ศูนย์ศลิ ปะพัฒนาสมอง
RESEARCH TOPICS PROJECT BACKGROUND OBJECTIVE EXPECTATION AREA OF STUDY TAGET GROUP ACTIVITY/TIME LINE RESEARCH METHODOLOGIES RESEARCH REFERENCES RESEARCH SCHEDULE LOCATION OF RESEARCH DESIGN CONCEPT CASE STUDY
ก 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
คณะศิลปะและการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต ชื่อโครงการ ประเภทของงาน ผู้ดาเนินงาน ที่ปรึกษาโครงการ
ศูนย์ศลิ ปะเด็ก ประเภทงานออกแบบตกแต่งภายใน (INTERIOR DESIGN) นายสรวิศ เตชะกาพุต 5502539 นักศึกษาชันปี ้ ที่ 4 คณะศิลปะและการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต อาจารย์ เรวัฒน์ ชานาญ
(ที่มาและความสาคัญ) “ เด็กปฐมวัย” หมายถึง เด็กที่มีอายุตงแต่ ั ้ แรกเกิดจนถึง 8 ปี ในประเทศไทยมีเด็ก ระดับปฐมวัยอยู่ประมาณ 2,704,945 ล้ านคนที่พร้ อมรับการศึกษา ซึง่ อยู่ในวัยที่คณ ุ ภาพของชีวิต ทังด้ ้ านร่ างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญากาลังเริ่ มต้ นพัฒนาอย่างเต็มที่ รับรู้ สิ่งต่างๆได้ ง่าย ไม่สามารถแยกแยะสิ่งที่ ถูก และสิ่งที่ไม่ถูกเองได้ ว่า เป็ นระยะที่สาคัญที่สุดของชีวิต นักจิตวิทยา นาม ซิก มันด์ ฟรอยด์ ได้ กล่าวถึงความสาคัญ ของเด็กในวัยนีว้ ่า “วัยเริ่ มต้ นของชี วิตมนุษย์ คือ ระยะ 5 ปี แรกของคนเรา ประสบการณ์ ต่าง ๆ ที่ได้ รับในตอนต้ น ๆ ของชีวิตจะมีอิทธิพลต่อชีวิต ของคนเราตลอดจนถึงวาระสุดท้ าย” ศิลปะให้ ประโยชน์อย่างมากต่อการพัฒนาเด็ก ในทุก ๆ ด้ าน ศิลปะช่วยให้ เกิดการ พัฒนาสติปัญญา พัฒนาความคิด สร้ างสรรค์ พัฒนาสมาธิพฒ ั นาจิตใจ รวมถึงการพัฒนาสังคม ศิลปะจึงสาคัญต่อพัฒนาการของเด็ก จึงนาศิลปะเข้ ามาผสมผสาน กับการศึกษา และการเล่น เพื่อให้ เกิดการเรี ยนรู้ ในรู ปแบบใหม่ที่ส่งเสริ มพัฒนาการเด็กปฐมวัย จึงได้ นาเกมเตอร์ ตสิ ซึง่ เป็ นเกมที่เล่น แล้ วเกิดประโยชน์ ต่อการพัฒนาสมอง ทังการ ้ อ่าน ความคิด ความมีวนิ ยั มารวมกับศิลปะ ทาให้ เกิดการเล่นเพื่อการเรี ยนรู้ ในรู ปแบบใหม่ขึ ้นมา จากที่กล่าวมาข้ างต้ น ทาให้ เกิดโครงศูนย์ศิลปะสาหรั บเด็ก ขึ ้นมาเพื่อพัฒนาการ ในรู ปแบบใหม่ เพื่อให้ เด็กปฐมวัยในปั จจุบนั มีสามารถเล่น ไปพร้ อมกับการศึกษาไปพร้ อมกัน ซึง่ ทาให้ เด็กปฐมวัยมีพฒ ั นาการที่ดีอีกด้ วย
(วัตถุประสงค์) 1.โครงการนี ศ้ ึก ษาค้ น เกี่ ยวกับพัฒนาการเด็ก ปฐมวัย เพื่ อ ศึกษา และพัฒนา พัฒนาการในแต่ละด้ านของเด็กปฐมวัย 2.ค้ นหาการเล่นที่สามารถนามาประยุคใช้ ร่วมกับการศึกษาได้ โดยการนาเกมเตอร์ ติส ซึ่งมีประโยชน์ต่อการพัฒนาเข้ ามามี ส่วนร่ วม 3.ศึกษาประโยชน์ ของศิลปะเพื่อพัฒนาการ และศิลปะเพื่ อ การบาบัดแล้ วนามาใช้ พฒ ั นาเด็กปฐมวัย 4.เพื่ อ ให้ พ่ อ แม่ ผู้ ปกครอง ได้ ท ราบถึ ง ความส าคัญ ของ พัฒนาการเด็กในระดับปฐมวัย 5.แสดงให้ รู้ ว่ า การเล่ น ของเด็ ก ปฐมวัย เป็ นสิ่ ง ส าคัญ ต่ อ พัฒนาการที่จะส่งผลต่อไปในอนาคต
(สิ่งที่คาดหวังว่าจะให้ เกิดขึ ้น) 1.ผลการวิจัย ครั ง้ นี ท้ าให้ ทราบถึง พัฒ นาการของช่ว งเด็ก ปฐมวัย และวิธีการพัฒนาในแต่ละด้ านอย่างเหมาะสม 2.ผลการวิจยั ครัง้ นี ้ เป็ นแนวความคิดและประโยชน์ที่ช่วยให้ คุณ ครู พ่ อ แม่ผ้ ูปกครองที่ เกี่ ยวข้ อ งกับ เด็กปฐมวัยใช้ เ ป็ น แนวทางในการเลื อ กท ากิ จ กรรมและวิ ธี ก ารเล่ น ส่ ง เสริ ม พัฒนาการให้ กบั เด็ก 3.ได้ ทราบถึง ประโยชน์ ข องการเล่น เกมเตอร์ ติส และการ สร้ างผลงานศิลปะในแขนงต่างๆ ช่วยส่งเสริ มพัฒนาการ อีก ทังยั ้ งสามารถบาบัด ผู้ป่วยได้ อีกด้ วย
(ขอบเขตการศึกษา) ส่ วนเนือ้ หาที่จะศึกษา 1.ศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการของเด็กปฐมวัย 2.ศึกษาศิลปะเพื่อพัฒนาการ และศิลปะเพื่อการบาบัด 3.ศึกษาประวัตเิ ตอร์ ตสิ และประโยชน์ 4.รู ปแบบการใช้ งานของสถานที่เรี ยนพิเศษและนิทรรศการ 5.นาข้ อมูลทังหมดมาวิ ้ เคราะห์ข้อมูล เพื่อเป็ นแนวทางในการ ออกแบบภายในอาคาร ส่ วนพืน้ ที่ภายในอาคาร -แผนกต้ อนรับ -ส่วนจับแสดงนิทรรศการ 3เดือน 6เดือน 1ปี -ห้ องน ้า -ห้ องสาหรับทากิจกรรมการเรี ยนการสอน -พื ้นที่สาหรับกิจกรรมการเล่น -โถงทางเดิน -ส่วนพักคอย
(กลุ่มเป้าหมาย) กลุม่ เป้าหมายคือ เด็ก ผู้ปกครอง และผู้ที่สนใจงานศิลปะ สามารถเข้ าชมนิทรรศการแห่งนี ้ได้ ทกุ เพศทุกวัย
(กิจกรรมและช่วงเวลา)
11
12
1 2
10
1 DAY
9
3
8
4 7
STUDY ZONE
6 OPENING
5 PLAY ZONE
(ระเบียบวิธีวิจยั ) 1.ศึกษาข้ อมูลเกี่ยวกับ ข้ อมูลเด็กปฐมวัย 2.ศึกษาข้ อมูลเกี่ยวกับ พัฒนาการของเด็กปฐมวัย 3.ศึกษาข้ อมูลเกี่ยวกับ ศิลปะจากการวาดเขียน ลงสี ปั น้ พับ ประดิษฐ์ 4.ศึกษาข้ อมูลเกี่ยวกับ ประวัตคิ วามเป็ นมาของเกมเตอร์ ตสิ 5.ศึกษาข้ อมูลเกี่ยวกับ ศิลปะเพื่อพัฒนาการและการบาบัด 6.ศึกษาข้ อมูลเกี่ยวกับ วัสดุที่เหมาะสมกับเด็ก 7.ศึกษาข้ อมูลเกี่ยวกับ นิทรรศการและการจัดแสดง 8.ศึกษาข้ อมูลเกี่ยวกับ โรงเรี ยนและสถานที่เรี ยนพิเศษ 9.ศึกษาข้ อมูลเกี่ยวกับ ของเล่นที่เหมาะสมกับเด็ก 10.ศึกษาข้ อมูลเกี่ยวกับ ฟั งค์ชนั่ ของศูนย์ศลิ ปะและการจัดแสดง
(แหล่งข้ อมูลอ้ างอิง) ข้ อมูลจากวิทยานิพนธ์ นางสาวอุไรวรรณ มาตมุงคุณ. (2554). พัฒนาการด้ านการเขียนของเด็กปฐมวัยที่ได้ รับการ จัดกิจกรรมศิลปะจากกระดาษ. ปริ ญญาการศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นวิโรฒ นางสาวกมลวรรณ จันทวร. (2555). การบริ หารจัดการหอศิลป์ของรัฐในประเทศไทย. ปริ ญญาศิลปะมหาบัณฑิต, สาขาวิชาทฤษฎีศลิ ป์ คณะจิตรกรรมประติมากรรมภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร นางสาวเพ็ญศรี สุริยะป้อ. (2552). การใช้ กิจกรรมทางภาษาเพื่อพัฒนาความคิดสร้ างสรรค์ของ เด็กปฐมวัย. ปริ ญญาศึกษาศาสตร์ มหาบัณฑิต, สาขาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ข้ อมูลจากบทความหนังสือ
นายแพทย์ทวีศกั ดิ์ สิริรัตน์เรขา. (2550). ศิลปะคือการพัฒนา และศิลปะคือการบาบัด. ศิลปะ บาบัดศาสตร์ และศิลป์แห่งการบาบัด. (หน้ า 14-60). กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์ครุ ุ สภาลาดพร้ าว
ข้ อมูลจากฐานข้ อมูลออนไลน์ นางสาวบุษยรัต รุ่ งสาคร. ศิลปะกับการพัฒนาเด็ก. (ออนไลน์). เข้ าถึงได้ จาก : http://www.nicfd.cf.mahidol.ac.th. (วันที่ค้นข้ อมูล : 3 ตุลาคม 2558) นางสาวประไพ ประดิษฐ์ สขุ ถาวร. (2555). พัฒนาการตามวัย. (ออนไลน์). เข้ าถึงจาก: http://taamkru.com/. (วันที่ค้นข้ อมูล : 3 ตุลาคม 2558) นายสมพร ช่วยอารี ย์. (2550). วิเคราะห์กระบวนการอ่านเร็ ว ด้ วยกระบวนเกมส์ Tetris. (ออนไลน์). เข้ าถึงได้ จาก: https://www.gotoknow.org. (วันที่ค้นข้ อมูล : 3 ตุลาคม 2558)
(แผนการดาเนินงานวิจยั ) 31-08-58 04-09-58 11-09-58 15-09-58 25-09-58 28-09-58 02-10-58 09-10-58 12-10-58
เสนอหัวข้ อกับอาจารย์ที่ปรึกษา ปรับปรุ งหัวข้ อที่อาจารย์ให้ คาแนะนา รวบรวมข้ อมูลทังหมดเพื ้ ่อนาเสนอ นาเสนองาน ต.1 นาข้ อมูลที่อาจารย์แนะนามาปรับปรุ ง นาข้ อมูลที่หาเพิ่ม พูดคุยกับอาจารย์ ที่ปรึกษา ค้ นหาข้ อมูลเพิ่มเติม นาข้ อมูลทังหมดรวบรวมเพื ้ ่อนาเสนอ นาเสนองาน ต.2
(สถานที่ตงโครงการ/วิ ั้ เคราะห์พื ้นที่โครงการ)
- สถานที่ตงโครงการ ั้ - TERMINAL 21 - เส้ นทางรถไฟฟ้าBTS - สถานี BTS อโศก
- สถานี MRT สุขมุ วิท - ถนนสุขมุ วิท สถานที่ตงั ้ 354 ถนน สุขมุ วิทแขวง คลองเตย เขต คลองเตย กรุ งเทพมหานคร 10110
รถประจาทาง -23 25 38 40 ปอ.1 ปอ.8 ปอ.11 ปอ.13 ปอ.125
(แนวความคิดในการออกแบบ)
(กรณีศกึ ษา)
KIDSMUSEUM พิพิธภัณฑ์เด็ก กรุ งเทพมหานครฯ แห่งนี ้ตังอยู ้ ่บริ เวณสวนจตุจกั รเข้ าชมฟรี แต่ต้องมากับ ครอบครัว มีการตรวจคนเข้ าออกอย่างมาตรฐาน ใช้ สีสนั ในการออกแบบตัวอาคาร พื ้นที่ แบ่งเป็ นโซนต่างๆอย่างครบครัน ทังโซนศิ ้ ลปะ โซนสวนน ้า และโซนค้ นหาตัวเอง เหมาะ สาหรับเด็กปฐมวัย
นิทรรศการบล็อกสีน ้าเงิน จัดขึ ้นที่พิพิธภัณฑ์แห่งชาติสหรัฐอเมริกาที่ Manhattan ออกแบบโดย David Rockwell การนาบล็อกของเล่นที่มีหลากหลายรูปแบบมาใช้ สร้ างจินตนาการของเด็กโดยให้ เด็กต่อบล็อกเป็ นรูปอะไรก็ได้ ตามที่ต้องการ
ร้ านขายเลโก้ ที่กรุงเบอร์ ลิน ประเทศเยอรมัน ภายในร้ านออกแบบทุกส่วนจากการ นาเลโก้ มาประกอบกัน จัดชันวางเป็ ้ นส่วนๆ และใช้ สีเหลืองที่ทาให้ ร้ ูสกึ สนุกสนาน ตัดกีบสีขาวไม่ให้ ดฉู ดู ฉาดเกินไป