ปริศนาอาเซียน เนื้อหา

Page 1

สถานภาพของชนกลุ่มน้อยในประเทศอาเซี ยน อุษาคเนย์ หรื อเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีความหลากหลายทางชาติพนั ธุ์ ปรากฏชนชาติต่างๆที่ต้ งั ถิ่นฐานกระจายตัว ออกไปทัว่ ทุกภูมิภาค เป็ นภูมิภาคที่เต็มไปด้วยมนต์เสน่ห์และมนต์ขลังทาง อารยธรรมและชาติพนั ธุ์วรรณนา ทั้งนี้ในการคาดหวัง ถึงการเปลี่ยนแปลงหลายๆด้านเพื่อต้อนรับอาเซียน ในปี 2558 ประเด็นเรื่ องสังคมที่เกี่ยวกับ สถานภาพของชนกลุ่มน้ อยใน ประชาคมอาเซียน จึงเป็ นประเด็นสาคัญที่กลุ่มผูน้ าอาเซี ยน รัฐบาล หรื อผูท้ ี่เกี่ยวข้องละเลยหรื อมองข้ามชีวติ ของคนตัวเล็กตัวน้อย ตามแนวชายแดน หรื อบนเขาบนดอยไปไม่ได้ "ปัญหาชนกลุ่มน้ อยจะเป็ นประเด็นสาคัญในระหว่ างการประชุ มระดับทวิภาคี " ดร.สุ รินทร์ พิศสุ วรรณ เลขาธิการอาเซียน ได้ กล่าวหลังประชุมผูน้ าอาเซี ยนแต่ละประเทศในปี 2555 ทั้งนี้รัฐบาลเองจะมีการแก้ปัญหาในเรื่ องชนกลุ่มน้อยนี้อย่างไรเพื่อให้ ประเทศในกลุ่มอาเซี ยนที่มีปัญหาเกี่ยวกับชนกลุ่มน้อยในเรื่ องของการ พลัดถิ่นฐาน เนื่องมาจากปัญหาความรุ นแรงหรื อมีการ แยกตัวออกจากสังคมเพื่อไปปกครองกันเองโดยปราศจากรัฐบาลช่วยเหลือ ส่ งผลต่อกลุ่มประเทศอาเซี ยนหรื อไม่ ? เพราะ วัตถุประสงค์ของอาเซียนคือ การรวมตัวไปในทิศทางเดียวกัน นาเอาวัฒนธรรม ประเพณี การศึกษา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาไหลรวมกัน มาเชื่อมสัมพันธ์กนั เพื่อศึกษาวัฒนธรรมความเป็ นอยูข่ องกันและกัน มันเป็ นการจัดการเพื่อให้โลกมันกว้างมากขึ้น ทาให้สังคมเปิ ดกว้าง และทัว่ โลกยอมรับ ทั้งนี้แต่ละประเทศจะทาอย่างไรเพื่อให้สังคมมีเสถียรภาพเท่าเทียมกัน ทั้งเรื่ องของชนชั้น ความเป็ นอยู่ และประเด็นอยูท่ ี่จะเข้าไปพัฒนาและกระจายข้อมูลให้ชนกลุ่มน้อยเข้าใจ และรับรู ้ความเป็ นไปของอาเซี ยนได้ อย่างไร พวกเขาจะเข้าใจไหมว่าทาไมต้องเข้าร่ วมอาเซี ยน มันต่างจากเดิมตรงไหน ถ้าเข้าร่ วมแล้ววิถีชีวติ เขาจะเป็ นอย่างไร สิ่ งนี้ เป็ นสิ่ งที่รัฐยังส่ งสารไม่ถึงตัวบุคคล ตัวของชนกลุ่มน้อยได้ นโยบายของรัฐสาหรับอาเซี ยนที่ใกล้เข้ามา รองรับชนกลุ่มน้อย หรื อไม่?เพราะความสาเร็ จในการบูรณาการอาเซี ยน เป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้นได้โดยต้องทาควบคู่กนั ไปทั้งในลักษณะของประชาคมแห่ง รัฐและประชาคมแห่งภูมิภาคที่ตอ้ งประสานงานกันเพื่อให้ขอ้ มูลและการพัฒนารับรู ้ไปทุกภาคส่ วน ชาติพนั ธุ์ แสดงถึงพื้นฐานความเป็ นมนุษย์ของแต่ละเชื้อชาติแสดงอัตลักษณ์ของเชื้อชาติน้ นั ๆออกมา มีการสร้างระบบ แบบ แผนการปกครอง มีระบบสังคมการเมืองเป็ นของตนเอง จึงทาให้แต่ละชาติพนั ธุ์ มีประเพณี และวัฒนธรรมที่สวยงามทาให้ผคู้ นที่ อยูใ่ นกลุ่มชาติพนั ธุ์เดียวกันมีความรักและผูกพันธุ์ ทางสายเลือดในเรื่ องของวัฒนธรรมและวิถีชีวติ ในกลุ่มของตน ซึ่ งในกลุ่ม ประชาคมอาเซียนหลักๆ 10 ประเทศ มีกลุ่มชาติพนั ธุ์มากมาย ซึ่ งได้แก่ มอญ – เขมร,ชวา-มลายู,ไทย-ลาว,จีน-ทิเบต , ม้งเมี่ยน โดยแต่ละชาติพนั ธุ์ มีการนับถือศาสนาที่ต่างกันออกไป ทั้งพุทธ คริ สต์ อิสลาม หรื อแม้แต่กลุ่มที่นบั ถือภูตผีทอ้ งถิ่น เป็ นต้น และถ้าแบ่งตามการตั้งถิ่นฐานก็สามารถแบ่งกลุ่มชาติพนั ธุ์ออกเป็ น ชนกลุ่มใหญ่ และชนกลุ่มน้อย ชนกลุ่มใหญ่มกั จะอาศัยในเขตที่ ราบและหุ บเขา ชนกลุ่มน้อย มักอาศัยในเขตภูเขาและที่สูงชัน แต่ละกลุ่มล้วนมีววิ ฒั นาการและระดับการพัฒนาสังคมของตนได้ พอๆกัน แต่สังคม ชนกลุ่มใหญ่ยอ่ มมีระบบที่พร้อมเพรี ยงกว่า ไม่วา่ จะ การบริ หารภาคส่ วน การศึกษา การเข้าถึงเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ ของโลกสมัยใหม่ได้ง่ายกว่าชนกลุ่มน้อย ยกตัวอย่างเช่น ระบบการศึกษาที่รัฐบาลส่ งเสริ มมาตลอด เพื่อให้เยาวชนมี ความรู ้ เพื่อเข้าสู่ ประชาคมอาเซี ยน ทั้งเรื่ องของภาษาและวัฒนธรรม เช่น ระบบการศึกษาที่รัฐบาลส่ งเสริ มเพื่อให้เยาวชนมีความรู ้ เพื่อเข้าสู่ ประชาคมอาเซี ยน ทั้งเรื่ องของภาษาและวัฒนธรรม การจ้างครู เจ้าของภาษาในกลุ่มประเทศอาเซี ยนมาสอนในโรงเรี ยน หรื อระดับอุดมศึกษาเพื่อให้เข้าใจภาษาในกลุ่มประเทศอาเซี ยนและสามารถติดต่อสื่ อสารในเรื่ องของธุ รกิจ การประกอบอาชีพ


และพูดคุยกับกลุ่มประเทศอาเซี ยนอื่นได้ แต่ดูเหมือนว่าชนกลุ่มน้อยจะถูกตัดขาดการบริ การของรัฐในด้านการศึกษา มีบา้ งเป็ น ส่ วนที่นอ้ ย ที่เข้ามาศึกษาและจบไปพัฒนาบ้านเกิดตน เช่นประเทศไทย ยังมีชนกลุ่มน้อยซึ่ งได้แก่ พม่าที่ไปเป็ นแรงงานหรื อรับจ้าง ในเมืองใหญ่ เงาะป่ าในเขตภาคใต้ของประเทศที่อยูก่ นั เป็ นชนกลุ่มน้อยหากินตามวิถีตนเอง กระเหรี่ ยง ไทยใหญ่ ม้ง ที่อาศัยอยูใ่ น เขตภาคเหนือของไทยออกมารับจ้างในตัวเมืองเพื่อหารายได้จึงทาให้ มีโอกาสน้อยคนที่ได้ลงมาเรี ยนหนังสื อ และได้ความรู้ กลับไปพัฒนาบ้านเกิดของตน เป็ นเรื่ องยากที่ระบบการศึกษาจะเข้าไปถึงโดยตรงถ้าพวกเขาไม่ไขว้คว้าเอง และมีนอ้ ยคนที่อ่าน ออกเขียนได้ จึงโยงเข้าประเด็นที่กล่าวข้างต้นว่า สถานภาพของชนกลุ่มน้ อยในปี 2558 นี้จะเป็ นอย่างไร การศึกษาจะเข้าถึงพวก เขาง่ายไหม วัฒนธรรมของพวกเขาจะหลอมรวมพร้อมกลุ่มประเทศอาเซี ยนได้หรื อ ไม่ รัฐบาลจะบริ หารบ้านเมือง และจัดการกับ ทุกภาคส่ วนอย่างไร เพื่อกระจายความเท่าเทียมไปทัว่ ทุกแห่ง นี่เป็ นความคาดหวังและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และเมื่อเข้าสู่ การบูรณาการ อาเซี ยน ทุกประเด็นไม่วา่ จะ เศรษฐกิจ สังคม ประเพณี และวัฒนธรรม การศึกษา วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีถูกจัดการและบริ หารได้อย่างเต็มที่ แต่ประเด็นเรื่ องชาติพนั ธุ์ของคนกลุ่มน้อยในเรื่ องของเสถียรภาพทางสังคมถูก มองข้าม ละเลยและไม่ค่อยเป็ นที่ถกเถียงกัน และไม่เป็ นประเด็นสาคัญในที่ประชุม ทาให้วถิ ีชีวติ ของชนกลุ่มน้อยถูกละเลย และ ถูกกีดกันในเรื่ องของสิ ทธิ การได้รับที่เท่าเทียมกับสังคมในชนกลุ่มใหญ่ ซึ่ งก็สามารถเชื่อมโยงเป็ นประเด็นได้หลายหัวข้อตาม ทรรศนะของผูเ้ ขียนถึงประเด็นและปั ญหาของชนกลุ่มน้อย ซึ่ งแบ่งปั ญหาใหญ่ๆได้ 3 ด้าน นั้นคือ การเมือง เศรษฐกิจและสังคม ปัญหาแรก คือการเมืองหลายประเทศ ทั้งรัฐบาล และ ทหารมองว่าชนกลุ่มน้อยที่อยูใ่ นประเทศของตนจะเป็ นกลุ่มคนอันตราย เป็ นกลุ่มคนที่บุกรุ กเข้ามาเป็ นภัยคุกคามต่อชาติ ต่อความมัน่ คงของประเทศ ต้องมีเอกสารรับรองความเป็ นอยูเ่ พื่อหลักประกัน ความแน่นอนของชนกลุ่มน้อยเหล่านี้ ซึ่ งเห็นได้ชดั ว่าในปั จจุบนั กลุ่มรัฐและทหารได้มีการกระทาต่อกลุ่มนี้และไม่ไว้ใจ ส่ งผลให้ ระบบการเมือง ไม่มีความยุติธรรมต่อชนกลุ่มน้อยเช่น ปั ญหาการเลือกตั้ง ระหว่างรัฐบาลพม่ากับชนกลุ่มน้อย ในปี 2553 ชน กลุ่มน้อย ได้ออกมาตั้งพรรคการเมืองและเปิ ดโอกาสให้ประชนชนได้เลือกตั้งซึ่ งมีคู่แข่งคือพรรครัฐบาล และจุดประสงค์ เพื่อที่จะให้พรรคมีเสี ยงต่อรองมากขึ้นในพื้นที่ที่มีกลุ่มการเมืองชนกลุ่มน้อยลงเลือกตั้ง รวมไปถึงเพื่อปกป้ องสิ ทธิ ของชนกลุ่มน้อย แแต่สุดท้ายรัฐบาลทหารยกเลิกการเลือกตั้งหลายพื้นที่ของชนกลุ่มน้อย อ้างมีความไม่สงบจนไม่อาจจัดให้มีการลงคะแนน "อย่าง เสรี และยุติธรรม" ได้ ซึ่ งนั้นก็แสดงออกในเรื่ องของการจากัด สิ ทธิ และเสรี ภาพของชนกลุ่มน้อยแบบ100% แล้วจะถามหา สถานภาพของชนกลุ่มน้อยในอาเซี ยนได้อย่างไร ต่อมาคือเศรษฐกิจ ทุนนิยมในปั จจุบนั เป็ นผลให้สภาพการดารงชีวติ ต้องเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก ทั้งความเป็ นอยู่ การใช้ชีวติ การประกอบอาชีพ จาเป็ นที่ตอ้ งอาศัยทุน เงินตรามาเป็ นตัวขับเคลื่อนการดารงชีวติ ทั้งสิ้ น หากดูภายนอกผิวเผินจะพบว่า ชนกลุ่ม น้อยแทบทุกคนมีสภาพชีวติ ที่ดีกว่าเดิม มีงานทา เข้ามาหางานทั้งบริ การและค้าขายในเมืองใหญ่ แต่ถา้ พิจารณาดูถึงเนื้อแท้แล้ว จะ เห็นว่ารายได้ต่อหัวของชนกลุ่มน้อยแต่ละคนมีอตั ราเฉลี่ยที่ต่ากว่าขั้นต่าของความยากจนที่กาหนดไว้อีก ซึ่ งเป็ นเรื่ องที่น่าห่วงต่อ ภาวะความยากจนของชนกลุ่มน้อยนี้ สุ ดท้ายคือด้านสังคม ปั ญหาแรกที่พบ และเป็ นเรื่ องที่ตอ้ งแก้ไขจากทางรัฐคือ ภาวะสุ ขภาพ การได้รับสิ ทธิ ในเรื่ องของการรักษา จากโรงพยาบาล จากสาธารณสุ ข ชนกลุ่มน้อยเป็ นกลุ่มที่มีปัญหามากที่สุดเพราะเนื่องด้วยเรื่ องของเอกสารทางรัฐจะยุง่ ยากต่อการ ดาเนินการแล้ว ความเข้าใจในเรื่ องสุ ขภาวะที่ถูกต้องมีนอ้ ย จึงทาให้เด็กแรกเกิด หญิงมีครรภ์ และผูส้ ู งอายุพบปั ญหาในเรื่ องการ


รักษาพยาบาลจากภาครัฐบ่อย ปั ญหารองลงมาคือ ปั ญหาที่ดินทากิน ปั ญหาการศึกษา ปั ญหายาเสพติด ปั ญหาแรงงาน และปั ญหาการถูกละเมิดจากเจ้าหน้าที่รัฐ องค์กร และหน่วยงานรัฐ ซึ่ งปั ญหาทางด้านสังคมของประเทศในกลุ่มอาเซี ยนถือได้วา่ เป็ นปั ญหามากที่สุดที่รัฐต้องเร่ งกระจาย ความช่วยเหลือ กระจายการพัฒนาให้มีความเท่าเทียมและใส่ ใจ เพราะชนกลุ่มน้อยในประเทศอาเซี ยน บางส่ วนถูกลืมจากสังคม และรัฐจึงทาให้พวกเขาต้องสร้างวัฒนธรรมและความเป็ นอยูข่ องพวกเขาเอง ดังเช่น ชนกลุ่มน้อยที่เรี ยกตัวเองว่า กลุ่มชนพื้นเมือง "บาตัก" (Batak) อาศัยอยูเ่ กาะซาโมซี ร์ในประเทศ อินโดนีเซี ย ถือเป็ นชนเผ่าในหมู่เกาะสุ มาตรา ผูค้ นอาศัยอยูถ่ ึง 3 ล้านคน มี การปกครองกันเอง และดารงวิถีชีวติ ที่เรี ยบง่าย ตัดขาดจากโลกสมัยใหม่ มีความเชื่อเรื่ อง เวทมนต์ ภูตผี คาถา แม่มด หมอผี วิญญาณ รวมไปถึงกินเนื้อมนุษย์เป็ นอาหาร แต่ท้ งั นี้ท้ งั นั้น สิ่ งที่โดดเด่นในตัวชนกลุ่มพื้นเมือง บาตักนี้คือ วัฒนธรรมและประเพณี การแต่งกายด้วยผ้าพื้นเมือง ภาษา มีววิ ฒั นาการของภาษาที่ใช้กนั มีเครื่ องมือหากินที่ผลิตขึ้นเอง และวิถีชีวติ ที่ไม่ตอ้ งเพิ่งภาครัฐ ซึ่ ง เอกลักษณ์ที่โดดเด่นของชนกลุ่มนี้ส่งผลให้ เกิดการแย่งชิงวัฒนธรรมของชนเผ่าระหว่างประเทศมาเลเซี ย และอินโดนีเซี ย คือการ แย่งอัตลักษณ์ประเพณี การตีกลอง กอร์ ดงั เซอบีลนั และพิธีกรรมการเต้นแบบพื้นเมืองที่เรี ยกว่า ตอร์ ตอร์ (Tor Tor)ที่สาคัญ ของชาวเผ่าบาตักที่มีถิ่นกาเนิดมาจากที่เดียวกันในประเทศอินโดนีเซี ย ขึ้นในบัญชีมรดกชาติของประเทศมาเลเซี ย จึงทาให้ อินโดนีเซี ยไม่พอใจการตัดสิ น การขึ้นมรดกชาติในครั้งนี้ จึงเกิดคาถามว่า จะรวมตัวเป็ นประชาคมอาเซี ยนที่สมบูรณ์แบบได้เช่น ไร ในเมื่อ วัฒนธรรมที่จะหลอมรวมกันเกิดการแย่งชิงระหว่างประเทศอาเซี ยนด้วยกันเอง จากการอธิ บายในเบื้องต้น ประเทศอาเซี ยนต้องสนใจในเรื่ องของสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ให้มากขึ้นและไม่ควรมองข้าม สถานภาพของชนกลุ่มน้อย ที่มีสิทธิ ในประชาคมอาเซี ยนที่ใกล้เข้ามา การอยูร่ ่ วมกันในสังคมที่ได้รับสิ ทธิ เท่าเทียมกันทุกฝ่ าย ทุก อาชีพ ทุกชนชั้น ย่อมนามาซึ่ งการพัฒนาประเทศได้ดีและได้รับการยอมรับโดยกลุ่มประชาคมอาเซี ยน การบูรณาการของ ประชาคมอาเซี ยนไม่วา่ จะชาติ หรื อเผ่าพันธุ์ไหนไม่ได้มุ่งเน้นให้ละทิ้งเอกลักษณ์ของตน หากแต่ให้แต่ละชาติมีความรัก ความภักดี ต่อชาติของตนและรับเอา ภาษา ขนบธรรมเนียมและประเพณี ร่วมของประชาคมเอาไว้เพราะเมื่อเข้าสู่ ประชาคมอาเซี ยนทุกชาติ ต้องยอมให้วฒั นธรรมและประเพณี ของตนเกิดการเปลี่ยนแปลงแต่นนั่ ไม่ได้หมายถึงเปลี่ยนไปไม่เหมือนเดิมหากแต่พร้อมที่จะก้าว ไปพร้อมประเทศผูร้ ่ วมในภูมิภาคทัว่ ทุกส่ วน ไม่วา่ จะแห่งหน ตาบลใด ไม่วา่ เขาเหล่ านั้นจะเป็ นชนเชื้อ ชาติใดก็ตาม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.