Contemporary thai art 1

Page 1

ศิลปะไทยร่วมสมัย เวลาและเส้ น แบ่ ง ของความ เป็นสภาวะร่วมสมัย


ศิลปะไทยร่วมสมัย

2


เวลาและเส้ น แบ่ ง ของความ เป็นสภาวะร่วมสมัย

3


content 08

ศิลปะร่วมสมัยไทย กับยุคสมัยและเวลา

14

อะไรคือความร่วมสมัย?

18

กระแสสภาวะร่วมสมัย กับระบบความเชื่อใน

22

ประเด็นความร่วมสมัย ในรัฐชาติไทย

24 34 4

renovation กับความเป็นไทย

ความเชื่อในความเป็น ร่วมสมัย


5


6


ศิลปะไทยร่วมสมัย

7


ศิลปะร่วมสมัยไทย กับยุคสมัยและเวลา อาจารย์ศิลป์ พีรศรี

ความเป็นศิลปะร่วมสมัยในประเทศไทย หากจะ อ้างอิงถึงเวลาที่ชัดเจน แน่นอน ว่าเกิดขึ้นครั้งแรก เมื่อใดนั้น คงทำ�ได้ยาก แต่สิ่งที่อ้างอิงได้อย่างเป็น เหตุเป็นผลและพอที่จะนับได้ว่าเป็นเวลาแห่งการก่อ ร่างสร้างตัวศิลปะร่วมสมัยในไทยที่ชัดเจนที่สุด คง เห็นว่าเป็นช่วงเวลาประมาณ พ.ศ. 2466 ซึ่งเป็นปี ที่ประเทศได้รับอาจารย์ศิลป์ พีรศรี จาก ประเทศ อิตาลี (นามเดิมคือ คอร์ราโด เฟโรจี) ตรงกับสมัย รัชกาลที่ 6 ในขณะนั้นมารับตำ�แหน่งช่างปั้น ที่ ประเทศสยามในวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2466 และ เป็นช่วงเวลาเดียวกันที่ ท่านได้นำ�พาเอาวิทยาการ ความรู้ เทคนิคการสร้างงานศิลปะจากตะวันตกเข้า มาด้วย เกิดการปรับตัวที่ทำ�ให้ศิลปะไทยนั้น “ทันสมัย” ขึ้น

8

คำ�ว่า “สมัย” ในบริบทนี้ อาจจะเป็นสิ่งหมายว่า ไทยเรา มีความพยายามให้ ศิลปะของไทย ก้าวหน้า ไปให้ทัดเทียมกับ ช่วงเวลาในแบบตะวันตก ด้วยการศึกษาเอา เทคนิค แนวคิด และวิชาการ ความรู้ แบบตะวันตกในช่วงเวลานั้น ที่เริ่มหลั่งไหล เข้ามาในไทย มาพัฒนาและสร้างความเป็นไทยแบบ ทันสมัย ซึ่งก่อให้เกิดกระแสนิยมตะวันตกกับการ สร้างงาน จากการเรียนรู้ สู่การทดลอง และปรับใช้ ให้เป็น ‘ศิลปะไทยร่วมสมัย’


จากปัจจัยที่มีส่วนต่อเรื่องการเปลี่ยนถ่าย เวลาของศิลปะไทยสู่ศิลปะไทยร่วมสมัย การเปลี่ยนแปลงการปกครองมาสู่ระบอบ ประชาธิปไตย ที่มีผลกระตุ้นความหมายของ เสรีภาพและปัจเจกภาพ ผสานสัมพันธ์กับรากฐาน ของการเติบโตของศิลปะสมัยใหม่มากขึ้น ในอีกด้าน ศิลปินไทยเองก็ได้ไปศึกษาและนำ�ความรู้ ด้านวิชาการต่างๆและการมองความงามแบบ ตะวันตกเข้ามาเผยแพร่ จนเกิดศิลปินที่สืบทอดแนวคิด ศิลปะแบบตะวันตก ต่อมาเรื่อยๆ มาสร้างเป็นรูปแบบที่เป็นเอกลักษณ์ ของศิลปิน ผสมผสานเข้าไปด้วย ในผลงานศิลปะ ที่ถูกผลิตขึ้นนั้นเอง ย่อมมีการหล่อหลอม สภาพแวดล้อม ค่านิยม ความรู้สึกนึกคิด บรรยากาศของ สังคมในช่วงเวลานั้นของไทยเข้าด้วย เพื่อให้เกิดเป็น อัตลักษณ์ของความเป็นไทยในงานศิลปะร่วมสมัย แบบไทย แต่ความเป็นไทยมันไม่สามารถกำ�หนด อย่างแน่นอนตายตัวได้ ความหมายของ ความเป็น ไทย มันเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยและสัมพันธ์ กับสิ่งอื่นที่มากระทบอยู่ตลอดเวลา ส่งผ่านต่อๆไป แต่ละยุคสมัยไปข้างหน้าเรื่อยๆ และการใส่ อัตลักษณ์ความเป็นไทยของศิลปินเอง มันก็มีความ แตกต่าง ตามทัศนคติและมุมมองของศิลปินและ สังคมเองด้วย

เช่น เพื้อ หริพิทักษ์, ถวัลย์ ดัชนี, ทวี นันทขว้าง, ประยูร อุลุปาฎะ, ชลูด นิ่มเสมอ, ประหยัด พงษ์ดำ�, บัณทิต ผดุงวิเชียร ตามด้วยศิลปินรุ่นต่อๆ มา เช่น รุ่ง ธีระพิจิตร, ปรีชา เถาทอง, วิโชค มุกดามณี, เขมรัตน์ กองสุข, อิทธิพล ตั้งโฉลก, เฉลิมชัย โมษิตพิพัตน์, คามิน เลิศชัยประเสริฐ, อารยา ราษฎร์จำ�เริญสุข, ศราวุธ ดวงจำ�ปา

บริบทของเวลาเองก็ได้ทำ�งานร่วมกับการ ผลิตศิลปะร่วมสมัย ที่เป็นเรื่องของการที่ ศิลปินได้หยิบยืม แนวคิด เทคนิคจากหลายๆ ช่วงเวลา ซึ่งช่วงเวลานั้น ไม่ได้มีแค่ช่วงเวลาของวัฒนธรรม เพียงแค่หนึ่งอย่าง แต่ได้หยิบยืม มาจากหลากหลาย ช่วงเวลาของวัฒนธรรมที่แตกต่าง มันเปรียบเสมือน ว่า มี timeline ที่เป็นเส้นขนานกันหลายเส้นอยู่ใน ระนาบเดียวกัน และนำ�เดินไปตามระยะเวลาของ ตัวมันเองไปเรื่อยๆ ศิลปินได้ทำ�หน้าที่หยิบแนวคิด ของแต่ละเส้นขนานเวลา และแตกต่างช่วงเวลามา ประกอบสร้างเป็นผลงานศิลปะตัวเอง ซึ่งมันเป็น เสมือนจุดเริ่มต้นของศิลปะร่วมสมัย ที่หากเราจำ�กัด ความจากเรื่องของ ‘เวลา’ อาจจะพูดอีกอย่างได้ว่า เราเอา อดีต มาเรียนรู้ และทำ�งานขึ้นมาใหม่

9


10


หากเวลา เป็นตัวกำ�หนด ความเป็นร่วมสมัยของ ‘งานศิลปะ’ แสดงว่า การที่ศิลปิน กำ�หนดคำ�จำ�กัด ความแก่ผลงานตัวเองว่า เป็นศิลปะร่วมสมัย มัน ก็อาจจะขึ้นอยู่กับ timeline ของตัวศิลปินด้วย ที่ แต่ละคนมีอำ�นาจและสิทธิ์ต่อผลงานตนเองที่จะ กำ�หนดมันขึ้น จึงเกิดเป็น timeline ของการนิยาม ความเป็นศิลปะร่วมสมัย ในแบบศิลปินคนนั้นขึ้น และมันจะดำ�เนินต่อไป และคงความเป็นศิลปะ ร่วมสมัยก็ต่อเมื่อ ยังคงสร้างความต่อเนื่องให้กับ timeline ตัวเอง ด้วยการที่ศิลปินยังคงผลิตผลงาน และกำ�หนดบทบาทของมันให้ร่วมกับยุคสมัยและ ให้ความหมายมันว่าเป็นงานร่วมสมัย จนถึงวันที่ตัว ศิลปินคนนั้นหยุดทำ�งานหรือเสียชีวิตลง timeline ศิลปะร่วมสมัยในแบบของเขาก็สิ้นสุดลง แต่ไม่ได้ หมายความว่า ศิลปะร่วมสมัยบน timeline เส้น อื่นจะหยุดลง มันยังคงดำ�เนินต่อไปเรื่อยๆในแบบ ที่ศิลปินคนอื่นจะกำ�หนด หรือให้ความหมายกับมัน ดังนั้นศิลปินจึงมีอิสระที่หยิบยืม แนวคิดหรือเทคนิค จากช่วงเวลาต่างๆ และจากวัฒนธรรมที่หลากหลาย มาสร้างผลงานให้เกิดความเป็นไปได้ใหม่ๆ ไปข้างหน้าได้เรื่อยๆ ไม่รู้จบ ศิลปินบางคนเอง ก็หยิบยืมแนวคิด เทคนิค จาก timeline ของศิลปิน ที่ดำ�เนินไปด้วยกัน หรือหยุด ลงแล้วมา ผสมผสานกับงานตัวเอง เพื่อให้เวลาของ ศิลปะร่วมสมัยในแบบของศิลปินเองเดินหน้าต่อไป

ศิลปินจึงสามารถกำ�หนดความ “เก่า-ใหม่” ของ ความรู้ แนวคิดได้ จากการเปรียบเทียบระยะเวลา บน timeline ของตนเองเปรียบเทียบกับ timeline ศิลปินหรือแนวทางศิลปะอื่นได้ ทำ�ให้ ความเก่าและ ใหม่ หรือระยะเวลาของศิลปะร่วมสมัยมันจึงไม่คงที่ และไม่ชัดเจน ในมุมมองของช่วงเวลาที่แตกต่างกัน ในอีกด้านหนึ่ง การเติมเต็มความเป็นศิลปะร่วม สมัยของศิลปินเอง ไม่ใช่แค่ศิลปินเท่านั้น ที่กำ�หนด ทิศทางของผลงาน ยังหมายรวมถึง บริบทสังคม, สภาพแวดล้อม, และบรรยากาศของสังคมในช่วง เวลานั้น ที่ได้เติมเต็มเนื้อหาของงานศิลปะให้ สามารถบ่งบอกช่วงเวลาที่ชัดเจนของศิลปะได้ เช่น ศิลปะในช่วงปี 2540 อาจจะมีหน้าที่บทบาทวิพากษ์ วิจารณ์ด้านเศรษฐกิจ การเมือง ของไทย ที่ต่างจาก บรรยากาศการพูดคุยเรื่องเศรษฐกิจ การเมือง ใน ปัจจุบัน หากศิลปิน ผลงาน และ ผู้ชมผลงาน อยู่ใน ช่วงเวลานั้น อาจจะมีความรู้สึกที่เข้าถึง และเข้าใจ บรรยากาศของสังคม ณ เวลานั้น ผ่านผลงาน นั่นอาจจะหมายความว่ามันมีความร่วมสมัยใน บริบทของยุคสมัยของสังคมกับผลงาน แต่ถ้าหาก เรานำ�ผลงานนั้น มาวางไว้ในยุคสมัยนี้ ความหมาย ที่มันเล่นกับบริบทเฉพาะของยุคสมัยมันอาจะไม่ ทำ�งาน หรือทำ�งานได้น้อยมาก มันจึงอาจเป็นเครื่อง พิสูจน์ความเป็น “ศิลปะร่วมสมัย” ของงานนั้นๆ ได้ว่ามันยังทำ�งานและมีความสัมพันธ์กับเรื่องของ ยุคสมัยและเวลาอยู่ด้วยเช่นกัน ดังนั้นการพลิกผัน ของศิลปะจึงไม่ได้ขึ้นอยู่แต่เพียงพัฒนาการของตัว ศิลปะเองเท่านั้น หากยังมีปัจจัยภายนอกที่ส่งผล กระทบด้วยว่าแบบใดเป็นที่นิยมในช่วงนั้น 11


ศิลปะร่วมสมัยของไทย มันจึงยากที่จะบอก ว่ายุคสมัยใดหรือบริบททางเวลาใดสามารถ กำ�หนดได้ชัดเจน ไม่มีความเก่า-ใหม่ที่ระบุ ชัดเจนได้ มันอาจจะขึ้นอยู่กับหลายๆปัจจัยที่ จะใช้จัดการหรือเรียงลำ�ดับเวลาในงานศิลปะ ร่วมสมัยที่แน่นอน ศิลปะและประวัติศาสตร์ศิลปะร่วมสมัยเองจึงมี ลักษณะที่เป็น work in progress ซึ่งเป็นการ ทำ�งานต่อเนื่องไปเรื่อยๆ ที่ครอบคลุมไม่ได้ ทำ�ให้จบ ไม่ได้เพราะเวลายังไม่จบ ยังไม่มีคำ�ตอบได้ว่า ศิลปะ ร่วมสมัยมันจะสิ้นสุดยังไง อาจให้ความหมายได้ว่า หากเราระบุได้ มันก็เป็นการสิ้นสุดแล้ว เมื่อเป็นเช่นนั้น การที่เราอาศัยอยู่ใน ความร่วมสมัย การพยายามครอบคลุมสิ่งใดสิ่งหนึ่งจึงเป็นเรื่องที่ทำ� ไม่ได้ เพราะความร่วมสมัยหมายถึงสิ่งที่ยังไม่จบสิ้น ที่ตัว subject ยังคงขยับอยู่ ไม่ได้เป็นเพราะศิลปะเปลี่ยนรูปไปจนตามไม่ทัน เท่านั้น แต่เพราะเราแทบจะไม่สามารถจำ�กัดได้ว่า ศิลปะควรจะเกี่ยวและไม่เกี่ยวกับอะไร เมื่อเป็นเช่น นี้ ศิลปะที่ไปเกี่ยวข้องกับสิ่งอื่นหรือศาสตร์อื่นๆ มัน จะยังเป็นศิลปะอยู่อีกหรือไม่?

12


13


อะไรคือความ ร่วมสมัย?

Contemporary คือ ‘สภาวะของความร่วมสมัย’ ซึ่งถ้าหากอธิบายนิยามในบริบทของศิลปะนั้น Contemporary Art ก็เป็นเหมือนกับ ‘กระบวนการทางศิลปะ’ ในการนำ�เรื่องของ ‘บริบท, แนวคิด, เทคนิค’ ในอดีตมาผูกโยงและใช้ ในบริบทของปัจจุบัน ซึ่งก่อให้เกิดเป็นการผสมรวม ของ ‘อดีตและปัจจุบัน’ เกิดเป็น ‘การร่วมสมัย’ ขึ้น มา ยกตัวอย่างงานจิตรกรรมไทยในสมัยก่อน ที่มี มักจะเป็นการนำ�เสนอเรื่องราวของวรรณคดี ไม่ก็ เป็นงานประเภทพุทธศิลป์ ผ่านรูปแบบของ ‘ลาย ไทย’ ที่เป็นจุดเด่นของประเภทจิตรกรรมไทย ซึ่งพอ เข้าสู่กระบวนการทาง contemporary art นั้น ตัว ผลงานจิตรกรรมไทยได้ถูกหยิบยกมาเล่าเรื่องใหม่ๆ ผ่านบริบทและแนวคิดของปัจจุบัน ตัวอย่างเช่นผลงานของ จิรภัทร ทัศนสมบูรณ์ ที่ เป็นการนำ�เรื่องราวของวรรณคดี วัฒนธรรม, และ รูปแบบของความเป็นไทยมาผูกโยงเข้ากันกับรูป แบบของสมัยปัจจุบัน

14

เช่นผลงาน “Sita! I have only you in my World!” ที่เป็นการนำ�ตัวละคร ของ นางสีดา ในวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ผ่านรูป แบบของศิลปะประเภท Pop Art ซึ่งผลงานนี้เป็นการนำ�ลายเส้นจิตรกรรมไทย และ วรรณคดีในอดีตของฝั่งตะวันออก ไปผสมรวมกับ ผลงาน Pop Art ที่เป็นเทคนิคภาพพิมพ์สมัยใหม่ ของฝั่งตะวันตก ซึ่งเกิดเป็นผลงานประเภท Contemporary Art ขึ้นมา


15


ผลงาน “Hanuman vs Spiderman” เป็นการนำ�ตัวแทน Hero ที่มีความ Popular ของ ทั้งสองฝั่งทวีปมาปะทะกัน โดยมี Spiderman เป็นตัวแทนของโลกตะวันตก และ หนุมาน ที่เป็นตัวแทนของโลกตะวันออก ผ่าน ลายเส้นของลักษณะความเป็นไทย ซึ่งสิ่งนี้เป็น ‘การร่วมสมัย’ ของ อดีต + ปัจจุบัน ใน ด้านของวัฒนธรรมของตัวละครในเรื่องแต่ง ทั้งใน วรรณคดีและหนังสือการ์ตูน ผ่านบริบทของ ยุคสมัย เป็นต้น

จากตัวอย่างที่ได้ยกไปด้านบนนั้น แสดงให้เห็นว่า Contemporary Art นั้น เป็นผลงานประเภทที่มีการเชื่อมโยง เข้ากับเรื่องของเวลาและสถานที่ (Space & Time) ซึ่งทำ�ให้เกิดเรื่องของ บริบท (Context) ในการกำ�กับผลงาน ศิลปะในงานประเภทนี้ขึ้น กล่าวคือ ‘ตัวบริบท’ นั้นทำ�ให้เราเห็นและสัมผัสได้ถึงสภาวะของความร่วมสมัยต่างๆ ทั้งในผลงานศิลปะจนถึงสิ่ง แวดล้อมในชีวิตประจำ�วันของเรานั่นเอง และจากการที่ตัว Contemporary Art มีการเชื่อมโยงเข้ากับเวลานั้น ทำ�ให้ตัวผลงานในแต่ละยุคสมัยนั้น มีอายุในการแสดงผลงานและความหมายของตัวผลงานเอง กล่าวคือ ตัวผล งานศิลปะนั้นจะมีการหมดยุคสมัยไป เมื่อตัวสังคมได้ขับเคลื่อนตัวเองออกจากประเด็นเรื่องนั้นแล้วนั่นเอง ซึ่งสิ่งนี้ ทำ�ให้ผลงานศิลปะที่หมดยุคสมัยไปแล้วนั้นไม่ส่งผล affect ต่อตัวเรามากนัก เนื่องจากเราไม่ได้รับรู้ประสบการณ์ ของยุคสมัยนั้นโดยตรง หรือในบางครั้งเราอาจจะตีความผลงานชิ้นนั้นแตกต่างไปจากเดิม จากการที่บริบทของ สังคมได้เปลี่ยนไปจากยุคสมัยของผลงานชิ้นนั้น ซึ่งสิ่งนี้ทำ�ให้มีศิลปินหลายคนได้หยิบ ผลงานศิลปะที่หมดยุคสมัย ไปแล้ว มาดัดแปลงใหม่ผ่านบริบทของสังคมปัจจุบัน เพื่อให้ผลงานชิ้นนั้นได้รับความนิยมอีกครั้งผ่านเทคนิคและ บริบทการนำ�เสนอรวมถึงกระแสนิยมของปัจจุบัน

16


ผลงานการ์ตูนเรื่อง Apaimanee Saga (อภัยมณี ซาก้า) ที่นำ�วรรณคดีเรื่อง พระอภัยมณี ของสุนทรภู่ มาเปลี่ยนรูปแบบใหม่ให้กลายเป็นการ์ตูน โดยเป็น นำ�เสนอผ่านรูปแบบและเทคนิคที่เข้ากับปัจจุบัน ทำ�ให้ วรรณคดีเรื่องสุนทรภู่ นั้นได้รับความนิยมอีก ครั้ง เป็นต้น

คำ�ถามในประเด็นเรื่อง สภาวะร่วมสมัยในบริบท ศิลปะ (Contemporary Art) นั้นอยู่ที่ว่า “เส้นกั้นระยะเวลาของความเป็นร่วมสมัยนั้น อยู่ที่ ตรงไหน?” “และอีกนานแค่ไหน ถึงจะเรียกงานชิ้นนั้นว่าเป็น Contemporary Art ได้?” อย่างเช่น ดนตรีในยุคปัจจุบันมี sound ของดนตรี ที่มีการนำ�กลิ่นอายของดนตรียุค 1990s มาใช้ สิ่ง นี้เรียกว่า Contemporary หรือเปล่า? ซึ่งในระยะ เวลาที่ห่างกัน 20 ปี เป็นจำ�นวนระยะเวลาที่เก่า พอที่จะเรียกว่า Contemporary ได้หรือยัง?

17


กระแสสภาวะร่วมสมัย กับ ระบบความเชื่อในสังคมไทย

ซึ่งจากในหลายกรณีที่ได้มีการพูดถึงในข้างต้นเรา จะสังเกตุเห็นได้ว่าการเข้ามาของศิลปะร่วมสมัยนั้น ได้เปิดโอกาส ให้กับความเป็นไปได้ใหม่ๆ ในวงการ ศิลปะได้อย่างกว้างขวาง ทั้งในการบันทึกอัตลักษณ์ ของศิลปะไทยเดิมแท้, การสร้างความหมายใหม่เพิ่ม เติมให้กับศิลปะไทย, ฯลฯ แต่ในบางแง่มุมการเข้า มาของศิลปะร่วมสมัยนี้ก็ทำ�ให้เกิดการแช่แข็งของ วัฒนธรรมบางอย่างในสังคมที่ควรจะพังทลายลงไป ตามเวลาเช่นกัน ศิลปะร่วมสมัยหากมองในประเด็นของการใช้งาน ถือได้ว่าเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ถูกใช้งานได้ในรูปแบบที่ มีความหลากหลาย เพราะการพังทลายลงของระบบ เวลาในความเป็นยุคสมัยที่มีความเฉพาะเจาะจง ซึ่ง ถือได้ว่าเป็นเครื่องมือที่เปิดกว้างมาก แต่ส่วนตัว แล้วทางกลุ่มคิดว่าในความเปิดกว้างนี้เอง ความเชื่อหรือวัฒนธรรมบางอย่างที่ฉุดรั้งความ ก้าวหน้าของนวัตกรรมกลับมีสิทธิในการคงอยู่อย่าง ชอบธรรมในยุคสมัยปัจจุบัน

18

ตัวอย่างเช่น ไศยศาสตร์(เรื่องผีสาง) ที่ไม่ได้มีการ พิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งควรจะล้าหลังไปแล้ว ในเวลาปัจจุบันกลับถูกพูดถึงอย่างเป็นเรื่องปรกติ เพราะศิลปะร่วมสมัยได้สร้างช่องทางอันชอบธรรม ไว้ให้ กลายสื่อบันเทิงที่พูดถึงประเด็นความเชื่อ เช่น รายการคนอวดผี, ซีรีย์เรื่องเพื่อนเฮี้ยนโรงเรียน หลอน,ฯลฯ อีกทั้งวัฒนธรรมการเคารพเทิดทูล ชนชั้นสูงในสังคมที่น่าจะหมดสมัยไปด้วยกาลเวลา กลับถูกความเป็นศิลปะร่วมสมัยสร้างช่องทางใน การแสดงออกอย่างชอบธรรมในปัจจุบัน เช่น ภาพเหมือนของกษัตริย์, การสร้างสื่อโฆษณาความดี งามต่างๆ ของกษัตริย์ ,ฯลฯ


19


20


ความเป็นไทย ร่วมสมัย

21


22


ความร่วมสมัยใน รัฐชาติไทย

หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองเปนรัฐชาติสมัยใหม ชาติที่พยายามกาวขามพนสิ่งที่ตนเองเปน หรือพยายาม กาวล้ำ�โดยมี ศิลปะรวมสมัยเปนสิ่งขับเคลื่อน ซึ่งไมวา ชาติไหนๆ ก็พยายามกาวพนตนเอง แมจะเปนวิธีการ มองอดีตเพื่อกาวขามผานปจจุบันก็ตาม ศิลปะรวม สมัยนั้นกาวพนจากขอบเขตของชาติทั้งในดานภูมิ ศาสตรและเนื้อหา มันจึงเปนเครื่องมืออยางดีของ รัฐไทยสมัยไหมนำ�มาขับเคลื่อน

ความเปนสมัยใหมมันจะมีความหมายก็ตอเมื่อไปเปรียบ เทียบกับประเพณี วัฒนธรรมพื้นถิ่น และนั้นคือความ ลื่นไหลของความหมายที่แปรเปลี่ยนไปโดยตลอดนั้น ก็สงผลกระทบตอความหมายของ ‘รวมสมัย’ ดวย แตในความจริงแลวความเปนสมัยใหมนิยม (modernism) ในชาติไทยนั้นยังคงเปนเพียงการนำ�เขา มาของรูปแบบงานศิลปะจากตะวันตก ไมใชการนำ�แนว คิดแตอยางใด สมัยใหมนิยมในชาติไทยจึงเปน การพยายามทำ�ตัวให ‘ทันสมัย’ เทานั้นเอง และการ ไดรับการอุปถัมภจากรัฐ ทำ�ใหการไขวควาความเปน สมัยใหมกลับกลายเปนสิ่งที่เปนขนบและ อนุรักษนิยมเสียเอง

แตถึงอยางไรในยุคของทุน ศิลปะที่กลายเปนเครื่องมือ อนุรักษนิยมของรัฐจะมีการแขงขันประกวดใหรางวัล มีการเก็บสะสมผลงานของกลุมเศรษฐี ศิลปะกลายเปน สินคาไปอยางไรก็ตามในยุคของการเติบโตของ เศรษฐกิจนี้ ก็เอื้องตอการกาวไปสูนานาประเทศและ การรับอิทธิพลใหมของตางชาติมากขึ้น การเกิดกลุม ศิลปนที่มีแนวคิดปจเจกชนนิยมนั้นสงผลตอความคิด เชิงวิพากษนั้นสรางศิลปะที่มีการวิพากษวิจารณตอ หากลองพิจารณาคำ�ที่มีผลตอการผลิตความหมายของ ขนบเดิม ไมวาจะเรื่องของความเปนไทยหรือรวมทั้ง คำ�วา ‘รวมสมัย’ นั้นยอมหนีไมพนคำ�วา ‘สมัยใหม’ ใน ระบบทุนนิยมเอง ยกตัวอยางเชน กลุมศิลปนรุนใหม เชิงที่เกี่ยวกับสุนทรียศาสตร เชนนี้แลวความหมายของ นาวิน ลาวัลยชัยกุล, ฤกษฤทธิ์ ตีระวนิช, หรือ คามิน เลิศชัยประเสริฐ ต่างก็มีขนบแนวคิดการทำ�งาน สมัยใหม มีความลื่นไหลแปรแปลี่ยนความหมายตาง วาระกัน ซึ่งความหมายของสมัยใหมนั้นก็ยอมเกิดจาก ศิลปะที่เปลี่ยนไปจากเดิมของศิลปะในชาติไทยหากจะ การทำ�งานของระบบความตางของภาษา เมื่อเรานำ�ไป กลาวไดวา มีการแตกตัวออกของศิลปนเปนสองกลุมซึ่ง เปรียบเทียบกับคำ�วา ‘สมัยเกา’ ซึ่งคำ�นี้เราจะไมเอยถึง คือ กลุมที่ยังอยูในขอบเขตของชาติกับกลุมที่พยายาม เลยถาไมมีสิ่งเปรียบเทียบเกิดขึ้น เนื่องจากเราจะไมรับ หนีของขอบเขตนั้น ระหวางสองกลุมนั้นมีแนวคิดที่ รูคำ�วา ‘เกา’ เลยเพราะมันเปนสิ่งเดิมที่คงอยูรวมกับ อยูระหวางกลาง แนวคิดที่วาคิดแบบสากล ปฏิบัติ เรามาโดยตลอด จนกระทั้งบางสิ่งเขามาถึงจะรับรูวาสิ่ง แบบทองถิ่นจึงเกิดขึ้น เราจึงได้เห็นในงานของ เดิมมันเกาไปแลวและเรียกการเขามาดวยคำ�วา ‘ใหม’ ศิลปนรุนใหมที่หยิบจับความเปนทองถิ่นมานำ�เสนอใน ในชาติไทย ซึ่งการเปรียบเทียบความหมายของถอยคำ� แนวคิดแบบสากลอยูมาก และศิลปนในหนาที่ ปจเจกชนผลิตกรอบของคำ�วารวมสมัยขึ้นมาเอง ที่เกี่ยวกับสุนทรียศาสตรก็เชนกัน 23


Renovation กับความเป็นไทย ร่วมสมัย

24

ในคำ�ว่า “สมัย” ในบริบทนี้ อาจจะเป็นสิ่งหมายว่า ไทยเรา มีความพยายามให้ ศิลปะของไทย ก้าวหน้า ไปให้ทัดเทียมกับ ช่วงเวลาในแบบตะวันตก ด้วย การศึกษาเอา เทคนิค แนวคิด และวิชาการความรู้ แบบตะวันตกในช่วงเวลานั้น ที่เริ่มหลั่งไหลเข้ามาใน ไทย มาพัฒนา สร้างความเป็นไทยแบบทันสมัย ก่อให้เกิดกระแสนิยมตะวันตกกับการสร้างงาน จาก การเรียนรู้ สู่การทดลอง และปรับใช้ให้เป็นแบบ ศิลปะไทยร่วมสมัย


ยุคสมัยปัจจุบันได้น่ากลัวและเชื้อเชิญให้ผู้คนกลับไป หาวัฒนธรรมในอดีต แต่ความพิเศษของการ โหยหาอดีตในปัจจุบันก็คือการทำ�ให้อารมณ์ โหยหาอดีตกลายมาเป็น Kitsch นั่นคือการจับเอา ประสบการณ์ทางภาพพจน์ที่อาจจะเคยอ่าน เคย เรียน หรือเคยเห็น (ตามนวนิยายย้อนยุค ละคร ภาพยนตร์ ภาพถ่าย หรือคำ�บอกเล่าของราษฎร อาวุโส) อันหลากหลายมาขยำ�รวมผสมปนเปให้ กลายออกมาอยู่ในแพ็คเกจสำ�เร็จรูปของอดีต ทัศนคติแบบ Kitsch ที่มาพร้อมกับการผลิตสร้าง วัฒนธรรมย้อนยุคก็คือการที่ผู้คนฟูมฟายโหยหา อดีตหรือวัฒนธรรม “เทียม” ที่พวกเขาไม่รู้จัก

และลุ่มหลงอยู่ในอุดมการณ์โดยมีความซาบซึ้งทาง อารมณ์อันเป็นตัวปิดกั้นไม่ให้เกิดการตั้งคำ�ถาม หรือที่เรียกว่า “รสนิยมสาธารณ์เบ็ดเสร็จ” อีกทั้ง ตัวอุดมการณ์ที่อยู่เบื้องหลังนี้ก็ไม่เปิดโอกาสให้มี การตั้งคำ�ถามใดใด ดังจะสังเกตได้จากสิ่งประดิษฐ์ ทางวัฒนธรรมจัดฉากในภาพยนตร์ย้อนยุค ว่าเราไม่ สามารถที่จะตั้งคำ�ถามต่อเนื้อหาหลักในสิ่งเหล่านั้น ได้ เพราะการตั้งคำ�ถามคือ “การกรีดมีดแหวกฉาก หลังเวที และเปิดช่องให้เราได้ยลเห็นสิ่งที่ซุกซ่อน อยู่”

ที่มีกระบวนการพัฒนาและโหยหาอดีต จาก

ความเป็นไทยประเพณี (Traditional thai)

ไทยพื้นบ้าน (Folk thai)

ความเป็นไทยร่วมสมัย (contemporary)

ไทยไทย

1

3

2

4 25


ที่มีกระบวนการพัฒนาและโหยหาอดีต จาก

ความเป็นไทยประเพณี (Traditional thai)

ไทยพื้นบ้าน (Folk thai)

ความเป็นไทยร่วมสมัย (contemporary)

ไทยไทย

1

3

โครงสร้างที่ว่านี้คือการแบ่งโซนของพื้นที่เชิง ชาติพันธุ์ (ethno-space) ซึ่งจะทำ�ให้เราแบ่งความ เป็นไทยออกได้เป็นสี่แบบ 1. ไทยประเพณี (traditional Thai) มีทั้งความเป็น ศิลปะและความแท้ที่สำ�คัญ ศักดิ์สิทธิ์จนนำ�ไป ดัดแปลงไม่ได้ ไทยแบบนี้อุปถัมภ์และสืบทอดโดย รัญและชนชั้นสูง ดำ�รงอยู่ในวัด วัง พิพิธภัณฑ์ และ สถาบันเชิงวัฒนธรรมแห่งชาติ 2. ไทยพื้นบ้าน (folk Thai) ไม่เป็นศิลปะในเชิง ที่วิจิตรบรรจงเท่าไทยประเพณี แต่มีคุณค่าทาง วัฒนธรรม แพราะมีความแท้ ซึ่งมักจะหมายความ ว่ามีความสัมพันธ์แนบแน่นกับวิถีชีวิตที่เรียบง่าย เช่น ในชนบทไทยพื้นบ้านอาจจะถูกอุปถัมภ์โดย รัฐ ชนชั้นกลาง และชาวบ้าน และดำ�รงอยู่ในชุมชน พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นต่างๆ 26

2

4 3. ไทยๆ (vernacular Thai) เป็นไทยแบบชายขอบ เพราะทั้งไม่แท้และไม่เป็นศิลปะ ไม่เป็นวัฒนธรรม เพราะไม่ได้มาจากอดีต เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในกระแส บริโภคนิยมของสังคมสมัยใหม่ ซึ่งเน้นความ สนุกสนานบันเทิงหรือไม่ก็ประโยชน์เฉพาะหน้า เราจะพบความเป็นไทยๆ ได้ทั่วทุกที่ เป็นสิ่งที่เกิดจากการผสมผสาน ลอกเลียนแบบ ไม่ ได้เกิดจากการประดิษฐ์คิดค้นใหม่ ยิ่งไปกว่านั้น ยัง เต็มไปด้วยคุณค่าต่างๆ ที่เคยถูกถือว่า “ไม่ไทย” เช่น มีที่มาจากชนบท ชนขั้นล่าง ชนกลุ่มน้อย เป็น พื้นบ้านที่ไม่ใช่ภูมิปัญญา ปะปนด้วยไสยศาสตร์และ ความงมงาย รวมทั้งผลประโยชน์ของธุรกิจนอก ระบบ 4. ไทยร่วมสมัย (contemporary Thai) เป็นศิลปะ แต่ไม่มีความแท้ และดำ�รงตัวอยู่เหนือวัฒนธรรม เพราะหมายถึงการนำ�เอาของไทยๆ มานำ�เสนอใน บริบทใหม่


ความเป็นไทยประเพณี (Traditional thai)

ความเป็นไทยร่วมสมัย (contemporary)

ไทยพื้นบ้าน (Folk thai)

ความเป็นไทยร่วมสมัย (contemporary)

27


เช่น สื่อภาพยนตร์ เช่น ตำ�นานแม่นาคพระโขนงที่มี วิวัฒนาการเริ่มตั้งแต่ เรื่องเล่าของชาวบ้าน กลายมา เป็นหนัง ละคร สื่อภาพยนตร์และศาสตร์ของละคร เวทีที่แต่ละยุคแต่ละสมัยมีเรื่องเล่าที่แตกต่างกัน ออกไป ตัวตำ�นานซึ่งเป็นต้นฉบับก็ได้เปลี่ยนแปลง ไปเรื่อยๆ แต่สิ่งที่คนไทยรับรู้คือ ตัวแม่นาคมีบุคลิก ลักษณะยังไง มาถึงในยุคที่ทันสมัยใหม่ ตัวแม่นาค กลับลดบทบาทลง เมื่อศาสตร์ในด้านภาพยนตร์ เปลี่ยนไป จากแม่นาคพระโขนง นำ�กลับมาทำ�ใหม่

เป็น พี่มากพระโขนง เสนอแง่มุมของพี่มากที่มีต่อ นางนาคหรือตัวของพี่มากเองที่เป็นลูกครึ่งและนาง นาคที่หน้าตาไม่ไทยต้นฉบับตั้งแต่ บทเพลง ทำ�นอง และการแต่งกายที่ไม่ได้อิงยุคสมัยโบราณมากเกิน ไปยังมีความร่วมสมัยของศาสตร์ด้าน film อยู่ และ สุดท้ายมันก็ถูกกลายเป็น Metafiction นั่นคือ แม่นาคพระโขนง เวอร์ชั่น animation เป็นการ เปลี่ยน perception ของผู้คนร่วมสมัย เปิดมิติที่มี ความซับซ้อนก้าวข้ามพันธกรที่เป็นต้นฉบับไปแล้ว

ไทยพื้นบ้าน (Folk thai)

28


ความเป็นไทยร่วมสมัย (contemporary) + ไทย ไทย

29


หรือแม้แต่บทเพลงร่วมสมัยที่มีสัมพันธบท ในเรื่อง เวลา สถานที่ ที่ซับซ้อนกันมากขึ้น มีการทับซ้อน ของเพลงเก่ามาทำ�ใหม่, เพลงใหม่แต่ร้องด้วยทำ�นอง เพลงไทยเดิม, หรือการผสมของความเก่าและใหม่ ในบทเพลง เช่น ศิลปินอย่าง สวีทนุช ที่หยิบยืม บทเพลง ทำ�นองของเพลงสติงมาร้องในท่วงทำ�นอง ที่เป็นไทยเดิม หรือ แต่งเพลงใหม่ที่มีการอิงยุคสมัย วัยรุ่นสมัยใหม่ cover ร่วมกับศิลปินสมัยใหม่หรือ นำ�บทกวี กาพย์ กลอน มาใช้ในบทเพลง บ่งบอกว่า นี่คือความเป็นไทย ใช้ดนตรีพื้นบ้าน (Folk Music) ใช้สำ�นวน ภาษาที่เรียบง่าย ดนตรีประจำ�ชาติ ดนตรี ลูกทุ่ง ดนตรีร่วมสมัย การผสมผสานเสียงดนตรี

30

อย่างเช่น เพลง : สักดอก....นะ ของ เอิร์ก lederer เป็นการเกริ่นเพลงโหยใช้บทกวี กาพย์ กลอน เรื่อง รามเกียร์ติ ที่เป็นบทอาขยานมาประกอบร่วมด้วย กับบทเพลง และมีการ remix กันในรูปแบบของ เพลงลูกทุ่งไทยร่วมสมัย ยังคงใช้บทกลอน บทกวี ที่ เป็นดนตรีพื้นบ้าน ใช้ภาษาที่เรียบง่าย ผนวกกับ เพลงสติง ลูกทุ่ง มีการผสมผสานเสียงดนตรี เกิด เป็นแนวเพลงที่เปิดประสบการณ์ให้คนดูใหม่ๆ โดยที่คนดูไม่ได้เข้ามาเสพบทเพลงอย่างเดียวแต่รวม ไปถึงโฆษณาความสวยความงามของนางเอกเอ็มวีที่ แต่งชุดไทยนั่นอยู่


Rude Boy Cover By เก่ง ธชย

ซักดอก....นะ ของ เอิร์ก เลเดอเลอร์

31


น​ อกจากนี้แล้วยังมีสื่ออื่นๆ อีกเช่น การ์ตูนไทย ซึ่ง ในอดีต นั้นการ์ตูนก็เริ่มด้วยการ์ตูนเล่มละบาท ซึ่ง มีเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องผีสาง วิญญาณความเชื่อของ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ และลายเส้นในเชิง realistic หลังจาก นั้นไม่นานมากนัก สังคมและวัฒธรรรมก็ได้มีการ เปลี่ยนแปลงไป ด้วยปัจจัยและบริบทต่างๆที่สื่อด้าน comic ตะวันตกและญี่ปุ่นเข้ามาแพร่หลายในสังคม มากขึ้น งานการ์ตูนเล่มละบาทของไทยจึงได้มีการ เปลี่ยนแปลงไปตามลักษณะของ comic ทาง ตะวันตกและญี่ปุ่น ทั้งการจัดวางช่อง มุมกล้อง ท่า โพสของคาแรกเตอร์ ลายเส้น ลักษณะการเขียน สีหน้าอารมณ์ ก็เริ่มเปลี่ยนจาก realistic เป็นทาง ตะวันตกหรือไม่ก็ญี่ปุ่นมากขึ้น ไม่เว้นแม้แต่ช่องคำ� พูดที่มักติดเขียนเป็นวงรีแนวตั้งตามญี่ปุ่น ซึ่งญี่ปุ่นั้น เขียนจากบนลงล่าง แต่ไทยนั้นเขียนแนวนอนจาก ซ้ายไปขวา ความหลากหลายของเนื้อหาก็เพิ่มมาก ขึ้นเช่นกัน มีทั้งแอคชั่น แฟนตาซี กีฬา คอมมาดี้ ฯลฯ ในปัจจุบัน ด้วยความหลากหลายดังที่กล่าวมา ข้างต้นนี้ จึงทำ�ให้ Thai comic มีการผสมผสาน ระหว่างของเก่าแบบไทยๆ และความเป็นสากลเข้า ด้วยกัน ยกตัวอย่างเช่น อภัยมณีซาก้า ซึ่งเค้าโครงเดิมมา จากวรรณกรรมของสุนทรภู่ เรื่อง พระอภัยมณี ซึ่ง ในความทรงจำ�ของพวกเรานั้น ก็พอทราบเนื้อหา และจินตภาพกันดี แต่คอมิคเรื่องนี้ได้เอามา ประยุกต์ สร้างประวัติและเล่นกับประสบการณ์ใหม่ ของผู้อ่าน เพราะมีความเป็นแฟนตาซีมากขึ้นใน ด้านรูปลักษณ์ของตัวละคร เช่น ทรงผม, เครื่องแต่งกาย ที่ไม่ได้มีความเป็นไทยร้อยเปอร์เซ็น ซึ่งทำ�ให้เกิดการผสมกันของยุคสมัยขึ้น

32


ตัวอย่างที่สอง เรื่องศาสตราอสูร ลักษณะงาน ทั่วไปมีคล้ายคลึงกับ comic ของญี่ปุ่น แต่เนื้อหา เรื่องราวเป็นแอคชั่นแฟนตาซี ผสมกับเนื้อหาแบบ ดั้งเดิมคือความเชื่อเรื่องสิ่งลึกลับ สัตว์หิมพานต์ มนตรา ศาสตร์มืด ทั้งยังมีการเอาลักษณะของ ลายไทย มาประยุกต์เข้ากับงาน และฉากสถาปัตย์ ที่แสดงถึงบ้านเมืองในยุคปัจปัน เ​ช่นกัน โปสเตอร์ภาพยนตร์ก็ได้มีลักษณะเป็นภาพ ลายเส้น realistic เช่นเดียวกับงาน comic และ ลงสีด้วยสีโปสเตอร์ ผ่านนวัตกรรมเทคโนโลยีของ ยุคปัจจุบัน ทำ�ให้ตัวภาพและเทคนิคเปลี่ยนไป แต่ท้ายที่สุดแล้ว ก็ยังโหยหาอดีต กลับไปจัดวาง องค์ประกอบ แบบเก่าๆ และใช้สีสมัยใหม่ให้เป็น ลักษณะเก่าๆ สร้างลวดลายให้ความรู้สึกเก่า เรา เห็นว่า โปสเตอร์นั้นเป็นโปสเตอร์ยุคใหม่แต่กลับให้ ความรู้สึกว่ามันมีกลิ่นไอความเก่า ทั้งที่ในความเป็น จริงแล้วมันเป็นแค่การสร้างภาพเพื่อย้อนกลับไปหา อดีตก็เท่านั้น

33


ความเชื่อในความ เป็นร่วมสมัย

การสักทั่วไปมุ่งเน้นความสวยงาม /ศิลปะ แต่การ สักยันต์นั้นมีจุดประสงค์หลักในความเชื่อไสยศาสตร์ ไม่ได้เป็นเพียงความสวยงามในเชิงศิลปะเท่านั้น แต่ ยังมีรูปแบบที่แฝงรากเหง้าของความเชื่อเอาไว้ด้วย ยุคสมัยที่เปลี่ยนไปทำ�ให้ความคิดและความเชื่อ หลาย ๆอย่างเสื่อมถอยไป ก็ลายสักก็ยังคงเป็น เครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของบุคคลอยู่

ตัวอย่างของความร่วมสมัยแบบใหม่ มีการแสดงถึง ความรู้สึกของการโหยหาอดีต บริบทของศิลปะที่ไม่ ใช่เพียงศิลปะแท้เพียงอย่างเดียว แต่เป็นการผสม ผสานจากศิลปะที่เป็นหนึ่ง กลายเป็นสินค้าที่หวน กลับมาในเชิงพานิชย์ และมีการแทรกซึมอยู่ในทุก ปัจจัยในการดำ�รงชีวิตของมนุษย์ ในตัวอย่างที่ยกมาจะเป็นเรื่อง “ยันต์ห้าแถว” การสักนั้นเป็นสิ่งที่พบเห็นได้ทั่วโลก แต่จะมีความ ต่างกันไปตามบริบทความเชื่อและวัฒนธรรมที่ต่าง กันในแต่ละพื้นที่ ในประเทศไทยสมัยโบราณ มีเหตุมาจากความเชื่อ และความศรัทธาเลื่อมใส เพื่อเป็นขวัญกำ�ลังใจและ เป็นสัญลักษณ์ คือ เป็นความเชื่ออย่างหนึ่งที่เกิดขึ้น เป็นประเพณีนิยม หลายๆคนเชื่อว่าการสักจะทำ�ให้ มีโชค

34

ซึ่งเป็นเรื่องของความเชื่อ เป็นเรื่องของศรัทธา แต่ได้ ถูกนำ�มาใช้ในเชิงพานิชย์ ทำ�ให้กลายเป็นการค้าขาย ความเชื่อ และการทำ�ให้ความเชื่อ, ความศรัทธามา ทำ�ให้เกิดรายได้ ตัวยันต์ เป็นต้นแบบของความศักดิ์สิทธิ์ จนไป ถึงเรื่องของต้นฉบับความศรัทธา ที่มีอิทธิพลต่อ ชีวิต ระบบทุนนิยมและบริโภคนิยมทำ�ให้เข้าสู่เชิง พานิชย์โดยที่มีเรื่องทุนจากมหาอำ�นาจในกระแส โลกาภิวัฒน์เข้ามาเกี่ยวข้อง


พัฒนาการจากศิลปะสู่วัตถุมากมายที่นำ�ภาพแทน ของตัวยันต์มาเพื่อเสริมภาพลักษณ์ให้กับวัตถุ โดย ใช้ให้การชักจูงใจหรือชี้ให้เห็นความเป็นคุณค่า ตัวอย่างเช่น โทรศัพท์มหามงคลเครื่องแรกของโลก ภาพพักหน้าจอเป็นยันต์ห้าแถวของแท้, สินค้าอื่น ๆ ที่นำ�ภาพแทนของยันต์ห้าแถวมาใช้เพื่อเพิ่มมูลค่า และภาพลักษณ์ให้กับตัววัตถุเพื่อส่งเสริมการขาย

35


36


บรรณานุกรม 01 02 02

ประชา สุวีรานนท.์(2552). ดีไซน์+คัลเจอร์2. 7/1 ซ.อรุณอมรินทร์ 37 ถ. อรุณอมรินทร์ บางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 : สำ�นักพิมพ์อ่าน. ประชา สุวีรานนท.์(2554). อัตลักษณ์ไทย จากไทยสู่ ไทยๆ. 4 ซ.เจริญนคร 31 บางลำ�พูล่าง คลองสาน กรุงเทพฯ 10600 : สำ�นักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน.

ธนาวิ โชติประดิษฐ.(2553). ปรากฏการณ์ นิทรรศการ. 296 ซ.สุวิชาญดำ�ริ บางยี่ขัน บางพลัด กรุงเทพฯ 10700 : สำ�นักพิมพ์สมมติ.



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.