1920s American Dream In Siam 5903318 Nonthapat Subunsan

Page 1

1920S CLUBHOUSE AMERICAN DREAM IN SIAM

Club design project inspired by (American dream) 1920s costumes


วิทยานิ พนธ์ ชื� อโครงการ

โครงการออกแบบสโมสรจากแรง บันดาลใจในการแต่งกายยุค “ฝันอเมริ กนั ” 1920s ในสยาม

ประเภทของศิลปนิ พนธ์

ประเภทงานออกแบบภายใน

ผูด้ าํ เนิ นงานศิลปนิ พนธ์

นายนนทพัทธ์ สุบุญสันต์ รหัส 5903318 นักศึกษาชัน� ปี ท� ี 4 วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิ ต

ที�ปรึ ษาโครงการศิลปนิ พนธ์

อาจารย์ มนัสพงษ์ สงวนวุฒิโรจนา



http://mashable.com


PROJECT BACKGROUND เนื� องจากปัจจุบนั มีกลุม่ คนที�ยงั ชื� นชอบและหลงไหลใน ไลฟ์ สไตล์ของคนยุโรปในปี 1920s (AMERICAN DREAM) ทัง� วิ ถีชีวิตและการแต่งกายรวมไปถึงวัฒนธรรมซึ� ง กลุม่ คนเหล่านี� นอกจากจะชื� อชอบแล้ว พวกเขายังคงแต่งตัวตามสไตล์ของคนยุโรป ในยุคนั�นเพื� อบ่งบอกความเป็ นตัวของตัวเอง แต่ ด้วยปัจจุบนั ประเทศไทยมีขอ้ จํากัด หลายอย่าง ทัง� สภาอากาศ ความเหมาะสมในแต่ละสถานการณ์ และวัฒนธรรมเดิ ม ของประเทศไทย แทนที� ความชื� นชอบและความต้องการของพวกเขาจะกลายเป็ น ไลฟ์ สไตล์กบั การใช้ชีวิต กลับกลายเป็ นปัญหาที�ทําให้กลุม่ คนเหล่านี� ไม่สามารถ แสดงความชื� นชอบหรื อความเป็ นตัวของตัวเองได้ ซึ� งจากปัญหาเล็ กน้อยและแรง บันดาลใจในการแต่งกาย ทําให้เกิ ดโปรเจคนี� ขึ� น นั�นคื อการสร้างพื� นที�สําหรับการ จําลองวิ ถีชีวิตและวัฒนธรรมของคนยุโรปในปี 1920s เพื� อตอบสนองต่อความต้อง การของกลุม่ คนที�สะสม และชื� นชอบวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของคนยุโรปในปี 1920s


https://mobile.twitter.com/


OBJECTTIVE สร้างชุมชนหรื อสโมสรสําหรับคนที�หลง ไหลในยุค1920 และทําให้กลายเป็ นสถาน ที�ทอ่ งเที�ยวไปในตัว

ศึกษาการวิถีชีวิตของคนอเมริ กนั ในยุค 1920 และนํามาประยุกต์ปรับเปลี�ยน ใ ห้ เ ข้า กั บ ค น ไ ท ย ใ น ยุ ค ปั จ จุ บั น https://fineartamerica.com/

https://www.allposters.com/

ต้องการสร้างพื� นที�สาํ หรับจําลองการใช้ชีวิตของ คนอังกฤษยุค 1920และเป็ นพื� นที�สาํ หรับเรี ยนรู ้ ประวัติศาสตร์และ การแต่งกายในยุคสมัยนั�น http://4.bp.blogspot.com/


http://www.newyorkologist.org


EXPECTATION ได้สร้างพื� นที� ที�สอดคล้องกับความต้องการของผูค้ นที�ช� ื นชอบ และ หลงไหลยุค American Dream ได้พ� ื นที� ที�เกิดเป็ นศูนย์รวมของคนที�ช� ื นชอบ หลงไหล และเป็ นพื� นที�ๆได้ ศึกษาประวัติศาสตร์ ได้พ� ื นที� ที�จาํ ลองการใช้ชีวิตของคนอเมริ กาในยุค 1920 ตอบสนอง ความต้องการของคนที�ช� ื อชอบ และเป็ นศูนย์รวมพบปะพูดคุยของคน ที�ช� ื นชอบ

https://www.flickr.com

https://20x200.com/


https://i.pinimg.com


AREA OF STUDY ศึ กษาวิ ถีชีวิตของคนอเมริ กนั ยุค 1920s American Dream เพื� อนํ า มาพัฒ นาพื� นที� สํา หรั บ ผู ค้ นที� ชื� นชอบและหลงไหล ศึ กษาประวัติศาสตร์อเมริ กายุค 1920s American Dream เพื� อนํามาพัฒนาพื� นที�ให้เกิดเป็ นพื� นที�สาํ หรับรองรับผูท้ � ีช� ื อชอบ และต้อ งการเรี ยนรู ้ป ระวัติ ศ าสตร์ American Dream ศึ ก ษาศึ ก ษาเกี� ยวกับ ศิ ล ปะและวัฒ นธรรมในยุ ค 1920s


AMERICAN 1920s

https://allthatsinteresting.com

การสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่น่ายินดีต้อนรับยุคใหม่ใน นิวยอร์ก - หนึ่งในนั้นที่แจ๊ส, การดื่มเหล้าผิดกฎหมาย, แก๊ ง , การค้ า และวั ฒ นธรรมเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ ง เมื อ งนี ้ ม ี ประชากรอาศัยอยู่เกือบหกล้านคนและทำหน้าที่เป็นศูนย์ กลางที่เฟื่องฟู สำหรับผู้อพยพและผู้อพยพเข้ามาในถนน ทางรถไฟและเรือ ต้นปี ค.ศ. 1920 ในนิ วยอร์กเห็ นการเปิ ดตัวของสถาน ประกอบการที� มี ช� ื อเสี ยงบางแห่ง โรงละครอพอลโลใน เซนต์ 42, ห้องบอลรู ม Roseland และCotton Club ในฮาร์เล็ม

วันที่ 16 ก.ย. 1920 ผู้ต้องสงสัยว่าเป็นผู้นิยมอนาธิปไตย ได้วางระเบิดบน Wall Streetที่มุมที่คึกคักที่สุดแห่งย่านการ เงินของแมนฮัตตัน รถลากม้าถูก ปิดบังวัตถุระเบิดจำนวน 100 ปอนด์ซึ่งจุดชนวนเมื่อเวลา 12:01 น. การระเบิดครั้ง นี้ซึ่งมีผู้เสียชีวิต 38 รายถือเป็นการก่อการร้ายทางการเมือง ที่ร้ายแรงที่สุดในดินแดนอเมริกาในขณะนั้น

https://allthatsinteresting.com

https://mobile.twitter.com


https://allthatsinteresting.com

นักเลงจับมื อกันทําธุรกิจBootlegger นําเข้าสูย่ ุคที� ก่ออาชญากรรม การ ฟอกเงินและการติดสิ นบนเจ้าหน้าที� ตํารวจและเจ้าหน้าที�สาธารณะอื�นๆ ในนิ วยอร์กในช่วงทศวรรษที� 1920 กลายเป็ นเรื� องธรรมดามาก https://allthatsinteresting.com

ระหว่างสิ� งที�เรี ยกว่า“ การอพยพ ครั�งใหญ่” ชาวแอฟริ กนั อเมริ กนั ย้ายจากทางใต้ไปยังเมื อง ทางตอน เหนื อ ในปี 1920 ชาวแอฟริ กันอเมริ กนั ประมาณ 200,000 คน เมื องนิ วยอร์กเป็ นบ้านของพวกเขา แต่เนื� องจากกฎหมายการแบ่งแยก ยังคงอยู ใ่ นสถานที� และความตึ ง เครี ยดที� อยู อ่ าศัยพวก เขาสร้าง ชุมชนของตัวเองใน Harlem

https://allthatsinteresting.com


IDENTITY OF FASHION 1920s

https://vintagedancer.com

1920s เรี ยกได้วา่ เป็ นยุคของการแต่งกายที�ผูค้ นเบื� อที� จะใส่เสื� อผ้าที� เป็ นทางการซํา� ตลอดเวลา เช่นนั�นเกิ ด ความเป็ นความเบื� อหนาย จึ งเกิ ดความพยายามที� จะ หาเสื� อผ้าทที�ใส่สบายขึ�น เป็ นช่วงเวลาที�ผูค้ นฉี กกรอบ ของเสื� อผผ้าแบบเดิ มๆออกไป ทําให้เกิ ดการแต่งกาย สมัยใหม่ ผูห้ ญิ งเริ� มที�จะสามารถใส่กางเกงได้ ผูช้ ายมี การใส่สูทที�ลดทอนจากเดิ มและมีลวดลายและสี สนั บน ผ้ามากขึ�น เรียกได้ว่าเป็ นยุคของคนสมัยใหม่ (Modern Era)

Suite เรี ยกได้วา่ สูท คื อหัวใจของผูช้ ายในยุค 1920 เพราะสูทไม่ใช่แค่ เพียงสิ� งสําคัญต่อการพัฒนาอาชีพ หากแต่สูทคื อวัฒนธรรมที�โดด เด่นของเวิรค์ กิ�งแมน (Working Men)

สู ทของผูช้ ายในยุค 1920 จะแตกต่างกับสู ททัว� ไป คื อปกของสู ท นั�นจะเป็ นปกใหญ่และการตัดเย็บ (Cutting) ที�ดูเนี� ยบ และมีราย ละเอียดมากกว่าสู ทธรรมดา รวมไปถึ งกระดุมของสู ท จะเป็ น 2 แถวเป็ นการเพิ�มลูกเล่น และความแตกต่างทางด้านแฟชัน� ในยุคนัน� และยังมีสูทแบบกระดุมแถวเดียวแต่ไม่โดดเด่นมากนักในยุค 1920 ถ้าเทียบกับ สู ทกระดุมสองแถว https://vintagedancer.com


https://vintagedancer.com

Mandarin Collar Shirt เสื� อเชิ�ตจะเป็ นเชิ�ตไม่มปี ก เรี ยกกันว่า Mandarin Collar Shirt และจะมีกระดุมอยูท่ � บี ริ เวณด้านหลัง คอเสื�อ ไว้สําหรับติดปกเสื�อเสริม ในยุคนัน� จะนิยมเชิ�ต ลายทางสีขาว ผสมกับสีตา่ งๆ เช่นนํา� เงิน,เขียว, แดง หรื อ ชมพู https://vintagedancer.com

Waistcoat เสื� อกัก� จะใส่ไว้ดา้ นในสูท โดยจะเป็ นผ้าเดียวกับสูท ลักษณะเด่นของเสื� อ กัก� จะเป็ นรู ปตัววีตรงคอ มีลูกเล่นต่างกันไปตามรู ปแบบของปก

Collar

https://vintagedancer.com

ปกเสื�อเสริม มี ไว้สําหรับติดที�หลังคอเสื�อเชิ�ต ปกเสื�อเสริมนัน� แตกต่างกับเสื�อเชิ�ต มีปกตรงที�จะเป็นทรง มากกว่า และสูงขึ�นมาจากคอมากกว่า เวลาใส่คกู ่ ับสูทปกใหญ่ จะเห็นปกเสื�อขึ�นมาเยอะกว่า และสวย กว่าเสื�อเชิ�ตมีปก ทําให้ปกเสื�อเสริมเป็นที�นิยม ในยุคนัน� มากกว่า


Bowtie หูกระต่ายสําหรับติดที�คอเสื� อด้านหน้า ใต้คอ ใช้สํา หรับการใส่แบบไม่เป็ นทางการ หรื อการออกงาน สังคม มากกว่าการใช้ใส่ทาํ งาน โดยนอกจากลวดลาย ของหูกระต่ายแล้ว ยังมีแฟชัน� การผูกเล่นรู ปทรง หลายแบบ https://theeyeoffaith.com

Necktie เนคไทนัน� นิ ยมใส่สาํ หรับการไปทํางาน หรื อใส่ออกงานสังคมได้โดยจะมีแฟชัน� ของ ลวดลายที�ตา่ งกัน และเทคนิคการผูกเนคไทที�ตา่ งกันอีกด้วย ถือเป็ นอีกหนึ�งส่วนที�มี สีสนั ของการแต่งตัวในยุคนัน� โดยมีลายที�รบั แรงบันดาลใจมาจากหลายๆสิ�งเช่น ศิลปะอาร์ตเดคโค, ลายเพรสลี�, ลายกราฟิคหรื อ ลายธรรมชาติ

https://vintagedancer.com

Flat Cap

หมวกของผูช้ ายในยุค 1920 จะมีหลายแบบ หลายทรง ไว้สาํ หรับการ ใช้งานที�แตกต่างกันออกไป เช่นหมวกบางประเภทไว้ใส่หน้าร้อน หรื อ หมวกบางประเภทไว้ใส่สาํ หรับการเล่นกีฬา นอกเหนื อไปจากหน้าที�การ ใช้งานแล้ว ยังรวมไปถึ งการใส่เพื� อบ่งบอกสถานะทางสังคมอี กด้วย

Boater Hat

Panama Hat

Fedora

Bowler Hat or Derby Hat


Pocket Square เป็ นแฟชัน� การนําผ้าเช็ดหน้ามาพับ และประดับที�สูทเป็ นการแสดงถึ ง ความใส่ใจ และประณี ตในการแต่ง กายของสุภาพบุรุษในยุคนัน� มีการ พับหลายแบบตามสไตล์แต่ละคน

http://www.theunstitchd.com

Cufflinks สําหรับติดปลายแขนเสื� อเชิ�ต เพราะ เสื� อเชิ�ตที�นิยมในยุคนั�นจะเป็ นเชิ�ต แบบปลายแขนยาว และไม่มีกระดุม โดยจะต้อ งพับ แขนเสื� อสองทบ เพื� อให้ดูหนาและแข็ง เช่นเดียวกับ ปกเสื� อเสริ ม และใส่ Cufflinks เพื� อยึดแขนเสื� อให้เป็ นทรงสวยงาม

http://www.theunstitchd.com

Collar Pin ไว้สํา หรับ ติ ด ยึ ด ปกเสื� อเสริ ม สองฝั�ง ให้ไ ม่ บานออก และมี ท รงที� สวย รวมไปถึ ง ยัง มี ลู ก เล่น โดยการนํ า เนคไทออกมานอก Collar Pin เพื� อทําให้เนคไทดูพองขึ� นจาก เสื� อเพื� อความสวยงามอีกด้วย

Pocket Watch

http://www.theunstitchd.com

เป็ นนาฬิกาที�ผูช้ ายมักจะพกไว้ใน กระเป๋ าด้า นใน โดยมี ลู ก เล่น ใน การนําโซ่มาเกี�ยวกับ กระดุมของ เสื� อกัก� เพื� อความสวยงาม

Wingtip

https://www.thevintagegentlemen.com

รองเท้าที�นิยมในยุค 1920 จะเป็ นทรง oxford แต่ Wingtip จะโดดเด่นมากกว่า ซึ� งก็คือรองเท้าฉลุลาย มีดา้ นหน้าเป็ นลักษณะของ ปี กนก จึ งเรี ยกว่า Wingtip ลักษณะเด่นคื อ การใช้สีทูโทนในตัวรองเท้า


Flapper หลังสงคราม ชุดที�มาแรงสุ ดๆ เป็ นสัญลักษณ์ของยุคนี� คื อ "Flapper dress" เป็ นชุ ด ลํา ตัว ตรง หน้า อกแบนเป็ นไม้ก ระดาน กระโปรงสั�น ลง แฟชั�น 1920s ของแท้ตอ้ งมี การรัดหน้าอกด้วยเสตย์ เพราะเชื� อว่า หน้าอกแบนๆ กับผมสัน� กุดเป็ นสัญลักษณ์ของความเป็ นหนุ ่มสาว และชุด flapper dresso นั�น ก็ยงั ฮิ ตมาถึ งปัจจุบนั ยุค 1920 ความรุ ่งโรจน์ทางการออกแบบแฟชัน� ที�สร้างชุดแฟลปเปอร์เดรส สุ ดคลาสสิ ก รู ปแบบของเสื� อผ้าถู กออกแบบมาไม่เปิ ดเผยเน้นรัดทรวงทรง มากนัก ชุ ดส่วนมากจะเป็ นชุ ดแขนกุดหรื อแขนยาว โดยมี กระโปรงที� ยาว ระดับเข่าเป็ นองค์ประกอบหลักของชุดเสื� อผ้าจะโน้มเอียงไปในทิ ศทางเดียว กันอิงจากร่างกายในอุดมคติของสาว ๆ ที�ตอ้ งแบนเป็ นกระดานส่วนเว้าส่วน โค้งไม่มากนักสะท้อนถึ งชุดที� สามารถเดิ นอวดโฉมตามท้องถนนในขณะที� ปรับเปลี�ยนดีไซน์และเนื� อผ้าเล็ กน้อยก็สามารถเต้นบนฟลอร์ได้



Current costume ในปัจจุบนั จากกลุม่ คนที�แต่งกาย ในที�น� ี จัดกลุม่ อยูใ่ น Alternative ซึ�งมีการปรับการแต่งกายให้ร่วมสมัยมากขึ�น จึงได้เกิดการวิเคราะห์ เพื� อศึกษาการเลื กใช้และการทดแทนของการแต่งกายในกลุม่ คนเหล่า นี� ในปัจจุบนั จากกลุม่ คนที�แต่งกาย ในที�น� ี จัดกลุม่ อยูใ่ น Alternative ซึ�งมีการปรับการแต่งกายให้ร่วมสมัยมากขึ�น จึงได้เกิดการวิเคราะห์ เพื�อศึกษาการเลืกใช้และการทดแทนของการแต่งกายในกลุม่ คนเหล่านี� จาการศึ กษาพบว่า คนกลุม่ นี� ได้มีการเปลี�ยนแปลงการแต่งกายให้ เหมาะสมกับยุคสมัยในปัจจุบนั ด้วยการลด บางอย่าง และเพิ�มบาง อย่างเข้ามาแทน โดยคํานึ งถึ งการใช้งาน และสภาพอากาศที� ไม่ สามารถเอื� อ อํานวยในปัจจุบนั ซึ�งการแต่งกายถูกเปลี�ยนให้มีความ ร่วมสมัยมากขึ�น ลดความเป็ นทางการลง ปัจจัยที�ทาํ ให้เกิดการเปลี�ยน แปลงคื อสภาพอากาศที�ไม่เหมาะสมกับการใส่สูทหลายชัน� และการ ใช้งานของเครื� องประดับที�ไม่ตอบสนองต่อการใช้งานปัจุบนั


Flat Cap Boater Hat Fedora

Waistcoat Necktie Collar Pin

Wool

Chino

Wingtip


Why Americans come to Siam? กรุงสยาม กับ สหรัฐอเมริ กา ด้วยหนังสือสัญญาว่าด้วยทางราชไมตรี ทางค้าขาย และการเดินเรื อ ซึ�งได้แก้การแก้ไขหนังสื อ สัญญาแต่ ก่อน ในระหว่างกรุ งสยามกับสหรัฐอเมริ กาฉบับ 1 สมเด็จพระเจ้ากรุ งสยาม และ ประธานาธิบดีสหรัฐอเทริ กามีความ ต้องการที�จะกระทําห้างพระราชไมตรี และความเข้าใจอันดี ซึ�งมีตอ่ กันอยูโ่ ดยผาสุกในระหว่างสองประเทศนี� มัน� คงยิ�งขึ�น ระหว่างสองประเทศนี� ได้ปรึ กษาตกลงกันทําสัญญากันคื อ กรุงสยามกับสหรัฐอเมริ กา จะต้องมีความสงบราบคาบเรียบร้อยกัน อยูเ่ สมอ และจะต้องเป็ นไมตรีกนั อยูเ่ ป็ นนิ จนิ รนั ดร ฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ� ง จะต้องมีเสรี ภาพที�จะเข้าไปและเดินทาง อาศัยอยูใ่ นอาณาเขตของ ประเทศอีกฝ่ านหนึ� งและทําการค้าขาย ทําการในทางศาสนา ทางการศึ กษา ทางการกุศล เป็ นเจ้าของหรื อเช่าอยูใ่ นเรื อน โรงทํางาน โรงเก็บสินค้า และร้านได้



American people entering Siam.


John A. Eakin เป็ นมิ ชชันนารี ผูเ้ ผยแผ่นิกายโปรเตสแตนต์ในประเทศไทย ช่วงคริ สต์ศตวรรษที� 19 และเป็ นผู ก้ อ่ ตัง� โรงเรี ยน BCC หรื อโรงเรี ยนกรุ งเทพคริ สเตียนวิทยาลัยในปัจจุบนั ในปี พ.ศ. 2431 (ค.ศ.1888) ได้กอ่ ตัง� โรงเรี ยนบางกอก คริ ส เตี ย นไฮสคู ล ที� ต.กุ ฏี จี น ซึ� งภายหลัง ได้ไ ปรวมกับ โรงเรี ยนที� ตั�ง โดยศาสนาจารย์แ มททู น เป็ นโรงเรี ยน สําเหร่บอย สคูล และในปี (ค.ศ.1904) ย้ายโรงเรี ยนมาอยู ่ ที� ถนนประมวญ และเมื� อ (พ.ศ. 2456) ได้เปลี�ยนชื� อเป็ น โรงเรี ยนกรุ งเทพคริ สเตียนวิทยาลัย

https://en.m.wikipedia.org/

Edna Bruner Bulkley เอ็ดน่า บรู เนอร์ บัลค์ลีย”์ คื อ มิชชันนารี อเมริ กนั ที�เดินทาง มาทํางาน และใช้ชีวติ ใน “เมืองตรัง”ในช่วงปลายสมัยรัชกาลที� 5 และอยูใ่ นตรังนานถึง 24 ปี (พ.ศ.2451-2475)

https://en.m.wikipedia.org/

เอ็ดน่า และนายแพทย์ลเู ซียส คอนสแตนด์ บัลค์ลยี ์ ทํางานที� “โรงพยาบาลทับ เที� ยง” ระหว่า ง พ.ศ.2451-2475 ซึ� ง โรงพยาบาลทับเที�ยงเกิดจากนโยบายของ “พระยารัษฎาฯ (คอซิมบี� ณ ระนอง)” สมุหเทศาภิ บาลมณฑลภูเก็ต และผู ้ ว่าการเมื องตรังในช่วงปลายสมัยรัชกาลที� 5 ให้มีการจัดตัง� และมอบให้คณะมิชชันนารี ดาํ เนิ นการ มีการสร้างโรงพยาบาล และบ้านพักแพทย์ พระยารัษฎาฯ ได้มอบเงินจํานวน 3,000 ดอลลาร์สมทบทุนก่อสร้าง


Dan Beach Bradley หมอบรัดเลย์ หรื อ แดน บีช แบรดลีย ์ แพทยศาสตรบัณฑิต หรื อบาง คนเขียนเป็ น หมอบรัดเล หมอปลัดเล หมอปรัดเล หรื อ หมอปรัดเลย์ เป็ นนาย แพทย์ชาวอเมริ กนั ที�เข้ามาเผยแพร่ศาสนา คริ สต์ในประเทศไทยสมัยรัชกาลที� 3 และ ยังเป็ นผู เ้ ริ� มต้นการพิ มพ์อกั ษรไทยใน ประเทศไทยเป็ นครั�งแรก และทําการ ผ่าตัดในประเทศไทยเป็ นครัง� แรก หมอบรัดเลย์เป็ นผูน้ าํ แพทย์แผน ปัจจุบนั (แบบตะวันตก) เข้ามาหลาย ประการ ทัง� การผ่าตัดและการป้องกันโรค หมอบรัดเลย์เปิ ดสถานพยาบาลรักษาผูป่้ วย ในบางกอกเป็ นครัง� แรกเมื�อวันที� 4 สิงหาคม พ.ศ. 2374 ในการรักษาโรคในระยะแรกๆ หมอบรัดเลย์จะตรวจผูป่้ วยได้เป็ นจํานวน มากเกือบ 70-100 คน ในเวลา 3-4 ชัว� โมง ส่วนมากในช่วงเช้ามีคนช่วยจัดยาและแจก ใบปลิวข้อความในพระคัมภีรด์ ว้ ย

ในปี แรกเจ้าฟ้าน้อย (พระบาทสม เด็จพระปิ� นเกล้าเจ้าอยูห่ วั ) ได้เสด็จมา เยี�ยม เล่าให้ฟงั เรื� องประเพณีการอยูไ่ ฟของ มารดาหลังคลอด หมอบรัดเลย์ได้เสนอ อยากจะสอนให้คนไทยบางคนรู จ้ กั ภาษา อังกฤษแลสอนวิชาแพทย์ท� มี ี โดยในช่วง ที�มีการปลูกฝี มีหมอหลวงมาศึกษากับ หมอบรั ด เลย์ และยัง เขี ย นหนั ง สื อ เพื� อสอนหมอชาวสยาม เขียนบทความ อธิบายวิธกี ารปลูกฝี ในภายหลังรัชกาลที� 3 ได้พระราชทานรางวัลให้ 250 บาท (เท่ากับ 145 ดอลลาร์อเมริ กนั ในสมัยนัน� ) ตํารา แพทย์แ ผนปั จ จุ บ นั เล่ม แรกนี� ชื� อว่า ครรภ์ทรักษา มีความหนา 200 หน้า มีภาพประกอบฝีมอื คนไทยประมาณ 50 ภาพ มีเนื� อหาเกี�ยวกับอาการของโรคในการ คลอดและวิธีการแก้ไขรักษา กับพยายาม สอนให้คนไทยเลิกธรรมเนี ยมการอยูไ่ ฟ ซึ�งเป็ นสาเหตุสาํ คัญที�ทาํ ให้มารดาหลัง คลอดเสียชีวิต

สิ� งที�สร้างชื� อเสี ยงให้หมอบรัด เลย์ คื อการผ่าตัด มีการผ่าตัดก้อนเนื� อ ที�หน้าผากของผูป่้ วยรายหนึ� งเมื�อวันที� 24 สิงหาคม 1835 โดยไม่มยี าสลบ และอีก หนึ�งการผ่าตัดที�ได้รับการจารึกไว้คือเมื�อวัน ที� 13 มกราคม 1837 เกิดเหตุระเบิดของ ปื นใหญ่ท� งี านวัดบริเวณวัดประยุรวงศาวาส มีคนตาย 8 คน และบาดเจ็บจํานวนมาก หมอบรัดเลย์ได้ตดั แขนของชายหนุ ม่ คน หนึ� งถึ งเหลื อหัวไหล่ ในภายหลังวันที� 7 กันยายน 1840 หมอบรัดเลย์ได้ บันทึกไว้วา่ ได้ตดั แขนเด็กที�ได้รบั อุบตั ิ เหตุบนเรื อฝรั�งเศส นอกจากนี� ยังมีการ บันทึ กว่า วันที� 2 พฤศจิ กายน 1837 หมอบรัดเลย์ได้ใช้เวลาทัง� วันในการแก้ ไขกรามบนของชายที�กรามหักในงาน วันเมื� อ 6 วันก่อน



Changes that are good for Siam society.


Medical and public health

https://www.onlyinyourstate.com

มิ ชชันนารัได้นําความรู ด้ า้ นการแพทย์ และการรัก ษาพยาบาลแบบตะวันตก เข้ามาเผยแพร่ควบคูก่ บั การเผยแผ่ศาสนา จนในที�สุดชาวมิ ชชันนารี อเมริ กันกลายเป็ น หมอสอนศาสนา พวกเขาได้สอน การผ่าตัด ทําคลอด การปลู กฝี และแนะนํ าด้าน สุ ขอนามัย เพื� อป้ องกันโรคระบาดร้ายแรงวิ ทยา การแพทย์แบบตะวันตกนี� ได้กลายเป็ นรากฐาน ของการแพทย์ และสาธารณสุ ข ไทยในปั จ จุ บ นั เช่น การตัง� โรงพยาบาล


https://scontent-dfw1-1.xx.fbcdn.net

https://scontent-dfw1-1.xx.fbcdn.net

Education

Printing

มิชชันนารี อเมริ กนั ได้นําการศึกษาในระบบโรงเรี ยน เข้ามาเผยแพร่ โดยได้เปิ ดโรงเรี ยนสอนภาษาอังกฤษ และวิ ช าอื� นๆ เช่น คณิ ตศาสตร์ ภู มิศ าสตร์ และ วิทยาศาสตร์ ให้กบั บุคคลทัว� ไป

มิ ชชันนารี นําแท่นพิมพ์มาใช้ในการพิมพ์ เพื� อเผยแผ่ ศาสนา และตัง� โรงพิมพ์ การพิมพ์ได้มีบทบาทสําคัญ ในด้านการประชาสัมพันธ์ส� ื อสารกับประชาชน และ ช่วยส่งเสริ มการศึ กษา ประชาชนมีโอกาสอ่านหนัง สื อพิมพ์เพื� อรับรู ข้ า่ วสาร วรรณกรรม วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ทําให้ได้รบั ความรู ส้ ร้างสรรค์ข� นึ กว่าแต่กอ่ น รวมทัง� มีโอกาสแสดงความคิดเห็ นผ่านหนังสื อพิมพ์ท� ี มีอยูข่ ณะนั�นการพิมพ์มีบทบาทสําคัญต่อการเปลี�ยน วิ ถีชีวิตของสังคมไทย ที�เคยเป็ นสังคมปิ ด ไม่คอ่ ยมี โอกาสรับทราบข่าวสารต่างๆ มากนัก

แม้วา่ จุดประสงค์สาํ คัญของมิ ชชันนารี จะต้องการ สอนศาสนาควบคูไ่ ปกับการศึกษา แต่การตัง� โรงเรี ยน ได้กลายเป็ นแบบอย่างที�รฐั บาลไทยเห็ นความสําคัญ ในการพัฒนาการศึกษาของชาติ จึงมีการตัง� โรงเรี ยน หลวงสําหรับบุตรหลานของเจ้านายและข้าราชบริ พาร ตลอดจนโรงเรี ยนสําหรับเด็ กไทยทัว� ไป ทัง� ในส่วน กลางและส่ว นภู มิ ภ าค รวมทัง� มี ก ารประกาศใช้ พระราชบัญญัติประถมศึ กษา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั เพื� อส่งเสริ มให้คนไทย มีโอกาสได้รบั การศึกษา ดังเช่นประชากรของชาติอ� ืนๆ ทัง� ในระดับประถมศึกษา และอุดมศึกษา

https://scontent-dfw1-1.xx.fbcdn.net

Western concept เมื� อมี ก ารพัฒ นาด้า นการศึ ก ษา และการพิ ม พ์ วรรณกรรมตะวันตก ทัง� ที�เป็ นแนววิชาการ และบันเทิง จึ งได้แพร่หลายเข้ามาสู ส่ งั คมไทย และมีอิทธิ พลต่อ การสร้างแนวคิ ด และสํานึ กของไทย เช่น แนวคิ ด เกี�ยวกับการเมื อง การปกครองในระบอบประชาธิปไตย การเข้าใจถึงคุณค่าของมนุ ษย์ และความทัดเทียมกัน แนวคิ ดต่างๆ เหล่านี� ได้สะท้อนออกมาในรู ปของ วรรณกรรม ที�ตีพิมพ์ในภาษาไทย


https://scontent-dfw1-1.xx.fbcdn.net

Fashion ราชสํานักไทย และขุนนาง เป็ นกลุม่ แรก ที�รับเอาวัฒนธรรมการ แต่งกายแบบตะวันตก ทัง� ของหญิ งและชายมาประยุกต์ใช้ เมื� อ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั เสด็จประพาสยุโรป ถึง ๒ ครั�ง ก็ทรงฉลองพระองค์แบบตะวันตก ต่อมาการแต่งกายแบบ ตะวันตกของเจ้านาย ก็กลายเป็ น "พระราชนิ ยม" ที�คนทัว� ไปยึดเป็ น แบบอย่าง

House decoration นับตัง� แต่ชาวตะวันตกได้นําสถาปัตยกรรม การก่อสร้าง อาคาร และการตกแต่งภายในแบบตะวันตก มาสูส่ งั คมไทย ราชสํานัก และชนชัน� สูง ก็เริ� มปรับวิถีชีวิตตามแบบวัฒนธรรมดังกล่าว จากเดิมที�เคยปลูกสร้างอาคารแบบเรื อนไทย และค่อยๆ รับรู ปแบบสถาปัตยกรรม และการตกแต่งแบบ จีน ก็เริ� มเปลี�ยนเป็ นแบบตะวันตก มีการสร้างที�อยูอ่ าศัย และตกแต่งบ้านเรื อนด้วยเครื� องเรื อนแบบตะวันตก



THE INFLUENCE OF WESTERN ARCHITECTURE IN SIAM. รั ช กาลที� 3 หรื อช่ว งต้น รั ต นโกสิ น ทร์ ได้มีชาวมิชชันนารี อเมริ กนั เข้ามายังสยาม เพื� อเข้า มาสอนศาสนาคริ ส ต์ใ ห้ช าวจี น และยังมีชาวตะวันตกเข้ามาสร้างบ้านพัก อาศัยแบบตะวันตกอยูอ่ าศัยในกรุ งเทพฯ และบริ เวณปากคลอบางหลวง กุฎีจีนและ บางรัก

ในสมัยของรัชกาลที� 5-6 หรื อศตวรรษที� 19 มี อาคารที�ได้รับอิ ทธิ พลรู ปแบบตะวัน ตกอย่า งมาก ซึ� งอาคารเหล่า นี� ทัง� หมด เป็ นนทัง� อาคารสาธารณะและอาคารที�พกั อาศัย แต่ในความเป็ นจริ งแล้วกลับพบว่า อาคารที�มีลกั ษณะสถาปัตยกรรมแบบตะ วันตกเริ� มปรากฏขึ�นมาตัง� แต่สมัยอยุธยา

http://www.thapra.lib.su.ac.th/


WESTERN ARCHITECTURE UNDER THE ROLE OF MISSIONARIES

อาคารศาลากลางเชียงราย เป็ นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ชิ� นหนึ� งที�มี อายุกว่า 119 ปี และ ยัง ช่ว ยอธิ บ ายความเป็ นมาเป็ น ไปของสั ง คมสมัย นั� น ได้ดี ก ว่า หลัก ฐานทางเอกสาร ดํา เนิ น อ อ ก แ บ บ แ ล ะ ก่ อ ส ร้ า ง โ ด ย นายแพทย์วิ ล เลี� ยม เอ.บริ กส์ แพทย์มิ ช ชัน นารี ชาวอเมริ กัน กรุ งนิ วยอร์ค สหรัฐอเมริ กา

ตัวอาคารมีสามชัน� แบบโคโรเนี ยล อาคารเป็ นลักษณะแบบก่ออิฐฉาบ ปู น จุ ดเด่นของอาคารนี� คื อโครง สร้างกําแพงรับนํ�าหนักทําให้ผนัง มีความหนาถึง 50 ซ.ม. ไม่ใช้เสา และคานคอนกรี ดเสริ มเหล็ก


https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/723276


WESTERN ARCHITECTURE UNDER THE ROLE OF MISSIONARIES

โรงพยาบาลโอเวอร์บรุ๊ ค ความจริ งแล้ว โอเวอร์ บ รุ๊ ค เป็ นชื� อของคริ สตจัก รแห่ง หนึ� ง ในรั ฐ เพนซิ ล เวเนี ยในประเทศ สหรัฐอเมริ กา

โรงพยาบาลโอเวอร์บรุ๊ ค ถูกก่อตัง� โดย วิลเลี�ยม เอ บริ กส์ ในปี ค.ศ. 1903 ริ มฝัง� แม่นาํ� กก แต่ในปัจจุบนั สถานที� ตัง� ของโรงพยาบาลโอเวอร์บรุ๊ค ตัง� อยูเ่ ลขที� 17 ถนนสิ งหไคล ตําบลเวียง อําเภอเมื องเชียง ราย จังหวัดเชียงราย


https://th.wikipedia.org/


WESTERN ARCHITECTURE UNDER THE ROLE OF MISSIONARIES

โบสถ์คริ สตจักรที� 1 เวียงเชียงราย โบสถ์หลังนี� ใช้เป็ นสถานที�ประชุม มิชชันนารี จัดกิจกรรมทางศาสนา และใช้เป็ นสถานที� นมัสการพระเจ้า โบสถ์คริ สตจักรที� 1 เวียงเชียงราย ใช้เวลาในการปรับพื� นที�เตรี ยมการ ก่อ สร้า งทั�ง หมด 23 ปี โบสถ์ คริ สตจักรที� 1 เวียงเชียงรายสร้าง ขึ�นด้วยเงินบริ จาคของคณะเพรส

ไบทีเรี ยมิ ชชันแห่งสหรัฐอเมริ กา โดยมีนายวิลเลี�ยม เอ บริ กส์ เป็ น ผูอ้ อกแบบและอํานวยการก่อสร้าง


http://www.thapra.lib.su.ac.th/


WESTERN ARCHITECTURE UNDER THE ROLE OF MISSIONARIES

โรงเรี ยนกรุ งเทพคริ สเตียนวิทยาลัย เป็ นโรงเรี ยนเอกชนชายล้วนขนาดใหญ่ได้รบั การสถาปนาโดยคณะมิชชันนารี ชาว อเมริ กนั เมื� อปี ค.ศ.1852 โรงเรี ยนกรุ งเทพคริ สเตียนวิทยาลัยตัง� อยู ่ เลขที� 35 ถนน ประมวญ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุ งเทพมหานคร



Foreign clubs in Thailand

สโมสรมีอายุยอ้ นไปถึงปี 1903 และมีอาคารมรดกที�สวยงามพร้อมร้านอาหารที�ให้ บริ การอาหารอังกฤษยอดนิ ยมและอาหารไทยคลาสสิกพร้อมด้วยเมนู คอ็ กเทลและ เครื� องดื� มและบาร์ คลับนี� ถูกล้อมลอบไปด้วยสนามหญ้าสีเขียวและเป็ นสถานที� ที�เหมาะกับครอบครัวและเพื�อนฝูงทําธุรกิจหรื อมีสว่ นร่วมในกิจกรรมทางวัฒนธรรม หรื อความสนุ กสนานมากมาย



Deutscher Club ในช่วงแรกของปี มีบ ้านเช่าขนาดเล็กเป็ นสํานักงานใหญ่สาํ หรับสถานที� ตัวอาคาร ล้อมรอบไปด้วยพื� นที� ที�ถูกจัดวางอย่างดีและมีสนามเทนนิ ส ทุกคนสามารถเป็ นสมาชิกของคลับได้ และเปิ ดให้ทกุ คนเห็นอกเห็นใจ ชาวเยอรมันและพูดภาษาเยอรมันได้อย่างคล่องแคล่ว

http://www.britishcl


lubbangkok.org


QUESTIONNAIRE คุณอายุเท่าไหร่ 15 - 20

9.1

20 - 25

18.2 72.7

25 - 30

คุณมีความรู เ้ กี�ยวกับ American Dream หรื อไม่ มี 36.4 63.6

มีบา้ งพอสมควร ไม่มีเลย

คุณมีความสนใจในเรื� องของประวัติศาสต์ยุค 1920s มากน้อยแค่ไหน 4.5 13.6

27.3

54.5

มากที�สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที�สุด ไม่เลย


คุณชื� นชอบในเรื� องของการแต่งกายที�มีความเป็ นยุค 1920s มากน้อยแค่ไหน 18.2 9.1

50

9.1 13.6

มากที�สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที�สุด

โดยปกติในชีวิตประจําวันคุณได้สวมเสื� อผ้าหรื อเครื� องแต่งกายที�อยูใ่ นยุค 1920s หรื อเครื� องแต่งกายที�มีความย้อนยุคบ่อยครัง� หรื อมากน้อยแค่ไหน 13.6 22.7 63.6

เป็ นประจํา บ่อยคร้ง แล้วแต่โอกาส ไม่เคยเลย

หากเกิดสถานที�บนั เทิงแห่งหนึ� ง ที�คุณต้องแต่งตัวตามยุค 1920s ถึงจะสามารถ เข้ามาในสถานที�น� ี เพื� อเข้ามาสังสรรค์ได้ คุณจะอยากมาที�น� ี หรื อไม่ มากที�สุด 18.2 มาก ปานกลาง 45.5 18.2 น้อย น้อยที�สุด 18.2 ไม่เลย


SITE LOCATION

TRAVEL

721 ถนน ไมตรีจิตต์ แขวง ป้อมปราบ เขต ป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร 10100

MRT Hualumpong

Walk


ข้ามถนนจากฝั�งตรอก มาฝั�งศาลเจ้าซิดเซียม้า แล้วหันกลับไปมองฝั�งที�เพิ�งข้ามมา เงยหน้ามองไปทางขวา จะพบอาคารโคโลเนี ยลผังพื� นสามเหลี�ยม ‘คลีโอพัตรา’ อาคารโคโนเนี ยลขนาดใหญ่ 3 ชัน� ริ มถนนไมตรี จิตต์ มีระเบียงหน้าต่างวงกลม ฐานปู นปั�นทรงลู กข่าง เว้นจังหวะด้วยซุ ม้ มุ มหน้าต่าง 8 เหลี� ยม สู งในแนวตัง� (Bay-window) ที�หาดูได้ยาก พร้อมด้วยกันสาดประดับลาย ป้องกันฝนและแดด ทางเข้าอาคารที�ผนังดีไซน์ดว้ ยการตีเส้นปูน ล้อเป็ นการก่อแผ่นหิ น


EXTERIOR


INTERIOR


NEARBY LOCATION บ้ า นไมตรี จ ิ ต ต์ ว่าจะเป็นเครื่องดื่มที่มีแอลกอตึกเก่าที่สร้างขึ้น ฮอลล์ แ ละไม่ ม ี แ อลกอฮอลล์ ตั ้ ง แต่ ป ี พ.ศ.2472 ในสมั ย รั ช กาลที ่ 7 ซึ ่ ง อาคารจะเป็ น ตึ ก สถาปั ต ยกรรมแบบยุ โ รป โดยชัน้ 1 จะขาย เครื ่ อ งดื ่ ม หลาก หลายประเภทไม่

Bà hao

Ban Maitrichit

เป้าหมายของเราคือการ เป็ น คนโปรดของคุ ณ อาหารราคาไม่แพงและ ความสะดวกสบายที ่ 8 ซอย นานา แขวง- ได้รับแรงบันดาลใจจาก ป้ อ มปราบ เขตป้ อ ม- บาร์อาหารจีน / เยาวราช ปราบศัตรูพ่าย การรวมของว่างที่โปรด กรุงเทพมหานคร ปรานของเรากับอาหาร 10100

482 ถนน ไมตรี จ ิ ต ต์ แขวง ป้อมปราบ เขตป้ อ มปราบศั ต รู พ ่ า ย กรุงเทพมหานคร 10100

ข้างถนนยอดนิยมของ จี น เพื ่ อ สร้ า งอาหาร ของเราเองทั้งคาวและ หวาน เรายังให้บริการ ชาเบี ย ร์ ฝ ี ม ื อ และค็ อ ก เทลอันเป็นเอกลักษณ์ ของเรา


Teens of Thailand

76 ซอย นานา แขวง ป้อมปราบ ได้ปรับปรุงตึกร้างสองชั้นนี้แค่ เขตป้อมปราบศัตรูพา่ ย กรุงเทพ- เล็กน้อย โดยทีมงานตั้งใจคง มหานคร 10100 สภาพความโบราณของตัวร้าน ไว้ ถึงแม้หน้าร้านอาจจะดูตอ้ ง ใช้ความกล้าในการเปิดประตูเข้า มา แต่ขอบอกว่าภายในมีความ เก๋อยูไ่ ม่นอ้ ยเลยทีเดียว พอเปิด

ประตูเข้ามา จะพบกับเปียโน ทางด้านซ้ายมือ เพิม่ แสงน้อย ๆ ตามมุมโต๊ะด้วยเทียน และตก แต่งฝาผนังด้วยรูปภาพเจ๋ง ๆ ผลงานการถ่ายรูปและการคัด เลื อ กของคุ ณ เชนทร์ วงศ-์ แหลมทอง


DEVELOPMENT SITE ANALYSIS

PROGRAMING


PLAN


DESIGN GUIDELINE



PLAN

STORAGE


STORAGE


PERSPECTIVE


ISOMETRIC SECTION


MOOD AND TONE



COPERATE IDENTITY

1920 S

1920S CLUBHOUSE AMERICAN DREAM IN SIAM



CASE STUDY

HOTEL MUSE BANGKOK Hotel Muse ได้รบั แรงบันดาลใจจากยุค 1920 เป็ นยุคที�รชั กาลที� 5 เสด็ จประพาสยุโรป ยุคนั�นเรี ยกว่า Golden Edge Of Travel หรื อ ยุคทองของการท่องเที�ยวในสมัยนัน� นั�นเอง โรงแรมเลยได้นาํ เมื องต่างๆ ที�ทา่ นได้ประพาสในช่วงนั�นมาเล่าเป็ นเรื� องราว

SPEAK EASY ที�มาของ Speak Easy ยุคนัน� แอลกอฮอล์เป็ นสิ� งผิดกฏหมาย เวลาคน ที�รวยอยากจะไปปาร์ต� ีสงั สรรค์จึงจําเป็ นต้องแอบตัง� โค๊ดลับ เพื� อเป็ น ที�รูก้ นั ว่าจะไปจะชวนกันไปแอบดื�ม โค๊ดลับคํานัน� ก็คือ" SPEAK EASY " นั�นเอง

BLIND PIG Blind Pig ซึ� งเป็ นซิ กา้ ร์รูม มี มุมลับๆซ่อนอยู ม่ ี สูทแขวนไว้เพี ยบ หมูปิดตาข้างนึ งหมายถึงตํารวจซึ�งรู ว้ า่ มีการสังสรรค์แต่ตอ้ งแอบปิ ด ตาข้างนึ งแกล้งทําเป็ นไม่รู ้



CASE STUDY

THE HOP BANGKOK The Hop เป็ นแดนซ์ สตูติโอเปิ ดเมื� อปี 2013 อยูเ่ บื� องหลังความสําเร็ จ ของงาน Bangkok Swing อีเวนต์การเต้นแบบสวิงแดนซ์ท� ีได้รบั ความ สนใจทัง� จากศิลปิ นไปจนถึงผูห้ ญิงที�ใส่ใจสุขภาพ ทุกวันเสาร์สองทุม่ สตูดิโอแห่งนี� จะจัดชัน� เรี ยนสวิงแดนซ์สาํ หรับคนที�เพิ�ง หัดเต้น ให้ได้เต้นอย่างสนุ กสนานไปกับดนตรี แจ๊สยุค 1920, 1930 และ 1940 แม้แต่คนที�เพิ�งไปเรี ยนครัง� แรกก็สามารถเรี ยนรู พ้ � ื นฐานของการ เต้นสวิงได้ในเวลาเพียง 30 นาที คุณโอ๊ต ผูก้ อ่ ตัง� The Hop กล่าวว่า “ที�น� ี เป็ นแหล่งรวมผูค้ นที�กระฉับ กระเฉงและมีความสุข ถึงจะมาคนเดียวก็อยากให้ได้ลองดู” หลังสามทุม่ คนจํานวนมากในชุดย้อนยุคจะมารวมตัวกัน จิบเครื� องดื� มเบา ๆ ที�บาร์ และสวิงแดนซ์กนั อย่างสุดเหวี�ยงเหมื อนกําลังสนุ กกับการเล่นกีฬา



CASE STUDY

DOUBLE RL


“ RRL ” แบรนด์เวิรค์ แวร์อเมริ กนั 1900 sแบรนด์ ralph lauren มีไลน์การผลิตอยูห่ ลายไลน์หนึ� งใน นั�นก็ คือแบรนด์ RRL หรื อ Double RL นั�นเอง และยังเป็ นไลน์การผลิตที�ใช้วสั ดุจากพวกของเก่า True Vintage ฉะนัน� สิ นค้าของแบรนด์น� ี แต่ละชิ�น ไม่ตอ้ งส่งสัยเลย ดีเทลแน่นแน่นอนเป็ นสไตล์อเมริ กันยุค 1900 S ซึ�งถื อว่าถูกใจชาววินเทจเลยทีเดียว อีกทัง� แบรนด์ RRL ยังได้รบั ความนิ ยมไปทัว� โลกจาก ดาราชื�อดัง หรื อสไตล์ลสิ ที�ช� ืนชอบในกลิ�นอายความ วินเทจนั�นเองเดือนพฤษภาคม ปี 1993 ralph lauren ได้เ พิ� มไลน์ ก ารผลิ ต สิ น ค้า แบรนด์ RRL หรื อ Double RL ขึ�นมาเพื�อแสดงความเคารพต่อบรรพบุรุษ ชนชาติอเมริ กนั และได้ผสานกลิ�นไอความเก่าของ อเมริ กนั ตะวันตกในช่วงต้นทศวรรษ 1900 S จน ออกมาเป็ นแบรนด์เสื� อผ้าสไตล์ Vintage Workwear ซึ�งถื อว่าเป็ นความน่าตื� นเต้นสําหรับ ralph lauren เพราะจะทําอะไรต้องทําให้สุด ฉะนั�นสิ นค้าแต่ละ ชิ�นของ RRL จะต้องมีการหาข้อมูลจากสมัยก่อน หรื อหาพวกเสื� อผ้า True Vintage สมัยนัน� เพื� อรวบ รวมข้อมูลให้ออกมาเป็ นผลงานที�มคี วามน่าหลงไหล

ในสไตล์อเมริ กนั พอแบรนด์ RRL ทําการบ้านรวบ รวมข้อมูลก็ได้เปิ ดตัวสิ นค้ามากมาย work shirts, flannels, tees, chinos, sweaters, jackets, sweatshirts, และDenim แต่ท� ีทาํ ให้ผูบ้ ริ โภคแปลก ใจที�สุดก็คือผ้ายีนส์ หรื อเดนิ มของ RRL ทําให้ระยะ เวลาเพี ยงไม่นานก็ ได้รับความนิ ยมจากผู บ้ ริ โภค มากมาย


POTATO HEAD

https://www.herenow.city/th/singapore/venue/potato-head-folk/

โปเตโต้ เฮด โฟล์ค (Potato Head Folk) เป็ นร้านอาหาร และบาร์แห่งใหม่ ตัง� อยูใ่ นอาคารที�สร้างขึ�นด้วยสถาปัตรยกรรม อาร์ตเดโคบนถนนค็อง เซค (Keong Saik) ให้บริ การอาหารเลิศ รสและเครื� องดื� มค็อกเทลต่าง ๆ ร้านอาหารยอดนิ ยมแห่งนี� มักมีลูก ค้าแน่นไปจนถึ งตอนกลางคื น ส่วนบาร์ท� ีชนั� บนก็เป็ นสถานที�ให้ พักผ่อนหย่อนใจไปกับเครื� องดื� มและค็ อกเทลหลังอาหาร บนชัน� ดาดฟ้าแห่งนี� เสิ รฟ์ ค็อกเทลในสไตล์ติกี บาร์ (tiki bar) ที�มีเหล้ารัม เป็ นส่วนผสมหลัก สามารถใช้เวลาเกื อบทัง� คื นโดยไม่ตอ้ งออกจาก ตึกหลังนี� นอกจากนี� ที�น� ี ยังมีดีเจรับเชิญที�จะทําให้คุณได้สนุ กไปกับ แดนซ์ปาร์ต� ีท� ีดีท� ีสุดแห่งหนึ� งของเมื อง



REFERENCE

http://mashable.com https://mobile.twitter.com/ http://4.bp.blogspot.com/

https://20x200.com/ https://i.pinimg.com https://allthatsinteresting.com https://vintagedancer.com https://theeyeoffaith.com http://www.theunstitchd.com https://www.thevintagegentlemen.com https://www.onlyinyourstate.com https://scontent-dfw1-1.xx.fbcdn.net http://www.thapra.lib.su.ac.th/ https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/723276 http://www.britishclubbangkok.org




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.