ศูนย์ส่งเสริมการแสดงศิลปะและวัฒนธรรมภาคอีสาน (หมอลำ)
ชื่อโครงการ
ศูนย์ส่งเสริมการแสดงศิลปะและวัฒนธรรมภาคอีสาน (หมอลำ)
ประเภทศิลปนิพนธ์
ออกแบบภายในศูนย์การเรียนรู้ศิลปะและวัฒนธรรม
ผู้ดำเนินโครงการ
นายธนากรณ์ รูปเหมาะ รหัสนักศึกษา 6105125 นักศึกษาชั้นปีที่4 สาขาออกแบบภายใน
อาจารย์ที่ปรึกษา
อาจารย์วริศว์ สินสืบผล
objective จุดประสงค์ในการสร้างศูนย์การเรียนรู้ศิลปะและวัฒนธรรมภาคอีสาน(หมอลำ) เพื่อแก้ไขปัญหาและสร้างความตระหนักถึงปัญหาดังนี้
1. เพื่ออนุรักษ์ศิลปะและวัฒนธรรมภาคอีสาน(หมอลำ) ให้คงอยู่ในยุคปัจจุบันจนถึงอนาคตในภายภาคหน้า 2. เพื่อเป็นศูนย์ความรู้วัฒนธรรมภาคอีสานเกี่ยวกับหมอลำอย่างครบวงจร 3. เพื่อให้คนรุ่นใหม่ได้ศึกษาและเรียนรู้ประวัติความเป็นมาของวัฒนธรรมภาคอีสาน 4. เพื่อเป็นพื้นที่เรียนรู้เกี่ยวกับดนตรีอีสานและการขับร้องหมอลำให้กับคนรุ่นใหม่ หรือผู้ที่สนใจ 5. เพื่อเป็นศูนย์ศึกษาและต่อยอดศิลปะและวัฒนธรรมภาคอีสาน ที่สามารถอยู่ร่วมได้ในทุกยุคสมัย 6. เพื่อเป็นพื้นที่เสริมสร้างรายได้ให้กับหมอลำ และพ่อค้าแม่ค้าที่ขายของตามงานหมอลำ 7. เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนพื้นที่ หรือผู้ว่าจ้าง จึงทำให้หมอลำขาดแคลนงานในช่วงนั้น 8. เพื่อเป็นพื้นที่บันเทิงให้แก่ผู้คนในระแวกใกล้เคียง รวมถึงฐานแฟนคลับหมอลำ ได้มีพื้นที่ร่วมชมการแสดง
MOH LUM Isan folk performance
IT IS A CULTURAL STYLE IN THE NORTHEASTERN REGION OF THAILAND. CAN BE DIVIDED INTO MANY TYPES ACCORDING TO THE NATURE OF THE MELODY
ส.บุญมา
timeline
2490 กำเนิดหมอลำวงแรก โดยนาย ก่ำ
โด่งดังด้างฝั่ งลาว
อัศวินสีหราช
3-4ปี ไปดูลิเก แล้วนำมา พัฒนาวงหมอลำตัวเอง
-เป็นวงแรกที่นำดนตรีสากลเข้าร่วม -เป็นวงแรกที่มีหางเครื่อง
นายก่ำเสียชีวิต
อัศวินสีฟ้า
อัศวินสีหมอก
เป็นวงแรกที่ได้อัดแผ่นเสียง
อัศวินหอมหวน สุพรีคะนองศิลป์
TYPES OF MOH LUM
หมอลำพื้น
หมอลำกลอน
หมอลำหมู่
หมอลำเพลิน
หมอลำเต้ย
หมอลำซิ่ง
หมอลำผีฟ้า
การแสดงโชว์หมอลำ การแสดงโชว์ศิลปะการแสดงพื้นถิ่นอีสาน หรือหมอลำในปัจจุบันได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ซึ่ง ปัจจุบันรูปแบบการแสดงโชว์ได้ปรับเปลี่ยนให้เข้าตามยุคตามสมัย เนื้อหาทำนอง ดนตรี บทกลอนลำ ได้ปรับเปลี่ยนให้เป็นสมัยใหม่มากขึ้นแต่ยังคงความเป็นหมอลำมีกลิ่นอายอีสานปะปนอยู่ไม่ลดทอนลง แต่อย่างใด การแสดงโชว์ในแต่ละวงหมอลำเน้นโชว์ที่อลังกาล เกี่ยวกับตำนานต่างๆในภาคอีสานเป็นการเปิดวง ก่อนทำการแสดง ยิ่งนักแสดงบนเวททีเยอะ ยิ่งตอกย้ำความอลังกาลของวงหลอลำนั้นๆ รวมไปถึง การเต้นที่มีท่วงท่าที่สนุก และเร้าใจคนดู ฉากหลังและเวทีก็สำคัญ ลวดลายวิจิตรศิลป์เป็นที่มาของ เอกลักษณ์ของจังหวัดหรือหมู่บ้านวงหมอลำนั้นๆอยู่อาศัย แต่ละวงหมอลำจะมีแนวทางและการแสดงแตกต่างกัน แต่จะประยุกต์มากจากต้นกำเนิดหมอลำ เดียวกัน การแสดงอาจขึ้นอยู่กับพื้นถิ่นอาศัยของวงหมอลำนั้นๆ ว่าได้รับอิทธิพลแนวการลำมาจากถิ่น ใด
13.00-19.00 น.
24.00*/06.00 - 10.00 น.
TIMELINE
วิถีชีวิตคนหมอลำ
20.00-24.00*/06.00 น.
11.00-13.00 น. *แสดงในพื้นที่ต่างจังหวัด
คำผุนร่วมมิตร
150 คิวงาน 180K-200K
หมอลำใจเกินร้อย
เสียงอิสาน
175 คิวงาน 180K-200K
ระเบียบ วาทะศิลป์
ศิลปินภูไท
188 คิวงาน 200K
ประถมบันเทิงศิลป์
195 คิวงาน 210K
202 คิวงาน 200K
218 คิวงาน 200K
สาวน้อย เพชร บ้านแพง
150 คิวงาน 200K
ริตนศิลป์
150 คิวงาน 180K-200K คิวงาน/ปี
ข้อมูลจากประชาชาติธุรกิจรวบรวม ปี2561
WHY DO PEOPLE LIKE TO LISTEN MO้H LUM?
50%
rhythm and melody
เคน ดาเหลา ปรมาจารย์ผู้มีความสามารถโดนเด่นด้านหมอลำกลอนแห่งภาคอีสาน
35%
15%
culture and life
asmostphere
life style 60
เป็นคนสนุกสนาน ชื่นชอบเสียงดนตรี
รักถิ่นฐานบ้านเกิด รักความสงบ
40
แรงงาน / กลุ่มคนพลัดถิ่น
20
ชื่นชอบการแสดงโชว์
0 อ้างอิงจากการตั้งผลสำรวจผ่านเว็บไซต์FACEBOOK เมื่อวันที่20 พ.ย 2561
targer group region
GENDER
North
central
span of age CHILD
MEN
WORKING PEOPLE
LGBT
Northeast south
WOMEN
nationallity
STUDENTS ELDERLY
foreigners
thai
CASE STUDY
IMPACT ARENA
IMPACT ARENA
PLAN
รูปแบบการจัดเวทีใน อิมแพคอารีนา เมืองทอง
CASE STUDY
the structure of moh lum stage
นักดนตรี
นักดนตรี
หางเครื่อง
หางเครื่อง นักร้อง
ธ.ไก่ชน
case study
SITE ANALYSIS boxing stadium rangsit thailand
boxing stadium
RANGSIT
323 PHAHONYOTHIN RD. PRACHATHIPAT, THANYABURI, PHATHUMTHANI เริ่มแรกเมื่อปี พ.ศ.2505 โดยผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี ในสมัยนั้น คือนายประสิทธิ์ อุไรรัตน์ ต้องการส่งเสริมกีฬามวยไทย ในจังหวัดปทุมธานีได้จัดตั้งสนามมวยขึ้นเพื่อเป็นการอนุรักษ์กีฬามวย ไทย โดยเวทีมวยรังสิตมีพื้นที่ 7ไร่เศษ สามารถจุคนได้ถึงเกือบ1500 คน
ฟิวเจอร์พาร์ค รังสิต
ท่ารถต่างจังหวัด รังสิต
การเดินทาง
สายรถประจำทาง 29/34/39/59/95ก/185/187/503/504/510/520 522/538/554 ลงป้ายแมคโครรังสิต
BTS สายสีแดง ลงสถานีหลักหก(ม.รังสิต) / MRT -
boxing stadium
ถนนวิภาวดีรังสิต
323 PHAHONYOTHIN RD. PRACHATHIPAT, THANYABURI, PHATHUMTHANI
ถนนพหลโยธิน 87 BTS สายสีแดง บางซื่อ-รังสิต
มหาวิทยาลัย รังสิต
แมคโคร รังสิต
แมคโคร รังสิต
อู่ช่างขาว
โกดังเจริญประดับยนต์ ศาลเจ้าพ่อเสือ รังสิต
SIAM HOTEL จักวาลยนต์
boxing stadium ถนนวิภาวดีรังสิต
323 PHAHONYOTHIN RD. PRACHATHIPAT, THANYABURI, PHATHUMTHANI
โรงแรมรังสิต พาเลซ
BOXING STADIUM
BOXING STADIUM PLAN
BOXING STADIUM ELEVATION PLAN
BOXING STADIUM SECTION PLAN
BOXING SCHOOL
BOXING SCHOOL PLAN
BOXING SCHOOL ELEVATION
ข้อกฎหมายกับการออกแบบโรงมหรสพ
หมวดที่ 1 ทั่วไป ข้อที่2 ประเภทโรงมหรสพ
(๒) โรงมหรสพประเภท ข หมายความถึง โรงมหรสพที่เป็นอาคารเดี่ยว ซึ่งไม่มีการจัดที่นั่งคนดูในลักษณะยึดติดกับพื้น
ข้อ ๓ สถานที่ตั้งโรงมหรสพต้องมีลักษณะ ดังต่อไปนี้
(๑) โรงมหรสพต้องตั้งอยู่ในระดับไม่ต่ำกว่าระดับพื้นดินที่ก่อสร้าง (๒) โรงมหรสพประเภท ก ประเภท ข และประเภท จ ต้องตั้งอยู่ในที่ดินที่มีด้านใดด้านหนึ่งของที่ดินนั้นยาว ไม่น้อยกว่า ๑๒.๐๐ เมตร และที่ดินด้านนั้นต้องอยู่ติดถนนสาธารณะที่มีเขตทางกว้างไม่น้อยกว่า ๑๐.๐๐ เมตร
ข้อกฎหมายกับการออกแบบโรงมหรสพ
หมวดที่ 4 จำนวนและระยะห่างของสิ่งของหรือ ส่วนต่าง ๆ ภายในและภายนอกอาคารที่ใช้เป็น โรงมหรสพ ข้อ ๓๔ โรงมหรสพจะต้องมีจำนวนทางออกหรือประตูทางออก ดังต่อไปนี้ (๔) โรงมหรสพที่มีความจุคนตั้งแต่หกร้อยเอ็ดคนขึ้นไป ต้องมีทางออกหรือประตูทางออกไม่น้อยกว่าห้าแห่ง เพื่อประโยชน์ในการคำนวณจำนวนทางออกหรือประตูทางออกตามข้อนี้ ในกรณีของโรงมหรสพที่ไม่มีการจัดที่นั่ง คนดู ให้คิดจำนวนที่นั่งคนดูเท่ากับความจุคนโดยมีความจุคนไม่เกินอัตราส่วนหนึ่งคนต่อพื้นที่ ๐.๖๐ ตารางเมตร
DESIGN
MOOD AND TONE
COLOR SCHEMES
programing
moh lum
temple fair
exhibition
learning local music and singing moh lum
นิทรรศการหมุนเวียน ชิงช้าสวรรค์
แยกเป็นภูมิภาค
เล่าประวัติความเป็นมา
ม้าหมุน
แยกประเภทการแสดง
เพลง ดนตรี ทำนองต่างๆ
การแสดงประเภทต่างๆ
digital exhibition เครื่องดนตรี
exhibition
เครื่องเล่น
หมอลำ ลูกทุ่ง
programing
temple fair
ร้านขายของ
moh lum
กิจกรรมเสริม บ้านผีสิง
learning local music
ด้านหน้าเวที
เครื่องดนตรี
ด้านหลังเวที
เวที
สาวน้อยตกน้ำ
ปาโป่ง / ปากระป๋อง ยิงตุ๊กตา
ร้องเพลง
แคน ความมสูง
พื้นที่นั่งชมการแสดง
ห้องพักนักแสดง
มาตรฐานของเวที
พื้นที่ยืนชมการแสดง
ห้องพักคนงาน
พื้นที่แสดง
พื้นที่เข้า-ออก
พื้นที่สำหรับนักดนตรี
ห้องน้ำ
คนงานชาย-หญิง นักแสดง ชาย-หญิง
พิณ โปงลาง โหวด
zoning
พื้นที่เรียนดนตรีอีสาน และการขับร้องหมอลำ
อาคารนิทรรศการ และสำนักงาน
ลานจอดรถ
อาคารมหรสพ
ลานอเนกประสงค์
MAIN ENTRANCE
AUDITORIUM PLAN
การจัดพื้นที่รับชม
AUDITORIUM
436 ตารางเมตร = 727 คน
279 ตารางเมตร = 465 คน
รวม = 1192 คน
PLAN ในกรณีของโรงมหรสพที่ไม่มีการจัดที่นั่งคนดู ให้คิดจำนวนที่นั่งคนดูเท่ากับความจุคนโดยมีความจุคนไม่เกินอัตราส่วนหนึ่งคนต่อพื้นที่ ๐.๖๐ ตารางเมตร
AUDITORIUM ELAEVATION 11
2 1
3 8
4
5
6
7
9
10
1. บันไดทางขึ้น 2. reception 3. ห้องควบคุม 4. ทางลงไปห้องน้ำ 5. พื้นที่รับชม 6. พื้นที่ multifunction 7. เวทีหลัก 8. โซนนักดนตรี 9. พื้นที่ด้านหลังเวที 10. ห้องพักนักแสดง 11. ไม้ระแนงห้อยประดับฝ้า
AUDITORIUM อาคารมหรสพ
17.00
16.00
15.00 12.00
9.45
16.00
9.45
12.00
15.00 17.00 7.80
อาคารมหรสพได้รับแรงบันดาลใจมากจากสิมอีสานในสมัยก่อน ซึ่งวัดกับงาน ประเพณีอีสานเป็นสิ่งที่อยู่คู่กันมานาน และสะท้อนความเป็นอีสานได้อย่างมาก จึง นำรูปทรงมาดัดแปลงให้อยู่ในรูปแบบกึ่งร่วมสมัย โดยใช้แผ่น Polycarbonate มา ทำเป็นผนังในส่วนต้อนรับ ด้วยคุณสมบัติกึ่งทึบแสง ทำให้แสงที่สว่างในอาคาร สามารถสะท้อนออกมาได้ และทำให้อาคารมีสันมากขึ้น ดูสนุกสนาน และตัวโครง สิมใช้โครงเหล็กดัดแปลงรูปทรงทำเป็นโครงFacde คลุมด้านนอก และในตัวอาคาร ใช้วัสดุธรรมชาติพร้อมทั้งนำงานสาน เอกลักษณ์ทางภาคอีสานมาร่วมประดับภายใน งานให้มีกลิ่นอายความเป็นพื้นถิ่นมากขึ้น
"หอบสาดมาฟังลำ"
AUDITORIUM
RECEPTION
AUDITORIUM
AUDITORIUM
AUDITORIUM
MAIN ENTRANCE
EXHIBITION BUILDING PLAN
FLOOR1
FLOOR2
FLOOR
1 2
EXHIBITION BUILDING PLAN
exhibition building ELAEVATION
3
1
10
5 4
2
6
7
8
9
1. facade 2. ผนังจอ led 3. ห้องทำงาน 4. พื้นที่ถ่ายรูป 5. ห้องผู้บริหาร 6. ทางเข้าพื้นที่เรียนรู้พื้นถิ่นอิสาน 7. กระท่อมหลังใหญ่ 8. กระท่อมหลังเล็ก 9. บ้านหลัก 10. โครงหลังคาไม้ไผ่
EXHIBITION BUILLDING อาคารนิทรรศการ
14.00 7.00
"ก่องข้าวห่อฮัก"
14.00
อาคารนิทรรศการได้รับแรงบันดาลใจมากจาก ก่องข้าว (กระติ๊บข้าวเหนียว) ที่ เป็นอุปกรณ์สำหรับเก็บข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้ว ให้มีความเหนียวนุ่มได้ตลอดวัน ด้วยลวดลายและคุณสมบัติเหล่านี้ จึงถูกนำมาออกแบบเป็นอาคาร และด้านหลัง ของอาคารยังเป็นพื้นที่จำลองการใช้วิถีชีวิตของชาวอีสานแบบพื้นบ้าน และยังเป็น ที่เรียนรู้เกีี่ยวกับดนตรีอีสาน และการขับร้องหมอลำอีกด้วย
EXHIBITION
HISTORY EXHIBITION
LIFE EXHIBITION AND LOCAL MUSIC LEARNING
LIFE EXHIBITION AND LOCAL MUSIC LEARNING
logo branding SUMALEE
สุมาลี นพเก้า
แรงบันดาลใจในการทำงานก็คืออยากให้เกิดฟอนต์ที่เข้ากับงานไทยๆ ก็เลยคิด ทำขึ้นมา สำหรับชื่อ ฟอนต์ “สุมาลี” คือชื่อภรรยาครับ
#a06715
TICKET
ADVERTISEMENTS
THANK YOU