M.T.C Music Therapy Center
สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมตั ใิ ห้นบั ศิลปนิพนธ์ฉบับนีเ� ป็ นส่วนหนึง� ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน ....................................................... คณบดีวิทยาลัยการออกแบบ (รศ.พิศประไพ สาระศาลิน) คณะกรรมการศิลปนิพนธ์ ....................................................... ประธานกรรมการ (อาจารย์ วริศว์ สินสืบผล) ....................................................... กรรมการ (อาจารย์ ถวัลย์ วงษ์สวรรค์) ....................................................... กรรมการ (อาจารย์ อรรถกฤษ์ อุทยั กาญจน์) ....................................................... กรรมการ (อาจารย์บณ ั ฑิต เนียมทรัพย์) ....................................................... กรรมการ (อาจารย์ เรวัฒน์ ชํานาญ) ....................................................... กรรมการ (อาจารย์ ณัฐพงศ์ ศรรปุงวิวฒ ั น์) ....................................................... กรรมการ (อาจารย์ กาลัญ�ู สิปิยารักษ์) ....................................................... กรรมการ (ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ไพลิน โภคทวี) อาจารย์ท�ีปรึกษาศิลปนิพนธ์ ....................................................................... (อาจารย์ ถวัลย์ วงษ์สวรรค์)
หัวข้อศิลปนิพนธ์ : โครงการออกแบบภายในศูนย์ดนตรีบาํ บัดเพื�อส่งเสริมสุขภาพจิต และพัฒนาคุณภาพชีวิต ผูด้ าํ เนินงาน
: นาย รัฐพงษ์ ทองศรี
อาจารย์ท�ีปรึกษา : อาจารย์ ถวัลย์ วงษ์สวรรค์ ปี การศึกษา
: ����
สาขาวิชา
: ออกแบบภายใน บทคัดย่อ
เนื�องจากในปั จจุบนั คนไทยเสี�ยงที�จะเป็ นโรคซึมเศร้าและโรคความเครียดสูง จึงเกิดการคิด ว่า หากมีสถานที�บรรเทาความเครียด และ ปรึกษาจิตเเพทย์ สําหรับ บุคคลทั�วไปโดยใช้ดนตรี บําบัด ที�เป็ นทางเลือกในการรักษาความเครียด โดยเน่นไปที�บคุ คลทั�วไปที�ตอ้ งการคลายเครียด โดยมีขอ้ มูลสาเหตุของการเกิดความเครียดที�แบ่งออกได้ � ประเภท ประเภทที� �. จากภาย ในตัวบุคคล ที�เกิดจากการเจอสถานการณ์ตรงหน้า ที�ทาํ ให้บคุ คลนัน� มีความกดดัน แข่งขันสูง หรือ มลพิษทางอารมณ์สงู ประเภทที� �. จากภายนอกบุคคล ที�เกิดจาก สภาพแวดล้อมที�อยู่ อาศัย และยังมี � ปั จจัยหลักที�ทาํ ให้เกิดความเครียด �.ปั ญหาการปรับตัวเข้ากับสถานที�ทาํ งาน และ สภาพสังคมในที�ทาํ งาน �.สภาพเศรษฐกิจที�มีผลตต่อค่าครองชีพ �.ปั ญหาครอบครัว �.ปั ญหาสภาพแวดล้อม �.คูร่ กั การศึกษาความเครียด และวิธีการแก้ปัญหาความเครียดของกลุม่ คนทั�วไป จะเป็ นประโยชน์ สําหรับ การทํากิจกรรมที�สง่ เสริมสุขภาพจิตที�ดีของในกลุม่ คนนัน� ๆ และ ออกแบบพืน� ที�รบั รอง บุคคลทั�วไป และ บุคคลที�มีปัญหาด้านความเครียด ได้มีสถานที�ผอ่ นคลาย พูดคุย ทํากิจกรรม และจัดการกับสิ�งที�ก่อให้เกิดความเครียดได้อย่างเหมาะสม และจะทําบุคคลที�มีความเครียด สามารถปรับตัวอยูใ่ นสังคมได้อย่างปกติ เราหวังว่าการออกแบบนีจ� ะช่วยให้บคุ คลที�เข้ามาใช้ งานในพืน� ที� เวลาที�มีความเครียดหรือความกดดัน สามารถที�จะมีท�ีทาํ ให้สงบจิตใจได้โดยที�ไม่ ไป ระบายความเครียดในทางที�ไม่ดี ที�ทาํ ให้เกิดความรุนแรง หรือ ทําสิ�งที�ไม่สร้างสรรค์
Title
: Music Therapy Center
Name
: MR. Rattapong Thongsri
Advisor
: Aj. Tawan Wongsawan
Academic Year : 2021 Department
: Interior Design
ABSTRACT because at present Thai people are at high risk of depression and stress disorder. so thoughtthat if there is a place to relieve stress and consult a psychiatrist for the general public using music Alternative therapy to treat stress By focusing on people who want to relieve stress. with information on the causes of stress that can be divided into 2 types. Type 1. From within in the person resulting from the situation in front of him that makes that person highly competitive or high emotional pollution type 2. From outside the person caused by the environment Live and there are 5 main factors that cause stress. 1. Problems adapting to the workplace and social conditions at work 2. Economic conditions that affect the cost of living 3. Family problems 4.Environmental problems 5.Lovers. stress study and how to solve the stress problems of general people will be helpful for activities that promote the mental well-being of the group and designing a reception area General people and people with stress problems Have a place to relax, talk, do activities and deal with things that cause stress appropriately and will do the person with stressbable to adapt in society normally We hope this design will help people who come to use it. Local work during stress or pressure able to have peace of mind without to relieve stress in a bad way that cause violence or do something that is not creative
กิตติกรรมประกาศ ผลงานศิลปนิพินธ์โครงการออกแบบภายในศูนย์ดนตรีบาํ บัดเพื�อส่งเสริมสุขภาพจิตและพัฒนา คุณภาพชีวิต นัน� สําเร็จได้ดว้ ยบุพการีท�ีชว่ ยสนับสนุนทุนทรัพย์ในการเล่าเรียนและพัฒนางานมา จนถึงปั จจุบนั ขอขอบพระคุณไว้ใน ณ ที�นีด� ว้ ย ขอขอบพระคุณคณะอาจารย์ วิทยาลัยการออกแบบ สาขาวิชาออกแบบภายในทุกท่านรวมถึง อาจารย์พิเศษ ที�คอยให้คาํ ปรึกษาและคอยชีแ� นะวิธีการพัฒนาโครงการให้มีประสิทธิภาพมากขึน� จนทําสําเร็จไปได้ดว้ ยดี ขอขอบพระคุณอาจารย์ถวัลย์ วงษ์สวรรค์ ที�คอยช่วยเหลือและให้คาํ แนะนําตลอดตัง� แต่เริม� โครงการ อีกทัง� ยังให้คาํ แนะนําและคอยสั�งสอนในการทํางาน ทัง� ในและนอกห้องเรียน ขอขอบคุณเพื�อนๆ ทัง� ในและนอกคณะที�คอยให้ความช่วยเหลือในการทํางาน ในการใช้ชีวิต ตลอดระยะเวลาที�ได้ศกึ ษาในมหาวิทยาลัย ที�พาไปเจอประสบการณ์ตา่ งๆ ที�ดี ขอบคุณมิตรภาพ ที�ดีตอ่ กันมาตลอด ขอขอบคุณพี�ๆ ที�ฝึกงานที�ให้คาํ แนะนําเรือ� งการทํางาน ให้ขอ้ มูลที�เกี�ยวกับโครงการ และคอย ให้กาํ ลังใจ คอยช่วยเหลือ และสั�งสอนในทุกๆเรือ� ง ขอขอบคุณทุกกําลังใจทุกการช่วยเหลือในการทํางานตลอดที�ผา่ นมาทัง� หมด และคําสบประมาท ที�เปลี�ยนให้เป็ นแรงผลักดันจนทําให้มาถึงในจุดนี � ขอบคุณจริงๆ นาย รัฐพงษ์ ทองศรี � มิถนุ ายน ����
สารบัญ บทที�
หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย
ก
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
ข
กิตกรรมประกาศ
ค
สารบัญ
ง
สารบัญ(ต่อ)
จ
บทที� � บทนํา �.� ที�มาและความสําคัญ �.� วัตถุประสงค์ �.� ขอบเขตการสร้างสรรค์ผลงาน �.� ผลที�คาดว่าจะได้รบั �.� ขัน� ตอนการดําเนินงาน
สารบัญ(ต่อ) บทที�
หน้า
บทที� � ข้อมูลพืน� ฐาน และ รายละเอียดโครงการ รายละเอียดเบือ� งต้นของโครงการ ลักษณะทางกายภาพและสภาพแวดล้อมของโครงการ รายละเอียดทางสถาปั ตยกรรม กรณีศกึ ษา บทที� � หลักการ ทฤษฎี แนวคิดที�ออกแบบ คําจํากัดความ บทที� � ผลงานการออกแบบ แนวคิดในการออกแบบ หลักการในการออกแบบ ผลงานการออกแบบ บทที� � บทสรุป และ ข้อเสนอแนะ สรุปผลและข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ประวัติ
1
PROJECT BACKGROUND Music Therapy : ศาสตร์ในการใช้ดนตรี ไม่วา่ จะเป็ นการฟั งดนตรี การร้องเพลงการขยับร่างกายประกอบเสียงเพลง และการเล่นดนตรีเพื�อ บําบัดการรักษาฟื � นฟูผปู้ ่ วยทางจิตใจ อารมณ์ และโรคทางกาย ผลในการ บําบัดของดนตรีมาจากการเปลี�ยนแปลงทางสรีรวิทยาและจิตใจโดย ผ่านกลไกที�หลากหลาย ในการปรับตัวต่อการกระตุน้ ด้วยดนตรี
Objective
Expectation
Area of study
- ศึกษาค้นหาข้อมูลและการใช้ดนตรีบาํ บัด - ศึกษากลุม่ เป้าหมายและสาเหตุท�ีเข้ารับการบําบัด - ศึกษาพืน� ที�และสภาพแวดล้อมที�สง่ ผลการบําบัด
- ออกแบบพืน� ที�ตอบสนองความต้องการของผูเ้ ข้ารับการรักษา - ออกแบบพืน� ที�และสภาพแวดล้อมที�สง่ ผลต่อการบําบัด - สิ�งที�ผเู้ ข้ารับการบําบัดและบุคคลทั�วไปจะได้รบั
- ศึกษาปั ญหาและสาเหตุของผูท้ �ีมารับการรักษาบําบัด - ศึกษาวิธีการบําบัดด้วยการใช้ดนตรี - ศึกษาการออกแบบและสิ�งแวดล้อมต่อผูร้ บั การบําบัด
ศึกษาข้อมูล และ หาข้อมูลที�ถกู ต้องเพื�อให้มีความเป็ นไปได้ของโครงการ ศึกษาขอบเขตของพืน� ที� ที�เหมาะสมของโครงการที�จะทํา และ สภาพแวดล้อม ศึกษาวิธีการรักษาด้วย ดนตรีบาํ บัด และ ประโยชน์ท�ีได้รบั ต่อการบําบัด ศึกษาข้อมูลกลุม่ เป้าหมายและสาเหตุท�ีเข้ารับการบําบัด
Reseach Methodology.
1 2
1
Area Requirement & Relationship.
หาพืน� ที� ที�เหมาะสมกับโครงการ ควรจะเป็ นพืน� ที�กว้าง เดินทางสะดวก ไม่ซบั ซ้อนมีพืน� ที�ใช้งาน ไม่แออัด โดดเด่น และมีความน่าสนใจ ซึง� อาจจะมีธรรมชาติในบริเวณเพื�อเป็ นตัวช่วยกับโครงการ ให้มีความ น่าสนใจและสบายใจต่อบุคคลที�ใช้งานในพืน� ที�
2
2
ความเครียดคืออะไร ?
ชนิดของความเครียด
ความเครียดเป็ นภาวะของอารมณ์หรือ ความรูส้ กึ ที�เกิดขึน� เมื�อบุคคลต้องเผชิญ กับปั ญหาต่างๆ และทําให้รูส้ กึ กดดัน ไม่สบายใจ วุน่ วายใจ กลัว วิตกกังวล ตลอดจนถูกบีบคัน� เมื�อบุคคลรับรูห้ รือ ประเมินว่าปั ญหาเหล่านัน� เป็ นสิ�งที�คกุ คาม จิตใจ หรืออาจก่อ ให้เกิดอันตรายแก่รา่ ง กาย จะส่งผลให้สภาวะสมดุลของร่างกาย และจิตใจ เสียไป
Acute Stress คือความเครียดที�เกิดขึน� และร่างกายก็ตอบสนองต่อความเครียด นัน� ทันทีเหมือนกัน โดยมีการหลั�งฮอร์โมน ความเครียด เมื�อความเครียดหายไป ร่างกายก็จะกลับสูป่ กติเหมือนเดิม ฮอร์โมนก็จะกลับสูป่ กติ ตัวอย่างความ เครียด เช่น เสียง อากาศเย็นหรือร้อนมาก เกินไป ชุมชนที�คนแออัด ตกใจ หิว และ กลัวอันตราย
ความเครียดส่งผลต่อชีวิต แบ่งได้ � ด้าน คือ ด้านที�หนึง� ผลต่อสุขภาพทางกาย ได้แก่ อาการไม่สบายทางกายต่างๆ เช่น ปวดศรีษะ ปวดเมื�อยส่วนต่างๆ ของร่างกาย ความผิดปกติของหัวใจ ความดันโลหิตสูง โรคกระเพาะ อาการท้องผูกบ่อยๆ นอนไม่ หลับ หอบหืด เสื�อมสมรรถภาพทางเพศ ด้านที�สอง ส่งผลต่อสุขภาพจิตนําไปสูค่ วาม วิตกกังวล ซึมเศร้า กลัว อย่างไร้เหตุผล อารมณ์ไม่ม�นั คงเปลี�ยงแปลงง่าย หรือ โรคประสาทบางอย่าง นอกจากนีค� วามเครียด ส่งผลต่อร่างกายและจิตใจย่อมส่งผลถึง ประสิทธิภาพในการทํางาน สัมพันธภาพต่อ ครอบครัวและบุคคลแวดล้อม และเมื�อประสิทธิ ภาพในการทํางานตํ�าสัมพันธภาพเสื�อมถอยลง จิตใจย่อมได้รบั ความตึงเครียดมากขึน� ซํา� ซ้อน นับว่าความเครียดเป็ นภัยต่อชีวิตอย่างยิ�ง
Chronic Stress คือความเครียดเรือ� รังเป็ น ความเครียดที�เกิดขึน� ทุกวันและร่างกายไม่ สามารถตอบสนองหรือแสดงออกต่อความ เครียดนัน� ซึง� เมื�อนานวันเข้าความเครียด นัน� ก็จะสะสมเป็ นความเครียดเรือ� รัง ตัวอย่างความเครียดเรือ� รัง เช่น ความเครียด ในการทํางาน ความเครียดที�เกิดจากความ สัมพันธ์ท�ีไม่ดีระหว่างบุคคล ผลเสียต่อสุขภาพ ความเครียดเป็ นสิ�งปกติท�ีสามารถพบได้ทกุ วันหากความเครียดนัน� เกิดจากความกลัวหรือ อันตราย ฮอร์โมนที�หลังออกมาจะเตรียมให้ ร่างกายพร้อมที�จะต่อสูอ้ าการที�ปรากฏก็ เป็ นเพียงทางกาย ความดันโลหิตสูง ใจสั�น แต่สาํ หรับชีวิตประจําวันจะมีสกั กี�คนที�ทราบ ว่าเราได้รบั ความเครียดโดยที�เราไม่รูต้ วั หรือ ไม่มีทางหลีกเลี�ยงการที�มีความเครียดสะสม เรือ� รังทําให้เกิดอาการทางกายและอารมณ์
WHAT IS MUSIC ? ดนตรีคืออะไร ดนตรี คือ สิ�งที�มนุษย์สร้างสรรค์ขนึ � มา ซึง� เป็ นศาสตร์และศิลป์ ผสมผสานรวมกัน ช่วนทําให้มนุษย์ มีความสุข สนุกสนาน และผ่อนคลาย จากความตึงเครียด และยังเป็ นเครือ� งช่วยขัดเกลาจิตใจ ดนตรีสว่ นใหญ่ จะเป็ นปั จจัยในการทํากิจกรรมต่างๆ เช่น ขับรถ ทํางาน เรียน และ ออกกําลังกาย
HEALTHY MUSIC. ดนตรีเพื�อสุขภาพ เสียงดนตรีจะกระตุน้ การทํางานของระบบประสาทอัตโนมัติ ทําให้เกิดการเปลี�ยนแปลงทางร่างกาย ในเรือ� ง อัตราการหายใจ การเต้นของหัวใจ ความดันโลหิต การตอบสนองความตึงเครียดของกล้าม เนือ� ดนตรีสามารถทําให้เกิดการเปลี�ยนแปลงทางอารมณ์ สติ และความนึกคิด
WHAT IS MUSIC THERAPY ? ดนตรีบาํ บัด เป็ นทฤษฎีทางการแพทย์ท�ีหลอมรวมเอาเรือ� งของศาสตร์ดา้ นจิตวิทยาและศิลป์ ทางด้านดนตรี เข้าไว้ดว้ ยกันและนํามาปรับเปลี�ยนให้เข้ากับการรักษาพัฒนา รวมถึงการบําบัดในด้านสุขภาวะ ของร่างกาย จิตใจ และสังคมสําหรับคนที�มีปัญหาด้านสุขภาพโดยเฉพาะ
MUSIC THERAPY. ดนตรีบาํ บัด เป็ นดนตรีบาํ บัดฟื � นฟูสมรรถภาพทางร่างกาย ด้วยกิจกรรมบําบัดและกายภาพบําบัด โดยใช้ศาสตร์ ทางด้านดนตรีบาํ บัด ซึง� อาศัยองค์ประกอบต่างๆทางดนตรีตามหลักการของดนตรีบาํ บัดที�เป็ นสากล โดยจะมีกิจกรรมทางดนตรี เช่น การร้อง การฟั ง การเล่นเครือ� งดนตรี และการเคลื�อนไหวร่างกาย ประกอบจังหวะ โดยมุง่ เน้นผลทางด้านการฟื � นฟูสมรรถภาพ เช่น ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม การสื�อสาร การเรียนรู ้ การรับรู ้ ความคิด และความจํา
1
TYPE OF THERAPY.
ประเภทการบําบัด การบําบัดแบบเดี�ยว (Individual Music Therapy) เหมาะสมกับผูท้ �ีชอบเก็บตัวและผูป้ ่ วยที�ถกู ควบคุมใกล้ชิด ถ้าผูป้ ่ วยภาวะปกติสนใจ การบําบัดแบบเดี�ยวก็ทาํ ได้เช่นกัน ขึน� อยูก่ บั ความพึงพอใจและความพร้อมของผูเ้ ข้า รับการบําบัด การบําบัดแบบกลุม่ (Community Music Therapy) เหมาะสมกับผูท้ �ีไม่อาจใช้ดนตรีบาํ บัดตัวเองเพียงลําพัง ข้อดีของการบําบัดแบบกลุม่ คือโอกาสที�ผเู้ ข้ารับการบําบัดจะได้สนทนาแลกเปลี�ยนความคิดเห็นกับคนอื�นซึง� การ เรียนรูร้ ว่ มกันก็จะลดทัศนคติเชิงลบของตัวเอง คลายความเหงาได้จากการปฏิสมั พันธ์ กับผูอ้ �ืน ส่วนดนตรีท�ีนาํ มาใช้บาํ บัดก็จะเลือกจากค่าเฉลี�ยแนวดนตรีท�ีทกุ คนในกลุม่ นิยมฟั ง
TYPE OF THERAPY.
กิจกรรมการบําบัด กิจกรรมดนตรีบาํ บัดแบบเดี�ยว • กิจกรรมร้องเพลงและเล่นเครือ� งดนตรี เช่น กีตา้ ร์ กลอง และเครือ� งเคาะแบบต่างๆ เพื�อเพิ�มทักษะด้านการสื�อสาร ความจํา และทักษะการใช้กล้ามเนือ� มือและแขน • กิจกรรมเล่นคีบอร์ดตามตัวโน้ตสีตา่ งๆ เพื�อเพิ�มสมาธิ เพิ�มทักษะการใช้กล้ามเนือ� มือ การประสานสัมพันธ์การเคลื�อนไหว การจดจําสีและตัวเลข • กิจกรรมฝึ กการทรงตัวและฝึ กเดินร่วมกับจังหวะดนตรี เพื�อเพิ�มการทรงตัว ปรับจังหวะการเดิน และปรับท่าทางการยืนและเดินให้ถกู ต้อง • กิจกรรมการเติมเนือ� เพลงและแต่งเพลง เพื�อเพิ�มทักษะทางด้านความคิดความเข้าใจ การอ่านและเขียน เพิ�มความมั�นใจในตัวเอง กระตุน้ การแสดงออกทางอารมณ์และความรูส้ กึ กิจกรรมดนตรีบาํ บัดแบบกลุม่ • กิจกรรมร้องเพลงแบบกลุม่ เพื�อกระตุน้ การเข้าสังคม ความจํา และปรับสภาพอารมณ์ และจิตใจ • กิจกรรมเต้นและแสดงท่าทางประกอบจังหวะ เพื�อกระตุน้ การเคลื�อนไหว เพิ�มกําลัง กล้ามเนือ� การทรงตัว ความจํา • กิจกรรมเกมส์ดนตรีตา่ งๆ เช่น กิจกรรมสันทนาการ เพื�อกระตุน้ การเข้าสังคม ผ่อนคลาย ความตึงเครียด เบี�ยงเบนความสนใจจากความเจ็บป่ วย
2
Who should join a music therapy group? ใครบ้างที�ควรเข้ากลุม่ ดนตรีบาํ บัด ?
- บุคคลที�มีปัญหาพัฒนาการด้านร่างกายและสมอง - ผูส้ งู อายุ หรือผูท้ �ีมีปัญหาไม่เห็นคุณค่าในตนเอง - มีพฤติกรรมแยกตัวจากสังคม - มีพฤติกรรมที�ไม่เหมาะสม - ขาดทักษะด้านการสื�อสาร - ขาดทักษะด้านการคิด - ไม่มีสมาธิ - ซึมเศร้า - ภาวะสมองเสื�อม (สูญเสียความจํา
1 25%
50%
25%
TARGET GROUP.
CHILDHOOD. วัยเด็ก � - �� ปี เด็กพิเศษ บกพร่องทางด้านร่างกาย พฤติกรรม อารมณ์ และการเข้าสังคม ส่วนใหญ่กลุม่ เด็กที�มีอาการหนักหรือ รุนแรงผูป้ กครอง จะพาไปโรงพยาบาล หรือ ศูนย์ท�ีรกั ษา โดยตรง
ADULT. ผูใ้ หญ่ �� ปี ขนึ � ไป ที�มีปัญหาทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ การเข้าสังคม ส่วนใหญ่จะเป็ นผูป้ ่ วยที�มีอาการทั�วไป อาการไม่รุนแรงมาก แต่ ผูป้ ่ วยที�มีอาการหนัก หรือ ใช้เครือ� งมือทางการแพทย์ จะไปรักษาที�โรงพยาบาลมากกว่า เพราะมีการดูแลที�ท�วั ถึง
OTHER. บุคคลที�ตอ้ งการคลายเครียด ผ่อนคลายด้วยดนตรี หรือ สนใจที�จะเข้ารับการบําบัด สามารถเข้ามาปรึกษาแล้วใช้งานสถานที�ได้
PROGRAMMING
Reception & Information.
Common Area.
Co-working space. Therapy Room. Training Room.
2 - Information. - Reception. - Reception Private room. - Assessment Room. - Advisory Room. - Music Park. - Canteen. - Shop & Cafe - Co-working. - Relex Zone. - Group Therapy Room. - Single Therapy Room. - Private Therapy Room. - Training Room 1st. - Training Room 2nd
THERAPY PROGRAM.
โดยจะแบ่งเป็ น � กลุม่ ผูป้ ่ วยเด็ก , ผูป้ ่ วยผูใ้ หญ่ และ ผูป้ ่ วยที�ตอ้ งการความเป็ นส่วนตัว การบําบัดจะอยูท่ �ีเป้าหมายของผูบ้ าํ บัดว่าจะต้องการรักษาด้านไหน ความต้อง การเป็ นไหน แล้วแพทย์จะเป็ นคนจัดวางโปรแกรมการบําบัด
1 2 3
ห้องบําบัดเดี�ยว จะมีกิจกรรมร้องเพลง เล่นเครือ� งดนตรี เล่นคีบอร์ดตามตัวโน๊ต ฝึ กเดินร่วมกับ จังหวะ แต่งเพลง เติมเนือ� เพลง
ห้องบําบัดกลุม่ จะมีกิจกรรมร้องเพลงแบบกลุม่ เล่นเครือ� งดนตรี เต้นแสดงท่าทางเข้า ประกอบจังหวะ และกิจกรรมสันทนาการ และกิจกรรมกระตุน้ การ ทํางานของ สมอง Brain Training ของ Brain Enrichment
ห้องบําบัดส่วนตัว จะมีกิจกรรมร้องเพลง เล่นเครือ� งดนตรี เล่นคีบอร์ดตามตัวโน๊ต ฝึ กเดินร่วมกับ จังหวะ แต่งเพลงเติมเนือ� เพลง และกิจกรรม สันทนาการกับแพทย์ และที�ปรึกษา
กระบวนการและรูปแบบดนตรีบาํ บัด ดนตรีบาํ บัด ไม่มีกระบวนการและรูปแบบที�ตายตัว แต่มีการออกแบบ การบําบัดรักษาให้เหมาะสมกับแต่ละบุคคลทที�มาบําบัด
การประเมินผูร้ บั การบําบัดรักษา
วางแผนการบําบัดรักษา
ดําเนินการบําบัดรักษา
ประเมินผลการบําบัด
3
- ศึกษาข้อมูลประวัตสิ ว่ นตัว และ ประวัตทิ างการแพทย์
- ประเมินสภาพปั ญหา และเป้าหมายที�ตอ้ งการบําบัด - ประเมินสุขภาวะทางร่างกาย จิตใจ สังคม และภูมิปัญญา - ออกแบบโปรแกรมที�เหมาะสม เป็ นรายบุคคล และรายกลุม่ โดย ยึดเป้าหมาย - จัดรูปแบบผสมผสานกระบวนการต่างๆ ทางดนตรี เช่น ร้องเพลง แต่งเพลง ประสานเสียง จินตนาการ ตาม หรือแสดงลีลาประกอบเพล - เสริมสร้างสัมพันธภาพระหว่างผูบ้ าํ บัดกับผูร้ บั การบําบัด โดยใช้ดนตรีเป็ นสื�อกลาง - ดําเนินการทําดนตรีบาํ บัดควบคูไ่ ปกับการบําบัดรักษา รูปแบบอื�นๆ
- ประเมินผลการบําบัดรักษาอย่างต่อเนื�อง
และปรับเปลี�ยนแผนการบําบัดรักษาให้เหมาะสม
ลุมพินีสถาน LUMPINI HALL.
สวนลุมพินี(ตรงข้ามตึกอือ� จือเหลียง) Lumphini, Pathum Wan District, Bangkok 10330 อาคาร ลุมพินีสถาน , Lumpini Hall.
สโมสรพลเมืองอาวุโสแห่ง เมืองกรุงเทพมหานคร อาคารลุมพินีสถาน อดีตสโมสร พลเมืองอาวุโสแห่งเมือง กรุงเทพ มหานคร อยูภ่ ายใต้การดูแลของ สํานักวัฒนธรรม กีฬา และการ ท่องเที�ยว ตัง� อยู่ ณ สวนลุมพินี เป็ นที�พบประสังสรรค์ พักผ่อน ออกกําลังกายและฝึ กอาชีพ ของผูส้ งู อายุ และ ในอาคารยัง มีเวทีลีลาศหมุนได้ใช้เป็ นที�จดั กิจกรรมลีลาศและฝึ กสอนในวัน เสาร์ - อาทิตย์ ซึง� ในปั จจุบนั อาคารเสื�อมโทรมและได้ปิดตัวลง
SITE SURROUNDING. 1.Ratchadamri gate. �.เกาะลอยสวนลุมพินี �.สนามบาสสวนลุมพินี �.ชมรมจักรยานสวนลุมพินี �.สวนลุมพินี Lumpini park. �.ห้องสมุดสาธารณะ �.สถานที�ออกกําลังกาย �.สระว่ายนํา� บริเวณรอบๆ สวนลุมพิณี �.มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ �.โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ �.โรงงาน และ โรงเรียน
EXISTING PLAN
BUILDING ANALYSIS. การวิเคราะห์อาคาร สถาปั ตยกรรม สภาพแวดล้ม อาคารลุมพินีสถาน อดีตเป็ นสโมสรพลเมือง อาวุโสแห่งเมืองกรุงเทพมหานคร อยูภ่ ายใต้การดูแลของสํานักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที�ยว ตัง� อยู่ ณ สวนลุมพินี เป็ นที�พบปะสังสรรค์ พักผ่อนออกกําลังกาย และ ฝึ กอาชีพของผูส้ งู อายุและ ในอาคารยังมีเวทีทีลาศหมุนได้ใช้เป็ นที�จดั กิจกรรมลีลาศและฝึ กสอนใน วันเสาร์ - อาทิตย์ ซึง� ใน ปั จจุบนั อาคารเสื�อมโทรมและได้ปิดตัวลง - การรวบรวมผลงานวิจยั ที�เกี�ยวข้องกับการให้บริการสวนสาธารณะได้ดงั นี � จิราภา พังศ์ศภุ สมิทธิ (����,บทคัดย่อ) ได้ทาํ การศึกษาเรือ� ง สุขภาพจิตของผูใ้ ช้บริการ สวนสาธารณะ ในกรุงเทพมหานคร ผลพบว่า ในกลุม่ ตัวอย่างที�มาใช้บริการสวนสาธารณะ �� ในกรุงเทพมหานคร นัน� มีจาํ นวนผูท้ �ีอยูใ่ นระดับสุขภาพจิตเบี�ยงเบนจากเกณฑ์ปกติ ตามลําดับดังนี � ในด้านความยํา� คิด ร้อยละ ��.�� ด้านความซึมเศร้าคิด ร้อยละ ��.�� ด้านความกลัว โดยปราศจากเหตุคดิ ร้อยละ ��.�� ด้านอาการทางกายคิด ร้อยละ ��.�� ด้านความโกรธ ก้าวร้าว ทําลาย คิด ร้อยละ ��.�� ด้านความสัมพันธ์กบั ผูอ้ �ืนคิด ร้อยละ ��.�� ด้านความวิตกกังวล คิด ร้อยละ ��.�� จากการเปรียบเทียบสัดส่วนของผูม้ ีระดับสุขภาพจิตอยูใ่ นเกณฑ์ปกติและเบี�ยงเบนจาก เกณฑ์ปกติ ระหว่างกลุม่ ตัวอย่างที�มาใช้บริการความถี�ต�าํ (น้อยกว่า � วันต่อสัปดาห์) กับกลุม่ ตัวอย่างที�มาใช้ บริการความถี�สงู (เท่ากับหรือมากกว่า � วันต่อสัปดาห์) พบว่า มีความแตกต่าง กับอย่างมีนยั สําคัญ ทางสถิตทิ �ีระดับ �.� เฉพาะในกลุม่ อาการสุขภาพจิตด้านการยํา� คิดและด้านซึมเศร้า ส่วนอาการสุขภาพ จิตด้านอื�นๆ ไม่พบความแตกต่างทางสถิติ
Case Study.
College of Music Mahidol University. รูปแบบการออกแบบใกล้กบั งานศิลปะโดยมีบคุ ลิกภาพ ของการเป็ นชุมชนทางดนตรีท�ีมีความอบอุน่ และมีชีวิตชีวา และ การออกแบบเสียงภายในห้องดนตรีตา่ งๆจะใช้วสั ดุ อคูสติกบอร์ดเพื�อป้องกันเสียงกระจายสูภ่ ายนอก ห้องดนตรีบาํ บัดใน ส่วนใหญ่จะต้องมีการแบ่งห้อง ที�เป็ นแบบกลุม่ และเดี�ยว เพราะว่าผูบ้ าํ บัดบางกลุม่ จะต้องการความเป็ นส่วนตัว และถ้าภายในห้องมีกระจก จะต้องใช้ผา้ ม่านปิ ดไว้ในเวลาทํากิจกรรมบําบัด ส่วนใหญ่ จะใช้วสั ดุอะคูสติกดีไซน์เป็ นหลัก
Case Study.
Music park lumpini park. ดนตรีในสวน ใจกลางสวน ณ ศาลาภิรมย์ภกั ดี บริเวณสวนปาล์มที�สวนลุมพินีจดั แสดงคอนเสิรต์ เพื�อส่งเสริม พัฒนาคุณภาพชีวิต ซึง� จะเป็ นดนตรี บทเพลงพระราชนิพนธ์ เพลงคลาสสิก เพลงสากล และเพลงไทยสากล ซึง� จะจัดทุกวันอาทิตย์ ของ เดือนธันวาคม - มีนาคม ของทุกปี
Case Study.
Nordoff Robbins Centre. เป็ นองค์กรการกุศลด้านดนตรีบาํ บัดที�ใหญ่ท�ีสดุ ในสหราช อาณาจักร และบริการดนตรีอ�ืนๆ เพื�อช่วยเหลือเด็กและ ผูใ้ หญ่ท�ีมีความพิการ และเจ็บป่ วย และต้องการเรียนเปี ยโน คียบ์ อร์ด ร้องเพลงและแต่ง เพลงก็จะมีครูชว่ ยสอน การตกแต่งทัง� หมดจะใช้ อะคูสติกดิไซน์ Bradley Van Der Straeten.
Case Study. Sunbeams Music Centre. อาคารดนตรีบาํ บัดได้รบั การออกแบบมาเพื�อรวบ รวมคุณสมบัตทิ างดนตรีของจังหวะ เสียงตํ�า และทํานองภายในภูมิทศั น์ รูปทรงโค้งมนตาม ส่วนโค้งตามธรรมชาติเพื�อเพิ�มประสิทธิภาพของ เสียง และ สะท้อนการสังเคราะห์ระหว่างบริบท ทางธรรมชาติกบั ดนตรีรว่ มสมัย
3
1
SPACE THERAPY. การออกแบบพืน� ที�การรักษา
การออกแบบห้องที�สง่ ผลต่อการรับรูข้ องผูใ้ ช้บริการที�เกี�ยวกับความปลอดภัยทางจิตใจ ความใกล้ชิด ความเต็มใจที�สามารถเปิ ดเผยตัวตนได้ และจะต้องมีพืน� ที� ที�ทาํ ให้รูส้ กึ มี ความเป็ นอิสระ พืน� ที�ในการรักษาที�สะดวกสบาย มีความอบอุน่ เป็ นกันเอง และปลอดภัย ห้องดนตรีบาํ บัดและด้านบรรยากาศของห้อง ก็จะมี ลักษณะของห้อง แสง อุณหภูมิ กลิ�น สี และการออกแบบ การจัดวาง และอุปกรณ์ของห้อง
SOFT FURNISHING. AGE APPROPRAITE FUNITURE.
COLOR. SEATING.
องค์ประกอบ ของพืน� ที�
NATURE.
MATERIAL.
PRIVACY. ADJUSTABLE LIGHTING.
ACOUSTIC DESIGN.
วิธีการออกแบบอะคูสติกของเสียง
การออกแบบอะคูสติกของเสียง การสร้างสภาพแวดล้อมของเสียงภายในห้อง ให้เป็ นไปตามมาตรฐาน โดยคํานึงถึงข้อกําหนดทางด้านเสียง ตัง� แต่การดูดซับเสียง เพื�อป้องกันการก้องสะท้อนของเสียง การปกปิ ด เพื�อควบคุมไม่ให้เสียงรบกวนและการ สั�นสะเทือน จากภายนอกเล็ดลอดเข้ามาภายในห้องเกินค่ามาตรฐาน
วิธีการออกแบบแบ่งเป็ น � แบบ
1. REDUCE SOUND TRANMISSON เป็ นการป้องกันเสียงรบกวน เพื�อช่วยลด เสียงจากภายนอกไม่ให้เข้ามาภายในห้อง
1. CONTROL SOUND REVERBERANT. เป็ นวิธีการความคุมและแก้ไขเสียงสะท้อน ภายในห้อง และวัสดุท�ีเลือกใช้จะต้องให้มี ความเหมาะสม
ACOUSTIC DESIGN.
วิธีการออกแบบอะคูสติกของเสียง
การออกแบบฝ้าอะคูสติก วิธีการออกแบบ เพื�อให้ได้ระดับเสียงในพืน� ที� คือการสร้าง สมดุลย์ในการออกแบบอะคูสติก (Balanced Acoustical Design) - การดูดซับเสียง (ABSORBTION) การดูดซับเสียงที�เกิดขึน� ในพืน� ที� โดยใช้ระบบฝ้าเพดานที�มี ประสิทธิภาพในการดูดซับเสียง เป็ นการดูดซับเพื�อป้องกัน การสะท้อนของเสียง - การกัน� เสียง (BLOCKING) การกัน� เสียงที�จะส่งผ่านระหว่างพืน� ที� ซึง� เป็ นการรวบกัน ของระบบฝ้าอะคูสติก เข้ากับผนังฉากกัน� และรูปแบบการ จัดวาง - การปกปิ ด (COVING) การปกปิ ดเสียงที�เล็ดลอดเข้ามาในพืน� ที� สามารถปรับแต่งให้ เข้ากับค่า PI ที�ตอ้ งการได้ ด้วยระบบเสียงสังเคราะห์ อิเล็กทรอนิกส์
การออกแบบผนังอะคูสติก ลดความก้องของเสียง เพิ�มความชัดเจนของเสียง ช่วยให้หอ้ ง มีความเงียบสงบ หรือใช้จดั กิจกรรมต่าง ๆ ทัง� ที�ตอ้ งการความ ชัดเจนของเสียง โดยไม่ตอ้ งการให้เสียงออกไปนอกห้อง แผ่นอะคูสติก ก็จะทําหน้าที�หลัก คือ ดูดซับเสียง ที�มาจากภาย ในห้อง ซึง� เป็ น การช่วยปรับเสียงให้มีคณ ุ ภาพดีขนึ � และลด ความก้องของเสียง
ACOUSTIC MATERIAL. วัสดุอะคูสติก
2
วัสดุอะคูสติกเป็ นวัสดุท�ีมีคณ ุ สมบัตใิ นการช่วยลดปั ญหาเสียง เช่น เสียงก้อง เสียงสะท้อน เสียงลอดจากห้อง โดยสามารถแบ่งวัสดุอะคูสติกออกเป็ น � ประเภท
Absorbers Materials.
ACOUSTIC MATERIAL.
Insulation Materials.
Diffusers Materials.
CONCEPT. “ADAGIETTO” แนวคิดในการออกแบบมาจาก การนําจุดเด่นของดนตรีบาํ บัด มาใช้ โดยการนําเพลงจังหวะ “ADAGIETTO” หรือ จังหวะบีท ที� ��-�� บีท เป็ นจังหวะของการเต้นของหัวใจและเป็ นจังหวะที�ทาํ ให้รูส้ กึ ผ่อนคลายมากที�สดุ มาแปลงออกเป็ น PATTERN ที�คล้ายๆ กับคลื�นความถี�ของเสียงและนํามาใช้กบั การออกแบบที�ทาํ ให้รูส้ กึ ผ่อนคลายมากที�สดุ
KEYWORDS.
MUSIC.
COMMUNITY.
RELIEVE STRESS.
THERAPY.
4
7 6
5
4 8
3
1 : RECEPTION & INFORMATION. 2 : ASSESSMENT ROOM. 3 : CAFE’s & CANTEEN. 4 : MUSIC PARK. 5 : COMMON AREA. 6 : CO-WORKING SPACE. 7 : INFORMATION PRIVATE. 8 : SHOP.
1
2
6
7 2
9
1 3
8
5
4
1 : RECEPTION & INFORMATION 2nd. 2 : RECORDING ROOM. 3 : TRAINING ROOM. 4 : SINGLE THERAPY ROOM. 5 : GROUP THERAPY ROOM. 3-6 person 6 : GROUP THERAPY ROOM. 6-12 person 7 : PRIVATE THERAPY ROOM. 8 : BRAIN TRAINING THERAPY ROOM. 8 person 9 : ADVISORY ROOM.
MASTER PLAN.
MASTER PLAN.
PERSPECTIVE.
MAIN ENTRANCE.
ทางเข้าไปสูใ่ นอาคาร ซึง� มีตน้ ไม้ท�ีเป็ นธรรมชาติเป็ นตัวนําทาง เชื�อมเข้ากับภายใน และภายในอาคารจะใช้กระจกเป็ นส่วนใหญ่ เพื�อให้ทกุ โซนสามารถเห็นภายในตัวอาคารที�เป็ นธรรมชาติได้ทงั� หมด
RECEPTION.
โซนต้อนรับ ที�ใช้สาํ หรับการติดต่อ ASSESSMENT ROOM หรือ ติดต่อสอบ เรือ� งการเข้าใช้ดนตรีบาํ บัด
INFORMATION.
โซนรับรอง สําหรับผูท้ �ีเข้ามาใช้งาน หรือ ติดต่อเข้ารับการประเมิน เรือ� งการใช้ดนตรีบาํ บัด
ASSESSMENT ROOM.
โซนรับรองระหว่างรอพบแพทย์เพื�อทําการประเมิน เรือ� งการใช้ดนตรีบาํ บัด
ASSESSMENT ROOM.
โซนรับรองระหว่างรอพบแพทย์เพื�อทําการประเมิน เรือ� งการใช้ดนตรีบาํ บัด ซึง� มีการนําธรรมชาติเข้ามาใช้ เพื�อให้มีความสบายในการใช้พืน� ที�
CAFE’s & CANTEEN.
โซนคาเฟ่ และพืน� ที�รบั ประทานอาหาร สามารถรองรับสําหรับคนที�มาเป็ น ครอบครัวได้
CAFE’s & CANTEEN.
โซนคาเฟ่ และพืน� ที�รบั ประทานอาหาร สามารถรองรับสําหรับคนที�มาเป็ น ครอบครัวได้
HALL 1.
โซนระหว่างทางเดินในตัวอาคาร ระหว่างเดินจะเห็นภายในอาคารทัง� หมด และเป็ นโซนพักผ่อน สามารถฟั งดนตรีคลายเครียดได้
MUSIC PARK.
โซนดนตรี จะเป็ นโซนพักผ่อนที�ไว้ฟังดนตรีเพื�อผ่อนคลาย และมีธรรมชาติ เป็ นตัวช่วยอีกแบบ
COMMON AREA .
โซนพืน� ที�สว่ นกลาง สามารถเข้ามานั�งทํางาน หรือ พักผ่อนด้วยการฟั ง ดนตรีคลายเครียด และธรรมชาติก็เป็ นตัวช่วยในการบําบัดอีกแบบ
HALL 2.
โซนชัน� � ที�สามารถเห็นภายในตัวอาคารได้ทงั� หมด
RECEPTION & INFORMATION 2nd.
โซนต้อนรับชัน� � เป็ นโซนที�บคุ คลที�เข้ามาบําบัดเข้ามาปรึกษาได้ และสามารถติดต่อเรือ� งการใช้หอ้ งซ้อมดนตรี
HALL 2.
โซนชัน� � หน้าห้อง ADVISORY ROOM ที�สามารถมองเห็นได้ทงั� ภายในอาคาร
HALL 2.
โซนชัน� � หน้าห้อง ADVISORY ROOM ที�สามารถมองเห็นได้ทงั� ภายในอาคาร
SINGLE THERAPY. ROOM.
ห้องดนตรีบาํ บัดแบบเดี�ยว จะมีการใช้วสั ดุอะคูสติก และ ใช้สีธรรมชาติ อย่างวัสดุไม้
GROUP THERAPY. ROOM. 3-6 person
ห้องดนตรีบาํ บัดแบบกลุม่ �-� คน จะมีการใช้วสั ดุอะคูสติก และ ใช้สีธรรมชาติ อย่างวัสดุไม้ ให้มีความสบาย ผ่อนคลาย
GROUP THERAPY. ROOM. 6-12 person
ห้องดนตรีบาํ บัดแบบกลุม่ �-�� คน จะมีการใช้วสั ดุอะคูสติก เพราะว่าห้องนีจ� ะมีการใช้คอ่ ยข้างมาก และ ใช้สีธรรมชาติ อย่างวัสดุไม้
PRIVATE THERAPY. ROOM.
ห้องดนตรีบาํ บัดแบบส่วนตัว ห้องนีจ� ะมีการใช้ท�ีสว่ นตัวภายในห้อง จะมีการใช้ติดกระจกแบบขุน่ เพื�อไม่ให้ขา้ งเห็นภายในห้อง ในเวลา เข้าทําการบําบัด แต่ภายในห้องสามารถเห็นข้างนอกได้ จะเป็ นตัว ตัวช่วยเสริมสร้างความมั�นใจให้กบั ผูบ้ าํ บัดได้
BRANDING.
BRANDING.
LOGO.
บทสรุปและข้อเสนอแนะ โครงการศิลปนิพนธ์ครัง� นีม� ีวตั ถุประสงค์ เพื�อศึกษาประวัตแิ ละความเป็ นมา ของ ดนตรีบาํ บัด เพื�อนํามาใช้ในการออกแบบศูนย์ดนตรีบาํ บัด ข้อมูลของดนตรีบาํ บัดค่อนข้างน่าสนใจ เพราะ ว่า ดนตรีบาํ บัด ได้เข้ามาในไทยได้ไม่นาน จึงจําเป็ นต้องศึกษา ในมุมมองที�ใกล้เคียงและถูก ต้องที�สดุ จึงมาเป็ น ศูนย์ดนตรีบาํ บัด ตามแนวคิดการออกแบบของผูศ้ กึ ษาที�ตอ้ งการให้ ดนตรี บําบัด เป็ นที�รูจ้ กั ในมุมกว้าง และเป็ นการรักษาอีกทางเลือกหนึง� ที�คอ่ นข้างน่าสนใจ
ข้อเสนอแนะ ควรจะศึกษาเรือ� งดนตรีบาํ บัดและวิเคราะห์ขอ้ มูลให้มากกว่านี � พยายามหาแหล่งที�มาและ แหล่งข่าวนอกอินเตอร์เน็ต หาที�ปรึกษาในเฉพาะด้านโดยตรง ควรจะศึกษารายละเอียดและนําสิ�งที�ศกึ ษามาใช้กบั งานออกแบบให้มากกว่านี �
REFERENCE. https://www.goldenlifehome.com/2016/ดนตรีบาํ บัด/ https://www.happyhomeclinic.com/alt05-musictherapy.htm https://www.ekachaihospital.com/th/music-bumbud/ https://www.mephoomschool.com/history-of-music-therapy/ http://cjf.or.th/?page_id=368 http://www.snmri.go.th/mt/ https://voices.no/index.php/voices/article/view/1590/1349 https://www.gotoknow.org/posts/690244 https://www.manarom.com/music_therapy_thai.html https://www.musiikkioppilaitokset.org/ https://www.archdaily.com/803064/sunbeams-music-centre-mawsonkerr-architects https://www.archdaily.com/278890/edgecliff-medical-centre-enter-architecture https://www.designboom.com/design/atipus-identity-for-ritmia-music-therapy-center/ https://avl.co.th/services/acoustic-design/ https://www.7rangestudio.com/17174904/วัสดุอะคูสติก https://www.mephoomschool.com/history-of-music-therapy/ https://www.mmtonline.org/schools.html https://thepappyness.com/a-potpourri-of-sound/ดนตรีบาํ บัด-music-therapy-ประวัต-ิ ทฤษฎี-และประโยชน์/ ข้อมูลเพิ�มเติม ปรึกษาอาจารย์ สาขาวิชาดนตรีบาํ บัด วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล