ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2555
ประชันบทกวี บทเพลง บทหนังตะลุง
ปีที่ 2 ฉบับที
กวีมุข
่ 7 สิ งหาค
ปาฐะ
ม 255 5
ยุติธรรม
@ ศักดิ์และสิทธิ์แห่งยุ เป็นแท่นธงองค์อิสสริยติธรรมา ยศ @ หยัดยืนพื้นฐานอัน ปลอดซึ่งอคติและมายาเที่ยงตรง @ ตาชั่งต้องไม่มีการชี น้ำาหนักความถูกต้องจะต้้สั่ง องนำา @ ความเป็นธรรมจะต้อง เป็นบรรทัดยุติธรรมนำา ทำาถึงที่สุด อ้างอิง @ ศักดิ์สิทธิ์แห่งยุติธรรมา สืบอารยะอันยิ่งยรรยง เ น า ว รั ต น์ พ ง ษ์ ไ พ บู ล
จักต้องมีและต้องกล้าต้ ให้ตัวบทกฎหมายได้ตั้ง องปรากฏ ตรา สอบทรงสมดุลย์ทุกคุณ คุณธรรมนำามาซึ่งยุติธ ค่า รรม
ตะลุง สะท้ เมืองนคร
พลังข เพื่อเปลี่ยับเคลื่อน อนสังคม ฯ นสังคม (ค ส่งเสริ ำา ค อ น ก มปฏิร ลอน ูป ออ ๆ กบเ ขับเคล ปฏิรูปประ ต้ น ) หรือบางื่อนหรือไม่ เทศไทย ขับเคล จังหวัด จะรู้ได้ไฉน (พี่น้องเหอ) ื่อนไม่ไ (พี่น้องเห (พ่อนะ ก็ที่ในภ กลางพายุกล้าไม่ราหลง หว เพร อ) เขา แม สืบทรงสวรรค์สร้างสังคมมนุ ่นะ) จะราคใต้ ออ าะไ ติ ด ม่ ประ มีพลัง ขัดอะไ ษย์ ! ทบทว ชุมแลกเป (พี่น้องเห ร ู้ได้ไฉน ย์ นกันดู ทั้งเบื้อลี่ยน (พี่น อ) (ซ้ำา ) เพราะไ งหน้า ้องเหอ) แนวค ม่มีพลั เบื้องห ก็เพื่อการ แนวน ิด แนวทาง ง ลัง (พ่อ เรียนรู้ นะ แม อน แนวตั้ง (พี่น้องเห ่นะ) ทั แนวบ อ) แนวส ออ ทั ้งเบื้องห ูรณาการ ร้างพ น้า เบื้อ มีปัญ ้งภาคใต้ตอน (พี่น้องเหลัง งหลัง มีชื่อลื ญาชน ล้วนเปล่าง (พี่น อ) (ซ้ำา อ อ ้ เลื่อ งเห ) ว่าแน น ็ ตั้งแต ง (พี่น คนมาต อ) แล วบูรณา ่โบราณ แต ้องเหอ) ต่ รฐาน (พ่อ ะภาคใต้ต การ (ฝันขอ อน กฉ อ นะ เนื่อ บน านป ออ ัญญา งยาวนาน แม่นะ) ล้ ภาค เนื้อร้อ งดอกไม้แห่ (พี่น้องเห วนเป็น สตูล,นค ใต้ตอนบน คนมาต โดย ตู ง / ทำ�นอง/ดงท้องทุ่ง) รฯ อ) (พี่น พั กะอ ท (ซ้ ้องเห ลุง ่ ตะว ำา) เขา รฐาน ันฉาย นตรี ระนอง ,สุราษฎร์ ้ายยะลังก๋า อ) คนตรัง แตกฉ านปัญ มองห (พี่น้องเห (พ่อนะ ,ชุมพร เธอบอ ญา า ไม่ใ ช่พม่า อ) เคยเป็นแม่นะ) อ้า ออ ภาค เธอบอ กว่าเหงา ทังเพ ยย ทางตรง ใต้ตอน (พี่น้องเหปราชญ์ประช ะลังก๋า เธอบอ กว่าฝืนอยู่ก เธอบอกว่า อ) (ซ้ า ภาคใต้ต ทางลัด บน (พี่น้องเห ำา) ไม่ใ อยู่กับ กไม่ไหว อย ับความโง่ง เบื่อ ทรีเว อนล่าง ผสมผเส อ) รวม ม โคลนต ช่พม่า ู่ไ ทังเพ ม ท้อ ปจ่อมจม ทูเว พุทธค (พี่น้องเหอ) (พ่อนะ แม คนเจ็ดจังหว งทุ่งบ้ ริสต์อิส แนวท ่นะ) ผส ัด เธออย านนา ออ สงข ลาม มผ าง าก เส โอ. (พี่น้องเห เค. กระบี ลา พัง ไม่ทัน จะหนี สม อ) (ซ้ รวมทั ่,นราฯ ใต้ส งา (พี่น้องเห ขืนอย ัยอยากไปแเธออยู่ไม่ได้ ำา) พุท ู่อ ต้องพ ้งภูเก็ต ค ุดฟ้าสยาม อ) ยะลา(ป ธคริสต์ ไปตาย ย่างนี้ ไม่ม สวงหา อิสลาม ดาบหน ีคุณค่า ยายาม ไปตรบเจ็ดลือนาม(พ่อนะ แม ัต)ตานี ามกระบ ่นะ) ใต้ส ้า ฟ้ ออ แล าคงปร วน (พี่น ุดฟ้าสย โอ้เธอ าณี แยบย กเปลี่ยน ้องเหอ) าม สิ่งที่เธอ โลกนี้กว้างให ละเอี ลแยบคาย เรียนรู้(พี่น • บุญ (ซ้ำา) ไปต ธรรม เทอดเกีย โลกแห ฝันใฝ่ ล้ว ญ่ ขับเคลยด ลึกซึ้ง (พี่นรอบคอบถ ้องเหอ) ทั ามกระบ นเป รติชาติ ี่ถ้วน (พ่อ ้งใต้ล่างใต ื่อนขบว วน อ ้ งเห ทั้งสิ่งเลว่งความเป็น ็นสิ่งดี น ขอ งเหล่า อ) ให้ทั่วถึง นะ แม่นะ) ้บน ออ ปฏ (อยู่ที่เ สิ่งดี อา จริง ทุกสิ่งล้ มวลช นุ่มนว รอบคอ ิรูปประ ธอเลือ จไม่เป็ ว ขั น นม บ ล เคล เทศ (พี่น บถ ากมี นดั่งฝั กทำา) ้องเหอ) ี่ถ้วน ออ สิ ื่อน ไว้ลาย ไทย (พี่น น (ซ้ำา) ขอ เพื่อจะใ่งที่ได้กล่าวม เพราะได้ ้องเหอ) ก็ท งเหล่า ห้ทุกทุ า (พี่น มรรคได้ผ ี่ในภาคใ มวลช กคน น เอ่ย มี้องเหอ) คล ล (พ่อนะ ต้ “นายห า ้ พ แม ยค นั ลั ง เอ่ย าถาเวท ่นะ) เพร มหาวิช งตะลุง ...เหอ.. บ้านโค ชาลัยชุมชนบุญธรรม เท . มีพลั มนตร์ าะได้มรรคได้ผ กท ศิ ง อด ราย ล 8 ก ล ๛ เกีย ต.ท ปินพื รกฎาคม 2 รายขาว ้นบ้านศรีวิช รติชาติ” 555 อ.หัวไทร ัย จ.นครศ รีธรรม ราช ค ืนวันอาท ิตย์ที่
เพลงฝ
ตาชั่งต้องไม่ชั่งความสู บอกย้ำาบ่งชี้ที่เท็จจริง งต่ำา
จนถึงจุดยุติเป็นที่ยิ่ง อันเป็นสิ่งเที่ยงธรรมที ่ดำารง
ันของเ
ข้าพระพุทธเจ้า วารสารปฎิรูป
พลังขับเคลื่อน
เพื่อเปลี่ยนสังคม
หน้า
ธอ
7
แผนพัฒนา
ตรังเพิ่มพลังชุมชน จัดการทรัพยากร เป็นระบบ
8 เด่น ในฉบับ
คนไทย พลัดถิ่น บุคคลในสุญญากาศ
15
ชุมชนรุก แก้ปัญหาที่ดินทำ�กิน กำ�นัน-ผญบ.-อบต. ลงชื่อรับรอง
10
ภูเกตเดินหน้า ตั้งสภาพลเมือง จังหวัดจัดการตนเอง
16
ภาคใต้ ที่ยชุมั่งชนท้ยืองถิน่น ต้องมีส่วนร่วม
7
2
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 สิงหาคม 2555
รายงานพิเศษ • พฤทธิ์ ขวัญเจริญ •
ศูนย์คุณธรรม ร่วมกับเครือข่าย องค์กรภาคียุทธ์ศาสตร์ 22 องค์กร จัดกิจกรรม “สัปดาห์รณรงค์ความ ซื่อตรงของ สังคมไทย” ภายใต้ การขับเคลื่อนงานสมัชชา คุณธรรม ปี 2555
22 เครือข่ายองค์กรภาคีผนึกกำ�ลัง รณรงค์ความซื่อตรงของคนไทย • นราทิพย์ พุ่มทรัพย์
• กมลธรรม วาสบุญมา
นางสาวนราทิพย์ พุ่มทรัพย์ ปฏิบตั หิ น้าทีผ่ อู้ �ำ นวยการศูนย์คณ ุ ธรรม (องค์การมหาชน) กล่าวถึงกรณีที่เวที สมัชชาคุณธรรมแห่งชาติครั้งที่ 5 เมื่อ วันที่ 21-23 กรกฏาคม 2555 ที่เครือ ข่ายองค์กร ภาคีทเี่ กีย่ วข้องได้ลงประชา มติให้การรับรองและประกาศใช้แผน พั ฒ นาความซื่ อ ตรงแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2555-2559 ร่วมกัน รวมทั้งได้จัดให้มี การจัดทำ�ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อ รัฐบาลและรัฐสภา การจัดทำ�ปฏิญญา เพื่อการขับเคลื่อนคุณธรรมความซื่อ ตรงของสังคมไทย และร่วมประกาศให้ วันที่ 22 กรกฏาคม ของทุกปี เป็นวัน แห่งความซื่อตรงของสังคมไทยนั้น เครื อ ข่ า ยฯจะทำ � งานเป็ น ระบบและกระบวนการยกย่องเชิดชู การเป็นต้นแบบ ด้านคุณธรรมความ ซื่อตรงในระดับบุคคลและหน่วยงาน อย่ า งเป็ น รู ป ธรรม และในปี นี้ ศู น ย์ คุ ณ ธรรมและเครื อ ข่ า ยองค์ ก รภาคี ยุทธศาสตร์ 22 องค์กร ได้ดำ�เนินการ ขับเคลือ่ นงานสมัชชาคุณธรรมอย่างต่อ เนื่องเพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกภาค ส่วนมีส่วนร่วมในกระบวนการส่งเสริม คุ ณธรรมความดี การสร้างกลไก ขับ เคลื่ อ นแผนพั ฒ นาความซื่ อ ตรงแห่ ง ชาติให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แบบ บูรณ าการและขยายผลสูก่ ารปฏิบตั ใิ น หน่วยงานองค์กรภาคต่างๆและเกิดการ
• น.พ.พลเดช ปิ่นประทีป • สมร ศรีษา
ขยายตัวไปยัง องค์กรปกครองส่วนท้อง ถิ่นทั่วประเทศ จำ�นวน 16 แห่ง โดยมี เป้าหมายเป็น “องค์กรต้นแบบความ ซื่อตรง โปร่งใส” เพื่อเป็นแบบอย่างให้ องค์กรอื่นๆต่อไป “เครือข่ายองค์กรภาคีจึงได้ จัดกิจกรรมรณรงค์ความซือ่ ตรงพร้อมๆ กั น ทั่ ว ประเทศ ใช้ ชื่ อ ว่ า “สั ป ดาห์ รณรงค์ความซื่อตรงของสังคมไทย” มี การจัดกิจกรรมตามภูมิภาคต่างๆ รวม 4 จังหวัด 23 พืน้ ที่ ระหว่างวันที่ 16-22 กรกฏาคม 2555 นี้ เพื่อเป็นการให้ ความรู้และขับเคลื่อนองค์ความรู้ด้าน คุณธรรม จริยธรรม ให้แพร่หลายและ สามารถนำ�ไปปรับใช้ให้เข้ากับบริบท ทางสังคมได้ต่อไป” นายกมลธรรม วาสบุญมา ผู้ อำ�นวยการส่งเสริมมาตรฐานจริยธรรม สำ�นักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน กล่าวว่า การรณรงค์ ใ ห้ เ กิ ด ความซื่ อ ตรง ขั บ เคลื่อนทางจริยธรรมทั่ว ประเทศนั้น เราจะใช้วธิ ใี ห้ระเบิดจากภายในออกมา ต้องให้ท้องถิ่นเกิดความอยากทำ�ออก มาด้วยตนเอง เพื่อความมีส่วนร่วมที่ดี มีการขับเคลื่อนแล้วสามารถจับต้อง เป็นรูปธรรมได้ อาจจะใช้วธิ กี ารมีพธิ ลี ง นามปฏิญญาน ขับเคลื่อนตามจังหวัด ต่ า งๆและอาจจะมี ก ารเสวนาแลก เปลี่ยนความรู้กันตามแต่ละพื้นที่นั้นๆ อีกด้วย
นายสมร ศรีษา นายกองค์ การบริหารส่วนตำ�บลคำ�แคน จังหวัด ขอนแก่น กล่าวว่ารูปแบบกิจกรรมทีจ่ ะ ร่ ว มทำ� ก็ คื อ ทำ � กิ จ กรรมหนึ่ ง หมู่ บ้ า น หนึ่งความดีให้ทุกหมู่บ้านไปทำ�ความดี ทำ�อะไรบ้างที่แสดงให้เห็นถึงคุณธรรม และการทำ�ความดี เช่น การทำ�ถนน หนทาง การตักบาตร เอาความดีต่างๆ ทีท่ �ำ นำ�มาอวดกัน อย่างทีต่ �ำ บลคำ�แคน เรียกได้วา่ เป็นตำ�บลคุณธรรมไปแล้ว ใน เดือนสิงหาคมจะทำ�สัปดาห์ความซื่อ ตรง มีการจัดเสวนาทุกภาคส่วนมาคุย แลกเปลี่ยนความรู้กันเรื่องคุณ ธรรม จริยธรรมและความซื่อตรง นายแพทย์พลเดช ปิน่ ประทีป เลขาธิการสถาบันชุมชนท้องถิน่ พัฒนา กล่ า วว่ า สั ง คมไทยในปั จ จุ บั น กำ � ลั ง เผชิญกับปัญหาวิกฤติรอบด้าน ปัญหา ความบกพร่องในด้านคุณธรรม ความ ซือ่ ตรง และมีทที า่ ว่าจะเสือ่ มถอยอย่าง น่ากังวล โดยเฉพาะประเด็นเรื่องการ ทุจริตคอร์รัปชั่นในภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น อีกทั้ง สถาบั น ครอบครั ว สถาบั น ชุ ม ชน สถาบันการศึกษา และสถาบันศาสนา ก็ยังขาดความเข้มแข็งในการปลูกฝัง และหล่อหลอมกล่อมเกลาสมาชิกใน สังคมให้มีภูมิคุ้มกันด้านคุณธรรม “การมีกรอบทิศทางของการ ขับเคลือ่ นแผนพัฒนาความซือ่ ตรงร่วม กัน โดยองค์กรภาคีเครือข่ายทั้ง 22 องค์กร จากทุกภาคส่วนของสังคมจะได้ ร่วมกันคลีค่ ลายภาวะวิกฤติดงั กล่าวให้ ลดน้อยลงได้ ขอให้องค์กรเครือข่ายได้ รณรงค์เรือ่ งนีอ้ ย่าง จริงจัง เพือ่ เป็นการ ส่ ง สั ญ ญานให้ สั ง คมได้ รั บ รู้ และใน สัปดาห์รณรงค์ความซื่อตรง ของสังคม ไทย เป็นอีกสิ่งที่เราได้ประกาศเจตนา รมณ์ว่าทุกวันที่ 22 กรกฏาคมของทุก ปี เครื อ ข่ า ยของเราจะถื อ ว่ า เป็ น วั น
รณรงค์คุณธรรม ความซื่อตรง โดยเรา จะมีการทำ�กิจกรรมการรณรงค์รว่ มกัน ทั่วประเทศ” ในช่วงเวลาเดียวกัน เพือ่ เตือน สติสังคมไทยซึ่งเราหวังว่าในปีต่อๆไป เราจะได้เห็นการรวมพลังขององค์กร เครื อ ข่ า ยที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น ไปอี ก เรื่ อ ยๆ ทุกปี องค์กรต่างๆต้องช่วยกันทำ�งานใน ส่วนของตน เหมือนกับการตอกเสาเข็ม ให้สงั คม ต้องค่อยๆทำ� เพือ่ ให้เกิดความ มัน่ คง ประเทศไทยในอนาคตอาจจะได้ เป็นประเทศตัวอย่าง ในเรื่องความมี คุณธรรมและความโปร่งใสก็ได้ เราต้อง ช่วยกันทำ�งานให้เป็นรูปธรรมทีเ่ ป็นจริง ปฏิบัติจริง จับต้องได้ วัดได้ “ฝากสือ่ ต่างๆช่วยกันเผยแพร่ ข่าวสารออกไปให้สังคมได้รู้ว่า กลุ่ม ปลาทีว่ า่ ยทวนนํา้ นัน้ มีอยูจ่ ริง ให้ไปค้น หากลุ่มคนดีๆในสังคม เพื่อให้กำ�ลังใจ คนดีๆ ที่ทำ�ความดี เพื่อจะได้จำ�นวนมี เพิ่มมากขึ้นไปเรื่อยๆ ปัญหาต่างๆใน ปั จ จุ บั น ล้ ว นมาจากโครงสร้ า งสั ง คม ด้านบน ซึง่ ยังไม่สามารถแก้ไขได้ ขอให้ เรามุ่ ง ไปสู่ ฐ านรากของสั ง คม สร้ า ง กำ�ลังใจและให้เกียรติพวกเขา เราจะได้ มีพลังเพือ่ นำ�พาประเทศชาติของเราไป สู่จุดที่ดีขึ้นให้ได้”
คดในข้อ
@ ตั้งตอม่อต่อเสาเสลาสลัก จนลงรักปิดทองเรืองรองอร่าม ข้างในหนอนบ่อนบุกเข้าคุกคาม ทั้งปลวกตอดมอดตามกระหน่ำ�รุม @ ยิ่งเสากลวงลวงตาว่าเสาตรง ยิ่งนอกทรงในทรุดรุดขยุ้ม ยิ่งเสาเอกเศกใหม่ยิ่งได้กุม เป็นเกราะคุ้มกำ�บังไว้พรางตา @ คดในข้องอได้ในกระดูก ข้างนอกถูกในถ่อยทุกถ้อยท่า อ้าปากเห็นลิ้นงูขู่ฟ่อมา อ้างประชาเอาประชามาตำ�บอน @ อ้างหลักกงหลักการอันเลิศหรู แท้หลักกูหลักข้าต้องมาก่อน ทุกย่างก้าววางกันเป็นขั้นตอน เอาเงินต้อนเงินตั้งแผ่พังพาน @ คือวิถีบริบูรณ์ทุนทรราช ประโยชน์ชาติรับใช้นายทุนท่าน เป็นสากลก้าวหน้าทุนสามานย์ สำ�แดงเดชเผด็จการกินบ้านเมือง! • เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 สิงหาคม 2555
พลังขับเคลื่อน
3
เพื่อเปลี่ยนสังคม
ก่อเกิด-แตกหน่อ-ต่อยอด จังหวัดจัดการตนเอง
กรณี ค วามเคลื่ อ นไหวเพื่ อ การ ปฏิรูปประเทศไทยในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา กำ�ลังเป็นที่จับตามองว่ารูปธรรมการรวม ตัว รวมกลุม่ ในชุมชนท้องถิน่ ของประชาชน องค์กรและเครือข่ายต่างๆเริ่มปรากฏชัด เจนมากขึ้น และมีแนวโน้มว่าจะขยายตัว ไปยังชุมชนท้องถิ่นอื่นๆมากขึ้นเรื่อยๆใน รูปแบบของกิจกรรมที่ประชาชนเข้ามามี ส่วนร่วม แท้ ที่ จ ริ ง แล้ ว การเกิ ด ขึ้ น ของ “ธรรมนูญประชาชนคนอำ�นาจเจริญ” ซึ่ง เป็ น ธรรมนู ญ ฉบั บ แรกที่ ป ระชาชนใน จังหวัดอำ�นาจเจริญรวมตัวกันลุกขึ้นมา แสดงเจตนารมณ์ทจี่ ะปกครองตนเองอย่าง องอาจกล้าหาญ มีการสื่อสารชี้แจงแสดง เหตุผลให้ความรู้ ความเข้าใจและความ จำ � เป็ น ต่ อ สาธารณะอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและ เชื่อมโยง หรือกรณีการประกาศเจตนารมณ์ ผลักดันพรบ.เชียงใหม่มหานครเพื่อการ ปกครองตนเอง เมื่อวันที่ 24 มิถุนายนที่ ผ่านมา พร้อมกับจังหวัดขอนแก่นและอีก หลายจังหวัดในช่วงเวลานัน้ และทีก่ �ำ ลังจะ เกิดขึ้นในรูปแบบสภาพลเมืองที่จังหวัด ภูเก็ต และสภาสมัชชาปฏิรูป 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ก�ำ ลังแตกหน่อต่อยอดมาก ยิ่งขึ้น ล่ า สุ ด คื อ การรวมตั ว ของชุ ม ชน ท้ อ งถิ่ น ตำ � บลบั ว ใหญ่ อำ � เภอนาน้ อ ย จังหวัดน่าน เพื่อบริหารจัดการที่ดินทำ�กิน ด้วยตนเอง โดยมี กำ�นัน ผู้ใหญ่บ้าน และ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บล (อบต.) ร่วมลงนามรับรอง รวมถึงชุมชนบ้านโป่ง ตำ � บลแม่ แ ฝกอำ � เภอสั น ทราย จั ง หวั ด เชียงใหม่ ที่กำ�ลังรวมพลังกันอย่างเข้มแข้ง เพื่อบริหารจัดการตนเอง กองบรรณาธิการวารสารปฏิรปู จะ นำ�มารายงานเพื่อต่อยอดไปยังชุมชนท้อง ถิน่ อืน่ ๆทัว่ ประเทศไทยในอนาคตอันใกล้นี้ เปิดเป็นเวทีสาธารณะ ยิ น ดี รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ทรรศนะ วิพากษ์วจิ ารณ์ จาก นักวิชาการ ตลอดจนบุคคล ทั่ ว ไปและองค์ ก รเครื อ ข่ า ย เพื่ อ นำ � มาต่ อ ยอดแนวคิ ด แนวทางในการปฏิรูปประเทศไทย ให้ดำ�เนินไปในทิศทางที่ สร้ า งสรรค์ ให้ ผู้ อ่ า นพิ จ ารณาและวิ นิ จ ฉั ย โดยกอง บรรณาธิการไม่จำ�เป็นต้องเห็นด้วย >> วารสารรายเดือน
ที่นี่...สถานีปฏิรูป
• พลานุภาพ •
ฝ่ายนิติบัญญัติ “กระบวนการ ยุ ติ ธ รรมจะต้ อ งอยู่ บนความเป็ น อิ ส ระ และหลักความเที่ยง ธรรม ฝ่ า ยบริ ห าร และฝ่ า ยนิ ติ บั ญ ญั ติ จะเข้าแทรกแซงการ ทำ�งานของฝ่ายตุลาการไม่ได้” ขณะเดียวกันแนวทาง ในการปฏิรูปกระบวนการยุติ ธรรมทางมหาชน ด้ ว ยการ ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมที่ เกี่ยวกับสถาบันการเมือง ควร ยกเลิกมาตรา 237 วรรคสอง การยุบพรรคการเมืองและการ ตัดสิทธิการเลือกตั้ง, การแก้ไข ให้ศาลสามารถตรวจสอบการใช้ อำ�นาจของคณะกรรมการการ เลือกตั้ง (กกต.) เพื่อให้เป็นไป ตามหลักการแบ่งแยกอำ�นาจ การตรวจสอบและคุม้ ครองสิทธิ ของบุคคลที่ถูกกระทบจากการ ใช้ อำ � นาจของกกต., การให้ อุทธรณ์โต้แย้งการแสดงบัญชี ทรั พ ย์ สิ น และหนี้ สิ น สามารถ ทำ � ได้ ทั้ ง ข้ อ เท็ จ จริ ง และข้ อ กฎหมาย การปฏิรูปกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา กฎหมาย อาญาคือการรักษาความสงบซึง่
กระบวนการยุติธรรม ต้องอิสระ-เที่ยงธรรม ในช่ ว งที่ ป ระเทศไทยกำ � ลั ง กังวลและนัวเนียอยู่กับการวินิจฉัย ของตุ ลาการศาลรั ฐ ธรรมนูญ กรณี การแก้ ไขรั ฐ ธรรมนู ญ 2550 เมื่ อ “ศุกร์13” กรกฎาคมที่ผ่านมานั้น ผศ.ดร.ปกป้ อ ง ศรี ส นิ ท อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ นำ � เสนอผลการวิ จั ย ศึ ก ษาปั ญ หารากเหง้ า ความขั ด แย้ ง เพือ่ นำ�เสนอแนวทางสูค่ วามปรองดอง เรื่ อ ง กระบวนการยุ ติ ธ รรมกั บ สถานการณ์ ท างการเมื อ งที่ มี ค วาม รุนแรง : ปัญหาและแนวทางแก้ไข ว่า ความรุนแรงทางการเมืองและ สั ง คมส่ ว นหนึ่ ง มาจากกระบวนการ ยุติธรรมทางมหาชนและกระบวนการ ยุ ติ ธ รรมทางอาญา เพื่ อ ให้ เ กิ ด การ บังคับใช้กฎหมายอย่างเป็นธรรม ควร ใช้ ห ลั ก ความเสมอภาคต่ อ หน้ า กฎ หมายที่ทุกคนจะมีความเท่าเทียมกัน ได้ รั บ การปฏิ บั ติ ใ นรู ป แบบเดี ย วกั น ขณะที่ฝ่ายบริหารจะต้องดำ�เนินการ โดยชอบด้วยกฎหมายที่ตราขึ้นโดย > เจ้าของ : สำ�นักงานปฏิรูป เลขที่ 126/146 ชั้น 4 อาคาร 10 ชั้น สถาบันบำ�ราศนราดูร ถนนติวานนท์ ซอย 14 ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทรศัพท์ 02-965-9531-3 โทรสาร 02-965-9534 www.reform.or.th
> คณะที่ปรึกษา
ศ.นพ.ประเวศ วะสี นพ.วิชัย โชควิวัฒน นพ.อำ�พล จินดาวัฒนะ นพ.สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ นพ.ชูชัย ศุภวงศ์ ทพ.กฤษฎา เรืองอารีรัชต์ รศ.ดร.วิลาสินี อดุลยานนท์ กรรณิการ์ บรรเทิงจิตร ดร.วณี ปิ่นประทีป
> บรรณาธิการบริหาร ทรงวิทย์ ดลประสิทธิ์
> กองบรรณาธิการ พัชรา อุบลสวัสดิ์ สุรศักดิ์ บุญเทียน ปนัดดา ขาวสะอาด ครรชิต ปิตะกา วิไลวรรณ สิริสุทธิ์
เป็ น ประโยชน์ ส าธารณะ กรณี ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ยังมีความจำ�เป็น แต่ควรมี การบังคับใช้ที่เหมาะสมโดยคำ�นึง ถึ ง ประโยชน์ ส าธารณะ หากไม่ เกี่ ย วกั บ ประโยชน์ ส าธารณะไม่ เป็นความผิดอาญา ทั้ ง นี้ ปั ญ หาที่ ผ่ า นมาเกิ ด จากการบังคับใช้กฎหมายทีร่ นุ แรง กว่าความผิด ดังนั้นพนักงานสอบ สวนต้องประสานงานกับอัยการให้ ทราบข้อเท็จจริงตัง้ แต่เริม่ คดี เพือ่ ให้อัยการแจ้งข้อหาแต่ต้น ส่วนการออก พ.ร.บ.ปรอง ดองด้วยการนิรโทษกรรมส่วนหนึง่ และยกเลิกกระบวนการดำ�เนินคดี ที่มาจากการรัฐประหารนั้นเป็น กระบวนการที่ เร่ งรั ด เกิ น ไป ไม่ สอดคล้ อ งกั บ หลั ก การกระบวน การยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน เพราะความจริงยังไม่ปรา กฏ ยังไม่มกี ารดำ�เนินคดี และอาจ กระทบกับการเยียวยาผู้เสียหาย อี ก ทั้ ง ไม่ มี ก ารป้ อ งกั น เหตุ ใ น อนาคต แต่ ก็ อ ย่ า ลื ม ว่ า ความเป็ น อิสระของอำ�นาจอธิปไตย ซึ่งเป็น ของปวงชนชาวไทยนั้น ก็ต้องสา มารถที่จะ “ถ่วงดุลอำ�นาจ” กัน ได้ทั้งฝ่ายบริหารฝ่ายนิติบัญญัติ และฝ่ายตุลาการ นงลักษณ์ ยอดมงคล พฤทธิ์ ขวัญเจริญ บัญชา เทียนดำ� วันวิสา แสงทิม จิตติมา อุ้มอารีย์ รัฐวรรณ เฮงสีหาพันธ์ > กราฟฟิคและผลิต สุพรรณี สุวรรณศรี โดย บริษัท ชินเซียงซ้ง มีเดีย กรุ๊ป จำ�กัด นาตยา แท่นนิล สายใจ ปัสตัน พรทิพย์ เชื้องาม อาภาภรณ์ กิจศิริ
4
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 สิงหาคม 2555
เรื่องจากปก
• กองบรรณาธิการ •
การประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นประเด็น “แผนพัฒนาภาคใต้” ล่าสุด ติงแผนสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินก๊าซธรรมชาติและนิวเคลียร์ควรคำ�นึงถึงสิ่ง แวดล้อมและผลกระทบต่อชีวิตชุมชนเพื่อสร้างความเป็นธรรม ต่อคนในพื้นที่ ส่วนท่าเรือน้ำ�ลึกปากบา ควรทำ�ยุทธศาสตร์ เชื่อมโยงขนส่งทางทะเลมหาสมุทรแปซิฟิค-อินเดีย เปิดประตู การค้าใหม่ ขณะที่ชาวบ้านในพื้นที่ยังไม่เคยรับรู้ข้อมูลที่ ชัดเจน แนะจัดเวทีพูดคุยกันโดยเฉพาะ นายสุนชัย คำ�นูณเศรษฐ์ รอง ผู้ว่าการพัฒนาโรงไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่าย ผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) กล่าวใน การประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประเด็น “แผนพัฒนาภาคใต้” เมื่อ เร็วๆนี้ว่าปัจจุบันปริมาณพลังงานเชื้อ เพลิงสำ�รอง ทั้งนํ้ามัน ก๊าซธรรมชาติ ของประเทศไทย มีเหลืออยู่น้อยมาก เมือ่ เทียบกับประเทศอืน่ ในโลก ขณะที่ แนวโน้มการเติบโตของการใช้พลังงาน ไฟฟ้าสูงขึ้นทุกๆปีอย่างต่อเนื่อง โดย เฉพาะทางภาคใต้ ก็มีสถิติการใช้พลัง งานสูงขึ้นเช่นกัน “กฟผ. จึงได้วางแผนการที่จะ พัฒนาสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินสะอาด โรง ไฟฟ้าก๊าซธรรมชาติ และโรงไฟฟ้านิว เคลียร์ ขึน้ มาในบริเวณชายฝัง่ ทะเลภาค ใต้ เช่น จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จังหวัด ชุมพร และจังหวัด ตรัง เป็นต้น ซึ่งถ้า สร้างเสร็จสมบูรณ์แล้ว จะทำ�ให้มีพลัง หมุนเวียนรวมแล้ว ได้ถึง 14,580 เมกะ วัตต์ มาใช้เป็นพลังงานทดแทนได้ตอ่ ไป และยั ง มี โ ครงการปรั บ ปรุ ง และขาย ระบบส่งไฟฟ้าให้ทนั สมัยเพิม่ มากยิง่ ขึน้ เพื่อรองรับความต้องการในการใช้พลัง งานในอนาคตต่อไป” ด้าน ผศ.ประสาท มีแต้ม จาก มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า ไม่ต้องการให้ทางการคือกฟผ. มองแต่ เรื่องการใช้ไฟฟ้าเพียงอย่างเดียว ควร จะต้องคำ�นึงถึงปัญหาสิ่งแวดล้อม การ สร้างแรงงาน รวมทั้งผลกระทบต่างๆที่ มีต่อชุมชนในพื้นที่นั้นๆด้วย เพื่อสร้าง ความเป็นธรรมต่อคนในพืน้ ที่ เมือ่ เราได้ โรงไฟฟ้าถ่านหินมาแล้วมลภาวะที่ตาม มา จะจัดการกับมันอย่างไร ผลกระทบ ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มรอบๆพื้ น ที่ จ ะเปลี่ ย น แปลงไปแค่ไหน “ไม่ อยากให้ เรียกว่า ถ่านหิน สะอาด แต่อยากให้เรียกว่า ลดมลภาวะ ให้นอ้ ยลงน่าจะดีกว่าและควรจะลงพืน้ ทีช่ แี้ จงทำ�ความเข้าใจกับชาวบ้านให้เขา ยอมรับเสียก่อน เพราะเป็นพื้นที่ที่เขา
• ตรีพิพัฒน์ บัวเนี่ยว
• ดร.มาลี เอื้อภารดา
• สุนชัย คำ�นูณเศรษฐ์
• นพ.ชูชัย ศุภวงศ์
เดินหน้าแผนพัฒนาภาคใต้ ให้ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วม
• ผศ.ประสาท มีแต้ม
อยู่ อ าศั ย ทำ � มาหากิ น กั น มาเป็ น เวลา นาน เนื่องจากการพัฒนานั้นจะต้องไม่ นำ�ไปสู่การทำ�ลายทรัพยากรธรรมชาติ และสังคม” อย่างไรก็ตาม ที่ประชุมเกรงว่า ผลกระทบที่จะเกิดจากแผนพัฒนา ซึ่ง ไม่ได้ขึ้นรูปจากโครงสร้างพื้นฐานทาง เศรษฐกิจของภาคใต้ และไม่ได้พัฒนา ต่ อ ยอดอุ ต สาหกรรมที่ เชื่ อ มโยงกั บ ผลผลิตในพืน้ ที่ ดังนัน้ จึงมีแนวโน้มทีจ่ ะ สร้างความขัดแย้งของสังคมให้มากขึ้น ตามลำ�ดับ มีการต่อต้านของภาคประชา สังคมดังที่เป็นอยู่ในขณะนี้ ด้านดร.มาลี เอือ้ ภารดา หัวหน้า กลุ่ ม โลจิ ส ติ ก ส์ ก ารขนส่ ง สำ � นั ก งาน นโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) กล่าวถึงความคืบหน้าโครงการ การก่ อ สร้ า งท่ า เรื อ นํ้ า ลึ ก ปากบารา จังหวัด สตูล ว่า ปัจจุบันปริมาณการค้า และการขนส่งทางภาคใต้ บริเวณช่อง
แคบมะละกามีมลู ค่าสูง ซึง่ เป็นโอกาสที่ ดีของประเทศไทยทีจ่ ะมุง่ ทำ�ยุทธศาสตร์ เชื่อมโยงการขนส่งทางทะเลของประ เทศต่างๆทีอ่ ยูต่ ดิ กับมหาสมุทรแปซิฟคิ เข้ า กั บ ประเทศที่ อ ยู่ ติ ด กั บ ทางมหา สมุทรอินเดียด้วย สะพานเศรษฐกิจซึ่ง จะเป็ น การช่ ว ยย่ น ระยะเวลาในการ ขนส่งและลดค่าใช้จ่ายในการขนส่งลง อีกด้วย “ประเทศไทยซึ่งมีความเหมาะ สมทัง้ ทำ�เลทีต่ งั้ ลักษณะภูมศิ าสตร์และ ทรัพยากรต่างๆ สามารถพัฒนาจนเป็น ศูนย์กลางการขนส่งในภูมิภาค รองรับ การขยายตัวในอนาคตทีเ่ พิม่ ขึน้ ทางการ ค้ า และการขนส่ ง ในภู มิ ภ าคอาเซี่ ย น และสามารถเชื่อมโยงการขนส่งกับภูมิ ภาคอื่ น ๆของโลกได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภาพมากยิ่งขึ้น โดยการสร้างท่าเรือนํ้า ลึกปากบารา ท่าเรือนํ้าลึกสงขลาแห่งที่ 2 และทางรถไฟในพื้นที่จังหวัดสตูล และสงขลา จะสามารถรองรับเรือสินค้า ขนาดใหญ่ได้เป็นจำ�นวนมาก” นายตรีพิพัฒน์ บัวเนี่ยว รอง หัวหน้าโครงการเครือข่ายพลเมืองปก ป้องแผ่นดินถิ่นเกิด กล่าวว่า ในแง่ของ ประชาชนในพื้ น ที่ นั้ น เขายั ง มี ค วาม กั ง วลอยู่ ห ลายเรื่ อ งทั้ ง ขนาดการก่ อ สร้าง ข้อมูลต่างๆของโครงการ ชาวบ้าน ไม่เคยได้รบั รูข้ อ้ มูลทีแ่ ท้จริงว่าจะต้องมี
การทำ�ลายภูเขาในพืน้ ทีก่ ลี่ กู จะต้องนำ� เอาทรายมาจากที่ไหนมาใช้ทำ�การก่อ สร้าง เรื่องปัญหามลภาวะต่างๆ ตลอด จนผลกระทบต่อการดำ�เนินชีวิตของ พวกเขา ซึ่ ง จริ ง ๆแล้ ว คนภาคใต้ นั้ น พอใจในอาชีพและความเป็นอยู่ตอนนี้ อยูแ่ ล้ว และมองว่าทางรัฐอยากจะทำ�ให้ ภาคใต้ น้ั น เจริ ญ และพั ฒ นาต่ อ ไปได้ เรื่อยๆ แต่คนใต้ส่วนใหญ่นั้นคิดว่า ทุก อย่างมันดีอยู่แล้ว เจริญอยู่แล้ว พึ่งพา ตัวเองได้แล้ว ซึ่งโดยส่วนตัวมองว่า ถ้า ประชาชนในพื้นที่ไม่เห็นด้วยแล้ว ทุก อย่างก็จบ นพ.ชู ชั ย ศุ ภ วงศ์ กรรมการ สมัชชาปฏิรูป มอง “แผนพัฒนาภาค ใต้” ในครัง้ นีว้ า่ ปัญหาทีส่ �ำ คัญคือ ชาว บ้ า นในพื้ น ที่ ต่ อ ต้ า นและไม่ ย อมรั บ เนือ่ งจากมีปญ ั หาทีข่ อ้ มูลไม่ชดั เจน และ เข้าใจได้ยาก พูดคุยก็ไม่เข้าใจกัน คุยกัน คนละประเด็น ชาวบ้านก็มีข้อมูลของ เขาและความคิดเห็นของเขาทุกคนกลัว และกังวลในการเปลี่ยนแปลง ชีวิตจะ เปลี่ยน ชีวทัศน์ สิ่งแวดล้อม อาชีพ ทุก อย่างจะเปลีย่ นไปหมด และความเจริญ ที่จะเข้ามานั้น ชาวบ้านมองว่าไม่ค่อย จะได้ประโยชน์เท่าไหร่ “เราจึงควรจัดเวทีเฉพาะขึ้นมา คุยเฉพาะประเด็นนี้เพียงอย่างเดียว จะ ได้มีการเชื่อมต่อกันอย่างเข้าใจ ต้องมี กลไกกลางขึน้ มาทีเ่ ป็นทีย่ อมรับของทัง้ ฝ่ายรัฐและชาวบ้าน มีการแลกเปลี่ยน ข้อมูลกัน และนำ�ข้อเสนอทีไ่ ด้มาดูวา่ จะ ทำ�งานกันต่อไปอย่างไร ทั้งสองฝ่ายจะ ได้เข้าใจและยอมรับกันและกันมากขึ้น มีการเพิ่มกลไกการสื่อสารให้เชื่อมต่อ กับสื่อท้องถิ่น ส่วนเวทีประชุมในภาพ รวมก็ยังคงมีต่อไป เรามาคุยกันให้มาก ขึ้ น แต่ จ ะต้ อ งมี เ ป้ า หมายที่ จั บ ต้ อ ง ได้ เพราะจะทำ � ให้ เ ห็ น โครงงานที่ ชัดเจนขึ้น”
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 สิงหาคม 2555
สปร. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “ทิศทางการขับเคลื่อนสมัชชา ปฏิรูปภาคใต้” ระดมความคิดเห็น ภาคเอกชน - ประชาสังคม สถาบันการศึกษา ตอบโจทย์ สมัชชาปฏิรูป จะเดินหน้าอย่างไร? เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2555 สำ�นักงานปฏิรูป (สปร.) จัดเวทีเสวนา แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ “ทิ ศ ทางการขั บ เคลื่อนสมัชชาปฏิรูปภาคใต้ จะเดิน หน้าอย่างไร” โดย นพ.ธีรวัฒน์ กรศิลป ผู้ อำ � นวยการสำ � นั ก งานหลั ก ประกั น สุขภาพ (สปสช.) เขต 12 สงขลา, นาย พลากร วงศ์กองแก้ว ผู้ช่วยผู้อำ�นวย การสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.), ดร.สุรชัย จิตภักดีบดินทร์ ประธาน หอการค้าจังหวัดสงขลา, นายสุริยา ยีขุน นายกเทศมนตรีเทศบาลตำ�บล ปริก จังหวัดสงขลา, นายซากีย์ พิทักษ์ คุมพล สถาบันสันติศกึ ษา มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ และนายทวีวัตร เครือสาย เครือข่าย สมัชชาปฏิรูปจังหวัดชุมพร ดำ�เนินการ เสวนาโดย ผศ. ดร. พงศ์เทพ สุธีรวุฒิ ผู้อำ�นวยการสถาบันการจัดการระบบ สุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นายทวีวตั ร เครือสาย เครือข่าย สมัชชาปฏิรปู จังหวัดชุมพร กล่าวถึงการ เดินหน้าลดความเหลื่อมลํ้าของชุมชน ว่า การที่จะมุ่งไปสู่เป้าหมายของการ ปฏิรูปได้นั้น ต้องทำ�ให้คนในชุมชนเห็น ว่า มีอะไรที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่บ้างหลัง จากมีการปฏิรูป นั่นคือ มีการให้ข้อมูล ข่าวสาร สร้างองค์ความรู้ให้กับคนใน ชุมชน ได้รับรูถ้ งึ สิ่งทีจ่ ะเกิดขึน้ ไม่วา่ จะ เป็นด้านบวกหรือด้านลบ โดยวิธีการก็ ต้องขึ้นอยู่กับกลุ่มเป้าหมาย ฉะนั้นการ เริ่มต้นจึงต้องมีการวิเคราะห์กลุ่มเป้า หมายด้วย ขณะที่ ดร.สุ ร ชั ย จิ ต ภั ก ดี บดิ น ทร์ ประธานหอการค้ า จั ง หวั ด สงขลา ได้แสดงความคิดเห็นในฐานะ ภาคเอกชนว่า เรื่องใหญ่ที่จะต้องได้รับ
เสวนาสมัชชาภาคใต้ กำ�หนดทิศทางปฏิรป ู
• ทวีวัตร เครือสาย
• สุริยา ยีขุน
การปฏิรูปอย่างเร่งด่วน คือ ด้านสังคม ซึ่ ง จะไม่ พู ด ถึ ง เรื่ อ งของความขั ด แย้ ง ทางการเมืองที่เกิดขึ้น เพราะเห็นว่า เป็นเรื่องที่ไม่มีประโยชน์ แต่มองว่าจะ ทำ�อย่างไรให้การปฏิรูปเดินหน้าต่อไป และนำ � ไปสู่ ก ารพั ฒ นาประเทศชาติ อย่างแท้จริง “สำ�หรับปัญหาต่างๆ ที่กำ�ลัง ต้องการการแก้ไขอย่างเร่งด่วนนัน้ แทน ที่ จ ะรวมพลเพื่ อ ให้ ทุ ก คนมาช่ ว นกั น แก้ไข ซึ่งอาจจะไม่ได้รับความร่วมมือ อย่ า งเต็ ม ที่ แ ละจริ ง จั ง แต่ ห ากลอง เปลี่ยนเป็นการสร้างแรงจูงใจในการมี ส่วนร่วม เน้นการใช้เหตุผลอาจจะเป็น แนวทางที่ดีกว่า” ด้ า นนายสุ ริ ย า ยี ขุ น นายก เทศมนตรีเทศบาลตำ�บลปริก จังหวัด สงขลา ตัวแทนภาคประชาชน กล่าวว่า การปฏิรูปเป็นเรื่องที่ใหญ่ แต่ไม่ไกลตัว ซึง่ ถ้ามองถึงการเปลีย่ นแปลงในบทบาท ของภาครัฐกึ่งภาคประชาชน เช่น องค์ การบริหารส่วนตำ�บล ก็ได้เห็นกันบ้าง แล้วว่า จากโจทย์เดิมที่เคยมองว่าเป็น หน่วยงานที่น่ากลัว ท้องถิ่นก็พยายาม ปรับตัวมากขึ้น โดยส่วนตัวมองว่าทิศ ทางที่จะขับเคลื่อนการปฏิรูปไปได้ คือ การปรับตัวเข้าหากัน ไม่ว่าจะเป็นภาค ใดก็ตาม ทัง้ ภาคธุรกิจ ภาคเอกชน ภาค ประชาชน ภาคประชาสังคม และภาค ราชการ รวมถึงภาคสถาบันทางการ
• ซากีย์ พิทักษ์คุมพล
• นพ.ธีรวัฒน์ กรศิลป
จังหวัดไปอยู่ในระดับประเทศจึงจะมี อำ�นาจในการจัดการมากขึ้น และพื้นที่ จะเกิดการเปลี่ยนแปลง รวมถึงการมี เป้าหมายที่ชัดเจน ชี้ให้เห็นประโยชน์ และทำ�ความเข้าใจกับประชาชน ส่วนนาย ซากีย์ พิทักษ์คุมพล สถาบันสันติศกึ ษา มหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ กล่ า วถึ ง บทบาทของมหา วิทยาลัยทีม่ ตี อ่ การขับเคลือ่ นการปฏิรปู ในครั้งนี้ว่า ที่ผ่านมาปัญหาของสถาบัน การศึกษาในประเทศไทยมักถูกมองว่า ไม่มีการนำ�เอาวิชาการสู่ท้องถิ่น มุ่งทำ� แต่งานวิจัย ละเลยเรื่องของการพัฒนา ชุมชน การพัฒนาสังคม การปรับเปลีย่ น งานโครงสร้างเชิงระบบ และเชิงนโย บาย ซึ่งมองว่านักวิชาการส่วนใหญ่ถูก
• พลากร วงศ์กองแก้ว
ศึกษา ควรเปิดพื้นที่ให้แก่กันและกัน โอกาสที่ จ ะขั บ เคลื่ อ นจะเป็ น ไปได้ ดี ทั้ ง นี้ ม องว่ า การขั บ เคลื่ อ นในระดั บ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นส่วน สำ�คัญที่สุด “เห็นได้ว่าชัดท้องถิ่นทั้งหลาย พยายามเปิดพื้นที่สาธารณะต่างๆ เพื่อ ระดมความคิดเห็น ทำ�ให้บางชุมชนที่ เคยล้าหลัง ได้พบกับชุมชนที่มีความ ก้าวหน้า ส่งผลให้เกิดความก้าวหน้าทาง แนวคิดของภาคประชาสังคม ทีส่ ามารถ เปลี่ ย นบทบาทของตนเอง มี ก ารจั ด ความสัมพันธ์ระหว่างท้องถิ่น คนใน ชุมชนหันหน้าเข้าหากันและทำ�งานร่วม กันมากขึ้น ทั้งยังมีประสิทธิภาพ ซึ่งใน ทางปฏิบัติ สิ่งสำ�คัญที่สุดคือ การผูกใจ หรือการสร้างความสัมพันธ์รว่ มกัน การ เปิดใจช่วยเหลือซึง่ กันและกัน ไม่วา่ ใคร จะอยู่ในบทบาทหรือฐานะอะไร อยาก ให้ลองก้าวข้ามบทบาทของตนเอง ซึ่ง สิ่งเหล่านี้จะเป็นจุดเริ่มต้นของการเดิน หน้าสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีได้” นายพลากร วงศ์กองแก้ว ผูช้ ว่ ย ผู้ อำ � นวยการสถาบั น พั ฒ นาองค์ ก ร ชุมชน (พอช.) กล่าวว่า ส่วนสำ�คัญใน การขับเคลือ่ นการปฏิรปู ภาคใต้ คือการ ทำ�หน้าที่ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ผลักดัน การขั บ เคลื่ อ นในระดั บ ล่ า งให้ มี ก าร เคลื่อนตัวไปข้างหน้ามากขึ้น สิ่งสำ�คัญ คือ การหาประเด็นร่วมเพื่อนำ�ไปสู่การ ปรับเปลี่ยนท้องถิ่น เมื่อมีแผนระดับ
5
• ดร.สุรชัย จิตภักดีบดินทร์
ดึ ง เข้ า ไปในระบบการทำ � งานแบบนี้ ฉะนั้นในความเป็นนักวิ ชาการเองจึง ต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบงานหลายด้ า น สิ่ ง ที่ สำ�คัญที่สุดคือการสร้างเครือข่ายเพื่อ ภาคประชาสังคม “การขับเคลือ่ นทีด่ ที สี่ ดุ คือ การ เอาตัวเองเข้าไปผูก เและจะต้องคิดอยู่ เสมอว่า จะอยู่ร่วมกับคนที่มีความคิด ต่างจากเราได้อย่างไร ซึ่งอาจหมายถึง การปรั บ วิ ธี คิ ด การทำ � งานด้ า นการ ปฏิรูปจะเห็นว่ามีคนที่ทำ�งานทับซ้อน กันอยู่จำ�นวนมาก แต่ต่างคนต่างทำ� ไม่มีประเด็นร่วม ดังนั้นการหันหน้าคุย กัน สร้างความไว้วางใจกันและกันใน แต่ละฝ่าย จะส่งผลดีตอ่ การเดินหน้าไป สู่การปฏิรูปภาคใต้และพัฒนาประเทศ ได้อย่างยั่น ยืน” ด้าน นพ.ธีรวัฒน์ กรศิลป ผู้ อำ�นวยการสำ�นักงานหลักประกันสุข ภาพ (สปสช.) เขต 12 สงขลา ได้สรุป ว่า โจทย์หลักในตอนนี้คือจะทำ�อย่างไร ให้มกี ารจัดการตนเองด้านสุขภาพ คือมี ทัง้ เชิงประเด็นและเชิงพืน้ ที่ แต่ทกุ อย่าง มักจะเกิดจากการรวมพลัง ปัญหาข้อมูล เพราะเนื้อหาในการจัดการตนเอง และ สำ�คัญคือต้องมีประเด็นร่วม ผลักดันให้ เรื่องของการปฏิรูปเข้าไปอยู่บนส่วน กลาง การสื่ อ สารทำ � ความเข้ า ใจกั บ ประชาชนในพื้ น ที่ เ องก็ เ ป็ น สิ่ ง ที่ ค วร คำ�นึงถึงเป็ นอย่างยิ่ง วะสี ศ.นพ.ประเวศ
6
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
สปร. เปิดเวทีขับเคลื่อนสมัชชาปฏิรูป ระดับจังหวัด ภาคใต้ แบ่งกลุ่มย่อย แลกเเปลี่ยนเรียนรู้แต่ละพื้นที่ หวังเกิดการขับเคลื่อนอย่างมีประสิทธิภาพ และพัฒนาอย่างยั่งยืน เมื่อ วันที่ 9 กรกฏาคม 2555 ณ ห้องประชุม การะเกด A โรงแรมกรีน เวิล พาเลซ จังหวัดสงขลา สำ�นักงานปฏิรูป (สปร.) ร่วมกันจัดการประชุมแลก เปลี่ยนเรียนรู้ “การขับเคลื่อนสมัชชาปฏิรูประดับ จังหวัดภาคใต้” เพื่อหารือยุทธศาสตร์และพัฒนา กลไกความร่วมมือทั้งระดับพื้นที่ และระดับภาคใน การขับเคลื่อนสมัชชาปฏิรูป ดร.วณี ปิน่ ประทีบ รองผูอ้ �ำ นวยการสำ�นักงาน ปฏิรูป (สปร.) กล่าวถึงวัตถุประสงค์ในการจัดประชุม ครัง้ นีว้ า่ เพือ่ เป็นการเตรียมความพร้อม การจัดทำ�ชุด ความรู้ และสรุปบทเรียนการดำ�เนินงานสมัชชาปฏิรปู ระดับจังหวัดภาคใต้ รวมทั้งข้อเสนอเพื่อการดำ�เนิน งานการขับเคลื่อนประเทศไทยในระยะต่อไป “ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย แกนนำ�ผู้ ประสานงานจังหวัด จังหวัดละ 10 คน ประกอบด้วย เครือข่ายฯ วิชาการ ฝ่ายสื่อ ตัวแทนพื้นที่ ปฏิบัติการ (Best Practice) ภาคธุรกิจ หอการค้า สภาอุตสาห กรรม โรตาลี่ ไลอ้อน โดยมีการแบ่งกลุม่ ย่อยออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ คือ ภาคใต้ตอนล่าง ภาคใต้ตอนบน และ สามจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ เพื่ อ ร่ ว มยกร่ า งยุ ท ธ ศาสตร์การขับเคลือ่ นสมัชชาปฏิรปู ฯ ของแต่ละพืน้ ที”่ ดร.วณี กล่าวอีกว่า การประชุมกลุ่มย่อยยก ร่างร่างยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนฯ ครั้งนี้ เพื่อสนับ สนุนให้ตัวแทนแต่ละพื้นที่เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สร้างประสบการณ์การดำ�เนินงานสมัชชาปฏิรปู ระดับ
ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 สิงหาคม 2555
ภาคใต้ยกร่างยุทธศาสตร์ ขับเคลื่อนสมัชชาปฏิรูป
• ดร.วณี ปิ่นประทีบ
จังหวัดแต่ละแห่ง และนำ�ไปสูก่ ารขับเคลือ่ นการปฏิรปู ประเทศไทยอย่างมีประสิทธิภาพ และพัฒนาอย่าง ยั่งยืนต่อไป ขณะที่ ผศ. ดร. พงศ์เทพ สุธีรวุฒิ ผู้อำ�นวย การสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ได้กล่าวถึงแนวคิดการปฏิรูปว่า การ ปฏิรูปจะเป็นผลได้ก็ด้วยพลังหรือแรงขับเคลื่อนของ สังคม ไม่ใช่จากรัฐบาลหรือคณะกรรมการชุดใดชุด หนึ่ ง จึ ง จำ � เป็ น ต้ อ งสร้ า งพลั ง เครื อ ข่ า ยทั้ ง ภาค ประชาชน เอกชน รัฐ และท้องถิ่น “เงื่อนไขที่จะให้การปฏิรูปเป็นผลสำ�เร็จ ต้อง กระจายอำ�นาจไปสู่สังคมอย่างแท้จริง มีการเปิด โอกาสให้ประชาชนสามารถมีส่วนร่วมสำ�คัญในการ จัดการศึกษาทรัพยากรของชุมชน เป็นการเพิม่ อำ�นาจ
ให้แก่ประชาชน ได้รบั ผิดชอบและจัดการกับชีวติ ของ ตนเอง” นอกจากนั้นยังรวมไปถึงการพัฒนาองค์กร ประชาชนให้ฐานสำ�คัญของการพัฒนา ตลอดจนปรับ เปลี่ยนการจัดสรรงบประมาณเสียใหม่ให้ลงสู่พื้นที่ เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความสอดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการของ ประชาชนอย่างแท้จริง และที่สำ�คัญที่สุดคือ การเปิด โอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการกำ�หนดเป้า หมายด้านคุณภาพชีวติ และจัดทำ�แผนการพัฒนาด้วย ตนเอง “เป้าหมายของการปฏิรูปประเทศคือ การ สร้างความเป็นธรรมเพื่อลดความเหลื่อมลํ้าในสังคม ทั้ ง เป็ น เรื่ อ งที่ เ กี่ ย วพั น กั บ การปรั บ เปลี่ ย นความ สัมพันธ์ทางอำ�นาจใหม่ ระหว่างรัฐ ภาคเอกชน และ ภาคประชาชน” อย่างไรก็ตาม มองว่ามิติของความเป็นธรรมที่ ต้องการปฏิรูปมี 5 ด้าน คือ 1. ความเป็นธรรมด้าน เศรษฐกิจและสังคม 2. ความเป็นธรรมด้านที่ดินและ ทรัพยากร 3. ความเป็นธรรมด้านโอกาส 4. ความเป็น ธรรมด้านสิทธิ และ 5. ความเป็นธรรมด้านอำ�นาจต่อ รอง ซึ่ ง ที่ ผ่ า นมาแนวคิ ด เรื่ อ งการปฏิ รู ป มี ก ารขั บ เคลื่ อ นในทุ ก พื้ น อยู่ แ ล้ ว โดยเฉพาะพื้ น ที่ ภ าคใต้ เนื่องจากเห็นได้ชัดว่ามีการเหลื่อมลํ้าในด้านต่างๆ อย่างชัดเจน จนทำ�ให้มีชาวบ้านหลายฝ่ายลุกขึ้นสู้ ดังนั้นจึงอยากให้แนวคิดเรื่องการปฏิรูปอยู่ในใจของ ประชาชนทุกคน
3 จังหวัดชายแดนใต้ชูประเด็นร่วม เน้นชุมชนเข้มแข็งน่าอยู่คู่อาเซียน ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ชูประเด็นร่วม พร้อมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การปฏิรูป 3 จังหวัด สู่ชุมชนเข้มแข็ง จังหวัดน่าอยู่คู่อาเซียน เดินหน้าก่อตัวสภาสมัชชาปฏิรูป จังหวัดชายแดนใต้ สร้างสังคมวิถีพอเพียง เตรียมรับมือประชาคมอาเซียน ผู้สื่อข่าวรายงานว่าเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2555 ในการแบ่งกลุ่มย่อยยกร่าง ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนสมัชชาปฏิรูประดับจังหวัด ภาคใต้ กลุ่ม 3 จังหวัดชายแดนใต้ พบข้อสรุปว่า ทั้ง 3 จังหวัดชายแดนใต้คือปัตตานี ยะลาและนราธิวาส ได้มีข้อสรุปในการ กำ�หนดยุทธศาสตร์เพือ่ เดินหน้าขับเคลือ่ น การปฏิรปู ร่วมกัน โดยชูประเด็นร่วมทัง้ 3 จังหวัด คือ “เศรษฐกิจชุมชนเข้มแข็งสู่ประชาคมอาเซียน” ทั้งนี้การกำ�หนดยุทธศาสตร์การก่อตัวสภาสมัชชาปฏิรูป 3 จังหวัดชายแดนใต้ ได้ วางกลยุทธ์ 7 เรื่องหลัก คือ การกระจายอำ�นาจ เศรษฐกิจ ศาสนาและสังคมวัฒนธรรม การศึกษา ด้านสาธารณสุข กระบวนการยุติธรรม ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม โดยมีความ มุ่งหวังว่าจะพัฒนาคุณภาพการศึกษา คุณภาพชีวิตที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตและวัฒนธรรม ท้องถิ่น ประกอบด้วย 1. ยกระดับคุณภาพการศึกษา (พัฒนาทุกคนเพื่อรองรับอาเซียน) 2. พัฒนาอิสลาม ศึกษากายใต้อัตตลักษณ์ของ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุก ภาคส่วนในการยกระดับคุณภาพชีวิต และสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม 4. อนุรักษ์ประเพณี วัฒนธรรม/ภูมิปัญญาท้องถิ่น 5. หนุนเสริมให้เกิดระบบทุนในทุกระดับ ชุมชน ภูมิภาค
ประเทศ และประชาชนเข้าถึงทุกระบบทุน 6. ส่งเสริมระบบเศรษฐกิจ ชุมชนและสร้างกลไกการตลาดที่เป็นธรรม 7. จัดระบบสวัสดิการชุมชน ให้เต็มพื้นที่ เพื่อรองรับรัฐสวัสดิการในอนาคต 8. จัดตั้ง “สภาประชาชน 3 จังหวัดชายแดนใต้” 9. สร้างบทบาท การมีส่วนร่วมในการฟื้นฟูอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อลดผล กระทบด้านคุณภาพชีวิต และรักษาสมดุลเชิงนิเวศน์ 10. การจัดสรร ทรัพยากรทีเ่ ป็นธรรมต่อชุมชน 11. กระบวนการยุตธิ รรม ยกเลิกพระราช กฤษฎีกาทุกฉบับเพื่อให้เห็นรูปธรรมชัดเจน 12. พัฒนาขีดความสามารถ ของชุมชนสู่การจัดการตนเอง และ 13. เปิดช่องทางสื่อชุมชนของคนใน พื้นที่
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 สิงหาคม 2555
บทกวี
ุยติธรรม ีและต้องกล้าต้องรปารากฏ
ต จักต้องมทกฎหมายได้ตั้ง รรมา ให้ตัวบ ธ ิ ต ุ ย ง ่ ห ิ์และสิทธิ์แ ิยยศ ุกคุณค่า ท ์ ย ล ุ ด ด ร ม @ ศัก ่นธงองค์อิสส บทรงส ำ�มาซึ่งยุติธรรม อ ส รง เป็นแท ธรรมน ต ง ณ ุ ย ่ ี ค ท เ ่ำ� ยืนพื้นฐานอัน า วามสูงต ค ง ่ ั ช ่ ด ั ม ย ไ ย า @ ห ึ่งอคติและม าชั่งต้อง ่งชี้ที่เท็จจริง ต ซ ด บ ปลอ บอกย้ำ� ั่ง ส ้ ี ช ร า ก ี ั่งต้องไม่ม ะต้องนำ� ป็นที่ยิ่ง ที่ดำ�รง เ ิ จ ช ต ุ ง า ย อ ้ ต ด ุ ต จ ก ู @ นถึง ิ่งเที่ยงธรรม จ วามถ ค ก ั ด ุ น ส ่ ี ห น้ำ� เป็นส ำ�ถึงท น ั ท ง อ อ ้ ต ะ มเป็นธรรมจ อ้างอิง ่ราหลง มนุษย์ ! ม ไ า ้ ล � ำ า ก ุ น ว ย @ ค ทัดยุติธรรม างพา รรค์สร้างสังคม ล ก ร เป็นบร ทรงสว บ ื า ส ม ร ร ธ ิ ิ์สิทธิ์แห่งยุต @ ศักดยะอันยิ่งยรรยง บู ล ย์ พ สืบอาร ไ ์ งษ ว รั ต น์ พ วีซีไรท์ เ น า ห่งชาติ และก ศิลปินแ
เพลงฝันของเธอ
(ฝันของดอกไม้แห่งท้องทุ่ง) เนื้อร้อง / ทำ�นอง/ดนตรี โดย ตู่ ตะวันฉาย เธอบอกว่าเหงา เธอบอกว่าเบื่อ เธอบอกว่าฝืนอยู่กับความโง่งม เธอบอกไม่ไหว อยู่ไปจ่อมจม อยู่กับโคลนตม ท้องทุ่งบ้านนา เธออยากจะหนี เธออยู่ไม่ได้ ไม่ทันสมัยอยากไปแสวงหา ขืนอยู่อย่างนี้ ไม่มีคุณค่า ไปตายดาบหน้า ฟ้าคงปราณี โอ้เธอ โลกนี้กว้างใหญ่ สิ่งที่เธอฝันใฝ่ ล้วนเป็นสิ่งดี โลกแห่งความเป็นจริง ทุกสิ่งล้วนมากมี ทั้งสิ่งเลวสิ่งดี อาจไม่เป็นดั่งฝัน (อยู่ที่เธอเลือกทำ�)
• บุญธรรม เทอดเกียรติชาติ
ตะลุงเมืองนครฯ สะท้อนสังคม ส่งเสริมปฏิรูป
7
( ค ำ� ค อ น ก ล อ น ก บ เ ต้ น ) ออ ๆ ปฏิรูปประเทศไทย (พี่น้องเหอ) ก็ที่ในภาคใต้ ขับเคลื่อนหรือไม่ จะรู้ได้ไฉน (พ่อนะ แม่นะ) จะรู้ได้ไฉน หรือบางจังหวัด (พี่น้องเหอ) เขาติดขัดอะไร ขับเคลื่อนไม่ไหว เพราะไม่มีพลัง (พี่น้องเหอ) (ซ้ำ�) เพราะไม่มีพลัง ออ ประชุมแลกเปลี่ยน (พี่น้องเหอ) ก็เพื่อการเรียนรู้ ทบทวนกันดู ทั้งเบื้องหน้า เบื้องหลัง (พ่อนะ แม่นะ) ทั้งเบื้องหน้า เบื้องหลัง แนวคิด แนวทาง (พี่น้องเหอ) แนวสร้างพลัง แนวนอน แนวตั้ง แนวบูรณาการ (พี่น้องเหอ) (ซ้ำ�) ว่าแนวบูรณาการ ออ ทั้งภาคใต้ตอนล่าง (พี่น้องเหอ) และภาคใต้ตอนบน มีปัญญาชน ล้วนเป็นคนมาตรฐาน (พ่อนะ แม่นะ) ล้วนเป็นคนมาตรฐาน มีชื่อลือเลื่อง (พี่น้องเหอ) ต่อเนื่องยาวนาน ตั้งแต่โบราณ แตกฉานปัญญา (พี่น้องเหอ) (ซ้ำ�) เขาแตกฉานปัญญา ออ ภาคใต้ตอนบน (พี่น้องเหอ) คนตรัง,ชุมพร สตูล,นครฯ กะอ้ายยะลังก๋า (พ่อนะ แม่นะ) อ้ายยะลังก๋า พัทลุง ,สุราษฎร์ (พี่น้องเหอ) เคยเป็นปราชญ์ประชา ระนอง มองหา ไม่ใช่พม่าทังเพ (พี่น้องเหอ) (ซ้ำ�) ไม่ใช่พม่าทังเพ ออ ภาคใต้ตอนบน (พี่น้องเหอ) รวมคนเจ็ดจังหวัด ทางตรง ทางลัด ผสมผเส (พ่อนะ แม่นะ) ผสมผเส ภาคใต้ตอนล่าง (พี่น้องเหอ) แนวทาง โอ.เค. ทรีเว ทูเว พุทธคริสต์อิสลาม (พี่น้องเหอ) (ซ้ำ�) พุทธคริสต์อิสลาม ออ สงขลา พังงา (พี่น้องเหอ) ยะลา(ปัต)ตานี กระบี่,นราฯ ใต้สุดฟ้าสยาม (พ่อนะ แม่นะ) ใต้สุดฟ้าสยาม รวมทั้งภูเก็ต ครบเจ็ดลือนาม ต้องพยายาม ไปตามกระบวน (พี่น้องเหอ) (ซ้ำ�) ไปตามกระบวน ออ แลกเปลี่ยน เรียนรู้(พี่น้องเหอ) ทั้งใต้ล่างใต้บน แยบยลแยบคาย รอบคอบถี่ถ้วน (พ่อนะ แม่นะ) รอบคอบถี่ถ้วน ละเอียด ลึกซึ้ง (พี่น้องเหอ) ให้ทั่วถึง นุ่มนวล ขับเคลื่อนขบวน ของเหล่ามวลชน (พี่น้องเหอ) (ซ้ำ�) ของเหล่ามวลชน ออ ปฏิรูปประเทศไทย (พี่น้องเหอ) ก็ที่ในภาคใต้ ขับเคลื่อน ไว้ลาย เพราะได้มรรคได้ผล (พ่อนะ แม่นะ) เพราะได้มรรคได้ผล ออ สิ่งที่ได้กล่าวมา (พี่น้องเหอ) คล้ายคาถาเวทมนตร์ เพื่อจะให้ทุกทุกคน เอ่ย มีพลัง เอ่ย...เหอ... มีพลัง ๛ “นายหนังตะลุงบุญธรรม เทอดเกียรติชาติ” มหาวิชชาลัยชุมชนศิลปินพื้นบ้านศรีวิชัย บ้านโคกทราย ต.ทรายขาว อ.หัวไทร จ.นครศรีธรรมราช คืนวันอาทิตย์ที่ 8 กรกฎาคม 2555
8
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
รายงานจากพื้นที่ • กองบรรณาธิการ •
เ
ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 สิงหาคม 2555
แนะจัดการทรัพยากรในพื้นทีเ่ ป็นระบบ
แจงแก้ปัญหา ชายฝั่งยังอืด ! ครม.โยนสภาพัฒน์ ทบทวนแผน
เพิจั่มดการตนเองอย่ พลังชุมชน างยั่งยืน
มื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2555 ที่ผ่านมา สำ�นักงานปฏิรูป (สปร.) จัดทีมวิจัยลงพื้นที่ และประชุมเชิงชุมชน ณ บ้านนํ้า ราบ จังหวัดตรัง เพื่อติดตามมติ ให้เกิดการสร้างสิทธิชมุ ชนและสังคมให้ สมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ 1 ได้รับประโยชน์จากการจัดสรรทรัพยา พ.ศ. 2554 ตามมติที่ ๒ การปฏิรูป กรอย่างเป็นธรรมมากขึ้น โดยงานที่ โครงสร้ า งการจั ด การทรั พ ยากร ดำ�เนินการไปแล้ว คือ การสำ�รวจขัน้ ต้น ทะเลและชายฝั่ง พืน้ ทีเ่ ขตเลสีบ่ า้ น จังหวัดตรัง และพืน้ ที่ สืบเนื่องจากกรณี รศ.ดร. บ้านเปร็ด ในจังหวัดตราด การสัมภาษณ์ นิพนธ์ พัวพงศกร ประธานคณะ ชุมชนผู้อาศัยทั้งสองพื้นที่ การบันทึก กรรมการการจัดสรรทรัพยากรเพือ่ ข้อมูลกิจกรรมต่าง ๆ ที่ทำ�ในพื้นที่การ ความเป็นธรรม ได้จัดทำ�โครงการ ลงข้อมูลแบบสอบถาม โดยมีงานที่ต้อง Best Practices การบริหารจัดการ ดำ�เนินการต่อ คือ การจัดประชุมใน • รศ.ดร. นิพนธ์ พัวพงศกร ทรัพยากรในพื้นที่อย่างมีส่วนร่วม พื้นที่ เพื่อรายงานผลวิเคราะห์ปัจจัยที่ กรณีจังหวัดตรังและจังหวัดตราด กำ�หนดความสำ�เร็จ ระดมความเห็นจาก แล้ว มีพัฒนาการที่ค่อยๆเติบโตตาม ภายใต้ โ ครงการขั บ เคลื่ อ นการ ชุมชนและสรุปผลการศึกษา กาลเวลา มี ก ารรวมพลั ง สร้ า งเป็ น ปฏิรูปการจัดการทรัพยากรอย่าง รศ.ดร.เรืองไร โตกฤษณะ กล่าว องค์กรเครือข่ายชุมชนขึ้นมา มีการเข้า ยั่ ง ยื น โดยมี รศ.ดร.เรื อ งไร โต- ถึงพัฒนาการก่อนเริ่มก่อตั้งเขตทะเลเส ร่วมกลุ่มองค์กรในชุมชนกันบ่อยๆ ทั้ง กฤษณะ และคณะทีมวิจัย บ้าน ว่า ชุมชนแห่งนี้ได้มีการรวมกลุ่ม การจัดการประมง การจัดการป่าชาย ทั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อก่อ ในพื้นที่กันเป็นเวลานานกว่า 50 กว่าปี เลน ป่าชุมชน ชาวบ้านทั่ว ๆ ไปมีการ ประกอบอาชีพทำ�ประมง ทำ�สวนยาง เลี้ยงกุ้งกุลาดำ� และปลูกต้นปาล์ม โดย ส่วนใหญ่นั้นอาศัยอยู่ที่นี่มาตั้งแต่รุ่นปู่ รุน่ ย่า ทำ�มาหากินโดยทำ�ประมงกันเป็น หลั ก และมี ก ารจั ด การทรั พ ยากรใน พื้นที่ชุมชนกันเองมาอย่างต่อเนื่อง มี การจัดทำ�กฎ ระเบียบ กติกา ในพื้นที่ ขึ้นมา รศ.ดร.เรืองไร ยกตัวอย่างกฎ กติกาว่า ชาวบ้านมีกฎชุมชนในการทำ� ประมง โดยทุกฝ่ายมีสว่ นร่วมในการร่าง
จีส้ ร้างเขือ่ นกันน้ำ�ทะเลกัดเซาะ หวัน ่ กระทบธุรกิจท่องเทีย่ ว นายประที ป โจ้ ง ทอง นายก สมาคมธุรกิจการท่องเทีย่ ว จ.ตรัง กล่าว ว่า จากกรณีที่ในพื้นที่ชายหาดปากเมง ต.ไม้ฝาด อ.สิเกา ได้เกิดพายุฝนและ คลื่นลมมรสุมในทะเลกัดเซาะชายฝั่ง บ่อยครั้ง ส่งผลให้ต้นสนที่ขึ้นตามแนว ชายหาดหักโค่นล้มระเนระนาด ล้มทับ โต๊ะเก้าอีท้ ผี่ ปู้ ระกอบการร้านอาหาร นำ� มาตั้งบริการนักท่องเที่ยวได้รับความ เสียหาย ซึง่ จากเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ ไม่ได้ เกิ ด ครั้ ง นี้ เ ป็ น ครั้ ง แรก แต่ เ กิ ด เป็ น ประจำ�ทุกปี ทำ�ให้ทางผู้ประกอบการ
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 สิงหาคม 2555
ท่องเที่ยว จ.ตรัง กังวลว่า หากต้นสนที่ โค่นล้มลงมาล้มทับนักท่องเที่ยว จน ทำ�ให้บาดเจ็บและเสียชีวิต แล้วยังล้ม ทับบ้านเรือนรวมทั้งรถยนต์และทรัพย์ สินอื่นๆ จนได้รับความเสียหาย ก็จะยิ่ง ส่ ง ผลกระทบต่ อ การท่ อ งเที่ ย วของ จังหวัดเพิ่มมากขึ้น ดั ง นั้ น ทางผู้ ป ระกอบการท่ อ ง เที่ยว จ.ตรัง จึงเรียกร้องให้หน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เร่งสร้างเขื่อนป้องกันการกัด เซาะของนํ้าทะเลโดยเร่งด่วน แม้ว่าใน พื้นที่ดังกล่าวจะอยู่ในความรับผิดชอบ
• ประทีป โจ้งทอง
ดูแลของอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม ก็ตาม แต่ทุกฝ่ายควรต้องมาหารือร่วม กัน เพราะนับวันปัญหาดังกล่าว จะยิ่ง ทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ หากยังไม่เร่ง รีบหามาตรการป้องกัน
• รศ.ดร. เรืองไร โตกฤษณะ
กฎ กติกาขึ้นมาใช้ร่วมกัน มีข้อตกลง การใช้ประโยชน์จากป่าชายเลน ต้อง แจ้งต่อกลุ่มก่อน ไม่ให้ตัดเพื่อการค้า และให้ปลูกแทนที่การตัดไปเพิ่มเป็น สองเท่า เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการจัด ทำ�แนวเขตและแผนที่ชุมชนและแบ่ง พื้นที่ในการใช้ประโยชน์ ในเขตป่าชาย เลน มีการจัดทำ�แนวเขตอนุรักษ์พันธ์ สัตว์นํ้าวัยอ่อน 4 หมู่บ้าน และการ จั ด การออมทรั พ ย์ ป ระมงพื้ น บ้ า น เป็นต้น “ขณะนี้ก็กำ�ลังมีการเร่งผลักดัน โครงการโฉนดชุมชนซึ่งอยู่ในขั้นตอนที่ หน่วยงานรัฐ กำ�ลังลงพื้นที่ศึกษาข้อมูล และโครงการบ้านมั่นคง ที่กำ�ลังจัดการ เรื่องที่ดินทำ�กิน มีกรรมการมาคุยกัน เรื่องรายละเอียดพื้นที่ต่างๆก่อน แล้ว อย่างไรก็ตาม แม้ว่าการสร้าง เขื่อนตามแนวชายหาดปากเมงทั้งหมด จะส่งผลกระทบทำ�ให้นักท่องเที่ยวไม่ สามารถลงไปเล่นนํ้าในทะเลได้ก็ตาม แต่หากไม่เร่งสร้างโดยเร่งด่วนเชือ่ แน่วา่ ในอนาคตอีก 3 ปีข้างหน้า ก็จะไม่มี ต้นสนหลงเหลืออยู่คู่กับชายหาดปาก เมงทีไ่ ด้ขนึ้ ชือ่ ว่าเป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วที่ มีช่ือเสียงแห่งหนึ่งของ จ.ตรัง และยัง รวมไปถึงพื้นที่ชายฝั่ง ซึ่งเมื่อ 10 ปีที่ ผ่านมา ความรุนแรงของคลื่นยังมีไม่ มาก จึงทำ�ให้นํ้าทะเลกัดเซาะห่างจาก ชายฝั่งประมาณ 50 เมตร แต่ปัจจุบัน นํ้าทะเลได้กัดเซาะชายฝั่งลึกเข้ามากิน พื้นที่ด้านในถึง 50 เมตร ทำ�ให้แต่ละปี เมื่อเกิดคลื่นลมมรสุมในทะเล ชายหาด แห่งนี้ต้องสูญเสียพื้นที่ไปจำ�นวนมาก
ค่อยกำ�หนดพื้นที่ที่อนุญาตให้ใช้ต่อไป ซึ่ ง ที่ ผ่ า นมานั้ น มี ช าวบ้ า นในพื้ น ที่ ใ ห้ ความร่วมมือในการยอมรับ กฎ กติกา ที่ชุมชนจัดทำ�ขึ้นมาเป็นอย่างดี เพราะ เล็ ง เห็ น ประโยชน์ แ ละข้ อ ดี ใ นการ บริหารและจัดการทีเ่ ป็นระบบ มีการจัด องค์กรต่างๆแบบมีสว่ นร่วมทีม่ กี ารแบ่ง สรรอำ�นาจหน้าทีบ่ ริหารจัดการทรัพยา กรเป็นลำ�ดับขัน้ จากชุมชนไปถึงราชการ ส่วนกลาง” ขณะเดี ย วกั น ก็ มี บ ทลงโทษ หากเกิ ด ความขั ด แย้ ง ในการจั ด การ ทรัพยากรในพืน้ ทีเ่ ขตเลเสบ้าน เช่นจาก ว่ากล่าวตักเตือน ชี้แจงทำ�ความเข้าใจ ให้ทำ�กิจกรรมบำ�เพ็ญประโยชน์หรือไม่ ให้รว่ มกิจกรรมอืน่ ๆ ในชุมชน ตลอดถึง การตัดสิทธิ์การเป็นสมาชิกกลุ่มสัจจะ ออมทรัพย์หรือปรับเป็นตัวเงิน และ ลงโทษตามตัวบทกฎหมาย สำ�หรับการประชุมเชิงชุมชนนัน้ ได้มีการแสดงความคิดเห็นต่างๆจาก ชาวบ้ า นเขตเลเสบ้ า นที่ ม าเข้ า ร่ ว ม ประชุมโดย ได้กล่าวถึงปัญหาบทบาท ของรัฐที่ผ่านมาว่า มีหลายหน่วยงานที่ ยังทำ�ตัวเป็นเหมือนขุนนางอยู่ ไม่ค่อย
• น้ำ�ทะเลกัดเซาะที่หาดปากเมงจนต้นสนล้มหลายต้น
“ที่ ผ่ า นมา อบต.ไม้ ฝ าด ไม่ สามารถเข้ า ไปดำ � เนิ น การตั ด แต่ ง กิ่ ง ต้นสนไม่ให้โค่นล้มลงมาได้ ทัง้ ทีท่ ราบดี ว่าเสี่ยงต่อการเกิดอันตรายต่อนักท่อง เทีย่ วและทรัพย์สนิ เพราะเป็นพืน้ ทีข่ อง
• ปรีดา เตียสุวรรณ์
มาใกล้ชิดกับชาวบ้าน อยากให้รัฐบาล มี บ ทบาทเป็ น พี่ เ ลี้ ย งมากขึ้ น กว่ า นี้ เพราะในบางเรื่องชาวบ้านไม่มีอำ�นาจ ในการตัดสินใจทำ�เองได้ นายวิสิฐ ตั้งปอง นายอำ�เภอ อำ�เภอกันตัง ได้แสดงความคิดเห็นถึง ปัญหาในพื้นที่ว่า ชาวบ้านส่วนใหญ่ยัง ขาดฐานข้อมูลต่าง ๆ อยูม่ าก ไม่มคี วาม รู้เรื่องการตลาดเลย ไม่มีใครมาคอย แนะนำ � อยากให้ มี ก ารประกั น ราคา สินค้า เช่น การทำ�ประมงนั้นไม่เคยมี การทำ � มาก่ อ นเลย ทั้ ง ที่ ต้ อ งออกไป ทำ�งานกลางทะเล มีความเสีย่ งสูง บางที ก็เจอกับมรสุม แต่เมื่อได้ปลากลับมา แล้ว ราคาก็ยังคงได้เท่าเดิม ในขณะที่ อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม ถ้าหาก เข้าไปดำ�เนินการใดๆก็อาจถูกดำ�เนินคดี ได้ จึงต้องทำ�เรือ่ งขออนุญาตไปยังระดับ อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและ พันธุ์พืช ซึ่งเห็นว่าล่าช้ากว่าจะดำ�เนิน การได้ ต้ น สนก็ ล้ ม ทั บ บ้ า นเรื อ นและ ทรัพย์สินเสียหายแล้ว” ขณะทีน่ ายณรงค์ คงเอียด หัวหน้า อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม จ.ตรัง ระบุ ว่า ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งบริเวณ ชายหาดปากเมง มีแนวโน้มทวีความ รุนแรงขึ้นทุกปี ซึ่งที่ผ่านมาทางหน่วย งานที่เกี่ยวข้องพยายามหามาตรการ ป้องกันการกัดเซาะของนํ้าทะเล โดย การสร้ า งเขื่ อ นป้ อ งกั น บริ เ วณจาก รร.อนันตรารีสอร์ท จนมาถึงชายหาด ปากเมงบางส่วนประมาณ 3 กม. ซึ่งก็
ราคานํ้ามันก็สูงขึ้น “อยากจะให้รัฐเข้ามาช่วย เหลือแก้ปัญหาที่มีอยู่ขณะนี้ให้มาก ขึ้น เช่น ปัญหาราคาสินค้าที่ตกตํ่า ปัญหาพ่อค้าคนกลาง การขายสินค้า ไม่ได้ราคา ไม่มีการประกันราคา นพ.สุ วิ ท ย์ วิ บุ ล ผลสินค้า เช่น การทำ�ประมงนั้นไม่เคย ประเสริฐ ประธานคณะกรรมการ มีการทำ�มาก่อน ในขณะที่ราคานํ้า ดำ � เนิ น การจั ด สมั ช ชาปฏิ รู ป มันก็สูงขึ้น ชาวบ้านส่วนใหญ่ ก็ยัง (คจสป). เปิดเผยคืบหน้าผลการ ขาดฐานข้อมูลอยู่มาก เช่น เรื่อง ดำ�เนินงาน ตามมติสมัชชาครั้งที่ 2 ทั้ง 6 มติ ว่าได้ดำ�เนินการไป การขายไข่ มี ก ารขายหลายไซส์ แล้วหลายประเด็นและจะมีการ หลายขนาด ยังไม่มกี ารประกันราคา ประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใน ส่วนปลาทูกม็ หี ลายขนาดเหมือนกัน แต่ละภาคส่วนอีกครั้ง เพื่อจัดทำ� กลับปรากฏว่าไม่มกี ารประกันราคา แผนเส้นทางเดินของมติทั้งหมด ให้ เ ลย ยั ง คงมี ร าคาขายเท่ า เดิ ม ว่ า จะไปถึ ง ไหน เมื่ อ ไหร่ และ พ่อค้าคนกลางยังคงกำ�หนดราคา อย่ า งไรออกมา โดยจะแต่ ง ตั้ ง คณะทำ�งานติดตามเฉพาะบางมติ สินค้าได้ตามใจชอบเหมือนเดิม” ที่สำ�คัญขึ้นมา นายปรี ด า เตี ย สุ ว รรณ์ คณะกรรมการสมั ช ชาปฏิ รู ป ได้ กล่าวสรุปว่า อยากจะให้ชาวบ้าน ต้ อ งจั บ กลุ่ ม กั น ให้ เ หนี ย วแน่ น ให้ กลุม่ เข้มแข็งได้เสียก่อน ทำ�โครงการ ที่ทำ�ให้ชุมชนนั้นเข้มแข็ง เมื่อชาว บ้านสามารถรวมตัวกันได้แล้ว จะมี พลังทีส่ ามารถจะต่อรองเรียกร้องใน สิทธิตา่ งๆ ต่อสูก้ บั พ่อค้าคนกลางได้ ราคาสิ น ค้ า ก็ จ ะไม่ ต กตํ่ า และได้ ราคาตามทีต่ อ้ งการ และอยากจะให้ • นพ.สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ โครงการต่างๆที่ทำ�ในชุมชนนั้นสำ� เร็จได้ด้วยดี เพื่อจะได้เป็นตัวอย่าง “ส่วนมติเรื่องทรัพยากร ให้ชุมชนอื่นๆได้ทำ�เป็นตัวอย่างต่อ ชายฝั ง ่ ทะเลนั น้ ตอนนีท้ างภาคใต้ ไป และทางสำ�นักงานปฏิรูปจะนำ� มีปัญหาเยอะมาก มีการเคลื่อน เอาข้อมูลต่างๆที่ได้จากการวิจัยนี้ ไหวเรื่ อ งแผนพั ฒ นาภาคใต้ ที่ มาย่อยรวบรวมทำ�เป็นหนังสือขึ้น กระทบเรื่องชายฝั่ง ทรัพยากร มาเพื่ อ ทำ � การเผยแพร่ ข้ อ มู ล ใน ชายทะเล เรื่องปัญหาที่ดิน และ ระบบนิเวศน์ทั้งหมด ซึ่งตามมติ โอกาสต่อไป คณะรัฐมนตรี (ครม.) ได้มอบให้ สภาพั ฒ น์ (สำ � นั ก งานคณะ สามารถป้ อ งกั น การกั ด เซาะของนํ้ า กรรมการพั ฒนาเศรษฐกิ จ และ สังคมแห่งชาติ) ไปทบทวนแผน ทะเลได้ พัฒนาภาคใต้ โดยให้ภาคประชา ส่วนต้นสนที่เสื่อมสภาพ และ ชนมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง” เสีย่ งต่อการหักโค่นล้มนัน้ ทีผ่ า่ นมาทาง ทัง้ นี้ ตามมติสมัชชาครัง้ ที่ เจ้ า หน้ า ที่ ไ ด้ เข้ า ไปตรวจสอบอยู่ แ ล้ ว 1 มติ ท ่ ี 2 ขอให้คณะกรรมการ แต่จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่คิดว่าจะ สมัชชาปฏิรูปเสนอให้ครม.มีมติ รุนแรงเช่นนี้ แต่หากชาวบ้านแจ้งมาก็ ยกเลิกแผนพัฒนาชายฝัง่ ทะเลทัว่ จะส่งเจ้าหน้าทีเ่ ข้าไปตัดทำ�ลายทิง้ เพือ่ ทุกภาค หรือโครงการพิเศษต่างๆ ไม่ให้เกิดอันตรายต่อนักท่องเที่ยวและ ที่กำ�หนดไว้และกำ�ลังดำ�เนินการ ทรัพย์สนิ ส่วนการทีผ่ ปู้ ระกอบการท่อง ในปัจจุบัน พร้อมกับขอให้ส่วน เที่ยว จ.ตรัง เรียกร้องให้สร้างเขื่อน ราชการ ชุมชน องค์กรพัฒนา บริเวณหน้าชายหาดนัน้ โดยส่วนตัวเห็น เอกชนและภาคเอกชนดูแลรักษา ว่าสามารถทำ�ได้ และสามารถช่วยป้อง ทรั พ ยากรทางทะเล โดยกระ กันคลื่นคลื่นลมมรสุมได้เป็นอย่างดี แต่ บวนการประชาชนมีส่วนร่วมใช้ อาจทำ � ให้ เ สี ย ทั ศ นี ย ภาพในการท่ อ ง ทรัพยากรได้อย่างยั่งยืน เที่ยวไป
9
10
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
ศ.นพ. ประเวศ วะสี ประธานคณะกรรมการ สมัชชาปฏิรูป (คสป.)
ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 สิงหาคม 2555
คณะทำ�งานกรรมการสมัชชาปฏิรูป กล่าวถึงปัญหาการบริหารการจัดการ ที่ดินว่าเป็นเรื่องที่จะแก้ไขได้ แต่ติดที่ เรื่องปัญหานโยบายที่รัฐจะต้องเป็นผู้ แก้ โดยจำ�แนกพื้นที่กันไว้เป็นของรัฐ และของประชาชนและควรจะลดพืน้ ที่ ที่ ส งวนหวงห้ า มให้ น้ อ ยลง ปั ญ หา กฎหมาย เรื่ อ งที่ ช าวบ้ า นถู ก ขั บ ไล่ จับกุม ฟ้องร้อง ถูกยึดที่ดินเพิกถอน เอกสารสิทธิ์ ปัญหาวิธคี ดิ ของผูค้ นในพืน้ ที ่
นักวิชาการแนะชงข้อมูลเสนอรัฐแก้ปัญหาที่ดินทำ�กิน พร้อมออกพรบ.ปลดล็อคอำ�นาจออกมาเชื่อมต่อให้ชุมชนท้องถิ่น เพิ่มอำ�นาจให้ชาวบ้านจัดการตนเองได้ง่ายขึ้น เผย กำ�นัน ผู้ใหญ่บ้าน อบต.ตำ�บลบัวใหญ่อ.นาน้อย จังหวัดน่าน ลงชื่อ “หนังสือรับรองการครอบครองที่ดิน” แล้ว
ชุมชนรุกแก้ปญ ั หาทีด ่ น ิ ทำ�กิน กำ�นัน-ผญบ.-อบต. ลงชือ ่ รับรอง
ศ.นพ. ประเวศ วะสี ประธาน คณะกรรมการสมัชชาปฏิรูป (คสป.) กล่าวในการประชุม ภาคีสง่ เสริมชุมชน ท้องถิน่ จัดการตนเองเพือ่ ติดตามความ คืบหน้ามติสมัชชาการปฏิรปู โครงสร้าง
และกฏหมายด้านที่ดินและกรณีศึกษา เรือ่ ง การบริหารจัดการทีด่ นิ โดยชุมชน ท้องถิ่นเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม ที่ผ่าน มาว่ า การทำ � แผนการบริ ห ารการ จัดการที่ดินโดยชุมชนท้องถิ่นจัดการ ตนเอง เป็นสิ่งที่ดีและได้ประโยชน์เป็น อย่างมาก มีความชัดเจนเป็นรูปธรรม มีทั้งรูปภาพ และหลักฐานประกอบ ครบถ้วน “เมื่อทางราชการได้รับทราบ ข้อมูลที่ชัดเจน และนำ�ไปศึกษาแล้ว ก็ จะสามารถให้ความร่วมมือได้เป็นอย่าง ดี เพราะข้อมูลนั้นมีความสำ�คัญเป็น อย่างมาก ถ้าเรามองจากด้านบนเพียง
อย่ า งเดี ย ว ก็ จ ะไม่ เ ห็ น ภาพแต่ ถ้ า มี ข้ อ มู ล โดยละเอี ย ดแล้ ว ก็ จ ะทำ � ให้ สามารถประสานงานกั น ได้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น และจะเป็นตัวอย่างที่ดี ให้จังหวัดอื่นๆ ได้ทำ�ต่อไป เพราะเป็นการทำ�งานที่ส่ง เสริมกันและมีการจัดการตัวเองทีด่ โี ดย ไม่ต้องรอทางราชการ” ขณะเดี ย วกั น นพ.ประเวศ ต้องการให้รัฐบาลได้เห็นคุณค่าตรงนี้ เพื่อจะทำ�ให้เราเห็นทิศทางที่ชัดเจน เป็ น ชุ ม ชนจั ด การตนเองโดยการอภิ วัฒน์ครั้งใหญ่ อยากให้ทำ�การศึกษา เรื่ อ งนี้ นำ � มาใช้ เ ป็ น ต้ น แบบในการ ทำ�งานต่อไป และให้สื่อมวลชนช่วยกัน
ชงเก็บภาษีก้าวหน้าสกัดนายทุนถือครอง คนเชียงใหม่ร้อง“อภิสิทธิ์”แก้ปัญหาที่ดิน ชาวบ้านบ้านโป่ง อ.สันทราย เชียงใหม่ ร้อง“อภิสิทธิ์” แก้ปัญหาที่ดินทำ�กิน พร้อมเสนอเก็บภาษีที่ดินอัตราก้าวหน้า สกัดนายทุนครอบครองแล้วปล่อยทิ้งร้าง ไม่ทำ�ประโยชน์ ผู้นำ�ชุมชนตอกยํ้า เคยต่อสู้มานานแล้ว และเริ่มท้อแท้ เพราะไม่มีอะไรคืบหน้า
ในการลงพื้นที่เพื่อติดตามโครงการปฏิรูปที่ดิน โฉนดชุมชน ธนาคารชุมชน และปัญหาทีด่ นิ ทำ�กินของ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ผู้นำ�ฝ่ายค้าน หัวหน้าพรรค ประชาธิปตั ย์ ทีช่ มุ ชนบ้านโป่ง ต. แม่แฝก อ. สันทราย จังหวัด เชียงใหม่ เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2555 ที่ • อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ • ประยงค์ ดอกลำ�ไย ผ่านมา โดยมี เครือข่ายกลุม่ ปฏิรปู ทีด่ นิ ภาคเหนือ และ ชาวบ้านชุมชนบ้านโป่ง ต้อนรับ และร้องเรียนให้ทราบ การแก้ไขอย่างจริงจัง และเป็นรูปธรรม ถึงปัญหาในพื้นที่ ซึ่งเกิดขึ้นมานาน แต่ยังไม่เคยได้รับ นายดิเรก กองเงิน ประธานกลุ่มปฏิรูปที่ดิน ชุมชนบ้านโป่ง กล่าวว่าพืน้ ทีช่ มุ ชนบ้านโป่ง มีชาวบ้าน อยู่อาศัยมาตั้งแต่รุ่นปู่รุ่นย่า ทำ�สวน ทำ�ไร่ ปลูก ลำ�ไย น้อยหน่า ข้าวโพดชะอม ปลูกผัก กันเป็นหลัก ตาม อย่างบรรพบุรุษ แต่เมื่อปี 2485 เป็นต้นมา ที่ดินบาง ส่ ว นได้ ต กไปอยู่ กั บ นายทุ น บางส่ ว นไปตกอยู่ กั บ ธนาคาร ทำ�ให้ที่ดินถูกทิ้งร้างไม่ได้ทำ�ประโยชน์ มี การนำ�ขยะมาทิ้งเกิดปัญหานํ้าเสีย ชาวบ้านจึงรวมตัว จั ด การปฏิ รู ป แบ่ ง ปั น ที่ ดิ น ทำ � กิ น ประมาณ 100 ครอบครัว
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 สิงหาคม 2555
• รศ.อิทธิพล ศรีเสาวลักษณ์
กระจายเรื่องนี้ออกสู่สังคม โดยให้สื่อ ลงพื้นที่จริง เพื่อจะได้เข้าใจชุมชนใน พื้นที่มากขึ้น และเผยแพร่ให้สังคมได้ รั บ ทราบข้ อ มู ลและเข้ า ใจโดยง่ า ยได้ ต่อไป รศ.อิทธิพล ศรีเสาวลักษณ์
หากิน “ให้จดั ทำ�ร่างพระราชบัญญัติ (พรบ.) ขึ้นมา และเห็นชอบร่วมกันทั้ง ฝ่ายค้านและฝ่ายรัฐบาล นำ�ข้อมูลการ บุกรุกต่างๆมาทำ�การศึกษาร่วมกันเพือ่ พิจารณานำ�มาให้ประชาชนใช้ ทีด่ นิ ทำ� กินต่อไป และแนะนำ�ว่าน่าจะมีการร่าง กฎหมายขึ้นมาฉบับหนึ่ง ที่สามารถ ปลดล็อคอำ�นาจทุกอย่าง แล้วส่งต่อ อำ�นาจนัน้ มาเชือ่ มโยงให้ชมุ ชนท้องถิน่ สามารถจัดการตนเองได้ ขับเคลือ่ นงาน ทุ ก อย่ า งได้ เ อง และเป็ น กฏหมายที่ สนับสนุนให้อำ�นาจชาวบ้านมากขึ้น” นางฑิฆมั พร กองสอน ตัวแทน จากตำ � บลบั ว ใหญ่ อำ � เภอนาน้ อ ย จังหวัดน่าน กล่าวถึงแผนชุมชนท้องถิน่ จัดการตนเองว่า ได้จดั ทำ�แผนงานออก มาเป็นรูปธรรมอย่างชัดเจน มีการทำ� โครงการต่างๆเพื่อช่วยเหลือชาวบ้าน ในชุมชน เช่น บ้านมั่นคงชนบท ช่วย เหลือชาวบ้านที่เดือดร้อนเรื่องที่ดินที่ อยูอ่ าศัย มีการแก้ไขปัญหาทีด่ นิ ทำ�กิน • ฑิฆัมพร กองสอน และโฉนดชุมชน เพราะชาวบ้านส่วน ใหญ่ มีปัญหาเรื่องที่ดินทำ�กิน ซึ่งส่วน ให้มีการอนุรักษ์ การปลูกป่าเพิ่มเติม ใหญ่อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ รักษาพื้นที่ของตัวเอง เราต้องช่วยกัน “ตามประวัติชุมชนนั้นมีการ แก้ไขปัญหาที่ดินให้ประชาชน ทั้งการ ตั้งถิ่นฐานในแถบนี้เมื่อ 200 ปีมาแล้ว ถือครองที่ดิน กฎหมายที่ดิน และเรื่อง หลังทำ�แผนชุมชน ได้ส�ำ รวจข้อมูล การ ภาษีที่ดิน ให้หาที่ดินของรัฐที่ไม่ได้ใช้ ครอบครองที่ดินในเขตป่าสงวนแห่ง ประโยชน์ นำ�มาให้ประชาชนใช้ทำ�มา ชาติ ในพื้นที่ 8 หมู่บ้าน แล้วนำ�ข้อมูล
“ต่อมาเกิดปัญหาคดีความ บางส่วนถอนตัว ออกไปปัจจุบัน เหลืออยู่ 79 ครอบครัว มีที่ดินเฉลี่ย คนละประมาณ 3 ไร่ จึงนำ�มาทำ�โฉนดชุมชน เพื่อให้ ลูกหลานในพืน้ ทีไ่ ด้มที �ำ กินต่อไป ซึง่ รัฐบาลชุดปัจจุบนั ได้ประกาศเป็นนโยบายไปแล้ว แต่ยังไม่มีความคืบ หน้า ขณะที่หลายหมู่บ้านมีปัญหาคดีความมากมาย หน่วยงานของรัฐอ้างว่ากำ�ลังอยูใ่ นข้อพิพาท จึงไม่กล้า เข้ามาช่วยเหลือ” นายชูชาติ ชมชื่น กำ�นันตำ�บลบ้านโป่ง กล่าว ว่า ชาวบ้านส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรที่ยังไม่มีที่ดินทำ� กิน ต้องเช่าที่ดินจากชุมชนใกล้เคียง มีการจัดการ ทรัพยากรในพืน้ ทีช่ มุ ชนกันเอง มาอย่างต่อเนือ่ ง มีการ จัดทำ� กฎ ระเบียบ การจัดการที่ดิน ขึ้นมาเป็นข้อตก ลงร่วมกันของกลุม่ เพือ่ ให้เกิดการมีสว่ นร่วมและความ เท่าเทียมกันในการจัดการ และใช้ประโยชน์จากที่ดิน แต่ยังมีปัญหาหลายครอบครัวยังไม่มีที่ดินทำ�กิน นายอานันท์ ติง สมาชิกสภาบ้านโป่ง กล่าว ว่า ในพื้นที่ อำ�เภอ สันทราย ส่วนใหญ่ยังไม่มีใครได้ เอกสารสิทธิ์ครอบครอง หลายสิบครอบครัว จะไปกู้ ไปจำ�นอง ก็ทำ�ไม่ได้ เพราะไม่มีเอกสารสิทธิ์ ทั้งๆที่มี การต่อสู้เรื่องที่ทำ�กินกันมาเป็นเวลานาน ขณะที่นาง ปาณัสกร สุนันท์ ชาวบ้านกลุ่มชุมชนปฏิรูปบ้านโป่ง
ร้องเรียนว่า ขณะนีม้ ปี ญ ั หาเรือ่ งหนีส้ นิ มากมาย มีการ เปิดกองทุนฟื้นฟูให้ชาวบ้านกู้เงินมาทำ�กิน แต่ไม่ได้มี การทำ�ตลาดออกมารองรับ ทำ�ให้ขาดทุนมาตลอด ถึง เวลาไม่มเี งินใช้หนี้ ครอบครัวมีภาระมาก เคยร้องเรียน ไปหลายครัง้ แล้ว ไม่มคี วามคืบหน้า ทางรัฐไม่เคยเข้า มาคุยสอบถามปัญหากับชาวบ้านเลย นายประยงค์ ดอกลำ�ไย ที่ปรึกษาขบวนการ ประชาชนเพือ่ สังคมทีเ่ ป็นธรรม (ขปส.) กล่าวว่า พืน้ ที่ ชุมชนบ้านโป่งมีปัญหาหลายอย่างเกิดขึ้นมากมาย อยากให้ผู้นำ�ฝ่ายค้าน ช่วยนำ�เสนอปัญหาของชาว บ้านที่ เข้าสู่ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร เพราะที่ผ่าน มาเครือข่ายได้เข้าร้องเรียนรัฐบาลหลายครั้ง แต่ไม่มี ผลคืบหน้า ทั้งปัญหา โฉนดชุมชน ที่อาจจะมีการ ยกเลิกโครงการ ปัญหาธนาคารทีด่ นิ ปัญหาการทุจริต ในการออกเอกสารสิทธิ ์ ปัญหาทีด่ นิ ทำ�กิน ปัญหาการ ตัดไม้ท�ำ ลายป่า ปัญหาทีด่ นิ กระจุกตัว ไปอยูใ่ นมือของ นายทุน “ที่ผ่านมาเครือข่ายได้ทำ�การเคลื่อนไหวเรียก ร้ อ งความเป็ น ธรรม เพื่ อ ให้ ช าวบ้ า นมี ที่ ดิ น ทำ � กิ น เท่านั้น บางคนมีคดีความที่ถูกทางการฟ้องร้องไว้ เพราะไม่มเี อกสารสิทธิ์ และอยากให้เร่งออกกฎหมาย ภาษีในอัตราก้าวหน้า เพือ่ ให้คนทีม่ ที ดี่ นิ มากเสียภาษี
11
การแจ้ ง ครอบครองและการสำ � รวจ แปลงทีด่ นิ มาจัดทำ� เป็นเอกสารรับรอง การครอบครองที่ดินรายแปลง โดย กำ�นัน ผู้ใหญ่บ้าน อบต. ได้ลงชื่อ ร่วม กันเป็น “หนังสือรับรองการครอบครอง ที่ดิน” โดยผู้ครอบครองจะต้องทำ� ประโยชน์อย่างต่อเนื่อง ไม่มีการบุกรุก เพิ่ม ห้ามขายที่ดินให้คนภายนอก และ ต้องช่วยกันรักษาสิ่งแวดล้อมด้วยการ ไม่ทำ�การเกษตรติดพื้นที่ลำ�ห้วย ปลูก แฝกกันดินพังทลาย และปรับพืน้ ทีป่ ลูก พืชแบบขั้นบันได” ขณะเดียวกันก็ มีการตั้งองค์ กรชุมชนและสภาองค์กรชุมชน มาเป็น ตัวขับเคลื่อน แผนพัฒนาตำ�บล ในทุก ด้ า นทั้ ง เรื่ อ งการจั ด การที่ ดิ น การ ประสานงานปรับปรุงถนน องค์กรการ เงิน การจัดทำ�แผนพัฒนาท้องถิ่น แก้ ปัญหาสิง่ แวดล้อม การวางกติกาตำ�บล ป่าชุมชนและทรัพยากรธรรมชาติ มี การทำ�แผนที่จีไอเอส (GIS) เพื่อวาง แผนพัฒนาตำ�บลด้วยตนเองขึ้นมา ซึ่ง สามารถแสดงที่ตั้ง ขอบเขตหมู่บ้าน ชุมชนและสถานที่ต่างๆ เพื่อวางแผน จัดการ ดิน นํ้า ป่า การวางแผนด้าน เกษตร การสร้ า งความมั่ น คงด้ า น อาหารของตำ�บลและการวางแผนด้าน สุขภาพ เป็นต้น
มาก ซึ่งที่ดินส่วนใหญ่ถูกปล่อยทิ้งร้างไม่ได้นำ�มาทำ� ประโยชน์อะไรและอยากเสนอแนวคิดให้มกี ารจัดการ ที่ดินของชุมชน คืออนุญาตให้ชุมชน บริหารจัดการ ที่ดินกันเอง แล้วกลไกกลางของชุมชนจะควบคุม กันเองและช่วยกันตรวจสอบได้ทุกฝ่าย ซึ่งเรากำ�ลัง เดินหน้าในเรื่องนี้” ด้านนายอภิสทิ ธิ์ ยอมรับว่าการทีจ่ ะแก้ไขความ เป็นธรรม ลดความเหลื่อมลํ้านั้น จะต้องแก้ที่ระบบ ภาษี โดยเปลี่ยนจากระบบเก่าที่ใช้บำ�รุงท้องที่ ภาษี ทีด่ นิ มาใช้เป็นอัตราภาษีกา้ วหน้า เพือ่ จะมีรายได้เป็น ของพื้นที่ท้องถิ่นนั้นๆ ใช้ระบบความเป็นเหตุเป็นผล นำ�รายได้นั้นเข้าสู่ธนาคารที่ดิน ซึ่งจะได้นำ�เงินไปซื้อ ที่ดินที่เหมาะสมได้ต่อไป ซึ่งเป็นแนวคิดที่เราได้สนับ สนุนตลอดมา “ถ้าเราลองมาใช้วธิ ที ชี่ าวบ้านคิดขึน้ มาแล้วให้ เขารวมกลุม่ กัน เป็นเครือข่ายมีสทิ ธิ ให้เขาดูแลกันเอง จัดการกันเองป้องกันกันเองได้ ในเรือ่ งทีด่ นิ ไม่ตอ้ งตก ไปอยู่ในมือของนายทุนความคิดนั้น จึงตกผลึกกลาย มาเป็น แนวคิดของโฉนดชุมชน แต่ยอมรับว่าแนวคิด กั บ ตั ว บทกฏหมายยั ง ไม่ ส อดคล้ อ งกั น ทำ � ให้ ยั ง มี ปัญหาอยู่ในหลายพื้นที่ และการที่จะแก้กฎหมายนั้น ก็จะต้องใช้เวลานานมาก”
12
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
รายงานพิเศษ • ทวีวงศ์ ไหลเจริญวงศ์
ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 สิงหาคม 2555
จังหวัดภาคเหนือระดมสมอง
ดึงชุมชนท้องถิน ่ หนุนเสริม ขับเคลือ่ นปฏิรป ู การศึกษา
กรองปัญหาสร้างพลังปฏิรูป
ดร.อมรวิชช์ นาครทรรพ กรรมการสมัชชาปฏิรปู และที่ปรึกษาด้านวิชาการสำ�นักงานส่งเสริมสังคมแห่ง การเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) กล่าวถึงการ ปฏิรปู ในภาคส่วนการศึกษา ว่าจะเคลือ่ นไหวเพือ่ ให้สงั คม เกิดกระบวนการเรียนรู้ เชื่อมโยงเครือข่ายการทำ�งาน ต่างๆ โดยใช้เวทีการสัมมนา มาหนุนเสริม แล้วกำ�หนด ประเด็นหลักที่มีพลัง สามารถนำ�ไปใช้ได้โดยองค์กรใน พื้นที่ชุมชนท้องถิ่น จากนั้นจะนำ�ข้อมูลในพื้นที่ท้องถิ่น นั้นๆ มาใช้ เพราะรู้และเข้าใจเกี่ยวกับคนในท้องถิ่นเป็น อย่างดี เพื่อสร้างเครือข่ายดำ�เนินงานร่วมกันอย่างเป็น กระบวนการและเป็นระบบ “ที่สำ�คัญในการเข้าไปพูดคุยกับองค์กรท้องถิ่น เพื่อแลกเปลี่ยนปัญหาแล้วนำ�ข้อมูลด้านการศึกษามา
สำ�นักงานปฏิรูป (สปร.) จัดประชุมแลกเปลี่ยน เรียนรู้การจัดกระบวนการสมัชชาปฏิรูประดับจังหวัด ภาคเหนือ เมื่อวันที่ 5-6 กรกฎาคม 2555 ที่ห้องประชุม บุษราคัม โรงแรมไพลิน อ.เมือง จ.พิษณุโลก โดยมี รศ.พรรณยุพา นพรัก คณะอนุกรรมการการประเมินผล คณะสมัชชาปฏิรูประดับชาติ กล่าวต้อนรับ ว่าการติดตามผลเกี่ยวกับการปฏิรูปประเทศไทย ทำ�ให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กิจกรรมที่จะขับเคลื่อนต่อไป ในอนาคต เพื่อก้าวสู่เป้าหมาย การลดความเหลื่อมล้ำ� การสร้างความเป็นธรรมในสังคม ดร.วณี ปิน่ ประทีป รองผูอ้ �ำ นวย การสำ�นักงานปฏิรูป (สปร.) กล่าวถึง วัตถุประสงค์การจัดประชุม ว่า เพือ่ แลก เปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ในการจัด กระบวนการการขั บ เคลื่ อ นสมั ช ชา ปฏิรูประดับพื้นที่ ในแต่ละจังหวัด รวม ทัง้ สรุปบทเรียนและข้อเสนอการดำ�เนิน งานสมัชชาปฏิรูประดับจังหวัด แต่ละ จังหวัด ขณะเดียวกันก็เพื่อหาแนวทาง ขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศไทย ทั้ง ระดับพืน้ ทีแ่ ละระดับจังหวัด ในระยะต่อ ไป สำ�หรับบรรยากาศการประชุม แลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดกระบวนการ สมัชชาปฏิรปู ระดับจังหวัด ภาคเหนือ ได้ จัดให้มีการแบ่งกลุ่ม เพื่อแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ บทเรียนจากการดำ�เนิน งานที่ผ่านมาหรือ เทคนิคในการทำ�งาน ที่ประสบความสำ�เร็จ แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา กลุ่มที่ 2 ลำ�ปาง แพร่ น่าน ลำ�พูน กลุ่มที่ 3 อุตรดิตถ์ สุโขทัย พิษณุโลก ตาก และกลุ่มที่ 4 เพชรบูรณ์ พิจติ ร กำ�แพงเพชร อุทยั ธานี และนครสวรรค์ นายนิรนั ดร์ แปงคำ� เลขานุการ ศู น ย์ ป ระสานภาคี เ ครื อ ข่ า ยสมั ช ชา ปฏิรปู จังหวัดเชียงราย ตัวแทนกลุม่ ที่ 1 กล่าวว่า จังหวัดเชียงรายมีเครือข่ายอยู่ ทุกตำ�บลและทุกอำ�เภอ ในการจัดสวัสดิ การชุมชน โดยใช้ยุทธศาสตร์ 3 ยุทธ ศาสตร์ ได้แก่ มีพื้นที่รูปธรรม 2. พื้นที่ สื่อสาธารณะ และ 3. จัดเวทีทุกระดับ ตั้งแต่ ชุมชน ตำ�บล อำ�เภอ จังหวัด โดย จังหวัดเชียงราย แบ่งเป็น 4 โซน 4 เขต ซึง่ ข้อเสนอทีไ่ ด้จากเวทีนนั้ ก็จะนำ�ไปขับ
เคลื่อนให้เป็นรูปธรรมต่อไป อย่างไรก็ ตามการมีเครือข่ายอยู่ทุกพื้นที่ในการ จัดสวัสดิการชุมชนส่งผลให้ชาวบ้าน เข้า มามีส่วนร่วมและสามารถรับรู้และเข้า ถึงสิทธิตามกฎหมาย รวมทัง้ สามารถใช้ สิทธิสร้างกฎระเบียบของตัวเอง ขณะ เดี ย วกั น สามารถจั ด สวั ส ดิ ก ารให้ กั บ สมาชิกในเครือข่ายได้ น.ส.เพ็ญภัค รัตนคำ�ฟู นายก เทศบาลตำ�บลเกาะคา จังหวัดลำ�ปาง จากกลุ่ ม ที่ 2 กล่ า วว่ า จุ ด มุ่ ง หมาย เดียวกันคือการให้จังหวัดจัดการตนเอง ด้วยพลังของเครือข่ายท้องถิน่ ด้วยพลัง ของคนในชุมชน ยกตัวอย่างเช่น จังหวัด ลำ�ปาง ได้มกี ารรวมกันของทุกเครือข่าย ขับเคลื่อนในการทำ�ให้จังหวัดลำ�ปาง เป็นจังหวัดทีจ่ ดั การตนเอง โดยเริม่ จาก ฐานรากของชุมชนท้องถิ่น ทั้งนี้มีการ แบ่งการทำ�งานอย่างชัดเจน เช่น เรื่อง เกษตรยั่งยืน สมาคมชีวิตดี เป็นผู้รับผิด ชอบ เรื่องสวัสดิการสังคม เครือข่าย สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชนและสภาองค์ ก รชุ ม ชน เป็นผู้รับผิดชอบ เรื่องการจัดการ ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม เครือข่าย ลุ่ม แม่น้ำ�วัง เรื่องสุขภาพชุมชน สมัชชา สุขภาพ รับผิดชอบ “สมัชชาเปรียบเสมือนคนที่ต่อ จิ๊กซอว์ เอาทุกกลุ่มเข้ามาทำ�งานแล้วก็ ขับเคลือ่ นเป็นเครือข่ายทีก่ อ่ ให้เกิดพลัง ที่ มากขึน้ ในการขับเคลือ่ น เพราะถ้าทุก กลุ่มทุกเครือข่ายรวมกันและร่วมกัน ทำ�งาน ก็จะก่อให้เกิดพลังที่กระเพื่อม สังคมได้เยอะมาก” ขณะที่ นายสำ�เริง เกตุนลิ คณะ ทำ�งานปฏิรูป จังหวัดอุตรดิตถ์ กลุ่มที่ 3 กล่าวว่า จังหวัดอุตรดิตถ์ มีปัญหา 4
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 สิงหาคม 2555
13
เคลื่อนไหว เพราะการศึกษาเป็นเรื่องที่ใหญ่มาก เรา อยากจะให้พัฒนาในการเรื่องของครู และการเรียนการ สอน ครูสว่ นใหญ่ ไม่คอ่ ยสนใจการสอน ตามจังหวัดเล็กๆ ทั่วไป วิทยาลัยอาชีพ ก็ไม่ค่อยเปิดสอน” ขณะเดี ย วกั น อยากจะเชิ ญ อาจารย์ จ าก วิทยาลัยต่างๆ กลุ่มนักวิชาการมาประชุม อาจจะเป็น เวทีวชิ าการเล็ก ๆ เฉพาะในเรือ่ งประเด็นการศึกษา และ ให้ ภาคีตา่ งๆทีจ่ ะเคลือ่ นไหวเลือกบางเรือ่ งบางประเด็น เพื่อที่จะเริ่มต้นทำ�ได้ง่ายและมีโอกาสสำ�เร็จมากกว่า เพราะปัญหาการศึกษามีปัญหาอยู่มากมาย แต่ไม่ค่อย จะมีใครมาแก้ปัญหาอย่างจริงจัง อยากจะให้ผู้ที่มีความ รูค้ วามเข้าใจในเรือ่ งนี้ และมีเวลาเข้ามาช่วยทำ�งาน ควร จะเริ่มต้นทำ�ทีละจังหวัด ทีละพื้นที่ท้องถิ่น ทำ�ให้ได้ผล จริง แล้วค่อยมาบูรณาการในแต่ละพื้นที่ต่อๆไป “เราจะขับเคลื่อนโดยใช้จังหวัดเป็นยุทธศาสตร์ ตามกลไกจังหวัด และตามพื้นที่นั้นๆ ทำ�ให้สำ�เร็จทีละ แห่ง เมื่อทำ�ได้แล้วก็มุ่งทำ�ในพื้นที่อื่นๆต่อไป”
คจสป. วางกรอบสมัชชาปฏิรูปครั้งที่ 3 ดึงทุกภาคส่วนร่วมเวทีคู่ขนาน77จังหวัด ประเด็น ได้แก่ 1. เรือ่ งระบบการเกษตร ที่ได้รับผลกระทบจากการประกาศการ ค้าเสรีอาเซียน ส่งผลให้ประเทศลาว มี ผลผลิ ต ทางการเกษตรเกิ ด ขึ้ น หลาก หลายเช่ น เดี ย วกั บ ประเทศไทยเป็ น จำ�นวนมาก ขณะเดียวกันการผลิตพืช อาหารเสรี จะเข้ามาอย่างไม่สามารถ ควบคุมได้ เพราะถือว่าเป็นเสรีทางการ ค้า ดังนัน้ จึงเสนอให้ลดหรือว่าผ่อนปรน การขนถ่ายสินค้าที่จะเข้ามาสู่ประเทศ ไทย 2. เรื่องที่ดิน มีประชาชนไม่ได้ รั บ ความชอบธรรม ในการเข้ า ไปอยู่ อาศัยและใช้เป็นพื้นที่ทำ�กิน โดยที่ไม่มี ความรู้ ซึ่งนำ�ไปสู่การถูกไล่ที่จนไม่มีที่ พักอาศัยในที่สุด ซึ่งในเรื่องนี้จะต้องได้ รับการแก้ไข 3. เรื่องการศึกษา คนใน พื้นที่ส่วนใหญ่ต้องการโรงเรียนที่อยู่ใน พืน้ ทีข่ องตัวเอง แต่กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) มีนโยบายให้ยบุ โรงเรียนขนาดเล็ก มารวมกับโรงเรียนขนาดใหญ่ ซึ่งทำ�ให้ ประชาชนไม่มที างเลือก และไม่เรียนใน ที่สุด รวมทั้งการเตรียมความพร้อมเข้า สู่ ป ระชาคมอาเซี ย นที่ โรงเรี ย นหลาย แห่งให้ความสำ�คัญ จนลืมวิถีชีวิตและ
วัฒนธรรมของตัวเอง 3. “ดั ง นั้ น จึ ง ขอเสนอว่ า การ ศึกษาต้องทำ�หลักสูตรท้องถิน่ เพือ่ นำ�ไป สู่การพัฒนาคนในพื้นที่ และ 4. เรื่อง การเมือง ที่ประชาชนยังขาดความรู้ เรื่ อ งของสิ ท ธิ ต ามรั ฐ ธรรมนู ญ สิ ท ธิ ความเป็นมนุษย์ สิทธิจากการใช้ประ โยชน์จากทรัพยากร สิทธิเรือ่ งทีด่ นิ สิทธิ ในการรับข้อมูลข่าวสารต่างๆ ดังนั้นจึง เสนอว่าประชาชนควรจะได้รับรู้และ การช่วยเหลือ รวมทั้งการเรียกร้องสิทธิ กับหน่วยงานของรัฐ” นายไพศาล เจียมศิรจิ นิ ดา แกน นำ�สมัชชาปฏิรูป จังหวัดนครสวรรค์ จากกลุ่มที่ 4 กล่าวว่า เนื่องจากจังหวัด นครสวรรค์ประสบปัญหาเรื่องข้าวกับ สุขภาวะของการเกษตร จึงได้เข้าร่วม สมัชชาสุขภาพ ปี 2547 โดยได้น�ำ ความ รู้ข้อมูลเกี่ยวกับเกษตรกร เรื่องสุขภาพ เรื่องกระบวนการผลิต การแพ้สารเคมี ต่างๆมาหารือกันเพื่อหาทางออก จาก นั้ น จึ ง ได้ ตั้ ง กลุ่ ม โรงเรี ย นชาวนา ซึ่ ง องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) จัด สรรงบประมาณให้ปีละ 1 ล้านบาท ส่ง ผลให้การจัดตัง้ โรงเรียนมีความต่อเนือ่ ง
จึงทำ�ให้เกิดเครือข่ายและสามารถขยาย เพิ่มเติมได้ ทั้งนี้โรงเรียนชาวนาจะให้ ความรู้ในการคัดพันธ์ข้าว เรื่องระบบ นิเวศในแปลงนา อย่างไรก็ตาม การจัดตัง้ โรงเรียน ชาวนาสามารถพัฒนาประชาชน รวมทัง้ พัฒนาสถานทีใ่ ห้มคี วามเข้มแข็ง เพือ่ ให้ เป็นศูนย์กลางเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการ พัฒนาของชาวบ้าน มาเป็นวิทยากรใน การจัดการเรียนรู้ ส่งผลให้ประชาชน สามารถกำ � หนดทิ ศ ทางได้ เ องว่ า ใน แต่ละปีจะเดินหน้าพัฒนาสิ่งใดต่อไป ด้าน รศ.ดร.ภาณุวฒ ั น์ ภักดีวงศ์ มหาวิทยาลัยนเรศวร กล่าว สรุปว่า จาก ข้อมูลทีไ่ ด้จากการแลกเปลีย่ นเรียนรูใ้ น ครั้งนี้สามารถสรุปได้ว่า การขับเคลื่อน การปฏิรูปประเทศไทยของภาคเหนือ ได้มีการนำ�สิ่งที่ได้ทำ�มาต่อยอด รวมทั้ง หยิบยกปัญหาทีเ่ กิดขึน้ จริงจากในพืน้ ที่ มาหารือร่วมกันเพือ่ หาทางออกทีด่ ที สี่ ดุ
นพ.อำ � พล จิ น ดาวั ฒ นะ ประธานอนุกรรมการบริหารการ จัดการจัดสมัชชาปฏิรูป (คจสป.) กล่าวถึงการเตรียมการจัดสมัชชา ปฏิ รู ป ระดั บ ชาติ ครั้ ง ที่ 3 พ.ศ. 2556 ว่า ได้มีการจัดกลุ่มเครือข่าย สมัชชาปฏิรูป เพื่อให้กลุ่มองค์กร และเครือข่ายจากทุกภาคส่วนใน สั ง คม สามารถเข้ า มามี ส่ ว นร่ ว ม อย่างเป็นระบบ และสรุปทบทวน เป็นแนวทางพัฒนากลุ่มเครือข่าย เพื่อการปฏิรูปต่อไป โดยจะมีการ ปรั บ ปรุ ง คำ � สั่ ง แต่ ง ตั้ ง คณะอนุ กรรมการติดตามและประเมินผลมา ประชุมเพื่อหารือร่วมกัน “ให้ นำ � ข้ อ บกพร่ อ งและ ปั ญ หาต่ า งๆจากการประเมิ น ผล การจัดสมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้ง ที่ 2 มาปรับปรุงและพัฒนาแบบ ประเมินผลเพื่อใช้ในการจัดสมัชชา ปฏิรปู ระดับชาติครัง้ ที่ 3 และให้ทาง สำ�นักงานปฏิรูป (สปร.) รวบรวม ข้อมูลที่เคยทำ�ไว้ตลอด 3 ปีมา เพื่อ จะมาใช้ ป ระเมิ น ขบวนการขั บ เคลือ่ นปฏิรปู ประเทศไทยต่อไป โดย ได้กำ�หนดวัน เวลา สถานที่สำ�หรับ จัดงานสมัชชาปฏิรปู ระดับชาติ ครัง้ ที่ 3 คือที ่ ศูนย์นทิ รรศการและการ ประชุมไบเทค บางนา ในวันที่ 31-2 มิถุนายน 2556” นางกรรณิการ์ บรรเทิงจิตร รองผู้อำ�นวยการสำ�นักงานปฏิรูป
• กรรณิการ์ บรรเทิงจิตร • นพ.อำ�พล จินดาวัฒนะ
(สปร.) กล่าวว่าจากบทเรียนการจัดสมัช ชาปฏิรูปครั้งที่ 2 มีข้อเสนอแนะเกี่ยว กับเรื่องการกำ�หนดระเบียบวาระ และ การพัฒนาร่างข้อเสนอเชิงนโยบาย การ มีส่วนร่วมในกลุ่มเครือข่ายต่างๆ ใน กระบวนการหาฉั น ทามติ การขยาย พื้ น ที่ เ ป้ า หมายการจั ด เวที คู่ ข นานให้ ครอบคลุมทั้ง 77 จังหวัด และผลการ ระดมสมอง “มองไปข้างหน้า แนวทาง การขับเคลื่อนสมัชชาปฏิรูปในช่วงปีที่ 3” นั้นให้ดำ�เนินการอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง เพื่อเปิดพื้นที่ทางสังคม และทางปัญญาอย่างกว้างขวาง เป็นการ เสริมสร้างศักยภาพ ความเข้มแข็งของ เครือข่ายในการขับเคลือ่ นเพือ่ แก้ปญ ั หา เชิงโครงสร้างในประเด็นต่างๆ รศ.ดร. ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา ประธานอนุกรรมการวิชาการสมัชชา ปฏิรูป กล่าวว่า ตามข้อเสนอที่ได้จาก การประชุมองค์กรภาคีเครือข่าย ให้
พิ จ ารณาระเบี ย บวาระตามหลั ก เกณฑ์ คือ เป็นประเด็นสำ�คัญที่มี ผลกระทบในวงกว้างหรือเป็นปัญหา เชิงโครงสร้าง ประเด็นเชิงนโยบาย เพื่ อ ลดความเหลื่ อ มลํ้ า และสร้ า ง ความเป็นธรรม มีความพร้อมทั้ง ด้านวิชาการ มีข้อมูลการวิเคราะห์ และสังเคราะห์ มีเจ้าภาพพร้อมและ มีความเป็นไปได้ในการขับเคลือ่ นให้ เกิดการปฏิบัติ “การกำ � หนดแนวทางการ พัฒนาการ เน้นไปที่กระบวนการ สร้างความเข้าใจในเนือ้ หาสาระของ ประเด็นให้เครือข่ายในการประชุม pre-assembly ก่ อ นที่ จ ะเข้ า สู่ กระบวนการเสนอความคิดเห็น เพือ่ ให้ เครื อ ข่ า ยมี พื้ น ฐานความรู้ แ ละ ความเข้าใจในเนือ้ หาสาระอย่างเท่า เที ย มกั น อาทิ ปรั บ รู ป แบบและ กระบวนการจัดประชุม pre-assembly เพื่ อ ให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ กระบวนการสร้างความรู้ ความเข้า ใจต่อเนือ้ หาสาระเอกสารหลัก และ เอกสารวิ ช าการให้ ม ากกว่ า การ เสนอความคิดเห็นต่อร่างมติและให้ ความสำ�คัญกับกระบวนการจัดการ เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิด เห็ น ระหว่ า งภาคี เ ครื อ ข่ า ย คณะ ทำ�งานวิชาการเฉพาะประเด็นและ นักวิชาการในสาขาที่เกี่ยวข้อง”
14
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
ชงครม.เห็นชอบ จัดสมัชชาปฏิรูป ดันสื่อชุมชน ร่วมพลังขับเคลื่อน กรรมการปฏิรูปเร่งทำ� Mapping บุคคล หน่วยงาน องค์กรที่เกี่ยวข้อง พร้อมยกร่างเส้น ทางการดำ�เนินงานเพื่อบรรลุผลของแต่ละมติ เพื่อ นำ�เข้าครม.ขอความเห็นชอบการจัดสมัชชาปฏิรูป ระดับชาติครั้งที่ 3 วันที่ 31 ก.ค. - 2 มิ.ย. 56 นพ.ชูชยั ศุภวงศ์ กรรมการสมัชชาปฏิรปู เปิด เผยหลังการประชุมคณะกรรมการติดตามการดำ�เนิน งานตามมติสมัชชาปฎิรูป ว่า คณะกรรมการติดตามฯ ได้จัดทำ� Mapping บุคคล หน่วยงาน องค์กรที่มีส่วน เกี่ยวข้อง และค้นหาข้อมูลสถานการณ์ รวมทั้งยกร่าง เส้ น ทางการดำ � เนิ น งานเพื่อบรรลุผลของแต่ละมติ พร้อมแต่งตั้งคณะทำ�งานขับเคลื่อน ทั้ง 6 มติ โดยจะ มีการจัดเวทีเพือ่ รับฟังความคิดเห็น และช่วยสนับสนุน ให้มกี ารสือ่ สารกับสังคม เพือ่ ทำ�ความเข้าใจให้กบั กลุม่ เป้าหมายต่างๆ โดยใช้สื่อชุมชน เข้ามาช่วย “คณะกรรมการได้จดั ให้มกี ารประชุมผูเ้ กีย่ ว ข้องภายใต้คณะกรรมการจัดสมัชชาปฏิรูประดับชาติ (คจสป.) และคณะทำ�งานวิชาการในแต่ละประเด็น ทัง้ 6 มติ เพือ่ ทำ�ความเข้าใจในเป้าหมายการทำ� Mapping หน่วยงาน ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำ�มติ ที่ได้มาเสนอเข้าที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) ให้ ความเห็นชอบต่อไป และได้มีการแจ้งกำ�หนดวันจัด งานประชุมสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ 3 ในวัน ที่ 31-2 มิถุนายน 2556 ณ ศูนย์นิทรรศการและการ ประชุมไบเทค บางนา ด้วย” นพ.ชูชัย กล่าวยํ้าว่า ในการทำ�งานนั้น เรา ควรจะวางเป้าหมายหลักของแต่ละมติให้ชัดเจน มี ระยะเวลาการทำ�งานทีแ่ น่นอน มีกรอบ มีเครือ่ งมือ ที่ เป็นรูปธรรมและสามารถขับเคลื่อนต่อไปในแนวทาง เดียวกัน ซึ่งการสื่อสารกับทางชุมชนในพื้นที่ต่างๆ ที่ ผ่านมานั้น ยังไม่เข้มข้น และต้องเพิ่มการใช้สื่อชุมชน ในพิ้นที่นั้นๆ ให้เพิ่มมากยิ่งขึ้น เพราะสื่อต่างๆ มี บทบาท มีความสำ�คัญเป็นอย่างมาก ในการเผยแพร่ ข่าวสาร เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูลต่างรวม ทั้ง กิจกรรมความคืบหน้า การขับเคลื่อนต่างๆใน ปัจจุบันได้ “การทำ�งานสือ่ ในระดับชุมชนให้ได้ผลสำ�เร็จ นั้น จำ�เป็นจะต้องมีชนชั้นกลางและประชาสังคมเข้า มาช่วยขับเคลือ่ น และทำ�อย่างจริงจัง ทำ�อย่างต่อเนือ่ ง ไม่ ว่ า จะเป็ น ทางสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ วิ ท ยุ ชุ ม ชน หรื อ สื่ อ ออนไลน์ต่างๆ ในทุกช่องทางในระดับท้องถิ่นและ เชื่อมกับเครือข่ายระดับประเทศโดยให้ประชาชนทุก พืน้ ทีเ่ ป้าหมาย สามารถเรียนรูเ้ ข้าใจได้งา่ ย เพือ่ ให้เกิด การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมชุมชนหรือประชาชน และ ให้รู้เท่าทันต่อสถานการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นอีกด้วย”
ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 สิงหาคม 2555
ดร. วณี ปิ่นประทีป รองผู้อำ�นวยการ สำ�นักงานปฏิรปู (สปร.) กล่าวในการประชุมเครือ ข่ายวิทยุชมุ ชนเพือ่ การปฏิรปู ประเทศไทย ระดับ ภาคใต้ว่า การสือ่ สารเป็นงานทีม่ ขี อบเขตในทาง ปฏิบัติ จึงจำ�เป็นต้องอาศัยความร่วมมือจาก องค์กร หน่วยงานต่างๆ รวมทั้งประชาชน ช่วย สนั บ สนุ น จึ ง จะประสบความสำ � เร็ จ เพราะ ปัจจุบนั สือ่ ท้องถิน่ ทีไ่ ด้รบั ความนิยมมากทีส่ ดุ คือ วิทยุชุมชน เพราะเป็นสื่อที่ประหยัด สะดวก ครอบคลุมพื้นที่มาก และเปิดโอกาสให้ผู้ฟังได้ แสดงความคิดเห็น “การประชุมครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและรับฟังความคิด เห็น ของประชาชนเกี่ยวกับการปฏิรูปประเทศไทย
และสนับสนุนการผลิต เผยแพร่รายการของ สถานีวิทยุชุมชนอย่างต่อเนื่อง โดยหวังว่าจะ สามารถสร้างช่องทางการสื่อสารเฉพาะสำ�หรับ การปฏิรูป เพื่อให้เกิดรูปธรรมการขับเคลื่อนสื่อ ปฏิรูปให้แพร่หลาย ตลอดจนใช้เครือข่ายสื่อที่มี อยู่ในพื้นที่เป็นพลังสำ�คัญในการขับเคลื่อนงาน ปฏิรูป เน้นการใช้สื่อที่มีความหลากหลายช่อง ทางและรูปแบบ” ทั้งนี้สปร. ซึ่งมีหน้าที่ในการสนับสนุน การดำ�เนินงานของคณะกรรมการปฏิรูป คณะ กรรมการสมัชชาปฏิรูป รวมทั้งการประสานกับ หน่วยงาน องค์กรทุกภาคส่วนและสาธารณชน เพื่อร่วมขับเคลื่อนปฏิรูป จึงจัดโครงการส่งเสริม วิทยุชุมชนเพื่อการปฏิรูปขึ้นเป็นครั้งที่ 2 ติดต่อ กั น โดยมี กิ จ กรรมในโครงการที่ สำ � คั ญ คื อ กิ จ กรรมเครื อ ข่ า ยวิ ท ยุ ชุ ม ชนเพื่ อ การปฏิ รู ป ประเทศไทย เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้วิทยุ ชุมชนทั่วประเทศได้มีส่วนร่วมในการเผยแพร่ ข้ อ มู ล ข่ า วสารและรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ของ ประชาชนในท้องถิน่ เกีย่ วกับการปฏิรปู ประเทศ ไทยในประเด็นต่างๆ “ในการประชุมครัง้ ทีผ่ า่ นมา มีผเู้ ข้าร่วม โครงการฯ เพียง 78 สถานี ครอบคลุม 45 จังหวัด เท่านั้น จากความคิดเห็นของคณะกรรมการ สมัชชาปฏิรูปได้ขยายให้เครือข่ายให้ครอบคลุม ทัง้ 77 จังหวัด ในการประชุมระดับภาคใต้ในครัง้ นีม้ ตี วั แทนผูป้ ระสานงานระดับจังหวัด และเครือ ข่ายวิทยุชุมชนเข้าร่วมประชุมจังหวัดละ 2 ท่าน จาก 14 จังหวัด 14 สถานี เพื่อรับฟังและร่วม เป็นแกนหลักในการทำ�งานด้านการขับเคลื่อน และทำ�หน้าที่ประสานงานกับคนทำ�วิทยุชุมชน ในการเดินหน้าปฏิรปู ต่อไป ทัง้ นีย้ งั มีงบประมาณ ให้กับวิทยุชุมชนต่างหากด้วย” วิทยุชมุ ชนถือเป็นสือ่ กลางทีไ่ ม่แสวงหา ผลกำ�ไรจากชุมชน ดังนัน้ จึงต้องมีความเป็นกลาง ทางการเมือง ไม่หาผลประโยชน์ทางธุรกิจ การ ดำ�เนินกิจกรรมวิทยุชุมชนดำ�เนินได้ด้วยสำ�นึก ทางสังคมอย่างสูง ควรเลี่ยงเรื่องราวที่จะก่อให้ เกิดความขัดแย้ง และสื่อสารข้อมูลของทุกฝ่าย ทั้งนี้หวังเป็นอย่างยิ่งว่าข้อมูข่าวสารในเรื่องของ การปฏิรูปประเทศไทยจะได้รับการเผยแพร่ไปสู่ ประชาชนอย่างทั่วถึง และประชาชนมีโอกาสได้ แสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับการปฏิรปู ฯ ตลอดจน การเพิ่ ม ขึ้ น ของเครื อ ข่ า ยวิ ท ยุ ชุ ม ชนเพื่ อ การ ปฏิรูปที่มีความเข้มแข็ง และมีศักยภาพมากขึ้น
15
คนไทยพลั ด ถิ น ่ บุคคลในสุญญากาศ
แนะวิทยุชุมชนเลี่ยงประเด็นขัดแย้ง สร้างพลังชุมชนขับเคลื่อนงานปฏิรูป สปร. จัดประชุมเครือข่ายวิทยุชุมชน เพื่อการปฏิรูปประเทศไทย พร้อมกัน ทั้ง 14 จังหวัด 14 สถานี ภาคใต้ ระดมความคิดสร้างช่องทางสื่อสาร ใช้เครือข่ายสื่อในพื้นที่เป็นพลังสำ�คัญ ขับเคลื่อนงานปฏิรูป ยํ้าสื่อชุมชน เลี่ยงประเด็นขัดแย้ง ดำ�เนินด้วยสำ�นึก ทางสังคมอย่างสูง
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 สิงหาคม 2555
ตอกย้ำ�ความเหลื่อมล้ำ�ยังดำ�รงอยู่
• เตือนใจ ดีเทศน์
ผู้สื่อข่าวรายงานว่าเมื่อวัน ที่ 9 กรกฎาคม 2555 กลุม่ เครือข่ายคนไทย พลัดถิ่นกว่า 40 คน จากจ.ชุมพร จ. ระนอง และ จ.ประจวบคีรีขันธ์ ได้เดิน ทางไปยังกระทรวงมหาดไทย (มท.) พร้อมกับชูปา้ ยคัดค้านร่างกฎกระทรวง ที่ตัดสิทธิในการขอพิสูจน์สิทธิของคน ไทย พลัดถิ่น กลุ่ ม เครื อ ข่ า ยฯได้ อ่ า นแถลง การณ์ซึ่งระบุว่า กระทรวงมหาดไทย พยายามบิดเบือน ซ่อนเร้นเนือ้ หาสาระ ของกฎกระทรวงที่ ลิ ด รอนสิ ท ธิ ปิ ด โอกาสและตัดสิทธิการขอพิสูจน์ตัวตน ของคนไทยพลัดถิน่ พร้อมทัง้ ระบุวา่ กฎ กระทรวงฉบับทีก่ ระทรวงมหาดไทยจะ นำ�เสนอเข้าคณะรัฐมนตรี (ครม.) เพื่อ ให้ครม.เห็นชอบในวันที่ 10 กรกฎาคม 2555 ไม่สอดคล้องตามเจตนารมณ์แห่ง พรบ.สัญชาติ ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2555 เพราะได้ปฏิเสธสิทธิที่ จะขอรับรอง สถานะคนไทยพลัดถิ่น ที่พลัดหลงไป ถูกบันทึกในทะเบียนประวัติประเภท อืน่ ทัง้ ทีม่ บี ทบัญญัตริ บั รองสิทธิของคน เชื้อสายไทยที่ควรจะกลับมามีสิทธิใน สัญชาติโดยการเกิดดังบุพการี ทั้ ง นี้ การบั น ทึ ก ผิ ด หรื อ ตก
สำ�รวจ เป็นผลพวงมาจากการทำ�งานที่ ไร้ ป ระสิ ท ธิ ภ าพของเจ้ า หน้ า ที่ ฝ่ า ย ปกครอง ไม่ใช่ความผิดของคนไทยพลัด ถิน่ จึงไม่ควรปิดโอกาสการขอพิสจู น์วา่ พิสูจน์การเป็นคนไทยพลัดถิ่นอีก นอกจากนี้ กฎกระทรวงยังระบุ ว่า ผู้ขอต้องมีหลักฐานแสดงซึ่งน่าเชื่อ ถือได้ว่าไม่มีสัญชาติของปะเทศอื่น ซึ่ง เป็ น การแสดงถึ ง การผลั ก ภาระการ พิสจู น์ทเี่ กินสมควรให้คนไทยพลัดถิน่ ผู้ ยื่นคำ�ขอ ทั้งที่ควรเป็นภาระของหน่วย งานราชการ ที่สามารถทำ�ได้อยู่แล้ว โดยแกนนำ�คนไทยพลัดถิน่ ระบุวา่ หาก รัฐบาลเลือกพิจารณาร่างกฎกระทรวง มหาดไทย ที่กระทรวงมหาดไทยเป็นผู้ ร่างฝ่ายเดียว จะทำ�ให้คนไทยพลัดถิ่น มีสิทธิได้รับสัญชาติไทยมีราว 200 คน เท่ า นั้ น จากเครื อ ข่ า ยทั้ ง หมดกว่ า 4,000 คน ในท้ายแถลงการณ์ยังได้ระบุถึง ข้อเสนอให้น.ส.ยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร นายก รัฐมนตรี นายยงยุทธ วิชัยดิษฐ รอง นายกรัฐมนตรีและรมว.มหาดไทย และ นายพระนาย สุวรรณรัฐ ปลัดกระทรวง มหาดไทย ออกคำ�สั่งให้มีการประชุม คณะกรรมการรับรองความเป็นคน ไทยพลัดถิ่นเพื่อให้เกิดข้อยุติ โดย การใช้ร่างกฎกระทรวงของเครือ ข่ า ยมาพิ จ ารณาร่ ว มกั น อย่ า ง รอบคอบและดำ�เนินการตามขั้น ตอนในการออกกฎกระทรวงต่อ ไป เพือ่ เคารพต่อเจตนารมณ์แห่ง พรบ.สัญชาติ ฉบับที่ 5 พ.ศ.2555 จากนั้นได้นำ�แถลงการณ์ดัง กล่าวมอบให้นายกรัฐมนตรีต่อไป
ก่อนหน้านีร้ าวกลางเดือนเมษา ยน 2555 กลุม่ ชาวบ้านหลากหลายเชือ้ ชาติ ชาติพันธุ์ ภาษา และวัฒนธรรม ทั้งที่อาศัยอยู่บนยอดดอย ป่าเขา เรื่อย มาจนถึงกลุ่มชาติพันธุ์ริมทะเล รวม พลังกันทีห่ น้าทำ�เนียบรัฐบาล เพือ่ บอก เล่าปัญหาและเร่งรัดให้รัฐบาลแก้ไข ปัญหาของพวกเขาอย่างจริงจัง ด้วย การยื่ น หนั ง สื อ เรี ย กร้ อ งผ่ า นไปยั ง ตัวแทนของรัฐบาล ขณะเดียวกันก็แสดงออกทาง วั ฒ นธรรมของแต่ ล ะชนเผ่ า และเชื้ อ ชาติ ที่เต็มไปด้วยรอยยิ้มและความ สนุกสนาน เพื่อสะท้อนภาพของการ ดำ�รงอยู่ และยอมรับซึ่งกันและกันของ พีน่ อ้ งหลากหลายชาติพนั ธุ ์ เสมือนเป็น วันรวมญาติชาติพันธุ์ ที่จัดโดยเครือ ข่ายคนไร้สญ ั ชาติ กลุม่ ชาติพนั ธุแ์ ละชน เผ่ า พื้ น เมื อ ง เพื่ อ ผลั ก ดั น โย บายเขตสั ง คมวั ฒ นธรรม พิเศษของกลุ่มชาติพันธุ์ และชนเผ่ า พื้ น เมื อ ง เหล่านี้
นางเตือนใจ ดีเทศน์ กรรมการ สมัชชาปฏิรปู กล่าวว่าปัญหาคนไทยไร้ สัญชาติยงั มีอกี มากมายและถือว่าความ เหลื่ อ มลํ้ า ในสั ง คมไทยยั ง ดำ � รงอยู่ จึ ง อยากเรี ย กคนไทยเหล่ า นี้ ว่ า เป็ น “บุคคลในสุญญากาศ” เช่นกรณีที่คน ไทยเชือ้ สายเวียดนาม ออกไปทำ�งานใน ประเทศญี่ปุ่นนานกว่า 20 ปี เมื่อเจ็บ ป่วยไข้ญาติจะรับมารักษาที่ไทย แต่ สถานทูตไทยในญีป่ นุ่ ไม่ออกพาสปอร์ต ให้ตอ้ งขอให้กระทรวงมหาดไทยยืนยัน ความเป็นสัญชาติไทยตามบุพการี จึงได้ พาสปอตร์กลับมารักษาตัว ล่าสุดไทยมีกลุ่มชาติพันธุ์และ ชนเผ่ า พื้ น เมื อ งมากกว่ า 36 เผ่ า มี ประชากรรวมกันมากกว่า 1,200,000 คน ในจำ � นวนนี้ เ ป็ น ผู้ ไร้ สั ญ ชาติ ถึ ง 457,409 คน
1. ให้มีมติครม.คุ้มครองพื้นที่ พิ พ าทระหว่ า งกระทรวงทรั พ ยากร ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รวมถึงหน่วย งานภาครัฐอื่นๆ กับกลุ่มชาติพันธุ์ และ ชนเผ่าพื้นเมืองทั่วประเทศ 2. ให้ มี ม ติ ค รม.แต่ ง ตั้ ง คณะ กรรมการนโยบายแก้ปัญหา และฟื้นฟู วิถีชีวิตวัฒนธรรม กลุ่มชาติพันธุ์ และ
ชนเผ่าพื้นเมืองทั่วประเทศ 3. ให้มมี ติครม.จัดตัง้ กองทุนแก้ ปั ญ หาและฟื้ น ฟู วิ ถี ชี วิ ต กลุ่ ม คนไร้ สัญชาติ กลุ่มชาติพันธุ์และชนเผ่าพื้น เมือง โดยสนับสนุนงบประมาณอย่าง น้อยปีละ 500 ล้านบาท และ 4. เสนอให้คณะกรรมการตาม ข้อ 2 เร่งดำ�เนินการ ดังนี้ ดำ�เนินการ
ตามมติครม.ปี 2553 เรือ่ งการแก้ปญ ั หา ชาวเลและกะเหรี่ยง โดยจัดทำ�เรื่องที่ อยู่อาศัย และที่ทำ�กินเป็นอันดับแรก สนับสนุนการศึกษาวิจัยข้อมูล ของพื้นที่กลุ่มชาติพันธุ์ และชนเผ่าพื้น เมื อ งทุ ก กลุ่ ม สนั บ สนุ น การศึ ก ษา พั ฒ นาให้ เ กิ ด การจั ด ตั้ ง องค์ ก ร หรื อ สถาบันที่ดูแลคนไร้สัญชาติ กลุ่มชาติ
พั น ธุ์ แ ละชนเผ่ า พื้ น เมื อ ง ภายใน 6 เดือน เช่น สภาชาติพนั ธุ์ และชนเผ่าพืน้ เมืองในประเทศไทย สุ ด ท้ า ย คื อ หาแนวทางแก้ ปัญหาเร่งด่วน กรณีขัดแย้งเรื่องที่ดิน ทำ�กิน ที่อยู่อาศัย สัญชาติ และการเข้า ถึงสิทธิขั้นพื้นฐานอื่นๆ อย่างเท่าเทียม
ไทยพลัดถิ่นบุกมหาดไทย คัดค้านร่างกฎกระทรวง ปิดโอกาสขอพิสูจน์ตัวตน พร้อมรุกทำ�เนียบฯ ร้องนายกฯ “บุคคลใน สุญญากาศ”ยังรอรัฐแก้ไข
16
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 สิงหาคม 2555
รายงานพิเศษ • กองบรรณาธิการ
จังหวัด ภูเก็ตเจอปัญหา การพัฒนาอย่างไร้ทิศทาง หลังประกาศเจตนารมย์ร่วม เดินหน้า “จังหวัดจัดการตนเอง” จัดตั้งสภาพลเมือง ภูเก็ต หวังลด ปัญหาและความเหลื่อมลํ้าใน ชุมชม ด้าน สปร. ยํ้าพร้อม ส่งเสริมและสนับสนุนอย่างเต็มที่ เมือ่ วันที่ 9 กรกฎาคม ณ ห้อง ประชุมการะเกด A โรงแรมกรีนเวิล พาเลซ อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา มีการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “การ ขับเคลือ่ นสมัชชาปฏิรปู ระดับจังหวัด ภาคใต้” โดยนายชาญเวช โชติกิจ สมบู ร ณ์ ตั ว แทนคณะทำ � งานภู เ ก็ ต จัดการตนเองกล่าวสรุปถึงแนวทางใน การประชุมกลุ่มย่อย เพื่อยกร่างยุทธ ศาสตร์ ก ารขั บ เคลื่ อ นสมั ช ชาปฏิ รู ป ระดับจังหวัดภาคใต้วา่ จากปัญหาและ ความเหลื่ อ มลํ้ า ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในจั ง หวั ด ภูเก็ต ทางคณะทำ�งานจึงมีเป้าหมายใน การพัฒนา โดยประกาศเจตนารมย์รว่ ม เพื่อผลักดันภูเก็ตเป็นจังหวัดจัดการ ตนเอง และจัดตั้งสภาพลเมืองภูเก็ต “จังหวัด ภูเก็ตมีความพยายาม ทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงระบบการบริหารเป็น ลักษณะจัดการตนเองหลาย ครั้ง โดย ร่วมต้นเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2525 ใน การร่วมกันเสนอญัตติเข้าสู่สภาฯ เรื่อง “ภูเก็ตกับการบริหารอิสระ” หลังจาก
ประกาศจัดตั้งสภาพลเมือง
องค์ความรูแ้ ละทำ�ความเข้าใจการสร้าง กระแสให้กบั ชาวภูเก็ตเพือ่ ให้เกิดความ ต่ อ เนื่ อ งในการตกผลึ ก เรื่ อ งจั ง หวั ด จัดการตนเอง รวมถึงจัดทำ�เอกสารแจก ใบปลิวให้ความรู้ การทำ�ประชาพิจารณ์ การจัดประชุมหารือทุกวันเสาร์ที่ 3 ของเดือน การจัดเวทีย่อยโดยรวบรวม ความเห็นจากผู้บริหารท้องถิ่น มีเวที ใหญ่ 3-6 เดือนต่อครัง้ เป็นต้น ซึง่ ได้รบั ความร่วมมือจากประชาชนเป็นอย่างดี “สิ่งที่มุ่งหวัง จากนี้ คื อ ต้ อ งการ ความช่ ว ยเหลื อ จาก ทางรัฐบาลในด้านของ วิธกี าร เช่น พัฒนาคนอย่างไร สร้างองค์ ความรู้ อ ย่ า งไร การจั ด การด้ า นงบ ประมาณ รวมถึ ง ภาคี ค วามร่ ว มมื อ ต่ า งๆ ซึ่ ง ในอนาคตหากได้ รั บ การ สนับสนุน ปัญหาเดิมที่ยังไม่ได้รับการ แก้ไข หรือแก้ไขได้อย่างไม่เต็มที่และ ปัญหาใหม่ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง แม้ กระทั่งปัญหาเก่าที่พัฒนาเป็นปัญหา ซับซ้อน ก็จะค่อยๆลดลงจากเมืองภูเก็ต อย่างแน่นอน” ด้าน ดร.วณี ปิ่นประทีป รอง ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานปฏิรูป (สปร.) กล่ า วว่ า สำ � หรั บ แนวคิ ด เกี่ ย วกั บ “จังหวัดจัดการตนเอง” ที่หลายคน มองว่าเป็นการกระจายอำ�นาจสูป่ ระชา ชนนั้น ทางสปร. ได้เปลี่ยนมาใช้คำ�ว่า “การคื น อำ � นาจสู่ ป ระชาชน” เพื่อ จัดการกับปัญหาของตนเอง และส่งผล ให้เกิดการพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรม แต่ ในมุมมองด้านการเลือกผู้ว่าฯ นั้นเห็น ว่ายังไม่ใช่การคืนอำ�นาจอย่างแท้จริง เพราะที่สุดแล้ว อำ�นาจการปกครอง หรือการตัดสินใจก็ยังอยู่ที่คนๆเดียว อยู่ดี “สปร.ได้ มองไว้วา่ จังหวัดจัดการ ตนเองในภาคเหนือคือ เชียงใหม่ ส่วน ภาคอีสานคือ อำ�นาจเจริญ และจะยินดี สนับสนุนอย่างยิ่งหากภาคใต้จะมีจัง หวั ด จั ด การตนเองเป็ น จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต เพียงแต่ตอ้ งการเห็นการวางแผนทีเ่ ป็น ระบบ และกำ�หนดเป้าหมายที่ชัดเจน ทาง สปร. ซึ่งมีหน้าที่สนับสนุน และ ผลักดันให้เกิดการพัฒนาจนนำ�ไปสูก่ าร ปฏิรูป ยินดีจะส่งเสริมความคาดหวัง ของชาวภูเก็ตให้เกิดขึ้นอย่างเต็มที่” สำ�หรับข้อเสนอแนะนั้น สิ่ง สำ�คัญของยุทธศาสตร์ คือ ต้องอาศัย ความร่ ว มมื อ จากทุ ก ภาคส่ ว นโดย เฉพาะคนในชุมชน ฉะนั้นการสื่อสาร จึงเป็นกระบวนการที่จำ�เป็นอย่างยิ่ง แต่แทนที่จะใช้การชวนเข้าร่วมโดย ตรง ควรจะเลี่ยงเป็นการให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ จนกว่าประชาชนจะ เกิดความตระหนัก ยอมรับและเห็น ด้วย
เดินหน้า ‘จังหวัดจัดการตนเอง’ นั้นในปี 2530 ได้มีการร่าง พ.ร.บ. บริหารราชการนครภูเก็ต โดยนายวีระ มุสิกพงศ์ และนายถวิล ไพรสณฑ์ จน นำ � ไปสู่ ก ารสั ม มนาเรื่ อ งรู ป แบบการ ปกครองภูเก็ตที่ควรจะเป็นในอนาคต โดยโครงการวิทยาลัยการเมือง สาขา วิ ช ารั ฐ ศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โขทั ย ธรรมาธิราช ร่วมกับ สภาจังหวัดภูเก็ต หอการค้าจังหวัดภูเก็ต เทศบาลเมือง ภูเก็ต เมื่อวันเสาร์ที่ 3 เมษายน 2536 ที่เสนอให้เป็นภูเก็ตมหานคร” ต่อมาในปี 2540 ผศ.วุฒิสาร ตันไชย หัวหน้าคณะทำ�งานฯ ได้เก็บ รวบรวมความคิดเห็นและความต้อง การของท้ อ งถิ่ น โดยมหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์น�ำ คณะทำ�งานเดินทางมา ภูเก็ต มาหาข้อมูลและความคิดเห็น ของชาวภูเก็ต ในสมัยผู้ว่าฯ นายพงศ์ พโยม วาศภูติ ช่วงรัฐบาลอดีตนายกฯ ทักษิณ มีการเสวนา “บทบาทผู้ว่า ซี อี โอ กับชาวภูเก็ต” เมื่อวันที่ 26 กันยายน2544 จนมาถึงแนวคิดของ
นายสมัคร สุนทรเวช อดีตนายกฯที่ เสนอให้ภูเก็ตมีคณะกรรมการจังหวัด ภูเก็ต 15 คน นายชาญเวชกล่ า วต่ อ ไปว่ า จากการวิเคราะห์ถงึ สภาพปัญหาทีผ่ า่ น มาพบว่าจังหวัดภูเก็ต ยังมีการพัฒนา อย่างไร้ทิศทาง ส่งผลให้ยากต่อการ ควบคุมปัญหาที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็น ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ปัญหาสังคม รวมไปถึงปัญหาการพัฒนาที่ไม่ยั่งยืน และขาดประสิทธิภาพในการจัดการ ทัง้ การบังคับใช้กฏหมายและกฏระเบียบที่ ไม่เคร่งครัด ภาคประชาชนมีส่วนร่วม น้อย ซึ่งทางคณะทำ�งานมองว่าหาก ภูเก็ตจัดการตนเองปัญหาเหล่านี้จะ สามารถแก้ไขได้ “วิ ธี ก ารที่ ม องไว้ คื อ การ พั ฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คลในภู เ ก็ ต ให้ มี ความรู้ ค วามสามารถเพิ่ ม ขึ้ น ปรั บ กระบวนการคิด สนับสนุนให้มีการคิด อย่างเป็นระบบ ปลูกฝังความสำ�นึกรัก ในพื้นที่บ้านเกิด สร้างภาคีและแลก เปลี่ ย นความรู้ ใ นการผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด ความร่ ว มมื อ ต่ า งๆ ตลอดจนสร้ า ง วัฒนธรรมจิตสำ�นึกเพื่อส่วนรวม และ กิจกรรมที่สนับสนุนให้มีพฤติกรรมที่ดี ต่อสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้มีคุณภาพ ทางธุรกิจ มีภาวะความเป็นผู้นำ� โดย มองไว้ ว่ า ในอนาคตอาจจะตั้ ง คนใน พื้นที่เป็นผู้ว่าฯ อย่างไรก็ตาม ข้อเสนอ แนะต่างๆ ยังคงเป็นเพียงแนวทาง ซึ่ง อาจจะต้องใช้เวลาอย่างมากในการผลัก ดันให้เกิดขึ้นจริง” ทั้งนี้ที่ผ่านมาจังหวัดภูเก็ตได้ ดำ�เนินการขับเคลือ่ นขัน้ ตอน ต่างๆด้วย ตนเอง อาทิ การมีสอื่ กลางเพือ่ เผยแพร่ ข่าวสารต่างๆไปยังประชาชน เพือ่ สร้าง
ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 สิงหาคม 2555
พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม
17