5504582 นางสาววจี รินตัน

Page 1

โ ค ร ง ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ อ อ ก แ บ บ เ ล้ า ข้ า ว เ พื่ อ นา ไ ป สู่ ร้ า น อ า ห า ร ไ ท บ้ า น T H A I

B A A N

R E S TA U R E N T


โครงการศึกษาและออกแบบเล้ าข้ าวเพื่อนาไปสู่ร้านอาหารไทบ้ าน T H A I

B A A N

R E S TA U R E N T

ผู้ดาเนินงาน นางสาววจี รินตัน รหัส5504582 นักศึกษาชัน้ ปี ที่4 คณะศิลปะและการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน


1.หัวข้ อการทาศิลปะนิพนธ์ โครงการศึกษาและออกแบบเล้ าข้ าวเพื่อนาไปสูร่ ้ านอาหารไทบ้ าน

2.ที่มาของโครงการ เนื่องจากประเพณีและวัฒนธรรมของภาคอีสานเกี่ยวกับข้ าวและยุ้งฉางข้ าว ที่ปฏิบตั สิ ืบต่อกันมาตังแต่ ้ รุ่นบรรพบุรุษจะ

ค่อยๆ เลือนหายไป จนคนรุ่นหลังไม่คอ่ ยทราบกันแล้ วว่าแต่ก่อนที่มาที่ไปกว่าจะมาเป็ นเมล็ดข้ าวได้ นนั ้ มันมีเรื่ องราวประเพณี และวัฒนธรรมอยูร่ ะหว่างวิชีวิตของคนอีสานยังไง เมื่อสังคมปัจจุบนั มีความทันสมัยทางด้ านเทคโนโลยีเข้ ามา จึงเกิดแทรกแซง ระหว่างประเพณีและวัฒนธรรมเกี่ยวกับยุ้งฉางข้ าว ทาให้ มีการลดทอนทางประเพณีและวัฒนธรรมลงไปเรื่ อยๆและกาลังจะ หายไป ทาให้ เกิดยุ้งฉางข้ าวร้ าง ชาวนาไม่ทานาเหมือนแต่ก่อนทังๆที ้ ่แต่ก่อนท้ องทุง่ เคยเป็ นอูข่ ้ าวอูน่ ้าสาหรับคนอีสาน ซึง่ ทาให้ ชุกคิดขึ ้นมาว่าถ้ าปล่อยให้ เป็ นอย่างนี ้ ประเพณีและวัฒนธรรมที่ดีคงสูญหายไป จึงอยากจะชุบชีวิตยุ้งฉางข้ าวเก่าๆร้ างๆให้ กลับมาอีกครัง้

3.วัตถุประสงค์ ต้ องการสืบสาน อนุรักษ์ประเพณีและวัฒนธรรมเกี่ยวกับยุ้งฉางข้ าวของ ภาคอีสานที่กาลังจะเลือนหายไป ออกมาในรูปแบบการออกแบบ ภายใน

4.สิ่งที่คาดว่ าจะเกิดขึน้ หรื อผลที่จะได้ รับ ให้ ประเพณีและวัฒนธรรมเกี่ยวกับยุ้งฉางข้ าว เป็ นสิ่งที่จบั ต้ องได้ มองเห็นได้ ไม่ เลือนลางหายไป ให้ แก่คนรุ่นหลังได้ ดแู ละได้ รับรู้

5.ขอบเขตของการศึกษา -ศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบโครงสร้ างยุ้งฉางข้ าวและข้ อมูลที่เกี่ยวเนื่องกับยุ้งฉางข้ าว วัฒนธรรมที่เกี่ยวกับข้ าว -ศึกษาวัฒนธรรม ภูมิปัญญาการการดารงชีวิตของคนอีสาน

6.กลุ่มเป้ าหมาย บุคคลทัว่ ไป

1



FOOD HISTORY TIMELINE

พ.ศ. ๒๐๖๙

พ.ศ. ๒๑๔๓ พ.ศ. ๒๐๙๖ คนที่ทาให้ พริ กแพร่หลาย ในโลกคือ ปี เตอร์ มาร์ ทิล ซึง่ เป็ นลูกเรื อของ คริ สโต เฟอร์ โคลัมบัส ผู้ค้นพบ ทวีปอเมริ กา นัน่ เอง โดย ปี เตอร์ มาร์ ทิล ได้ เอาพริ ก จากทวีปอเมริ กาซึง่ เป็ น แหล่งต้ นกาเนิด ไปปลูกที่ สเปน เมื่อประมาณปี พ.ศ. ๒๐๙๖ ตรงกับรัชสมัยของ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๓ แห่งราชวงศ์สพุ รรณภูมิ ของกรุงศรี อยุธยา

ต่อมาชาวสเปนและชาว โปรตุเกสได้ นาพริ กเข้ ามา เอเชีย โดยปลูกในอินเดีย ประมาณปี พ.ศ. ๒๑๔๓ ซึง่ ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จ พระมหาธรรมราชาแห่ง ราชวงศ์สโุ ขทัยของกรุงศรี อยุธยา อินเดียเป็ นประเทศที่ร่ ารวย ในวัฒนธรรมการกินได้ ผลิต อาหารรสจัดและเป็ นเจ้ า ตารับเครื่ องแกงพริ กที่มีรส เผ็ดก็คงถูกปรับเข้ าไปเป็ น องค์ประกอบของอาหาร เหล่านันและได้ ้ เผยแพร่ วัฒนธรรมการกินไปยังผู้คน ในประเทศใกล้ เคียงในเวลา ต่อมา

ในปี พ.ศ. ๒๑๔๓ พริ ก จากอินเดียได้ แพร่หลายเข้ า ไปในประเทศจีนและในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ซึง่ คง รวมถึงไทยด้ วย ถ้ ายึดถือตามข้ อมูลดังกล่าว ก็นา่ จะสันนิษฐานว่า คนไทย รู้จกั ”พริ ก” เมื่อประมาณ ๔๐๕ ปี ที่ผา่ นมาฉะนัน้ คนใน สมัยสุโขทัยและอยุธยา ตอนต้ น ไม่นา่ จะรู้จกั พริ กและ คงไม่ได้ ลิ ้มรสเผ็ดของพริ กแต่ อย่างใด อาหารของคนสมัย นันจึ ้ งน่าจะ “จืด” ไม่เผ็ดร้ อน เหมือนทุกวันนี ้

ตามเอกสารของกระทรวง ต่างประเทศโปรตุเกสได้ ระบุ ชัดเจนว่า มะละกอมีถิ่นกาเนิดที่ เทือกเขาแอนดีส แต่บางเอกสาร บอกว่ามะละกอมาจากเม็กซิโก หรื อหมูเ่ กาะอินเดียตะวันตก บ้ าง ก็วา่ มะละกอมีถิ่นกาเนิดในทวีป อเมริ กากลางบริ เวณประเทศ เม็กซิโกตอนใต้ และคอสตาริ กา อีกเอกสารหนึง่ ยืนยันว่าสเปนได้ นามะละกอมาจากฝั่งทะเล แคริ บเบียนของปานามาและ โคลัมเบีย เมื่อปี พ.ศ. ๒๐๖๙ เอกสารของสเปนได้ ให้ รายละเอียดว่า ค็อนควีสทะดอร์ ส หรื อเหล่านักรบสเปนที่มีชยั เหนือ เม็กซิโกและเปรู เป็ นผู้นามะละกอ จากสเปนไปปลูกที่เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ โดยเรี ยกว่าเม ลอน ซาโปเต้

พ.ศ.๒๓๑๔ ในช่วงปี พ.ศ. ๒๓๑๔ อันเป็ นช่วงที่กรุงธนบุรี เป็ น ราชธานีได้ มีรายงานของ นายลินโซเตน ซึง่ เป็ น นักท่องเที่ยวชาวดัตช์วา่ คน โปรตุเกสได้ นามะละกอมา ปลูกที่มะละกา จากนันจึ ้ ง นาไป ปลูกที่อินเดียส่วนอีกทาง หนึง่ ได้ ขยายไปปลูกที่ อินโดนีเซีย มาเลเซียและ ไทย สาหรับประเทศไทยนัน้ คาดกันว่ามะละกอจะเข้ า มาหลายทางอาจจะเข้ ามา ภาคใต้ หรื อเข้ ามาทางอ่าว ไทย


เครื่ องปรุ ง & วัถุดบิ


รสชาติชีวติ กับรสชาติอาหารที่มาพร้ อมสีสันผสมกลมกล่ อมให้ เป็ น “รสชาติท่ ีดีและสวยงาม”


COLOR


หมวดหมู่อาหารอีสาน ก้อย แกงเปอะ ข้าวจี่ ข้าวเหนี ยว แจ่วบอง ลาบ ป่ น ยา ปิ้งย่าง ต้มแซ่บ

ส้มตา สะเออะ จุ๊ จา้ ไส้กรอก อีสาน หมกหมา่ อ๋อ อ่อม อู๋


IDENTITY


IDENTITY

CHAINA

VIETNAM


IDENTITY

JAPANESE

KOREA


สิน้ สุดของการเก็บเกี่ยวและการทานา “สู่ย้ ุงฉางข้ าว” สถานที่เก็บผลผลิตให้ มีคุณภาพ จากความคิดสร้ างสรรค์ ของคนยุคเก่ าสู่ปัจจุบนั การเห็นสิ่งสาคัญของคุณค่ าที่เก็บข้ าว ให้ สมบูรณ์

ยุ้ง + ฉางข้ าว คือ ? ยุ้ง : โรงเก็บข้ าวเปลือกประจาบ้ าน. ฉาง:โรงขนาดใหญ่ เป็ นที่เก็บข้ าวและเกลือ ภาษาเรี ยกประจาภาค ภาคเหนือ : หลองข้ าว ภาคอีสาน : เล้ าข้ าว ภาคกลาง : ยุ้งฉางข้ าว ภาคใต้ : ลอมข้ าว


วิ ถี ชี วิ ต ป ร ะ เ พ ณี แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม “ ยุ้ ง ฉ า ง ข้ า ว ” มี อ ะ ไ ร บ้ า ง การสีข้าว การตีข้าว

เก็บเมล็ดพันธ์ ข้าวที่จะปลูกในรอบถัดไป

การตาข้ าว ทาบุญยุ้งฉางขอพระแม่ โพสพ เอาไว้ ขาย และ เก็บไว้ กินเอง เอาไว้ เก็บข้ าว ให้ ข้าวมีประสิทธิภาพ สมบูรณ์ เลีย้ งเป็ ด ไก่ หมู ไว้ ใต้ ย้ ุงฉางข้ าว


ร้ อยเรื่องราว...จากยุ้งฉางข้ าวโบราณ (เล้ าข้ าว)

ยุ้งฉางข้ าวชั่วคราว ยุ้งฉางข้ าวที่พบในปั จจุบนั

ยุ้งฉางข้ าวที่ทาจาก ไม้ + สังกะสี

ยุ้งฉางข้ าวไม้ ไผ่

ยุ้งฉางข้ าวที่ทาจากไม้ เนือ้ แข็ง


องค์ ประกอบของยุ้งฉางข้ าว ไม้ ขัดกันเสา

เสาไม้ ไม้ ขัดกันเสา

เสาไม้


โครงสร้ างยุ้งฉางข้ าว (เล้ าข้ าว)

ไม้ ขัดกันเสา

เสาไม้ ไม้ ขัดกันเสา

เสาไม้


ประเทศฟิ ลิปปิ นส์

ประเทศลาว

ประเทศ อินโดนีเชีย ประเทศพม่ า

ประเทศมาเลเซีย


ที่อยู่อาศัยของคนอีสาน ที่เรี ยกว่ า “เฮือน”

12


LIFESTYLE


ครกตามือ สำหรับประเภทของครกตำข้ำวนัน้ มี อยู่ 2 ประเภท คือ ครกมือ และครกมองหรื อครกกระเดื่อง “ครกมือ” มี ส่วนประกอบทีส่ ำคัญ คือ ตัวครก และตัวสำก ตัวครกทำจำกท่อนไม้เนือ้ แข็งมี ควำม ยำว 80-90 เซนติ เมตร เส้นผ่ำศูนย์กลำง 50-60 เซนติ เมตร ใช้ขวำนเจำะเป็ นร่ องลึกตรง กลำงแล้วนำแกลบใส่เป็ นเชื ้อจุดไฟเผำส่วนกลำงให้ เป็ นโพรงลึกตำมต้องกำร แล้วจึงขัดภำยในให้ เกลีย้ ง ตัวสากทำจำกไม้เนือ้ แข็งยำว 2 เมตร ปลำยทัง้ สองข้ำงโค้งมน หัวสำกจะทุ่มใหญ่ ส่วนปลำยสำก จะมนเรี ยวเล็ก บริ เวณกลำงคอดกลมดีกบั มื อกำ อย่ำงหลวม ในกำรตำข้ำวด้วยครกมื อจะตำเป็ นกลุ่ม 2-3 คน โดยนำข้ำวไปผึ่งแดดหนึ่งวัน แล้วนำมำเทลงในครก ตำมต้องกำร จำกนัน้ จึงเริ่ มต้นใช้สำกตำข้ำว กะเทำะเม็ดข้ำวเปลือกออก แล้วนำไป “ฝัด” และ เก็บกำกทีไ่ ม่ตอ้ งกำรออก กำรตำข้ำวด้วยครกมื อ สำมำรถเคลือ่ นย้ำยทีต่ ำมต้องกำร ใช้แรงงำนน้อย ตำนำนแต่ได้ข้ำวน้อย


ครกมองหรื อครกกระเดื่อง “ครกมอง” หรื อ “ครกกระเดื่อง” เป็ นครกตำ ข้ำวทีม่ ี พฒ ั นำจำกครกมื อ ซึ่งสำมำรถตำข้ำวได้ ปริ มำณมำก โดยมี ส่วนประกอบ คือ ตัวครก แม่ มองหรื อตัวมอง หัวแม่งมอง เสำมอง คำนมอง และสำกมอง ตัวครก ทำจำกไม้เนือ้ แข็งเช่นเดียวกันกับกำรทำ ครกมื อ แต่จะทำจำกท่อนไม้กลมยำวพอประมำณ มี เส้นผ่ำศูนย์กลำง 1.5 เมตร เจำะเป็ นร่ องลึกตรง กลำงเหมื อนครกทัว่ ๆ ไป ใช้ขวำนฟันตรงกลำง นำแกลบใส่เป็ นเชื ้อและจุดไฟเผำ จนได้หลุมครก ลึกตำมต้องกำรขัดภำยในให้เรี ยบ จำกนัน้ จึง นำไปฝังลงในดิ นให้แน่นให้ระยะจำกก้นครกถึง ด้ำนส่วนล่ำงสุดของไม้ประมำณหนึ่งศอก แม่ มองหรือตัวมอง นิ ยมทำจำกไม้สมอไทย เพรำะมี เนือ้ แข็ง เหนียวและทนทำนไม่ให้หกั ง่ำย และแตกง่ำยเวลำตอกลิ่ นทีห่ วั แม่มองหรื อแรง กระแทกเวลำตำข้ำว แบ่งเป็ นสองส่วนคือหัวแม่ มองและหำงแม่มอง


กระด้ ง พิมพ์ขอ้ ความ...

กระด้ง เป็ นอุปกรณ์ ทีใ่ ช้ในกำรล่อนข้ำว หรื อตำกเมล็ดพันธุ์ต่ำงๆ นอกจำกนี ้ ยัง ใช้รองในกำรทำขนม ตัวกระด้ง ทำมำ จำกไม้ไผ่ และในกำรสำนกระด้ง นัน้ จะ สำนจำกส่วนกลำงให้เรี ยบร้อยก่อน แล้ว จำกนัน้ จะทำกำรตัดขอบ และดัดให้โค้ง เป็ นวงกลมเพือ่ ทีจ่ ะทำสันกระดังหรื อ ขอบกระด้ง ซึ่งกำรทำขอบกระด้ง นัน้ เพือ่ ให้กระด้งแข็งแรงทนทำน กับกำรใช้ งำน


กระติบข้ าวเหนียว กำรสำนกระติ บข้ำว หรื อก่องข้ำวเหนียวอีสำน ทีถ่ ื อว่ำเป็ นของใช้ประจำบ้ำนทีม่ ี มำอย่ำง ยำวนำน ซึ่งเป็ นกำรวิ วฒ ั นำกำรเกี ่ยวกับกำร ถนอมข้ำวเหนียวให้มีควำมนุ่ม และเก็บไว้ รับประทำนได้นำนขึ้น จนพัฒนำมำเป็ นกระติ บ ข้ำว หรื อทีท่ ำงภำคอีสำนเรี ยกกันว่ำ “ก่องข้ำว น้อย” เป็ นภำชนะในกำรเก็บอำหำรทีเ่ ป็ นงำน หัตถกรรมอันทรงคุณค่ำชนิ ดหนึ่งทีม่ ำกด้วยภูมิ ปัญญำท้องถิ่ น เป็ นของทีม่ ี ประจำบ้ำนของ ชำวไทยทำงภำคตะวันออกเฉี ยงเหนือและ ภำคเหนือมำยำวนำน ใช้สำหรับบรรจุขำ้ ว เหนียวทีน่ ึ่งสุกแล้วหรื อใช้เก็บเมล็ดพันธุ์พืช หรื อแม้แต่ใช้เป็ นเครื ่องประดับในครัวเรื อนหรื อ ประดับสถำนทีต่ ่ำงๆ เป็ นเครื ่องจักสำนทีท่ ำ จำกวัสดุธรรมชำติ เช่น ไม้ไผ่ ใบจำก ใบตำล ใบลำน ต้นคล้ำ


ข้ องจับปลา

ข้ อง เป็ นเครื ่องจักสำนชนิ ดหนึ่ง สำนด้วย ผิ วไม้ไผ่ ปำกแคบอย่ำงคอหม้อ มี ฝำปิ ดเปิ ด ได้ เรี ยกว่ำ ฝำข้อง ฝำข้องมี ชนิ ดทีท่ ำด้วย กะลำมะพร้ำว และใช้ไม้ไผ่สำนเป็ นรู ปกรวย ปลำยกรวยแหลมปล่อยเป็ นซี ่ไม้ไว้เรี ยกว่ำ งำแซง ข้องใช้สำหรับใส่ ปลำปู กุง้ หอย กบ เขี ยด เป็ นต้น ข้องมี หลำยลักษณะเช่น ข้อง ยื น ข้องนอนหรื อข้องเป็ ด


ผ้ าซิ่น เป็ นผ้ำนุ่งของผูห้ ญิ ง มี ลกั ษณะทีแ่ ตกต่ำง กันไปตำมท้องถิ่ น ทัง้ ขนำด กำรนุ่ง และ ลวดลำยบนผืนผ้ำ โดยมี กำรสวมใส่ใน ประเทศลำวและประเทศไทย โดยเฉพำะทำง ภำคเหนือและภำคอีสำนของไทย ผ้ำซิ่ นนับเป็ นควำมภำคภูมิใจอย่ำงหนึ่งของ หญิ งไทย ในสมัยโบรำณ กำรทอผ้ำป็ นงำน ในบ้ำน ลูกผูห้ ญิ งมี หน้ำทีท่ อผ้ำ แม่จะสัง่ สอนให้ลูกสำวฝึ กทอผ้ำจนชำนำญ แล้วทอ ผ้ำผืนงำมสำหรับใช้ในโอกำสพิเศษ เช่น งำนแต่งงำน งำนบวช หรื องำนบุญ ประเพณี ต่ำง ๆ กำรนุ่งผ้ำซิ่ นของผูห้ ญิ งจึง เป็ นเหมื อนกำรแสดงฝี มื อของตนให้ปรำกฏ ผ้ำซิ่ นทีท่ อได้สวยงำม มี ฝีมื อดี จะเป็ นที ่ กล่ำวขวัญและชื ่นชมอย่ำงกว้ำงขวำง


วิถีชีวิตแบบเรียบง่ าย การนั่งพืน้ กินข้ าวของคนอีสาน


CASE STUDY & SITE ANALYSIS


Cafa ’Chilli

จากคอนเซ็ปท์ที่วา่ กันว่า “อาหารอีสารคืองานศิลปะชันสู ้ ง” “คาเฟ่ ชิลลี่” โดยคุณตู๋ เลิศริ นิญฒ์ สิปปภาค ก็เลยภูมิใจนาเสนอความอร่อยเริ่มต้ น จากวัตถุดบิ คุณภาพ เพื่อคุณค่าทางโภชนาการมากมาย นอกจากชะลอ วัย ดูแลน ้าหนัก และยังช่วยบารุงสุขภาพอีกด้ วย เพราะพืชผักต่างๆ ที่ใช้ ในการปรุงอาหารที่คาเฟ่ ชิลลี่ คัดสรรมาล้ วนแต่มีประโยชน์ตอ่ ร่างกายที่ สาคัญรับประกันความอร่อยความอร่อยด้ วยรสชาติที่จดั จ้ านและคง ความเป็ นอีสานแบบดังเดิ ้ ม


LAY LAO

เลลาว ได้เปิ ดประตูตอ้ นรับชาวเมืองที่ชื่นชอบอาหารอีสานในร้านที่มี บรรยากาศที่ชิค ๆ ไม่แพ้ร้านอื่นในซอยอารี ย ์ โดยเจ้าของร้าน คุณพรฤดี ทวีสุขนาเอาสู ตรอาหารและวัตถุดิบจากบ้านเกิดที่หวั หิ นมาปรุ งแต่งให้ กลายเป็ นอาหารอีสานสาหรับคนเมือง อินทีเรี ยของที่นี่ซ่อนความหมาย และความสนุกสนานไว้มากมายโดยเป็ นฝี มือของบริ ษทั ดีไซน์เล็ก ๆ ที่ ชื่อว่า 67 Studio ร้ านตกแต่งโดยเล่นกับองค์ประกอบต่าง ๆ ได้ เป็ น อย่างดี เช่น พริกแห้ งที่แขวนประดับ สังกะสีสีพาสเทล ถาดอาหารที่เรา มักเห็นตามวัด หรื อปลอกหมอนที่ลายคล้ ายกับผ้ าถุงที่คนไทยชินตาแต่ กลับแลดูกลมกลืนกับความโมเดิร์นของร้ านโดยรวม ใครรู้ตวั ว่านัง่ ชิลล์ ยาว เลือกนัง่ ที่ชนสองจะมี ั้ โต๊ ะเตี ้ยและเบาะรองนัง่ กับพื ้นรออยู่


Target Group 65% 35% 15%

คนไทย

นักท่ องเที่ยวชาวต่ างชาติ ผู้สนใจฝึ กฝี มือหรือสนใจในทาอาหารอีสาน


T H A I

B A A N

R E S TA U R E N T

ACTIVITY

-รับประทานอารหาร -เลือกการปิ ง้ ย่าง ได้ ด้ วยตัวเอง -การเลือกบุฟเฟ่ ผัก หยิบ ไส่ตะกร้ าสาน ตาม ความชอบ - เลือกซื ้อสินค้ าอีสาน

-เรี ยนทาอาหารอีสาน สาหรับผู้ที่สนใจ


SITE ANALYSIS RIMTALAY SEAFOOD RESTAURANT ถนนเลียบชายหาด อ.บางละมุง จ.ชลบุรี, พัทยา, , 20150 Beach Road, Bang Lamung, Chonburi, Pattaya, 20150


SITE ANALYSIS

ข้ อดี - สถานที่สามารถเห็นได้ ง่าย -ติดริมถนนไม่อยู่ในมุมอับ เดินทางได้ สะดวก -มีที่จอดรถขนาดใหญ่สาหรับรองรับลูกค้ า - ติดริมทะเล วิวดี - อากาศถ่ายเทได้ ดี - ตังอยู ้ ่ในสถานที่ท่องเที่ยวที่มีคนชุม

ข้ อเสีย - ภายในอาคารมีมมุ อับเยอะ -การแบ่งโซนไม่เป็ นสัดส่วน -ร้ านดูทบึ ต้ นไม้ บงั หน้ าร้ าน ทาให้ บดบังในการมองเห็น -มีความทรุดโทรมของตัวอาคาร และเครื่ องเล่นสนามเด็กเล่น


ร้ านค้ าและร้ านอาหารต่ างๆ บริเวณรอบร้ านอาหารที่จัดทาโครงการในระยะรัศมี 5 กิโลเมตร

35%

30% 20%

ร้ านอาหารทะเล/ร้ านอาหารทัว่ ไป

รถและร้ านหาบเร่ทวั่ ไป

รถและร้ านส้ มตาหาบเร่

15%

ร้ านอาหารอีสาน(ร้ านใหญ่/ร้ านเล็ก) ร้ านอาหารอีสานทะเล

จากการสารวจริมหาดจอมเทียนพัทยาโดยคิดเป็ น 100 % และแบ่ งย่ อยออกมาเป็ นส่ วนๆ


MOOD BOARD


SKETCH DESIGN


แปลนร้ านครัวริมทะเล ชัน้ 1

ห้ องนา้

ทีร่ ั บประทานอาหารทางด้ าน หน้ าร้ าน

ที่จอดรถ

ห้ องเก็บอุปกรณเครื่ องครั ว ห้ องครั ว

ป้ อมยาม

ที่รับประทานอาหาร สนามเด็กเล่ น

ห้ องครั วซีฟู๊ต


แปลนร้ านครัวริมทะเล ชัน้ 2

ห้ องนา้

ห้ องรั บประทานอาหารชัน้ 2 ห้ องแอร์

ลานกว้ าง ชัน้ 2

ลานรั บประอาหาร ชัน้ 2


รู ปด้ านหน้ าครัวริมทะเล

รู ปด้ านข้ างร้ านครัวริมทะเล


ZONNING DINNING AREA 35% KITCHEN 30% STOCK 10% REST ROOM 9% SHOP 4% WORK SHOP 4% RECEPTION 4% ADMIN 2% CASHIER 2%

BAR

WORK SHOP

WAITING AREA


พนักงานในร้ านอาหาร

ผู้จดั การร้ าน แคชเชียร์ เสิร์ฟ บาร์ น ้า เชฟ ผู้ช่วยเชฟ พนักงานล้ างจาน แม่บ้าน

1 คน 2 คน 20 คน 2 คน 3 คน 4 คน 3 คน 3 คน


PARKING LOT REST ROOM LOCKER

STOK

BAR

DINNING AREA

CASHIER/ RECEPTION

ZONNING PROGRAMING 1

KITCHEN

RECEPTION

DINNING AREA ( OUT DOOR )

Beach Road Beach


REST ROOM

VIP

WORK SHOP KITCHEN

SHOP DINNING AREA ( OUT DOOR )

Beach Road

ZONNING PROGRAMING 2

Beach

CASHIER


ย่าง / ปิ ง้



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.