Potjarin Kasetpibal

Page 1

WOMEN PSYCHOTHERAPY AND EMPOWERMENT CENTER โครงการศึกษาความรุนแรงต่อสตรีสู่ศูนย์บำ�บัดจิตใจและส่งเสริมทักษะทางสังคม



โครงการศิลปนิพนธ์ วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต

ชื่อโครงการ

โครงการศึกษาการกระทำ�รุนแรงต่อเพศหญิงสู่การ ออกแบบภายในศูนย์บำ�บัดทางจิตใจและการเสริม สร้างทักษะทางสังคม

ประเภทของศิลปนิพนธ์

งานออกแบบภายใน

ผู้ดำ�เนินโครงการ

นางสาว พจรินทร์ เกษตรภิบาล รหัสนักศึกษา 6100555 ้ ที่ 4 คณะศิลปะและการออกแบบ นักศึกษาชันปี สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต

ที่ปรึกษาโครงการ

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ไพลิน โภคทวี



สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมต ั ิให้นับศิลปนิพนธ์ฉบับนี้เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน

…………………………………. คณบดีวท ิ ยาลัยการออกแบบ (รองศาสตราจารย์ พิศประไพ สาระศาลิน)

คณะกรรมการศิลปนิพนธ์

…………………………………. ประธานกรรมการ (อาจารย์ วริศว์ สินสืบผล)

…………………………………. กรรมการ (อาจารย์ถวัลย์ วงษ์สวรรค์)

………………………………… กรรมการ (อาจารย์อรรถกฤษณ์ อุทัยกาญจน์)

………………………………… กรรมการ (อาจารย์ บัณฑิต เนียมทรัพย์)

………………………………… กรรมการ (อาจารย์ เรวัฒน์ ชำ�นาญ)

………………………………… กรรมการ (อาจารย์ ณัฐพงศ์ ศรีปุงวิวฒ ั น์) ………………………………… กรรมการ (อาจารย์ กาลัญญู สิปิยารักษ์)

………………………………… กรรมการ (ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ไพลิน โภคทวี)

อาจารย์ที่ปรึกษาศิลปนิพนธ์

……………………………………………… (ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ไพลิน โภคทวี)



บทคัดย่อ ่ ้ นในทุกๆปี ซึ่งเกิดทั้งในสถาบัน จากช่วงระยะเวลาหลายปี ที่ผ่านมา สถานการณ์ความรุนแรงคืออีกหนึ่งปั ญหาที่มีสถิติท่ีเพิมขึ ครอบครัวและสังคมทั่วไป โดยเหยื่อที่รับผลกระทบมักเป็ นเพศหญิงและเด็ก องค์กรที่สามารถให้ความช่วยเหลือบุคคลเหล่านี้ได้น้ัน ่ นที่องค์กรประเภท ประกอบไปด้วยองค์กรทางกฎหมาย สถานพยาบาล และศูนย์สงเคราะห์ แต่ในการขอความช่วยเหลือส่วนใหญ่มก ั เริมต้ ศูนย์สงเคราะห์ เนื่องจากการบริการของศูนย์สงเคราะห์น้ันครบครันทั้งในส่วนของการดำ�เนินการติดต่อเจ้าหน้าที่ทางด้านกฎหมายไป จนถึงการติดต่อสถานพยาบาล เพื่อเข้ารักษาทั้งสุขภาพร่างกายไปพร้อมๆกับจิตใจ รวมไปถึงการเก็บหลักฐานสำ�หรับการนำ�ไปใช้ในการ ดำ�เนินคดี นอกจากนี้ศูนย์สงเคราะห์สำ�หรับช่วยเหลือสตรีและเด็กในบางแห่งนั้นมีการให้บริการในด้านการอบรมและฝึ กสอนอาชีพ เพื่อ ่ นชีวต นำ�ไปตั้งตัวหรือเริมต้ ิ ใหม่อก ี ด้วย สำ�หรับเจ้าหน้าที่ในศูนย์สงเคราะห์น้ันมีหลากหลายแผนกด้วยกัน ซึ่งประกอบไปด้วย แผนก ประชาสัมพันธ์ แผนกจิตวิทยา แผนกที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย รวมไปถึงแผนกบริหาร แผนกอาหารและทำ�ความสะอาด ซึ่งเจ้าหน้าที่ต้อง เป็ นผู้มค ี วามรู้ และพร้อมที่จะทำ�ความเข้าใจในปั ญหาของผู้ใช้บริการ ในทุกพื้นที่ของประเทศไทยล้วนมีปัญหาดังกล่าวเกิดขึ้น ไม่วา่ จะเป็ นในพื้นที่แออัดหรือพื้นที่เจริญแล้ว แต่ปฏิเสธไม่ได้วา่ เรื่อง ราวเหล่านี้มักเกิดขึ้นในพื้นที่อย่างแรกมากกว่า อย่างไรก็ตาม ผู้คนย่อมอยากอาศัยอยู่ในพื้นที่ที่ดีกว่าที่ตนอยู่ ดังนั้นสำ�หรับพื้นที่อย่าง ้ กรุงเทพฯหรือที่ทราบกันดีวา่ เป็ นเมืองหลวงของประเทศ ที่ซึ่งเป็ นหนึ่งในสถานที่ที่คนในหลายพื้นที่เลือกเข้ามาอยู่ หางานเลียงชี พ รวม ไปถึงเดินทางเข้ามาเพื่อรับการศึกษา เนื่องด้วยการคมนาคมที่ค่อนข้างสะดวก ประกอบกับความเจริญในด้านต่างๆของพื้นที่ เมื่อเกิด ้ เพื่อเป็ นการสร้าง เหตุการณ์ที่มีเหยื่อถูกทำ�ร้ายด้วยความรุนแรงต่างๆจึงมีการส่งตัวมาพักพิงในศูนย์ชว่ ยเหลือที่กรุงเทพฯบ่อยครัง พื้นที่ปลอดภัยให้กับผู้เดือดร้อน และความสะดวกในการดูแล รวมไปถึงเป็ นการนำ�พาเหยื่อออกจากสถานที่ไกลจากที่เกิดเหตุท่ีสร้างแผล ่ นใหม่ที่นี่หรือมาเตรียมความพร้อมสำ�หรับ ใจให้กับเหยื่อ กลุม ่ คนเหล่านี้จึงยอมเดินทางมายังกรุงเทพฯเพื่อรับความช่วยเหลือ และเริมต้ การกลับสู่ถิ่นฐานเดิม การสร้างสถานที่ปลอดภัยเพื่อบริการคนเหล่านี้จึงเป็ นแนวคิดหลักในการทำ�โครงการ เพื่อนำ�ไปสู่การส่งเสริม บริการอื่นๆในโครงการ และสร้างความรูส ้ ึกที่ดีต่อผู้ใช้บริการอีกด้วย การให้ความช่วยเหลือประเภทศูนย์สงเคราะห์น้ันจำ�เป็ นต้องมีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา เพื่อตอบโจทย์ปัญหาในแต่ละกรณีของ ผู้เดือดร้อนแต่ละคนที่เข้ารับความช่วยเหลือจากศูนย์ ผู้เดือดร้อนหรือผู้เข้าใช้บริการศูนย์สงเคราะห์หลักๆแล้วเป็ นกลุม ่ บุคคลที่มีฐานะ ปานกลางไปจนถึงน้อย การให้บริการของศูนย์สงเคราะห์จง ึ ไม่มค ี ่าใช้จา่ ยในการให้บริการ การบริการในศูนย์จง ึ เน้นไปที่การช่วยเหลือตัว เอง และวางรูปแบบกิจกรรมที่เหมาะสมกับฐานเงินเดือนของผู้เข้าใช้บริการ การออกแบบภายในเช่นกัน มีการใช้วส ั ดุที่รักษาง่าย ใช้งาน ได้นาน และไม่สร้างความรูส ้ ึกในแง่ลบต่อการใช้งานในพื้นที่ เพื่อให้ผู้เข้าใช้บริการรูส ้ ึกสะดวกใจในการใช้บริการ ซึ่งส่งเสริมการบริการ ของเจ้าหน้าที่ต่อผู้เข้าใช้บริการมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมไปถึงมีพ้นที ื ่สำ�หรับการเข้าสังคม และสานสัมพันธ์กับบุคคลที่เข้าใช้บริการ ด้วยกันเองได้อก ี ด้วย ่ ปั จจุบันผู้คนมีความตระหนักต่อปั ญหาสังคมมากขึ้น มีมุมมองต่อปั ญหาต่างๆที่เปลียนแปลงไปจากแต่ ก่อน กล้าที่จะนำ�ตัว ออกมาจากสิ่งที่สร้างความรูส ้ ึกที่เป็ นพิษต่อตัวเองและบุคคลที่รัก ผู้วจ ิ ย ั จึงสนใจในศึกษาสิ่งที่สามารถช่วยเหลือและพัฒนากลุม ่ คน ่อผลประโยชน์ส่วนตัวและส่วนรวมไป เหล่านี้ให้พร้อมสู่การเข้าสังคม เพราะการใช้ชวี ต ิ ของมนุษย์จ�ำ เป็ นต้องมีการปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่ นเพื ื พร้อมๆกัน


กิตติกรรมประกาศ โครงการศิลปนิพนธ์ เรื่องการศึกษาความรุนแรงต่อสตรีสู่ศูนย์บำ�บัดจิตใจและส่งเสริมทักษะ ทางสังคมนี้สามารถดำ�เนินการสำ�เร็จลุลว ่ งได้เป็ นอย่างดีด้วยความอนุเคราะห์ การสนับสนุน และความ ช่วยเหลือในอีกหลายๆด้าน เพื่อนำ�ไปสู่การพัฒนาของตัวข้าพเจ้าอย่างภาคภูมใิ จ

ขอขอบคุณอาจารย์ท่ีปรึกษาโครงการศิลปนิพนธ์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ไพลิน โภคทวี ที่คอย ให้คำ�ปรึกษาในการพัฒนาโครงการ และผลักดันให้กำ�ลังใจจนโครงการนี้สามารถประสบผลสำ�เร็จได้เป็ น อย่างดี ขอขอบคุณคณะกรรมการทุกท่านที่ให้คำ�แนะนำ� และคำ�ปรึกษาที่เป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนา โครงการของข้าพเจ้าให้มป ี ระสิทธิภาพที่ดีจนประสบผลสำ�เร็จด้วยความรูส ้ ึกภาคภูมใิ จ ขอขอบคุณเจ้าหน้าที่ทุกท่านจากสมาคมส่งเสริมสถานภาพสตรีในพระอุปถัมภ์ท่ีให้ความร่วม มือเป็ นอย่างดีในการให้ข้อมูลสำ�หรับการวิเคราะห์ เข้าเยี่ยมชมพื้นที่ และเป็ นแบบอย่างในการพัฒนา โครงการศิลปนิพนธ์ของข้าพเจ้า และขอขอบคุณหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปั ญโญที่ให้ความ

อนุเคราะห์ในข้อมูลเชิงพื้นที่ เพื่อนำ�มาพัฒนาต่อยอดจนโครงการสำ�เร็จไปได้ด้วยดี

ขอขอบคุณมิตรภาพของเพื่อนทุกคนในวิทยาลัยการออกแบบที่คอยให้ความช่วยเหลือ ้ สนับสนุนกันและกันตลอดระยะเวลาการศึกษาในรัวมหาวิ ทยาลัยของข้าพเจ้า ขอบคุณครอบครัวของ

้ สุดท้ายของการศึกษา และ ข้าพเจ้าที่คอยให้ความสนับสนุนในทุกๆขั้นตอนของการศึกษาจวบจนชันปี ขอขอบคุณการบริการของสำ�นักงานสวัสดิการสุขภาพ มหาวิทยาลัยรังสิตที่ให้ความช่วยเหลือข้าพเจ้า

ระหว่างการทำ�ศิลปนิพนธ์น้ี

สุดท้ายนี้ข้าพเจ้าขอขอบคุณตัวข้าพเจ้าเองที่สามารถพัฒนาตนเองได้จนมาถึงจุดนี้

พจรินทร์

เกษตรภิบาล


สารบัญ บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ� ที่มา หลักการและเหตุผลของโครงการศิลปนิพนธ์ วัตถุประสงค์ของโครงการ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบ ั ขอบเขตการศึกษาเเละเนื้อหาข้อมูล ขั้นตอนและวิธก ี ารดำ�เนินงาน

บทที่ 2 ข้อมูลพื้ นฐานและราย ละเอียดประกอบโครงการ

ข้อมูลพื้นฐานและการใช้สอยในประเภทอาคารและ โครงการ การวิเคราะห์อาคาร สถาปั ตยกรรม สภาพแวดล้อม กรณีศึกษา และวิเคราะห์อาคารเปรียบเทียบ

บทที่ 3 หลักการ ทฤษฎี แนวคิด ที่ศึกษา

เนื้อหาของหลักการ ทฤษฎี หรือที่มาของแนวคิดในการออกแบบ นำ�เสนอการวิเคราะห์ตีความจากแนวคิดไปสู่การออกแบบ

บทที่ 4 ผลงานการออกแบบ กระบวนการในการออกแบบ การวางผังและออกแบบพื้นที่ใช้สอย การออกแบบภายใน การออกแบบภาพลักษณะองโครงการ

บทที่ 5 บทสรุป และข้อเสนอแนะ สรุปผลของโครงการ สรุปผลการวิจย ั ปั ญหาและข้อเสนอแนะ

ก ข ค



1

บทนำ� - ที่มา หลักการและเหตุผลของโครงการศิลปนิพนธ์ - วัตถุประสงค์ของโครงการ - ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบ ั

- ขอบเขตการศึกษาเเละเนื้อหาข้อมูล - ขั้นตอนและวิธก ี ารดำ�เนินงาน



PROJECT BACKGROUND ที่มา และเหตุผลในการศึกษาโครงการ

ในระยะเวลาที่ผ่านมาจนมาถึงปั จจุบัน สังคมไทยได้มก ี ารพัฒนาด้านต่างๆให้ดีข้ น ึ กว่าสมัยก่อนเป็ นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องการตระหนักรูถ ้ ึงปั ญหาต่างๆของ สังคมและสิ่งแวดล้อม แต่ถึงอย่างไรก็ตาม แม้ผู้คนจะมีความรูม ้ ากขึ้นเพียงใดก็ปฏิเสธไม่ได้ ้ ่นก็คือ เลยว่าจะสามารถทำ�ให้ปัญหาต่างๆลดลงได้ ซึ่งปั ญหาที่เห็นได้ชด ั และเกิดขึ้นบ่อยครังนั ปั ญหาในเรื่องของความรุนแรง โดยเฉพาะปั ญหาความรุนแรงต่อสตรีเพศและครอบครัว

จากข้อมูลของ WHO (World Health Organization) ได้มก ี ารสรุปสถิติความ รุนแรงต่อเพศหญิงไว้วา่ 1 ใน 3 ของผู้หญิงทั่วโลกเคยตกอยู่ในเหตุการณ์ความรุนแรงไม่วา่ จะเป็ นทางกายหรือทางเพศจากคู่ชวี ต ิ ของตนหรือคนแปลกหน้า นอกจากนี้ จากสถิติความ รุนแรงในช่วงปี พ.ศ.2564 ที่ผ่านมาของประเทศไทย โดยอ้างอิงข้อมูลจากการสัมภาษณ์นาง จินตนา จันทร์บำ�รุง อธิบดีกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ที่ให้ไว้กับทางสำ�นักข่าวไทยพบว่ามีการรายงานผู้ถก ู กระทำ� รุนแรงในครอบครัวถึง 200 เรื่องต่อเดือน โดยผู้ท่ีถูกกระทำ�ส่วนใหญ่เป็ นผู้หญิงถึง 81% ่ และเมื่อดูสถิติย้อนหลังตั้งแต่ปีพ.ศ.2561 จะพบว่าเฉลียสถิ ติเหตุรน ุ แรงในครอบครัวนั้นมี ่ ้ นอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นปั ญหาในเรื่องของความรุนแรงนั้นจึงเป็ นปั ญหาที่สังคมควร การเพิมขึ ให้ความสำ�คัญ และให้ความช่วยเหลือต่อผู้ถก ู กระทำ�อย่างเหมาะสม ไม่วา่ จะเป็ นในขั้นตอน ของการนำ�เหยื่อออกมาจากเหตุการณ์หรือการดูแลหลังจากผ่านพ้นเหตุการณ์ไปแล้ว เพื่อให้ ผู้ถก ู กระทำ�ได้มก ี ารพัฒนาตัวเองจนไปถึงหลุดพ้นจากความทุกข์ท่ีเผชิญอยู่ และพร้อมเดิน หน้าต่อไปในสังคม

สำ�หรับปั จจุบัน สถิติปัญหาความรุนแรงต่อสตรีน้ันยังคงทำ�ให้หมดไปได้ยาก แต่ ถ้าหากผู้ถก ู กระทำ�ได้รบ ั การช่วยเหลืออย่างเหมาะสมและผู้คนมีความเข้าใจต่อปั ญหามาก ขึ้น การให้ข้อมูลหรือความรูท ้ ี่เป็ นประโยชน์ และกระตุ้นให้ผู้คนตระหนักถึงปั ญหาไปพร้อมๆ กับให้ความดูแลที่รวมไปถึงช่วยแก้ไขปั ญหาของผู้ถก ู กระทำ�ไปด้วย ปั ญหาเหล่านี้ในสังคมก็ สามารถลดลงได้ เมื่อคนในสังคมได้รบ ั การพัฒนา สังคมที่เป็ นอยู่ย่อมพัฒนาตามไปด้วย


OBJECTIVES 1.

วัตถุประสงค์ของโครงการ

เพื่อศึกษาขั้นตอนการช่วยเหลือและกิจกรรมสำ�หรับพัฒนาผู้ถก ู กระทำ�ในเหตุการณ์ความรุนแรงต่อสตรี นำ�ไปสู่การ เสริมสร้างทักษะทางสังคมและการพัฒนาจิตใจ

2.

เพื่อให้ผู้คนตระหนักถึงปั ญหาความรุนแรงในสังคม ซึ่งเป็ นปั ญหาที่ส่งผลในวงกว้าง และส่งผลโดยตรงต่อผู้ถก ู กระทำ� รวมไปถึงส่งเสริมให้ผู้คนกล้าที่จะขอความช่วยเหลือ และพู ดถึงปั ญหาเหล่านี้เมื่อพบเจอ

3.

่ นของการสร้างสถานที่สำ�หรับการดูแลทางด้านจิตใจและทักษะทางสังคมสำ�หรับผู้ผ่านเหตุการณ์ เพื่อเป็ นจุดเริมต้ ความรุนแรง โดยใช้การออกแบบภายในเข้ามามีส่วนในการสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ

4.

เพื่อเป็ นสถานที่สำ�หรับให้ความรูเ้ ฉพาะทางในเรื่องของปั ญหาความรุนแรงและการเคลื่อนไหวของสตรี

5.

เพื่อพัฒนาภาพลักษณ์และรูปแบบของสถานสงเคราะห์ที่ทำ�ให้ผู้คนกล้าเข้าใช้งานและขอความช่วยเหลือ

EXPECTATIONS 1.

ั ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบ

เพื่อศึกษาปั จจัยที่ส่งผลต่อความรูส ้ ึกปลอดภัยในพื้นที่ภายในอาคาร รวมไปถึงความรูส ้ ึกอื่นๆที่เป็ นด้านบวก หรือกล่าว คือเป็ นพื้นที่เชื่อมต่อระหว่างความรูส ้ ึกกล้าความช่วยเหลือจากผู้อ่ น ื และต้องการพึ่งพาตนเองไปด้วยกัน

2.

เป็ นพื้นที่ส่งเสริมและให้ความช่วยเหลือในเรื่องของการแก้ไขปั ญหาสำ�หรับสตรีท่ีเป็ นผู้ถก ู กระทำ�ในเหตุการณ์รน ุ แรง โดยให้ความรู้ และสร้างทักษะทางสังคมไปพร้อมกับการบำ�บัดควบคู่ไปด้วยกัน

3.

เปิ ดให้ผู้ที่มีปัญหาที่เกี่ยวข้องกับความรุนแรงไม่มากก็น้อยโดยไม่จ�ำ กัดเพศและวัยได้เข้ามาหาคำ�ตอบ และรับวิธแ ี ก้ไข กลับไปปรับใช้ได้ด้วยตนเองหรือมีเจ้าหน้าที่ร่วมช่วยแก้ไขไปด้วยกัน

4.

มุง ่ หวังให้เป็ นพื้นที่สำ�หรับให้ความช่วยเหลือและพัฒนาบุคคลไปด้วยในเวลาเดียวกัน


AREAS OF STUDIES ขอบเขตการศึกษา

1.ศึกษาความรุนแรงต่อสตรีและผลกระทบต่อผู้ถก ู กระทำ� 2.ศึกษาขั้นตอนการให้ความช่วยเหลือผู้ถก ู กระทำ�

3.ศึกษาและทำ�ความเข้าใจความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย 4.ศึกษาพื้ นที่ตั้งของโครงการและบริเวณโดยรอบ 5.ศึกษาทฤษฎีที่นำ�ไปสู่ความรูส ้ ึกปลอดภัยในพื้ นที่


RESEARCH METHODOLOGIES ขั้นตอนและวิธก ี ารดำ�เนินงาน

1. การค้นคว้าข้อมูล ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสตรีท่ีตกเป็ นเหยื่อของการกระทำ�รุนแรง รวมไปถึงทฤษฎีสำ�หรับการประยุกต์ใช้ในการออกแบบเพื่อตอบ สนองต่อผู้ใช้งานภายในโครงการจากแหล่งข้อมูลต่างๆ

2. การรวบรวมข้อมูล นำ�ข้อมูลที่ศึกษาเกี่ยวข้องกับการตอบสนองต่อความต้องการของ กลุม ่ เป้ าหมาย ข้อมูลเชิงพื้นที่ของโครงการมารวบรวมโดยแบ่งเป็ น หมวดหมูอ ่ ย่างเข้าใจง่าย

3. วิธก ี ารรวบรวมข้อมูล สัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการในเรื่องของการให้ความช่วยเหลือสตรี ที่ถูกกระทำ�รุนแรง และลงพื้นที่จริงของโครงการ รวมถึงสำ�รวจ บริเวณโดยรอบ

4. การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมนั้นดำ�เนินการไปพร้อมๆกับการ รวบรวมข้อมูล พิจารณาถึงความสำ�คัญ และความน่าเชื่อถือของ ข้อมูล เพื่อนำ�ไปสู่การออกแบบต่อไป

่ 5. การศึกษาเพิมเติ ม เป็ นการศึกษาในส่วนของกรณีศึกษาสำ�หรับกิจกรรมภายในโครงการ ่ และงานวิจย ั เพิมเติ มสำ�หรับการออกแบบในพื้นที่


Research

Schedule

Term 1/64

8

นำ�เสนอหัวข้อโครงการศิลปนิพนธ์

AUG

9 SEPT

10 OCT

11 NOV

o พัฒนาโครงการศิลปนิพนธ์จากคำ�แนะนำ� ของคณะกรรมการ และอาจารย์ท่ีปรึกษา ่ วิเคราะห์ข้อมูล / หาข้อมูลเพิมเติ ม

้ ่1 ตรวจเตรียมศิลปนิพนธ์ครังที

้ ่3 ตรวจเตรียมศิลปนิพนธ์ครังที

o เสนอหัวข้อโครงการ ที่มา

o เสนอคณะกรรมการตรวจศิลปนิพนธ์

วัตถุประสงค์ กลุม ่ เป้ าหมาย ที่ตั้ง โครงการและการวิเคราะห์ท่ีตั้ง นำ� เสนอคณะกรรมการตรวจศิลปนิพนธ์ แบบออนไลน์

12 DEC

โดยเตรียมเป็ น Slide Presentation นำ�เสนอการพัฒนา Design Concept ไป สู่ Design/ Zoning/ Planning/ Idea sketch Design

้ ่2 ตรวจเตรียมศิลปนิพนธ์ครังที o เสนอการพัฒนาหัวข้อ สรุปข้อมูล Proposal Research Process PresentationProgramming Development และ Conceptual Idea

Term 2/65

2 FEB

3 MAR

้ ่1 นำ�เสนอศิลปนิพนธ์ครังที o พัฒนา และนำ�เสนอการวางผัง Planning development สรุปแนวคิดการออกแบบ และนำ�เสนอการพัฒนาแนวความคิดไปสู่การ ออกแบบ

้ ่2 นำ�เสนอศิลปนิพนธ์ครังที o พัฒนา และนำ�เสนอการวางผัง Planning development สรุปแนวคิดการออกแบบ นำ�เสนอการพัฒนาแนวความคิดไปสู่การ ออกแบบ และนำ�เสนอ Plans/ Elevations/ Perspectives /Models

4

o พัฒนาโครงการศิลปนิพนธ์ภายใต้คำ� แนะนำ�ของคณะกรรมและอาจารย์ท่ีปรึกษา

APRIL

5 MAY

้ ดท้าย นำ�เสนอศิลปนิพนธ์ครังสุ o สรุปเนื้องานทั้งหมดทั้ง 2 เทอม พร้อมทำ� Presentation ให้ได้มาตรฐาน เหมือนงาน แสดงเมื่อจัดแสดงนิทรรศการศิลปนิพนธ์ และนำ�เสนองานเทคนิคการก่อสร้างในส่วนที่ สัมพันธ์กับการออกแบบ


2

้ ข้อมูลพื นฐาน -ข้อมูลพื้นฐานและการใช้สอยในประเภทอาคารและ โครงการตัวอย่าง ฯลฯ - การวิเคราะห์อาคาร สถาปั ตยกรรม สภาพแวดล้อม - กรณีศึกษา และวิเคราะห์อาคารเปรียบเทียบ



ความรุนแรงต่อสตรีคืออะไร ? คือการกระทำ�รุนแรงต่อบุคคลหนึ่งที่มีเหตุผลเกิดจากความเป็ นเพศหญิงโดยมี เหตุจง ู ใจส่วนตัวและบทบาทที่สังคมกำ�หนดเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ซึ่งผลลัพธ์ของการ แสดงออกมีหลายรูปแบบด้วยกัน เช่น การทำ�ร้ายร่างกายและจิตใจ หรือแม้แต่ความ รุนแรงทางเพศ การกีดกันการเข้ารับการศึกษา รวมไปถึงการริดรอนสิทธิข้นพื ั ้นฐานต่างๆอีกด้วย

สถิติความรุนแรงต่อสตรี ในประเทศไทย

้ ความรุนแรงเป็ นอีกหนึ่งปั ญหาที่พบเจอบ่อยครังในสั งคมไทย ในปี 2563 ได้มก ี ารสรุปสถิติดังนี้

การให้ความช่วยเหลือกับผู้ ประสบปัญหา การช่วยเหลือแก่สตรีท่ีประสบปั ญหาลักษณะดังกล่าว ประกอบ

ด้วย 3 ข้อต่อด้วยกัน ได้แก่ องค์กรกฎหมาย สถานสงเคราะห์ และ สถานพยาบาล


ศูนย์สงเคราะห์สำ�หรับสตรี สถานที่บริการและให้ความช่วยเหลือที่สำ�คัญต่อผู้เคราะห์รา้ ย ศูนย์สงเคราะห์เป็ นหนึ่งในองค์กรสำ�หรับช่วยเหลือทั้งในด้านของการให้การศึกษา จัดหาที่พัก รวมไปถึงการบำ�บัด โดยศูนย์สงเคราะห์ของประเทศไทยที่ให้ความช่วยเหลือ สำ�หรับสตรีและเด็กโดยเฉพาะนั้นมีอยู่หลายแห่งด้วยกัน ศูนย์ที่มีการบริการที่ครบครัน อย่าง “สมาคมส่งเสริมสถานภาพสตรีในพระราชอุปถัมภ์ฯ บ้านพักฉุกเฉิน”เองก็เป็ นอีก หนึ่งในศูนย์ที่มีช่อเสี ื ยงของประเทศไทย

สมาคมส่ งเสริม สถานภาพสตรีใน พระราชอุปถัมภ์ฯ บ้านพั กฉุกเฉิน

สมาคมส่งเสริมสถานภาพสตรีใน พระราชอุปถัมภ์ฯ บ้านพักฉุกเฉิน หรือ Association for the Promotion of the Status of Women ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2523 เป็ น ่ ้งทางกายและใจให้แก่ผู้หญิง ที่พักพิงชัวคราวทั และเด็กที่เดือดร้อนซึ่งประสบปั ญหาครอบครัว ท้องเมื่อไม่พร้อม ถูกข่มขืน ติดเชื้อHIV/AIDS สามีทิ้งหรือทำ�ร้ายร่างกายและจิตใจ ฯลฯ ซึ่ง การดูแลของศูนย์น้ันได้รบ ั การสนับสนุนจาก ่ บุคคลทัวไป รวมถึงองค์กรต่างๆทั้งภาค เอกชนและรัฐบาล การทำ�งานของสมาคมคือการให้ ความช่วยเหลือด้านที่อยู่อาศัย ดูแลสุขภาพ และอาหาร รวมทั้งให้คำ�ปรึกษาแนะนำ� การ ให้ทักษะชีวต ิ และกำ�ลังใจ แนวคิดในให้บริการ ของสมาคมใช้หลักแนวคิดของJeorge Engel และJohn Romano ที่มีช่อว่ ื า Bio-Psycho-Social ซึ่งว่าด้วยเรื่องการรักษาและ ดูแลผู้ป่วยหรือคนไข้ ไม่ควรดูเพียงแค่สุขภาพ ภายนอก ควรดูเรื่องจิตใจและประวัติของผู้ ป่ วยด้วยว่าอยู่ในสภาพแวดล้อมลักษณะใด หรือเคยผ่านสังคมรูปแบบไหนมาบ้าง บริการของทางสมาคมนั้นประกอบ ่ ไปด้วยการให้ที่พักพิงชัวคราว กิจกรรม นันทนาการ และศูนย์ฝึกอาชีพ มุง ่ เน้นให้สตรี ่ ทีมาใช้บริการสามารยืนหยัดได้ด้วยตนเอง และ สามารถออกสู่สังคมได้อย่างมั่นใจ


การติดต่อเข้าใช้บริการศูนย์สงเคราะห์ สามารถติดต่อขอความช่วยเหลือจากศูนย์หรือเข้าใช้บริการได้หลากหลายวิธด ี ้วยกัน ทั้งการส่งข้อความผ่านโซเชียลมีเดีย การโทร ส่ง จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรือแม้กระทั่งการเดินทางมาที่ศูนย์ด้วยตนเอง โดยต้องมีหลักฐานตามรูปทางซ้าย

ในบางกรณีที่ผู้ขอความช่วยเหลือมาที่ศูนย์แบบกะทันหัน หลักฐานเหล่านี้อาจจะต้องมีการสอบถามทีหลัง เช่น หลัก ฐานการตั้งครรภ์เป็ นต้น โดยทางศูนย์จะเป็ นผู้ดำ�เนินการพา ไปยังโรงพยาบาล เพื่อตรวจสุขภาพต่างๆ และนำ�มาใช้เป็ น หลักฐานในการเข้าใช้บริการ รวมถึงนำ�หลักฐานไว้ใช้สำ�หรับ ดำ�เนินคดีกับผู้ท่ีเป็ นต้นเหตุของการที่ผู้ขอความช่วยเหลือ เข้ามาใช้บริการที่ศูนย์อก ี ด้วย

การติดต่อสู่ศูนย์สามารถติดต่อผ่านการดำ�เนินคดีความ กับสถานีตำ�รวจหรือการแจ้งโรงพยาบาลได้เช่นกัน เนื่องจาก

ทางสถานีเองมีการบริการสำ�หรับคดีลก ั ษณะนี้โดยเฉพาะ

รวมถึงโรงพยาบาลเองก็มต ี ำ�แหน่งนักสังคมสงเคราะห์คอย ซักถามคนที่มารักษาหรือตั้งใจมาเก็บหลักฐานเพื่อแจ้งความ

สถิติการเข้าใช้บริการกับทาง สมาคมส่ งเสริมสถานภาพสตรี ในพระราชอุปถัมภ์ฯ

ส่วนมากการเข้าใช้บริการบ้านพักฉุกเฉินนั้นมักอยู่เป็ น ้ ครังคราวในระยะเวลาเพี ยงไม่ถึงอาทิตย์ การบริการที่ใช้มาก

ที่สุดคือการรับคำ�ปรึกษา และช่วงอายุท่ีผู้เข้าใช้บริการเข้ามา ใช้บริการที่ศูนย์มากที่สุดคือช่วยอายุระหว่าง 10 - 59 ปี


กิจกรรมภายในบ้านพักฉุกเฉินนั้นมีตารางกิจกรรมแต่ละ วันที่คล้ายคลึงกับกิจกรรมของโรงเรียนประจำ� โดยกิจกรรม หลักที่เป็ นจุดเด่น อีกทั้งัยงแตกต่างจากระบบของโรงเรียน ประจำ�คือกิจกรรมในส่วนของการฟื้ นฟู จต ิ ใจ และกิจกรรม สำ�หรับฝึ กอาชีพ ทางโครงการจึงเลือกศึกษากิจกรรมที่เป็ นจุดสำ�คัญ และสามารถช่วยเหลือกลุม ่ เป้ าหมายได้จริงเป็ นพิเศษ เพื่อนำ�

มาพัฒนาต่อเป็ นโครงการที่เป็ นแนวทางนำ�ไปสู่การพัฒนา บุคคลตามกลุม ่ เป้ าหมายที่ตั้งไว้


TARGET GROUP

General Republic


Survivors

Women and children

Social Science or Psychology Students


กิจกรรมสำ �หรับกลุ่มเป้าหมายภายในโครงการ กลุม ่ เป้ าหมายหลักของโครงการ คือ ผู้หญิงที่ผ่านเหตุการณ์เลวร้ายและเด็ก กลุม ่ รองลง มาคือกลุม ่ บุคคลทั่วไป และกลุม ่ สุดท้ายคือกลุม ่ นักศึกษาที่ศึกษาอยู่ภายใต้คณะหรือสาขาวิชาที่ เกี่ยวข้องกับจิตวิทยาหรือพยาบาล

โดยกิจกรรมภายในโครงการนั้นถูกออกแบบโดยมุง ่ เน้นไปที่กลุม ่ เป้ าหมายแรกเป็ นหลัก ซึ่ง ประกอบไปด้วย 2 ส่วนหลัก ได้แก่ กิจกรรมสำ�หรับการบำ�บัด และกิจกรรมสำ�หรับการฝึ กอาชีพ ซึ่งการวางแบบแผนกิจกรรมจำ�เป็ นต้องมีการสำ�รวจและศึกษาข้อมูลอาการของกลุม ่ เป้ าหมาย จากการหาข้อมูลพบว่ากลุม ่ เป้ าหมายหลักส่วนใหญ่น้ันมีอาการที่คล้ายลักษณะกลุม ่ ผู้ป่วย

ทางจิตเวชเป็ นส่วนใหญ่ จึงมีการวางแบบแผนกิจกรรมให้มก ี ารสนับสนุนในการรักษาทางจิตใจ รวมไปถึงการเสริมสร้างมุมมองการมองเห็นคุณค่าในตัวเองด้วย

ลักษณะกลุ่มอาการของกลุ่มเป้าหมาย ลักษณะกลุม ่ อาการของกลุม ่ เป้ าหมายหลักนั้นประกอบไปด้วยกลุม ่ อาการของผู้ ป่ วยที่มีบาดแผลทางจิตใจ โรคซึมเศร้า โรควิตกกังวล ความรูส ้ ึกผิดต่อตนเอง ความ รูส ้ ึกแปลกแยก ไม่ม่นใจในตนเอง ั รวมไปถึงมีปัญหาในส่วนของทักษะการเข้าสังคม และใช้ชวี ต ิ ร่วมกับผู้อ่ น ื นอกจากนี้ ประวัติของกลุม ่ เป้ าหมายส่วนใหญ่มก ั ถูกทำ�ร้าย

และริดรอดความเป็ นอิสระทั้งทางด้านความคิด รวมไปถึงการกระทำ�ต่างๆจากบุคคลที่ ตนพึ่งพาได้ เช่น สามี หรือบุคคลในครอบครัว ดังนั้นการดูแลทางด้านจิตใจอาจไม่เพียงพอ จึงจำ�เป็ นต้องมีการเสริมสร้างและ พัฒนากลุม ่ เป้ าหมายหลักในด้านของการพึ่งพาตนเองในอนาคตไปพร้อมกันด้วย เพื่อ ให้พวกเขาสามารถยืดหยัดได้ด้วยตันเอง โดยไม่ต้องพึ่งพาคนอื่นเมื่อไม่จ�ำ เป็ น


กิจกรรมสำ �หรับกลุ่มเป้าหมายรอง การเข้ารับการปรึกษาปัญหาทางด้านครอบครัวหรือความ ่ รุนแรงกับผู้เชียวชาญ การบริการส่วนนี้เป็ นบริการในส่วนของการให้คำ�ปรึกษาในด้านของ ปั ญหาครอบครัว ปั ญหาความรุนแรง ปั ญหาการถูกล่วงละเมิด ปั ญหาตั้ง ครรภ์ไม่พง ึ ประสงค์ และปั ญหาการติดเชื้อHIV/AID รวมไปถึงปั ญหาที่จะนำ� ่ นของความรุนแรงในสังคม โดยมีการให้คำ�แนะนำ�ทั้งใน ไปสู่การเป็ นจุดเริมต้ ทางด้านกฎหมายและการบริการปรึกษาทางด้านจิตใจเบื้องต้น เพื่อนำ�ไสู่แบบ แผนอื่นๆต่อบุคคลนั้นๆ

การให้บริการในด้านการให้ความรู้ พื้ นที่สำ�หรับติดต่อ รวมไป ถึงโรงอาหารส่วนรวม ลานจัดกิจกรรม ในภาคส่วนของการติดต่อสอบถาม ห้องสมุดสำ�หรับค้นคว้าข้อมูล โรง อาหารที่เป็ นจุดนัดพบ และลานสำ�หรับการจัดพื้นที่กิจกรรม เป็ นกิจกรรมที่คน

ภายนอกสามารถเข้าใช้งานได้โดยไม่รบกวนส่วนกิจกรรมที่จัดไว้สำ�หรับกิจกร รมอื่นๆที่จัดไว้ให้กับสมาชิกที่เข้ามาใช้บริการในภาคส่วนของการบำ�บัดจิตใจ และฝึ กอาชีพ

กิจกรรมการบำ�บัดทางจิตใจ แบบเดี่ยว CBT ( Cognitive Behavioral Therapy ) เป็ นการบำ�บัดความคิดและพฤติกรรม โดยมุง ่ เน้นไป ที่การแก้ไขความคิดที่ส่งผลต่อไปยังพฤติกรรมต่อผู้ป่วย ที่ก่อให้เกิดการบั่นทอนทางจิตใจหรือเกิดการรบกวนใน

ชีวต ิ ประจำ�วัน เช่น โรคซึมเศร้า วิตกกังวล PTSD โรคแพ นิค ฯลฯ โดยใช้การพู ดคุย เป็ นเวลา 30-60 นาที ใน 1-2 ้ อสัปดาห์ ซึ่งระยะเวลาความต่อเนื่องในการปฏิบัติ ครังต่ ้ อคอร์ส กิจกรรมนี้จะอยู่ที่ 5-10 ครังต่

EMDR ( Eye movement desensitization and reprocessing ) การบำ�บัดจิตใจโดยใช้หลักการเคลื่อนไหวของตาทั้ง สองข้าง โดยส่วนมากใช้บำ�บัดบาดแผลทางจิตใจ วิธน ี ้ีช่วย ให้สมองประมวลผลความทรงจำ�โดยลบความเจ็บปวดใน อดีตออกไป โดยใช้เวลาการปฏิบัติกิจกรรม 90 นาทีต่อ ้ เหมาะกับการบำ�บัดโรคทางจิตใจหลายประเภท เช่น ครัง โรคPTSD อาการแพนิค วิตกกังวล โรคซึมเศร้า อาการ โกรธ การคิดถึงความผิดพลาดในอดีต


กิจกรรมนันทนาการอื่นๆ สำ �หรับบำ�บัดกลุ่ม นอกเหนือจากกิจกรรมบำ�บัดจิตใจแบบเดี่ยวที่กล่าวไป การบำ�บัดแบบกลุม ่ เองก็ เป็ นอีกหนึ่งทางเลือกที่จิตแพทย์ใช้ในการรักษาผู้ป่วยทางจิตใจ โดยกิจกรรมของทาง

โครงการเลือกใช้เป็ นกิจกรรมสำ�หรับนันทนาการ ซึ่งประกอบไปด้วย โยคะสมาธิ การใช้ ศิลปะบำ�บัด การใช้ดนตรีบำ�บัด และกิจกรรมCBTแบบกลุม ่ การบำ�บัดแบบกลุม ่ ไม่ได้ชว่ ยเพียงให้ตัวผู้ป่วยหายจากอาการป่ วยทางจิตใจเพียง อย่างเดียว แต่ยังช่วยในเรื่องของการเข้าสังคม และสร้างมิตรภาพใหม่ๆให้กับผู้ใช้ บริการภายในโครงการอีกด้วย


กิจกรรมฝึกอาชีพสำ �หรับกลุ่ม เป้าหมายหลัก

คลาสเรียนสำ�หรับการฝึ กอาชีพประกอบไปด้วย - การทำ�ขนมประเภทอบ ซึ่งในพื้นที่ใช้สอยแบ่งเป็ นในส่วนของพื้นที่ เก็บของส่วนตัวของผู้เรียน พื้นที่สำ�หรับผู้เรียนในการปฏิบัติ และ พื้นที่สำ�หรับผู้สอน นอกจากนี้ยังต้องมีพ้นที ื ่สำ�หรับทำ�ความสะอาด อุปกรณ์ รวมไปถึงพื้นที่เก็บวัตถุดิบโดยเฉพาะ

- การเย็บปั กและตัดเสื้อ แบ่งเป็ น 2 ส่วนหลักเช่นกัน คือผู้เรียนและ ผู้สอน โดยอุปกรณ์ท่ีใช้ในการเรียนประกอบด้วย เครื่องจักรโพ้ง

ตัวอย่างอุปกรณ์สำ�หรับทำ�ขนม

เครื่องจักรอุตสาหกรรม โต๊ะหน้าไฟสำ�หรับคัดลอกแพทเทิรน ์ ในการ ตัดเย็บ ที่ทำ�ความสะอาดอุปกรณ์ และพื้นที่สำ�หรับตากผ้า

โดยเหตุผลที่เลือกกิจกรรมทั้ง2อย่างนี้เป็ นกิจกรรมสำ�หรับการ สอนในส่วนของอาชีพ นั่นเป็ นเพราะว่ากิจกรรมเหล่านี้สามารถหา

อุปกรณ์เองได้งา่ ย และใช้ต้นทุนที่ราคาไม่สูงมาก ผู้ใช้บริการสามารถ นำ�ไปตั้งต้นได้งา่ ย โดยทางโครงการได้อา้ งอิงกิจกรรมเหล่านี้จาก สมาคมส่งเสริมสถานภาพสตรีในพระอุปถัมภ์ฯ ซึ่งมีการจัดกิจกรรม เช่นให้กับผู้เข้าใช้บริการเช่นกัน

การให้บริการทางด้านรับฝาก เด็กเล็ก

จักรโพ้ง

จักรอุตสาหกรรม

สำ�หรับผู้ใช้บริการบางรายที่มีลก ู เล็ก ไม่สามารถปล่อยให้

อยู่ท่ีบ้านตามลำ�พังระหว่างการเข้าใช้บริการ ทางโครงจึงเลือกให้ มีการให้บริการในส่วนของการรับฝากเด็ก และให้ความรู้ รวมถึง การบำ�บัดเด็กเหล่านั้นควบคู่ไปด้วย


ACTIVITIES TIMELINE

สำ�หรับการเข้าใช้งานภายในโครงการ ในขั้นตอนแรกต้องมีการ ติดต่อกับทางโครงการ เพื่อนัดเข้ามาทำ�แบบประเมินทางด้านจิตใจ ก่อนจะต่อไปสู่การวางแบบแผนในการใช้บริการ เมื่อผลประเมินออกมาว่าสามารถใช้บริการภายในโครงการได้โดย การใช้บริการของทางโครงการได้ จึงเข้ารับการอบรมในเรื่องของ สิทธิในตัวเอง เพื่อเป็ นการให้ความรูแ ้ ละความมั่นใจต่อผู้ใช้บริการ หลังจากผ่านเหตุการณ์ท่ีไม่ดีมา จากนั้นจึงเข้ากิจกรรมบำ�บัดกลุม ่ ร่วมกับผู้อ่ น ื หลังจากกิจกรรมภาคบังคับอย่างกิจกรรมข้างต้น เสร็จแล้ว จึงเป็ นกิจกรรมที่ผู้ใช้บริการสามารถเลือกลงเอง ได้แก่

่ กินกรรมในส่วนของการศึกษาอาชีพ การบำ�บัดเพิมเติ มอย่างการ บำ�บัดเดี่ยว หรือบำ�บัดกลุม ่ ย่อย หรือลงเป็ นการใช้บริการห้องสมุดก็ สามารถทำ�ได้เช่นกัน



CASE STUDY

Programming

โครงการWRAPของโรงพยาบาลWomen’s college ซึ่งตั้งอยู่ที่ประเทศแคนาดา โดยประเภทการรักษาของโครงการนี้ถูกจัดไว้ใน หมวดหมูข ่ องการรักษาจิตใจ ซึ่งเงื่อนไขในการให้บริการของโครงการประกอบด้วย

- มีเพศสภาพหญิง - การติดต่อใช้บริการต้องมีการนัดล่วงหน้าเท่านั้น โครงการWRAP หรือ WOMEN RECOVERING FROM ABUSE PROGRAM นั้นมุง ่ รักษาผู้หญิงที่เคยผ่านประสบการณ์ท่ีเลวร้าย ไม่วา่ จะทางร่างกาย จิตใจ ถูกทารุณกรรมทางเพศมาก่อน หรือแม้แต่การถูกเพิกเฉยและละเลยในวัยเด้ก โดยโครงการให้บริการตั้งแต่วน ั จันทร์ ถึงวันพฤหัสบดี ในช่วงเวลา 9:00-13:00 น. การเข้าร่วมโครงการอาจะมีการถามถึงข้อมูลส่วนตัวอย่างประวัติ ความสัมพันธ์ รวมถึงเรื่อง ของครอบครัว รวมไปถึงประวัติการรักษาที่ผ่านมา เพื่อประโยชน์สูงสุดในการรักษา ผู้ใช้บริการมีความจำ�เป็ นต้องคุยกับเจ้าหน้าที่ตัวต่อตัว เพื่อประเมินความเป็ นไปได้ในการรักษาผ่านตัวโครงการว่าจะเกิดผลประโยชน์ หรือไม่ โดยโครงการนี้เหมาะกับผู้หญิงที่อยู่ในกลุม ่ อาการดังนี้

- วิตกกังวล - มึนงง - มีปัญหาเกี่ยวกับความมั่นใจและภาคภูมใิ จในตัวเอง - เข้ากับผู้อ่ นได้ ื ยาก และรูส ้ ึกแปลกแยก - Flashbacks -ความรูส ้ ึกละอายต่อตนเอง - ซึมเศร้า และความรูส ้ ึกโดดเดี่ยว -ความคิดฆ่าตัวตาย


ศูนย์บำ�บัดจิตใจ The Dawn เป็ นศูนย์แบบครบวงจรที่มีลก ั ษณธเป็ นรีสอร์ท การใช้บริการจำ�เป็ นต้องมีการค้างคืนใน การเข้ารับการบริการ มีกิจกรรมที่หลากหลาย และผ่านการรับรองจากกระทรวงสาธารณสุข และ American Accreditation Commission International (AACI) ซึ่งเป็ นองค์กรรับรองมาตรฐานสากล ด้านการให้บริการประเภทสถานฟื้ นฟู สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดและ ่ จิตเวช การบำ�บัดที่เดอะดอว์นเริมจากการวิ เคราะห์ภาพรวมของคุณอย่างรอบด้าน ไม่วา่ จะเป็ นปั ญหาที่แสดงออกมา ปั ญหาที่อยู่ข้างใต้จต ิ ใจ ประสบการณ์ที่ผ่านมาในอดีต ความสัมพันธ์ส่วนบุคคล กลไกด้านสภาพแวดล้อม หรือความสัมพันธ์ในครอบครัว จากนั้นเราจะให้การรักษา ่ อย่างตรงจุด เพื่อที่เมื่อคุณหายแล้วจะได้ไม่เกิดปั ญหาเดิมซ้�ำ อีก ทีมงานของเราเชียวชาญในการรั กษาปมปั ญหาทางใจที่ไม่ได้รบ ั การสะสาง ซึ่ง เป็ นสาเหตุแฝงของปั ญหาสุขภาพจิตเกือบทุกประเภท รวมทั้งภาวะเสพติดด้วย


องค์กรปฏิบัติงานภายในศูนย์สงเคราะห์


AREA REQUIREMENTS



SITE LOCATION หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปั ญโญ


หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ สวนวชิรเบญจทัศ(สวนรถไฟ) ถนนนิคมรถไฟสาย ๒ แขวงจตุจก ั ร เขตจตุจก ั ร กรุงเทพฯ เป็ นหอจดหมายเหตุศาสนธรรม (Religious Archives) จัดตั้งภายใต้มูลนิธห ิ อ จดหมายเหตุพุทธทาส อินทปั ญโญ ซึ่งได้จดทะเบียนมูลนิธก ิ ับกรุงเทพมหานคร ทะเบียน

เลขที่ กท ๑๕๙๘ ที่ทำ�การเก็บรักษา อนุรก ั ษ์ ศึกษาค้นคว้าและเผยแผ่ผลงานของท่านพุ ทธ ทาสฯ ให้แพร่หลาย ซึ่งจะช่วยส่งเสริม ให้ประชาชนทั่วไป สามารถเข้าถึงหัวใจของศาสนา ตามปณิธาน ๓ ประการของท่านพุ ทธทาส ได้แก่ 1. พยายามทำ�ตนให้เข้าถึงหัวใจแห่งศาสนาของตน 2. พยายามทำ�ความเข้าใจระหว่างศาสนา 3. พยายามช่วยกันถอนตัวออกจากอำ�นาจของวัตถุนิยม โดยมีวต ั ถุประสงค์เพื่อเป็ น 1. เป็ นศูนย์การเรียนรูแ ้ ละสถานบริการด้านศาสนธรรมอันรื่นรมย์ เป็ นกำ�ลังเพื่อการบรรลุ ธรรมลักษณะ SPIRITUAL FITNESS & EDUTAINMENT CENTER 2. สืบสานงานพระพุ ทธศาสนา ผ่านงาน ปณิธาน และอุดมการณ์ของพุ ทธทาสภิกขุ ใน การนำ�พาความถูกต้องและสันติสุขทั้งทางกาย จิตใจ และปั ญญา ให้กลับคืนสู่สังคม มนุษยชาติ ด้วยการเข้าถึงหัวใจของพระพุ ทธศาสนา การทำ�ความเข้าใจกันระหว่างศาสนิ กชนและการออกมาเสียจากอำ�นาจวัตถุนิยม จนเป็ นพุ ทธทาสกันได้ทก ุ คน - ผู้รบ ั ใช้ในการ เผยแผ่พระพุ ทธศาสนาด้วยการปฏิบัติให้ดู เป็ นอยู่ให้เห็น จนผู้อ่ นพากั ื นทำ�ตาม และเป็ น สวนโมกข์ได้ทก ุ ที่ - บุญสถานเพื่อการบรรลุธรรม

3. ทำ�หน้าที่รวบรวม ดูแล รักษา และจัดระบบบริการสืบค้นมรดกธรรม เอกสารข้อเขียน ต้นฉบับต่าง ๆ ของพุ ทธทาสภิกขุ ตลอดจนการให้บริการสนับสนุนการศึกษา ค้นคว้า วิจย ั ่ พัฒนาเผยแผ่และแลกเปลียนเรี ยนรูด ้ ้านศาสนธรรม การจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสติ ปั ญญาและจิตใจให้เจริญจนกล้าแข็งในความถูกต้องดีงาม จนเป็ นผู้สงบ เย็น และเป็ น ประโยชน์ มีศักยภาพในการเป็ นผู้อยู่ใน ใจเหนือ และเกื้อโลก ยิ่ง ๆ ขึ้นไป

www.museumthailand.com







ทิศทางของพระอาทิตย์

ทิศทางของลม




ลักษณะอาคารของโครงการ ้ โดยถูกสร้างด้วยวัสดุท้องถิ่น อาคารมีจ�ำ นวนทั้งงหมด 3 ชัน ที่ไม่หลากหลายมาก โครงสร้างเรียบง่าย ใช้ธรรมชาติโดยรอบ เข้ามาเป็ นส่วนหนึ่งของการออกแบบอาคาร โดยให้เข้ามาเป็ น ส่วนหนึ่งของช่องว่างภายในอาคาร วัสดุเดิมของอาคาร ใช้คอนกรีตเป็ นหลักในการสร้างอาคาร เหล็ก และไม้ในการ ตกแต่ง โซนนิ่งภายในโครงการเดิม ้ 1 : ร้านหนังสือ พื้นที่อเนกประสงค์ ลานหินโค้ง ชัน ้ 2 : นิทรรศการถาวร สวนลอยฟ้ า ห้องประชุม ชัน ้ 3 : สำ�นักงาน ห้องเก็บหนังสืออ้างอิง ห้องเก็บ ชัน จดหมายเหตุ



1st Floor


2nd Floor



3rd Floor














3

หลักการ ทฤษฎี แนวคิดที่ ศึกษาและรายละเอียดประกอบ หลักการ ทฤษฎี และที่มาของแนวคิดในการออกแบบ



Safe Zone จากเอกสาร “ Psychiatry and Clinical Neuroscience ( 1998 ) “ โดย Judith L. Herman, MD ได้มี การให้ข้อมูลว่า ขั้นตอนของการรักษาบาดแผลทางด้านจิตใจ ต้องสร้างความไว้วางใจและทำ�ให้ผู้ป่วยรูส ้ ึกปลอดภัยก่อนเป็ น อันดับแรก ขั้นตอนอื่นถึงจะประสบผลสำ�เร็จตามมา โครงการนี้จึงได้หยิบยกคำ�กล่าวนี้มาใช้เป็ นแนวคิด และนำ�ไปสู่การหาคำ�ตอบของการออกแบบภายในขของตัว โครงการ โดยพื้นที่ปลอดภัยนั้นจะต้องเป็ นพื้นที่ที่ไม่ก่อให้เกิด ความเครียด ความสับสนในการใช้สอย และมีความชัดเจนของ พื้นที่


ธรรมชาติของมนุษย์การตอบสนอง ต่อสิ่ งเร้า มนุษย์เราเป็ นสิ่งมีชวี ต ิ ที่มีสมองใหญ่ คิดอย่างเป็ นระบบ ความฉลาดของ มนุษย์น้ันมาจากการจดจำ� เรียนรู็ และถ่ายทอดสู่ผู้อ่ น ื แม้มนุษย์จะเป็ นสัตว์สังคม แต่มนุษย์น้ันไม่ได้ต้องการสังคมตลอดเวลา การ ขยายอาณาเขตของมนุษย์น้ันคือการแสดงถึงการสร้างความปลอดภัยและรักตัว กลัวตาย การแบ่งพื้นที่ของมนุษย์น้ันแบ่งออกได้เป็ น 3 ภาคส่วนด้วยกัน - พื้นที่ส่วนตัว -พื้นที่กึ่งสาธารณะ -พื้นที่สาธารณะ

การรับรูข ้ องมนุษย์ คือการที่มนุษย์นำ�ข้อมูลที่ได้จาก ความรูส ้ ึกสัมผัส (Sensation) ซึ่งเป็ น ข้อมูลดิบ (Raw Data) จากประสาทสัมผัส ้ และ ทั้ง5 อันประกอบด้วย ตา หู จมูก ลิน กาย สัมผัสมาจำ�แนก แยกแยะ คัดเลือก วิเคราะห์ด้วยกระบวนการท างานของสมอง แล้วแปลสิ่งที่ได้ออกเป็ นสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่มี ความหมายเพื่อนำ�ไปใช้ในการเรียนรูต ้ ่อไป


Gestault Theory ้ เห็นว่า หากเราต้องการให้เหิดการรับรูห ทฤษฎีที่ชีให้ ้ รือการสื่อ ความหมายได้ดี ควรทำ�ให้ส่ิงเร้านั้นเรียบง่ายจัดเข้าเป็ นกลุม ่ และมีความ ต่อเนื่องกันหรือคาดคะเนได้ ซึ่งจะทำ�ให้ผู้รบ ั สารจดจำ�ได้งา่ ยและรวดเร็ว ซึ่งก่อให้เกิดความเครียดน้อยลง

ผู้วางรากฐานทฤษฎีน้ีคือ คริสเตียน อีเรนฟิ ลส์ และได้ถก ู พัฒนาต่อ โดย วอล์ฟกัง เคอเลอร์ และแมกซ์ เวอร์ไธเมอร์ในเวลาต่อมา หลักการของเกสตอลต์มก ี ารแสดงให้เห็นถึงธรรมชาติของสมอง ที่มีแนวโน้มทำ�สิ่งเร้าที่รับรูใ้ ห้เกิดความหมายและมีความสมบูรณ์ ดังนี้ - ความประชิด การสร้างให้เกิดเป็ นองค์รวม โดยสิ่งเร้าที่อยู่ใกล้กัน ให้ เป็ นกลุม ่ เดียวกัน - ความเหมือนกัน การสร้างให้เกิดเป็ นองค์รวม โดยพิจารณาจากความ เหมือน ประเภทเดียวกัน คล้ายกันหรือเท่ากัน - การทำ�ให้สมบูรณ์ การสร้างให้เกิดเป็ นองค์รวม โดยการทำ�สิ่งเร้าที่ขาด ความชัดเจนไม่ครบถ้วน ให้มค ี วามสมบูรณ์และสื่อความหมาย ด้วยการ คากเดา ้ ่มาตัดกัน โดยสมอง - ความต่อเนื่อง เป็ นความสัมพันธ์ของวัตถุสองชินที มีแนวโน้มรับรูว้ า่ วัตถุดังกล่าวมีความต่อเนื่องออกไป แททนการถูกแบ่ง เป็ นสองส่วน

่ เมือมนุษย์สามารถรับรูแ ้ ละเข้าใจใน ้ ่ พื นทีได้โดยง่าย ก็จะเกิดความ ้ ้ ่ รูส ้ ึ กปลอดภัยในพื นทีมากขึน



การแบ่งพื้นที่ใช้สอยของโครงการได้มก ี ารแบ่งตามประเภทของ การใช้งานที่ใกล้เคียงกัน และการให้บริการกับผู้ใช้บริการแต่ละประเภท

ได้แก่ ผู้ท่ีเป็ นสมาชิก กับผู้ท่ีเป็ นบุคคลทั่วไป โดยแบ่งให้ในส่วนของทาง ด้านที่ติดกับฝั่ งลานจอดรถนั้นเป็ นส่วนบริการของบุคคลทั่วไป และใน ส่วนถัดไปด้านหลังเป็ นการบริการสำ�หรับสมาชิก


4

ผลงานการออกแบบ



Reception | Canteen | Bakery Studio



พื้นที่แรกที่เจอในโครงการคือในส่วนของพื้นที่สำ�หรับการติดต่อ โดยพื้นที่นี้ได้มก ี ารออกแบบผังให้เคาน์เตอร์ของเจ้าหน้าที่อยู่ตรงกลาง เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถเห็ฯได้ชด ั เจน และเจ้าหน้าที่เองก็สามารถสังเกต บริเวณโดยรอบได้ โดยการตกแต่งของพื้นที่นี้เลือกใช้เป็ นวัสดุอย่างไม้และคอนกรีตใน การตกแต่ง เนื่องจากเป็ นวัสดุท่ีหลายคนค่อนข้างคุ้นเคยในงานออกแบบ

และเพื่อนำ�เสนอความชัดเจนของวัสดุ สองสิ่งนี้เองก็เป็ นวัสดุที่มีลก ั ษณะที่ ชัดเจนในตัวเอง ซึ่งตอบโจทย์ของการทำ�ให้เข้าใจง่ายตามทฤษฎีท่ีนำ�มาใช้ ในการออกแบบ







่ การใช้โทนสีเหลืองเข้ามาร่วมใช้ในการตกแต่ง เพื่อ ในพื้นที่นี้เริมมี ต่อยอดนำ�ไปสู่พ้นที ื ่ถัดไปอย่างBakery Studio โดยโรงอาหารได้มก ี ารใช้ วัสดุไม้รว่ มในการตกแต่ง ซึ่งดึงมาจากพื้นที่ก่อนหน้าอย่างพื้นที่สำ�หรับ การติดต่อ เพื่อให้ความรูส ้ ึกในการใช้งานมีความต่อเนื่องกัน

จุดเด่นของพื้นที่นี้คือการแบ่งโซนที่นั่งและทางเดินสัญจรที่ชัดเจน ด้วยพื้น เพื่อให้ผู้ใช้งานได้เห็นการใช้งานของพื้นที่ได้อย่างชัดเจน







คลาสเรียนสำ�หรับกิจกรรมฝึ กอาชีพการทำ�ขนม ใช้สีเหลืองเป็ น หลักในการออกแบบ เพื่อให้เป็ นภาพจำ�ของพื้นที่ เนื่องจากสีคือสิ่งที่ผู้คน สามารถจดจำ�ได้งา่ ยที่สุดในบรรดาองค์ประกอบทางทัศนศิลป์ ในการใช้สอยของพื้นที่นี้มีการเชื่อมต่อกับพื้นที่ก่อนหน้าอย่างโรง อาหาร โดยมีการใช้ในส่วนของการล้างอุปกรณ์รว่ มกัน เนื่องด้วยสอง พื้นที่นี้มีการใช้งานคนละเวลาอย่างชัดเจน และต้องการพื้นที่การใช้สอย อย่างสูงสุด จึงเลือกที่จะให้สองพื้นที่นี้ได้แบ่งปั นบางส่วนร่วมกัน







Library | Handcraft Studio




ห้องสมุดคือพื้นที่ส่วนรวมที่ผู้ใช้บริการทุกประเภทสามารถเข้าใช้ ร่วมกันได้ โดยการตกแต่งของพื้นที่มีลก ั ษณะคล้ายกับส่วนของพื้นที่ของ การติดต่อ แต่มก ี ารออกแบบกระจกกว้าง เพื่อดึงแสงธรรมชาติเข้าสู้พ้นที ื ่ ให้พ้นที ื ่ดูปลอดโปร่ง และสว่าง เหมาะสมกับการหาความรู้ และอ่านหนังสือ






เป็ นอีกพื้นที่ที่มีการวางแผนใช้สีในหลักการออกแบบ เพื่อให้ผู้ใช้ งานสามารถจดจำ�ในพื้นที่ได้ โดยใช้โทนสีฟ้าเป็ นหลักในการออกแบบ โดย

ดึงมาจากการที่ห้องสมุดที่เป็ นพื้นที่ใกล้เคียงได้มก ี ารออกแบบบานกระจก ที่ใหญ๋ จึงทำ�ให้บท้องฟ้ าได้เข้ามาเป็ ฯส่วนหนึ่งของบรรยากาศในพื้นที่ด้วย ทำ�ให้เกิดเป็ นแรงบันดาลใจและแนวทางในการออกแบบของพื้นที่นี้ขึ้น







Therapy Space | Counseling Area











5

บทสรุป และข้อเสนอแนะ


บทสรุปและข้อเสนอแนะ โครงการศึกษาความรุนแรงต่อสตรีสู่ศูนย์บำ�บัด จิตใจและเสริมสร้างทักษะมีจด ุ มุง ่ หมายเพื่อศึกษาแนวทาง ในการช่วยเหลือกลุม ่ คนเฉพาะกลุม ่ และนำ�ไปสู่การออกแบบ ภายใน รวมไปถึงการวางแผนจัดกิจกรรมเพื่อสนับสนุนกลุม ่ คนที่ได้รบ ั บาดแผลทางจิตใจจากความไม่เท่าเทียมทางบทบาท ในสังคม แม้สังคมได้มก ี ารพัฒนาและปรับปรุงไปจากในอดีต มากแล้วก็ตาม แต่ปฏิเสธไม่ได้วา่ ในปั จจุบันยังคงหลงเหลือเศษ ่ เสี้ยวของความโหดร้ายของสังคมอยู่ เมื่อได้ศึกษาเพิมเติ มจึง ทำ�ให้ทราบว่ายังมีคนจำ�นวนไม่น้อยที่ยังเผชิญกับเหตุการณ์ ที่รุนแรงอยู่ จึงนำ�ไปสู่การออกแบบเพื่อสนับสนุนการให้ความ ช่วยเหลือกลุม ่ คนเหล่านี้ เพื่อให้ได้ประโยชน์สู.สุดในการทำ� กิจกรรม

ข้อเสนอแนะสำ�หรับโครงการจากคณะกรรมการเป็ น ในเรื่องของการออกแบบที่ยังไม่แสดงถึงอารมณ์ในเชิงบวก มากพอ ตัวโครงการยังคงภาพลักษณ์ของความเศร้าอยู่ ควร พัฒนาให้พ้นที ื ่สามารถมอบความสุขให้กับผู้ใช้งานมากขึ้น


บรรณานุกรม


ปั จจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับการถูกคู่ชวี ต ิ ทำ�ร้ายของหญิงในบ้านพักฉุกเฉิน สมาคมส่งเสริม ่ สถานภาพสตรี (2547). นางสาวปิ นอนงค์ เครือซ้า. วิทยานิพนธ์สาขาวิชาสุขภาพจิต ภาควิชา จิตเวชศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์

ปั จจัยทางสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ส่งผลต่อความรูส ้ ึกปลอดภัยในการเข้าใช้งานภายในอาคาร สถานศึกษา (2557). ศาสตรา ศรีวะรมย์. วิทยานิพนธ์สถาปั ตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา สถาปั ตยกรรมภายใน

แนวทางการพัฒนาการปฏิบัติงานของทีมสหวิชาชีพในการช่วยเหลือ ผู้ถก ู กระทำ�ด้วยความรุนแรงใน ครอบครัวของศูนย์พท ิ ักษ์สิทธิเด็กและสตรี โรงพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร (2558). นางสาว ชมพู นุช พัฒนพงษ์ดิลก. วิทยานิพนธ์ สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม ภาควิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ คณะ สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

รองศาสตราจารย์ ดร. ปุณณรัตน์ พิชญไพบูลย์ (2561). จิตวทิยาศิลปะ สุนทรียศาสตร์เชิงประจักษ์. สำ�นักพิมพ์จฬ ุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สัมภาษณ์เจ้าหน้าที่นักจิตวิทยาและสังคมสงเคราะห์ สมาคมส่งเสริมสถานภาพสตรีในพระราชอุปถัมภ์ฯ บ้านพักฉุกเฉิน. 1 ตุลาคม 2564

กระบวนการเตรียมความพร้อมก่อนคืนกลับสู่ครอบครัวให้แก่เด็กและสตรีที่ถูกกระทำ�ความรุนแรงของ บ้านพักฉุกเฉิน (2564). ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ศิรน ิ ทร์รต ั น์ กาญจนกุญชร. คณะสังคมสงเคราะห์ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Soothing spaces and healing spaces: Is there an ideal counselling room? (2012). Mark Pearson, Helen Wilson.


The Influence of Ceiling Height: The Effect of Priming on the Type of Processing That People Use. JOAN MEYERS-LEVY and RUI (JULIET) ZHU

วารสารพยาบาลตำ�รวจปี ที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถน ุ ายน 2558. ผลของกิจกรรมบำ�บัดต่อ ่ ความเครียดของสตรีทีถูกกระทำ�ความรุนแรง. น.ท.หญิง วัลลภา อันดารา,น.ต.หญิง ปภสร โรจน์ขจร นภาลัย,น.ต.หญิง อุบลรัตน์ สิหเสนี,ร.อ.หญิง ปั ทมา วงค์นิธก ิ ล ุ .

'วิกฤติโควิด'ปั จจัยเสี่ยงความรุนแรงในครอบครัว ทำ�สถิติปี 64 พุ ง ่ กว่า 1.4 พันราย ่ วันพฤหัสบดี ที 24 มิถน ุ ายน 2564. สำ�นักข่าวอิศรา

A neurocognitive study of the emotional impact of geometrical criteria of architectural space. Avishag Shemesh,Gerry Leisman,Moshe Bar,Jacob Yasha Grobman

Affective response to architecture – investigating human reaction to spaces with different geometry. Avishag Shemesh, Ronen Talmon, Ofer Karp, Idan Amir, Moshe Bar & Yasha, Jacob Grobman

www.who.int thedawnwellnesscentre.co.th www.womenscollegehospital.ca apsw-thailand.org www.bareo-isyss.com



ชื่อ

พจรินทร์ เกษตรภิบาล

รหัสนักศึกษา 6100555 วันเกิด 14 กันยายน 1999 การศึกษา วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต ทุนการศึกษา ทุนการศึกษา 100% Pre-onet ปี การศึกษา 2561-2565 ติดต่อ 062-617-8145 potjinxx@gmail.com




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.