Kritsana Thouythongkam

Page 1





ชื่อโครงการ โครงการออกแบบศูนย์การเรียนรู้เพื่ อสะท้อนวิกฤตผู้ลี้ภัย ประเภทของศิลปนิพนธ์ ประเภทงานออกแบบตกแต่งภายใน (Interior Design) ผู้ดําเนินโครงการศิลปนิพนธ์ นาย กฤษณะ ถ้วยทองคํา รหัสนักศึกษา 6101207 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต ที่ปรึกษาโครงการศิลปนิพนธ์ อาจารย์ เรวัฒน์ ชํานาญ



สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมัติให้นับศิลปนิพนธ์ฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาบันฑิต

สาขาวิชาออกแบบภายใน

คณะกรรมการศิลปนิพนธ์

(รศ.พิ ศประไพ สาระศาลิน)

(อาจารย์วริศว์ สินสืบผล)

(อาจารย์ไพลิน โภคทวี)

(อาจารย์ถวัลย์ วงษ์สวรรศ์)

(อาจารย์กาลัญญู สิปย ิ ารักษ์)

(อาจารย์บัณฑิต เนียมทรัพย์)

(อาจารย์ณัฐพงศ์ ศรีปง ุ วิวัฒน์)

(อาจารย์อรรถกฤษณ์ อุทัยกาญจน์)

(อาจารย์เรวัฒน์ ชํานาญ)

คณบดีวิทยาลัยการออกแบบ

ประธานกรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

อาจารย์ท่ป ี รึกษา

A



หัวข้อศิลปนิพนธ์ ชื่อนักศึกษา สาขาวิชา อาจารย์ท่ป ี รึกษา ปี การศึกษา

โครงการออกแบบศูนย์การเรียนรู้เพื่ อสะท้อนวิกฤตผู้ลี้ภัย นายกฤษณะ ถ้วยทองคํา ออกแบบภายใน (Interior Design) อาจารย์เรวัฒน์ ชํานาญ 2565

บทคัดย่อ ปัจจุบันมีผู้ล้ภ ี ัยทั่วโลก 82,400,00 คนทั่วโลก ซึ่งสงคราม, ความรุนแรง, การประหัตประหาร, ภัยพิ บัติทางธรรมชาติ การละเมิดสิทธิมนุษยชนร้ายแรงอื่นๆ ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลทางเชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา หรือความคิดเห็นทางการเมือง เป็นสาเหตุท่ท ี ําให้เกิดผู้ลี้ภัย ซึ่งหากมีการจัดการผู้ล้ภ ี ัยไม่ดีพอ อาจทําให้ส่งผลกระทบในด้านความสัมพั นธ์ระหว่างประเทศ, เศรษฐกิจ และอื่นๆ ผลกระทบจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ส่งผลให้มีผู้ล้ภ ี ัยเป็นจํานวนมาก ทําให้มีการร่วมลงนามเซ็นอนุสัญญาปี ค.ศ.1951 ว่าด้วยสถานภาพผู้ลี้ภัย ร่วมลงนามด้วยกันทั้งหมด 146 ประเทศ โดยที่ “ไม่มีประเทศไทย” การที่ไม่มีประเทศไทยในการร่วมลงนามครั้งนั้น ทําให้ปจ ั จุบันประเทศไทยไม่มีกฏหมายคุ้มครองผู้ล้ภ ี ัย ส่งผลให้ผู้ล้ภ ี ัยในประเทศไทย กลายเป็นบุคคลที่ผิดกฏหมาย หรือเป็นคนเถื่อน ส่งผลให้เกิดช่องโหว่ในการแสวงหาผลประโยชน์จากผู้ลี้ภัย เช่น การค้าแรงงานข้ามชาติ, การค้ามนุษย์ ผู้ล้ภ ี ัยในปัจจุบันถูกเลี้ยงไว้ในค่าย และใช้งบประมาณของรัฐบาลจํานวนมาก ในการดูแลพวกเขา ทําให้สังคมไทยมองว่าผู้ล้ภ ี ัยเป็นบุคคลที่ไม่มีประโยชน์ เป็นภาระของประเทศ แต่ในอีกมุมมอง การที่ประเทศไทยไม่มีนโยบาย ในการจัดการผู้ลี้ภัยอย่างจริงจัง เป็นการสร้างภาพลักษณ์ท่ไี ม่ดีให้กับผู้ล้ภ ี ัย ท้ายที่สุดสิ่งเหล่านี้จะเป็นสิ่งที่ย้อนกลับมา “ทําลายภาพลักษณ์ของประเทศไทย”

B



กิตติกรรมประกาศ ศิลปนิพนธ์เล่มนี้ได้รับความสนับสนุนและอนุเคราะห์จากบุคคลหลายท่าน เรื่องข้อแนะนํา กําลังใจ และการสนับสนุนอีกมากมาย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่จะทําให้เกิดผลงานที่ภาคภูมิใจและความสําเร็จขึ้นมา ขอขอบคุณบุคคลที่ช่วยเหลือมาตั้งแต่เริ่มดําเนินโครงการ ทัง ้ เรื่อง เวลา สถานที่ และกําลังใจที่ให้ตลอดมา ขอขอบคุณ อาจารย์ เรวัฒน์ ชํานาญ ในเรื่องการให้ข้อแนะนํา คําปรึกษาด้านการพั ฒนา ให้มีความเข้าใจในตัวงานมากขึ้น และขอขอบคุณคณะกรรมการที่ให้ข้อเสนอแนะ และแนะนําวิธีปรับปรุง เกี่ยวกับโครงการให้ดีมากขึ้น ขอขอบคุณเจ้าของสถานที่ MOCA BANGKOK ที่ให้ความอนุเคราะห์ในการใช้พื้นที่ จึงทําให้เกิด ปริญญานิพนธ์น้ี

กฤษณะ ถ้วยทองคํา

C



สารบัญ หน้ากรรมการอนุมัติ

A

บทคัดย่อ

B

กิตติกรรมประกาศ

C

สารบัญ

D

PROJECT BACKGROUND

1-2

OBJECTIVES EXPECTATIONS AREAS OF STUDIES

3-4

RESEARCH

5-14

UNHCR

15-16

BRANDING TARGET GROUP PROCESS SKILLS TRAINING

17-26

CASE STUDIES

27-38

LOCATION SITE ANALYSIS

39-48

PROGRAMING

49-52

CONCEPT MOOD AND TONE MATERIALS

53-58

PLAN

59-64

PERSPECTIVE

65-78

บรรณานุกรม

79

D


1


ผลกระทบจากสงครามโลกครัง ้ ที่ 2 ส่งผลให้มีผู้ลี้ภัยจํานวนมาก เกิดอนุสัญญาปี ค.ศ.1951 ว่าด้วยสถานภาพผู้ล้ภ ี ัย ร่วมลงนามด้วยกันทั้งหมด 146 ประเทศ โดยที่ ไม่มีประเทศไทย ทําให้ผู้ลี้ภัยกลายเป็นบุคคลที่ผิดกฎหมาย หรือ เป็นคนเถื่อน โดยที่ผู้ลี้ภัยถูกเลี้ยงไว้ในค่าย และใช้งบประมาณของรัฐบาลเป็นจํานวนมากในการดูแลผู้ลี้ภัย ทําให้สังคมไทยเกิดภาพจําว่า ผู้ล้ภ ี ัยเป็นพวกไม่มีประโยชน์ และเป็นภาระของประเทศ ส่งผลให้เกิดการแสวงหาประโยชน์จากผู้ลี้ภัย และ เป็นช่องโหว่ในการค้ามนุษย์ ท้ายที่สุดสิ่งเหล่านี้จะทําให้ ภาพลักษณ์ของประเทศไทยเสื่อมเสีย

2


3


OBJECTIVES ้ี ัย • ผลักดันให้สังคมไทยตระหนักถึง ความสําคัญของผู้ลภ • ช่วยเหลือผู้ล้ภ ี ัย ที่ได้รับความเดือดร้อนได้อย่างถูกวิธี ่ นภาพลักษณ์ ผู้ล้ภ • เปลีย ี ัยให้ดีขึ้น EXPECTATIONS • • • •

้ี ัย มากขึ้น สังคมไทยเข้าใจคําว่า ผู้ลภ มีการจัดการผู้ลี้ภัย อย่างถูกวิธี ผู้ล้ภ ี ัย มีสิทธิข้น ั พื้ นฐาน เปลี่ยนภาพลักษณ์ของผู้ลี้ภัยให้ดีขึ้น และเป็นที่ยอมรับของสังคมไทย

AREAS OF STUDIES ่ าของผู้ล้ภ • ศึกษาแหล่งทีม ี ัย • ศึกษาการทํางานขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับผู้ล้ภ ี ัย • ศึกษาการผลิต และการพั ฒนา Handmade Product

4


5


6


กลุ่มคนที่เดินทางออกจากประเทศของตนเนื่องจาก • • • • •

สงคราม ความรุนแรง การประหัตประหาร ภัยพิ บัติทางธรรมชาติ การละเมิดสิทธิมนุษยชนร้ายแรงอื่นๆ

้ ชาติ สัญชาติ ศาสนา หรือความคิดเห็นทางการเมือง” “ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลทางเชือ

7


8


9


ผู้ลี้ภัยในความห่วงใยของ UNHCR

ผู้ล้ภ ี ัยชาวปาเลสไตน์ ในความคุ้มครองของ UNRWA

ผู้พลัดถิ่นภายในประเทศ*

ผู้ขอลี้ภัย

ชาวเวเนซุเอลาที่ถูกบังคับให้พลัดถิ่นจากประเทศของตนเอง** 80M

60M

40M

20M

0 1990

1992

1994

1996

1998

2000 2002 2004 2006 2008

2010

2012

2014

2016

2018

2020

ผู้ลี้ภัยในความห่วงใยของ UNHCR 20.7M ผู้ลี้ภัยชาวปาเลสไตน์ ในความคุ้มครองของ UNRWA 5.7M ผู้พลัดถิ่นภายในประเทศ* 48M ผู้ขอลี้ภัย 4.1M ชาวเวเนซุเอลาที่ถูกบังคับให้พลัดถิ่นจากประเทศของตนเอง 3.9M

10


11


Hakeem al-Araibi #SaveHakeem

สงครามชายแดน ไทย-เมียนมา

ผู้ลี้ภัยกว่า 2,000 คน หนีการสู้รบเข้าเขตไทย

ผู้ลี้ภัยก่อจลาจล ศูนย์อพยพบ้านแม่หละ

12


13


ปัจจัย 4 ศูนย์อพยพ

อาชีพ ทักษะ ทางเลือก

รายได้ แรงงาน

14


สํานักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ล้ภ ี ัยแห่งสหประชาชาติ The UN Refugee Agency เป็นโครงการของสหประชาชาติ ทําหน้าที่คุ้มครองผู้ลี้ภัย ชุมชนที่ถูกบังคับย้ายถิ่น และบุคคลไร้รัฐ รวมถึงอนุเคราะห์ให้ได้รับการส่งกลับประเทศเดิมด้วยความสมัครใจ การรวมเข้ากับท้องถิ่นอื่น หรือการตั้งรกรากใหม่ในประเทศที่สาม

15


16


17


18


Generation Z 60 %

Generation X 30 %

Refugees 10 %

19


20


Ban Mai Nai Soi

Ban Mae Surin

Mae La Oon

Mae Ra Ma Luang

Mae La

Umpiem

Nu Po

Ban Don Yang

Tham Hin

21


RATTAN

BAMBOO

TERRACOTTA

FABRIC

22


23


24


WEBSITE

STORE

25


26


27


28


29


30


31


32


33


34


35


36


37


38


39


40


41


42


43


44


45


46


47


48


49


50


51

Learning Center

Office

Factory

Skills Training

Restaurant Café

Co-Working Library

Gallery

Store


Residence Office Co-Working Space Cafe Factory Skills Training Room Learning Center Gallery Shop Restaurant

Learning Center

Garden

Reception

52


53


54


55


56


57


58


59


60


61


62


63


64


65


66


67


68


69


70


1


2


1


2


1


2


71


72


73


74


75


76


77


78


บรรณานุกรม ข่าวสารผู้ล้ภ ี ัย จากเว็บไซต์ : https://www.thairath.co.th/ https://www.bbc.com/ ข่าวสารผู้ล้ภ ี ัย และข้อมูลอื่นๆ จากเว็บไซต์ : https://themomentum.co/ https://www.amnesty.or.th/ ข้อมูลอื่นๆ จากเว็บไซต์ : https://www.unhcr.org/ https://www.unicef.org/

79




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.