STUDY OF THAI HERBS FOR RESTAURANT AND SPA INTERIOR DESIGN PROJECT BOOK

Page 1

A

A P H I N YA


ชื่อโครงการ

: โครงการศึกษาสมุนไพรไทย เพื่อนำไปสูการออกแบบภาย ในรานอาหาร และ สปา

ประเภทงานศิลปนิพนธ

: ประเภทออกแบบรานอาหาร และ สปา

ผูดำเนินงานศิลปนิพนธ

: นางสาว อภิญญา โรจนันท รหัสนักศึกษา 5700651 นักศึกษาชั้นปที่4 คณะวิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต

ที่ปรึงษาโครงการศิลปนิพนธ

: อาจรย เกรียงศึกดิ์ สุวรรณบูล


ก สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมัติใหนับศิลปะนิพนธฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน ……………………………………………….. คณบดีคณะศิลปกรรม (รศ.พิศประไพ สาระศาลิน) คณะกรรมการศิลปนิพนธ

……………………………………………….. ประธานกรรมการ (อาจารย วริศว สินสืบผล) ……………………………………………….. กรรมการ (อาจารย เกรียงศักดิ์ สุวรรณบูล) ……………………………………………….. กรรมการ (อาจารย วิรุจน ไทยแซม) ……………………………………………….. กรรมการ (อาจารย ถวัลย วงษสวรรค) ……………………………………………….. กรรมการ (อาจารย อรรถกฤษณ อุทัยกาญจน) ……………………………………………….. กรรมการ (อาจารย บัณฑิต เนียมทรัพย) ……………………………………………….. กรรมการ (อาจารย เรวัฒน ชำนาญ) ……………………………………………….. กรรมการ (อาจารย ณัฐพงศ ศรีปุงวิวัฒน) ……………………………………………….. กรรมการ (อาจารย ไพลิน โภคทวี)

อาจารยที่ปรึกษาศิลปนิพนธ

……………………………………………….. ( )


PROJECT BACKGROUD

ในยุคปจจุบันมีผูคนจำนวนมาก ตางหันมาใหความสำคัญกับเรื่องของสุขภาพมากยิ่งขึ้น ทั้งในเรื่องของสุขภาพ ทั้งในเรื่องกานออกกำลังกาย เรื่องดูแลสุขภาพดวยวิธีทางธรรมชาติ ไมวา จะเปน สมุนไพร สปา การอาบน้ำแรแชน้ำนม การนวด การทานอาหารตามแนวทางตามธรรมชาติ ซึ่งเรียกไดอีกอยางวา การใชธรรมชาติบำบัดตลอดจนไปถึงการนำเทคโนโลยีสมัยใหมเขามามีบทบาท มากขึ้น เนื่องจาก “สมุนไพรไทย” เปนภูมิปญญาและทรัพยากรที่เปนเอกลักษณ สะทอนวัฒนธรรม รวมถึงเปน รากฐานเกษตรกรรมที่มีคุณคาของประเทศไทย ทั้งนี้สมุนไพรเปนสวนหนึ่งในวิถีชีวิตและสังคม ไทยมาโดยตลอด ดังจะเห็นไดจากการนำสมุนไพรมาประกอบในอาหารคาว หวาน เปนยารักษาโรค ใชในการบำบัดดูแลและฟนฟูสุขภาพ หรือแมกระทั่งใชเพื่อการเสริมความงาม ภูมิปญญาไทยเหลานี้ได รับการสั่งสม สืบทอด และพัฒนามาอยางยาวนาน ศาสตรของธาตุทังสี่ คือแรงบันดานใจที่นำมาใชในโครงการ ซึงนำมาใชทั้งในแงของ การใหบริการ ดูแล รักษา เชน นำน้ำมาชวยในเรื่องความผอนคลาย ลมเปนตัวแทนของกลิ่นหอม สมุนไพร ไฟคือความรอนเปนตัวแทนของการอบสมุนไพร สวนในแงของการออกแบบ ดินนำมาใช ในสวนของวัสดุตาง ๆ ลมใชในเรื่องของอุณภูมิและกลิ่น ไฟเปนเรื่องของการมองเห็น บรรยากาศและ แสงภายในอาคาร


กิตติกรรมประกาศ ศิลปะนิพนธฉบับนี้สำเร็จลุลวงไปไดดี ดวยความชวยเหลือและชี้แนะอยางดียิ่งจาก อาจารย เกรียงศักดิ์ สุวรรณบูล อาจารยที่ปรึกษาศิลปะนิพนธ ที่คอยแนะนำใหคำปรึกษาในทุก ๆ สวนของการทำโครงการนี้ และคอยใหกำลังใจ รวมถึงคณะกรรมการศิลปนิพนธทุกทานที่ใหคำแนะ นำและขอคิดเห็นตาง ๆ ในการทำศิลปะนิพนธ จึงขอขอบพระคุณอาจารยทุกทานไว ณ ที่นี้ ขอขอบคุณ อาคารอนุรักษทาเตียน ที่เอื้อเฟอแบบแปลนและการเก็บภาพสถานที่ เพื่อใชเปนสถานที่ตั้งโครงการในการทำศิลปนิพนธในครั้งนี้ สุดทายนี้ ขอขอบคุณบิดา มารดา ครอบครัว ที่ใหโอกาสในการศึกษาสนับสนุน ทุนทรัพยในการทำโครงการ ตลอดจนคอยชวยเหลือและใหกำลังใจ รวมถึงเพื่อนๆ พี่นองทุกคนที่ ไมไดเอยนามที่สนับสนุนและใหกำลังใจจนสำเร็จลุลวงไดดวยดี ขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ อภิญญา โรจนันท


ง สารบัญ

หนากรรมการอนุมัติ บทคัดยอ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ

หนา ก ข ค ง

บทที่ 1 บทนำ ที่มาของโครงการศิลปนิพนธ วัตถุประสงค ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ขอบเขตการศึกษา

1 2 3 4

บทที่ 2 การศึกษาขอมูลพื้นฐานของโครงการ กลุมเปาหมา กิจกรรมและชวงเวลา

5 7 9

บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวคิดในการออกแบบ กรณีศึกษา สถานที่ตั้งโครงการ การวิเคราะหอาคาร การวิเคราะหพื้นที่ออกแบบ การศึกษาองคประกอบ รูปแบบและวัสดุในงานออกแบบภายในโครงการ

11 12 15 17

บทที่ 4 ผลงานการออกแบบ กระบวนการออกแบบ การวางผังและการออกแบบพื้นที่ใชสอย การออกแบบภาพลักษณ แนวทางในการออกแบบของโครงการ การออกแบบภายในและภายนอก

21 22 23 25 26


จ สารบัญ

บทที่ 5 บทสรุปและขอเสนอแนะ สรุปผลของโครงการ สรุปผลการวิจัย

หนา 41 41 41

บรรณนุกรม ประวัติผูวิจัย

42 43


1


2

OBJECTIVE

-เพื่อความรูและเขาใจถึงขั้นตอนการออกแบบ -เพื่อนำความรูและความเขาใจที่ไดมาใชในการออกแบบอยางมีระบบ -เพื่อรูและเขาใจการวางแผนการทำงาน การบริหาร การบริการตาง ๆ -เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบ การกำหนดและจัดวางพื้นที่ใชงาน รวมถึงการเลือกใชวัสดุ คาความสวางเพื่อนำไปสูการออกแบบภายใน -เพื่อรูและเขาใจถึงการออกแบบภายในที่สอดคลองกับรายละเอียดของโครงการ


3

EXPECTATION

1. ทำใหผูบริโภคอาหารไทยมีสุขภาพที่ดี 2. เพื่อเพิ่มรายไดใหกับประเทศมากขึ้น 3. สามารถนำความรูที่ไดจากสวนตาง ๆไปใชและแกปญหาตาง ๆในงานออกแบบได 4. พัฒนากระบวนความคิดใหเปนระบบ และสอดคลองกับงาน design 5. สรางความแข็งแกรง ใหกับสุขภพรางกายของคนเมืองใหดียิ่งขึ้น 6. สรางและปลูกฝงแนวคิดในการดูแลสุขภาพจากภายในดวยวิธีธรรมชาติ 7. ทราบถึงขอมูลงานระบบ วัสดุ ขอมูลที่นำมาใชสำหรับการออกแบบ


4

AREA OF STUDY

01

ศึกษาผูใชโครงการและกิจกรรมตาง ๆ

02

ศึกษาความรูสมุนไพรไทยเพื่อนำไปออกแบบภายในรานอาหาร และสปา

03

ศึกษารูปแบบของโครงการ ในเรื่องที่ตั้ง การจัดวางพื้นที่ บรรยากาศโดยรวมของภายใน


5

RESEARCH METHODOLOGY


6


7


8


9

ACTIVITY

RESTAURANT AND CAFE

COOKING SCHOOL

MASSAGE

HERD GARDEN


10

PROGRAMING TIMELINE


11


12

THE HOUSE ON SATHORN


13

THE HOUSE ON SATHORN


14

TOM YUM KUNG


15

SITE LOCTION


16


17

SITE LOCTION


18

SITE LOCTION


19


20


21


22


23


24


25


26

MOOD AND MATERIAL


RECEPTION AREA AND WINE TASTING AREA

27


28 DINING AREA


29

DINING AREA


30

COFFEE AND CAKE


31

COOKING SCHOOL


32

COOKING SCHOOL


33

DINING ROOM


34

DINING ROOM


35

DINING ROOM


36

DINING ROOM


37

THAI MASSAGE


38

THAI MASSAGE


39


40


41

โครงการ ศึกษาสมุนไพรไทยเพื่อการออกแแบภายในรานอาหาร และ สปา จากการศึกษาวิจัย เรื่องการศึกษาสมุนไพรไทย เนื่องจาก “สมุนไพรไทย” เปนภูมิปญญาและทรัพยากร ที่เปนเอกลักษณ สะทอนวัฒนธรรม รวมถึงเปน รากฐานเกษตรกรรมที่มีคุณคาของประเทศไทย ทั้งนี้ สมุนไพรเปนสวนหนึ่งในวิถีชีวิตและสังคมไทยมาโดยตลอด ดังจะเห็นไดจากการนำสมุนไพรมาประกอบ ในอาหารคาว หวาน เปนยารักษาโรคใชในการบำบัดดูแลและฟนฟูสุขภาพหรือแมกระทั่งใชเพื่อการเสริม ความงาม ภูมิปญญาไทยเหลานี้ไดรับการสั่งสม สืบทอด และพัฒนามาอยางยาวนานในยุคปจจุบันมีผู คนจำนวนมาก ตางหันมาใหความสำคัญกับเรื่องของสุขภาพมากยิ่งขึ้น ทั้งในเรื่องของสุขภาพทั้งในเรื่อง การออกกำลังกาย เรื่องดูแลสุขภาพดวยวิธีทางธรรมชาติ ไมวาจะเปน สมุนไพร สปา การอาบน้ำแรแช น้ำนม การนวด การทานอาหารตามแนวทางตามธรรมชาติ ซึ่งเรียกไดอีกอยางวา การใชธรรมชาติ บำบัดตลอดจนไปถึงการนำเทคโนโลยีสมัยใหมเขามามีบทบาทมากขึ้น


42

บรรณานุกรม


ประวิติผูวิจัย

ชื่อ-สกุล

นางสาวอภิญญา โรจนันท

รหัสนักศึกษา

5700651

การศึกษา

นักศึกษาชั้นปที่ 4 สาขาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต 2562

การติดตอ

โทรศัพท 095-586-5339 aphinya.r57@rsu.ac.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.