การครอบงำอุดมการณที่อยูในจิตไรสำนึก (Unconcious ) ของเด็ก ผานเสียงของปรากฎการณที่ถายทอดทางภาษาและลายเสน
“การศึกษา เสียงจากจิตไรสำนึกมันทำงานไดงายใน วัยเด็ก อนุบาลเพราะเด็กมันยังไม ไดถูกพัฒนาดานกฏเกณฑของสังคมมากนัก ยังถูกพัฒนาไมเต็มรูปแบบตัวตรวจจับ สภาวะนอยกวาผูใหญที่สามารถเก็บไดโดยตรง ”
สิ่งที่ตองการวิพากษ คือ - การพยายามทำความเขาใจอุดมการณผานทางภาษาของเด็ก - การวิพากษการครอบงำอุดมการณที่อยูในจิตไรสำนึก (Unconcious ) ของเด็ก เพราะการครอบงำอุดมการณมันทำงานตั้งแตเด็กอยูในโรงเรียน มันถูกครอบงำงาย ดวยสถาบัน และยิ่งเปนสถาบันการศึกษามันยิ่งปลุกฝงเขาไปในตัวเด็ก
Group งานศึกษาที่เกี่ยวของกับงานวิจัย แนวคิด / บทสัมภาษณ / Documentary
Group 1
>> อุดมการณการครอบงำของสังคม / การเรียนรู / สภาพแวดลอม บาน โรงเรียน ชุมชน/ สื่อ ที่สงผลตอตัวเด็ก (มนุษยศาสตร) >> ดานจริยธรรม >> มองวาทารกยังไมมีจริยธรรม ยังไมมีความรูสึกผิดถูก การที่ทารก หยิบของเลนของคนอื่นไปผูใหญไมคิดวาเปนการขโมย เนื่องดวยเด็กยังไมสามารถประ เมินการกระทำของตนเองโดยเทียบมาตราฐานทางจริยธรรมได (ดร. ดวงเดือน พันธุมนาวิน) >> ความรูสึกผิด ในชวง3-6 ขวบเด็กชายจะเลียนแบบพอ ซึมซับมาตราฐานทางจริยธรรม ของพอมาดวยสวนเด็กหญิงจะเทียบเคียงกับแม และยอมรับมาตราฐานทางจริยธรรมของ แมมา แมไมมีใครบอกวาถูกผิด แตอารมณความรูสึกของจริยธรรมมันทำงาน (ฟรอยด)
Group 2 >> พัฒนาการการรูคิด เกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรม
>> พัฒนาการดานรางกาย อารมณ สังคม (ศึกษาศาสตร)
>> ความสัมพันธระหวาง วัฒนธรรมและภาษา เปนสิ่งที่แยกกันไมได ภาษาเปนสวนหนึ่ง ของวัมนธรรมและมีโครงสรางอยูบนขนบธรมเนียมประเพณีของสังคม รวมถึงสะทอน ชีวิตความเปนอยูและวิถีปฎิบัติและความเชื่อของเจาของภาษา (อัจฉรา วงศโสธร 2539 : 65) >> สภาวะการเรียนรูในดานภาษาของเด็กชวงตนชีวิต 1. ภาษาแรกหรือภาษาที่1 คือภาษาที่เด็กพูดไดเปนภาษาแรกเพราะพอแมหรือผูเลี้ยง ดูพูดกันในครอบครัว 2. ภาษาที่ 2 ภาษาที่ผูเรียนเรียนเพื่อใชรองจากภาษาแรกหรือภาษาที่1 3. ภาษาตางประเทศ คือ ภาษาอื่นที่ผูเรียนใชติดตอสื่อสารกับผูใชภาษานั้น (สุทธิดา ปกปอง 2545)
Group 3 >> จิตวิเคราะห >> เพื่อดูพัฒนาการการเติบโตของสมอง สติปญญา ภาษา >> การวาดภาพ Art Therapy การวิเคราะหภาพวาด >> พัฒนาการของการวาดภาพในเด็กปกติ การวาดภาพเปนการที่เด็กเสนอโลกภายในของเขาตอคนภายนอก การวาดภาพจึง เปนกึ่งกลางระหวางการเลนที่เปนสัญลักษณ (Symbolic play) และจิตภาพทางจิต ใจ (Mental image) . (Piaget Inhelder 1969) ศิลปะของเด็กไดรับอิทธิพลมาจากความตองการและความกลัวที่อยูในจิตไรสำนึกการ แสดงออกมาในรูปของสัญลักษณและรูปที่ปลอมแปลง (Disguised form). (Freud)
ทฤษฎีจิตวิเคราะหคือ >> เปนการแสดงออกของความรูสึกและความตองการที่อยูในจิตไรสำ นึกแมวาจะเปนรูปปลอมแปลงก็ตาม ภาพวาดถือวาทำหนาที่เปน ลิ้นเปดปดที่ปลอดภัย เพื่อ ชวยในการปลดปลอยความรูสึกออกมาโดยไมเปนอันตลายกับผูใด การวาดภาพจึงมีลักษณะ เหมือนการระบายหรือการปลดปลอยของอารมณที่ถูกเก็บกดเอาไว
จากการศึกษากระบวนการทำงานของสถาบัน สภาวะของเด็กในการถูกครอบงำ และผลักดันสิ่งที่อยูในจิตไรสำนึกออกมา มีทั้ง Control และ Uncontrol (1) สำรวจพื้นที่ ภายในศูนยพัฒนาเด็กเล็กในเชียงใหม
ตารางกิจวัตรประจำวันที่ทุกโรงเรียน ทุกที่ในระดับอนุบาลที่เหมือนกันหมด
พื้นที่ศึกษา ** ศูนยพัฒนาเด็กเล็กตำบลสุเทพ (โปงนอย)
จะทำงานผานเสียงยังไง ?
VS
ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก
โรงเรียนเด็กเล็กนานาชาติ เด็กประเทศโลกที่1ที่ อยูในประเทศโลกที่ 3
เด็กที่ถูกเลี้ยงดู ในประเทศโลกที่ 3
ความหลากหลายของชาติพันธุ ภาษาและวัฒนธรรม บอกเลาเรื่องราวของตนผานการวาดภาพ (ตามจิตนาการ)
เรื่องเลาลายเสน เสียง เสียงในชุมชน โรงเรียน สื่อที่เปดใหเด็กดู เสียงDialog การพูดคุยของครู เด็กเล็ก และเสียงในกิจวัตร
นำเสนอผานสื่อในรูปแบบวิดีโอที่ตั้งคำถาม ( ? )