินค้าเกษตรที่

สำ�คัญมายังผู้บริโภคในเมือง ยกระดับ และเพิ่ ม จำ � นวนตลาดชุ ม ชน ตลาด เกษตรอิ น ทรี ย์ ต ามโรงพยาบาลและ สถานที่ ร าชการ และตลาดผู้ ผ ลิ ต -ผู้ บริโภคในรูปของกลุ่มเกษตรกร โดยมี คณะกรรมการบริหาร รวมทั้งส่งเสริม ระบบการผลิตและการตลาดที่เป็นหุ้น ส่วนระหว่างเกษตรกรกับผู้ บริโภค เช่น รูปแบบ CSA (Community Supported Agriculture) หรือการร่วมทุน ทางการตลาดระหว่างกลุ่มผู้ผลิตร้อย ละ ๔๐ ผู้บริโภคร้อยละ ๔๐ และท้อง ถิ่นร้อยละ ๒๐ เป็นต้น ๒.๔ ให้รฐั บาลและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องรับรองและคุ้มครองสิทธิใน อาหาร สิทธิการผลิตตามจารีตประเพณี ของกลุ่มชาติพันธุ์และชนเผ่าพื้นเมือง และสิ ท ธิ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เช่ น สิ ท ธิ ข อง เกษตรและชุมชนในทรัพยากรชีวภาพ และภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ตามทีบ่ ญ ั ญัติ อยู่

3,898 บาท ขณะที่ ผู้ สู ง อายุ ที่ อ ยู่ ใ น แรงงานนอกระบบ ภาคเกษตรกรรมได้ รั บ ค่ า จ้ า งเฉลี่ ย ต่ อ เดื อ นอยู่ ที่ สุ ด ประมาณ 3,464 บาท

ความเหลื่อมล้ำ� ค่าจ้างคนไทย ป.ตรี หมื่นแปด ดร.แปดหมื่น

4/23/55 BE 3:51 PM


8

พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ÃÒ§ҹ¾ÔàÈÉ

• กองบรร³า¸ิการ •

สรุป 6 มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้งที่สอง

ากเหตุก ารณ์คาร์บ อมบ์ที่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลาและ จ.ยะลา ในช่ ว งต้ น เดื อ น เมษายน 2555 ทีผ่ า่ นมา ก่อ ให้ เ กิ ด ความเสี ย หายต่ อ ชี วิ ต และ ทรัพย์สิน ปัญหาความไม่สงบในพื้นที่ ชายแดนภาคใต้ที่คนร้ายก่อเหตุรุนแรง หลายพืน้ ที่ ได้นาำ มาซึง่ เสียงเรียกร้องให้ ภาครัฐรีบเร่งแก้ไขปัญหา โดยเฉพาะ การสร้างความ มั่นใจกับประชาชนใน เรื่องสวัสดิภาพความปลอด ภัย ขณะทีห่ น่วยงานทีม่ หี น้าทีร่ บั ผิด ชอบ เริ่ ม มี ค วามเห็ น แตกต่ า งกั น ใน ประเด็นการเจรจากับกลุม่ ผูก้ อ่ ความไม่ สงบ ฝ่ายเห็นด้วยยังคง มัน่ ใจว่า เป็นวิธี ที่ ป ระนี ป ระนอม นำ า ไปสู่ ป ลายทาง สันติภาพ ขณะที่ฝ่ายไม่เห็นด้วยก็มอง ว่าจุดอ่อนของการเจรจาคือ หากพูดคุย ไม่ ค รบทุ กกลุ่ ม จะทำ า ให้ ก ลุ่ ม ที่ ไ ม่ ไ ด้ เจรจาด้ ว ยอยากจะแสดงศั ก ยภาพ ประกาศตัวตน ก่อวินาศกรรมขึ้นมา เป็นเหตุให้ผู้คนที่บริสุทธิ์ต้องบาดเจ็บ ล้มตายกันไม่รู้จบ แล้ววิธกี ารไหนจะเปนทางออก ที่เหมาะสม นักวิชาการที่คลุกคลีกับ ปัญหาได้แสดงความเห็นและวิเคราะห์ ถึงปัญหาทีเ่ กิดขึน้ แนวโน้มความรุนแรง ที่ ข ยายตั ว เข้ า มาสู่ ใ นเมื อ งเขตชุ ม ชน ตลอดจนแนวทางแก้ ไขปั ญ หา โดย เฉพาะแนวทางการนำ า เขตปกครอง ในรั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั ก ร ไทย เป็นต้น ๒.๕ ให้รัฐบาลและหน่วย งานที่เกี่ยวข้อง โดยการมีส่วนร่วม ขององค์ ก รเกษตรกรผลั ก ดั น ให้ มี พ.ร.บ. ทีส่ ง่ เสริมและสนับสนุนระบบ เกษตรกรรมยั่ ง ยื น เช่ น พ.ร.บ. คุ้มครองพันธุ์พืชพื้นเมืองเฉพาะถิ่น พ.ร.บ.คุ้ ม ครองพั น ธุ์ สั ต ว์ พื้ น เมื อ ง พ.ร.บ.คุ้ ม ครองพื้ น ที่ เ กษตรกรรม พ.ร.บ. ควบคุมการใช้สารเคมีการ เกษตรที่เป็นอันตราย พ.ร.บ. คุ้ม ครองประมงพื้นบ้าน รวมทั้งยกเลิก และแก้ไข พ.ร.บ.ที่มีผลกระทบต่อ แนวทางการพัฒนาและการขยายผล เกษตรกรรมยั่งยืน สิทธิชุมชน การ เข้ า ถึ ง การอนุ รั ก ษ์ แ ละการใช้ ป ระ โยชน์ทรัพยากรชีวภาพ เช่น พ.ร.บ. คุ้มครองพันธุ์พืช พ.ร.บ.ปุย เป็นต้น โดยสนับสนุนให้มีกลไกการทำางาน

������-������� 5.5.indd 8

ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 พฤษภาคม 2555

·Òงออ¡ส¶Òน¡Òó

‘ไ¿ãต้ ’ ¡ÒÃà¨Ã¨Ò áกŒä¢äดŒดŒÇย

เ·่านัéน

พิเศษมาใช้จะได้ผลมากน้อยเพียงใด อาจารย์จรัญ มะลูลมี จากคณะ รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มองว่าปัญหาภาคใต้โดยภาพรวมยังไม่มี อะไรเปลี่ยนแปลง ไม่ว่าใครจะเข้ามา เป็นรัฐบาลก็ตาม รัฐบาลนีม้ นี โยบายเชิง รุกเกีย่ วกับภาคใต้ทเี่ สนอโดยสภาความ มั่นคงแห่งชาติ (สมช.) หลายนโยบาย อาทิ การอำานวยความยุตธิ รรม และการ เข้าถึงประชาชน นโยบายลักษณะดัง กล่าวส่งผลกระทบกับกลุ่มที่ใช้ความ รุ น แรงมากพอสมควร เพราะกลั ว มวลชนจะเห็นใจรัฐ ซึ่งนโยบายต่างๆ หากนำ า ไปปฏิ บั ติ ไ ด้ จ ริ ง น่ า จะช่ ว ยให้

เหตุการณ์ดีขึ้น ส่งผลให้เกิดการตอบโต้ จากกลุ่มที่ไม่ต้องการให้เกิดความสงบ ในพื้นที่ อย่ า งไรก็ ต ามความรุ น แรงใน พืน้ ทีจ่ งั หวัดชายแดนภาคใต้อาจรุนแรง ขึ้นหรือมีการสลับความรุนแรงบ้าง ไม่ ต่างจากอดีตที่ความรุนแรงมีอยู่ในตัว ของมันเองแต่ยังไม่ถึงขั้นพลีชีพ ดังนั้น รั ฐ ต้ อ งคำ า นึ ง ถึ ง เรื่ อ งการเจรจาเป็ น สำาคัญ เพราะผมเชื่อว่าเป็นหนทางที่ดี ที่สุด แม้ว่าจะมีประชาชนบางส่วนไม่ เห็ น ด้ ว ยกั บ การเจรจาเพราะรู้ สึ ก ไม่ พอใจกลุ่ ม ที่ ก่ อ ความไม่ ส งบก็ ต าม เพราะหลายประเทศที่ เ คยขั ด แย้ ง

เชิงพื้นที่ทั้งระดับจังหวัดและตำาบล ๒.๖ ให้ ค ณะรั ฐ มนตรี มี ม ติ ใ ห้ หน่วยงานดำาเนินการ ดังนี้ ๒.๖.๑ ให้กระทรวงพาณิชย์จดั หา ตลาดสินค้าจากระบบเกษตรกรรมยั่งยืน ทั้งในและต่างประเทศ และสนับสนุนส่ง เสริมอุตสาหกรรมชุมชนเพื่อแปรรูปผล ผลิตทางการเกษตร เช่น โรงงานเอธานอล ชุมชน เป็นต้น ๒.๖.๒ ให้ ก ระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ สภาเกษตรกรแห่งชาติ และหน่วย งานที่เกี่ยวข้องสนับสนุนการเตรียมความ พร้อมของเกษตรกรรายย่อย การยกระดับ วิสาหกิจชุมชนการเกษตรในทุกด้าน และ การเยียวยาและชดเชยความเสียหายทีเ่ กิด ขึ้น จากการเปิดเสรีการค้าและการลงทุน เช่น การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เป็นต้น

การสนับสนุนของ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ รัฐและเอกชน เช่น กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ กระทรวงอุตสาหกรรม องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรชุมชน ร่วมกันดำาเนินการ ดังนี้ ๓.๑ สร้ า งระบบและกลไก สนับสนุนให้ผู้บริโภคเลือกซื้อผลผลิตจาก ระบบเกษตรกรรมที่ยั่งยืน ผลิตภัณฑ์จาก ตลาดเกษตรกร ตลาดท้องถิ่น และมีส่วน ร่วมในการรณรงค์เพื่อไม่เลือกซื้ออาหาร และผลิตภัณฑ์ทมี่ าจากกลุม่ ธุรกิจทีเ่ อารัด เอาเปรียบเกษตรกร โดยเฉพาะแรงงาน เด็กสตรี คนพิการ และผู้สูงอายุ ตามหลัก การค้ า ที่ ยุ ติ ธ รรม (Fair trade) เพื่ อ สนับสนุนการผลิตที่เป็นมิตรกับท้องถิ่น สิ่งแวดล้อม และสุขภาวะของคนในสังคม ไทย ๓.๒ สนั บ สนุ น และส่ ง เสริ ม เกษตรกรและผู้ผลิตให้ได้รับการรับรอง

๓. ให้องค์กรคุม้ ครองผูบ้ ริโภคโดย

เหตุการณ์สงบลงได้เนื่องจากเคยผ่าน กระบวนการเจรจามาแล้ว หากใช้ความ รุนแรงจะเกิดการตอบโต้กนั มากกว่า ทัง้ ยังเป็นการสร้างความสะใจของแต่ละ ฝ่าย จนในที่สุดเหตุการณ์ก็จะไม่ยุติลง “วิธกี ารนัน้ ต้องไม่ไปคุยเฉพาะ ตัวผู้ก่อการร้ายเท่านั้น แต่จะต้องคุย กับผู้นําของแต่ละกลุ่มด้วย ซึ่งเชื่อว่า เป น เรื่ อ งที่ ทํ า ได้ โ ดยผ่ า นองค์ ก รที่ มี ความน่ า เชื่ อ ถื อ เช่ น องค์ ก ารการ ประชุ ม อิ ส ลาม (โอไอซี ) หรื อ แม้ กระทัง่ นักการเมืองในท้องถิน่ เองก็เปน ตัวกลางได้เช่นกัน เพียงแต่รฐั บาลต้อง มีการวางแผนการเจรจาที่ดี” ส่วนระดับพืน้ ทีน่ นั้ เจ้าหน้าทีค่ ง ได้มีการพูดคุยกันอยู่บ่อยๆ แล้ว ชาว บ้านเองก็ไม่เห็นด้วยกับความรุนแรงอยู่ แล้ว ต้องการเห็นความสงบสุขในพื้นที่ มากกว่า ขณะที่ นายอิสมาแอ อาลี ผู้ อำานวยการวิทยาลัยอิสลามศึกษา มหา วิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ มองว่ า รู ป แบบการแก้ไขสถานการณ์ไฟใต้จะต้อง มีการเจรจาพูดคุยกับคนที่อยู่เบื้องหลัง ขณะที่การหาหลักการแก้ไขปัญหานั้น จะต้องมาว่ากันอีกทีหลังจากเสร็จขั้น ตอนนี้ ก่อนอื่นเราต้องพูดคุยกับคนทุก กลุ่ม ทุกฝ่าย ที่อยู่ในพื้นที่ พร้อมที่จะ แสดงตนอย่างเปิดเผย เพื่อให้ได้ข้อมูล ความเห็นและข้อวิพากษ์วิจารณ์ต่างๆ จากนั้นจึงมาหาทางออกร่วมกันอีกครั้ง การที่รัฐบาลจะต้องเข้าไปหาทาง เจรจาหารือ ไม่ใช่เรือ่ งเสียหายอะไรเลย ถ้าสิง่ นัน้ เป็นหนทางทีน่ าำ มาซึง่ สันติภาพ ผลผลิตเกษตร อินทรียต์ ามมาตรฐานสากล และการสร้างมาตรฐานท้องถิ่นที่ชุมชนมี ส่วนร่วมในการกำาหนด

๔. ให้คณะรัฐมนตรีสนับสนุนให้

มี ก ารออกกฎหมายจั ด ตั้ ง และ/หรื อ สนับสนุนการดำาเนินงานของกลไกวิชาการ ที่ เ ป็ น หน่ ว ยงานอิ ส ระโดยอาจเรี ย กว่ า สถาบั น วิ จั ย ระบบเกษตรกรรมยั่ ง ยื น เ พื่ อ ทำ า ก า ร วิ จั ย แ ล ะ พั ฒ น า ร ะ บ บ เกษตรกรรมยั่ ง ยื น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ให้ ไ ด้ องค์ ค วามรู้ ที่ จ ะใช้ ใ นการพั ฒ นาระบบ เกษตรกรรมอย่างยั่งยืนต่อไป ทั้งนี้ให้มี การสนับสนุนสถาบันการศึกษา และชุมชน ท้ อ งถิ่ น ในการพั ฒ นาและอนุ รั ก ษ์ ภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ด้ า นระบบเกษตรกรรม ยั่งยืนด้วย โดยจัดให้มีทุน/กองทุนที่เพียง พอต่อการดำาเนิน งาน เช่น ภาษีจากระบบ เกษตรกรรมที่ไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เป็นต้น

4/23/55 BE 3:51 PM


อย่างแท้จริง กรณีที่มีผู้ไม่เห็นด้วยกับ การเจรจานั้น ฝ่ายรัฐบาลก็มีหลายฝ่าย อีกฝังก็มีหลายฝ่าย แต่สำาคัญคือรัฐบาล และราชการต้องมีเอกภาพ หาข้อตกลง ร่วมกันให้ได้ก่อนว่าจะมีการเจรจาหรือ ไม่ หากไม่มีอาจทำาให้การดำาเนินการ ของรัฐบาลเป็นอุปสรรค เพราะหาแนว ร่วมยากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นทหาร ตำารวจ หรือประชาชนในพื้นที่ ขณะที่อีกฝ่ายก็ อาจหาเหตุสร้างสถานการณ์ทไี่ ม่คาดคิด ขึ้นมาอีกก็ได้ รัฐบาลจึงต้องดำาเนินการอะไร สักอย่างเพื่อให้ปัญหาลดลง ซึ่งผมก็ไม่ ได้สนใจวิธีการอะไรเป็นพิเศษ แต่สนใจ ที่ เ ป้ า หมายของความสั น ติ ม ากกว่ า เพราะเป็นหน้าที่ของรัฐบาลที่จะต้อง สร้างความมั่นใจให้กับประชาชน ลบ ล้างความหวาดผวาให้หายไป อย่างไรก็ตามรัฐบาลต้องเปิดใจ ให้ ก ว้ า งสำ า หรั บ การเจรจาหรื อ รั บ ฟั ง

ม ติ ที่

เรื่อง การปฏิรูประบบการเมือง : พัฒนาความความเข้มแข็งของพลเมืองเพือ่ ปฏิรูปประเทศไทยมีมติ ดังต่อไปนี้

๑. การเพิ่มอำานาจและบทบาท หน้ า ที่ ใ ห้ ป ระชาชน โดยการถ่ า ยโอน อำ า นาจของราชการส่ ว นกลางและส่ ว น ภูมิภาคให้แก่ชุมชนท้องถิ่น อันประกอบ ด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาค ประชาชนให้สามารถบริหารจัดการ พื้นที่ ของตนเองได้ ควบคู่ไปกับการเสริมสร้าง ความเข้มแข็งให้แก่ภาคประชาชน โดยมี การดำาเนินงาน ดังนี้ ๑.๑ ถ่ายโอนอำานาจการบริหาร จัดการจากส่วนกลางและส่วนภูมภิ าคไปสู่ ท้องถิน่ ให้สามารถบริหารจัดการตนเองได้ โดยให้รัฐบาลมอบหมายคณะกรรมการ

������-������� 5.5.indd 9

9

พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 พฤษภาคม 2555

ความคิดเห็นของทุกฝ่ายก่อน เพราะ บางฝ่ายบางกลุ่มที่ออกมาเจรจาหรือ วิพากษ์วจิ ารณ์นนั้ เขาได้ระดมความคิด กันมาก่อนหน้านี้แล้ว รวมถึงพยายาม อย่ามองข้ามหรือขัดแย้งกีดกันความคิด เห็นของคนในพื้นที่ เอ็นจีโอ หรือนัก วิชาการด้วย “การเจรจาหรื อ ไม่ เจรจานั้ น เป็นเพียงรูปแบบการดำาเนินการเบื้อง ต้น ยังไม่ใช่หลักการที่แท้จริง จึงยังไม่ สามารถตอบโจทย์ได้วา่ จะประสบความ สำาเร็จหรือไม่ หากรัฐบาลดำาเนินการ ผ่านขัน้ ตอนนีไ้ ปแล้ว ขัน้ ตอนอืน่ ๆ ก็จะ ตามมาตามลำ า ดั บ ขอเพี ย งอย่ า เพิ่ ง คัดค้านหรือไม่ยอมรับความเห็นของ กลุ่ ม ใดเท่ า นั้ น เพราะปั จ จุ บั น สถาน การณ์ไฟใต้แม้จะมีจำานวนน้อยลงก็จริง แต่กลับเพิ่มความรุนแรงมากขึ้น และ ไม่มีวี่แววที่จะยุติลงได้” ส่วนกรณีการสร้างสถานการณ์ ความไม่สงบเป็นฝีมอื ของคนบางกลุม่ ที่ ต้องการแสดงศักยภาพหรือไม่นั้นใน ส่วนนีค้ นทีร่ รู้ ายละเอียดดีทสี่ ดุ คือคนใน พื้ น ที่ ฉ ะนั้ น รั ฐ บาลต้ อ งเปิ ด ใจรั บ ฟั ง ปัญหาของทุกกลุม่ แล้วจึงมาหาข้อสรุป ก่อนทีจ่ ะแก้ปญ ั หา เพือ่ ความเสมอภาค และเป็นธรรมกับทุกฝ่าย อย่าลืมว่าวันที่ 28 เมษายนนี้ เป็นวันทีร่ ะลึกถึงเหตุการณ์ “กรือเซะ” และในเดือนพฤษภาคมที่จะถึงนี้จะมี การประชุมองค์การมุสลิมโลก หรือโอไอ ซี ดังนัน้ เราต้องระมัดระวังอย่างมาก ใน สถานการณ์ทเี่ ขาต้องสร้างเพือ่ ระลึกถึง วันที่สำาคัญเหล่านี้ ••• กระจายอำานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น และกระทรวงมหาดไทยร่วมเป็น แกนประสานกั บ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ผูท้ รงคุณวุฒิ ภาคีเครือข่ายองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น เครือข่ายองค์กรชุมชนและ ภาคประชาสังคม ดำาเนินการ ดังนี้ ๑.๑.๑ ปรั บ ปรุ ง กฎหมายและ ระเบียบที่เกี่ยวข้องให้ระบุถึงเนื้อหาเกี่ยว กับการกระจายอำานาจไปสู่ชุมชนท้องถิ่น สิทธิชมุ ชน อำานาจของประชาชน และสิทธิ การมีส่วนร่วมให้เกิดการปฏิบัติได้อย่าง แท้จริง ทั้งในเรื่องของภารกิจ รายได้และ บุคลากร ๑.๑.๒ ปรั บ ปรุ ง กฎหมายและ ระเบียบต่างๆ ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับสิทธิการ มีสว่ นร่วมในการบริหารกิจการขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้เป็นไปตาม เจตนารมณ์ ข องรั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราช อาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ซึ่งได้ วางหลักการไว้ในหลายมาตรา โดยให้ความ

สมาคมรั ฐ ศาสตร์ แ ละรั ฐ ประศาสนศาสตร์ภาคใต้ ได้สรุป ประเด็นทางนโยบาย “ทางเลือก กลางไฟใต้ : เราจะอยู่ ร่ ว มกั น อย่างไร?” เสนอต่อสมัชชาปฏิรูป ระดับชาติค รั้งที่ 2 เมื่อต้น เดื อ น เมษายน 2555 เพื่อเป็นทางเลือก เพื่อประกอบการตัดสินใจในการ ร่วมกันกำาหนดหน้าตาของ “บ้าน” ที่ ทุ ก คนจะอยู่ ด้ ว ยกั น ในอนาคต ดังนี้ ทางเลือกที่ 1. คือ “ศอ. บต.” สิง่ ทีเ่ ป็นอยูใ่ นปัจจุบนั คือศูนย์ อำานวยการบริหารจังหวัดชายแดน ภาคใต้หรือ ศอ.บต. ภายใต้ความรับ ผิดชอบของเลขาธิการที่มาจากการ แต่ ง ตั้ ง มี ผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด ที่ ม า จากการแต่งตั้งดูแลในรายจังหวัด และมีอบจ.เทศบาลและอบต.เป็น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทางเลือกที ่ 2. คือ “ทบวง” ซึ่ ง มี ส ถานะเที ย บเท่ า กระทรวง จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ภายใต้ ความรับผิดชอบของรัฐมนตรี โดยมี ผู้ว่าราชการจังหวัด แต่ละจังหวัด ที่มาจากการแต่งตั้งทำาหน้าที่เป็น รองปลัดทบวง และมี อบจ. เทศบาล

และอบต.เป็นองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ทางเลือกที่ 3. คือ “สาม นครสองชั้น” ภายใต้ความรับผิด ชอบของผู้ว่าราชการจังหวัดที่มา จากการเลือกตัง้ โดยตรงของประชา ชนเป็นรายจังหวัด โดยคงเทศบาล และอบต.ไว้ตามเดิม ทางเลือกที ่ 4. คือ“สามนคร หนึ่งชั้น” ภายใต้ความรับผิดชอบ ของผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด ที่ ม าจาก การเลือกตั้งโดยตรงของ ประชาชน เป็นรายจังหวัด โดยยกเลิก อบจ. เทศบาลและอบต. ทางเลือกที ่ 5. คือ “มหานคร สองชั้น” ภายใต้ความรับผิดชอบ ของผู้ว่าราชการหนึ่งคนที่มาจาก การเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน โดยรวมพื้นที่จังหวัดชายแดนภาค ใต้เข้าเป็นหนึ่งหน่วยการปกครอง ท้องถิ่นขนาดใหญ่ และคงเทศบาล และอบต.ไว้ตามเดิม เป็นองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดย่อย ทางเลือกที ่ 6. คือ “มหานคร หนึ่งชั้น”ภายใต้ความรับผิดชอบ ของผู้ว่าราชการหนึ่งคนที่มาจาก การเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน โดยรวมพื้นที่จังหวัดชายแดนภาค ใต้ เข้ า ด้ ว ยกั น เป็ น หนึ่ ง หน่ ว ยการ ปกครองท้ อ งถิ่ น ขนาดใหญ่ แ ละ ยกเลิก อบจ. เทศบาล และอบต. จากที่มีอยู่เดิม •••

สำาคัญกับประเด็นต่อไปนี้ ๑.๑.๒.๑ ให้ อ งค์ ก รปกครอง ส่วนท้องถิน่ ทุกแห่ง มีชอ่ งทางและกลไกใน การให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการ บริหารกิจการของท้องถิน่ เช่น การบริหาร งบประมาณ การจัดการทรัพยากร การจัด ทำาบริการสาธารณะ การจัดทำาแผนพัฒนา ท้องถิน่ เป็นต้น โดยเปิดพืน้ ทีใ่ ห้ประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมได้อย่างหลากหลาย มี ข้อมูลทีถ่ กู ต้องครบถ้วนทีร่ บั รูร้ ว่ มกันอย่าง เปิดเผย มีกระบวนการการมีส่วนร่วมใน การกำาหนดแผนงานหรือโครงการพัฒนา ต่างๆ ในพื้นที่ของตนเอง รวมถึงการร่วม กำ า กั บ ตรวจสอบและประเมิ น ผลการ ดำาเนินงาน ๑.๑.๒.๒ กำ า หนดให้ อ งค์ ก ร ปกครองส่วนท้องถิน่ ร่วมกับภาคีเครือข่าย ดำ า เนิ น การเสริ ม สร้ า งพลั ง อำ า นาจให้ แ ก่ ประชาชน ในอันทีจ่ ะตระหนักถึงความเป็น พลเมือง และให้มคี วามรูส้ กึ เป็นเจ้าของใน

การบริหารจัดการท้องถิ่น ๑.๒ ให้ สำ า นั ก งานคณะ กรรมการพัฒนาระบบราชการ กรม การปกครอง กรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่น สภาพัฒนาการเมือง สถาบัน พระปกเกล้า และภาคประชาชน ร่วม เป็นแกนประสานกับสถาบันวิชาการ และภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้องในการพัฒนา กลไก เช่น ให้มีการจัดตั้งองค์กรภาค ประชาชนที่มีอำานาจตามกฎหมายใน การตรวจสอบการทำางาน ขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นต้น รวมถึง พัฒนาเครื่องมือสำาหรับการติดตาม และประเมินผลการดำาเนินงานของ หน่วยงาน ภาครัฐและท้องถิน่ โดยเป็น เครื่องมือที่หน่วยงานและชุมชนท้อง ถิ่นสามารถนำาไปใช้วัดผลด้วยตัวเอง ได้ ตลอดจนกำ า หนดแนวทางการ ประเมินบนพืน้ ฐานการมีสว่ นร่วมของ ประชาชนในพื้นที่ และมีกระบวนการ

àÊ¹Í 6 ·Ò§àÅ×Í¡

¡ÅÒ§ä¿ãµŒ

4/23/55 BE 3:51 PM


10

พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 พฤษภาคม 2555

กรมป่าไม้�ปกป‡อง�8�พื้นที่ลุ่มน้ำ�

ก ร ม ป่ า ไ ม้ เ ต รี ย ม จัดการทรัพยากรป่าไม้แบบ บูรณาการใน 8 พื้นที่ ลุ่มนํ้า หลัก ปง วัง ยม น่าน ป่าสัก สะแกกรัง เจ้าพระยา และท่า จีน จากปญหาการบุกรุกป่า การใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างไม่ เหมาะสม ทําให้ป่าต้นนํ้าถูก บุกรุกทําลายอย่างรุนแรง นายสุ วิ ท ย์ รั ต นมณี อธิ บ ดี ก รมป่ า ไม้ เปิ ด เผยว่ า พื้นที่ป่าไม้ที่ต้องเร่งฟื้นฟูได้แก่ ลุ่มนำ้าปิง วัง ยม น่าน ป่าสัก สะแกกรัง เจ้าพระยา และท่า จีน ซึ่งเป็นพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม รวม 8.46 ล้านไร่ ประกอบด้วย พื้ น ที่ ที่ ส ามารถฟื้ น ตั ว ได้ เ อง ตามธรรมชาติ ขนาดน้อยกว่า 100 ไร่ พื้นที่ที่ต้องดูแลรักษา โดยมี ส่ ว นร่ ว มตามแนวพระ ราชดำาริ 2.69 ล้านไร่ ในส่วนที่ เป็นป่าเสื่อมโทรมขนาด 100 ไร่ขึ้นไป ไม่สามารถฟื้นตัวได้ เองตามธรรมชาติ ต้องมีการ ปลูกฟื้นฟู 5.77 ล้านไร่ “พื้นที่ป่าอนุรักษ์ 1.80 ล้านไร่ มีการดำาเนินงาน 2 รูป แบบคื อ ปลู ก ฟื้ น ฟู ป่ า และ ระบบนิ เ วศ 1.33 ล้ า นไร่ รณรงค์ส่งเสริมราษฎร เอกชน หน่วยงานราชการอื่นๆ ปลูก

ต้นไม้ 0.47 ล้านไร่ พื้นที่ป่า สงวนแห่งชาติ 3.97 ล้านไร่ มี วิธกี าร 3 รูปแบบคือ ปลูกฟืน้ ฟู ระบบนิเวศโดยชุมชนท้องถิ่น 0.48 ล้านไร่ ส่งเสริมปลูกป่า ชุมชน 0.12 ล้านไร่ ส่งเสริม ราษฎร เอกชน หน่วยงานราช การอื่นๆ ปลูกต้นไม้ 3.37 ล้าน ไร่” ส่ ว นการนำ า แนวพระ ราชดำาริไปสูก่ ารปฏิบตั จิ ะคำานึง ถึงหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน ใน 3 ส่วนสำาคัญ คือ สังคม เศรษฐกิจ และนิเวศธรรมชาติ ที่สัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกัน สำ า หรั บ การดำ า เนิ น โครงการจัดการทรัพยากรป่า ไม้ ใ นพื้ น ที่ ลุ่ ม น้ำ า แบบบู ร ณา การในลุ่ ม นำ้ า หลั ก ประกอบ ด้วย 1. กิจกรรมเตรียมความ

สรุป 6 มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้งที่สอง

เปิดเผยผลการประเมินสู่สาธารณะ เพื่อการรับรู้อย่างกว้างขวาง

๒. การพัฒนาความเข้มแข็ง ของพลเมือง ๒.๑ ให้ มี ก ารดำ า เนิ น การ แก้ ไขปรั บ ปรุ ง พระราชบั ญ ญั ติ ส ภา พัฒนาการเมือง พ.ศ ๒๕๕๑ เพื่อให้ สภาพัฒนาการเมืองเป็นกลไกที่เป็น อิสระ มีความเป็นกลาง และให้ทกุ ฝ่าย มีส่วนร่วม โดยมีบทบาทหน้าที่สำาคัญ ในการเสริมสร้างวัฒนธรรมอันดีงาม ทางการเมืองในวิถีประชาธิปไตย ส่ง เสริมสนับสนุนให้ประชาชนเกิดความ รู้ความเข้าใจในการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข การพัฒนาความเป็น พลเมืองทีต่ ระหนักรูถ้ งึ หน้าทีแ่ ละสิทธิ ชุมชน มีสาำ นึกรับผิดชอบต่อสังคมส่วน รวม เห็นความสำาคัญในการมีสว่ นร่วม

������-������� 5.5.indd 10

พร้ อ มของชุ ม ชนโดยจั ด ฝึ ก อบรมชาวบ้านและเจ้าหน้าที่ อปท.และเยาวชน 176 รุ่น ให้ เข้ า ใจในเรื่ อ งการอนุ รั ก ษ์ ป่ า และช่ ว ยลดการบุ ก รุ ก ทำ า ลายป่า 2. ส่งเสริมและบริหาร จัดการป่าชุมชน การปลูกป่า ชุมชนในพื้นที่เป้าหมาย 390 หมู่บ้าน หมู่บ้านละ 50 ไร่ ส่ง เสริมให้ทำานาขั้นบันไดและป่า ผสมในรูปแบบระบบเกษตรใน 11 ลุ่มนำ้า ลุ่มนำ้าละ 300 ไร่ และส่ ง เสริ ม ให้ ค นอยู่ กั บ ป่ า อย่างยั่งยืน 3. อนุ รั ก ษ์ แ ละฟื้ น ฟู การปลูกป่า ได้แก่ การจัดทำา ฝายกึ่งถาวร 4,000 แห่ง ทำา ฝายแบบถาวร 1,520 แห่ง ทำา แอ่งเก็บนำ้าขนาดเล็ก 11,000 แห่ง การปลูกหญ้าแฝกอนุรกั ษ์ ดินและนำ้า 20,000,000 กล้า ปลู ก ป่ า เพื่ อ ฟื้ น ฟู ร ะบบนิ เวศ ชุมชน 80,000 ไร่ ปลูกหวาย เพิ่ ม ความหลากหลายทาง ชีวภาพ 20,000 ไร่ การเพาะ ชำ า กล้ า ไม้ ทั่ ว ไป 76 ล้ า นไร่ เพาะชำ า กล้ า ไม้ ข นาดใหญ่ 9 ล้านกล้า เป็นต้น โดยได้ตดิ ตาม ประเมิ น ผลโครงการอย่ า ง ต่อเนื่อง

ของประชาชนหรือภาคพลเมืองอย่างมี พลังในทางการเมือง มีความสามารถใน การใช้สทิ ธิตามบทบัญญัตขิ องรัฐธรรมนูญ อย่างถูกต้อง การรับทราบและเข้าถึงข้อมูล ข่ า วสาร การมี ส่ ว นร่ ว มในการกำ า หนด นโยบายและการวางแผนด้านต่างๆ ทั้ง ระดับชาติและท้องถิน่ ตลอดจนการตัดสิน ใจทางการเมืองและการตรวจสอบการใช้ อำานาจรัฐ โดยจัดให้มเี งินทุนทีม่ แี หล่งทีม่ า ชัดเจนและเพียงพอต่อการดำาเนินงานของ สภาพัฒนาการเมืองได้อย่างต่อเนื่อง ๒.๒ ให้มกี ารกำาหนดนโยบายระดับ ชาติด้านการศึกษาในเรื่องสิทธิและหน้าที่ ความเป็นพลเมืองที่ดี มีศีลธรรม จรรยา บรรณ คุณธรรมและจริยธรรมในสังคม ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข โดยมีเนื้อหาของหลักสูตรที่ ครอบคลุมเรือ่ งการมีสว่ นร่วมอย่างแท้จริง และกำาหนดให้เป็นวิชาบังคับที่มีการเรียน การสอนในโรงเรียนและสถาบันการศึกษา

ป่าไม้ถก ู ตัดทำ�ลาย เท่าสนามฟุตบอลทุก�2�วินาที ธนาคารโลกเปดเผยรายงานเรือ่ งการลอบตัดไม้ ทําลายป่าเมื่อเร็วๆนี้ โดยระบุว่ามีป่าถูกทําลายกว้าง เท่าสนามฟุตบอล 1 สนามทุกสองวินาทีในทั่วโลก รายงานเรื่อง “ความยุติธรรมเพื่อป่าไม้ : การ เพิ่มความพยายามดำาเนินคดีอาญาเพื่อต่อสู้กับการลอบ ตัดไม้ทำาลายป่า “ประเมินว่ามีการลอบตัดไม้ทำาลายป่า มากถึง 90% ของจำานวนต้นไม้ทั้งหมดที่ถูกตัดโค่นใน แต่ละปี คิดเป็นมูลค่าราว 10,000-15,000 ล้านดอลลาร์ และการลอบตั ด ไม้ ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น การกระทำ า ของแก ง อาชญากร และรายได้ส่วนหนึ่งก็ถูกนำาไปใช้ในการจ่าย สินบนให้กับเจ้าหน้าที่ทุกระดับชั้นเพื่อความสะดวกใน การดำาเนินธุรกิจ “แม้ ข้ อ มู ลและหลั ก ฐานที่ รวบรวมได้ บ่ ง ชี้ ว่ า มี การลอบตั ด ไม้ ทำ า ลายป่ า กั น อย่ า งกว้ า งขวางทั่ ว โลก อาชญากรรมทำาลายป่าไม้เหล่านีก้ ลับไม่ถกู รายงานไม่ถกู ตรวจสอบ และถูกเพิกเฉย ผลการศึกษานาน 4 ปีใน บราซิล เม็กซิโก อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ พบว่า การ ลงโทษผู้ ก ระทำ า ผิ ด ในคดี ลั ก ลอบตั ด ไม้ ทำ า ลายป่ า ใน ประเทศเหล่านีม้ ไี ม่ถงึ 0.1% ดังนัน้ ฝ่ายบังคับใช้กฎหมาย จึงควรมุ่งปราบปรามจับกุม ผู้บงการที่อยู่เบื้องหลังเครือ ข่ายลักลอบตัดไม้ทาำ ลายป่า และดำาเนินการกับเจ้าหน้าที่ ระดับสูงที่รับสินบนและปกป้องคนเหล่านี้” ขณะที่บรรดากลุ่มรณรงค์เพื่อสิ่งแวดล้อม เรียก ร้องว่า ธนาคารโลกควรสำารวจดูอย่างใกล้ชิดว่าองค์กรมี ส่วนสนับสนุนการลักลอบตัดไม้โดยทางอ้อมหรือไม่ เช่น การให้เงินสนับสนุนการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานและ บางธุรกิจที่ทำาให้มีการทำาลายป่าไม้อย่างกว้างขวาง เช่น โรงงานผลิตเยื่อกระดาษและนำ้ามันปาล์ม เป็นต้น

ทั้งในและนอกระบบทุกระดับชั้น รวมไป ถึงการให้การศึกษาแก่นักการเมืองและ ประชาชนทั่ ว ไปในรู ป แบบต่ า งๆ เช่ น โรงเรียนพลเมือง ศูนย์การเรียนรู้การเมือง ภาคพลเมือง เป็นต้น ทั้งนี้ ให้กระทรวง ศึกษาธิการร่วมกับองค์กรที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาความเป็นพลเมืองในระบอบ ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข เช่น สถาบันพระปกเกล้า สภา พัฒนาการเมือง เป็นต้น จัดทำาหลักสูตรให้ แล้วเสร็จและสามารถนำาไปใช้ได้ในปีการ ศึกษา ๒๕๕๖ ๒.๓ ให้ เ ครื อ ข่ า ยองค์ ก รภาค ประชาสังคมและเครือข่ายองค์กรชุมชนใน พื้นที่ดำาเนินการพัฒนาเครือข่ายพลเมือง เข้มแข็ง เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองที่ดี และพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในชุมชน ท้องถิ่นของตนเอง โดยความร่วมมือและ การสนั บ สนุ น ของสภาพั ฒ นาการเมื อ ง องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น องค์ ก าร

สื่อสารมวลชนทุกแขนง หน่วยงานและ ภาคส่วนอื่นๆ ในพื้นที่ ทั้งภาครัฐ ภาค เอกชน และภาควิชาการ ในการพัฒนาและ ดำาเนินโครงการ กิจกรรมหรือหลักสูตรการ เรียนรู้ ที่มุ่งพัฒนาความเป็นพลเมืองและ การมีส่วนร่วมที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของชุมชน ท้ อ งถิ่ น ของตนเอง รวมถึ ง การติ ด ตาม กำากับตรวจสอบการทำางานของหน่วยงาน ทุกระดับให้เกิดการดำาเนินการจริงในพืน้ ที่ ตนเอง ทั้งนี้ โดยคำานึงถึงความเสมอภาค ในทุ ก มิ ติ อาทิ หญิ ง ชาย ฐานะทาง เศรษฐกิจ สังคม เป็นต้น ๒.๔ สร้างเครือข่ายเพื่อสนับสนุน การมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยตรงของ ประชาชนใน พื้ น ที่ ผ่ า นช่ อ งทางที่ รั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั ก รไทย พุ ท ธ ศักราช ๒๕๕๐ บัญญัตริ บั รองสิทธิไว้ ได้แก่ มาตรา ๓ ว่าด้วยอำานาจอธิปไตยของปวง ชนชาวไทย มาตรา ๕๖ ว่าด้วยสิทธิได้รับ

4/23/55 BE 3:51 PM


พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 พฤษภาคม 2555

กมธ.ทีด่ นิ ส่งหนังสือถึงกบอ.ยัน ปลูกป่าต้นนํ้าต้องใช้พื้นที่เสื่อมโทรม และทีด่ นิ ทีป่ ราศจากการฟ้องร้องและ ให้ ท้องถิ่นมีส่วนร่วม นายนริศ ขำ�นุรักษ์ ประธาน คณะกรรมาธิการ (กมธ) ที่ดิน ทรัพยา กรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม สภาผูแ้ ทน ราษฎร เปิ ด เผยถึ ง แนวทางการแก้ ปัญหาเรือ่ งอุทกภัยของรัฐบาล ทีเ่ ตรียม ทำ � การปลู ก ป่ า ต้ น นํ้ า ตามที่ ค ณะ กรรมการยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและ สร้ า งอนาคตประเทศ (กยอ.) และ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม (ทส.) ได้เสนอแผนฟืน้ ฟูปา่ ต้น นํ้า 3.5 แสนไร่ และคาดว่าจะใช้งบ ประมาณปลู ก ป่ า ในระยะยาว ถึ ง 10,000 ล้านบาท ว่ากมธ.เป็นห่วงต่อ การใช้ ง บประมาณดั ง กล่ า ว จึ ง เชิ ญ อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและ พันธุ์พืช และอธิบดีกรมป่าไม้มาร่วม ประชุมและให้ความเห็น โดยกมธ. มีมติ ให้ส่งหนังสือถึงประธานคณะกรรมการ บริหารจัดการนํ้าและอุทกภัย (กบอ.) นำ�เสนอความคิดเห็น 4 ประเด็นเกี่ยว กับแผนฟื้นฟูป่าต้นนํ้าไปเมื่อวันที่ 11 เมษายนที่ผ่านมา คือ 1. การปลูกป่าและการฟื้นฟูป่า ควรดำ�เนินการตามหลักวิชาการและ หลักธรรมชาติ 2. พื้นที่ที่คัดเลือกมาใช้ดำ�เนิน โครงการปลู ก ป่ า ต้ น นํ้ า ควร ต้ อ งใช้ กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ตั้งแต่การชี้แจงทำ�ความเข้าใจ การคัด เลือกพื้นที่ การปลูกป่า การดูแลรักษา ทราบและเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล หรื อ ข่ า วสาร สาธารณะ มาตรา ๕๗ ว่าด้วยสิทธิได้รับ ข้อมูลคำ�ชี้แจงและเหตุผลจากหน่วยงาน ของรัฐ มาตรา ๕๘ ว่าด้วยสิทธิการมีส่วน ร่วมในกระบวนการพิจารณาของเจ้าหน้าที่ ของรั ฐ ในการปฏิ บั ติ ร าชการทางการ ปกครอง มาตรา ๖๖ ว่าด้วยสิทธิชมุ ชนท้อง ถิ่น มาตรา ๖๗ ว่าด้วยสิทธิชุมชน มาตรา ๘๗ ว่าด้วยแนวนโยบายด้านการมีสว่ นร่วม ของประชาชน มาตรา ๑๖๓ ว่าด้วยสิทธิ ในการเข้าชื่อเพื่อเสนอกฎหมาย มาตรา ๑๖๔ ว่ า ด้ ว ยสิ ท ธิ เข้ า ชื่ อ เพื่ อ ถอดถอน บุคคลออกจากตำ�แหน่ง มาตรา ๑๖๕ ว่า ด้วยสิทธิออกเสียงประชามติ และมาตรา ๒๘๕ - ๒๘๗ ว่าด้วยการปกครองส่วนท้อง ถิ่น ตลอดจนช่องทางการมีส่วนร่วมอื่นๆ ๓. การหนุนเสริมพลังการมีส่วน ร่วมของประชาชนขอให้คณะกรรมการ ปฏิรูปกฎหมายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

������-������� 5.5.indd 11

กรรมาธิการที่ดินจับตาปลูกป่าหมื่นล้าน แนะ 4 แนวทางกันใช้พื้นที่ติดคดีสวมตอ

“ดีเอสไอ’ จับมือ “สคบ.’ คุม้ ครองผูบ้ ริโภครับเออีซี นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญ กุ ล รมต.ประจำ � สำ � นั ก นายกรั ฐ มนตรี ในฐานะประธานกรรมการ คุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) เป็นสักขี พยานในพิ ธี ล งนามบั น ทึ ก ความ ตกลงเพื่ อ ความร่ ว มมื อ ในการ ปฏิบตั งิ าน ป้องกัน และปราบปราม การกระทำ�ความผิดตามกฎหมาย ว่ า ด้ ว ยการคุ้ ม ครองผู้ บ ริ โ ภค ระหว่างนายนิโรธ เจริญประกอบ เลขาธิการสคบ. และ นายธาริต เพ็ง ดิษฐ์ อธิบดีกรมสอบสวนคดี พิเศษ (ดีเอสไอ) ทัง้ นี้ เพือ่ เพิป่ ระสิทธิภาพ ในการสืบสวนสอบ สวนเกีย่ วกับคดี ความผิ ด ทางอาญาตามพ.ร.บ. คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 เป็น คดี พิ เ ศษ โดยการประสานการ ปฏิบตั ิ งานป้องกันและปราบปราม การกระทำ � ผิ ด คดี เ กี่ ย วกั บ การ คุ้มครองผู้บริโภค ระหว่าง สคบ. และ ดีเอสไอ โดยเฉพาะความร่วม มือเรื่องวิธีปฏิบัติการสืบสวนสอบ สวนและการดำ�เนินคดีอาญา ทีเ่ ป็น คดี พิ เ ศษ เพื่ อ ดู แ ลคุ้ ม ครองผู้ บริ โ ภคตามกฎหมายอย่ า งเป็ น ธรรมเพือ่ เตรียมความพร้อมรับการ เป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนใน ปี 2558 ที่ จ ะมี ก ารค้ า ขายและ ลงทุ น จำ � นวนมาก ทำ � ให้ มี ก าร เคลื่อนย้ายสินค้าข้ามแดนมากขึ้น

• นายนริศ ขำ�นุรักษ์ (กลาง)

และการติดตามประเมินผล 3. ควรเปลี่ยนแปลงวิธีการและ รูปแบบการปลูกป่าใหม่ โดยให้เอกชน และท้ อ งถิ่ น เป็ น ผู้ ดำ � เนิ น การและให้ หน่วยงานของรัฐเป็นผูค้ ดั เลือกพืน้ ทีส่ ง่ มอบพื้นที่และตรวจสอบโครงการ และ 4. การปลูกป่าเพือ่ ฟืน้ ฟูปา่ ต้นนาํ้ ควรปลู ก ในพื้ น ที่ ป่ า สงวนแห่ ง ชาติ ที่ เสื่อมโทรม พื้นที่ป่าอนุรักษ์ที่ถูกแผ้ว ถางและคดีถึงที่สุดแล้วเท่านั้น ไม่ควร ปลูกป่าในพืน้ ทีป่ า่ อนุรกั ษ์ สวนป่า และ สวนป่าในโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิม พระเกียรติฯ “การปลูกป่าของรัฐบาลหากไม่ นำ�ข้อคิดเห็นของกมธ.ไปพิจารณาก็อาจ จะ เกิดการทุจริตสูง เพราะการปลูกป่า เป็นเรื่องนับยาก ถ้านำ�ไปปลูกในพื้นที่ ป่าที่อุดมสมบูรณ์จะยิ่งตรวจสอบยาก และหากเจตนาต้องการฟื้นฟูป่าก็ต้อง

ไปปลู ก ในพื้ น ที่ ที่ เ สื่ อ มโทรมเพื่ อ เป็ น การฟื้นฟู แต่อย่างไรก็ตามทางกมธ.จะ ทำ�หน้าทีช่ ว่ ยรัฐบาลติดตามการทำ�งาน และช่ ว ยตรวจสอบให้ เ ป็ น ไปตาม วัตถุประสงค์ทผี่ า่ นมาป่ามีปญ ั หาเพราะ ข้าราชการที่เห็นแก่เงิน ซึ่งกมธ.จะให้ ความร่วมมือช่วยอีกทางหนึ่ง” ส่วนความคืบหน้าในการตรวจ สอบทุจริตฟอกป่า ทีส่ ง่ เรือ่ งให้ผวู้ า่ การ ตรวจเงินแผ่นดิน และคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่ง ชาติ (ปปช.) ตรวจสอบเจ้าหน้าที่ดูแล แปลงปลูกป่า โครงการปลูกป่าถาวร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระ เจ้ า อยู่ หั ว เนื่ อ งในวโรกาสทรงครอง ราชย์ ปีที่ 50 นัน้ แต่ยงั ไม่มคี วามคืบหน้า คาดว่าอยู่ระหว่างการตรวจสอบและ อาจจะต้องใช้ระยะเวลา แต่กมธ.ได้ชี้ ประเด็นที่ส่อพิรุธไปหมดแล้ว

ดำ�เนินการในเรื่องต่อไปนี้ ๓.๑ สนั บ สนุ น ให้ มี ก ฎหมาย เกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชนใน กระบวนการกำ�หนด นโยบายสาธารณะใน ระดับชาติและท้องถิ่น สำ�หรับใช้เป็นข้อ กำ�หนดและแนวปฏิบตั ขิ องเจ้าหน้าทีร่ ฐั ใน กระบวนการกำ�หนดนโยบายระดับชาติ และท้องถิ่น ๓.๒ ศึกษาทบทวนกฎหมายที่ ต้องมีการบัญญัตเิ นือ้ หาเกีย่ วกับการมีสว่ น ร่วมของประชาชนแต่ยังไม่มีการบัญญัติ หรื อ บั ญ ญั ติ แ ล้ ว แต่ ไ ม่ ส อดคล้ อ งกั บ เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ หรือมีเนื้อหา ทีอ่ าจขัดขวางการมีสว่ นร่วมของประชาชน รวมถึงจัดความสัมพันธ์และความเชือ่ มโยง ระหว่างกฎหมายในกลุ่มการมีส่วนร่วม ด้วยกันเองให้ชัดเจนและเหมาะสมยิ่งขึ้น โดยคำ�นึงถึงหลักการดังต่อไปนี้ ๓.๒.๑ การมีส่วนร่วมของประชา ชนทุกระดับต้องครอบคลุมกระบวนการมี

ส่วนร่วมทุกขั้นตอน ตั้งแต่การริเริ่มการให้ ข้อเท็จจริง การปรึกษาหารือ การร่วม ตัดสินใจ การเข้าร่วมดำ�เนินการ การแก้ ไขปั ญ หา และการติ ด ตามตรวจสอบ ประเมินผล ๓ . ๒ . ๒ ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ข อ ง ประชาชนต้องเป็นกระบวนการที่แสดงให้ เห็นว่า ประชาชนมีอำ�นาจในการตัดสินใจ ในกระบวนการกำ�หนดนโยบายและการ วางแผนการดำ�เนิน กิจการต่างๆ และต้อง มีการระบุให้ชัดเจนว่าประเด็นที่เป็นข้อ สงสั ย ข้ อ ห่ ว งใย และข้ อ ทั ก ท้ ว งของ ประชาชนต้ อ งได้ รั บ การนำ � ไปใช้ ใ น กระบวนการตัดสินใจ และนำ�ประเด็นเหล่า นีไ้ ปปรับปรุงแก้ไขโครงการหรือพัฒนาทาง เลื อ กใหม่ ๆ ในการจั ด ทำ � นโยบายหรื อ โครงการ รวมถึงการนำ�ข้อเสนอแนะของ ประชาชนไปเป็ น ประเด็ น สำ � คั ญ ที่ ต้ อ ง คำ�นึงถึงในการ ตัดสินใจ ๓.๓ สนับสนุนให้เกิดการผลักดัน

11

เร่งรัดการตราพระราชบัญญัติว่าด้วย การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. .... ที่ ง่ า ยแก่ ก ารใช้ สิ ท ธิ ข องประชาชนให้ ออกมามีผลบังคับใช้โดยเร็ว ๓.๔ ร่ า งกฎหมายที่ เข้ า ชื่ อ เสนอโดยประชาชน รัฐสภาต้องรีบเร่ง ดำ�เนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๑๘๐ วัน โดยไม่จำ�เป็นต้องมีร่างกฎหมาย ของรัฐบาลมาประกบเป็นร่างหลักใน การพิจารณา และให้ยึดหลักการและ เหตุผลตามเจตนารมณ์ของประชาชน ผู้เสนอเป็นหลัก

มติที่ เรือ่ ง การปฏิรปู โครงสร้างและ กฎหมายด้านทีด่ นิ : การบริหารจัดการ ที่ดิน มีมติ ดังต่อไปนี้

๑. ภายในปี พ.ศ.๒๕๕๕ ให้

4/23/55 BE 3:51 PM


12

พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 พฤษภาคม 2555

บัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริต ได้ให้ อำ�นาจแก่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ตาม มาตรา 19 (11) และ (13) ไว้อย่าง ชัดเจนที่จะนำ�เสนอมาตรการต่างๆให้ รัฐบาลนำ�ไปปฏิบัติได้ มองว่า จะเป็น ช่องทางสำ�คัญให้เครือข่ายองค์กรต่างๆ สามารถผลักดันมาตรฐานต่างๆ ผ่าน ป.ป.ช. ซึ่งรัฐบาลย่อมต้องตอบสนอง ยกเว้ น จะมี เ หตุ ผ ลสำ � คั ญ ที่ ชี้ แจงต่ อ ประชาชนได้ ขณะเดี ย วกั น ได้ ตั้ ง ข้ อ สั ง เกต เกี่ยวกับกิจกรรมการทุจริตคอรัปชั่นว่า สามารถแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ 1. ทุจริตคอรัปชัน่ ในภาคเอกชน ด้ ว ยกั น เอง อาทิ การฉ้ อ ฉลคดโกง ระหว่างคู่ค้าคู่สัญญา การที่พนักงานผู้

บริหารโกงบริษัท และการที่ผู้บริหาร หรือผู้ถือหุ้นใหญ่ฉ้อฉลเอาเปรียบผู้ถือ หุน้ อืน่ ซึง่ มักจะมีผมู้ สี ว่ นได้เสียโดยตรง คอยตรวจสอบปกป้องผลประโยชน์ตน และมีกระบวนการทางกฎหมาย ทัง้ ทาง แพ่งและทางอาญา เป็นเครือ่ งมือในการ ระงับกำ�กับและตัดสินข้อพิพาทต่างๆ 2. ทุ จ ริ ต โดยการเบี ย ดบั ง ทรัพย์สนิ ของรัฐโดยตรง อาทิ การฉ้อฉล งบประมาณแผ่นดินโดยตรง หรือการ ถ่ า ยโอนทรั พ ย์ สิ น และทรั พ ยากร สาธารณะเป็นของตน ทีย่ งั แพร่หลายอยู่ มากในปัจจุบัน คือ การออกใบรับรอง สิทธิ หรือโฉนดที่ดินสาธารณะให้แก่ ตนเอง และพรรคพวกอย่างไม่ถูกต้อง ซึ่ ง กฎระเบี ย บและพั ฒ นาการของ กระบวนการทางสังคม สามารถติดตาม

ตรวจสอบและระงั บ ยั บ ยั้ ง กิ จ กรรม ประเภทนี้ได้ดีขึ้นตามสมควรและ 3. ภาคเอกชนจ่ายสินบนให้กับ ผู้ มี อำ � นาจรั ฐ เพื่ อ ประโยชน์ ต น ซึ่ ง ระบาดเป็นวงกว้างและสร้างความเสีย หายให้ แ ก่ ร ะบบเศรษฐกิ จ และสั ง คม มากที่สุดในปัจจุบัน กล่าวคือ เป็นการ ร่ ว มมื อ กั น ทั้ ง สองฝ่ า ยที่ จ ะฉ้ อ ฉลเอา ประโยชน์สาธารณะไปแบ่งปันกัน อาทิ การซื้อหาความได้เปรียบในการแข่งขัน คือ การทีภ่ าคเอกชนจ่ายเงินมิชอบเพือ่ ให้ตนได้เปรียบในการแข่งขัน โดยไม่ ต้องเพิม่ ประสิทธิภาพทีแ่ ท้จริง เช่น การ กีดกันไม่ให้มีการแข่งขัน สมบู ร ณ์ ใ นวงกว้ า งตาม อุ ด มการณ์ ทุ น นิ ย มเสรี เช่น การล็อคสเปค หรือการฮั้วราคาใน กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐและ รัฐวิสาหกิจ ที่ระบาดทุกหย่อมหญ้าใน ปัจจุบัน การให้ใบอนุญาตพิเศษ หรือ การให้สัมปทานสำ�หรับกิจการผูกขาด หรื อ มี คู่ แ ข่ ง น้ อ ยราย หรื อ เพื่ อ ใช้ ทรัพยากรสาธารณะโดยไม่มีกระบวน การแข่งขันสมบูรณ์ หรือกระบวนการ ควบคุมไม่ให้ได้ประโยชน์เกินควร “การทุจริตประเภทนีม้ ี ปริมาณ วงเงินสูงสุด และก่อความเสียหายให้แก่ เศรษฐกิจและสังคมมากที่สุด ลองคิดดู ว่า การจัดซื้อจัดจ้างและการลงทุนของ ภาครั ฐ และรั ฐ วิ ส าหกิ จ ปี ห นึ่ ง ๆ มี ปริมาณกว่า 2 ล้านล้านบาท หรือเกือบ 20 % ของรายได้ประชาชาติ” •••

เกษตรกรรมเอาไว้ดังนี้ ๒.๑ การคุ้ ม ครองที่ ดิ น เพื่ อ เกษตรกรรม โดยมิให้บงั คับใช้กฎหมายอืน่ ใดหรื อ กฎหมายพิ เ ศษใดที่ ล ะเมิ ด การ คุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรม เช่น กฎหมาย อุ ท ยาน พระราชบั ญ ญั ติ ก ารประกอบ กิ จ การพลั ง งาน พ.ศ.๒๕๕๐ พระราช บัญญัติแร่ พ.ศ.๒๕๑๐ และแก้ไขปี พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้บงั คับใช้กฎหมาย หรือกลไก ของรัฐที่มีอยู่แล้วในการคุ้มครองที่ดินเพื่อ เกษตรกรรมเต็มตามศักยภาพของพื้นที่ เช่ น พระราชบั ญ ญั ติ จั ด รู ป ที่ ดิ น เพื่ อ เกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๑๗ โดยสนับสนุน การขยายเขตจัดรูปที่ดิน และให้ใช้ที่ดิน เพื่อการเกษตรกรรมเท่านั้น หากจำ�เป็น ต้องมีการเปลีย่ นกรรมสิทธิถ์ อื ครองควรให้ เฉพาะผูท้ เี่ ป็นเกษตรกรทีม่ วี ตั ถุประสงค์ใน การใช้ที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกรรมเป็น รายย่อยเท่านั้น ไม่เกิน ๕๐ ไร่ ให้สามารถ ซื้อขายที่ดินกันในกลุ่มสหกรณ์การเกษตร

และกองทุ น จั ด การที่ ดิ น ของเกษตรกร (เป็นการจัดการที่ดินร่วม รูปแบบโฉนด ชุมชน หรือโฉนดร่วมทีจ่ ดั การโดยสหกรณ์) เพื่ อ มิ ใ ห้ ที่ ดิ น เปลี่ ย นมื อ ไปอยู่ กั บ กลุ่ ม ทุน หรือการใช้กองทุนฟื้นฟูและพัฒนา เกษตรกร รวมทั้งเร่งรัดออกกฎกระทรวง ระเบียบ ประกาศ หรืออื่นๆ เพื่อเป็นแนว ปฏิ บั ติ ใ ห้ ค รบถ้ ว นตามเจตนารมณ์ ข อง กฎหมายคุ้มครองที่ดินเพื่อเกษตรกรรม และให้คนพิการมีสทิ ธิได้รบั โอนกรรมสิทธิ์ ที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมได้ ๒.๒ กำ�หนดพื้นที่สำ�หรับภาค อุตสาหกรรมแยกออกจากการเกษตรโดย เด็ดขาดตามผังเมือง รวมทั้งกำ�หนดพื้นที่ การปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์ ที่อยู่อาศัย เขต เกษตรกรรม เฉพาะที่ต้องคุ้มครองโดยเร่ง ด่วน เช่น พื้นที่ไร่หมุนเวียน พื้นที่ปลูกข้าว ทุ่งกุลาร้องไห้ เงาะนาสาร ทุเรียนนนท์ ปลาสลิดบางบ่อ ปลาช่อนแม่ลา เป็นต้น รวมถึงการแก้ไขปัญหาทีด่ นิ ประมงพืน้ บ้าน

เพื่ อ คุ้ ม ครองที่ ดิ น ทำ � กิ น และที่ อ ยู่ อ าศั ย เพือ่ ดำ�เนินการคุม้ ครองในทันทีดว้ ยการใช้ อำ�นาจของฝ่ายบริหาร โดยออกระเบียบ สำ � นั ก นายกรั ฐ มนตรี ตั้ ง คณะกรรมการ คุ้ ม ครองและส่ ง เสริ ม การใช้ ที่ ดิ น เพื่ อ เกษตรกรรมขึน้ ชุดหนึง่ โดยมีองค์ประกอบ ของภาคประชาชนร่วมอยูด่ ว้ ย ร้อยละ ๖๕ เพื่อทำ�หน้าที่ในการกำ�หนดที่ดินที่เหมาะ สมในการประกอบเกษตรกรรมและควร คุ้มครองเร่งด่วน ๒.๓ กำ�หนดมาตรการในการคุม้ ครองที่ ดิ น เพื่ อ เกษตรกรรมด้ ว ยการส่ ง เสริมความมั่นคงในการถือครองที่ดินของ เกษตรกรเจ้าของทีด่ นิ ทัง้ ทีด่ นิ ทีอ่ ยูใ่ นและ นอกเขตป่าอนุรักษ์ของรัฐ เช่น หากที่ดิน จะหลุดมือจากเกษตรกรด้วยเหตุหนีส้ นิ จะ ต้องเข้าช่วยเหลือด้วยการปรับโครงสร้าง หนี้หรือรับหนี้มาบริหาร หากเกษตรกรไม่ ต้องการทำ�เกษตรกรรมอีกต่อไปก็ต้องเข้า ซื้อที่ดินในราคาที่เป็นธรรม

ชี้เอกชนจ่ายสินบนผู้มีอำ�นาจรัฐ เพื่อประโยชน์ตน สร้างความ เสียหายให้ระบบเศรษฐกิจ และสังคมมากที่สุด เชื่อมหาเศรษฐีไทย 8 ใน 10 คน เกี่ยวข้องกับ การทุจริต ไม่ทางตรง ก็ทางอ้อม

สรุป 6 มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้งที่สอง

นายบรรยง พงษ์พานิช ประธาน กรรมการ บริษทั หลักทรัพย์ภทั ร จำ�กัด (มหาชน) เปิดเผยว่า ในปัจจุบัน แม้ว่า จะมีพระราชบัญญัติป้องกันและปราบ ปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) มา ตัง้ แต่ปี 2542 ให้จดั ตัง้ สำ�นักงาน ป.ป.ช. ขึ้น เพื่อป้องกันและปราบปรามการ ทุจริตคอรัปชั่น รวมถึงการจัดสรรงบ ประมาณจากเริม่ ต้นปีละประมาณ 200 ล้านบาท จนถึง 1,100 ล้านบาทต่อปี ก็ตาม แต่จากข้อมูลในปี 2553 พบว่า มีเรื่องร้องเรียนเพียง 2,211 เรื่องต่อปี และมีการชี้มูลดำ�เนินคดีเพียงปีละไม่ เกิน 75 เรื่อง ซึ่งมองว่าน่าจะตํ่ากว่า 0.001 % ของรายการคอรัปชัน่ ทีเ่ กิดขึน้ จริง เห็นว่ายังต้องมีการแก้ไขปรับปรุง กลยุทธวิธกี ารอีกมาก ถ้าหวังจะให้มผี ล แท้จริงในวงกว้าง อย่ า งไรก็ ต ามแม้ ว่ า พระราช คณะกรรมการสมัชชาปฏิรปู สนับสนุน ให้ มี ก ารจั ด สมั ช ชาปฏิ รู ป เฉพาะ ประเด็น เรื่อง “การจัดทำ�ข้อเสนอ นโยบาย แผน และปรับปรุง/แก้ไข กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร จัดการทีด่ นิ ” โดยให้มกี ารจัดทำ�ข้อมูล ความเป็ น จริ ง จากแต่ ล ะพื้ น ที่ เพื่ อ สร้างความพร้อมก่อนดำ�เนินการจัด สมัชชาเฉพาะประเด็นฯ บนพื้นฐาน การมีสว่ นร่วมของภาคประชาชนและ ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อการสร้าง ความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมลํ้าใน การถือครองและใช้ประโยชน์ที่ดิน[2]

๒. ให้คณะกรรมการสมัชชา ปฏิรูปเสนอคณะรัฐมนตรีดำ�เนินการ ผลักดันให้มีกฎหมาย การคุ้มครอง พื้ น ที่ เ ก ษ ต ร ก ร ร ม โ ด ย กำ � ห น ด มาตรการช่ ว ยเหลื อ และจู ง ใจให้ เจ้ า ของที่ ดิ น ในการรั ก ษาที่ ดิ น เพื่ อ

������-������� 5.5.indd 12

ผงะเอกชนจ่ายสินบนระบาดหนัก เศรษฐีไทยเกาะอำ�นาจรัฐคอร์รัปชั่น

4/23/55 BE 3:51 PM


พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 พฤษภาคม 2555

13

º·¤ÇÒÁ¾ÔàÈÉ

คน´ีÈÃีอยظยÒ

ารจากไปของอาจารย์ ไพบู ล ย์ วั ฒ นศิ ริ ธ รรม อดี ต รองนายกรั ฐ มนตรี ในรั ฐ บาลพล.อ.สุ ร ยุ ท ธ์ จุลานนท์ ด้วยวัย 71 ปี เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2555 นับเปนการสูญเสีย บุ ค ลากรสํ า คั ญ ของประเทศที่ ส ร้ า ง คุณปู การอย่างอนรรฆค่าไว้เหลือคณา นับ อาจารย์ ไ พบู ล ย์ วั ฒ นศิ ริ ธรรม เกิดวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2484 ที่ บ้านนาคู ตำาบลนาคู อำาเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สมรสกับ คุณ หญิงชฎา วัฒนศิรธิ รรม อดีตกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ ธนาคารไทยพาณิชย์ มี บุตรด้วยกัน 2 คนคือ นายพิชา วัฒน ศิริธรรม (สมรสกับณัฎฐพร ทิตตยา นนท์) และ นางชมพรรณ กุลนิเทศ (สมรสกับ ณัฐวุฒิ กุลนิเทศ) อาจารย์ ไพบูลย์เคยทำางานใน ธนาคารแห่งประเทศไทย ตลาดหลัก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย เคยดำ า รง ตำาแหน่งผู้อำานวยการธนาคารออมสิน สมาชิ ก วุ ฒิ ส ภา และสมาชิ ก สภาที่ ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รับ ตำาแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการ พัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ ในรั ฐ บาลชั่ ว คราวของพล.อ.สุ ร ยุ ท ธ์ จุลานนท์ เมือ่ วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2549 และรับตำาแหน่งรองนายกรัฐมนตรีเพิ่ม อีกตำาแหน่ง เมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2550

ด้านการศึกษานั้นสำาเร็จปริญ ญาตรี ด้ า นเศรษฐศาสตร์ จากมหา วิทยาลัย Hull ประเทศอังกฤษ เมื่อปี 2510 ต่อมาได้ศกึ ษาจนสำาเร็จการศึกษา หลักสูตร SEANZA Central Banking Course ในปี พ.ศ. 2517 และ หลักสูตร Australian Management College Mount Eliza : Advanced Management Course ในปี พ.ศ. 2521 ในปี พ.ศ. 2528 สำาเร็จการศึกษาหลักสูตร Wharton School of Finance – Philadelphia National Bank : Advanced Management Program for Overseas Bankers ต่อมาในปี พ.ศ. 2534 ผ่าน การศึกษา จาก Institute of Development Research : Asian NGO Leadership Fellows Program และ พ.ศ. 2539 สถาบันพระปกเกล้า หลักสูตร การเมืองการปกครองในระบอบประชา

๒.๔ กำาหนดมาตรการสนับสนุน การทำาเกษตรอินทรีย์ การให้ข้อมูลพืช เศรษฐกิจที่เป็นประโยชน์บนพื้นฐานการ ตั ด สิ น ใจของเกษตรกร เพื่ อ ชะลอการ เปลี่ ย นแปลงการใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น เพื่ อ เกษตรกรรม เช่น การให้ขอ้ มูลพืชทีเ่ หมาะ สมตามศักยภาพของพืน้ ที่ เพือ่ ป้องกันการ ขาดทุนจากการปลูกพืชไม่เหมาะสม โดย มีคณะกรรมการดูแลสิทธิของเกษตรกร เป็นผู้รับผิดชอบ ๒.๕ กำาหนดมาตรการช่วยเหลือ เกษตรกรให้สามารถทำากินได้เพียงพอต่อ การดำ า รงชี พ มี น โยบายในการประกั น ความเสี่ยงกับเกษตรกร ชดเชยผู้เสียหาย หรือได้รบั ผลกระทบจากแนวนโยบายของ รัฐอย่างเป็นธรรม ๒.๖ ให้มมี าตรการในการตรวจ สอบการถือครองที่ดินของชาวไทยและ ชาวต่างชาติ ซึ่งรวมถึง ข้าราชการ นักการ เมือง ท้องถิ่น ท้องที่ นักธุรกิจ เอกชน

นายทุน ที่มีวัตถุประสงค์ขัดต่อกฎหมาย เพือ่ คุม้ ครองทีด่ นิ เพือ่ เกษตรกรรม รวมทัง้ การกำาหนดมาตรการป้องกันมิให้ชาวต่าง ชาติถอื ครองทีด่ นิ ดังกล่าวผ่าน ตัวแทนคน ไทย (Nominee) โดยห้ามครอบครองพืน้ ที่ ทางการเกษตร กำาหนดขนาดพืน้ ทีถ่ อื ครอง กำาหนดโซนที่สามารถถือครองได้ มีหน่วย งานที่รับผิดชอบเรื่องนี้อย่างชัดเจน และมี การทำางานอย่างเคร่งครัด ๒.๗ ให้มีมาตรการส่งเสริมการ ผลิตและการตลาดชัดเจนจริงจัง สามารถ สร้างรายได้ให้เกษตรกรอย่างแท้จริง เพื่อ ให้เกษตรกรมีเกียรติ ศักดิ์ศรี และภาค ภูมิใจในอาชีพเกษตรกร ๒.๘ ให้ มี ก ารบริ ห ารจั ด การ ทีด่ นิ เกษตรกรรมในพืน้ ทีป่ า่ ไม้อย่างมีสว่ น ร่ ว มของ เกษตรกร โดยพั ฒ นาการใช้ ประโยชน์อย่างหลากหลายในพื้นที่นั้นๆ เพื่อการยังชีพและสิ่งแวดล้อมที่ดี ๒.๙ กำาหนดมาตรการอนุรักษ์

������-������� 5.5.indd 13

อาจารยไพบูลย วัฒนศิร�ธรรม

¨Ò¡¡ÃÃม¡ÒÃสมัªªÒป¯ÔÃÙปปÃÐเ·È ¶Öงประ¸านมูลนÔ¸Ôหัวãจอาสา

ธิ ป ไตยสำ า หรั บ นั ก บริ ห ารระดั บ สู ง (ปปร.) รุ่นที่ 1 นอกจากนี้อาจารย์ไพบูลย์ ยัง ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์ ดุษฎีบัณฑิต กิตติมศักดิ์ (สาขาเศรษฐศาสตร์) จาก มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ในปี พ.ศ. 2545 และปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติม ศั ก ดิ์ (สาขาการพั ฒ นาชุ ม ชน) จาก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ในปี 2548 อาจารย์ไพบูลย์ ได้เข้ามามี บทบาททางการเมืองอีกครั้ง ภายหลัง การชุมนุมของกลุ่มคนเสื้อแดง พ.ศ. 2553 ยุติลง โดยเข้ามาทำาหน้าที่เป็น

คณะกรรมการสมัชชาปฏิรปู ประเทศ ซึง่ ประกอบด้วยคณะกรรมการ จำานวน 27 คน เพื่อรวบรวมข้อมูลรับฟังความคิด เห็น และนำาไปสู่นโยบายในการปฏิรูป ประเทศไทย ศ.นพ.ประเวศ วะสี ราษฎร อาวุ โ ส และประธานสมั ช ชาปฏิ รู ป ประเทศ เคยพูดถึงอาจารย์ไพบูลย์ว่า เป็ น คนที่ รู้ จั ก แผ่ น ดิ น เป็ น คนที่ เ ห็ น คุณค่าและศักยภาพของคนข้างล่างทีจ่ ะ จัดการตัวเอง มีความสุจริตเป็นวิสยั โดย เป็นคนที่ไว้ใจได้ในความซื่อสัตย์สุจริต นักการเมืองไทยที่ไม่เก่ง ไม่สุจริต เป็น หายนะภัยของประเทศบางคนเก่งแต่

ดินและนำ้า เพื่อป้องกันความเสียหายต่อ ทรัพยากรดินและนำ้า อันเป็นฐานการผลิต ทางการเกษตร ๒.๑๐ ให้สภาองค์กรชุมชนตำาบล ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ ท้องที่รับรอง สิทธิชุมชนในการบริหาร จั ด การทรั พ ยากร ที่ ดิ น และการใช้ ประโยชน์จากที่ดิน รวมถึงผลอาสินจาก ที่ดินในพื้นที่ ๒.๑๑ ให้มีมาตรการกำาหนดค่า เช่ า ที่ ดิ น ให้ เ ป็ น มาตรฐานระหว่ า ง ประชาชนกับประชาชน ประชาชนกับรัฐ ประชาชนกับภาคธุรกิจเอกชน ตามความ เป็นธรรมแต่ละพื้นที่ให้ชัดเจน ๒.๑๒ ให้รฐั สนับสนุนการปลูกพืช เกษตรกรรมยั่ ง ยื น ในที่ ดิ น เกษตรกรรม รวมทั้งที่ดินรกร้างไม่ได้ใช้ประโยชน์ โดย พื้นฐานการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น

สมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้งที่ ๑ มติที่ ๑ เรือ่ งการปฏิรปู การจัดสรรทรัพยากร ทีด่ นิ อย่างเป็นธรรมและยัง่ ยืน และมติ ที่ ๓ การคื น ความเป็ น ธรรมให้ แ ก่ ประชาชน กรณีที่ดินและทรัพยากร เพื่ อ ประโยชน์ ข องประชาชน โดย เฉพาะเรื่อง ๓.๑ รับรองสิทธิในการจัด การที่ ดิ น ของชุ ม ชน รวมถึ ง แก้ ไข กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การจั ด การ ทีด่ นิ ให้รบั รองสิทธิของชุมชนในการมี ส่วนร่วมจัดการที่ดิน ๓.๒ ให้ มี ก ารยกร่ า งพระ ราชบั ญ ญั ติ โ ฉนดชุ ม ชนแทนการใช้ ระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย การจัดให้มีโฉนดชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๓ ๓.๓ จำากัดขนาดการถือครองที่ดิน ๓.๔ เร่ ง รั ด การออกกฎ หมายการจั ด เก็ บ ภาษี ที่ ดิ น ให้ มี ผ ล บังคับใช้โดยเร็ว

๓. เร่งรัดการดำาเนินงานตามมติ

4/23/55 BE 3:51 PM


สรุป 6 มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้งที่สอง

14

พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 พฤษภาคม 2555

ไว้ ใ จไม่ ไ ด้ ใ นความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต ไม่ สามารถพาบ้านเมืองไปรอดได้ อาจารย์ ไพบูลย์ จึงถือเป็น หนึง่ ในบุคคลทีม่ อี ดุ มการณ์ชดั เจน และ มีแนวคิดแนวแน่ในการอุทศิ ตัวเอง เพือ่ ช่ ว ยเหลื อ ในการพั ฒ นาสั ง คมชนบท การแก้ปัญหาความยากจน การทำางาน เพื่ อ สั ง คม จวบจนวาระสุ ด ท้ า ยของ ชีวิต ในขณะที่อยู่ในตำาแหน่งสุดท้าย “ประธานมูลนิธิหัวใจอาสา” ขณะเดียวกันอาจารย์ไพบูลย์ ยังได้สร้าง “บันได 5 ขั้นสู่ทางรอด ประเทศไทย” ซึง่ สามารถนำามาใช้ได้กบั สถานการณ์ปจั จุบนั เริม่ ตัง้ แต่บนั ไดขัน้ ที่ 1 ร่วมกันค้นหาความจริง ยอมรับ สถานการณ์ที่เป็นจริงเท่าที่ทำาได้ แล้ว นำามาจัดหมวดหมู่ให้เห็นสถานการณ์ที่ เป็ น จริ ง ชี้ วั ด ได้ ไ ม่ ใช้ ค วามรู้ สึ ก หรื อ ความเห็นมาถกเถียงกัน แล้วปรับตัวให้ เข้ากับความเป็นจริงได้ บันไดขั้นที่ 2 ร่วมค้นหาจุด อ่อนที่สำาคัญ เลือกจุดอ่อนที่แก้ไขได้ แล้วร่วมกันแก้ไขหรือทำาให้เบาบางลง “อย่ า งจุ ด อ่ อ นเรื่ อ งการคอร์ รั ป ชั่ น ทุจริต โกงกิน เบียดบัง ฉกฉวยประโยชน์ เอารัดเอาเปรียบในทางที่มิชอบ เป็น การบั่นทอนระบบต่าง ๆ อย่างมหันต์ หาทางแก้ไขโดยมองหน้ากันแล้วบอกว่า เลิกทุจริตกันบ้างดีไหม จะโกงกันไปถึง ไหน อยู่พอมีพอกินตามสมควรก็น่าจะ พอแล้ว ใช้ชีวิตสุจริตไม่สบายกว่าหรือ อย่างนี้น่าจะทำาได้ แม้จะแก้ไม่ได้ทั้ง หมด แต่บรรเทาลง” บันได ขั้นที่ 3 ร่วมกันค้นหา จุดแข็ง เลือกจุดแข็งที่มีศักยภาพดี เพื่อ

เพิ่มพลัง และขยายผลให้มากที่สุด โดย ร่วมกันศึกษาจุดแข็งควบคูก่ บั การศึกษา จุดอ่อนแล้วเชื่อมาเป็นเรื่อง ๆ จัดเป็น หมวดเป็นหมู่ จัดลำาดับอะไรที่คิดว่า สำาคัญมาก สำาคัญน้อย แล้วมาสร้าง ความเห็นพ้องต้องกัน บันไดขั้นที่ 4 ร่วมกันกำาหนด วิสัยทัศน์แห่งชาติ เป้าหมายแห่งชาติ และวาระแห่งชาติที่เป็นรูปธรรม และ กำาหนดวิธีวัดผลได้ เช่น การกำาหนด อุดมการณ์แห่งชาติก่อน ถ้าอุดมการณ์ แห่งชาติจะเอาความรำ่ารวยเป็นหลัก เป้าหมายจะตามมาว่า ยิ่งผลิตมากยิ่งดี หรื อ จะนำ า หลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอ เพียงของพระองค์ท่านมาใช้ บันไดขั้นที่ 5 มุ่งมั่นร่วมกัน ปฏิบัติตามวาระแห่งชาติ ด้วย พละ 4 คือ 1. ปัญหาพละ คือ การใช้ปญ ั หาเป็น พลัง 2. วิริยะพละ คือ การมีความ พากเพียร พยายามเป็นพลัง 3. อนวัช พละ คือ การใช้ความถูกต้องเป็นพลัง และ 4. สังคหพละ คือ ความเกื้อกูล ความเอื้ออาทร ถ้าใช้พละ 4 ในการ ปฏิบตั ติ ามวาระแห่งชาติจะทำาให้การมุง่ มั่นร่วมกันปฏิบัติตามวาระแห่งชาติมี พลังมาก อย่างไรก็ตามเป็นที่น่าสังเกต ว่า ทุกตำาแหน่งที่อาจารย์ไพบูลย์ไปนั่ง ทำางาน นอกจากการวางแผนงานด้าน ธุ ร กิ จ หลั ก ขององค์ ก รแล้ ว ยั ง วาง นโยบายในเรื่ อ งการเข้ า ไปช่ ว ยเหลื อ พัฒนาชนบท พัฒนาองค์กรชุมชนใน ชนบทให้เข้มแข็ง พึ่งตนเองได้เป็นเป้า หมายหลักควบคู่ไปด้วย “แต่ อุ ป สรรคในการสร้ า ง

ความเข้มแข็งขององค์กรชุมชน อย่างหนึ่งในหลาย ๆ อย่าง คือ การที่รัฐบาลหรือหน่วยงานของ ภาครัฐเข้าไปทำางานแบบบนลง ล่าง คิดให้ทำาให้ แถมยังต่างคน ต่างไป ขาดการเชื่อมโยง ขาด การประสาน ขาดการต่อเนื่อง ขาดความเป็นองค์รวม ข้อนี้เป็น อุ ป สรรคมาตลอด เป็ น ปั จ จั ย สำาคัญมากอย่างหนึ่ง หน่วยงานต้องหาทาง ประสานการทำางานให้สอดคล้อง กัน ไม่ซำ้าซ้อน ไม่สับสน ไม่ขัด แย้ง ซึง่ วิธที ดี่ ที สี่ ดุ คือ ต้องให้ชาว บ้านเป็นหลัก เป็นคนประสาน แล้วหน่วยงานรัฐต้องตกลงกัน วางแผนประสานงบประมาณ ประสานบุ ค ลากรร่ ว มกั น จะ ทำาให้รฐั ประหยัดได้มากขึน้ และ ผลงานก็มีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่ ง เ ป็ น ผ ล ดี กั บ ทุ ก ส่ ว น ทั้ ง ประชาชน และประเทศชาติ” การติดยึดกับระบบการ ควบคุมจากส่วนกลาง เป็นระบบ ที่แข็งตัวไม่ยืดหยุ่น ระบบการใช้ อำานาจมากกว่าการปรึกษาหารือ ซึง่ ตัง้ อยูบ่ นพืน้ ฐานระบบคิดทีล่ า้ หลัง ระบบคิดทีล่ า้ หลังยอมนำาไป สู่ ก ารปฏิ บั ติ ที่ ล้ า หลั ง และนำ า ความเสียหายสู่ประเทศชาติโดย ไม่รู้ตัว •••

๓.๕ เปิดเผยข้อมูลการถือ ครองที่ดินทั่วประเทศ ๓.๖ จัดตั้งธนาคารที่ดินโดย ยกระดับพระราชกฤษฎีกาสถาบันบริหาร จัดการที่ดินเป็น พ.ร.บ.ธนาคารที่ดิน ๓.๗ แก้ไขพระราชบัญญัติ การเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๒๔ เพื่อจัดการปัญหาที่ดินทิ้งร้าง ๓.๘ คดีที่ดินที่อยู่ระหว่าง การพิ จ ารณา ให้ มี ก ารจำ า หน่ า ยคดี ชัว่ คราว อนุญาตให้ประชาชนผูต้ อ้ งหา และครอบครัวอยู่อาศัยทำากินในที่ดิน เดิม กรณีปัญหาที่ยังไม่เข้าสู่กระบวน การยุ ติ ธ รรมให้ ร ะงั บ การจั บ กุ ม ประชาชนที่ อยู่อาศัยและทำากินใน พื้นที่ที่มีข้อพิพาทที่มิใช่การแผ้วถาง หรือบุกเบิกป่าใหม่ จนกว่าจะมีการ แก้ไขปัญหาหรือมีข้อพิสูจน์เสร็จสิ้น

งานปฏิรูปติดตามการดำาเนินงานตามมติ และรายงานความก้ า วหน้ า ต่ อ สมั ช ชา ปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๓

ระเบียบที่เกี่ยวข้อง เพื่อเพิ่มบทบาทและ อำานาจขององค์กรชุมชนและภาคประชา สังคม ด้านการบริหารจัดการ งบประมาณ บุคลากร การจัดการโครงสร้าง การพัฒนา คุณภาพการศึกษา และการติดตามประ เมินผลการศึกษาของแต่ละชุมชนท้องถิ่น รวมทั้ ง จั ด ตั้ ง คณะกรรมการการศึ ก ษา จังหวัดภายใน ๒ ปี ให้เป็นโครงการนำาร่อง ในพืน้ ทีท่ มี่ ศี กั ยภาพ ผ่านความร่วมมือของ สมัชชาจังหวัด โดยให้กระทรวงศึกษาธิการ จั ด งบประมาณสนั บสนุ น อย่ า งพอเพียง และมีธรรมนูญรองรับ การทำางานอย่างต่อ เนื่องเป็นเวลาอย่างน้อย ๑๐ ปี ๑.๒ แก้ ไ ขกฎหมายและกฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง เพื่อเพิ่มอำานาจการ บริหารจัดการให้กับคณะกรรมการสถาน ศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของตัวแทนผู้ ปกครอง ตั ว แทนภาคประชาสั ง คมใน ชุมชนท้องถิ่น ในการจัดการเรียนรู้ระดับ ฐานโรงเรียน (school-based manage-

๔. ขอให้ผู้อำานวยการสำานัก

������-������� 5.5.indd 14

ม ติ ที่

เรื่อง การปฏิรูปการ ศึกษา : ปรับ ทิศทางการศึกษาเพือ่ สร้างคุณภาพและลด ความเหลื่อมลำ้มในสังคมมีมติ ดังต่อไปนี้

๑. ให้กรมส่งเสริมการปกครอง

ท้องถิน่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ สำานัก งบประมาณ กรมบัญชีกลาง กระทรวง ศึกษาธิการ กระทรวงวัฒนธรรม ภาคเอก ชน ร่วมกับภาคีเครือข่ายด้านการศึกษา ครอบครัว ชุมชน และสื่อ ให้การส่งเสริม ภาคชุมชนท้องถิน่ เพือ่ ให้เป็นกลไกทีม่ บี ท บาทสำาคัญยิ่งขึ้นในการปฏิรูปการศึกษา โดยมีมาตรการที่เป็นรูปธรรม ดังต่อไปนี้ ๑.๑ แก้ ไ ขกฎหมายและกฎ

ÍÁµÐ ¤¹´ÕáË‹§á¼‹¹´Ô¹ • àนาÇรัตน์ พงษ์äพบูลย์

ËÇÁ¾Ô·Ñ¡É ¤Ø³¸ÃÃÁ¤ÇÒÁ¶Ù¡µŒÍ§ »ÃÐ⪹ ¢Í§»Ç§»ÃЪҵŒÍ§à»š¹ãËÞ‹ ËÇÁ´ÙáŨÃÔ¸ÃÃÁãËŒ¹íÒä·Â à¾×è͸ÃÃÁÒ¸Ô»äµÂ䴌໚¹¨ÃÔ§ ·‹ÒÁ¡ÅÒ§¤ÇÒÁ¢ÅÒ´à¢ÅÒàºÒ»˜ÞÞÒ âÅ¡µŒÍ§¡Ò乡ŌÒ໚¹·ÕèÂÔè§ ¡ÅŒÒ¡ÃзíҡŌҴíÒÃԡŌҵԵԧ ¡ÅŒÒã¹ÊÔ觴էÒÁ¡ÅŒÒ¹íÒ·Ò§ ËÇÁàªÔ´ªÙ·‹Ò¹¼ÙŒ¡ÅŒÒ ³ ·Õè¹Õé ·‹Ò¹ä´ŒÊÌҧ¤ÇÒÁ´Õ໚¹áººÍ‹ҧ »˜¡¸§¸ÃÃÁ¹íÒä·Â ³ 㨡ÅÒ§ ãˌ䴌àËç¹áʧÊÇ‹Ò§·ÔÈ·Ò§¸ÃÃÁ ·‹Ò¹¤×Í “¤¹´ÕáË‹§á¼‹¹´Ô¹” ¤éíÒ¤Ù³¸Ã³Ô¹ÁÔãËŒµèíÒ »ÃÐ⪹ ÊآʋǹÃÇÁËÇÁ¡ŒÒǹíÒ ¤×ͤÇÒÁ´Õ¤×ÍÇÕáÃÃÁÍÁµÐª¹ ËÇÁ¾Åѧ¤ÑÅÅͧ¢Í§á¼‹¹´Ô¹ ËÇÁÊÌҧ¶Ôè¹ä¼·¸ÃÃÁ¹íÒ½†Ò˹ ËÇÁ¾Ô·Ñ¡É ÈÑ¡´Ôì¹ÒÁ¤ÇÒÁ໚¹¤¹ ËÇÁºÑ¹´Å¤ÇÒÁ´ÕᴋἋ¹´Ô¹ à¹ÒÇÃѵ¹ ¾§É 侺ÙÅ â´Â à¹ÒÇÃѵ¹ ¾§É 侺ÙÅ ÈÔÅ» ¹áË‹§ªÒµÔ / ¡ÇÕ«Õäõ

ment) และฐานชุมชน (communitybased management) ที่มีประสิทธิภาพ ตรวจสอบได้จากทุกฝ่าย โดยเฉพาะภาค ประชาสังคมในท้องถิ่น ๑.๓ ส่งเสริมบทบาทของภาค เอกชนในการจัดการศึกษาเพือ่ ปวงชน โดย สนั บ สนุ น ทางวิ ช าการ พั ฒ นาบุ ค ลากร วิ ท ยฐานะ และมาตรการทางการเงิ น ตลอด จนมาตรการทางภาษี โดยมีการ ตรวจสอบจากภาคประชาสังคมอย่างต่อ เนื่อง ๑.๔ ปรับปรุงมาตรการการคลัง และวิธีจัดสรรงบประมาณทางการศึกษา โดยมุง่ เน้นการจัดสรรงบประมาณไปสูฐ่ าน ชุมชนท้องถิน่ ตามตัวผูเ้ รียน โดยสอดคล้อง กับบริบทสังคม สภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ และวิ ถี ชี วิ ต ของชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น รวมทั้ ง จัดสรรงบประมาณโดยให้นา้ำ หนักกับระดับ ปฐมวัย และการศึกษาขั้นพื้นฐาน การตั้ง กองทุ น ส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาท้ อ งถิ่ น และ

4/23/55 BE 3:51 PM


พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 พฤษภาคม 2555

15

ÊÑÁÁ¹ÒÇÔªÒ¡Òà นักวิชาการฟนธงเปดเออีซีป 58 มีทั้งโอกาสและความเสี่ยง แนะทุกภาค ส่ ว นเตรี ย มความพร้ อ มให้ ชั ด เจนเพื่ อ รั บ มื อ ทุ ก ด้ า น โดยเฉพาะภาคธุ ร กิ จ เอกชนจะต้ อ งให้ ค วามสํ า คั ญ กั บ การ เปลี่ยนแปลงที่กําลังจะมาถึง ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดี มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวเปิดงาน สัมมนา วิชาการ เรือ่ ง “ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจไทย ภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” ณ. ห้อง 15-226 ชั้น 2 อาคาร digital multimedia complex คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2555 ที่ผ่านมาว่าเราต้องเตรียมพร้อมรับ การมาของประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน เพราะจะมีผลกระทบหลายๆด้านต่อทั้ง เศรษฐกิ จ สั ง คม การเมื อ ง แรงงาน อุตสาหกรรมและการศึกษา ซึ่งในปัจจุบัน ได้มีการประเมินแล้วว่า ประเทศไทยยังไม่ พร้อมอยู่อีกหลายด้าน ด้ า นดร.โอฬาร ไชยประวั ติ ประธานผู้แทนการค้าไทยและอดีตรอง นายกรั ฐ มนตรี กล่ า วปาฐกถา เรื่ อ ง “นโยบายประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน ของไทย” ว่าปัจจุบันมีการรวมกลุ่มทาง เศรษฐกิจเกิดขึ้นหลายๆที่ การมีสมาชิก เพิ่ ม ขึ้ น สร้ า งความแข็ ง แกร่ ง ให้ ร ะบบ เศรษฐกิ จ การค้ า เสรี นี้ เ ป็ น อย่ า งมาก ระบบนีจ้ ะอยูใ่ นสังคมโลกนีอ้ กี นาน เพือ่ แก้ ปั ญ หาความเหลื่ อ มล้ำ า ในสั ง คมและ เศรษฐกิจ โดยมีวัตถุประสงค์เดียวกัน คือ การร่วมมือกัน แต่ต้องมีการพัฒนาบุคลา กรให้มคี ณ ุ ภาพมากขึน้ มีประสิทธิภาพมาก การนำาภาษีทอ้ งถิน่ มาสนับสนุนการ ศึกษา ๑.๕ ส่งเสริมการใช้ทรัพยากร และทุนทางสังคมวัฒนธรรมของท้องถิ่น รวมทัง้ บทบาทของพ่อ แม่ ผูป้ กครอง ผูน้ าำ ศาสนา ผูน้ าำ ชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน ในการ เข้ า ร่ ว มจั ด การศึ ก ษาร่ ว มกั บ บุ ค ลากร ทางการศึกษาอย่างเท่าเทียม

๒. ให้องค์กรอิสระต่างๆที่มีส่วน

เกีย่ วข้องกับการศึกษาและการเรียนรู้ เช่น สำานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรูแ้ ละ พัฒนาคุณภาพเยาวชน สำานักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สำานักงาน กองทุ น สนั บ สนุ น การวิ จั ย สำ า นั ก งาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการ ศึกษา สมาคมสภาการศึกษาทางเลือกไทย เป็นต้น ประสานและสนับสนุนการพัฒนา และดำาเนินการสร้าง “เครือข่ายประชา สังคม และชุมชนท้องถิ่น เพื่อปฏิรูปการ ศึกษาและการเรียนรู้” ให้มีความเข้มแข็ง

������-������� 5.5.indd 15

• ดร.อาทิตย์

• ดร.âอÌาร

• ดร.อนุสร³์

• ดร.¸Çัชชัย

ปÃЪÒคมเÈÃÉ°¡Ô¨อÒเ«ียน âอกาส ËÃือ ความเสี่ยง! ของÀÒค¸ØáԨอصสÒË¡ÃÃมä·ย ขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกันและพร้อมปฎิบัติ ได้อย่างเต็มที่ เช่น การพร้อมรับการลด อั ต ราภาษี ข าเข้ า ให้ เ หลื อ 0% การแก้ กฎหมายการลงทุนข้ามชาติของคนต่าง ชาติ การปรับปรุงสินค้าและบริการให้มี มาตรฐานมากขึ้น โดยรัฐบาลต้องมีการ ช่วยเหลือผู้ประกอบการขนาดกลาง และ ขนาดเล็ก ให้อยู่รอดให้ได้ต่อไป ขณะทีด่ ร.อนุสรณ์ ธรรมใจ คณบดี คณะเศรษฐศาสตร์ และผู้ อำ า นวยการ ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฎิ รูป กล่าวว่าการเปิดเสรีทางการค้า มีข้อดี หลายอย่าง ทั้งในระยะยาว และระยะสั้น การเป็นฐานผลิตเดียว ในภูมิภาคทำาให้ ตลาดที่มีขนาดใหญ่มากขึ้น อยู่ที่ว่าประ เทศไทยจะพัฒนาระบบการเมืองเศรษฐ กิจ ให้มีเสถียรภาพ มีวิสัยทัศน์ การคิดถึง ประโยชน์ ข องประเทศชาติ ใ ห้ ม ากที่ สุ ด และให้ดผู ลงานศึกษาวิจยั เพือ่ ความชัดเจน ในธุรกิจอุตสาหกรรมต่างๆ ต้องพัฒนา

ระบบขนส่งให้ทันสมัย ธุรกิจที่แข็งแรงจะ ปรั บ ตั ว ได้ ดี แ ละจะโตได้ เร็ ว ในขณะที่ ธุรกิจที่ไม่เข้มแข็ง จะชะงักงันและเกิดการ ชะลอตัว ซึ่งประเทศไทยได้เปรียบเรื่อง ธุรกิจการบริการ เช่นการท่องเที่ยว และ บริการทางการแพทย์ แต่จะเสียเปรียบ เรื่อง ทางสาขาวิชาชีพด้านอื่นๆ เป็นต้น โดยเราต้องมองให้หลายๆมิติ ประกอบกัน ความแตกต่างทางสังคม การเมือง วัฒน ธรรม และการอยู่ร่วมกันเป็นต้น “ทัง้ นีป้ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ผู้ที่จะได้ประโยชน์เต็มที่ คือธุรกิจการส่ง ออก ประเภทยานยนต์ สินค้าเกษตร และ เกษตรแปรรูปอุตสาหกรรมบริการการท่อง เที่ยว บริการทางการแพทย์ ซึ่งควรจะมี การพัฒนาสินค้าเพิ่มมูลค่า และลดต้นทุน เนื่องจากการขนส่งยังมีค่าใช้จ่ายที่สูงเกิน ไป ผู้ประกอบการยังไม่มีความสนใจใน ข้ อ มู ล ข่ า วสารของประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียน เท่าที่ควร ปัญหาความขัดแย้ง

มีส่วนร่วมจากชุมชนทั่วประเทศ ทั้งเชิง ระบบ กลไก และกระบวนการปฏิรูปการ ศึกษาและการเรียนรู้ และมีอำานาจหน้าที่ อย่างชัดเจน

(Participation) ในเชิงโครงสร้างองค์กรใน การปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ (Organization) และในการทำางานของกลไก ดังกล่าวให้นำาข้อเสนอทั้งหมดใน ข้อ ๘ ๑๒ ของเอกสารสมัชชาปฏิรูป ๒/หลัก ๖ ไปดำาเนินการ ทัง้ ในส่วนของการพัฒนาเด็ก ปฐมวัย การศึกษาทางเลือก การพัฒนา คุณภาพ ลดความเหลื่อมล้ำาในการจัดการ ศึกษาขั้นพื้นฐานตาม บริบทของท้องถิ่น เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต

๓. ให้คณะกรรมการส่งเสริมสังคม แห่งการเรียนรูแ้ ละพัฒนาคุณภาพเยาวชน คณะกรรมการกองทุนสนับสนุนการสร้าง เสริมสุขภาพ ดำาเนินการร่วมกับ องค์กร ภาคีต่างๆ ทั้งในภาครัฐ ภาคเอกชนและ ประชาสังคม เช่น สมาคมสภาการศึกษา ทางเลือกไทย กระทรวงเทคโนโลยีสาร สนเทศและการสื่ อ สาร องค์ ธุ ร กิ จ ภาค เอกชน เครือข่ายองค์กรสตรี เครือข่าย เยาวชน เครือข่ายจิตอาสา กลุ่มชาติพันธุ์ เครือข่ายชนเผ่าพืน้ เมือง เครือข่ายผูพ้ กิ าร และเด็กด้อยโอกาส เป็นต้น ขับเคลื่อน ให้การปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ มี ความต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นเป้าหมาย (Purpose) หลักการ (Principle) การมีสว่ นร่วม

๔. ให้มีกลไกการวิจัยและพัฒนา ระบบการศึกษาและการเรียนรู้เป็น ส่วน หนึ่ ง ของการปฏิ รู ป การศึ ก ษาทุ ก ระดั บ และเป็นกลไกสำาคัญในการพัฒนาโดยมุ่ง เน้ น การศึ ก ษาวิ จั ย เชิ ง ระบบ ด้ ว ยการ ทำางานร่วมกับภาคีเครือข่ายทางวิชาการ และภาคีในภาคประชาสังคมทั่วประเทศ ๕. ปรับหลักสูตรแกนกลางให้มุ่ง

• ศ.ดร.สมปอง

ทางการเมือง และเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ยังไม่ พร้อมทุกภาคส่วนที่กล่าวมา มีผลกระทบ มากมาย ซึง่ ประเทศไทย ต้องปรับตัวให้ได้ และมีการเตรียมพร้อมให้ดี เพือ่ นำามาปรับ ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อไป” ดร.ธวัชชัย ยงกิตติกุล เลขาธิการ สมาคมธนาคารไทย กล่าวว่า จะต้องให้ ความรู้ความเข้าใจ ต่อความหมายของ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนให้ชัดเจน จะ ได้พัฒนาคุณภาพและเตรียมความพร้อม ได้ดีกว่านี้ ผู้ประกอบการณ์รายใหญ่ได้ ประโยชน์แน่นอน แต่ที่ลำาบากน่าจะเป็น พวก SME เพราะคู่แข่งจะมีเพิ่มมากขึ้น การแย่งตลาดลูกค้ากันเอง ความไม่พร้อม รวมถึงคุณภาพของคน ที่ยังมีน้อยเกินไป ด้ า น ศ.ดร สมปอง สุ จ ริ ต กุ ล คณบดี คณะนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ชวี้ า่ การรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจ จะทำาให้ มีแรงผลักดันให้ก้าวไปข้างหน้าอย่างมีขั้น ตอน มี ก ารแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล อย่ า งเท่ า เทียมกัน เศรษฐกิจจะดีขึ้นและมีการขาด ดุลที่ลดน้อยลง ทั้งนี้ทางภาคเอกชนนั้นมี การตืน่ ตัวมากกว่าทางภาครัฐ มีการดิน้ รน เพื่อความอยู่รอดของธุรกิจในอนาคต เรา ต้องร่วมมือกัน ช่วยกันศึกษากันอย่างต่อ เนื่อง ทำาให้ดีขึ้น ทั้งการธนาคาร การคลัง การค้า จะต้องมีการพัฒนากันต่อไป ••• เน้นการพัฒนาท้องถิ่น ความรู้ในเรื่อง สิทธิชมุ ชน หน้าทีพ่ ลเมือง ทีม่ คี ณ ุ ธรรม จริ ย ธรรมนำ า หน้ า ตามหลั ก ปรั ช ญา เศรษฐกิจพอเพียง ให้สอดคล้องกับการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดย เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญให้เหมาะสมกับ สภาพวิถีชีวิตและชุมชน เพื่อให้ผู้เรียน ปรั บ ตั ว ให้ ทั น กั บ สภาพการเปลี่ ย น แปลงของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งภัย พิบัติทางธรรมชาติ

๖. เสนอให้ ค ณะกรรมการ สมัชชาปฏิรูป สนับสนุนให้มีการจัด สมัชชาปฏิรูปเฉพาะประเด็นเรื่องการ ศึกษา เพื่อให้ทุกภาคส่วนในสังคมเข้า มามีสว่ นร่วมในการแสดงความคิดเห็น และข้อเสนอ อย่างเท่าเทียมและนำามติ ไปขับเคลื่อนต่อไป •••

4/23/55 BE 3:51 PM


16

พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 พฤษภาคม 2555

ประกาศเจตนารม³์สมัชชาป¯ÔรูประดับชาตÔครั้งที่ 2

ตลอดกระบวนการสมั ช ชา ปฏิรูปที่ได้ดำาเนินการมาทั้งปี และการ ประชุมสมัชชาปฏิรูประดับชาติใน ๓ วั น นี้ พวกเราภาคี เ ครื อ ข่ า ยสมาชิ ก สมั ช ชาปฏิ รู ป ได้ ร่ ว มกั น ถกแถลง อภิ ป ราย แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ แลก เปลี่ยนความคิด จนได้ข้อยุติเป็นข้อ ตกลงร่วมกัน หรือที่เรียกว่า “ฉันทา มติ” โดยการผนึกกำาลังทั้ง ๕ ประการ ที่ประธานกรรมการสมัชชาปฏิรูปได้ กล่าวไว้ คือ พลังความถูกต้อง พลังแห่ง ความสามัคคี พลังทางปัญญา พลังแห่ง การจัดการและพลังสันติวิธี ที่จะนำาไป สู่ “การเพิ่มพลังพลเมือง สร้างความ เปนธรรม เพื่อลดความเหลื่อมลํ้าใน สังคม” เพื่อเป็นการสานต่อพลังความ ร่วมมือระหว่างทุกภาคส่วนในสังคม พวกเราที่ ม ารวมกั น อยู่ ณ ที่ นี้ จึ ง พร้อมใจกันประกาศเจตนารมณ์ในการ ผลักดันมติสมัชชาปฏิรปู ระดับชาติ ครัง้ ที่ ๒ ดังนี้ ประเด็นที่ ๑ การปฏิรูประบบ แรงงานและสวัสดิการ : การเพิม่ อำานาจ ต่อรองของแรงงาน การปรับโครงสร้าง ค่าจ้าง การเพิ่มผลิตภาพและการคุ้ม ครองแรงงาน มีมติที่สำาคัญคือ • การเลื อ กตั้ ง ของระบบไตร ภาคีให้แรงงานทุกคนออกเสียงได้ ๑ คน ๑ เสียง สนับสนุนการรวมตัวกันต่อ รองของแรงงาน และการจัดตัง้ ธนาคาร หรือกองทุนแรงงาน • ลูกจ้างทีท่ าำ งานในพืน้ ทีใ่ ดเกิน กว่า ๒ ปี ให้มีสิทธิเลือกตั้งและสมัคร รับเลือกตั้งของเขตพื้นที่นั้นๆ • แก้ไขคำานิยามค่าจ้างขัน้ ตำา่ ให้ แรงงานได้รับค่าจ้างที่เป็นธรรมเพียง พอเลีย้ งชีพตนและครอบครัวอีก ๒ คน • ให้จัดตั้งองค์กรอิสระรับรอง วิทยฐานะแรงงานทุกประเภท และให้ มีระบบสนับสนุนทางการเงินเพื่อการ พัฒนาฝีมือแรงงาน มีบริษัทกำาลังคน โดยร่วมทุนไตรภาคีเพื่อจัดการเรื่อง แรงงานไทยในต่างประเทศ มีสถาบัน วิจัยระบบและนโยบายแรงงานและมี กองทุนพิทักษ์สิทธิแรงงาน ประเด็นที่ ๒ การปฏิรูประบบ เกษตรกรรม : เพื่อความเป็นธรรมและ ความมัน่ คงทางอาหาร มีมติทสี่ าำ คัญคือ • ให้ เ กษตรกรรมยั่ ง ยื น เป็ น วาระแห่งชาติ และขับเคลือ่ นให้เกิดผล

������-������� 5.5.indd 16

ภายใน ๓ ปี • เร่งรัดให้มีการตราพระราช บัญญัติพัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืน และ พระราชบั ญ ญั ติ ว่ า ด้ ว ยการคุ้ ม ครอง เกษตรกรภายใต้ระบบการเกษตรแบบ พั น ธะสั ญ ญา ให้ แ ล้ ว เสร็ จ ภายในปี ๒๕๕๖ • ปฏิรูปกฎหมายและนโยบาย เพื่ อ สร้ า งความเป็ น ธรรมสำ า หรั บ เกษตรกรและผู้ บ ริ โ ภค เช่ น ให้ มี กฎหมายเกี่ยวกับเกษตรพันธะสัญญา กฎหมายกำากับดูแลธุรกิจค้าปลีกค้าส่ง กฎหมายส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น ระบบ เกษตรกรรมยั่ ง ยื น กฎหมายจั ด ตั้ ง สถาบันวิจัยระบบเกษตรกรรมยั่งยืน • มี ร ะบบการรั บ รองผลผลิ ต เกษตรอินทรียต์ ามมาตรฐานสากล และ ระบบสนับสนุนให้ผู้บริโภคได้เลือกซื้อ สินค้าเกษตรกรรมยั่งยืน ประเด็นที่ ๓ การปฏิรูปโครง สร้างอำานาจ สู่การปรับดุลอำานาจที่ เหมาะสมระหว่างรัฐบาลกับชุมชนท้อง ถิ่น มีมติที่สำาคัญคือ • ให้มีการออกระเบียบสำานัก นายกรัฐมนตรีเพือ่ ดำาเนินการโครงการ นำาร่องเรื่องการพัฒนาระบบงบประ มาณเพื่อลดความเหลื่อมลำ้าในสังคม • เสนอคณะรัฐมนตรีเพือ่ จัดตัง้ องค์กรอิสระเพื่อจัดทำาร่างกฎหมาย ปฏิรูปโครงสร้างอำานาจระหว่างส่วน กลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น • ผลั ก ดั น มติ ส มั ช ชาองค์ ก ร ปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อการปฏิรูปให้ บังเกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมใน ๑ ปี ประเด็นที่ ๔ การปฏิรูประบบ การเมือง : การพัฒนาความเข้มแข็งของ พลเมืองเพื่อปฏิรูปประเทศไทย มีมติที่ สำาคัญคือ

• ดำ า เนิ น การถ่ า ยโอนอำ า นาจ การบริหารจัดการจากส่วนกลางและ ส่วนภูมิภาคไปสู่ชุมชนท้องถิ่นให้เกิด ผลอย่ า งแท้ จ ริ ง ให้ ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น สามารถบริหารจัดการตนเองได้ • พั ฒ นาความเข้ ม แข็ ง ของ พลเมืองให้ตระหนักรู้ถึงหน้าที่ สิทธิ และมีสำานึกรับผิดชอบต่อสังคม • ปฏิรูปกฎหมายทั้งมวล ให้ ประชาชนมีส่วนร่วมโดยตรง และมี อำานาจในการตัดสินใจในกระบวนการ นโยบายสาธารณะทุกระดับ ทุกขัน้ ตอน รวมทั้งการเร่งรัดออก พ.ร.บ ว่าด้วย การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ประเด็นที่ ๕ การปฏิรูปโครง สร้ า งและกฎหมายด้ า นที่ ดิ น : การ บริหารจัดการที่ดิน มีมติที่สำาคัญคือ • ให้ มี ก ารจั ด สมั ช ชาปฏิ รู ป เฉพาะประเด็นเรื่องการจัดทำาข้อเสนอ นโยบาย แผน ปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการที่ดิน ภายในปี ๒๕๕๕ • ให้ มี ก ฎหมายการคุ้ ม ครอง

พืน้ ทีเ่ กษตรกรรมโดยกำาหนดมาตรการ ช่ ว ยเหลื อ และจู ง ใจให้ เจ้ า ของที่ ดิ น รักษาที่ดินเพื่อเกษตรกรรมเอาไว้ • เร่งรัดการดำาเนินงานตามมติ สมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้งที่ ๑ มติที่ ๑ เรือ่ งการปฏิรปู การจัดสรรทรัพยากร ที่ดินอย่างเป็นธรรมและยั่งยืน และมติ ที่ ๓ การคื น ความเป็ น ธรรมให้ แ ก่ ประชาชน กรณีที่ดินและทรัพยากร เพื่อประโยชน์ของประชาชน ประเด็นที่ ๖ การปฏิรูปการ ศึกษา : ปรับทิศทางการศึกษาเพือ่ สร้าง คุ ณ ภาพและลดความเหลื่ อ มลำ้ า ใน สังคม มีมติที่สำาคัญคือ • เพิ่มบทบาทและอำานาจของ ภาคชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ให้ เ ป็ น กลไกที่ มี บทบาทในการปฏิรูปการศึกษา • ปรับปรุงมาตรการการคลัง และวิ ธี จั ด สรรงบประมาณทางการ ศึกษาไปสู่ฐานชุมชนท้องถิ่นตามตัวผู้ เรียน • จั ด สมั ช ชาปฏิ รู ป เฉพาะ ประเด็นเรื่องการศึกษา ในนามของภาคี เ ครื อ ข่ า ย สมัชชาปฏิรูป พวกเราขอยืนยันว่าเรา จะยึดมั่นในคำาประกาศเจตนารมณ์นี้ เราจะช่วยกันเพิม่ พลังพลเมืองด้วยการ ร่วมแรงร่วมใจ ทีจ่ ะนำามติสมัชชาปฏิรปู ไปปฏิบัติ ขับเคลื่อนและติดตามให้เกิด ผลอย่างเป็นรูปธรรม เพือ่ นำาสังคมไทย ไปสู่สังคมที่มีความเป็นธรรม ลดความ เหลื่ อ มลำ้ า และเป็ น สั ง คมแห่ ง ความ อยู่เย็นเป็นสุขร่วมกันในที่สุด ประกาศ ณ วันที่ ๑ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๕ ณ ศูนย์นิทรรศการและ การประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ

¾Ñ¹¸¡Ô¨

ÁÕàÁç´·ÃÒ¹ѺäÁ‹¶ŒÇ¹¨íҹǹ·ÃÒ ·ÃÒ¨Ðá¡Ã‹§¡çà¾ÃÒм‹Ò¹¡ÒÅàÇÅÒ ¾Åѧ¢Í§¤ÇÒÁá¡Ã‹§áÅФÇÒÁ¡ÅŒÒ ¾ÅѧáË‹§ÁÇÅÁËÒ»ÃЪҪ¹ ¤ÇÒÁ¨ÃÔ§¤ÇÒÁ¶Ù¡µŒÍ§ µŒÍ§»ÃÒ¡¯ ÈÑ¡´ÔìÈÃÕ ¤ÇÒÁ໚¹Á¹ØÉ ³ ¸Ã³Ô¹ »¯ÔÃÙ»â¤Ã§ÊÌҧÇÒ§Ãкº »¯ÔÃÙ»»ÃÐà·Èä·ÂãËŒ¶Ù¡ÇÔ¸Õ à¾ÔèÁ¾ÅѧÁÇÅ»ÃЪÒãËŒ¡ÅŒÒ¹íÒ Å´¤ÇÒÁàËÅ×èÍÁÅéíÒãËŒÊÑÁÄ·¸Ôì

¤¹·Ñé§ËÅÒ¹ѺäÁ‹¶ŒÇ¹ã¹¤Ø³¤‹Ò ¤¹¨Ð¡ÅŒÒ¡çà¾ÃÒм‹Ò¹¡ÒÃÍ´·¹ ¢¨Ñ´à˵ØáË‹§»˜ÞËÒ㹷ء˹ ËÇÁºÑ¹´Å໚¹¾Åѧ¢Í§á¼‹¹´Ô¹ ¤ÇÒÁÍÑ»Åѡɳ ÍÑ»ÂÈ µŒÍ§ËÁ´ÊÔé¹ äÁ‹¶Ù¡ËÁÔè¹ ¶Ù¡ËÂÒÁ ¶Ù¡ÂèíÒÂÕ »¯ÔÃÙ»ãËŒ¤ÃºÇ§¨ÃÇÔ¶Õ »¯ÔÃÙ»¤ÇÒÁ´ÕãËŒªÕÇÔµ ÊÌҧ¤ÇÒÁ໚¹¸ÃÃÁãËŒÈÑ¡´ÔìÊÔ·¸Ôì ¹Õé¤×Í ¾Ñ¹¸¡Ô¨ »ÃЪҪ¹ Ï

• à¹ÒÇÃѵ¹ ¾§É 侺ÙÅ ÈÔÅ» ¹áË‹§ªÒµÔ/¡ÇÕ«Õäõ

4/23/55 BE 3:51 PM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.