ปีที่ 2 ฉบับที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2555
ขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ปฏิรูป ประชาชนจัดการตนเอง หน้า
วิบนสวรรค์ ถชี ลสเี ขียว หน้า
6
พลังขับเคลื่อน
16
เพื่อเปลี่ยนสังคม
รวมพลังต่อต้าน
คอร์รป ั ชัน ่ 8 เด่น
วิทยุชุมชน จับมือ HEALTH STATION
ในฉบับ
แนะท้องถิ่น บริหารจัดการภาษี ถ่วงดุลตรวจสอบ งบประมาณ
2 8
จังหวัด จัดการตนเอง ขับเคลื่อน คืบหน้า
15
2
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
รายงานพิเศษ • พฤทธ์ ขวัญเจริญ •
ศ.นพ. ประเวศ วะสี ประธาน กรรมการสมัชชาปฏิรูป (คสป.) ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “วิทยุชุมชน กับการสื่อสาร เพื่อการปฏิรูป ประเทศไทย” ในการประชุม เครือข่ายวิทยุชุมชนเพื่อการปฏิรูป ประเทศไทย เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2555 ที่ผ่านมา ว่า งานของเครือข่ายวิทยุชุมชน การสื่อสาร การรู้ทั่วถึงกันนั้น เป็นงานที่สำ�คัญ เพื่อสร้างความ ร่มเย็นเป็นสุขให้กับสังคมไทย “ในสมัยก่อนนั้น ความรู้อย่างใด อย่างหนึ่งกว่าจะเดินทาง ไปเผยแพร่ยังที่ ต่างๆต้องใช้เวลานานมาก มาวัน นี้เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลง ไปมีการสื่อสารเพิ่มขึ้น หลายช่ อ งทาง และ วิ ท ยุ ชุ ม ชนนั้ น เป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ ดี ที่ ส า มารถส่งต่อข้อมูลเข้า ถึงประชาชนในพื้นที่ ทั่ ว ประเทศ ได้ เ ป็ น อย่ า งดี โดยใช้ เ ครื อ ข ่ า ย วิ ท ยุ ชุ ม ช น
ปีที่ 2 ฉบับที่ 8 กันยายน 2555
ตอกย้ำ�ปฏิรูปประเทศ แก้ยากจน-อยุติธรรม ทั่วประเทศที่เรามีอยู่ ท�ำให้สามารถเชื่อม โยงข่าวสารและแลกเปลีย่ นข้อมูลได้อย่าง มีประสิทธิภาพ มากขึน้ ซึง่ เป็นสิง่ ทีส่ ำ� คัญ ทีจ่ ะให้ความรูแ้ ก่ประชาชน เพือ่ ให้รคู้ วาม หมายของสิ่งที่เราท�ำ” ส�ำหรับมนุษย์นั้นมีความหมาย ส� ำ คั ญ การส� ำ นึ ก ถึ ง ศั ก ดิ์ ศ รี ส� ำ นึ ก ถึ ง คุ ณ ค่ า ของความเป็ น คน การปฏิ รู ป ประเทศไทยนั้น มีความจ�ำเป็นอย่างมาก เพื่อแก้ปัญหาพื้นฐานของประเทศ คือ ความยากจนและความอยุตธิ รรมในสังคม ซึ่งเป็นเรื่องใหญ่ ประชาชนยังไม่มีความ มั่นคงในชีวิต คุณภาพของเยาวชนไม่มี ความแตกต่างในสังคมมีมาก มีช่องว่าง เกิดขึน้ มากมาย เป็นปัญหาทีแ่ ก้ยาก ทุก ประเทศในโลกล้วนประสบปัญหาเดียวกัน หมด เพราะเป็นปัญหาเชิงโครงสร้าง ศ.นพ. ประเวศ กล่าวย�้ำว่า ไม่ อยากให้ ค นไทยเอาแต่ ท ะเลาะกั น ใช้ ความรุนแรงต่อกัน เราต้องให้ประชาชน เป็นคนปฏิรปู ประเทศไทย ใน 3 ระดับคือ 1. ปฏิรูปตนเอง - ส�ำนึกในศักดิ์ศรี และ คุณค่าความเป็นมนุษย์ ทุกคนมีคุณค่า เสมอกัน มีศกั ยภาพในตัวเองทีจ่ ะท�ำอะไร ดี ๆ ในฐานะความเป็นมนุษย์ ทุกคนล้วน มีพลังที่ซ่อนอยู่ในตัวทั้งนั้น เราต้องปลด ปล่อยตัวเองออก มา เราต้องค้น พลังนั้นให้พบ 2 . ป ฏิ รู ป ระดับองค์กร โดย องค์กรชุมชน องค์ กรท้องถิ่น เราต้อง
ร่วมมือร่วมคิดร่วมท�ำจะได้มพี ลังเพิม่ มาก ขึ้น การรวมตัวกันสามารถยุติความไม่ดี ในสังคมได้ ร่วมกันให้ชมุ ชนจัดการตนเอง ให้ทอ้ งถิน่ จัดการตนเอง ให้จงั หวัดจัดการ ตนเอง เพราะทุกวันนี้มันเป็นการรวม ศูนย์อ�ำนาจ เป็นต้นเหตุของปัญหาใน ประเทศ ท�ำให้ระบบราชการไม่สามารถ ตอบสนองความต้ อ งการที่ แ ท้ จ ริ ง ของ ประชาชนได้ ต้องมีการกระจายอ�ำนาจมี การปฏิรูปโครงสร้างสังคมกันใหม่ 3. ปฏิ รู ป ระดั บ นโยบาย โดย สมัชชาระดับต�ำบล สมัชชาระดับจังหวัด สมัชชาเฉพาะประเด็น สมัชชาระดับชาติ ประชาชนนั้นต้องมีความเข้มแข็งจึงจะ สามารถปกป้องตัวเองได้ตวั อย่างประเด็น นโยบายก็คอื การกระจายอ�ำนาจให้ชมุ ชน ท้องถิ่นจัดการตนเอง งบประมาณและ ระบบภาษีเพื่อท้องถิ่น ปฏิรูประบบภาษี และการใช้ทรัพยากรอย่างเป็นธรรม สิทธิ ชุมชนในการจัดการทรัพยากร บทบาท มหาวิทยาลัยในการสนับสนุนชุมชนท้อง ถิ่ น การปฏิ รู ป ระบบความยุ ติ ธ รรม ประชาชนต้องเป็นผูป้ ฏิรปู ประเทศ อยาก ให้ทกุ คนเอามติของสมัชชาปฏิรปู ทัง้ 2 ปี
110วิทยุชุมชนจับมือ health station เพิ่มช่องทางเผยแพร่ข่าวสารปฏิรูป สปร.เดินเกมรุกปลุกวิทยุชุมชน 110 สถานี 77 จังหวัด ตั้งกรรมการเครือข่ายจับมือ สถานีวิทยุโทรทัศน์สุขภาพ แห่งชาติ เพิ่มพื้นที่เผยแพร่ ข่าวสารปฏิรูปให้เข้มข้น มีศักยภาพ ดร. วณี ปิ่ น ประที ป รองผู้ อำ�นวยการสำ�นักงานปฏิรูป (สปร) กล่าว ถึงโครงการส่งเสริมวิทยุชุมชนเพื่อการ
ปฏิรูป ว่า จะนำ�ข่าวสารของเครือข่าย ปฏิรูประดับจังหวัด มาเผยแพร่ ในสถานี ข่าวของสปร. เป็นหลัก และใช้ช่องทาง วิทยุชุมชน ในระดับพื้นที่ ในการสื่อสาร เพื่อการกระตุ้นจิตสำ�นึกของคนในชุมชน เป้าหมายเพื่อให้เครือข่ายวิทยุชุมชน ที่ เป็นพลังสำ�คัญในการขับเคลื่อนงาน ให้มี บทบาทเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน โดยเน้นการใช้สื่อที่มีความหลากหลาย ช่องทางและหลายรูปแบบ “ให้ มี ค ณะกรรมการบริ ห าร เครื อ ข่ า ยวิ ท ยุ ชุ ม ชน 10 คณะ เป็ น ผู้
ประสานงานภูมิภาคเครือข่ายวิทยุชุมชน เพื่อการปฏิรูป แต่ละภูมิภาคก็จะมีผู้ที่ทำ� หน้าทีเ่ ป็นประธาน คณะกรรมการ ปีนเี้ รา มีสถานีทั้งหมด ครอบคลุม 77 จังหวัด
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
ปีที่ 2 ฉบับที่ 8 กันยายน 2555
พลังขับเคลื่อน
3
เพื่อเปลี่ยนสังคม
กระจายอำ�นาจรัฐ เพิ่มอำ�นาจพลเมือง
มาทบทวน ท�ำความเข้าใจ ถึงบทบาทและ หน้ า ที่ ข องตั ว เอง เปรี ย บวิ ท ยุ ชุ ม ชน เหมือนกับเซลล์สมองของประเทศไทย มี ความส�ำคัญในการให้ขา่ วสาร ให้ขอ้ มูลแก่ ประชาชน “การปฏิรปู ประเทศไทยนัน้ จุดมุง่ หมายก็ คื อ ว่ า การท� ำ ให้ ป ระชาชนมา ท� ำ งานร่ ว มกั น โดยสั น ติ วิ ธี ไม่ มี ค วาม รุนแรง ไม่โกรธ ไม่เกลียด มาเป็นพีน่ อ้ งกัน มีแต่ความเคารพซึ่งกันและกัน มารวมตัว กัน ร่วมคิดร่วมท�ำ เป็นพลังทางสังคม เป็น พลังทางปัญญา มีพลังของความถูกต้อง ที่ เรามาช่วยแก้ไขความไม่เป็นธรรมในสังคม มี พ ลั ง ในการจั ด การเป้ า หมายจั ด การ ตนเองให้ ไ ด้ ร่ ว มช่ ว ยกั น ขั บ เคลื่ อ น ประเทศไทย เพือ่ แก้ปญ ั หาทุกอย่าง สร้าง โครงสร้างใหม่ เพือ่ การกระจายอ�ำนาจไป สูท่ อ้ งถิน่ ไม่มกี ารกระจุกตัวของอ�ำนาจไว้ ที่ใดที่หนึ่ง ปัญหาความยากจนและความ อยุติธรรมในสังคมก็จะหมดไป และช่วย ท�ำให้ประเทศไทยของเราดีขึ้น”
110 สถานี อยากเห็ น คณะกรรมการ บริหารเครือข่ายวิทยุชมุ ชน ปรึกษาหารือ กันเป็นประจำ� เพื่อจัดการข้อมูลข่าวสาร และประสานงานข้อมูลวิทยุชุมชน เป็นที่ ปรึกษา สนับสนุนและติดตามการดำ�เนิน งานของแต่ละสถานี” อย่างไรก็ตาม ปีนี้สถานีวิทยุ ชุมชนทีท่ ำ�งานกับสำ�นักงานปฏิรปู จะคอย ประสานงานกับสถานีวทิ ยุชมุ ชน ทีท่ ำ�งาน กับ health station คือ สถานีวิทยุ โทรทัศน์สุขภาพแห่งชาติ อีกด้วย เพื่อ การดำ�เนิ น งานของวิ ท ยุ ชุ ม ชนจะได้ มี ความเข้ ม แข็ ง และมี ศั ก ยภาพมากขึ้ น สามารถเผยแพร่ ข้ อ มู ล ข่ า วสารไปสู่ ประชาชนอย่างทัว่ ถึงและทำ�ให้ประชาชน ได้มโี อกาสแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับการ ปฏิรูปประเทศไทย ได้เพิ่มมากขึ้น
เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปแล้วว่าอ�ำนาจรัฐที่ กระจุกตัวอยูแ่ ต่ในส่วนกลางมาอย่างยาวนานได้กอ่ ให้เกิดปัญหานานาประการในประเทศไทยที่ยาก เกินจะแก้ไขได้ เพราะกลไกอ�ำนาจรัฐไม่ได้กระจาย และเพิ่มบทบาทให้ประชาชนในท้องถิ่นต่าง ๆ แก้ ปัญหาด้วยตนเอง ด้วยเหตุดังนี้จึงมีข้อเสนอให้เพิ่มอ�ำนาจ และบทบาทหน้าที่ให้ประชาชนโดยการถ่ายโอน อ� ำ นาจจากส่ ว นราชการและส่ ว นภู มิ ภ าคให้ แ ก่ ชุมชนท้องถิ่น ประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วน ท้องถิน่ และภาคประชาชนให้สามารถบริหารจัดการ พื้นที่ของตนเองได้ การถ่ายโอนอ�ำนาจดังกล่าวนั้นรัฐบาล จะต้องมอบให้คณะกรรมการกระจายอ�ำนาจให้แก่ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น โดยมี ก ระทรวง มหาดไทยร่วมเป็นแกนประสานกับหน่วยงานที่ เกี่ ย วข้ อ ง ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ภาคี เ ครื อ ข่ า ยองค์ ก ร ปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคีเครือข่ายองค์กรชุมชน และภาคประชาชน ร่วมด�ำเนินการ ทั้ ง นี้ ใ ห้ ค ณะกรรมการกระจายอ�ำนาจ ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการ กระจายอ� ำ นาจไปสู ่ ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น สิ ท ธิ ชุ ม ชน อ�ำนาจของประชาชนและสิทธิการมีสว่ นร่วมให้เกิด การปฏิบัติได้อย่างแท้จริง ทั้งในเรื่องของภารกิจ รายได้และบุคลากร ขณะเดียวกันองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทุ ก แห่ ง จะต้ อ งเปิ ด ช่ อ งทางและกลไกที่ จ ะให้ ประชาชนเข้ามามีสว่ นร่วมได้อย่างหลากหลายและ เปิดเผยในการบริหารกิจการของท้องถิ่น ทั้งงบ ประมาณ การจัดการทรัพยากร การจัดท�ำบริการ สาธารณะ การจัดท�ำแผนพัฒนาท้องถิน่ รวมถึงการ ตรวจสอบและประเมินผลการด�ำเนินงานด้วย แนวทางและวิธีการด�ำเนินการดังกล่าว กองบรรณาธิการวารสารปฏิรูปเห็นว่าจะเป็นการ เสริมสร้างพลังอ�ำนาจแก่ประชาชนในชุมชนท้องถิน่ ทุกแห่ง อันจะก่อให้เกิดความตระหนักและภูมใิ จถึง ความเป็นพลเมืองจนเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของใน การบริหารจัดการท้องถิ่นอย่างแท้จริง เปิดเป็นเวทีสาธารณะ ยิ น ดี รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ทรรศนะ วิพากษ์วจิ ารณ์ จาก นักวิชาการ ตลอดจนบุคคล ทั่ ว ไปและองค์ ก รเครื อ ข่ า ย เพื่ อ นำ�มาต่ อ ยอดแนวคิ ด แนวทางในการปฏิรูปประเทศไทย ให้ดำ�เนินไปในทิศทางที่ สร้ า งสรรค์ ให้ ผู้ อ่ า นพิ จ ารณาและวิ นิ จ ฉั ย โดยกอง บรรณาธิการไม่จำ�เป็นต้องเห็นด้วย >> วารสารรายเดือน
ที่นี่...สถานีปฏิรูป
• พลานุภาพ •
แรงกระเพื่อม“ปฏิรูป” ก า ร ป ร ะ ชุ ม ร ่ ว ม แ ล ก เปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างองค์กรภาคี เครื อ ข่ า ยที่ เ กี่ ย วข้ อ งในการ พิจารณายกร่างประเด็นนโยบาย และกลั่นกรองระเบียบวาระการ ประชุมสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ 3 ที่จะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 31 พฤษภาคม ถึง 2 มิถุนายนปี หน้า 2556 นั้น เป้าหมายหลักจากทีม่ กี าร
จดหมาย
> เจ้าของ : สำ�นักงานปฏิรูป เลขที่ 126/146 ชั้น 4 อาคาร 10 ชั้น สถาบันบำ�ราศนราดูร ถนนติวานนท์ ซอย 14 ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทรศัพท์ 02-965-9531-3 โทรสาร 02-965-9534 www.reform.or.th
เสนอทัง้ 11 ประเด็นนัน้ เพือ่ ให้ เกิดแรงกระเพื่อมที่กระทบต่อ สังคมวงกว้างมากขึ้น ๆ เป็น ล� ำ ดั บ เหมื อ นการโยนก้ อ น หิ น ลงไปในน�้ ำ แล้ ว เกิ ด แรง กระเพื่อมขยายออกไปเป็นวง กว้างและกว้างออกไปเรื่อยๆ แน่นอนที่สุด “แรงกระ เพื่อม” ดังว่านี้ ย่อมเป็นผลสืบ เนื่องมาจากมติสมัชชาปฏิรูป ระดับชาติที่ 2 ครั้งที่ ผ่านมา ทัง้ 14 ประเด็น ซึ่งหลายประเด็นก็ยัง สร้างแรงกระเพื่อมจน ก่อให้เกิดการเปลี่ยน แปลงขึ้นตามล�ำดับ ที่ เ ห็ น เป็ น รู ป ธรรมชัดเจน คือ มติที่ 4 การปฏิ รู ป ระบบ ป ร ะ กั น สั ง ค ม เ พื่ อ ความเป็นธรรม (จาก สมัชชาครั้งที่ 1) จาก พ.ร.บ.ประกันสังคมที่ มีผลบังคับใช้แล้วขยาย ความครอบคลุ ม ไป ยังลูกจ้างชั่วคราวทุก
> คณะที่ปรึกษา
ศ.นพ.ประเวศ วะสี นพ.วิชัย โชควิวัฒน นพ.อำ�พล จินดาวัฒนะ นพ.สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ นพ.ชูชัย ศุภวงศ์ ทพ.กฤษฎา เรืองอารีรัชต์ รศ.ดร.วิลาสินี อดุลยานนท์ กรรณิการ์ บรรเทิงจิตร ดร.วณี ปิ่นประทีป
> บรรณาธิการบริหาร ทรงวิทย์ ดลประสิทธิ์
> กองบรรณาธิการ พัชรา อุบลสวัสดิ์ สุรศักดิ์ บุญเทียน ปนัดดา ขาวสะอาด ครรชิต ปิตะกา วิไลวรรณ สิริสุทธิ์
ประเภทของส่วนราชการ นี่ เ ป็ น เพี ย งหนึ่ ง ในหลาย รูปธรรมที่เป็นผลมาจากมติสมัช ชาปฏิรูประดับชาติที่ผ่านมา ซึ่งมี การติดตามความคืบหน้ามาอย่าง ต่ อ เนื่ อ ง จากผู ้ ที่ มี บ ทบาททั้ ง บุคคลและองค์กรที่เกี่ยวข้องช่วย กันผลักดัน แม้วา่ บางมติและหลายมติ ที่ส�ำนักงานปฏิรูป ซึ่งเป็นองค์กร หลักในการขับเคลื่อนจะรายงาน และน� ำ เสนอรั ฐ บาลหรื อ คณะ รัฐมนตรี (ครม) จะมีเสียงตอบรับ เพียงค�ำว่า “ครม.รับทราบ” หรือ มอบให้ ห น่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ด�ำเนินการ (แต่ไม่มีการติดตาม ผล) เท่านั้น หากบางมติหรือหลายมติ ไม่มีการติดตามแบบเกาะติดจาก คณะท� ำ งานขั บ เคลื่ อ นปฏิ รู ป หลาย ๆ คณะแล้ว มติเหล่านั้น คงจะมลายหายสาปสูญ หรือถูก แช่ แ ข็ ง อยู ่ ใ นท� ำ เนี ย บรั ฐ บาล เท่านั้น นีค่ อื อันตรายและผลเสียที่ ส�ำคัญของการรวมศูนย์อ�ำนาจไว้ ที่ส่วนกลาง องค์กรภาคีเครือข่ายปฏิรปู ต่าง ๆ รวมทัง้ ภาคประชาสังคม จึง ไม่ควรรอความหวังจากอ�ำนาจรัฐ มาแก้ปัญหาอีกต่อไป นงลักษณ์ ยอดมงคล พฤทธิ์ ขวัญเจริญ บัญชา เทียนดำ� วันวิสา แสงทิม จิตติมา อุ้มอารีย์ รัฐวรรณ เฮงสีหาพันธ์ > กราฟฟิคและผลิต สุพรรณี สุวรรณศรี โดย บริษทั ชินเซียงซ้ง มีเดีย กรุ๊ป จำ�กัด นาตยา แท่นนิล สายใจ ปัสตัน พรทิพย์ เชื้องาม อาภาภรณ์ กิจศิริ
4
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
ปีที่ 2 ฉบับที่ 8 กันยายน 2555
เรื่องจากปก
• กองบรรณาธิการ •
ปัญหาคอร์รัปชั่นเป็นปัญหาใหญ่ของประเทศที่ทวีความรุนแรงขึ้นเป็น ลำ�ดับล่าสุด 42 องค์กรภาคีเครือข่ายต่อต้านคอร์รัปชั่น กำ�หนดให้ทุกวัน ที่ 6 กันยายนของทุกปี เป็น “วันต่อต้านคอร์รัปชั่นแห่งชาติ” ปีนี้จัดงาน ณ ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ขณะที่เครือข่ายธุรกิจภาคเอกชนสัญจร จัดรณรงค์ต้านคอร์รัปชั่นทุกรูปแบบ
รวมพลัง ต่อต้าน
คอร์รป ั ชัน ่
ทั้งนี้อดีตรองนายกรัฐมนตรี ดร.ศุภชัย พานิชภักดิ์” เลขาธิการที่ ประชุ ม สหประชาชาติว่าด้วยการค้า และการพัฒนา (อังค์ถัด) มองภาวะ เศรษฐกิจปี 2556 ว่า ภาพจริงของ เศรษฐกิจนั้น จะเริ่มออกมาในปีหน้า และจะเลวร้ายหากรัฐบาลฉีดเงินเข้าไป ในระบบผ่านการลงทุนโครงการรัฐ แต่ เงินหายไปใต้โต๊ะ 25-30% ปริมาณเงิน ที่ไม่มากพอ จะไปหมุนฟันเฟืองเศรษฐ
กิจให้เดินหน้าต่อไปได้ ตัวชี้เป็นชี้ตาย ของรัฐบาลที่มีงบประมาณขาดดุลสูง หาได้ไม่พอใช้คือตัวเลขหนี้ หากรัฐบาล แก้ไขปัญหาคอร์รัปชั่นไม่ได้ หรือไม่ จริงใจแก้ไขปัญหานี้ เศรษฐกิจก็จะเลว ร้ายลงแน่นอน ขณะที่ อ ดี ต รั ฐ มนตรี ว ่ า การ กระทรวงการคลัง ดร.สมคิด จาตุศรี พิทักษ์ ยอมรับก่อนหน้านี้ว่าความหวัง ของประเทศวันนี้คือภาคเอกชน ซึ่งมี
การต่อต้านการทุจริต เป็นการตอบแทนบุญคุณแผ่นดิน นายปานเทพ กล้าณรงค์ราญ ประธานคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริต แห่งชาติ (ป.ป.ช.) การขับเคลือ่ นแผนยุทธศาสตร์ ของ ป.ป.ช.นั้ น ได้ มี ก ารประกาศ เจตนารมณ์ของเครือข่าย ป.ป.ช. รวม 3 ข้อ ประกอบด้วย 1. ส่งเสริมและสนับสนุนการ บริ ห ารจั ด การของภาครั ฐ ภาครั ฐ วิสาหกิจ ภาคธุรกิจเอกชน และทุก ภาคส่ ว นให้ ใ ช้ ห ลั ก ธรรมาภิ บ าล บรรษั ท ภิ บ าล ยึ ด มั่ น ในคุ ณ ธรรม จริยธรรม โดยเฉพาะความโปร่งใสและ ความซื่อสัตย์สุจริต 2. กล้ายืนหยัดที่จะเฝ้าระวัง ตรวจสอบการใช้ อ� ำ นาจหรื อ การ ด�ำเนินงานของภาครัฐ ด้วยความชอบ
ธรรม รวมทั้งแจ้งข้อมูลเบาะแส อัน จะเป็นประโยชน์ต่อการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริต และ 3. ถือว่าการรณรงค์ต่อต้าน การทุจริต เป็นภารกิจของทุกคนใน ชาติและเป็นการตอบแทนบุญคุณแผ่น ดิน ตลอดจนสร้างเครือข่ายให้เข้มแข็ง และยั่ ง ยื น เพื่ อ ขยายผลเจตนารมณ์ ให้ ก ว้ า งขวางครอบคลุ ม ทั่ ว ทั้ ง แผ่ น ดินไทย
• ประมนต์ สุธีวงศ์
ความพร้อมทั้งปัญญาและบุคลากรถ้า ภาคเอกชนไม่ส่งเสริมไม่ขยับเขยื้อน ประเทศไทยก็จะถดถอย มีหลายอย่าง ทีภ่ าคเอกชนริเริม่ เช่นหอการค้าเริม่ ต่อ ต้านการคอร์รัปชั่นโดยไม่ต้องรอให้ใคร ริเริม่ น่าจะสะท้อนได้วา่ เราสามารถเดิน ไปข้างหน้าได้โดยไม่ต้องมีคนชี้น�ำ “เอกชนพูดวันนีเ้ ป็นเสียงดังๆ ที่สะท้อนไปยังรัฐบาล ท�ำอย่างไรจะน�ำ ไปสูก่ ารปฎิบตั ไิ ด้ซงึ่ ต้องช่วยกันคิดช่วย กันท�ำให้เกิดความเป็นกลางไม่ฝักใฝ่ ฝ่ายใด” ส่วน น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรั ฐ มนตรี ประกาศเจื้ อ ยแจ้ ว แนวทางการด�ำเนินการระยะต่อไปของ รัฐบาลในการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่น หากเรามาร่วมกันในการหยุคอร์รัปชั่น สิง่ ทีจ่ ะได้รบั ออกมาคือความเชือ่ มัน่ ของ ประเทศไทย วันนีห้ ลาย ๆ ประเทศทีจ่ ะ ตัดสินใจมาลงทุนเขาต้องดูในความเชื่อ มั่นการลงทุน ความโปร่งใสในการท�ำ ธุรกิจต่างๆ ส่งผลถึงเรื่องภาพลักษณ์
ของประเทศ ด้ า นศู น ย์ วิ จั ย มหาวิ ท ยาลั ย กรุงเทพ (กรุงเทพโพลล์) ส�ำรวจความ เห็นนักเศรษฐศาสตร์ เรื่อง “พ.ร.บ.งบ ประมาณรายจ่ายประจ�ำปี 2556” พบ ว่าสิ่งที่นักเศรษฐศาสตร์กังวลมากที่สุด เกี่ยวกับการใช้งบประมาณ คือ การ ทุจริตคอร์รปั ชัน่ ร้อยละ 57.8 การใช้งบ ประมาณในโครงการประชานิยม ร้อย ละ 20.3 และความไม่มปี ระสิทธิภาพใน การใช้เงินงบประมาณ ร้อยละ 12.5 ผศ.ดร.ณัฐฐา วินิจนัยภาค ผู้ อ�ำนวยการศูนย์สำ� รวจความคิดเห็นของ ประชาชน “นิด้าโพล” สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) กล่าวถึงผล การส�ำรวจพฤติกรรมการทุจริตคอร์รัป ชั่น ว่า พฤติกรรมที่ประชาชนคิดว่า เป็ น การทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น มากที่ สุ ด อันดับแรกกว่า 94.55% คือ การวิ่งเต้น ให้ได้ต�ำแหน่งและซื้อต�ำแหน่ง อันดับ ต่อมา 93.86% คือ การรับเงินเพื่อลง คะแนนเสียงให้กับนักการเมือง และ อันดับสาม 92.10% คือ การรีดไถจาก เจ้าหน้าที่ของรัฐ ล่าสุดวันที่ 22 สิงหาคม นาย ประมนต์ สุธีวงศ์ ประธานกรรมการ เครือข่ายภาคธุรกิจเพือ่ การปฏิรปู กล่าว ว่ า ปั ญ หาคอร์ รั ป ชั่ น ในประเทศไทย รุนแรงมากขึ้นทุกปี ในปี 2554 ไทยอยู่ ในอันดับที่ 80 สูงขึ้นจากล�ำดับที่ 78 ใน 183 ประเทศทั่วโลกที่มีปัญหาการ คอร์รัปชั่น ซึ่งเป็นไปในทิศทางเดียวกับ ผลส�ำรวจของศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจ และธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ที่พบว่า สถานการณ์ ค อร์ รั ป ชั่ น ของ ประเทศไทย ประจ� ำ เดื อ นมิ ถุ ย ายน 2555 ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นโดย เฉพาะผลส�ำรวจล่าสุดดัชนีความเชือ่ มัน่ ต�่ำลงมาอยู่ที่ 3.5 คะแนน จากคะแนน เต็ม 10 ซึ่ง ถือว่าการแก้ปัญหาคอร์รัป ชัน่ ของประเทศไทยยังสอบตก เชือ่ ว่าใน ปี 2556 ปัญหาคอร์รปั ชัน่ จะเกิดมากขึน้ จากงบประมาณ 3.4 แสนล้านบาท ของ โครงการบริหารจัดการน�้ำอย่างยั่งยืน ของภาครัฐ
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
ปีที่ 2 ฉบับที่ 8 กันยายน 2555
“อั น ดั บ ดั ง กล่ า วนั บ เป็ น สั ญ ญาณที่ น ่ า ตกใจส� ำ หรั บ ประเทศไทย และหากประชาชนคนไทยยั ง คิ ด ว่ า ปัญหาการทุจริตคอร์รปั ชัน่ เป็นเรือ่ งของ ชาติ ไม่ใช่ของตัว และไม่มาร่วมกันสอด ส่ อ งป้ อ งกั น และต่ อ สู ้ ป ั ญ หาการ คอร์รัปชั่น ในอนาคตประเทศไทยจะ ไม่ เ หลื อ อะไรให้ ลู ก หลานพวกเราอี ก ต่อไป” ส� ำ หรั บ การจั ด งาน “วั น ต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั่ น แห่ ง ชาติ ประจ� ำ ปี 2555” นั้นหลังจากภาคีฯ ได้จัดตั้งและ ด�ำเนินการมาเป็นเวลากว่า 1 ปี เพื่อต่อ ต้านการคอร์รปั ชัน่ ทีเ่ กิดขึน้ ในสังคมไทย ผ่านยุทธศาสตร์ 3 ป. คือ ป้องกัน ปลูก ฝัง และร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ ปราบปราม มีการด�ำเนินงานต่อเนือ่ งใน หลายรูปแบบ โดยการจัดกิจกรรมรวม พลังสร้างกระแสต่อต้านคอร์รัปชั่นในปี นี้ ได้ รั บ ความสนใจและร่ ว มมื อ จาก บุ ค คลหลายฝ่ า ย ที่ จ ะมาสะท้ อ นให้ เห็ น ถึ ง อุ ป สรรคในการต่ อ สู ้ กั บ การ คอร์รัปชั่น ขณะเดียวกัน จะร่วมกันเสนอ แนะวิธกี ารในการหลีกเลีย่ งหรือต่อสูก้ บั การทุจริตคอร์รัปชั่น โดยแนวคิดของ การจัดงานรวมพลังเปลีย่ นประเทศไทย ในปีนี้ ต้องการให้ภาคธุรกิจลุกขึ้นมา
เป็นพลังขับเคลื่อนและเปลี่ยนแปลง ประเทศไทยให้ก้าวพ้นจากปัญหาดัง กล่าว ซึ่งสะสมมานาน เป็นอุปสรรค ส�ำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ของประเทศ จึงได้เชิญ ศาสตราภิชาน ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ บรรยายพิเศษ เรื่อง “ร่วมกันปลุกกระแสตื่นตัวของ ภาคธุรกิจ เพื่อต่อต้านคอร์รัปชั่น” รวม ถึง คุณมีชัย วีระไวทยะ จะน�ำประสบ การณ์ตรงมาน�ำเสนอในหัวข้อเรือ่ ง “จะ ท�ำให้การต่อต้านคอร์รัปชั่นเป็นวาระ แห่งชาติได้อย่างไร” ตลอดจนการแสดง พลังและแถลงการณ์ของเยาวชนจาก กลุ่มศึกษานอกระบบ โครงการโตไปไม่
เครือข่ายธุรกิจภาคเอกชนสัญจร ปฏิรูปประเทศ - ปฏิเสธคอร์รัปชั่น ผู้สื่อข่าวรายงาน เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2555 ว่านายเกรียงไกร เธียรนุกุล รองประธานสภาอุตสาห กรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) กล่าว ในการสัมมนา “ปฏิรูปประเทศไทย ปฏิเสธคอร์รัปชั่น” จัดโดยส�ำนักงาน ปฏิรูป (สปร.) ร่วมกับเครือข่ายภาค ธุรกิจเพื่อการปฏิรูปสัญจรและคณะ กรรมการร่ ว มภาคเอกชน (กกร.) หอการค้าไทย หอการค้านครปฐม และ สภาอุตสาหกรรมนครปฐม ว่า ในอดีต การโกงอาจดูเล็กน้อย แต่ในปัจจุบัน มี ก ารพั ฒ นาต่ อ เนื่ อ งจนกลายเป็ น อุ ต สาหกรรม ซึ่ ง ภาคเอกชนก� ำ ลั ง รณรงค์ให้เครือข่ายภาคธุรกิจ ต่อต้าน การคอร์รัปชั่นทุกรูปแบบ รวมถึงการ กระตุ้นให้เกิดกฏหมายที่มีความเข้ม แข็ง “ปัจจุบนั ภาคอุตสาหกรรมได้ รับเรื่องร้องเรียนเพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวน มาก เช่น การขออนุญาตตั้งโรงงาน ที่
ผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องเพิม่ กฎระเบียบ จนท�ำให้ มีช่องโหว่และน�ำไปสู่การทุจริตมากขึ้น กล่าวคือ เมื่อมีระเบียบที่ยุ่งยากมากขึ้น เปอร์เซ็นต์ที่เจ้าของโรงงานจะต้องจ่ายก็ เพิม่ ขึน้ ในขณะเดียวกันการตรวจสอบและ ควบคุมดูแลกลับไม่มีมาตรฐาน” ด้ า น นายวิ ช า กุ ล กอบเกี ย รติ ประธานชมรม CSR สมาคมธนาคารไทย กล่าวว่าการคอร์รัปชั่นเป็นเสมือนสนิมที่ เกาะกินเหล็ก ซึ่งอาจจะไม่ผุกร่อนในทันที แต่หากปล่อยทิง้ ไว้อาคารทัง้ หลังก็สามารถ พังทลายได้ ซึ่งสิ่งที่น่ากลัวที่สุดในสังคม ไทยตอนนี้คือ ค่านิยมผิด ๆ ที่มองว่าโกง เป็นเรือ่ งธรรมดา ซึง่ มี 3 สิง่ ทีจ่ ะต้องรีบท�ำ คือ ปราบปราม ป้องกัน และปลูกฝัง ซึ่ง การปลู ก ฝั ง นั บ ว่ า เป็ น สิ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด เพราะจะสามารถฝังรากลึกลงไปในสร้าง จิตส�ำนึกของคนไทย “โทษของการคอร์รัปชั่น ประเทศ ชาติมโี อกาสทีจ่ ะสูญเสียสูงมาก เป็นปัญหา ทีส่ ง่ ผลต่อการพัฒนาประเทศ ส่วนระเบียบ
• เกรียงไกร เธียรนุกุล
และกฎหมายต้องมีความเด็ดขาดมากกว่า ที่เป็นอยู่ ขณะเดียวกันก็สร้างสิ่งที่ดีที่จะ สามารถสืบทอดไปยังรุ่นต่อไปในอนาคต ได้” นางเครือวัลย์ สมณะ กรรมการ ธรรมาภิบาลหอการค้าไทย กล่าวว่าเมือ่ เรา เข้าใจปัญหาก็จะพบทางออก ฉะนั้นการ สร้างความเข้าใจจึงเป็นสิ่งส�ำคัญ เพราะ การทุจริตคอร์รัปชั่น มีมาตั้งแต่อดีต เพียง แต่ มี ก ารเพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งน่ า ตกใจ จนใน
5
โกง ศูนย์คุณธรรม และทูตความดี นอกจากนี้ ยังจะน�ำกรณีศกึ ษา การทุจริตคอร์รัปชั่นในอดีตที่เป็นประ เด็นในความสนใจของสังคมไทย ออก มาเผยแพร่ในรูปแบบสารคดี รวมถึง การจั ด เสวนากลุ ่ ม ย่ อ ย ในประเด็ น ส�ำคัญของสังคมไทย โดยมีตัวแทนจาก หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กร อิสระ ภาคการศึกษา ภาคประชาชน สื่อมวลชน รวมถึงเยาวชน ร่วมแสดง พลั ง พร้ อ มทั้ ง แสดงความคิ ด เห็ น ต่ อ อนาคตของประเทศไทยอี ก กว่ า 1,500 คน
ปัจจุบนั เรียก “การปล้นชาติ” ก็วา่ ได้ ซึ่งการแก้ปัญหานั้นเป็นเรื่องยากยิ่ง แต่อย่างน้อยก็สามารถท�ำให้ลดน้อย ลงได้ คือการท�ำให้คนเห็นว่าการทุ จริตคอร์รัปชั่นเป็นเรื่องเลวร้าย “หากประเทศไทยสามารถ ลดปัญหาการคอร์รัปชั่นได้ ก็เปรียบ เสมือนสาวงาม ทีต่ า่ งก็มผี คู้ นหลงใหล เพราะเมืองไทยเป็นเมืองอู่ข้าว อู่น�้ำ มีทรัพยากรที่อุดมณ์สมบูรณ์ และมี ธรรมชาติที่สวยงาม” ขณะที่ ดร.วิชาญ จ�ำปาขาว รองประธานหอการค้าจังหวัดนคร ปฐม ได้กล่าวถึงความคืบหน้าของ “โครงการ 1 บริษัท 1 ชุมชน” เพื่อ สนั บ สนุ น โยบายลดความเหลื่ อ ม ล�้ำและการกระจายรายได้ ซึ่งพบ ว่าเกษตรกรมีรายได้สูงขึ้น ปลดหนี้ สินได้ มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น สามารถ พัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น คาดว่า โครงการนี้ จ ะสร้ า งต้ น แบบและ องค์ ค วามรู ้ ใ ห้ กั บ เกษตรกร และ ขยายไปยังชุมชนอื่น ๆ ทั่วประเทศ ในอนาคต
6
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
ปีที่ 2 ฉบับที่ 8 กันยายน 2555
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
ปีที่ 2 ฉบับที่ 8 กันยายน 2555
บทกวี “หมอประเวศ” ระบุไทยเข้าสู่ยุคพลิกผันใกล้ “มิคสัญญี กลียุค” ยันการปฏิรูปคือทางรอด พร้อมเดินหน้าเพิ่มพลังให้ชุมชนเข้มแข็ง จัดการตนเอง ท้องถิ่นจัดการตนเอง และจังหวัดจัดการตนเอง รอกฎหมายเปิดช่องเคลื่อนไหวทั้งแผ่นดิน ให้ประชาชนจัดการตนเอง
นพ.ประเวศ วะสี ประธานกรรมการสมัชชา ปฏิรูป (คสป.) กล่าวระหว่างเป็นประธานจัดประชุมภาคี ส่งเสริมชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเองว่า การประชุมครั้งนี้ ถือเป็นการวางยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศไทย หรือ การปฏิรูปประเทศไทย ที่มีการปกครองแบบรวมศูนย์ อ�ำนาจอยู่ที่เดียวมา 100 กว่าปี และมีการเปลี่ยนอ�ำนาจ บ่อยครั้ง เขียนรัฐธรรมนูญมา 18 ฉบับ แต่โครงสร้างการ บริหารประเทศกลับไม่เคยเปลี่ยน ซึ่งตราบใดที่ยังรวม ศูนย์อ�ำนาจที่เดียว ก็จะเกิดปัญหาอย่างที่เป็นอยู่ทุกวันนี้ “ขณะนี้ประเทศไทยก�ำลังเคลื่อนไปสู่จุดพลิก ผันหรือที่เรียกว่า “มิคสัญญี กลียุค” ซึ่งจะเกิดความ รุนแรงขนาดใหญ่ โดยมีการดึงให้ประชาชนไปตาย เพื่อ เป็นเครื่องมือการต่อสู่เพื่อคนบางคน ดังนั้นการปฏิรูป ประเทศไทยจะเป็นการช่วยป้องกันได้ ซึ่งขณะนี้มีความ ชัดเจนทั้งแนวความคิด เครื่องมือและคนท�ำงานแล้วซึ่ง
นพ.ประเวศวางยุทธศาสตร์ปฏิรูป ขับเคลื่อนประชาชนจัดการตนเอง พร้อมทีจ่ ะขับเคลือ่ นเดินหน้าปฏิรปู ประเทศไทยต่อไปได้ ขณะทีช่ มุ ชนเข้มแข็งก็ตอ้ งเดินหน้าต่อไป ท้องถิน่ เข้มแข็ง ก็ต้องเดินหน้าต่อไป” นพ.ประเวศ กล่ า วว่ า การขั บ เคลื่ อ นระดั บ จังหวัดจะไม่ท�ำครั้งใหญ่ครั้งเดียวทุกจังหวัด แต่จะทยอย เดินหน้าไปทีละจังหวัด ซึ่งจะมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วย กันท�ำ อาทิ ส�ำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนองค์การมหาชน (พอช.) โดย จะใช้แนวคิดของจังหวัดอ�ำนาจเจริญ เชียงราย เชียงใหม่ และภูเก็ต มาเรียนรู้และปรับใช้ในจังหวัดของตนเอง นอกจากนีย้ งั มอบหมายให้สภาพัฒนาการเมือง ไปท�ำการส�ำรวจและทบทวนว่ามีก�ำลังคนมีผู้น�ำอยู่ใน จั ง หวั ด กี่ ค นและกี่ จั ง หวั ด แต่ ล ะจั ง หวั ด ต้ อ งการให้ ส�ำนักงานปฏิรปู (สปร) สนับสนุนอะไรบ้าง ตลอดจนมอบ หมายให้ผู้เกี่ยวข้อง เตรียมความพร้อมเรื่องการสื่อสาร
เปลี่ยนโจทย์ปรับทิศทางปฏิรูป เน้นชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง เลขาฯสถาบันชุมชนท้องถิ่น พัฒนาชี้ปัญหาประเทศ รอรัฐบาลแก้ไม่ไหว แนะปรับทิศ ปฏิรูปให้ชุมชนท้องถิ่นรากหญ้า จัดการตนเอง ระบุพ.ร.บ.สภา องค์กรชุมชนเปิดช่องใช้การเมือง ภาคประชาชนขับเคลื่อน นพ. พลเดช ปิน่ ประทีป เลขาธิการสถาบัน ชุมชนท้องถิ่นพัฒนา กล่าวถึงแนวโน้มสถานการณ์ การปฏิรปู ประเทศไทย ว่า ขณะนีก้ ารบริหารงานของ รัฐบาลปัจจุบัน มีปัญหาเกิดขึ้นหลายเรื่องรวมทั้ง ปัญหาการแก้รฐั ธรรมนูญทีย่ งั คงเป็นประเด็นร้อนอยู่ ดังนั้นถ้าจะรอให้รัฐเข้ามาแก้ไขปัญหาคงจะใช้เวลา อีกนาน ดังนัน้ การจัดการตนเองจากฐานรากจึงเป็น ปัจจัยส�ำคัญของขบวนการปฏิรูปประเทศไทย ซึ่งที่ ผ่านมา 2 ปีและเข้าสู่ปีที่ 3 เราจึงเน้นปรับทิศทางให้ จังหวัดจัดการตนเอง ท้องถิ่นจัดการตนเอง พึ่งพา ตนเอง โดยใช้การเมืองภาคประชาชนเป็นหลัก “ขบวนการการเมืองภาคประชาชนนั้น
ส่วนใหญ่จะมีมติ ใิ นด้านการสร้างสรรค์ บางครั้งหน่วยงานรัฐมองในแง่ลบ จึง อยากให้ใช้สมาธิในการจัดการตนเอง ให้มาก ก�ำหนดและจัดการตนเองใน ระดับครอบครัว ในระดับชุมชน ใน ระดับท้องถิ่น เป็นหลักปฏิบัติ จะไม่ ฝากชะตากรรมตนเองไว้กบั ผูอ้ นื่ มอง ดูทิศทางและจุดยืนของตัวเองให้ดี ๆ แบ่งงานกันท�ำ ไม่หวงงาน ไม่หวงข้อ มูล มีอะไรก็มาร่วมกันคิดร่วมกันท�ำ ต้องคอยหนุนเสริมกัน” นพ. พลเดช กล่าวว่าจังหวัด จัดการตนเองนั้น ยังเป็นนโยบายเชิง รูปธรรม แต่ชุมชนจัดการตนเองเป็น สิ่งที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรมมากกว่า สามารถจับต้องได้ รับรู้ได้ถึงปัญหาที่ เกิดขึ้นได้จริง ๆ ขณะนี้มี พรบ. สภา องค์กรชุมชน เป็นกฎหมายที่ถือเป็น ความส�ำเร็จทีท่ ำ� ให้องค์กรชุมชนต่าง ๆ จัดตั้งเป็นสภาได้ มีกระบวนการที่จะ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการประชุม สร้าง ความเข้มแข็ง มีการพัฒนาไปด้วยกัน
รวมทั้งเรื่องการเขียนธรรมนูญฉบับใหม่ ซึ่งเป็นประเด็น ส�ำคัญและให้รายงานความก้าวหน้าในเดือนกันยายนนี้ อย่างไรก็ตามการปฏิรปู ประเทศไทยโดยให้จงั หวัดจัดการ ตนเองนั้น หากท�ำได้ก็จะเป็นเรื่องที่ดีมาก “ส�ำนักงานปฏิรูป ได้ด�ำเนินการผลักดันให้ ชุมชนจัดการตนเอง ท้องถิน่ จัดการตนเอง จังหวัดจัดการ ตนเอง และกลุ่มจังหวัดจัดการตนเอง ตามล�ำดับ เพื่อรอ กฎหมายที่ส่งเสริมสนับสนุนคนในพื้นที่ให้มีการเคลื่อน ไหวทัง้ แผ่นดิน ซึง่ ถือว่าเป็นเรือ่ งใหญ่ หรือทีเ่ รียกว่า ปฏิวตั ิ ประชาชน การจัดการตนเอง ไม่วา่ จะเป็นเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิง่ แวดล้อม เพือ่ ขับเคลือ่ นนโยบายปฏิรปู ประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริง ซึ่งถือว่า เป็นพลังมหาศาลที่ขับเคลื่อนมาจากฐานรากด้านล่าง จริงๆ”
อันนี้คือเครื่องมือที่ส�ำคัญ “ถ้าเราจะขับเคลื่อนการปฏิรูปในจังหวัดของเรา หรือชุมชน ท้องถิน่ จัดการตนเอง ก็ตอ้ งส�ำรวจความเข้มแข็ง ของสภาองค์กรชุมชน ในพื้นที่นั้นๆ ก่อน ต้องมองที่จุดยืนของตัวเอง และเลือกเป้าหมายให้ดี คือ โรงเรียน และสถานีอนามัย มาอยู่กับ เราหรื อ ยัง เพราะเขามีทั้งทรัพยากร มี หน่วยงานและงบประมาณ จะ เข้ามาร่วมกับเรา ท�ำให้เรา สามารถจัดการตนเองได้ มี ความเข้มแข็ง พึ่งตัวเองได้ วั น นี้ เราจะเปลี่ ย นโจทย์ การปฏิรูปประเทศไทย มาเป็นการปฏิรปู ชุมชน ท้ อ งถิ่ น เป็ น หลั ก คื อ ท�ำให้ชุมชนท้องถิ่นนั้นเข้ม แข็ง มีปัญญา สามารถจัด การตนเองได้ ค่ อ ย ๆ ท� ำ ค่อย ๆ เปลี่ยน เมื่อถึงจุดหนึ่ง แล้ ว จะเห็ น ความ เปลี่ยนแปลง
7
@สามส�ำคัญ @
บทกวีตะลุงเมืองนครฯ
@ หนึ่งจ�ำแนกแยกมิตรแยกศัตรู ส�ำคัญต้องรู้ “ศัตรูหลัก” เพ่งเนื้อหาอย่าเพ่งเพียงรูปลักษณ์ กับจะต้องตระหนัก...สถานการณ์
@ สามปัญหา “ท่าที” ที่อุทิศ ต่อศัตรูต่อมิตรอันมีผล รู้จุดร่วมจุดต่างรู้วางตน ต่อศัตรูจู่ประจนเข้าโจมตี
@ สองจ�ำเป็นต้องรู้ “คู่ขัดแย้ง” อันส�ำแดงให้ดูอยู่สองด้าน ปฏิปักษ์-เอกภาพ...พิสดาร เพื่อท�ำงานแนวร่วมรวมมวลชน
@ คือสามเรื่องสามกระบวนที่ควรรู้ พิชิตศึกศัตรูได้ทุกที่ คือ “ศัตรู” “คู่ขัดแย้ง” และ “ท่าที” ฝากเพื่อนพ้องน้องพี่...พิจารณา
@ เอาประโยชน์ของประชาขึ้นเป็นใหญ่ คือประชาธิปไตยที่ก้าวหน้า เอาอ�ำนาจฉ้อฉลปล้นประชา คือโจราธิปไตย...จัญไรเมือง! เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์
ศิลปินแห่งชาติ และกวีซีไรท์
“แก้ปัญหา แก้ที่สาเหตุ” (ค�ำคอน-กลอนกบเต้น)
ออ ๆ แลกเปลี่ยน เรียนรู้ (พี่น้องเหอ) เรามาอยู่ สองวัน เราพูดกันลั่น เราพูดเรื่องปัญหา (พ่อนะ แม่นะ) เราพูดเรื่องปัญหา ความไม่เป็นธรรม (พี่น้องเหอ) เหลื่อมล�้ำนานา ที่เราพูดกันมา เพื่อค้นหาสมุทัย (พี่น้องเหอ) เพื่อค้นหาสมุทัย
ทรีอินวัน (พี่น้องเหอ) มันมากกว่าเหตุผล เป็นความหลุดพ้น เพราะมีสุขสดชื่น (พ่อนะแม่นะ) เพราะมีสุขสดชื่น เราเป็นมนุษย์ (พี่น้องเหอ) เรามีจุดยืน ไม่ลื่นเลื่อนไหล จิตใจล่องลอย (พี่น้องเหอ) จิตใจล่องลอย
การแก้ปัญหา (พี่น้องเหอ) แก้ที่สาเหตุ ปัญหาประเทศ มันเป็นปัญหาใหญ่ (พ่อนะ แม่นะ) มันเป็นปัญหาใหญ่ แต่ละจังหวัด (พี่น้องเหอ) ติดขัดทุกข์ใจ เรื่องเล็กเรื่องใหญ่ มากมายก่ายกอง (พี่น้องเหอ) มันมากมายก่ายกอง
เป็นธงปลายเสา (พี่น้องเหอ) เมื่อเขาว่าไม่ดี ประชุมทุกที เอาแต่หรอยกับหรอย (พ่อนะแม่นะ) อย่าเอาแต่หรอยกับหรอย ฝากไว้ให้คิด (พี่น้องเหอ) นิดนิดน้อยน้อย ก่อนจะทยอย กลับบ้านกลับเรือน (พี่น้องเหอ) ก่อนกลับบ้านกลับเรือน
ความไม่เป็นธรรม (พี่น้องเหอ) มันเหลื่อมล�้ำอยู่ลึกลึก ใครตกผลึก จะนึกเสียวสยอง (พ่อนะ แม่นะ) จะนึกเสียวสยอง เหมือนเมืองนรก (พี่น้องเหอ) เรื่องการปกครอง เรียกร้องจังหวัด จัดการตนเอง (พี่น้องเหอ) เรื่องจัดการตนเอง
สิบสี่จังหวัด (พี่น้องเหอ) พัฒนาภาคใต้ ทั้งหญิงทั้งชาย เรามาได้พบเพื่อน (พ่อนะแม่นะ) เรามาได้พบเพื่อน ได้ฤกษ์งามยามเที่ยง (พี่น้องเหอ) เสียงพุงมัน ลั่นเตือน ให้กินข้าว แล้วกลับเรือน (พี่น้องเหอ) ให้ถือว่าเราเพื่อนกันทุกคน เหอ กันทุกคน
ตั้งธงเอาไว้ (พี่น้องเหอ) มีหลายจังหวัด เพื่อจะขจัด เรื่องการถูกข่มเหง (พ่อนะ แม่นะ) เรื่องการถูกข่มเหง แต่ถ้าเลือกผู้ว่าฯ (พี่น้องเหอ) แล้วได้คนนักเลง อาจถูกข่มเหง ก็ได้เหมือนกัน (พี่น้องเหอ) ก็ได้เหมือนกัน
ฝากไว้ให้คิด นิดนิดน้อยน้อย ผีซ�้ำด�้ำพลอย อาจหรอยแต่โหมฺหมัน (พ่อนะ แม่นะ) มันอาจหรอยแต่โหมฺหมัน กระตุกกระตุ้น (พี่น้องเหอ) เพื่อหมุนให้ทัน ต้องทรีอินวัน คือมรรค ผล นิพพาน (พี่น้องเหอ) คือมรรค ผล นิพพาน คนเราเดียวนี้ (พี่น้องเหอ) มักมีแต่เหตุกับผล พอเข้าตาจน ก็ประหัตประหาร (พ่อนะ แม่นะ) ก็ประหัตหาร ทรีอินวัน (พี่น้องเหอ) คือมรรค ผล นิพพาน ถ้ายึดหลักการ แบบโบราณน่าจะดี (พี่น้องเหอ) แบบโบราณน่าจะดี นิพพานะ (พี่น้องเหอ) ปัจจะโยโหตุ ปัจจัยบรรลุ อริยสัจสี่ (พ่อนะ แม่นะ) อริยสัจสี่ คริสต์อิสลาม (พี่น้องเหอ) ถ้าตามพระคัมภีร์ นิพพานก็มี แต่เขาเรียกอย่างอื่น (พี่น้องเหอ) แต่เขาเรียกอย่างอื่น
“นายหนังตะลุงบุญธรรม เทอดเกียรติชาติ” มหาวิชชาลัยชุมชนศิลปินพื้นบ้านศรีวิชัย บ้านโคกทราย ต.ทรายขาว อ.หัวไทร จ.นครศรีธรรมราช คืนวันอาทิตย์ที่ 9 กรกฎาคม 2555
8
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
รายงานจากพื้นที่ • กองบรรณาธิการ •
ขับเคลื่อนจังหวัดจัดการตนเอง “โมเดล” เสนอรูปธรรมความคืบ หน้าต่อที่ประชุมภาคีฯ อ�ำนาจเจริญ ชงธรรมนูญฯ เชียงรายจัดตั้งสภาฯ เชียงใหม่ บริบทใหญ่ท�ำงานบนพื้น ฐานความแตกต่าง ภูเก็ตน้องใหม่ มาแรง ยกทรัพยากร-พลังงาน เป็นวาระแห่งชาติ
ปีที่ 2 ฉบับที่ 8 กันยายน 2555
9
จังหวัดจัดการตนเอง:พลังขับเคลือ่ นคืบหน้า • เทียนชัย ติยพงศ์พัฒนา
ผู ้ ส่ื อ ข่ า วรายงานเมื่ อ วั น ที่ 14 สิงหาคม 2555 ที่ผ่านมาว่าในการประชุม ภาคีสง่ เสริมชุมชนท้องถิน่ จัดการตนเอง มี การน�ำเสนอกรณีศกึ ษา เรือ่ งจังหวัดจัดการ ตนเอง : แนวคิดและความก้าวหน้าในการ ขับเคลือ่ น โดยนายชาติวฒ ั น์ ร่วมสุข คณะ ท�ำงานจากจังหวัดอ�ำนาจเจริญ กล่าวว่า จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ได้ประกาศเจตนา รมณ์จังหวัดจัดการตนเองเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2555 ที่ผ่านมาเพื่อขับเคลื่อน จัดท�ำธรรมนูญประชาชนคนอ�ำนาจเจริญ สู่สังคมอยู่ดีมีสุข โดยมี 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1. จัดเวทีหมู่บ้านระดมความคิด เห็น เพื่อหาแนวทางท�ำให้หมู่บ้าน ชุมชน ท้องถิ่น จังหวัด อยู่เย็นเป็นสุข 2. ยกร่าง ธรรมนูญประชาชนคนอ�ำนาจเจริญ โดยมี ตัวแทนสภาองค์กรชุมชน 63 พื้นที่ ภาคี
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
ปีที่ 2 ฉบับที่ 8 กันยายน 2555
• ชัชวาลย์ ทองดีเลิศ
พัฒนา 40 คน เข้าร่วม น�ำข้อมูลจากเวที หมูบ่ า้ นมายกร่างฯ 3. น�ำกรอบแนวคิดร่าง ธรรมนูญฯ จัดเวทีระดับต�ำบล เชิญผู้ทรง คุณวุฒิ นายกและสมาชิกองค์การบริหาร ส่วนต�ำบล (อบต.) มาแก้ไขหรือปรับปรุง
• วิรุณ ค�ำภิโล
เพิ่มเติม 4. น�ำข้อมูลจากเวทีระดับต�ำบล มายกร่างฯ เพื่อจัดท�ำรูปเล่มร่างธรรมนูญ 5. น�ำร่างธรรมนูญฯ จัดเวทีประชาพิจารณ์ ระดับต�ำบล และ 6. จัดเวทีประกาศตัวตน และประกาศใช้ธรรมนูญฯโดยมีผู้เข้าร่วม
หมื่นชื่อดัน‘เชียงใหม่มหานคร’ “โมเดล”จังหวัดจัดการตนเอง นายสวิง ตันอุด ผู้อ�ำนวยการสถาบันการจัดการ ทางสังคม จากจังหวัดเชียงใหม่ เปิดเผยถึงทิศทางและ แนวทางการท�ำงานจังหวัดจัดการตนเองร่วมกันในอนาคต ในที่ประชุมเวทีสังเคราะห์และถอดบทเรียนการกระจาย อ�ำนาจให้จังหวัดจัดการตนเอง ซึ่งจัดโดยสภาพัฒนาการ เมือง (สพม.) เมื่อเร็ว ๆ นี้ว่า ผลการด�ำเนินงานจังหวัด จัดการตนเองของจังหวัดเชียงใหม่ทเี่ ป็นจังหวัดน�ำร่อง ว่า ได้ท�ำงานขับเคลื่อนเรื่องนี้มาเป็นเวลานานแล้ว เนื่องจาก จังหวัดเชียงใหม่นั้นมีปัญหาเกิดขึ้นมากมายมีการพัฒนา พืน้ ทีท่ ไี่ ม่เป็นธรรม การแก้ไขปัญหาของรัฐทีล่ ม้ เหลว รวม ศูนย์อ�ำนาจกระจุกตัวไว้ที่ส่วนกลาง ท�ำให้ท้องถิ่นไร้ เสถียรภาพในการจัดการตนเอง เกิดปัญหาในทุก ๆ ด้าน หารือ เพื่อหาทางออกของปัญหา และได้ขยายกลุ่ม เข้า โครงการของรัฐมักจะสร้างปัญหาความขัดแย้งให้กับท้อง เชื่อมโยง กับภาคประชาสังคมในจังหวัดเชียงใหม่ และมี ถิ่นเสมอ ข้อเสนอให้กระจายอ�ำนาจให้จังหวัดจัดการตนเองเป็น “ดังนัน้ จึงมีการรวมกลุม่ กันขององค์กรประชาชน ทางออก” มาประกาศตนถึงความพร้อมในการจัดการปัญหา และ ขณะเดียวกันได้จัดให้มีการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรียกร้องให้รัฐมอบอ�ำนาจในการจัดการตนเองให้กับท้อง แกนน�ำเครือข่าย รวบรวมประเด็นเกี่ยวกับหลักการและ ถิน่ อย่างแท้จริง พร้อมสร้างเครือข่ายภาคีตา่ ง ๆ มีการเปิด เหตุผล อ�ำนาจหน้าที่ของฝ่ายต่างๆ การมีส่วนร่วมของ เวทีเสวนาให้คนเชียงใหม่ มาพูดคุยแลกเปลี่ยน ปรึกษา ประชาชน ความสัมพันธ์ระหว่างจังหวัดกับท้องถิ่น ความ
20,000 คน “ทั้งนี้ถือเป็นปรัชญาและแนวคิด หลักว่าเป็นกติกา หรือข้อตกลงของคนและ ชุมชนใช้ร่วมกัน ในพื้นที่ เพื่อน�ำไปสู่สังคม อยู่เย็นเป็นสุขเกี่ยวข้องกับปัจจัยพื้นฐาน ของมนุษย์มีการจัดการทรัพยากรที่เป็น ธรรมมีความสมดุล ระหว่างการพัฒนาทุก ด้านและพึ่งตนเอง รวมทั้งสร้างจิตส�ำนึก ความตระหนักถึงสิทธิชมุ ชนร่วมกัน หลอม รวมดวงใจผู้เกี่ยวข้องให้ทุกคนมีคุณธรรม จริยธรรม รวมทัง้ การเสียสละ เพือ่ ส่วนรวม ในการร่วมกันจัดการชุมชนท้องถิ่นของ ตนเอง เพือ่ การพัฒนาระบบการเมืองภาค พลเมืองของชุมชนไปสูก่ ารจัดการตนเอง” ส� ำ หรั บ ธรรมนู ญ ประชาชนคน อ�ำนาจเจริญ จะมีทั้งหลักการ มาตรการ และเป้าหมาย แบ่งเป็น 6 ด้าน ได้แก่ 1. การเมืองภาคพลเมือง 2. ด้านสังคม 3. ระบบเศรษฐกิจชุมชน 4. ด้านสุขภาพ 5. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม และ 6. ด้านการรับรู้ข้อมูลการเข้าถึงและ การกระจายข่าวสาร ด้านนายวิรุณ ค�ำภิโล คณะท�ำงาน จากจั ง หวั ด เชี ย งราย กล่ า วว่ า จั ง หวั ด เชียงราย ได้จดั ตัง้ กองเลขาสภาคนฮักเจียง ฮาย โดยรวมตัวกันจัดท�ำเป็น “สภาคนฮัก
สัมพันธ์ระหว่างเชียงใหม่กับรัฐบาลกลาง เพื่อน�ำไปสู่การ ยกร่าง พ.ร.บ. เชียงใหม่มหานคร โดยมีกรอบความคิดคือ ลดอ�ำนาจรัฐ เพิม่ อ�ำนาจประชาชน ให้ยกเลิกการปกครอง ส่ ว นภู มิ ภ าค จั ด ให้ มี ก ารเลื อ กตั้ ง ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ปรับปรุงการจัดเก็บภาษีใหม่ ให้สว่ นกลาง 30% ให้จงั หวัด 70% นายสวิงยืนยันว่าจังหวัดจัดการตนเองนัน้ จะท�ำให้ ประชาชนในท้องถิน่ สามารถเข้าถึงอ�ำนาจอธิปไตยได้มาก ขึน้ ดึงประชาธิปไตยให้เข้ามาใกล้ตวั ได้มากขึน้ โดยวางเป้า หมายให้จังหวัดเชียงใหม่จัดการตนเองได้ทั้งระบบ เชื่อม โยงพลังความร่วมมือ ของเครือข่ายทุกภาคส่วน ให้มาร่วม เป็นเจ้าของ และใช้ต้นทุนที่มีอยู่ จัดการจังหวัดเชียงใหม่ ทุกรูปแบบทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม เพื่อขับเคลื่อนให้คนเชียงใหม่ มีสุขภาวะที่ยั่งยืน ให้มี กฎหมายรองรับ เป็นรูปแบบการปกครองทีส่ ามารถบริการ จัดการตนเองได้อย่างยั่งยืน “เรามียุท ธศาสตร์ คือการขับ เคลื่อนนโยบาย ท�ำงานด้านวิชาการ รวบรวมข้อมูลต่าง ๆ มาเป็นต้นทุน มี ก ารเตรี ย มพร้ อ มพื้ น ที่ สร้ า งความรู ้ ค วามเข้ า ใจให้ ประชาชนในจังหวัดทุกระดับชัน้ มีกระบวนการสือ่ สารกับ สังคม โดยใช้สื่อต่าง ๆ น�ำกระบวนการเหล่านี้ เพื่อน�ำมา สู่การรวบรวมรายชื่อเสนอกฎหมาย ไม่น้อยกว่า 10,000 รายชื่อ เพื่อสนับสนุนร่าง พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการ เชี ย งใหม่ ม หานคร แล้ ว เสนอเป็ น กฎหมายตาม กระบวนการทางรัฐสภา”
เจียงฮาย” คือสภากลางในการปรึกษา หารือ พบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคน กลุ่ม เครือข่าย องค์กรทุกภาคส่วนที่รัก เชี ย งรายและอยากเห็ น เชี ย งรายเติ บ โต อย่างยั่งยืน ทั้งนี้มีการบริหารจัดการของ สภาฯ เป็นโครงสร้างแบบแนวนอน ส่วน แกนน�ำของสภาฯ คือสมาชิกทีเ่ ป็นตัวแทน สาขาอาชีพต่าง ๆ ที่มีหน้าที่ในการขับ เคลื่อนงานของตัวเอง “กลไลในการขับเคลื่อนนั้นมีการ สร้างเนือ้ หา ข้อมูล ประเด็นต่าง ๆ ในสังคม เชียงราย มีการสร้างขบวนการในการขับ
เคลื่อนจังหวัดของตนเอง รวมทั้งสร้าง กระบวนการการท� ำ งานร่ ว มกั น แบบ บูรณาการ ภายใต้ปณิธานภาคภูมิใจใน ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมล้านนา รวม ทัง้ เคารพในความหลากหลายทางความคิด และชาติพันธุ์ ตลอดจนพึ่งตนเองในทุกๆ ด้าน” ขณะที่ น ายชั ช วาลย์ ทองดี เ ลิ ศ คณะท�ำงานจากจังหวัดเชียงใหม่ กล่าวว่า ภาคีขับเคลื่อนเชียงใหม่จัดการตนเอง ได้ จัดท�ำบทเรียน ทิศทางการขับเคลื่อน : เชียงใหม่จดั การตนเองสูเ่ ชียงใหม่มหานคร โดยได้ศึกษาประวัติศาสตร์ จัดตั้งชมรม เพือ่ เชียงใหม่และกลายเป็นภาคีคนฮักเจียง ใหม่ สภาเวียงพิงค์ ภาคี ประชาสังคม จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งบทเรียนที่ได้จากการ ท�ำงานของภาคประชาสังคมนัน้ เครือข่าย ของตนเองไม่สามารถเชื่อมโยงเครือข่าย ข้ามกลุ่ม ข้ามองค์กร ข้ามสถาบัน ข้าม ประเด็นปัญหา ข้ามภาคเมืองและชนบท ได้ รวมทั้ ง ปั ญ หาที่ ไ ม่ ส ามารถแก้ ไขได้ ระดั บ ในต� ำ บลหรื อ ในพื้ น ที่ เนื่ อ งจาก บริบทปัญหาใหญ่ “ภาคคีขบั เคลือ่ นเชียงใหม่จดั การ ตนเองมีแนวคิดกระจายอ�ำนาจให้จังหวัด จัดการตนเอง โดยมีเป้าหมายเชียงใหม่
จัดการตนเองได้ทั้งระบบ ทุกรูปแบบทั้ง เศรษฐกิจ สังคม การเมืองและวัฒนธรรม มีการจัดท�ำยุทธศาสตร์ กระบวนการขับ เคลื่อน พร้อมทั้งโครงสร้างกลไกการขับ เคลื่อน โดยใช้หลักการท�ำงานร่วมกันคือ ท� ำ งานบนพื้ น ฐานความแตกต่ า ง ใช้ ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ รวมทัง้ จัด ความสัมพันธ์แนวราบ พร้อมเปิดกลไกได้ ตลอดเวลา โดยที่แต่ละกลุ่มมีอัตลักษณ์ มีอิสระของตนเอง แต่มาร่วมกันท�ำงาน ตามที่ได้ตั้งเป้าหมายเอาไว้ เพื่อการเชื่อม โยงการท�ำงานตามศักยภาพของแต่ละคน แต่ละองค์กร” ด้าน นายเทียนชัย ติยพงศ์พัฒนา คณะท� ำ งานจากจั ง หวั ด ภู เก็ ต กล่ า วว่ า จังหวัดภูเก็ต เป็นน้องใหม่ทเี่ พิง่ เริม่ เดินเข้า มาจั ด การตนเอง โดยได้ มี ก ารจั ด ท� ำ ยุทธศาสตร์และแนวทาง มีการเชื่อมโยง ภาคีเครือข่าย เพื่อร่วมกันสร้างจุดหมาย พั น ธสั ญ ญา และประชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้
เสนอร่างพรบ.ปัตตานีมหานคร จังหวัดชายแดนใต้จดั การตนเอง นายอับดุลการีม อัสมะแอ ตัวแทนจากจังหวัด ปัตตานี เปิดเผยถึงทิศทางและแนวทางการท�ำงานจังหวัด ในที่ประชุมเวทีสังเคราะห์และถอดบทเรียนการกระจาย อ�ำนาจให้จังหวัดจัดการตนเอง ซึ่งจัดโดยสภาพัฒนาการ เมือง (สพม.) และส�ำนักงานปฏิรูป (สปร) เมื่อเร็วๆนี้ว่า แนวคิดการจัดการตนเอง ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ แตก ต่างจากพืน้ ทีอ่ นื่ โดยได้กำ� หนด เขตพืน้ ที่ เขตปกครองท้อง ถิ่นพิเศษ “ปัตตานีมหานคร” คือรวมจังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดนราธิวาส และอ�ำเภอเทพา อ�ำเภอ จะนะ อ�ำเภอนาทวี อ�ำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา เป็น เขตปกครองหนึ่ง เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ มีเชื้อสาย มลายู นับถือศาสนาอิสลาม รวมเป็นเขตปกครองเดียวกัน เพือ่ สะดวกในการบริหารจัดการทีเ่ ป็นเอกภาพ เสมอภาค และไม่มีความเหลื่อมล�้ำกัน ขณะนีม้ กี ารร่างพระราช บัญญัตปิ ตั ตานีมหานคร ขึ้นมา เพื่อเป็นการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้แบบ สันติและยัง่ ยืน มีกระบวนการขับเคลือ่ นปัตตานีมหานคร โดย ศึกษาสาเหตุที่มาของปัญหา ลงพื้นที่ศึกษาแนวคิด ของประชาชน จัดเวทีภายใต้กรอบความคิด ท้องถิน่ จัดการ ตนเอง ท�ำให้แต่ละท้องถิ่นสามารถออกแบบบ้านของตัว
เองได้ บนผืนแผ่นดินไทยนี้ โดยมีการก่อตัวของภาคประชา สังคม จัดตัง้ คณะท�ำงานเพือ่ รับฟังความคิดเห็น เพือ่ น�ำไป สู่รูปแบบการปกครองตนเองโดย ภาครัฐต้องฟังเสียงของ ประชาชนในพื้นที่มีการเจรจาหาทางออกด้วยสันติวิธี “ภาคการเมืองจะต้องก�ำหนดนโยบายอย่างเร่ง ด่วน เพื่อการแก้ไขปัญหาโดยศึกษาข้อมูลรอบด้านให้ ละเอียด แล้วให้ประชาชนเข้ามามีสว่ นร่วมด้วย เพือ่ แก้ไข ปัญหาร่วมกัน มีการเผยแพร่ความรู้ทางการเมืองสู่ภาค ประชาชนอย่างต่อเนื่องและจริงจัง ทั้งทางตรงและทาง อ้อม สถาบันการศึกษาในทุกจังหวัดจะต้องเป็นแหล่งเรียน รู้ การเมืองภาคพลเมืองส�ำหรับชุมชน สภาพัฒนาการเมือง
ประชาชนมีความรูอ้ ย่างต่อเนือ่ ง พร้อมทัง้ จัดเวทีสญ ั จร เวทียอ่ ยประจ�ำเดือน และจัด เวทีใหญ่ 3-6 เดือน ต่อครั้ง “สิ่ ง ที่ อ ยากให้ ส� ำ นั ก งานปฏิ รู ป ช่วยสนับสนุนคือสนับสนุนนักวิชาการจาก ส่วนกลาง ขึ้นเวทีให้ความรู้และแนวคิดใน เวทีใหญ่ รวมทั้งนักวิชาการที่มีความเชีี่ยว ชาญด้านกฎหมาย เพื่อจัดท�ำกฎหมาย ภูเก็ตมหานคร สนับสนุนเอกสารแจกให้ ประชาชน รวมทั้ ง ประชาสั ม พั น ธ์ สื่ อ กระแสหลั ก ตลอดจนร่ ว มกั น ผลั ก ดั น ประสานความร่วมมือกับองค์กรอื่น ๆ ที่ สนใจจังหวัดจัดการตนเอง โดยเฉพาะเรือ่ ง ทรัพยากรและพลังงาน เป็นวาระแห่งชาติ รวมทัง้ ผลักดันร่างพ.ร.บ.ปิโตรเลีย่ ม (ฉบับ ประชาชน) ใช้หลักคิดร่วมเอาภูเก็ตเป็นตัว ตั้ง ไม่มีวาระส่วนตน และถอดหมวกทุก พรรค ทุกสี มาหารือ เพื่อสร้างจุดร่วม สงวนจุดต่าง ๆ โดยใช้หลักความเห็นพ้อง ต้องกัน”
ต้องเป็นแกนหลักในการ ประสาน ส่งเสริมความรู้ การเมื อ งภาคพลเมื อ ง ทัง้ ด้านการเมืองและการ ปกรองในระบอบประชา ธิปไตยและการเมืองภาค พลเมืองอย่างลึกซึ้ง” ปั จ จุ บั น หน่ ว ย • อับดุลการีม อัสมะแอ งานข้ า ราชการที่ มี อ ยู ่ ไม่รู้ถึงปัญหา ไม่เข้าใจวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน จึงไม่สามารถแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ซึง่ ปัญหาหลักก็คอื การ ไม่ยอมรับอัตตลักษณ์คนมลายู และพยายามกลืนความ เป็นมลายูให้หมดไป การแก้ปญ ั หาอย่างสันติกค็ อื การเปิด พื้นที่ให้ประชาชนมีอ�ำนาจและมีส่วนร่วมในการปกครอง และการจัดการแก้ไขปัญหาด้วยตัวเอง คือการปฏิรูป โครงสร้างอ�ำนาจในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามที่ กฎหมายรัฐธรรมนูญได้ก�ำหนดไว้ ทั้งนี้เหตุการณ์ความไม่สงบและความรุนแรง ได้ เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องมานานหลายปีแล้ว เกิดผลกระทบ ขึน้ มากมายต่อชีวติ ของประชาชน เครือข่ายภาคประชาชน ในพื้นที่ได้ร่วมปรึกษากัน และลงพื้นที่พบปะพูดคุยกับ ประชาชนในท้องถิ่นต่าง ๆ และน�ำข้อมูลมาสรุปแนวทาง การด�ำเนินงานตามที่ประชาชนต้องการ คือ ประชาชน ต้องการบริหารจัดการตนเอง ด้วยการเลือกผูน้ ำ� ทีม่ อี ำ� นาจ บริหารจัดการท้องถิ่นของตน
10
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
ปีที่ 2 ฉบับที่ 8 กันยายน 2555
แนะท้องถิน ่ บริหารจัดการภาษี ถ่วงดุล-ตรวจสอบงบประมาณ ระบุการกระจายอ�ำนาจลงสู่ท้องถิ่นเป็นความก้าวหน้า ของการเมืองภาคประชาชน ขณะที่การเมืองภาพรวมมีข้อจ�ำกัดมีปัญหา คอร์รัปชั่น แนะให้ประชาชนท้องถิ่นเป็นตัวตั้งมีส่วนร่วม จัดเก็บบริหารจัดการภาษี ถ่วงดุลและตรวจสอบการใช้งบประมาณ เพื่อขับเคลื่อนจัดการตนเองอย่างยั่งยืน ผู้สื่อข่าวรายงานว่าเมื่อเร็ว ๆ นี้ สภาพัฒนาการเมือง (สพม.) ได้จัดการ ประชุมเวทีสังเคราะห์และถอดบทเรียน การกระจายอ�ำนาจให้จังหวัดจัดการ ตนเอง โดยน�ำเสนอผลงานของผูแ้ ทน ใน พื้นที่น�ำร่อง 7 จังหวัด และ 1 กลุ่ม จังหวัดภาคใต้ และเสวนาเรื่องจังหวัด จัดการตนเอง โครงสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างส่วนกลางกับท้องถิน่ การบริหาร บุคลากร คลังท้องถิ่น และบทบาทของ ชุมชนจัดการตนเอง รศ.ดร. บรรเจิด สิงคเนติ คณะ กรรมการปฏิรูปกฎหมาย ตั้งข้อสังเกต ว่า ที่ผ่านมาประเทศไทยมีปัญหาต่าง ๆ เกิดขึ้นมากมาย แต่ไม่เคยตั้งโจทย์ที่ถูก ต้องขึ้นเลยว่า ทุกอย่างมันเกิดมาจาก อะไร โจทย์ของเราคืออะไร เราให้ชน ชั้ น น� ำ ผู ก ขาดระบบทางการเมื อ งมา แล้ว 80 ปี ทั้งในนามคณะราษฎร์ ใน นามขุนศึก จนปัจจุบันก็ถูกผูกขาดใน ระบบทุน “พื้นที่ของประชาชนนั้นอยู่ตรง ไหน ในการมีส่วนก�ำหนดทิศทางความ เป็นไปของประเทศ และพรรคการเมือง
ต่าง ๆ ไม่เคยเป็นตัวแทนผลประโยชน์ ของประชาชนเลย ถ้าเราจะแก้ปัญหา ของประเทศ เราต้องวินิจฉัยโรคให้ถูก เรือ่ งจังหวัดจัดการตนเอง การขับเคลือ่ น พลังในพื้นที่ เป็นทางเลือกของวิธีแก้ ปัญหาให้ประเทศ” การกระจายอ�ำนาจลงสูพ่ นื้ ทีน่ นั้ เป็นความก้าวหน้าของระบบการเมือง ภาคประชาชน ที่ก้าวหน้าไปไกลกว่า นักวิชาการ หมายความว่า 80 ปี ที่ผ่าน มา ประชาชนเรียนรู้แล้วว่า อย่าไปขับ เคลือ่ นเพือ่ เข้าสูอ่ ำ� นาจส่วนกลาง แต่ให้ ขั บ เคลื่ อ นเพื่ อ มี อ� ำ นาจในการที่ จ ะ ก�ำหนดในเชิงพืน้ ที่ วันนีอ้ งค์กรส่วนท้อง ถิ่นก็มีข้อจ�ำกัด มีปัญหาคอร์รัปชั่นเกิด ขึ้นมากมาย การเมืองภาพใหญ่ ก็มีข้อ จ�ำกัด มีการแบ่งสีแบ่งฝ่าย “การแก้ปัญหาในพื้นที่นั้น ผล ประโยชน์ต่าง ๆ ต้องให้ตกอยู่ในพื้นที่ จึงจะถูกต้อง ไม่ว่าท้องถิ่นนั้นจะอยู่ฝ่าย ใด สีอะไร เพราะฐานในพื้นที่จะต้อง เชือ่ มโยงเข้าสูส่ ถาบันโครงสร้างทางการ เมือง จังหวัดจัดการตนเอง จะต้องมี ตัวแทนเข้าไปนัง่ ในต�ำแหน่งวุฒสิ ภา ไม่
• ศ.ดร.ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์
• พิชัย นวลนภาศรี
• สวิง ตันอุด
• รศ.ดร. บรรเจิด สิงคเนติ
ว่าจะแต่งตัง้ หรือเลือกตัง้ เพือ่ เข้าไปถ่วง ดุ ล ย์ อ� ำ นาจการจั ด การงบประมาณ เพราะทุกวันนี้ท้องถิ่นยังต้องแบมือขอ งบประมาณจากส่วนกลาง เรา ต้อง ท�ำการปฏิรปู ประเทศโดยใช้พนื้ ทีเ่ ป็นตัว ตั้ง ใช้ประชาชนเป็นฐานรากให้เข้มแข็ง ท�ำให้สามารถแก้ปัญหาให้ประเทศได้
โดยแต่ละพื้นที่จะมีวิธีการและกระบวน การที่แตกต่างไปขึ้นอยู่กับปัญหาของ แต่ ล ะพื้ น ที่ นั้ น ๆ แต่ ท ้ า ยที่ สุ ด ต้ อ ง สามารถแก้ปัญหาให้กับพื้นที่ได้” ศ.ดร.ดิเรก ปัทม สิรวิ ฒ ั น์ คณะ พั ฒ นาการเศรษฐกิ จ สถาบั น บั ณ ฑิ ต พัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) กล่าวว่า ค�ำ ว่าจังหวัดจัดการตนเองนัน้ มีความหมาย ทีล่ กึ ซึง้ เข้าใจได้งา่ ย คลอบคลุมมิตติ า่ งๆ ทั้งการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การ เงิน การคลัง และเห็นด้วยที่จะให้มีการ กระจายอ�ำนาจสู่ท้องถิ่น เพราะท�ำให้ การบริหารบ้านเมืองมีประสิทธิภาพ ลด การท�ำงานของภาครัฐ ประเทศไทยของ เรามีการรวมศูนย์อ�ำนาจการคลังและ ภาษีสว่ นกลางจัดเก็บหมด รายได้ตา่ ง ๆ ก็จะรวมสู่อ�ำนาจส่วนกลาง แม้ ใ นช่ ว งหลั ง จะมี ก ารออก กฎหมายให้กระจายอ�ำนาจสูท่ อ้ งถิน่ แต่ จะออกมาในรู ป เงิ น อุ ด หนุ น มากกว่ า ไม่ใช่การพึ่งตัวเอง แต่จะรอเงินอุดหนุน กั น มากกว่ า อยากจะให้ มี ก ารออก
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
ปีที่ 2 ฉบับที่ 8 กันยายน 2555
กฎหมายปฏิรูปภาษีกันใหม่ ให้ท้องถิ่น มีงบประมาณเป็นของตัวเอง ซึ่งในต่าง ประเทศนั้น ภาษีจะไปอยู่ในท้องถิ่น มากกว่าครึง่ เพราะเขาเห็นความส�ำคัญ ของท้องถิ่น ซึ่งที่จริงแล้ว ท้องถิ่นควร จะต้องได้ภาษีส�ำคัญตัวหนึ่ง คือภาษี เงินได้บคุ คลธรรมดา และนิตบิ คุ คล แต่ ตอนนี้ไม่ได้เลย “เราต้องมาออกแบบกันใหม่ ท�ำ ยุทธศาสตร์กนั ใหม่ ให้ทอ้ งถิน่ มีบทบาท การท�ำงานมากขึ้น เพราะอยู่ใกล้ชิด ประชาชน ท�ำให้เข้าถึงปัญหาในพื้นที่ ได้มากกว่า งานบริการสาธารณะต่างๆ ควรอยู่กับท้องถิ่นจะดีกว่า ประชาชน จะได้ก�ำกับและตรวจสอบได้ ล่าสุด ก�ำลังมีการยกร่างกฎหมายรายได้ท้อง ถิ่ น ซึ่ ง จะมี ก ารใช้ ภ าษี ฐ านร่ ว มคื อ รัฐบาลก็เก็บภาษี ในขณะทีอ่ งค์กรท้อง ถิ่นก็มีอ�ำนาจจัดเก็บภาษีด้วยเหมือน กัน เช่น ภาษีเหล้า บุหรี่ อยูท่ วี่ า่ จะแบ่ง กันจัดเก็บเท่าไหร่” นอกจากนี้ท้องถิ่นควรจะมีการ บริหารการจัดเก็บภาษี คนท้องถิ่นควร จะมี ตั ว แทนเข้ า ไปมี ส ่ ว นร่ ว มในการ ตรวจสอบว่าภาษีทจี่ ดั เก็บนัน้ ครบถ้วน ตามจ�ำนวนหรือไม่ เพราะฐานภาษีใน ท้องถิ่น มีการเปลี่ยนแปลงในการจัด เก็บไปเกือบทุก ๆ เดือนอยู่แล้ว เราจะ ได้รู้ว่า การจัดเก็บภาษีในแต่ละเดือน แต่ละท้องที่มีจ�ำนวนเท่าใด มากน้อย แค่ไหน ซึ่งสามารถตรวจสอบได้ ไม่ เหมือนกับเงินอุดหนุน ทีเ่ ราไม่สามารถ ตรวจสอบได้เลย “ปัจจุบันมีการให้เงินอุดหนุน ไปยั ง ท้ อ งที่ ต ่ า ง ๆ ทั่ ว ประเทศเป็ น จ�ำนวนมาก เป็นกระบวนการทางการ เมือง มีโอกาสเกิดคอร์รัปชั่นสูง และมี ปัญหาความล่าช้าซึ่งคนในท้องถิ่นส่วน ใหญ่ก็ต้องการได้รับเงินในส่วนนี้ แต่ก็ ไม่ได้สร้างประโยชน์อะไรให้เกิดขึ้นใน ระยะยาว ส่วนราชการก็ไม่คอ่ ยออกไป ดู แ ล พื้ น ที่ ข องตั ว เอง รอแต่ รั บ เงิ น อุดหนุนจากส่วนกลางเพียงอย่างเดียว และแปลกมากที่ จังหวัดไหนได้ ภาษี มาก ก็จะได้เงินอุดหนุนมากเช่นกัน เป็นเงินทุนที่ไม่เสมอภาคกันเลย” ในการจัดการตนเองนั้น ควร จะต้ อ งมี ก ารยกร่ า งกฎหมายขึ้ น มา หลาย ๆ ตั ว และต้ อ งแก้ ก ฎหมาย หลาย ๆ อย่างเช่น การแก้กฎหมายงบ ประมาณแผ่นดิน อาจจะใช้ตัวอย่าง จากประเทศต่างๆในโลก มาเป็นแบบ อย่าง ในทางปฏิบัติ ที่จะให้ประชาชน สามารถมีส่วนร่วมกับท้องถิ่นในการ
กระจายอ�ำนาจ ดังนั้นการกระจายอ�ำ นาจสู ่ ท ้ อ งถิ่ น จึ ง มี ค วามส� ำ คั ญ เป็ น อย่างมาก นายพิชัย นวลนภาศรี อดีตนา ยกฯ อบต. พิจติ ร กล่าวว่า การกระจาย อ�ำนาจสูท่ อ้ งถิน่ นัน้ มีปญ ั หาคอร์รปั ชัน่ เกิดขึ้นมากมายในพื้นที่หลายแห่ง มี แนวทางปฏิบตั ิ เป็นระบบราชการ ไม่ใช่ ระบบบริการ ความอิสระไม่มอี ยูจ่ ริง งบ ประมาณท้องถิน่ ต้องให้นายอ�ำเภอเป็น ผู ้ อ นุ มั ติ โครงสร้ า งราชการอย่ า งนี้ ท�ำให้ท้องถิ่นมันขับเคลื่อนไปต่อไม่ได้ และการจัดสรรรายได้อุดหนุนให้ท้อง ถิ่ น พื้ น ที่ ก็ ไ ด้ รั บ ไม่ เ คยครบ มี ก าร คอร์รัปชั่นเกิดขึ้นบ่อยครั้ง ประชาชน ไม่มีอ�ำนาจที่จะไปตรวจสอบได้ อยาก ให้ ค นในพื้ น ที่ แ ละคนรุ ่ น ใหม่ เข้ า มา ศึกษาปัญหาให้เข้าใจอย่างจริงจัง และ ต่อเนื่อง เพื่อจะได้แก้ปัญหาที่มีอยู่ให้ หมดไป นายสวิง ตันอุด ผู้อ�ำนวยการ สถาบันการจัดการทางสังคม กล่าวสรุป ว่า เราต้องใช้พ้ืนที่เป็นตัวตั้ง เพราะ แต่ละคนแต่ละพื้นที่ล้วนมีหลากหลาย ความคิด น�ำมาแลกเปลีย่ นข้อมูลกัน จะ ได้ อ งค์ ค วามรู ้ เ พิ่ ม มากมาย และ สามารถตอบโจทย์ให้กับสังคมได้อย่าง ชัดเจน ให้ประชาชนเป็นคนขับเคลือ่ น ไม่ใช่ตวั แทนจากสถาบันใดสถาบันหนึง่ เป็นแนวคิดที่จะท�ำให้สังคมก้าวไปข้าง หน้าได้อย่างแท้จริง ส�ำหรับปัญหาการจัดเก็บภาษี ประเทศ รอบบ้านเขาเก็บแล้ว จัดสรร ให้ทอ้ งถิน่ ในอัตราทีส่ งู กว่าบ้านเรามาก เช่น จีน หรือ อินโดนีเซีย จัดเก็บใน อัตรา 1 ต่อ 3 คือ 1 อยู่ที่ส่วนกลาง 10 อยูท่ ที่ อ้ งถิน่ แต่บา้ นเราตรงกันข้าม ใช้อตั รา 10 ต่อ 1 คือ 10 อยูท่ สี่ ว่ นกลาง 1 อยู่ที่ท้องถิ่น ส่วนในแง่ของคนและ เงิน เราต้องท�ำการยกเครื่องใหม่ ใช้ กรอบใหม่ โดยใช้พนื้ ทีเ่ ป็นตัวตัง้ ในการ จัดเก็บภาษีหรือท�ำงานเป็นตัวหลัก ใช้ การท�ำงานจากฐานรากขึ้นไปข้างบน “เรื่ อ งการจั ด เก็ บ ภาษี เรื่ อ ง สัดส่วน ทั้งคนทั้งงบประมาณ นั้นอีก 3 ปี (2558) เราต้องเปิดประเทศรับเออีซี จะเอาอะไรไปสู้กับประเทศอื่น ๆ ได้ อ�ำนาจส่วนกลางที่มีมากเกินไป ท�ำให้ ท้ อ งถิ่ น ท� ำ อะไรไม่ ไ ด้ ท� ำ ให้ สู ญ เสี ย ความเป็นตัวตน ซึ่งคิดว่ามันหมดเวลา แล้ว ส�ำหรับการบริหารประเทศไทยรูป แบบนี้ เราต้องขับเคลื่อนเรื่องต่าง ๆ ให้พื้นที่นั้น ๆ สามารถจัดการตนเองได้ อย่างยั่งยืน”
11
ดัดหลังนักการเมือง-นายทุน ให้ชุมชนพื้นที่บริหารจัดการที่ดิน เครือข่ายพลเมืองเปลี่ยน ประเทศไทย ชี้ปัจจุบันคน จนเสียที่ดินทุกวัน แต่คน รวยมีที่ดินเพิ่มขึ้น มีนักการ เมืองกว้านซื้อที่ดินเพื่อ ครอบครองทรัพยากร พร้อมแนะชุมชนสร้างทีม งานจัดการทรัพยากร ในพื้นที่ตนเอง
นางสาวสมลักษณ์ หุตานุ วัฒน์ จากเครือข่ายพลเมืองเปลี่ยน ประเทศไทย บรรยายพิเศษ เรื่อง การจัดการทรัพยากรเพื่อประโยชน์ ของชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น กล่ า วในการ ประชุมสังเคราะห์และถอดบทเรียน การกระจายอำ�นาจให้จงั หวัดจัดการ ตนเอง จัดโดยสภาพัฒนาการเมือง (สพม.) เมื่อเร็ว ๆ นี้ว่า ปัญหาการ จั ด การทรั พ ยากรในพื้ น ที่ นั้ น มี ม า นานมาก ทั่ ว ประเทศ แต่ ล ะเขต แต่ละชุมชน ล้วนไม่ทราบถึงข้อเท็จ จริงไม่ทราบข้อมูลปัญหาของตัวเอง จึงอยากให้แต่ละพื้นที่สร้างทีมงาน ศึกษาเพื่อทำ�งานในพื้นที่ต่อไป “ภาพรวมในสังคมปัจจุบัน ขณะนี้ ทุนกับรัฐ เป็นคน ๆ เดียวกัน ไปแล้ว และยังครอบเอาสื่อไปไว้ใน มืออีก ท�ำให้ประชาชนเป็นเหยื่อทั้ง ด้านกฎหมายและนโยบาย ทางรัฐได้ ใช้ อ� ำ นาจทางกฏหมายและแผน พัฒนาที่ผิดพลาด ท�ำให้ ทุก ๆ วัน มีคนจนสูญเสียที่ดิน และมีคนรวยๆ
ได้ที่ดินเพิ่ม เพราะที่ดินเป็นทุกอย่างทั้ง ชีวิตตั้งแต่ตื่นถึงหลับ ตอนนี้ชุมชนถูกรุม รุกรานทุกเรื่อง ทั้งการผลิต การถือครอง ทีด่ นิ การเบียดเบียนทรัพยากรทุกรูปแบบ ชายฝั่งก็ถูกท�ำเป็นท่าเรือ ถัดมาก็ถูกตัด ถนน บุกรุกป่า แม้กระทั่งน�้ำท่วม ทุก อย่างกลายเป็นเครือ่ งมือในการฉกฉวยผล ประโยชน์ทั้งสิ้น ความมัน่ คงในทีด่ นิ นัน้ เป็นพืน้ ฐาน ทั้ ง หมดของชี วิ ต เป็ น ความมั่ น คงของ ชุมชน เป็นความมั่นคงของประเทศ ถ้า ประชาชนตั ว เล็ ก ตั ว น้อย สูญเสียที่ดิน แปล ว่า ประเทศของเราได้ สู ญ เสี ย ความมั่ น คงไป แล้ว ทั้ง ๆ ที่ประเทศ ไทยของเรามีทรัพยากร มากมายในพื้นที่ ขณะ นี้ มี นั ก ก า ร เ มื อ ง ที่ รู้ ข้อมูลหลายคนไปกว้าน ซื้ อ ที่ ดิ น เอาไว้ จำ�นวน มาก เพื่ อ ครอบครอง ทรัพยากร” นางสาวสมลักษณ์ กล่ า วอี ก ว่ า ปั จ จุ บั น คนในชุ ม ชนพื้ น ที่ ต้ อ ง สูญเสียทรัพยากร ประเทศชาติต้องสูญ เสียรายได้ ไปแล้วมากมายมหาศาล ซึ่งไม่ เข้าใจว่าคนที่มีอำ�นาจดูแลเรื่องนี้ไปทำ� อะไรอยู่ จึงปล่อยให้เกิดปัญหาขึ้น ทั้งที่มี รายงานเรื่องนี้ออกมาทุกเดือนและทุกปี อยากให้สภาพัฒนาการเมือง ให้ชุมชน จัดการตนเอง ได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารเหล่า นี้ แล้วนำ�ไปจัดการพื้นที่ของตัวเอง ไป พัฒนาพื้นที่สร้างทีมงานขึ้นมาทำ�งาน “ใช้คนรุน่ ใหม่ ใช้สอื่ ในชุมชนท้อง ที่ช่วยกันเผยแพร่ข่าวสารข้อมูลทุกอย่าง อย่างจริงจัง ไม่ใช่จะรอแต่ข้อมูลจากคน อื่นเพียงอย่างเดียว ไม่อยากให้ฝากความ หวังไว้ที่คนอื่น ทุกอย่างต้องเริ่มจากตัว เองก่อน ต้องช่วยตัวเอง จัดการตัวเอง จัดการปัญหาในพืน้ ที่ ย่อยข้อมูลให้เล็กลง ให้ชาวบ้านในท้องถิ่นเข้าใจได้ง่าย เขาจะ ได้ให้ความร่วมมือ งานที่ทำ�ก็จะเดินหน้า ไปได้ดว้ ยดี ต้องใช้หลักเอาพืน้ ทีเ่ ป็นตัวตัง้ ทุกคนเป็นเจ้าของพื้นที่ เมื่อพื้นที่เข้าใจ แล้วก็จะสามารถขับเคลื่อนงานต่อไปข้าง หน้าได้ด้วยดี”
12
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
รายงานพิเศษ • กองบรรณาธิการ
ปีที่ 2 ฉบับที่ 8 กันยายน 2555
เร่งกรอง11ประเด็นสูส่ มัชชาระดับชาติ ตัง้ เป้าส่งแรงกระเพือ่ มต่อสังคมวงกว้าง
ส�ำหรับการสร้างความร่วมมือใน อาเซียน ต้องค�ำนึงถึงประโยชน์ร่วมกันใน ระยะยาวกับเพื่อนบ้าน ปัจจุบันกลไกการ ประเมินผลกระทบยังตามไม่ทัน EIA ต้อง ปรับที่จะตอบโจทย์ร่วมกัน กระตุ้นให้ทุก คนหันมองพลังงานหมุนเวียนมากขึน้ และ
ในการประชุมเพื่อพิจารณากลั่นกรองระเบียบวาระการประชุม สมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2555 เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างองค์กรภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ในการพิจารณายกร่างประเด็นนโยบาย มีผู้แทนเครือข่าย, ภาคีเครือ ข่ายผู้เสนอประเด็น นโยบายสาธารณะ, องค์กรภาคีเครือข่าย ที่เกี่ยวข้องในแต่ละประเด็น (Stakeholder), คปร., คสป., คจสป., คณะกรรมการ 14 เครือข่าย, คณะอนุกรรมการวิชาการ, ทีมภาคี เครือข่ายนักวิชาการปฏิรูป, และทีมวิชาการส�ำนักงานปฏิรูป (สปร.) เบื้ อ งต้ น มี ผู ้ เ สนอจ� ำ นวน 52 ประเด็น และคณะอนุกรรมการวิชาการได้ ประมวลจัดเป็นกลุ่มประเด็นจ�ำนวน 11 ประเด็น เพือ่ บรรจุในระเบียบวาระสมัชชา ปฏิรูประดับชาติ
ประเด็นที่ (1) การบริหาร
จัดการน�ำ้ อย่างเป็นระบบมีสว่ นร่วมและ บูรณาการ เนื่องจากที่ผ่านมาพบปัญหา การรวมกลุ่มอ�ำนาจการบริหารจัดการน�้ำ ขาดการมีส่วนร่วมและการปฏิบัติที่มีการ ละเมิดสิทธิชุมชน มีการบริหารแบบแยก ส่วนระหว่างการบริหารจัดการป่าไม้กับ แหล่ ง น�้ ำ ทั้ ง ยั ง ขาดกลไกการร่ ว มมื อ ระหว่างผูบ้ ริหารและประชาชน มองคนละ มิติ ไม่มีจุดร่วม ข้ อ เสนอในการแก้ ป ั ญ หาเชิ ง นโยบาย คือ ต้องมีการปฏิรูปและการ จัดการนโยบายกฎหมายน�้ำที่มาจากการ ท�ำงานภาคประชาชน ซึ่งจะต้องมุ่งเน้น ประโยชน์ ข องประเทศเป็ น หลั ก โดยมี
กลไกและวิธีการที่เชื่อมโยงระหว่างระดับ นโยบายกับภาคประชาชน การปฏิรปู โครงสร้างภาครัฐในการ จัดการน�ำ้ ให้มปี ระสิทธิภาพ การมีสว่ นร่วม ขององค์กรลุ่มน�้ำ ตั้งแต่ขนาดเล็ก ย่อย และเป็นขนาดใหญ่ รวมทั้งการจัดให้มี กองทุนน�้ำขนาดต่างๆ ตั้งแต่ระดับชุมชน ขึน้ ไปจนถึงระดับชาติ ให้ชมุ ชนสามารถใช้ ประโยชน์จากกองทุนนีใ้ นการแก้ไขปัญหา การพัฒนา เรื่องการบริหารจัดการน�้ำของ ชุมชนได้ มีการบริหารจัดการน�ำ้ โดยชุมชน ทุกขั้นตอนกระบวนการ ชุมชนต้องมีส่วน ร่วมและได้รับการสนับสนุนจากรัฐอย่าง เต็มที่
ประเด็ น ที่ (2) การปฏิรูป ระบบภาษีเพื่อความเป็นธรรมและการ คลังเพื่อช่วยเหลือคนจน มีข้อเสนอให้ ปรับโครงสร้างระบบภาษีของประเทศไทย ให้เป็นไปในลักษณะอัตราก้าวหน้ามากขึน้ โดยการปรับโครงสร้างการจัดเก็บภาษีเงิน
ได้ บุ ค คลธรรมดา และภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ ค คล อี ก ทั้ ง พิ จ ารณาน� ำ ภาษี รู ป แบบ ต่าง ๆ มาใช้ กรณีอื่นเช่น พิจารณาการขึ้นภาษี มูลค่าเพิ่ม น�ำร่างพ.ร.บ. ภาษีที่ดิน และสิ่ง ปลูกสร้างมาใช้ พิจารณาการใช้ภาษีมรดก พิจารณาน�ำเรื่อง Capital Gain Tax มาใช้ ผลักดัน พ.ร.บ. มาตรการการคลังเพื่อสิ่ง แวดล้ อ ม พิ จ ารณาภาษี จ ากการแลก เปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ (Tobin Tax) เป็นต้น
ประเด็นที่ (3) การปฏิรูปสื่อ เนื่องจากพบ ว่า กสทช. เกิดช้ากว่าสื่อสาร
เพื่อให้ข้อมูล แจ้งเตือน วิเคราะห์ เกี่ยวกับ ประกาศและกฎหมายที่ออกโดย กสทช. ต่ อ ประชาชน รวมถึ ง ส่ ง เสริ ม ให้ ค ณะ ท�ำงานในระดับงานวิจัยและพัฒนา ทั้ง กสทช. และประชาชน เน้นอ�ำนาจการมี ส่ ว นร่ ว มของประชาชน นอกจากนั้ น กสทช. ควรจะมีการพัฒนาและส่งเสริมให้ ประชาชนทั่วไปรู้เท่าทันสื่อมากขึ้น นอกจากนีย้ งั มีขอ้ เสนอแนะว่าควร จัดตัง้ “ส�ำนักสือ่ สีขาว” โดยสือ่ สีขาวจะส่ง เสริมให้สื่อมีเสรีภาพมากขึ้น และ กสทช. ควรจั ด กองทุ น เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การผลิ ต รายการที่ มี คุ ณ ภาพ เป็ น ประโยชน์ ต ่ อ ประชาชน
ดร. วณี ปิ่นประทีป รองผู้อำ�นวยการสำ�นักงานปฏิรูป (สปร) เราต้ อ งการให้ อ งค์ ก รภาคี เครือข่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้ร่วมกัน พิจารณาเลือกประเด็นในแต่ละกลุ่ม นโยบาย และให้ ข้ อ มูลเพิ่ม เติม ตาม หลักเกณฑ์การคัดกรองในแต่ละประเด็น และให้เข้าใจกระบวนการและความ เป็นมาของสมัชชาปฏิรูประดับชาติ คือ ต้องเป็นประเด็นสำ�คัญที่ส่งผลกระ เพื่อมต่อการปฏิรูปสังคมในวงกว้าง สามารถส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขับ เคลื่อนในเชิงโครงสร้างของสังคม และนำ�ไปสู่การปรับเปลี่ยนวิธีคิด ผลักดันให้ เกิดมติ หรือเพื่อให้เกิดกลไกการขับเคลื่อนต่อไปได้
มวลชนทั้ ง หมด จึ ง เสนอให้ มีก ารจั ด ตั้ ง หน่วยงานที่ท�ำหน้าที่เฝ้ามองการท�ำงาน ของ กสทช. ติดตามตรวจสอบการออก กฎหมายต่าง ๆ ที่มีผลกระทบโดยตรงต่อ ประชาชนทุกฝ่าย เพราะแม้แต่สื่อมวลชน เองก็ยังมีข้อมูลที่ไม่ชัดเจนเกี่ยวกับการ ท�ำงานของ กสทช. มากมาย เสนอให้มีการจัดตั้งคณะท�ำงาน คล้าย ๆ การท�ำงานของ Media Monitor
ประเด็ น ที่ (4) การปฏิรูป ระบบพลังงาน ประเทศไทยมีความจ�ำเป็น ต้ อ งพั ฒ นาระบบพลั ง งานทดแทนและ พลั ง งานชุ ม ชน เพื่ อ เป็ น ระบบการ สนับสนุนพลัง งานหลักที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน โดยการเตรียมความพร้อมทางด้านองค์กร ความรูแ้ ละเทคโนโลยี การสนับของภาครัฐ ทั้งในด้านกฎระเบียบและด้านการลงทุน การจัดระบบชุมชน
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
ปีที่ 2 ฉบับที่ 8 กันยายน 2555
ปรับโครงสร้างราคาพลังงาน
ประเด็นที่ (5) การปฏิรูป ระบบยุ ติ ธ รรม ประชาชนไม่ ส ามารถ ปฏิเสธได้วา่ ไม่รกู้ ฎหมาย ดังนัน้ การปฏิรปู โรงเรียนสอนกฎหมาย นอกจากการให้ ความรู้ด้านกฎหมายแล้ว ต้องสอดแทรก กิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์สาธารณะ และ มีเนื้อหาวิชาพื้นบ้าน ทั้งทางมานุษยวิทยา และสังคมวิทยาควบคู่ เพื่อผลิตบุคลากรที่ เป็ น นั ก หมายที่ รู ้ จั ก สั ง คม มี คุ ณ ธรรม จริยธรรมและไม่แข็งกระด้าง ในการประกอบวิชาชีพกฎหมาย ต้องพัฒนาการประกันคุณภาพ จัดระบบ ทะเบียนของผู้มีวิชาชีพกฎหมาย สามารถ ตรวจสอบได้สะดวก ต้องเผยแพร่กฎหมาย ให้ประชาชน และต้องปลูกจิตส�ำนึกในการ เคารพกฎหมาย รวมถึงพัฒนาระบบการให้ ความช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายให้ มีประสิทธิภาพคุณภาพ และการเข้าถึงได้ อย่างเท่าเทียม ทัง้ มิตใิ นการคุม้ ครองเหยือ่ จากระบบยุติธรรมด้วย ที่ส�ำคัญที่ต้องเน้นย�้ำคือ การผลัก ดันร่าง พ.ร.บ. กองทุนยุติธรรม และร่าง พรบ. เข้าชือ่ เสนอกฎหมายให้สามารถมีผล บังคับใช้ได้จริง สนับสนุนระบบยุติธรรม ชุมชน เพือ่ กระจายระบบยุตธิ รรมสูท่ อ้ งถิน่ ลดปัญหาการกระจุกตัวของคดีทศี่ นู ย์กลาง และลดภาระทางศาล
ประเด็นที่ (6) การปฏิรปู เรือ่ ง ต่อต้านคอร์รัปชั่น จะต้องกระตุ้นให้เห็น ว่าการทุจริต เป็นการกระท�ำของคนที่มี
จิตใจไม่ปกติ รวมทั้งการประพฤติมิชอบ คือ มักใช้อ�ำนาจโดยไม่ชอบธรรม ดังนั้น จึงต้องเร่งรัดใช้กฎหมายและมาตรการที่มี อยู่อย่างจริงจังและรวดเร็ว สิ่งส�ำคัญคือ พยายามเร่งรัดให้มี พลังสังคม ต่อต้านการทุจริต ใช้วิธีการ กล่ อ มเกลาในด้ า นครอบครั ว ศาสนา ชุมชน สื่อมวลชน ท�ำให้มองเห็นว่าการทุ จริตคอร์รัปชั่น เป็นเรื่องเลวร้าย รวมถึงใช้ วิธกี ระจกเงา คือการสร้างตัวอย่างทีด่ ี เพือ่ เป็นแบบอย่างให้กับเยาวชน
ประเด็นที่ (7)
ประเด็นที่ (8)
การปฏิรูป ระบบจัดการแร่ ควรปรับฐานคิดความ เป็นเจ้าของแร่ มาเป็นเจ้าของร่วมระหว่าง รัฐ ท้องถิ่น สาธารณะ ปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยแร่ในเรื่องความเป็นเจ้าของและ ออกกฎหมายให้ ท ้ อ งถิ่ น เป็ น ผู ้ บ ริ ห าร จัดการแหล่งแร่เปลี่ยนระบบการออกใบ อนุญาตให้สอดคล้องกัน “รัฐจะต้องเปิดเผยข้อมูลของแหล่ง แร่และศักยภาพของแหล่งแร่ตอ่ สาธารณะ (ตามมาตรา 57) น�ำต้นทุนทางธรรมชาติ สังคม ค่าเสียโอกาส มาร่วมประเมินความ คุ้มค่าของแหล่งแร่ เก็บเงินประกันความ เสี่ยง และตั้งกองทุนฟื้นฟูเยียวยา จัดแบ่ง รายได้ของแหล่งแร่ระหว่างรัฐและท้องถิน่ ให้เป็นธรรม ก�ำหนดให้นำ� รายได้จากแหล่ง แร่ไปใช้ในกิจการทีป่ ระกาศไว้ลว่ งหน้า คือ การออมระยะยาว การฟื้นฟูธรรมชาติ เป็นต้น”
โครงสร้าง อ�ำนาจ/ชุมชนจัดการตนเอง จะต้องมีการ บริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม โดยชุมชน ท้องถิ่นต้องมีบทบาทอย่างมีนัยส�ำคัญ รัฐ ส่ ว นกลางต้ อ งให้ อ� ำ นาจในการบริ ห าร จั ด การกั บ หน่ ว ยงานรั ฐ ท้ อ งถิ่ น ในการ บริหารจัดการร่วม และกระจายอ�ำนาจให้ ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ระดั บ จั ง หวั ด ภู มิ นิ เวศน์ สามารถจัดการตนเองได้ “รัฐต้องปรับเปลี่ยนระบบและรูป แบบของการใช้อ�ำนาจ มาเป็นนโยบาย สนับสนุนการขับเคลือ่ นชุมชนท้องถิน่ และ จังหวัดจัดการตนเอง โดยสั่งการและมอบ หมายให้ส่วนราชการสนับสนุนแทนการ ด�ำเนินการเอง รวมถึงปรับระบบความ สัมพันธ์เชิงอ�ำนาจ โดยยึดหลักประชาชน เป็นศูนย์กลาง เปิดโอกาสให้ภาคชุมชน และภาคประชาสังคมระดับจังหวัด ได้มี พื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการตัด สินใจต่อปัญหาส�ำคัญๆ ของพื้นที่” ปรั บ โครงสร้ า งดุ ล ยภาพอ� ำ นาจ การบริหารจัดการเพื่อการพัฒนาประเทศ และเสริมสร้างความเข้มแข็งของประชาชน โดยยกเลิกระบบพรรคการเมือง และให้ ส.ส.มาจากการพิจารณาของขบวนสภา องค์กรชุมชนแต่ละพื้นที่เพื่อส่งเข้ามารับ
เลือกตั้ง ซึ่งจะท�ำให้ระบอบประชาธิปไตย ของไทยเป็นระบอบประชาธิปไตยแบบมี ส่วนร่วม ของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาช นอย่างแท้จริง ให้สภาพัฒนาการเมืองเป็นองค์กร อิสระอย่างแท้จริง โดยให้มีงบประมาณที่ ก�ำหนดชัดเจนตามจ�ำนวนประชากรของ ประเทศเป็นอัตรารายหัว ให้มี สสร. ภาค ประชาชนที่จัดตั้งโดยขบวนสถาองค์กร ชุมชนแต่ละจังหวัดในการพิจารณาปรับ ปรุง แก้ไขกฎหมาย และน�ำมาเชือ่ มโยงกัน ในระดับประเทศ
ประเด็นที่ (9) การปฏิรปู ด้าน สตรี/ครอบครัว สนับสนุนให้มีการพัฒนา พระราชบัญญัติส่งเสริมสถาบันครอบครัว พ.ศ. ..เพือ่ การเสริมสร้างความเข้มแข็งของ ครอบครัว และรวมพระราชบัญญัติคุ้ม ครองผู้ถูกกระท�ำในครอบครัว พ.ศ. 2550 เข้าไว้ในฉบับเดียวกัน เพื่อขจัดการเลือก ปฏิบัติต่อสตรีโดยปราศจากอคติทางเพศ การพัฒนามาตรการ กลไกองค์ ความรู้ ด้านการส่งเสริมสิทธิมนุษยชนสตรี และการพั ฒ นากฎหมาย และระเบี ย บ ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องทีเ่ หมาะสมกับบริบทของ สั ง คมไทย การเพิ่ ม พู น ความรู ้ ค วาม สามารถให้กับผู้หญิง เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนสตรี ก�ำหนดแนวทางการน�ำเสนอภาพ ลักษณ์ของผู้หญิงโดยปราศจากอคติทาง เพศ ลดเนื้อหาสาระของสื่อที่ท�ำให้เกิด อคติ ท างเพศ เพิ่ ม โอกาสในความเป็ น พลเมืองของผู้หญิงให้มีบทบาทเป็นที่ยอม รับ สร้างความเท่าเทียมในมิติหญิงชายให้ เกิดขึ้นแท้จริงในสังคม และจัดท�ำพ.ร.บ. ความเท่าเทียมเสมอภาคชายหญิง
ประเด็นที่ (10) การปฏิรูป ด้านชาติพันธุ์/คน ไร้สัญชาติ มุ่งเน้นการ
13
ให้การศึกษาเรื่องความเสมอภาค เชื้อชาติ สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน และด้ า นศี ล ธรรม เพื่ อ บูรณาการ การแก้ไขปัญหาผู้หลบหนีเข้า เมืองโดยผิดกฎหมายเพื่อลดผลกระทบ ด้านความมั่นคงและเพื่อสร้างเอกภาพใน การด�ำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ประเด็นที่ (11) ธรรมนูญภาค ประชาชน สถานการณ์ ป ั จ จุ บั น พบว่ า ระบอบประชาธิปไตยของประเทศ ไม่ได้ สร้างมาจากรากฐานของชุมชน ท�ำให้ท้อง ถิน่ เกิดปัญหาในการพัฒนาด้านต่าง ๆ ขาด ความสมดุ ล ในการจั ด การพั ฒ นา การ จัดการสังคม การสร้างคุณภาพและโอกาส ที่เท่าเทียมของพลเมือง ท�ำให้เกิดการรวม ศูนย์การพัฒนาและความเหลื่อมล�้ำไม่เท่า เทียมอย่างรุนแรง “การร่างรัฐธรรมนูญ กลายเป็น เพียงเครื่องมือของการช่วงชิงการจัดการ อ�ำนาจของระบบส่วนกลางและกลุ่มการ เมือง มิใช่วาระแห่งการสร้างประชาธิปไตย ที่อาจไม่จ�ำเป็นจะต้องเป็นรูปแบบจาก ระบบตัวแทนเพียงอย่างเดียว แต่ควรจะ สามารถท� ำ ให้ เ กิ ด โอกาสในการจั ด การ ตนเอง และการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นใน เรื่องต่าง ๆ ให้ได้มากที่สุด” ทั้ ง นี้ ก ารประชุ ม ดั ง กล่ า วเป็ น เพี ย งการเปิ ด พื้ น ที่ ใ ห้ ทุ ก ภาคส่ ว นที่ เกี่ยวข้องได้มีส่วนร่วมในการให้ข้อเสนอ แนะในประเด็ น ปฏิ รู ป เพื่ อ นำ�ไปสู่ ก าร กำ�หนดเป็นร่างระเบียบวาระสมัชชาปฏิรปู ระดับชาติ ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2556 ซึ่งจะมีขึ้น ในวันที่ 31 พฤษภาคม - 2 มิถนุ ายน 2556 และเมื่อได้ข้อสรุปแล้ว สำ�นักงานปฏิรูป จะเสนอต่อคณะกรรมการดำ�เนินการจัด สมัชชาปฏิรปู เพือ่ เผยแพร่สสู่ าธารณะและ ภาคีเครือข่ายได้ร่วมผลักดันสู่การปฏิบัติ ต่อไป
นางกรรณิการ์ บรรเทิงจิตร รองผู้ อำ�นวยการสำ�นั ก งานปฏิ รู ป (สปร) สำ�หรับหลักเกณฑ์ในการ กำ�หนดประเด็นเพื่อบรรจุในระเบียบ วาระสมั ช ชาปฏิ รู ป ระดั บ ชาติ ซึ่ ง กำ�หนดขึ้นโดยอนุกรรมการวิชาการ คือ ต้องเป็นประเด็นสำ�คัญที่ส่งผล กระเพื่ อ มต่ อ การปฏิ รู ป สั ง คมในวง กว้าง และสามารถส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขับเคลื่อนในเชิงโครงสร้างของ สังคม และนำ�ไปสู่การปรับเปลี่ยนวิธีคิด กลไก กฎหมายในที่สุด รวมทั้งเป็นข้อ เสนอทีผ่ ลักดันเพือ่ เกิดมติหรือเพือ่ ให้เกิดกลไก กระบวนการในการขับเคลือ่ นต่อ เช่น การนำ�ไปสู่การจัดเวทีเพื่อระดมความคิดเห็นในแต่ละภาคส่วนต่างๆ การระดมสรรพกำ�ลังในครั้งนี้ถือเป็นเพียงจุดเริ่มต้นที่ทุกคนต่างมารับ รู้ข้อมูล และเสนอแนะข้อคิดเห็นร่วมกัน โดยหลังจากนี้อนุกรรมการวิชาการ จะ พิจารณาว่าประเด็นที่นำ�เสนอนั้นจะสามารถยกร่างเข้าสู่กระบวนการสมัชชา ปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2556 ได้
14
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
ปีที่ 2 ฉบับที่ 8 กันยายน 2555
มอบ 9 เครือข่ายอุดมศึกษาชูธง ‘หนึ่งมหาวิทยาลัยหนึ่งจังหวัด’ ชัดเจน ของทิศทางและเป้าหมายในการ เครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการปฏิรูป เดินหน้าขับเคลือ่ นปฏิรปู การศึกษาในภาพ ขับเคลื่อน 5 ประเด็น ดัน รวมของประเทศ รวมทั้งงบประมาณใน “หนึ่งมหาวิทยาลัยหนึ่งจังหวัด” การด�ำเนินการ ที่จัดสรรให้น้อยเกินไป เป็นธงน�ำ พร้อมให้ 9 เครือข่ายฯ หากเทียบกับภารกิจระดับประเทศ พร้อม ลงพื้นที่เก็บข้อมูลน�ำเสนอ “โมเดล” กั บ หยิ บ ยกหั ว ข้ อ การด� ำ เนิ น การหนึ่ ง เพื่อเดินหน้าไปในทิศทางเดียวกัน มหาวิทยาลัยหนึ่งจังหวัด ขึ้นมาเป็นธงน�ำ และเกิดหนึ่งมหาวิทยาลัย ในการเดินหน้าการปฏิรูป หนึ่งจังหวัดอย่างแท้จริง “ส�ำหรับกรอบแนวทางการด�ำเนิน การและความร่ ว มมื อ ของเครื อ ข่ า ย อุดมศึกษาเพือ่ การปฏิรปู นัน้ ทีป่ ระชุมมีมติ ผู้สื่อข่าวรายงานว่า เมื่อวันที่6 ให้เครือข่ายฯทั้ง 9 เครือข่าย ประกอบไป สิงหาคม 2555 ทีห่ อ้ งประชุมสัญญา ธรรม ด้วย 1. ภาคเหนือตอนบน 2. ภาคเหนือ ศั ก ดิ์ ตึ ก โดม ชั้ น 2 มหาวิ ท ยาลั ย ตอนล่าง 3. ภาคอีสานตอนบน 4. ภาค ธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ศ.ดร.สมคิด อีสานตอนล่าง 5. ภาคตะวันออก 6. ภาค เลิ ศ ไพฑู ร ย์ อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย กลางตอนบน 7. ภาคกลางตอนล่าง 8. ธรรมศาสตร์ และกรรมการสมัชชาปฏิรูป ภาคใต้ตอนบน และ 9. ภาคใต้ตอนล่าง กล่ า วระหว่ า งเป็ น ประธานการประชุ ม ลงพื้นที่ไปส�ำรวจและรวบรวมข้อมูลพื้น คณะกรรมการเครือข่ายอุดมศึกษาเพือ่ การ ฐานแต่ละพื้นที่ว่ามีจุดดี จุดเด่น ข้อเสีย ปฏิรูป โดยมีการหารือแนวทางการปฏิรูป และข้ อ ด้ อ ย รวมทั้ ง อะไรที่ เ ป็ น ความ การศึ ก ษา สร้ า งคุ ณ ภาพและลดความ เหลื่อมล�้ำของแต่ละพื้นที่ แล้วให้เสนอ เหลื่อมล�้ำในสังคม ร่วมสร้างประเทศไทย ความคิดเห็น เพือ่ จัดประชุมรวมทัง้ สัมมนา น่าอยู่ จ�ำนวน 5 เรื่อง ได้แก่ 1. พัฒนา รวมทัง้ ไปหารูปแบบของมหาวิทยาลัยทีท่ ำ� วิ ช าการสายรั บ ใช้ สั ง คม 2. หนึ่ ง มหา เป็นรูปธรรมในอยูป่ จั จุบนั มาเป็น ตัวอย่าง วิทยาลัยหนึ่งจังหวัด 3. จัดตั้งศูนย์จัดการ รวมทัง้ แลกเปลีย่ นความรูแ้ ละความคิดเห็น ความรู้ เพื่อพัฒนาจังหวัด 4. การสร้าง สรุปให้เสร็จภายในเดือนตุลาคม ก่อนเสนอ ความเป็นพลเมืองของนิสิตนักศึกษา และ ให้ส�ำนักงานปฏิรูป (สปร.) พิจารณา โดย 5. การสร้างบรรยากาศเพือ่ การปรับตัวของ ให้ใช้งบประมาณเครือข่ายฯละ 50,000 สถาบันอุดมศึกษา บาท” ขณะเดียวกันยังได้หารือถึงความ ศ.ดร.สมคิ ด กล่ า วเพิ่ ม เติ ม โดย
• ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์
ยอมรับว่าจะปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบ ไม่ ได้ เพราะที่ผ่านมา มีการปฏิรูปการศึกษา ไปแล้ว 2 ครั้ง ดังนั้นที่ประชุมควรเลือก เรือ่ งทีจ่ ะด�ำเนินการ เพือ่ ทีจ่ ะท�ำให้มผี ลต่อ การปฏิรปู ของประเทศอย่างแท้จริง โดยจะ มีการหารือกับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ว่าจะมี ส่วนร่วมในการปฏิรูปการศึกษาอย่างไร บ้าง เพือ่ จ�ำกัดวงให้ชดั เจนว่าเป็นเรือ่ งของ มหาวิทยาลัย ไม่ใช่เรื่องการจัดการคึกษา ทุ ก ระดั บ ไม่ ร วมประถมศึ ก ษาและ มัธยมศึกษา “หลายฝ่ายมีความเห็นว่าเรือ่ งการ ปฏิ รู ป การศึ ก ษาในระดั บ อุ ด มศึ ก ษา มี ความหลากหลายแต่เรื่องที่ส�ำคัญมากคือ “หนึ่งมหาวิทยาลัยหนึ่งจังหวัด” ที่มหา วิทยาลัยต่าง ๆ ได้ดำ� เนินการอยูแ่ ล้ว จึงน�ำ
จี้รัฐอุดช่องโหว่รับจำ�นำ� แนะตั้งสภาข้าวรับเออีซี อดีตรองผู้จัดการธ.ก.ส.“เอ็นนู” จี้รัฐกำ�จัดช่องว่างทุจริตจำ�นำ�ข้าว ก่อนเกิดความเสียหายใหญ่หลวง ห่วงชาวนาเดือดร้อน พร้อมแนะตั้ง “สภาข้าว” มีตัวแทนทุกฝ่ายดูแล ทั้งระบบ แต่ไม่ให้มีการเมือง ระบุหากเปิดเออีซีแล้วรัฐบาล ไม่ได้ทำ�อะไรรองรับ ชาวนาไทยตายแน่ นายเอ็นนู ซื่อสุวรรณ ประธาน กรรมการเครือข่ายปฏิรปู เพือ่ คุณภาพชีวติ เกษตรกร และคณะกรรมการสมั ช ชา ปฏิรูป มองปัญหาการทุจริตโครงการรับ จ�ำน�ำข้าวของรัฐบาลในขณะนี้ว่า ในระยะ สัน้ ชาวนาได้ประโยชน์จากราคาจ�ำน�ำทีส่ งู แต่ในระยะยาวนโยบายนี้ไม่เป็นผลดีและ
จะมีปัญหาเรื่องการรั่ว ไหลอย่ า งมาก ขณะ เดียวกันรัฐบาลต้องจัด ระบบการระบายข้าว ออกโดยเร็ว เพราะถ้า นานเกิน 6 เดือนคุณภาพข้าวจะเสื่อม ค่า เก็บรักษาจะเพิ่มขึ้นและถ้าเก็บไม่ดีก็ยิ่ง เสื่อมเร็ว ขณะเดี ย วกั น รั ฐ บาลควรหาวิ ธี ก�ำจัดช่องโหว่หรือช่องว่าโครงการจ�ำน�ำ ข้าวที่มีการ ทุจริตได้ในทุกขั้นตอน ตั้งแต่ การออกใบประทวนเพื่อเป็นหลักฐานใน การรับจ�ำน�ำ ซึง่ ชาวนาอาจรูเ้ ห็นกับเกษตร ต�ำบล เพิ่มตัวเลขเกินความจริง หรือในขั้น ตอนการส่งมอบข้าวในจุดรับจ�ำน�ำที่โรงสี อาจรู้เห็นกับเกษตรต�ำบลหรือ ชาวนา รับ จ�ำน�ำสูงเกินจริง หรือแม้แต่การเก็บรักษา ข้าว โรงสีก็มีโอกาสร่วมมือกับโกดังกลาง ไม่สง่ ข้าวตรงตามปริมาณและคุณภาพ แต่ ลั ก ลอบน� ำ ไปขาย หรื อ อาจเก็ บ ข้ า ว คุณภาพดีไว้ขายในโกดังของตัวเองเป็นต้น “ส่วนการแปรสภาพข้าวนั้น โรงสี อาจไม่น�ำข้าวเปลื อ กไปแปรสภาพตาม
• เอ็นนู ซื่อสุวรรณ
จ�ำนวนและคุณภาพตามที่ส่งมอบไว้ หรือ การเก็บสต็อคเอาไว้ ก็อาจลักลอบน�ำข้าว ในโกดังไปขาย แล้วน�ำข้าวคุณภาพต�่ำมา ใส่คืน หรือแม้แต่การตรวจสอบคุณภาพ ข้าว โดยบริษทั เซอร์เวย์เยอร์ ก็มโี อกาสรับ เงิ น ใต้ โ ต๊ ะ ในการเช็ ค สต็ อ คและตรวจ คุ ณ ภาพข้ า วในโกดั ง ได้ ตลอดถึ ง การ ระบายข้ า ว ซึ่ ง ผู ้ ส ่ ง ออกอาจจั บ มื อ กั บ นักการเมืองในการฮั้วการประมูล จน ท�ำให้รัฐขาดทุนจากการขายข้าวราคาถูก ทั้งๆที่รับจ�ำน�ำในราคาสูง” นายเอ็นนู กล่าวอีกว่าส�ำหรับการ
เรื่ อ งดั ง กล่ า วมาเดิ น หน้ า โดยให้ ทุ ก มหาวิ ท ยาลั ย มี เ ป้ า หมายไปในทิ ศ ทาง เดียวกัน เพื่อท�ำให้เกิดหนึ่งมหาวิทยาลัย หนึ่งจังหวัดอย่างแท้จริง” อย่ า งไรก็ ต าม ในส่ ว นของงบ ประมาณในการด�ำเนินการถือว่าน้อยมาก ส�ำหรับงานวิจัย ซึ่งการลงพื้นที่เก็บข้อมูล นัน้ งบประมาณ 1-10 ล้าน ก็ไม่พออยูแ่ ล้ว แต่ที่ประชุมฯ มีงบประมาณ 450,000 บาท เท่านั้น ก็ยืนยันว่าจะเดินหน้าต่อไป ทั้งนี้ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคล จะช่วยสนับสนุนงบประมาณ เพื่อ ให้เกิดความคล่องตัวมากยิ่งขึ้น อนึ่ ง การประชุ ม ครั้ ง นี้ มี ตั ว แทน จากเครือข่ายอุดมศึกษา เข้าร่วม อาทิ รศ.เปรื่อง กิจรัตน์ภร ประธานที่ประชุม อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ นายสมภพ เพชรรัตน์ ประธานคณะกรรมการอธิการ บดี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคล ผศ.วิรัช เลิศไพฑูรย์พันธ์ ประธานฝ่าย วิชาการและประกันคุณภาพการศึกษา ใน ฐานะนายกสมาคมสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา เอกชนแห่งประเทศไทย ดร.กีร์รัตน์ สงวน ไทร อธิการบดีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ใน ฐานะประธานที่ ป ระชุ ม อธิ ก ารบดี ม หา วิทยาลัยในก�ำกับของรัฐ และ รศ.พิษณุ เจียวคุณ ประธานคณะกรรมการเครือข่าย เพื่อการพัฒนาอุดมศึกษา ภาคเหนือตอน บน เป็นต้น ขายข้าวนั้นควรจะขายแบบจีทูจี เพื่อให้ สต็อคลดลง ราคาจะได้ขยับขึ้น และถ้า เป็นตลาดเก่า จีทจู กี ส็ ามารถแถมได้ ราคา ไม่ต้องลดลง แต่มีแถม เหมือนสินค้าเปิด นาทีทองซื้อสอง-สามแถมหนึ่ง เพื่อไม่ให้ เสียราคา หรือถ้าตลาดใหม่กใ็ ห้ทตู พาณิชย์ ไปแจกเลย เช่นช่วยผู้ยากจน ให้ได้กินข้าว ไทย อร่อยแล้วเขามาซื้อใหม่ “อีกสองปีจะเปิด เออีซี รัฐจะต้อง มีหน่วยงานมาดูแลข้าวไทยทัง้ ระบบ ตัง้ แต่ การผลิต แปรรูป และตลาด แต่ไม่ต้องมี การเมืองเข้ามา หรือจะมีสภาข้าวเลยก็ได้ ให้มีตัวแทนชาวนาตัวแทนรัฐบาล ผู้แทน โรงสี ผู้ส่งออก มารวมกันบริหาร เน้นการ มีข้อมูลข่าวสารให้คนรู้เท่าทัน ว่าตลาด ข้าวโลกเป็นอย่างไร คูแ่ ข่งเป็นอย่างไร“เมือ่ เปิดเออีซแี ล้ว หากยังไม่ทำ� อะไรชาวนาจะ ตาย ถ้ามีขา้ วกัมพูชา หรือข้าวพม่าเข้ามาตี ตลาด เราไม่สามารถไล่จับเขาได้ ขณะที่ ผู้ส่งออกไม่ได้รับ ผลกระทบ โรงสีก็ไม่ กระทบ แต่ชาวนาจะตายเพราะขายข้าว ไม่ออก”
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
ปีที่ 2 ฉบับที่ 8 กันยายน 2555
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2555 ที่อาคาร สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัย บูรพา อ�ำเภอบางแสน จังหวัด ชลบุรี คณะกรรมการปฏิรูป จังหวัดชลบุรี จัดเวทีสมัชชาปฏิรูป วิถีชล บนสวรรค์สีเขียว โดยนายวิทยา ปิยะพงษ์ ประธาน คณะกรรมการปฏิรูปจังหวัดชลบุรี และรศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม อาจารย์ประจ�ำคณะสาธารณสุข ศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา มีประชาชนจากหมู่บ้าน ต�ำบล อ�ำเภอต่างๆ ในจังหวัดชลบุรี เข้าร่วม ประมาณ 150 คน นายวิทยา กล่าวถึงความเป็น มาสมัชชาปฏิรูปจังหวัดชลบุรี ว่า ตนเอง เป็นสมาชิกสมัชชาปฏิรปู ประเทศไทย เคย ได้เข้าร่วมรับฟังแนวทาง การจัดสมัชชา ระดั บ จั ง หวั ด เพราะอยากเห็ น ความ เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี ขณะเดียวกัน มหาวิทยาลัยบูรพาก็ได้ศกึ ษาข้อมูลพืน้ ฐาน ของจังหวัดชลบุรีรวมทั้งวิสัยทัศน์ ผลกระ ทบ การขยายเครือข่ายทางเกษตรเพื่อ เปลี่ยนแปลงการเกษตรของจังหวัดชลบุรี อย่ า งไรก็ ต าม จั ง หวั ด ชลบุ รี เ ป็ น เมื อ ง อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว และเกษตร กรรม ซึ่งสอดคล้องกับมติที่ 2 ของสมัชชา ปฏิรูประดับชาติครั้งที่ 2 เมื่อเดือนมีนาคม
คนชลบุรีประกาศเจตนารมณ์ปฏิรูป อนุรกั ษ์ผนื ป่าตะวันออก-ป่าชายเลน ที่ ผ ่ า นมา ซึ่ ง จั ง หวั ด ชลบุ รี มี ท รั พ ยากร สอดคล้องกับการปฏิรูปการเกษตรอย่าง ยั่งยืน รศ.ดร.กุหลาบ กล่าวว่า ได้ท�ำการ วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของพื้นที่และทุน สังคม โดยเริ่มจากความเป็นมาตั้งแต่อดีต ถึงปัจจุบัน เมื่อท�ำการวิเคราะห์เสร็จแล้ว จึงจัดท�ำยุทธศาสตร์และเป้าประสงค์ ใน การจัดท�ำแผนพัฒนาจังหวัด จากนั้นได้มีการเสวนาเรื่องวิถีชล บนสวรรค์สเี ขียว โดยมีวทิ ยากรร่วมเสวนา อาทิ ครูละเมียด อิฐงาม ประธานสภา องค์ ก รชุ ม ชน ต.วั ด หลวง อ.พนั ส นิ ค ม ดร.อนุรักษ์ เรืองรอบ ประธานวิสาหกิจ ชุมชนสวรรค์สีเขียวหนองรี นายวีระพันธ์ จันทรนิภา (ลุงจุก) ผู้ได้รับรางวัลลูกโลกสี เขียว ปีพ.ศ.2553 นายสมิต ธารา ผู้ใหญ่ บ้านหมู่ 1 ต.คลอง ต�ำหรุ อ.เมือง จ.ชลบุรี และประธานกลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลน ขณะเดี ย วกั น ได้ มี ก ารประกาศ เจตนารมณ์ของคนชลบุรี เพื่อคนชลบุรี สมัชชาปฏิรูปจังหวัดชลบุรี “วิถีชล บน สวรรค์สีเขียว” เพื่อความเจริญก้าวหน้า ทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม พร้อมกับ การด�ำรงไว้ซึ่งทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิ ปัญญาท้องถิน่ และความเข้มแข็งของชุมชน ในจังหวัดชลบุรีว่า พวกเราชาวชลบุรี จะ
ร่วมกันอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรม ชาติ สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นและพัฒนา ชุมชนให้น่าอยู่บนฐานเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อความผาสุกของชาวชลบุรี ดังนี้ 1. เราจะร่วมกันอนุรักษ์และฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติ ตัง้ แต่ผนื ป่าตะวันออก ป่าชุมชน ป่าครอบครัวและป่าชายเลน 2. เราจะร่วมกันสืบสานภูมิปัญญา ท้องถิน่ โดยการสืบค้นข้อมูล รวบรวมและ เก็บรักษาเครือ่ งมือเครือ่ งใช้ ตลอดจนฟืน้ ฟู และถ่ายทอดภูมิปัญญาของชุมชน 3. เราจะน้อมน�ำเศรษฐกิจพอเพียง มาสู ่ ก ารปฏิ บั ติ โดยเริ่ ม ต้ น จากตั ว เอง ครอบครัวและชุมชน และ 4. เราจะผนึ ก ก� ำ ลั ง สร้ า งพลั ง
แนะใช้ทรัพยากรสร้างสมดุลธรรมชาติ เพิม่ พลังพลเมืองวิถชี ล บนสวรรค์สเี ขียว
ในการเสวนา เพิม่ พลังพลเมือง วิถี ชล บนสวรรค์สเี ขียว จัดโดยคณะกรรมการ ปฏิรูปจังหวัดชลบุรี ที่อาคารสาธารณสุข ศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา อ�ำเภอบาง แสน จังหวัดชลบุรี เมื่อวันที่ 28 กรกฎา คม 2555 มีวิทยากรเข้าร่วม อาทิ นาย สุ ร ศั ก ดิ์ บุ ญ เที ย น ผู ้ ช ่ ว ยผู ้ อ� ำ นวยการ ส�ำนักงานปฏิรูป (สปร.) นางบุญถม รัตน อาภา รองปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด ชลบุรี (อบจ.) นายวิชัย นะสุวรรณโน ผู้ จัดการส�ำนักงานสนับสนุนขบวนองค์กร ชุมชน สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) และ นายบัญญัติ ขาวสะอาด สมาชิกสภา องค์กรเกษตรจังหวัดชลบุรี นาย สุรศักดิ์ กล่าวว่า การเพิม่ พลัง พลเมือง มี 3 วิธี ได้แก่ 1. เพิ่มการมีส่วน ร่วมในการตัดสินใจให้มากขึ้น 2. มีองค์ ความรูม้ ากขึน้ กว้างขึน้ และลึกขึน้ และ 3. ต้องส่งเสริมการเข้าถึงระบบ การจัดการ
15
• สุรศักดิ์ บุญเทียน
และสิทธิการเข้าถึงของประชาชนในทุก ด้านอย่างเท่าเทียมกัน เพือ่ ทีจ่ ะน�ำไปสูก่ าร จัดการตัวเอง นอกจากนี้รัฐจะต้องเปลี่ยน ระบบการท�ำงาน จาก”สั่ง การ” เป็น “สนับสนุน” ขณะทีป่ ระชาชน ต้องเปลีย่ น จาก “ผู้รับ” เป็น “ผู้ร่วม” ร่วมคิดร่วมท�ำ
ส่วนนักลงทุน เปลีย่ นจาก “ผูม้ สี ว่ นได้เสีย” เป็น “หุ้นส่วน” ร่วมกับภาครัฐ ขณะทีน่ าย วิชยั กล่าวว่า ขอชืน่ ชม กระบวนการภาคพลเมืองที่มีความคิดใน การเดินหน้าท�ำร่วมกัน เพราะทีผ่ า่ นมาการ ขับเคลือ่ นประเทศ ท�ำลายระบบความเชือ่ มั่ น ของชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ท� ำ ให้ เ กิ ด ความ อ่อนแอและสูญหายไปในที่สุด อย่างไร ก็ตามการเดินหน้าเป็นสิ่งที่ท�ำถูกต้องแล้ว และขอให้เชื่อมั่นด้วย นอกจากนี้ยังเห็น ศักยภาพและโอกาสของจังหวัดชลบุรีที่มี สูงมาก เพราะว่ามีการตื่นตัว ในการแก้ไข ปัญหาของตนเอง แต่ยังขาดกระบวนการ ท�ำอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งศึกษาจากพื้นที่ ตั ว อย่ า งที่ ป ระสบความส� ำ เร็ จ น� ำ มา เป็ น ต้ น แบบของชุ ม ชน ตลอดจนแบ่ ง หน้าที่ให้ชัดเจนในภาคผลิต ภาคบริการ และภาคอุตสาหกรรม ซึ่งจะน�ำไปสู่เพิ่ม พลังพลเมือง วิถชี ล บนสวรรค์สเี ขียว เป็นก
พลเมือง เพื่อพัฒนาชุมชนของตนเองให้ เป็นชุมชนน่าอยู่ตามหลัก 3 ประการข้าง ต้น และสืบสานเครือข่ายวิถชี ล บนสวรรค์ สีเขียวให้เข้มแข็งต่อไป ในช่วงบ่ายมีการเสวนา เพิ่มพลัง พลเมือง วิถีชล บนสวรรค์สีเขียว โดยมี วิทยากรเข้าร่วมเสวนา อาทิ นายสุรศักดิ์ บุญเทียน ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน ปฏิรูป (สปร.) นางบุญถม รัตนอาภา รอง ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี นาย วิ ชั ย นะสุ วรรณโน ผู ้ จั ด การส� ำ นั ก งาน สนั บ สนุ น ขบวนองค์ ก รชุ ม ชน สถาบั น พั ฒ นาองค์ ก รชุ ม ชน (พอช.) และนาย บัญญัติ ขาวสะอาด สมาชิกสภาองค์กร เกษตรจังหวัดชลบุรี
ระบวนการภาคประชาชนอย่างแท้จริงทีไ่ ด้ รับการสนับสนุนจากทุกภาคส่วน นาย บัญญัติ กล่าวว่า ตามที่คณะ รัฐมนตรี(ครม.)มีมติเห็นชอบให้จัดตั้งสภา เกษตรกรแห่ ง ชาติ และได้ มี พ ระราช บัญญัติสภาเกษตรแห่งชาติ พ.ศ.2553 ก� ำ หนดให้ มี ก ารเลื อ กผู ้ แ ทนเกษตรกร ระดั บ หมู ่ บ ้ า น ระดั บ ต� ำ บลและระดั บ อ�ำเภอ โดยผู้แทนเกษตรกรระดับอ�ำเภอ เป็นสมาชิกสภาเกษตรกรจังหวัด ส�ำหรับ จั ง หวั ด ชลบุ รี มี ส มาชิ ก สภาเกษตรกร จังหวัด จ�ำนวน 16 คน มีนายไพชยนต์ กังวลกิจ เป็นประธานฯมีหน้าที่ส่งเสริม การผลิตและการตลาดด้านการเกษตรแก่ เกษตรกร เสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง แก่ เกษตรกรและองค์กรเกษตรกร รวมทั้งจัด ท�ำฐานข้อมูลด้านการเกษตรในจังหวัด จัด ท�ำแผนแม่บทพัฒนาเกษตรกรรมจังหวัด และสะท้ อ นปั ญหาความต้ อ งการแก้ ไข้ ปั ญ หาด้ า นการเกษตร เสนอต่ อ สภา เกษตรกรแห่งชาติรวบรวมเสนอต่อครม. เพือ่ พิจารณาก�ำหนด นโยบายและแนวทาง พัฒนาการเกษตรของรัฐต่อไป
16
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
ปีที่ 2 ฉบับที่ 8 กันยายน 2555
รายงานพิเศษ • ปลายฟ้า-ฝนโปรย
ในเวทีสมัชชาปฏิรูปวิถีชล บนสวรรค์สีเขียว ณ อาคารสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัย บูรพา อำ�เภอบางแสน จังหวัดชลบุรี เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2555 จัดโดย คณะกรรมการปฏิรูปจังหวัดชลบุรี ที่มีนายวิทยา ปิยะพงษ์ ประธานฯ และ มหาวิทยาลัยบูรพา โดย รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม อาจารย์ประจำ�คณะ สาธารณสุขศาสตร์ มีประชาชนจาก หมู่บ้าน ตำ�บล อำ�เภอ ต่างๆในจังหวัดชลบุรี เข้าร่วม ประมาณ 150 คน นายวิทยา กล่าวว่า เมื่อปี 2548 มี ก ารวิ เ คราะห์ ถึ ง วิ ก ฤติ ข องประเทศ ประกอบด้วย 1. ด้านเศรษฐกิจ 2. สังคม 3. การเมือง ซึ่งการเมืองการปกครอง ประสบปัญหา 4. กลไกลรัฐ ที่ติดขัดไม่ สามารถขับเคลื่อนไปได้ 5. ทรัพยากร ธรรมชาติถูกท�ำลาย ส่งผลให้ประชาชน และชุมชน ขาดภูมิต้านทาน จึงได้เข้าร่วม รับฟังแนวทางการจัดสมัชชาระดับจังหวัด ขณะเดียวกัน มหาวิทยาลัยบูรพาได้ศกึ ษา ข้อมูลพื้นฐานของจังหวัดชลบุรี รวมทั้ง วิสัยทัศน์ ผลกระทบการขยายเครือข่าย ทางเกษตรเพื่อเปลี่ยนแปลงการเกษตร ของจังหวัดชลบุรี ทีเ่ ป็นเมืองอุตสาหกรรม การท่ อ งเที่ ย ว และเกษตรกรรม ซึ่ ง สอดคล้องกับมติที่ 2 ของสมัชชาปฏิรูป ระดับชาติครัง้ ที่ 2 เมือ่ เดือนมีนาคม ทีผ่ า่ น มา ในเรื่องการปฏิรูปการเกษตรอย่าง ยั่งยืน ด้านรศ.ดร.กุหลาบ กล่าวว่า ได้ ท�ำการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของพื้นที่ และทุนสังคม ตัง้ แต่อดีตถึงปัจจุบนั จึงจัด ท�ำยุทธศาสตร์และเป้าประสงค์ ในการจัด ท�ำแผนพัฒนาจังหวัด นอกจากนี้ยังได้ วิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติ ที่ประกอบ ไปด้วย ป่า ไม้ น�้ำ ชายฝั่งทะเลและใน ทะเล ด้านการศึกษา สาธารณสุข ศาสนา จ�ำนวนประชากร อัตราความหนาแน่น ของประชากร ปฏิทินกิจกรรมประจ�ำปี ด้านเศรษฐกิจ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม และการท่องเที่ยว รวมทั้งจัดท�ำสมัชชา เฉพาะพื้ น ที่ ค ลองต� ำ หรุ จั ด ท� ำ สมั ช ชา เฉพาะประเด็นเกษตรยั่งยืน ที่บ้านทุ่ง เหียน ดร.อนุรักษ์ เรืองรอบ ประธาน วิสาหกิจชุมชนสวรรค์สเี ขียวหนองรี กล่าว ว่า ได้จดั ท�ำพืน้ ทีส่ เี ขียวทีป่ ลอดสารพิษ ทัง้ อากาศและอาหาร โดยมีเป้าหมายสร้าง ชุมชนหนองรีเป็นพื้นที่สีเขียวและปลอด สารพิษโดยสิ้นเชิง เพราะที่ผ่านมาพบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ใช้ยาฆ่าแมลงและสาร
• ดร.อนุรักษ์ เรืองรอบ
• รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม
• วิทยา ปิยะพงษ์
วิ ถ ช ี ล บนสวรรค์สเี ขียว • วีระพันธ์ จันทรนิภา (ลุงจุก) • สมิต ธารา
• ครูละเมียด อิฐงาม
ลดละเลิกใช้สารเคมีทก ุ ชนิด
เคมี ท�ำปุ๋ยการเกษตร ซึ่งส่งผลให้ยาฆ่า แมลงและสารเคมี เข้ามาเป็นส่วนหนึง่ ของ ร่างกายจนท�ำให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บตามมา “เนื่องจากพบว่าประชาชนส่วน ใหญ่มสี ารเคมีสะสมอยูใ่ นร่างกาย รวมทัง้ ผักและผลไม้ที่มาจากภาคเหนือ เกือบ 100 เปอร์เซ็นต์ มีสารเคมีปนเปื้อนอยู่ ดัง นัน้ จึงอยากขอร้องให้ประชาชนเลิกใช้สาร เคมีในการปลูกพืช แต่ควรใช้วธิ ธี รรมชาติ ซึ่งจะได้ชีวิตในการเชื่อมโยงธรรมชาติ” นายวีระพันธ์ จันทรนิภา (ลุงจุก) ผูไ้ ด้รบั รางวัลลูกโลกสีเขียว ปี 2553 กล่าว ว่า จากการศึกษาพบว่าในอนาคตโลกจะ ร้อนขึ้น ดังนั้นจึงต้องการปลูกป่า จึงได้ ท�ำการทดลองจ�ำลองป่าที่ใกล้เคียงกับ ธรรมชาติให้มากที่สุด ซึ่งที่บ้านทุ่งเหียนมี สภาพอากาศที่ดี เหมาะแก่การปลูกป่า เป็ น อย่ า งยิ่ ง โดยได้ ท� ำ การปลู ก ต้ น ไม้ และพื ช ที่ มี ค วามหลากหลาย ซึ่ ง ผล ประโยชน์ที่ได้รับกลับมานั้น คือความสุข กายสบายใจ สุขภาพดีและได้ความร�ำ่ รวย กลับมา ขณะที่นายสมิต ธารา ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 1 ต.คลองต�ำหรุ อ.เมือง จ.ชลบุรี และ ประธานกลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลน กล่าวว่า พื้นที่ป่าชายเลนคลองต�ำหรุ ถือว่าเป็นป่า ชายเลนอุดมสมบูรณ์ เนือ่ งจากประชาชน และผู้น�ำท้องถิ่นได้ร่วมกันอนุรักษ์ไว้ เพื่อ
ไม่ให้ใครมาท�ำลาย เพราะหากไม่ร่วมกัน อนุรกั ษ์ไว้ ปัจจุบนั คงไม่เหลือพืน้ ทีป่ า่ ชาย เลนให้ ค นรุ ่ น หลั ง ได้ ช มอย่ า งแน่ น อน ทั้งนี้ที่ผ่านมาไม่มีใครให้ความสนใจที่จะ อนุรกั ษ์ดแู ลป่าชายเลนดังกล่าว และมีการ กล่าวโจมตีว่าจะอนุรักษ์ไปเพื่ออะไร แต่ ในฐานะผู้น�ำหมู่บ้านก็เริ่มเข้าไปอนุรักษ์ ดูแล จนปัจจุบันสามารถสร้างชื่อเสียงให้ กับพืน้ ทีแ่ ละจังหวัด เนือ่ งจากได้รบั รางวัล 3 ปี ซ้อน ในเรือ่ งการบริหารจัดการป่าชาย เลนแห่งนี้ “การอนุ รั ก ษ์ นั้ น ได้ เริ่ ม จากจุ ด เล็ก ๆ ไปสูค่ รอบครัว จากนัน้ เข้าสูห่ มูบ่ า้ น และสู่สังคมต่อไปและปัจจุบันนี้มีองค์กร ทั้งภาครัฐ และเอกชนเข้ามาให้การสนับ
สนุน จนป่าชายเลนคลองต�ำหรุ มีการ อนุรักษ์พื้นที่กว่า 1,200 ไร่แล้ว ท�ำให้ ความเป็นอยู่ของประชาชนในหมู่บ้าน คลองต�ำหรุ และพื้นที่ใกล้เคียงมีความ เป็นอยู่ที่ดีขึ้น เนื่องจากได้ผลประโยชน์ จากการอนุรกั ษ์ปา่ ชายเลน ท�ำให้มสี ตั ว์นำ�้ เข้ามาอยูอ่ าศัย สร้างรายได้ให้กบั ชาวบ้าน ที่จับสัตว์น�้ำไปบริโภคและขาย นอกจากนี้ยังได้สร้างความเข้าใจ กับชาวบ้านในการอนุรักษ์ ดูแลป่าชาย เลน และสามารถสร้างรายได้ด้วย ท�ำให้ ชาวบ้านหวงแหนและช่วยกันอนุรกั ษ์ดแู ล อย่างจริงจัง และเมื่อเกิดปัญหาหรือผล กระทบต่อป่าชายเลนแห่งนี้ ก็จะรวมตัว ป้องกันไม่ให้เกิดขึ้น ซึ่งล่าสุดปัญหาการ ถูกน�ำ้ ทะเลกัดเซาะป่าชายเลน ท�ำให้พนื้ ที่ หายไปเป็นจ�ำนวนมาก จึงได้ร่วมกันน�ำ ไม้ไผ่มาปัก เพื่อเป็นแนวกันคลื่น เพื่อไม่ ให้ถูกน�้ำทะเลกัดเซาะเพิ่มมากขึ้น” อย่ า งไรก็ ต ามสิ่ ง ที่ อ ยากเห็ น ใน จังหวัดชลบุรี เพือ่ ให้สามารถปฏิรปู จังหวัด ชลบุรี ได้ ต้องกลับไปเริ่มต้นที่ 3 ค. ได้แก่ 1. ครองตน โดยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตัว เอง 2. ครองคน โดยเริ่มจากครอบครัว ท� ำ ความเข้ า ใจและเดิ น หน้ า ไปด้ ว ยกั น และ 3. ครองงาน โดยจัดท�ำกิจกรรมต่างๆ ในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ตามแนว พระราชด�ำริ “เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา” ครูละเมียด อิฐงาม ประธานสภา
องค์กรชุมชน ต.วัดหลวง อ.พนัสนิคม กล่าวว่า ต�ำบลแต่ละต�ำบลมีต้นทุนที่ไม่ เหมื อ นกั น ทั้ ง นี้ จ ากการส� ำ รวจของ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุ ษ ย์ (พม.) พบว่ า ในชุ ม ชน ต.วัดหลวง มีผสู้ งู อายุมากเป็นอันดับ 2 ซึง่ ถือเป็นสังคมของผู้สูงอายุ ดังนั้นจึงอยาก เริม่ ปฏิรปู ตัวเองก่อน โดยการพัฒนาคนใน ชุมชนให้มีความรัก เสียสละ รู้จักให้ เสีย ก่อน เพราะที่ผ่าน 100 เปอร์เซ็นต์ คนใน ชุมชนเรียนต่อ และท�ำมาหากินที่อื่น ทิ้ง ไว้แต่ผู้สูงอายุ ขณะเดียวกันก็ให้ความรู้ ด้านสุขภาพและอาหาร โดยเน้นท�ำการ เกษตรอินทรีย์ในครัวเรือน เพื่อส่งเสริม สุขภาพ
ปีที่ 2 ฉบับที่ 8 กันยายน 2555
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
17