A STUDY OF IDENTITY OF CHANTHABOON WATERFRONT COMMUNITY TO DESIGN A BOUTIQUE HOTEL BOOK

Page 1


ชื�อโครงการ

โครงการศึกษาอัตลักษณ์ชมุ ชนริมนํา� จันทบูรเพื�อออกแบบบูทีคโฮเทล

ประเภทของงานศิลปนิพนธ์ ผูด้ าํ เนินโครงการงานศิลปนิพนธ์

งานออกแบบตกแต่งภายใน (Interior Design) นางสาว เบญญาภา เลาหสุวรรณ รหัส 5905567 นักศึกษาชัน� ปี ท�ี 4 คณะวิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต

ที�ปรึกษาโครงการศิลปนิพนธ์

อาจารย์ ณัฐพงศ์ ศรีปงุ วิวฒ ั น์



สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมตั ใิ ห้นบั ศิลปนิพนธิ�ฉบับนีเ� ป็ นส่วนหนึง� ของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาบัญฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน ...................................คณบดีวิทยาลัยการออกแบบ (ร.ศ.พิศประไพ สาระศาลิน) คณะกรรมการศิลปนิพนธ์

...................................ประธานกรรมการ (อาจารย์ วริศว์ สินสืบผล) ...................................กรรมการ (อาจารย์ เกรียงศักดิ� สุวรรณบูล) ...................................กรรมการ (อาจารย์ วิรุจน์ ไทยแช่ม) ...................................กรรมการ (อาจารย์ ถวัลย์ วงษ์สวรรค์) ...................................กรรมการ (อาจารย์ อรรถกฤษณ์ อุทยั กาญจน์) ...................................กรรมการ (อาจารย์ เรวัฒน์ ชํานาญ) ...................................กรรมการ (อาจารย์ ไพลิน โภคทวี)

อาจารย์ท�ีปรึกษาศิลปนิพนธ์

................................... (อาจารย์ ณัฐพงศ์ ศรีปงุ วิวฒั น์)


ABSTRACT หัวข้อศิลปนิพนธ์ ชื�อนักศึกษา สาขาวิชา อาจารย์ท�ีปรึกษา

โครงการศึกษาอัตลักษณ์ชมุ ชนริมนํา� จันทบูรเพื�อออกแบบบูทีคโฮเทล เบญญาภา เลาหสุวรรณ ออกแบบภายใน อาจารย์ ณัฐพงศ์ ศรีปงุ วิวฒ ั น์

บทคัดย่อ โครงสร้างทางสังคมเริม� ต้นจากต้นจากหลายปั จจัย หนึง� ในปั จจัยที�สง่ ผลต่อสังคมค่อนข้างมากคือการเริม� ต้นจากชุมชน ชุมชนมีหลายรูปแบบทัง� ชุมชนขนาดเล็ก ขนาดกลาง ไปจนถึงชุมชนขนาดใหญ่ อย่างไรก็ตามบทบาทของชุมชนมีอิทธิพล และประวัต-ิ ความเป็ นมาที�มายาวนาน มีรากฐานของวัฒนธรรมที�คนในชุมชนสร้างขึน� หรือรับมา ก่อเกิดเป็ นอัตลักษณ์ของแต่ละชุมชน มีเอกลักษณ์ของการดําเนินชีวิต การค้าขาย การก่อสร้างที�อยูอ่ าศัย จนรวมไปถึงศิลปวัฒนธรรมต่างๆ จะเห็นได้วา่ บางกลุม่ เมื�อเริม� ผูกพันกับชุมชนก็จะลงหลักปั กฐานสร้างธุรกิจครอบครัวในชุมชนที�ตนอาศัยอยู่ และบางกลุม่ มีแรงบันดาลใจในการ ประกอบอาชีพหรือสร้างสรรค์ส�งิ ดีๆจากแรงจูงใจในชุมชนที�ตนอาศัยอยูเ่ ช่นกัน ในปั จจุบนั เราจะเริม� สังเกตเห็นได้วา่ โครงสร้างชุมชนนัน� กําลังซบเซาลง หมายถึง บทบาทของชุมชน เศรษฐกิจ และการให้ ความสําคัญกับชุมชนที�ตนเคยอาศัยอยูน่ นั� ไม่ได้มีมากพอให้คนรุน่ หลังได้ให้ความสนใจ หลายชุมชนสูญเสียอัตลักษณ์เเฉพาะ อย่างเช่นด้านการค้าขายมีการรับสินค้าหรือขายสินค้าที�รบั มาจากภายนอกจนกลายเป็ นว่าชุมชนไหน ก็ขายสินค้าคล้ายกัน ขาดแรงจูงใจในการซือ� ขายสินค้าเฉพาะที�นนั� ๆ หรือการที�ชมุ ชนเริม� สร้างสิ�งก่อสร้างใหม่ให้เหมือนหรือคล้ายกัน แต่ไม่ได้อิงบริบท จากข้อมูลในชุมชนของตน ก็อาจทําให้ชมุ ชนนัน� ขาดอัตลักษณ์ของชุมชนที�ควรจะรักษาไว้ไป แนวทางในการพัฒนาชุมชนนัน� มีหลากหลายแนวทางโดยมีวิธีตา่ งกันไปในแต่ละพืน� ที� รวมไปถึงมีกรณีศกึ ษามากมาย ให้เราได้ตระหนักถึง และนําไปต่อยอดพัฒนาชุมชนของตนเองได้ อย่างในปั จจุบนั เริม� มีหลายชุมชนที�เห็นถึงปั ญหานีแ� ละร่วมมือกัน หาแนวทางแก้ไขปั ญหา ทําให้ชมุ ชนเริม� มีบทบาทอีกครัง� ยกตัวอย่างเช่น มีการจัดนิทรรศดารเพื�อเล่าเรือ� งในชุมชน หรือการเปิ ดที�พกั เชิงประวัตสิ าสตร์เพื�อให้คนภายนอกได้ศกึ ษาวิถีชีวิตดัง� เดิมของคนในชุมชน ชุมชนริมนํา� จันทบูรเป็ นชุมชนหนึง� ที�มีประวัติความเป็ นมาอย่างยาวนานและมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ประกอบ ไปด้วยสามเชือ� ชาติคือ ไทย จีน และเวียดนาม นอกจากนีย� งั ได้รบั อิทธิพลจากฝรั�งเศสในช่วงสงครามโลกอีกด้วย เราจะเห็นได้วา่ ชุมชนมีอตั ลักษณ์ท�ีโดดเด่นหลายด้านเช่น งานสถาปั ตยกรรม อาหาร สินค้าที�นาํ มาค้าขาย และศาสนา อีกทัง� รูปแบบการดําเนิน ชีวิตที�เรียบง่ายตามแบบวิถีชีวิตริมนํา� ทําให้คนภายนอกแวะเข้ามาพักผ่อนในทุกๆสัปดาห์ หลังจากที�ชมุ ชนเริม� ระดมกําลัง และร่วมกันฟื � นฟูจนกลายเป็ นโมเดลชุมชนหนึง� ที�ชมุ ชนอื�นให้ความสนใจทําให้คนภายนอกให้ความสนใจเป็ นอย่างมากมีนกั ศึกษา และนักท่องเที�ยวเข้ามาเยี�ยมชมชุมชนอย่างต่อเนื�องแต่อย่างไรก็ตามความเจริญที�เข้ามาทําให้คนในชุมชนบางส่วนเริม� ที�จะ รับความเจริญภายนอกเข้ามา มีการขายอาคารบ้านหรือเปิ ดให้เช่า และมีอาคารหลายหลังที�ถกู ทิง� ร้างโดยเปล่าประโยชน์ และพืน� ที�บางส่วนถูกลืมไปหรือขาดการเล่าเรือ� ง จุดสังกตเหล่านีท� าํ ให้เกิดวิทยานิพนธ์นีข� นึ � เพื�อส่งเสริมอัตลักษณ์ชมุ ชน โดยการแบ่งออกเป็ นอัตลักษณ์ทางศิลปวัฒนธรรม ให้ออกมาเป็ นงานออกแบบในส่วนของการตกแต่ง และอัตลักษณ์ของการดําเนินชีวิตโดยการสร้างที�พกั เพื�อให้ผทู้ �ีมาพักได้ใช้เวลา กับชุมชนมากขึน� อีกทัง� ช่วยส่งเสริมโปรแกรมการเดินและบริบทของชุมชนที�ขาดหายไปโดยการนําพืน� ที�บริเวณตอนกลางมาทําให้เป็ น ศูนย์กลางการเรียนรูข้ องคนในชุมชนและมีบทู ีคโฮเทลที�ถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมให้ผทู้ �ีมาพักได้เห็น


ACKNOWLEDGEMENTS กิตติกรรมประกาศ ผลงานศิลปนิพนธ์ในครัง� นีส� าํ เร็จได้จากความช่วยเหลือ ข้อมูล และคําแนะนําจากสมาชิกในชุมชนริมนํา� จันทบูร และที�พกั ประวัตศิ าสตร์บา้ นหลวงราชไมตรี ตลอดจนข้อมูลจากวิทยานิพนธ์ท�ีเกี�ยวข้องกับชุมชนริมนํา� จันทบูร และสมาชิกที�ได้ ให้ความกรุณาในการเข้าไปวัดและเขียนแปลนภายในบ้านพักและอาคาร ขอขอบพระคุณครอบครัวและมารดาของข้าพเจ้าที�สนับสนุนการเดินทาง ค่าใช้จา่ ยและคอยให้กาํ ลังใจที�ดีมาโดยตลอด การลงพืน� ที�เก็บข้อมูล ทําให้ศลิ ปนิพนธ์นีส� าํ เร็จไปได้ ขอขอบพระคุณ อาจารย์ ณัฐพงศ์ ศรีปงุ วิวฒ ั น์ อาจารย์ท�ีปรึกษา ที�คอยให้คาํ แนะนําตลอดระยะเวลาการทําวิทยานิพนธ์ และตลอดระยะเวลาการศึกษาที�ผา่ นมา เป็ นกําลังใจที�ดีให้ขา้ พเจ้าไม่ยอ่ ท้อ ต่อการทําวิทยานิพนธ์นีใ� ห้สาํ เร็จไปได้ อาจารย์เป็ นหนึง� ในแรงผลักดันที�สาํ คัญให้ขา้ พเจ้าได้พฒ ั นาตนเองในการเรียนออกแบบตัง� แต่ปี 1 จนถึงตอนนี � ขอขอบพระคุณคณาอาจารย์และคณะกรรมการศิลปนิพนธ์ทกุ ท่านที�ให้คาํ แนะนํา และข้อคิดเห็นให้ขา้ พเจ้าได้นาํ ไป แก้ไขปรับปรุง และได้ตระหนักถึงความสําคัญหลายประการในการทํางาน การจัดลําดับความสําคัญ ขอบพระคุณสําหรับทุกโอกาส และความเมตตาต่อตัวข้าพเจ้า และความหวังดีท�ีมีให้ขา้ พเจ้าเสมอมา ขอบพระคุณอาจารย์ เรวัฒน์ ชํานาญ (อาจารย์โต้ง) สําหรับคําแนะนําที�เป็ นส่วนสําคัญยิ�งในวิทยานิพนธ์นีม� าตัง� แต่การตรวจวิชาดีไซน์ 5 ทําให้ขา้ พเจ้าได้แง่คดิ และมุมมองใหม่ หลายด้านในการสร้างสรรค์งานออกแบบ เป็ นแรงผลักดันและกําลังใจที�ดีเสมอมา ขอขอบคุณเพื�อนๆ และรุน่ พี�ท�ีให้คาํ แนะนําในสิ�งที�ขา้ พเจ้าควรจะปรับปรุงแก้ไข เป็ นกําลังใจที�ดี ช่วยเหลือข้าพเจ้า ในหลายด้าน ตลอดระยะเวลา 4 ปี และตลอดการทําวิทยานิพนธ์ในครัง� นีจ� นข้าพเจ้าสามารถทําให้สาํ เร็จลุลว่ งไปได้ วิทยานิพนธ์ครัง� นีค� งจะผ่านลุลว่ งไปไม่ได้หากขาดกําลังสนับสนุนจากบุคคลที�กล่าวมานี � ข้าพเจ้าขอขอบพระคุณ เป็ นอย่างยิ�ง สําหรับประสบการณ์ตา่ งๆ ที�ชว่ ยขัดเกลาให้ขา้ พเจ้าได้เรียนรู ้ และกําลังใจที�ดีทาํ ให้ผา่ นไปได้โดยดี จึงขอขอบคุณมา ณ ที�นี �

นางสาวเบญญาภา เลาหสุวรรณ


CONTENT สารบัญ บทที�

หน้า

บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ

ก ข ค

บทที� 1 : บทนํา บทที� 2 : การศึกษาข้อมูลพืน� ฐานของโครงการ บทที� 3 : ทฤษฎีและแนวคิดในการออกแบบ บทที� 4 : ผลงานการออกแบบ บทที� 5 : บทสรุปและข้อเสนอแนะ

1 15 54 62 84

บรรณานุกรม ประวัตผิ ทู้ าํ ศิลปนิพนธ์

86 87



PROJECT BACKGROUND ชุมชนเป็ นเหมือนรากฐานของวัฒนธรรมหลากหลายเชือ� ชาติและศาสนา เราจะพบรูปแบบของการใช้ชีวิตแตกต่างกันไปตามแต่ละพืน� ที� ชุมชนมีบทบาทสําคัญ มากมายหลายประการ แต่เป็ นที�นา่ แปลกใจเมื�อยุคสมัยเริม� เปลี�ยนสิ�งที�คงเหลืออยู่ กลับกลายเป็ นสิ�งที�คนมองข้าม เสน่หข์ องชุมชนที�เริม� ทรุดโทรมลงกลับมีส�งิ หนึง� ที�กลายเป็ นมรดกของคนในชุมชน พืน� ที�ชมุ ชนริมนํา� จันทบูรเป็ นเมืองเก่าที�มีประวัตคิ วามเป็ นมากว่าร้อยปี รูปแบบของงานสถาปั ตยกรรมที�รบั มาพร้อมกับความเจริญในสมัยรัชกาลที� ๕ กลับเป็ นเสน่หข์ องพืน� ที�แห่งนีท� �ีรวมคนจากหลายกลุม่ เชือ� ชาติเข้ามารังสรรค์งานออกแบบ ในยุคเฟื� องฟู การค้าขายในสมัยก่อนทําให้พืน� ที�นีเ� ป็ นที�รูจ้ กั อย่างกว้างขวาง วัฒนธรรมของการใช้ชีวิต ทําให้เกิดเรือ� งราวมากมายทัง� ภูมิปัญญาของงานฝี มือ และรูปแบบของอาหารที�เป็ นเอกลักษณ์ของกลุม่ ชาวญวณเที�เข้ามาตัง� หลักปั กฐานที�น�ี ภูมิปัญญาเหล่านีไ� ด้ตกทอดมายังคนรุน่ หลังและกลายเป็ นความภาคภูมิใจของคนในพืน� ที� ที�ยงั คงอนุรกั ษ์ไว้ซง�ึ สิ�งเหล่านี � ในปั จจุบนั ชุมชนริมนํา� จันทบูรกําลังพัฒนาต่อไปในด้านการท่องเที�ยวเชิงอนุรกั ษ์ จึงได้เล็งเห็นว่าเราในฐานะนักออกแบบจะเข้าไปช่วยสนับสนุนให้คณ ุ ค่าของสิ�งเหล่านี � กลายเป็ นศุนย์รวมเครือข่ายของคนที�ช�ืนชอบชุมชนเก่าได้อย่างไร เพื�อให้ชมุ ชนริมนํา� จันทบูรกลายเป็ นสถานที� ที�รวมคนจากหลายกลุม่ วัยเข้าไว้ดว้ ยกัน




TIMELINE OF HISTORY

ชุมชนรมนํา� จันทบูร ชุมชนริมนํา� จันทบูร มีประวัติศาสตร์การตัง� ถิ�นฐานมาตัง� แต่ปลายสมัยอยุธยาเรือ� ยมา จนมาถึงปั จจุบนั ชุมชนริมนํา� จันทบูรรอดพ้นจากการเสียดินแดน ในยุคอาณานิคมฝรั�งเศสสมัย ร.ศ. 112 เป็ นชุมชนเก่าแก่บนถนนสายแรกของจันทบุรี และในสมัยรัชกาลที� 5 พืน� ที�แห่งนีไ� ด้มีหน้าที�เพิ�มเติมคือ เป็ นสถานที�ทาํ งนของรัฐและศาล ดังจะเห็นได้จากการมีดา่ นเก็บภาษี และจวนข้าหลวงจังหวัด เช่น บ้านหลวงราชไมตรี บ้านหลวงประกอบนิตสิ าร บ้านพระยาวิชยาธิบดี เป็ นต้น จากการที�ชมุ ชนแห่งนี � เป็ นย่านการค้า จึงดึงดูดให้ชาวต่างชาติเข้ามาอยูอ่ าศัยทํามาหากิน เป็ นจํานวนมาก ทัง� ไทย จีน ญวน จึงเกิดการผสมผสานวัฒนธรรม ที�แสดงให้เห็นชัดเจนจากสิ�งแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ ศาสนสถานที�มีทงั� ศาลเจ้า วัดญวน วัดไทยและโบสถ์คาทอลิก ที�มีอยูภ่ ายในชุมชนและบริเวณใกล้เคียง ส่งผลให้อาคารบ้านเรือน ภายในชุมชน มีศลิ ปะสถาปั ตยกรรมที�เป็ นเอกลักษณ์ จากลวด ลายฉลุท�ีได้รบั อิทธิพลจากฝี มือช่างจีน ญวน และรูปแบบอาคารที�มีทงั� แบบตึกจีน ห้องแถวไม้ นอกจากนีย� งั มีอาคารที�ได้รบั อิทธิพลจากตะวันตกในสมัยโคโลเนียล กระจายอยูท่ �วั ไปภายในชุมชน เพลิงไหม้ครัง� ใหญ่ ในปี พ.ศ.2533 บ้านเรือนได้รบั ความเสียหายเป็ นจํานวนมากชาวชุมชนบางส่วน จึงย้ายออกไป

ในปี พ.ศ.2552-2554 จึงได้รบั การฟื � นฟูชมุ ชนด้วยความร่วมมือจากคนในชุมชน สํานักงานพาณิชย์จงั หวัด จันทบุรแี ละสถาบันอาศรมศิลป์ จึงเกิดกลุม่ อาสาสมัครในนาม ชมรมพัฒนาชุมชนริมนํา� จันทบูร ซึง� ปั จจุบนั มีคณะ ทํางาน 4-5 คน ทํากิจกรรมชุมชนภายใต้วิสยั ทัศน์ “วัฒนธรรมนําการค้า” มีการศึกษาอาคารที�ควรค่าแก่การอนุรกั ษ์ ด้วยการทํากระบวนการคัดเลือกอาคารร่วมกับคนในชุมชน โดยมีเกณฑ์การพิจารณาคือ คุณค่าทางประวัตศิ าสตร์ของ ผูอ้ ยูอ่ าศัยและอาคาร และคุณค่าทางสถาปั ตยกรรม ซึง� มีจาํ นวน 46 หลัง นํามาสูก่ ารอนุรกั ษ์สถาปั ตยกรรมอย่างเป็ น รูปธรรมคือ การปรับปรุงบ้านเลขที� 69ให้เป็ นบ้านเรียนรูช้ มุ ชน ที�มีการจัดแสดงเรือ� งราวทางด้านประวัตศิ าสตร์ วัฒนธรรม ประเพณีของชาวชุมชน ทําให้มีนกั ท่องเที�ยวเข้ามาเยี�ยมชมในปริมาณที�เพิ�มขึน�




OBJECTIVES เพื�อศึกษาอัตลักษณ์และรูปแบบงานสถาปั ตยกรรมในชุมชน เพื�อพัฒนาเป็ นพืน� ที�สร้างสรรค์ให้คนในชุมชนและนักท่องเที�ยว ได้สร้างเครือข่ายแลกเปลี�ยนความรู ้ เพื�อพัฒนาศักยภาพ และส่งเสริมอัตลักษณ์ของชุมชนให้โดดเด่นมากยิ�งขึน�



EXPECTATIONS เพื�อเป็ นที�พกั เชิงสร้างสรรค์รูปแบบใหม่ เพื�อเป็ นพืน� ที�สร้างสรรค์ให้คนในชุมชนและนักท่องเที�ยวได้สร้างเครือข่ายแลกเปลี�ยนความคิดเห็น เพื�อสร้างศักยภาพและส่งเสริมอัตลักษณ์ของชุมชนให้โดดเด่นมากยิ�งขึน�




AREA OF STUDY ศึกษาอัตลักษณ์ และรูปแบบงานสถาปั ตยกรรมในชุมชน ศึกษาประวัตคิ วามเป็ นมาและการพัฒนาของชุมชน ศึกษากิจกรรมและชีวิตความเป็ นอยูข่ องคนในชุมชน



2


COMMERCIAL DISTRICT HISTORY ถนนสุขาภิบาล และ วิถีชีวิตเมื�อ ๑๐๐ ปี ก่อน เดิมเป็ นเส้นทางคมนาคมสายหลัก ความยาว ๑ กิโลเมตร จากย่านท่าหลวงไปสิน� สุดท่านํา� ปลายถนน ตลอดเส้นทางมีบา้ นเรือนตัง� อยูส่ องฟากถนน บ้านที�ตดิ ริมแม่นา�ํ มักจะมีทา่ เรือส่วนตัว และบางบ้านก็มีท�ีดนิ มากพอจะสร้างท่านํา� เพื�อใช้เทียบท่าเรือขนส่งสินค้า ท่าเรือสาธารณะที�สาํ คัญ ๗ ท่า เรียงลําดับจากหัวถนนสุขาภิบาล ไปจนสุดถนน ได้แก่ ๑.ท่าหลวง เป็ นท่าเทียบจอดเรือ จอดแพ และท่าข้ามฟาก มีพืน� ที�กว้างเป็ นศูนย์กลางคมนาคมขนส่ง ๒.ท่าหมอทอด ท่านํา� สําหรับชุมชนบริเวณใกล้เคียง ใช้อาบนํา� ซักล้าง ๓.ท่าประชานิยม เป็ นท่าเทียบเรือยนต์ขนถ่ายสินค้า ๔.ท่าแม่ผอ่ งศรี เป็ นท่าเรือแจวข้ามฟากไปโรงสีนายมงคล ๕.ท่าศาลเจ้าที� เป็ นท่าเรือแจวข้ามฟากไปโรงสีนายหวาน ๖.ท่าวัดโรมันคาทอลิก ท่าเรือข้ามฟากสําหรับบุคคลทั�วไป ๗.ท่าตาโท ท่าเรือข้ามฟากไปยังวัดไผ่ลอ้ มสําหรับบุคคลทั�วไป การตัง� ถิ�นฐานของชาวจีนและชาวญวณในชุมชนริมนํา� จันทบูร ชาวชุมชนริมนํา� ถนนสุขาภิบาลประกอบด้วยชาวไทยพืน� เมืองชาวจีน และชาวญวน สําหรับชาวจีนในเมืองจันทบุรเี ป็ นกลุม่ คนเดินเรือเพื�อค้าขายและ กลุม่ คนที�อพยพหนีความยากลําบากจากเมืองจีนเข้ามามีทงั� จีนแต้จ�ิว จีนแคะ จีนฮกเกีย� น ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพค้าขาย เมื�อมีฐานะก็จะรวมกลุม่ กัน เป็ นสมาคมเพื�อสร้างความเข้มแข็งเป็ นปึ กแผ่นและช่วยเหลือพวกคนจีน ด้วยกันชาวจีนที�ตงั� ถิ�นฐานบนถนนสุขาภิบาลนีป� ระกอบอาชีพ ข้าราชการ ค้าขาย และรับจ้าง คนญวนในเมืองจันทร์เริม� เข้ามาในสมัยพศ 2242 มีคริสตชนชาวญวนกลุม่ หนึง� จํานวน 130 คนได้อพยพลีภ� ยั เบียดเบียนศาสนามาจากทางเรือและมาตัง� ถิ�นฐาน ที�เมืองจันทบูรต่อมามีชาวญวนอพยพเพิ�มขึน� อีกโดยติดตามพระสงฆ์ ที�สอนศาสนาและติดตามญาติพ�ีนอ้ งเข้ามา มีการตัง� บ้านเรือน กระจายกันไป ในอดีตเมื�อประมาณ 80 ปี ท�ีแล้วบ้านคนญวนเกือบทุกบ้าน จะขึงหูกทอเสื�อไว้ท�ีชนั� บ้านมีราวตากกกย้อมสี มีภาชนะย้อมสีและคนปั� นเอ็น หลังสงครามโลกครัง� ที� 2 กลุม่ คาทอลิกเชือ� สายญวนหันไปจับอาชีพทําพลอยกันมากขึน� เพราะสร้าง รายได้ดีหลังจากนัน� จึงเกิดการขาดแรงงานทอเสื�อต้องนําแรงงานจากบ้าน บางสระเก้าเข้ามาทอเสื�อในชุมชนคาทอลิก





ในชุมชนริมนํา� จันทบูรร้านค้าสองฟากถนนค้าขายสินค้า กันอย่างหลากหลาย สรุปเป็ นย่านการค้าได้ 3 ลักษณะดังนี � บริเวณย่านท่าหลวงตลาดเหนือ เป็ นศูนย์กลางการซือ� ขายแลกเปลี�ยนสินค้าจากในเมืองนอกเมืองและหัวเ มืองใกล้เคียงบริเวณนีม� ีทงั� เป็ นที�ตงั� ของสํานักงานพาณิชย์จงั หวัดร้านรับ ซือ� สินค้าทั�วไปเช่น สมุนไพร พริกไทย ถ่านขีไ� ต้ยางพารา ข้าว แป้ง นํา� ตาล ร้านทอง โรงแรม ห้องแถวสําหรับกลางคืนละ 2 บาทบ้านเช่าของหลวงราชไมตรี ร้านหมอชาน ร้านขายอาหาร บริเวณตอนกลางตลาดกลาง เป็ นศูนย์กลางการซือ� ขายในลักษณะซือ� ถูกขายแพงมีการซือ� ขายทุกอย่าง เช่น ร้านเครือ� งมือเครือ� งใช้ในการก่อสร้าง การประมง การเกษตร ร้านขายเสือ� ผ้าเครือ� งนุง่ ห่ม ร้านอาหาร แหล่งบันเทิง ร้านขายเอ็น สียอ้ มเสื�อ ร้านขายส่งเสื�อ ร้านขายเครือ� งเซ่นไหว้ ร้านขายผ้าของแขกจันทร์รา้ นขายของชํา ร้านขายยาจีน ร้านหมอ รวมทัง� ตลาดสด บริเวณตลาดล่างตลาดใต้ ส่วนหนึง� เป็ นบ้านพักอาศัยเพราะออกไปค้าขายในตลาดสดมี ร้านขายเสื�อ ร้านขายยาไทยโบราณ ร้านตีเหล็ก ร้านตัดเย็บเสือ� ผ้า ร้านเสริมสวย ร้านกาแฟ ร้านอาหาร ร้านขายของชํา ร้านขนม โรงเลื�อย โรงกลึงและการทํางานหัตถกรรมในบ้าน เช่น ทอเสื�อ ปั� นเอ็น เจียระไนพลอย ซือ� ขายพลอย เป็ นต้น






CULTURE AND TRADITIONS ศิลปะวัฒนธรรมของชุมชนริมนํา� จันทบูร ชุมชนริมนํา� จันทบูรได้อนุรกั ษ์ศลิ ปวัฒนธรรมมาแต่อดีตจนถึงปั จจุบนั และมีศาสนาสําคัญของศาสนาคือศาสนาพุทธและศาสนาคริสต์ ชาวชุมชนตลาดเหนือและตลาดกลางส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธแล ะชุมชนตลาดล่างส่วนหนึง� รวมทัง� กลุม่ บ้านญวนนับถือศาสนาคริสต์ โดยมีศาสนสถาน ตัง� อยูส่ องฟากฝั�งริมแม่นา�ํ จันทบูร ตลอดแนวถนนสุขาภิบาล ด้านวัฒนธรรม ชุมชนริมนํา� จันทบูรในอดีตมีการผสมผสานวัฒนธรรม 3 วัฒนธรรม คือวัฒนธรรมไทยจีนและญวนเห็นได้ชดั ในเรือ� งการแต่งกาย ภาษาพูด และการแต่งงานข้ามเชือ� ชาติ การแสดงงิว� เป็ นภาษาไทย ด้านประเพณี ประเพณีท�ีปฏิบตั กิ ารเป็ นประจําปี ของชุมชนริมนํา� จันทบูรได้แก่การห ล่อเทียนพรรษาการลอยกระทงการแข่งเรือและการถือศีลกินเจประกอ บพิธีบชู าดาวเสริมดวง การแห่เจ้าและการกระจัดของ 4 ศาลเจ้า การบูชาบรรพบุรุษหรือเช็งเม้งและประเพณีตกั บาตรข้าวห่อ


https://thailandtourismdirectory.go.th/



IDENTITY OF ARCHITECTURE ด้านสถาปั ตยกรรม งานสถาปั ตยกรรมมีสถาปั ตยกรรมที�นา่ สนใจมากมาย ส่วนใหญ่เป็ นบ้านเก่ามีอายุ 100 ปี ขนึ � ไป เช่น บ้านแบบจีนที�มีสถาปั ตยกรรมโดดเด่น (บ้านหลวงประกอบนิตสิ าร) บ้านทรงยุโรป (บ้านขุนบุรพาภิผล) อาคารแบบตึกฝรั�ง (บ้านหลวงราชไมตรี)บ้านไม้หลังคาทรงปั� นหยา เรือนแถวไม้ชนั� เดียวและสองชัน� เป็ นต้น

ด้านศิลปกรรม

ด้านศิลปกรรมสามารถพบเห็นศิลปะประกอบสถาปั ตยกรรม สิ�งก่อสร้างได้เกือบตลอดสองฟากถนน มีทงั� ลวดลายการแกะสลัก แบบฝรั�งเศส แบบจีน แบบไทย และแบบผสมผสานซึง� แต่ละบ้าน จะออกแบบลวดลายแตกต่างกัน เช่น ระบายชายคาไม้ฉลุ แบบขนมปั งขิง ช่องลมไม้ฉลุลายเถาดอกไม้ ราวระเบียงเหล็กหล่อลวดลายสวยงาม ระบายชายคาด้วยสังกะสีฉลุลายไทยใหญ่ ลูกกรงหน้าต่างไม้ฉลุลายจีน เป็ นต้น

สามารถจัดกลุม่ อาคารตามช่วงยุคของอาคารได้ดงั นี �

อาคารยุคแรกของชุมชน เป็ นอาคารไม้ชนั� เดียวหรืออาคารที�มีลกั ษณะเป็ นชิน� ไม้ขนาดใหญ่มีการตกแต่ง ผิวยังหยาบสันนิษฐานว่าก่อสร้างในยุคที�เครือ� งมือการก่อสร้างยังไม่ทนั สมัยมี การเข้าไม้โดยใช้เทคนิคเข้าเดือยแบบความรูช้ า่ งโบราณไม่มีการตกแต่งลวด ลายประดับอาคาร อาคารยุคกลางของชุมชน เป็ นอาคารไม้ตงั� แต่ 2 ชัน� หรืออาคารครึง� ตึกครึง� ไม้ การตกแต่งผิววัสดุ มีความปราณีตมากกว่าอาคารในยุคแรกมีการตกแต่งผิวไม้มากขึน� เริม� มีการใช้ เทคนิคการก่อสร้างแบบใหม่เช่นการใช้กาํ แพงรับนํา� หนัก (Wall beaing) มีการใช้ปนู หมักบนตําสังเกตจากการฉาบจะมีลกั ษณะของชัน� ผิวปูน ที�เห็นได้ชดั เจนมีการผสมผสานศิลปกรรมแบบจีนและญวน อาคารยุคหลังของชุมชน มีระบบการก่อสร้างที�ทนั สมัยมากขึน� มีการใช้โครงสร้างเสาคานพืน� สําเร็จ โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กเป็ นโครงสร้างที�มีขนาดเล็กกว่าโครงสร้างของ อาคารในยุคก่อนก่อนมีการใช้วสั ดุสมัยใหม่มีการตกแต่งมากขึน� พบมากบริเวณตอนกลางของชุมชน


https://architservice.kku.ac.th/wp content/uploads/2016/02/04 Kusuma.pdf https://architservice.kku.ac.th/wp-content/uploads/2016/02/04-Kusuma.pdf





รายละเอียดอาคารสมบัติรมิ นํา�







เหตุการณ์อัคคีภยั ในปี พ.ศ.2533 ส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อสถาปั ตยกรรมในชุมชน เป็ นจํานวนมาก อาคารเรือนแถวไม้ในชุมชนถูกเผา จนได้รบั ความเสียหาย ซึง� ในปั จจุบนั กลายเป็ นพืน� ที�อาคารพาณิชย์บริเวณช่วงกลาง ของถนนสุขาภิบาล นอกจากนีผ� ลกระทบจากอุทกภัยที�เกิดขึน� เป็ นประจําในทุกปี ทําให้ผคู้ นอพยพออกจากพืน� ที� ทําให้พืน� ที�การค้าขายซบเซาลงผลกระทบจากเหตุการณ์ ที�เกิดขึน� ทําให้อาคารบ้านเรือนถูกทิง� ร้าง และขาดการดูแลรักษาปล่อยให้เป็ นพืน� ที�เก็บของหรือ ห้องเช่า จากการสํารวจในปี 2552เพื�อทําการอนุรกั ษ์เก็บข้อมูล ของอาคารที�ควรทําการอนุรกั ษ์พบว่ามีอาคารในชุมชนที�ควรค่า แก่การอนุรกั ษ์อยูถ่ งึ 46อาคารแต่ดว้ ยข้อจํากัด ในหลายๆประการทัง� สิทธิอาคาร ขาดงบประมาณ ไม่มีชา่ งพืน� ถิ�นขาดความรูท้ างเทคนิควิธีกระบวนการปรับปรุง อาคารเก่า ทําให้สว่ นมากอาคารเก่าไม่ได้รบั การดูแล อย่างถูกวิธี เกิดการผุพงั ไปตามกาลเวลา

หลังการปรับปรุง หรือสร้างอาคารที�พกั ขึน� มาใหม่จากพืน� ที� เดิมจําเป็ นต้องสร้างขึน� ตามกฎหมายควบคุมอาคารที�กฎหมาย กําหนด ทําให้แบบแปลนหรือเทรนด์การก่อสร้างเป็ นรูปแบบ ในยุคสมัยใหม่ เช่น เสาด้านหน้าอาคาร โทนสี ระยะร่นจากถนนที�ทาํ ให้ตอ้ งเพิ�มพืน� ที�พกั อาศัยด้วยการเพิ�มคว ามสูงแทน อาคารที�เราพบเห็นจึงมีความสูงหลายชัน� โดดเด่นจากบริบทชุมชนเดิมในสมัยก่อนที�จะมีความสูงระดับ ใกล้เคียงกัน 1-2 ชัน� ในภายหลังเมื�อเศรษฐกิจในชุมชน เริม� ซบเซาลงคนรุน่ หลังเริม� ออกไปทํางานหรือใช้ชีวิตข้างนอก สมาชิกในชุมชนส่วนใหญ่จงึ เป็ นผูส้ งู อายุท�ีทาํ ธุรกิจส่วนตัว หรือธุรกิจแบบครอบครัวจึงพักผ่อนหรือดําเนินกิจการที�บา้ น อาคารที�สงู หลายชัน� จึงใช้งานแค่เพียงบางส่วนจึงไม่ได้มีการ ปรับปรุงอาคารอยูส่ มํ�าเสมอ ภายหลังชุมชนจึงตัง� มติรว่ มกันว่าอาคารที�สร้างขึน� ใหม่ ควรก่อสร้างไม่เกิน�ชัน� เพื�อให้เกิดระดับความสูงของอาคาร ที�เป็ นระดับเดียวกันและใช้โทนสีท�ีกลมกลืนไปกับ บริบทชุมชนรอบๆ







SITE ANALYSIS



TARGET GROUP

จากการสํารวจและเก็บข้อมูลเราพบว่ามีอาคารที�มีศกั ยภาพ เพียงพอที�จะพัฒนาให้เกิดประโยชน์ตอ่ ชุมชนได้ 5 อาคาร เนื�องจากอยูใ่ นพืน� ที�ใกล้เคียงจุดท่องเที�ยวในชุมชนมากมาย อีกทัง� ในระยะทางการเดินก็ทาํ ให้เดินชมชุมชนได้โดยทั�ว โดยในขอบเขตของโครงการเราได้เลือกไว้ 3 อาคาร อาคารที� 1 อยูท่ างเข้าหลักของชุมชนหรือเรียกว่าถนนท่าหลวง เป็ นอาคารชุด ปั จจุบนั ปล่อยให้เช่าและเป็ นที�พกั อาศัย อาคารที� 2 เป็ นอาคารปูนครึง� ไม้สองชัน� ที�มีการต่อเติม เรือนไม้ดา้ นหลัง เดิมเป็ นโกดังเก็บสินค้า อาคารที� 3 อยูบ่ ริเวณตอนกลางชุมชนเป็ นอาคารเปล่า ที�มีโครงอาคารเดิมบางส่วนและเป็ นพืน� ที�ไม่ได้ใช้ประโยชน์


SITE 1




SITE 2




SITE 3


อาคารที� 3 เป็ นพืน� ที� ที�มีศกั ยภาพเพียงพอที�จะเป็ นศูนย์กลาง การติดต่อประสานงานหรือกระจายโปรแกรมการเดินของ ชุมชน เนื�องจากว่ามีท�ีตงั� อยูบ่ ริเวณตอนกลาง อีกทัง� ยังสามารถพัฒนาเป็ นพืน� ที�ท�ีบอกเล่าถึงเรือ� งราวและ สาเหตุของการเปลี�ยนแปลงครัง� ใหญ่ของบริบทชุมชน ที�ขาดช่วงไปทําให้หากนําพืน� ที�ตรงนีไ� ปพัฒนา จะเป็ นหนึง� ในจุดแวะพักที�ทาํ ให้ผ็ทู �ีมาเยี�ยมชมชุมชนได้ใช้เวลา กับพืน� ที�ตรงนีม� ากขึน� และมีความรูค้ วามเข้าใจที�ตรงกัน ในที�มาที�ไปของรูปแบบสถาปั ตยกรรมที�เปลี�ยนแปลงไป




CASE STUDY


บ้านพักประวัตศิ าสตร์หลวงราชไมตรี โครงการ ทีต� งั� โครงการ ปี ทีส� ร้างเสร็จ พืน� ทีโ� ครงการ งบประมาณ

บ้านพักประวัตศิ าสตร์หลวงราชไมตรี ชุมชนริมนํา� จันทบูร อ.เมือง จ.จันทบุรี 2556-2557 500 ตรม. 5.8 ล้านบาท

ความเป็ นมาของโครงการ เป็ นเวลากว่า 5 ปี นับจาก พ.ศ. 2552 ทีช� ุมชนโดยชมรมพัฒนาริมนํา� จันทบูร ได้ร่วมกับสํานักงานพาณิชย์จงั หวัดจันทบุรี สถาบันอาศรมศิลป์ และหน่วยงานอืน� ๆ ดําเนินการอนุรักษ์และฟื� นฟูย่านจนเกิดเป็ น วิสัยทัศน์ “วัฒนธรรมนําการค้า” เพือ� ให้การอนุรักษ์สถาปั ตยกรรม และฟื� นฟูชุมชนเป็ นไปได้อย่างยั�งยืน สามารถรักษาวิถชี วี ติ ดัง� เดิม ของชุมชนไว้ได้ ทัง� ในมิตทิ างสังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจ โดยทีไ� ม่พฒ ั นาไปตามกระแสการท่องเทีย� วเชิงการค้า เพียงอย่างเดียว ชมรมพัฒนาชุมชนริมนํา� าจันทบูร จึงร่วมกับบริษัท ร่วมทุนรักษ์ดี จํากัด

โดยสถาบันอาศรมศิลป์ ซึง� เป็ นสถาบันการศึกษาเอกชนทีไ� ม่แสวงหาผลกําไร (Non-Profit Organization) ก่อตัง� บริษัท จันทบูรรักษ์ดี จํากัด ขึน� เพือ� เป็ นโครงการตัวอย่างของการอนุรักษ์อย่างมีส่วนร่วม เป็ นแหล่งเรียนรู้ในลักษณะชุมชนเรียนรู้พง�ึ พาตนเอง ด้วยแนวคิดธุรกิจสังคมเพือ� การอนุรักษ์ สถาปั ตยกรรมและการฟื� นฟูย่านประวัตศิ าสตร์ (Social Enterprise for Architectural Conservation and Revitalization Historic District) เริ�มจากการเปิ ดระดมทุนจากชาวชุมชน ชาวจันทบุรี และบุคคลทั�วไปทีม� เี จตนารมณ์ร่วมกันซึง� ปั จจุบนั มีผู้ถอื หุน้ มากถึง 501 ราย เพือ� ปรับปรุ งบ้านหลวงราชไมตรีให้เป็ น � กั ในรู ปแบบบ้านพักประวัตศิ าสาตร์ แหล่งเรียนรู้ชุมชนและทีพ (Historic Inn) ด้วยงบประมาณ 8.8 ล้านบาท โดยรายได้บางส่วนจากการดําเนินกิจการ จะถูกนํามาใช้ประโยชน์เพือ� การพัฒนาชุมชนในระยะยาว




รรม � นชี

าปั

ชี

� น าปั

รรม

ุ า าร าร นุรั ปรับปรุ บาน ราช ม รีใ ปนบานพั ปร ั ศา ร ราช ม รี น จ าร ั ม ปน ร ม าํ ั าํ รับ าร ับ น าร นุรั พั นาชุมชนรมนํา� จันทบูร น จา ปา มา ที ทจร ร าร มใช าร าํ นน าน พ าํ รจ ช ุร จ า ปน ร ม ใ ารมี นร ม พ ารรั า ชี ี ชุมชน รม าม ปน จา พน� ที นในท น ร ม ปน บบ า ร บัน า ใจ นในชุมชนใ ารรั าบาน น จนนํา ป ู ารปรับปรุ บาน นใ ปน รี นรู ใ ชุมชนนีม� พ ี น� ทีศ า รี นรู ร จา ั ูทั ชุมชน ใ ุ าทั� ใน ช ชา าร ั ม ศร จ พน� ทีนทรรศ าร ชั�น า บบใ ปนพน� ที นรับ น นทรรศ าร ทาน ราช ม รี จั ั านทา บรา ี ที ร าร ทํา าร ุ นพบ พ าร รี นรู ชา ชุมชน บุ ทั ป พน� ที รา รา พั ปนพน� ที รา รา ั ใ ร าร บบใ พน� ทีใช ที ุม าใน ร บ า าร ม ทีมี ามจํา ั าร บบ พั ใ มีชั�น พ ใชศั าพ านที า ทา ั� า าร มใ ุม า ปร บ ับ ารใช ร รา บา พ าร ใน าร พมนํา� นั ใ ั า าร ม บ ุมรา า า รา ใ ูใน บปร มา บบ

าร

าม มา

รั า บบใ าปั รรม ามาร าม มา ใ นรุ น ั มีพน� ที รี นรู รู ป บบ ปร บ ท น าร รา าปั รรม บรา ัน ปน มู ปั า นใน ี าร าน ร ั า ม ม นั าบปูน มั ั ปูน าํ พน� ม ปน มใน ั บร บัน ชั�น 2 ารใ

ามรู บบ 2 พั จา 2 ร รา ชี ราช ม รี มี าร าํ ั ู จั ใน พั พ ปน าร าม มา รี นรู ุ า ปร ั ชี ราช ม รี ู ูมา น นรุ น ั


AMDAENG Riverside Boutique Hotel


บูทคี โฮเทลทีไ� ด้รับแรงบันดาลใจจากสถาปั ตยกรรมแบบ ย้อนยุคสมัยรัชกาลที� 5 ทีม� กี ารตกแต่งดีไซน์ภายใน สไตล์ไทยประยุกต์ ผสมผสานความเป็ นไทย จีน และตะวันตก Copy Writer และ Art Director � กั เกิดความสนใจและต้องการทําให้พนื� ทีแ� ห่งนีเ� ป็ นทีพ ติดริมแม่นา�ํ เจ้าพระยา ทีม� ี Concept บอกเล่าถึงบรรยากาศ ของตัวโรงแรมว่าเป็ น The Most Romantic Hotel in Bangkok สีแดงชาดซึง� เป็ นสีหลักในการสื�อถึงตัวโรงแรม ถูกทาทับไปทั�วทุกองค์ประกอบหลักๆ ของสถาปั ตยกรรม ทัง� เสา คาน พืน� ผนัง เพดาน รวมถึงทัง� ภายนอกและภายในอาคาร หากมองจากอีกฝั� งแม่นา�ํ จะเห็นอาคารสีแดงเด่นออกมาจากบริบทอย่างชัดเจน และหากมองจากทางเข้าหลังจากผ่านซอกซอยซับซ้อน จะเห็นภาพของอาคารค่อยๆ ลาดและก่อรู ปทรงเป็ นก้อนปูนสีแดงตัง� สูง ตามแนวความคิดของสถาปนิกทีต� อ้ งการให้อาคารรู้สึกคล้ายเป็ นประติมากรรมทีร� วมกันเป็ นเนือ� เดียว และมีผู้คนอาศัยอยู่ภายใน

ในการออกแบบตกแต่งร้านอาหาร มีเลือกใช้โทนสีและวัสดุของร้านอาหารเน้นความเรียบง่ายขึน� แ ต่ยังรุ่มรวยด้วยศิลปะ โดยมีคยี เ์ วิรด์ คือคําว่า “Blue and White” ซึง� เป็ นสีของกระเบือ� งลายครามของจีน ทีน� ักออกแบบต้องการสะท้อนถึงบรรยากาศของชุมชนจีน และความเก่าแก่ไปพร้อมกัน

https://www.baanlaesuan.com/90546/design/lifestyle/hotels/amdaeng-hotel




ใน าร

รา ามาร จํา น

บบ

น าม าํ า ั ั

รู ป บบ

ั ั ทา ศ ป าปั รรม จ ู นํามาใชใน าน บบ จา ทีชุมชนมี ู ร รับมา พ ปน ารรั า รู ป บบ าร า ร จา าร ปร ั ศา ร ร ร รา มใ นชั น� ั ั าร าํ นนชี ร รู ป บบ าร าํ นนชี ที รี บ า าม บบ ชี ี รมนํา� ทําใ รา ทํา ที ั� ร ารใน รู ป บบ า มี า ารที ปน ร รม รู ป บบ บรร า าศ าร าพั นั�น า ัน น จา นี� ั ปนปั จจั ั า ทํา มจ มี ร รมใน ร าร พ ใ นั ท ที า ใช าท ที รี นรู ชุมชน ปน านาน มี ี าร าํ นนชี ร พั นใน บบ ชา ชุมชนรมนํา� จันทบูร

MOOD AND TONE าร จา บรร า พ ใ

ใช ทน ีใน านจ จา บรร า าศ ร ีทพบ ี า าศ รา ร ใชที ามาร พบ ในชุมชน ม น ป ามรู ป บบชุมชน ม ั บรบทร บ า

PROGRAMMING

HOTEL

EXHIBITION

RESTAURANT

WORKSHOP

HOTEL

INFORMATION CENTER

SOUVENIR SHOP



SITE 1





Public Space

Staff Area

Room


PERSPECTIVE

RECEPTION

LOUNGE


LOUNGE

LOUNGE AND DINING AREA


DINING AREA

ที�มา :re t e o . o

ison- r t

DINING AREA

ที�มา :re t e o . o

ison- r t

SUITE ROOM


LOUNGE AND DINING AREA


SITE 2




Public Space

Staff Area

Room


SITE 3


MOOD AND TONE


Library

Cafe พน� ทีจั นทรรศ าร ปร ชุม ัมมนา จั จ รรม า





บทสรุ ป และ ข้อเสนอแนะ บทสรุ ปผลการออกแบบ หลังการเก็บข้อมูลลงพืน� ทีไ� ด้เรียนรู้หลายอย่างจากการเลือกทําหัวข้อนี� การรับฟั งความคิดเห็นทีห� ลากหลายของคนในชุมชน สมาชิกตัวแทน นักท่องเทีย� ว ทําให้ได้ทราบว่าควรจะคิดโปรแกรมมิง� ใดขึน� มาเสริม หรือเพิม� เติมให้กับชุมชน การใช้เวลานั�งพูดคุยแลกเปลี�ยนกัน กับสมาชิกในชุมชนทําให้ทราบว่าเราจะนําเสนอเรื�องราวออกมาให้ ถูกต้องได้อย่างไรนอกจากนีย� ังได้เรียนรู้ประวัตขิ องชุมชนอย่างละเอียด และเลือกรู ปแบบโครงการได้โดยคนในชุมชนให้ความสนใจและยอมรับ ในส่วนของงานออกแบบทีอ� อกมายังมีส่วนต้องปรับปรุ งคือ อัตลักษณ์ของงานยังไม่ชัดเจนมากพอ อย่างเช่นการพัฒนางาน ยังสามารถพัฒนาได้มากกว่าทีค� วร ข้อเสนอแนะ -


RESEARCH REFERANCE SOURCE : https://www.bkkmenu.com/eat/stories/10boutique-thaithemehotels.html SOURCE : https://readthecloud.co/jungguangaun-chanthaburi/ SOURCE : https://www.greenery.org/articles/chantaburi/ SOURCE : http://www.baanluangrajamaitri.com/progress/ SOURCE : http://digital.nlt.go.th/digital/files/original/27fdd3980748be4739c5ac6959575733.pdf SOURCE : https://architservice.kku.ac.th/wp-content/uploads/2016/02/04-Kusuma.pdf SOURCE : https://www.thetrippacker.com/th/review SOURCE : https://www.arsomsilp.ac.th/baan-luang-rajamaitri-historic-inn/ SOURCE : https://www.baanlaesuan.com/90546/design/lifestyle/hotels/amdaeng-hotel SOURCE : http://www.amdaeng.com/ SOURCE : https://db.sac.or.th/museum/museum-detail/819 SOURCE : วิทยานิพนธ์การศึกษาอัตลักษณ์ทางสถาปั ตยกรรมของชุมชนริมนํา� จันทบูรเพื�อเป็ นแนวทางการออกแบบ

สภาพแวดล้อมภายในร้านค้า ปุณยนุชวิภา เสนคํา และเอกพล สิระชัยนนท์ SOURCE : หนังสือ PARTICIPATORY ARCHITECTURE FOR CHANGE โดยสถาบันอาศรมศิลป์


CURRICULUMVITAE ปร ั ูทําศ ปนพน ช -นาม ุ ัน น ปี า ุ ที ู าํ บา มุ ทรศัพท -

นา า บ า า า ุ รร า ม 254 2 ปี 2 มู าํ บ า ม จั ั ช บุรี 2 5 - 5- 2 . .

ารศ า นั ศ าชั�นปี ที 4 า า บบ า ใน ท า ั าร บบ ม า ท า ั รั



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.