ŕš— Mitree Chit Hostel
The Community Real Estate Business
ชื่อโครงการ :
โครงการออกแบบ พื้นที่อาคารร้างเพื่อ พัฒนาสู่พ้ืนที่ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ของชุมชน
ประเภทศิลปนิพนธ์ :
ประเภทออกแบบภายใน
ผู้ดําเนินโครงการ :
นายศตายุ อิงวัฒนโภคา รหัส 5900368
การศึกษา :
นักศึกษาชั้นปี ท่ี 4 คณะศิลปะและการออกแบบ
คํานํา วิชา เตรียมศิลปนิพนธ์ (Pre-Thesis) และ ศิลปนิพนธ์ (Thesis) ถือว่าเป็นประมวลความ รู้ขั้นสูงสุดสําหรับการศึกษาในระดับการออกแบบภายใน ศิลปนิพนธ์เล่มนี้เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลที่นักศึกษาแต่ละคนสนใจและนํามาเป็นข้อมูลประกิบการพิจารณาใน การออกแบบภายใน ซึ่งนอกจากจะเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาสําหรับการจบการศึกษาในระดับการรอ อกแบบภายใน คณะวิทยาลัยการรอกกแบบแล้ว ยังแสดงถึงผลสัมฤทธิ์ของการศึกษา ตลอดการ ศึกษาค้นคว้าของนักศึกษาแต่ละคนได้เป็นอย่างดี เอกสารประกอบการสอนวิชา ศิลปนพนธ์ คณะวิทยาลัยการออกแบบ สาขาวิชาการออกแบบ ภายใน ฉบับนี้ จักทําขึ้นเพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ ทําความเข้าใจถึงขั้นตอนการวิจัย ความหมาย กระบวนการ หลักการเขียน ส่วนประกอบและหลักการพิมพ์ศิลปนิพนธ์ ทีได้มาตรฐานของ คณะวิทยาลัยการออกแบบ สาขาวิชาการออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต
02
สาขาวิชาการออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมัติให้นับศิลปนิพนธ์ฉบับบนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักศูตรปริญญาบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน ..................................... คณบดีคณะศิลปกรรม (รศ.พิศประไพ สาระศาลิน) คณะกรรมการศิลปนิพนธ์ ..................................... ประธานกรรมการ (อาจารย์ วริศว์ สินสืบผล) ..................................... กรรมการ (อาจารtย์ เกรียงศักดิ์ สุวรรณบูล) ..................................... กรรมการ (อาจารย์ วิรุจน์ ไทยแช่ม) ..................................... กรรมการ (อาจารย์ ถวัลย์ วงษ์สวรรค์) ..................................... กรรมการ (อาจารย์ อรรถกฤษณ์ อุทักยกาญจน์) .................................... กรรมการ (อาจารย์ บัณฑิต เนียมทรัพย์) ..................................... กรรมการ (อาจารย์ เรวัฒน์ ชํานาญ) ..................................... กรรมการ (อาจารย์ ณัฐพงศ์ ศรีปรุงวิวัฒน์) ..................................... กรรมการ (อาจารย์ ไพลิน โภคทวี) อาจารย์ท่ป ี รึกษาศิลปนิพนธ์ ............................................(อาจารย์ อรรถกฤษณ์ อุทักยกาญจน์)
ชื่อโครงการ :
โครงการออกแบบ พื้นที่อาคารร้างเพื่อ พัฒนาสู่พ้ืนที่ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ของชุมชน
ประเภทศิลปนิพนธ์ :
ประเภทออกแบบภายใน
ผู้ดําเนินโครงการ :
นายศตายุ อิงวัฒนโภคา รหัส 5900368
การศึกษา :
นักศึกษาชั้นปี ท่ี 4 คณะศิลปะและการออกแบบ
บทคัดย่อ
เนื่องจากพื้นที่ในกรุงเทพมหานครมีการเติบโตของประชากรที่เพิ่มมากขึ้น ทําให้การประสิทธิภาพของพื้นที่ต้องเพิ่มมากขึ้นตามส่งผลให้ต้องใช้พ้ืนที่ท่ีมีอยู่ให้ ้ ในแง่ของประโยชน์ตอ ่ ละชุมชนในรอบบริบทเพื่อตอบ เกิดประสิทธิภาพมากขึน ่ พื้นทีแ ้ ่ ่ สนองต่อสังคมให้นําพืนทีทม ี ีอยู่เกิดประสิทธิผลมากที่สุดและสร้างรายได้ เพื่อที่จะ พัฒนาพื้นที่ให้มีคุณภาพมากขึ้น ศิลปนิพนธ์เล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งในการสํารวจพื้นที่อาคารร้าง ,พื้นที่ร้าง,พื้นที่ว่างเปล่า ที่ยังเหลืออยู่ในกรุงเทพมหานคร และ ควรค่าแก่การ ทํานุบํารุงและเพิ่มประสิทธิภาพของพื้นที่ในแง่ของอสังหาริมทรัพย์ท่ีส่งผลให้ ชุมชนเติบโต และ เพิ่มประสิทธิภาพของชุมชนให้ดีข้ึน จึงเกิดธุรกิจที่เกิดขึ้นภายในชุมชน เพื่อพัฒนาและต่อยอดให้กับชุมชนให้มี คุณภาพมาก ขึ้นต่อชุมชน และ สาธารณะให้กับคนภายนอกชุมชนได้มีโอกาศ หรือ เป็นส่วนร่วม ในการพัฒนาพื้นที่เพื่อต่อยอดให้เกิดธุรกิจในด้านอสังหาริมทรัพย์ โครงการที่ศิลปนิพนธ์น้จ ี ะเป็นตัวอย่างการพัฒนาพื้นที่อสังหาริมทรัพย์ และการต่อยอดธุรกิจในชุมชน ที่สนใจและอนุรักษ์โครงสร้างและประวัติศาสตร์ ของอาคารเดิมให้มีความเป็นเอกลักษณ์ต่อชุมชนและ มีประสิทธิภาพมากขึ้นในด้าน พื้นที่อสังหาริมทรัพย์
06
Project :
Devolopment Abandoned building to the real estate business to community
Type of project :
Interior Design
Researcher :
Mr. Satayu Ingwattanapoka 5900368
Department :
Years 4 Interior Design,Faculty Collage of Arts,Rangsit University
Abstract
Due to the increasing population growth in Bangkok area, the efficiency of the area must be increased accordingly, resulting in the use of the existing area to be more effective in terms of benefits to the area and surrounding communities in response to Respond to society to bring the most effective existing areas and create income. In order to develop more quality areas This work of art is a part of the survey of abandoned buildings, abandoned spaces, empty spaces. Which is still left in Bangkok and is worth maintaining and increasing the efficiency of the area in terms of real estate which results in the community growing and improving the efficiency of the community Therefore the business occurred in the community In order to develop and extend to the community to have a lot of quality It depends on the community and public for people outside the community to have a chance or to participate in the area development in order to build a real estate business. The project that this art thesis will be an example of real estate development and business extension in the community. Interested in and preserving the structure and history of the original building to be unique to the community and More efficient in the area of real estate
08
กิตติกรรมประกาศ
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ สําเร็จได้เนื่องจากความกรุณาของอาจารย์ท่ีปรึกษา ที่ให้คําแนะนําแนวทางในการทํา วิทยานิพนธ์เล่มนี้ และ ท่านอาจารย์ทุกท่านที่เป็นกรรมการวิทยานิพนธ์ท่ใี ห้คําแนะนําและชี้แนะนําและชี้แนะ แนวทางในการดําเนินงาน และ บุคคลในชุมชนที่ให้ความอนุเคราะห์เรื่องราวประวัติศาสตร์ เรื่องเล่าของ ชุมชน และประวัติความเป็นอยู่ของคนในชุมชน และ ขอขอบพระคุณ เจ้าของธุรกิจโรงแรม คุณจอย -อนันดา ฉลาดเจริญเจ้าของโรงแรม The Mustang Blu เจ้าของเช่าพื้นที่ปจ ั จุบัน ของตัวอาคารนี้ ที่ให้ ความ อนุเคราห์ในการให้ขอ ้ มูลประวัตค ิ วามเป็นมาและผังของตัวอาคาร และให้สมมติฐานการวางผังของตัวอาคารใน อดีต สุดท้ายนี้ขอกราบขอบคุณพระคุณบิดาและมารดาที่ให้การสนับสนุนการศึกษา และให้กําลังใจตลอดมา รวมถึงเพื่อนๆพี่ๆน้องๆที่ให้คําแนะนํา กําลังใจปรารภนาดีต่อกัน เพื่อให้วิทยานิพนธ์เล่มนี้สําเร็จลุล่วงไปด้วย ดี
10
สารบัญ คํานํา.
2
กรรมการ และ ผู้อนุมัตินับรายวิชา ศิลปะนิพนธ์.
4
บทคัดย่อ
6
กิตติกรรมประกาศ
10
สารบัญ
11
บทที่ 1 บทนํา
14
1.1 ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา
15
1.2 คํานิยามศัพท์
16
1.3 ใจความสําคัญของพื้นที่เปล่า และ พื้นที่ร้าง
16
1.4 จุดประสงค์ของการทําศิลปนิพนธ์
18
บทที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานของโครงการ
20
2.1 หลักการตัดสินใจเลือกโครงการ
22
2.2 ขั้นตอนการดําเนินงาน
21
2.3 ผลสรุปจากขั้นตอนการดําเนินงาน
24
2.4 สถานที่ต้ง ั ของโครงการ มุมมองดาวเทียม
24
2.5 สถานที่ต้ง ั ของโครงการ แบบกราฟฟิค
26
2.6 อาคาร มุมมอง isomatric
28
2.7 ประวัติความเป็นมาก่อนเกิดอาคารขึ้น
30
2.8 รูปภาพแยกพระราม 4 สมัยก่อน
32
2.9 สถาปัตยกรรมโคโลเนียล
34
2.10 กรณีศึกษา สถาปัตยกรรมโคโลเนียลในกรุงเทพ
38
2.11 ประวัติความเป็นมาของตัวอาคาร
40
2.12 ธุรกิจของตัวอาคารในปัจจุบัน
42
2.13 แปลนโครงสร้างอาคาร
44 - 48
2.14 รูปด้านหน้าของตัวอาคาร 2.15 จุดเด่นของตัวอาคาร บทที่ 3 หลักการ ทฤษฏี แนวคิดการศึกษา
50 51 - 52 54
3.1 นักพัฒนาโครงการอสังหาฯ คือใคร ทําอะไรบ้าง ?
55
3.2 ขั้นตอนการดําเนินงานในหลักการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
56
3.3 แนวโน้มของธุรกิจจะเกิดไปในทิศทางใด
58
3.4 ธุรกิจของอาคาร
60
3.5 กลุ่มเป้าหมายของโครงการ
61
3.6 กิจกรรมของโครงการ
62
3.7 กรณีศึกษา
64
บทที่ 4 ผลงานการออกแบบ 4.1 แบรนด์โลโก้ของโครงการ 4.2 แปลนเฟอร์นิเจอร์ 4.3 รูปตัด 4.4 Perspective บทที่ 5 การวิเคราะห์และสรุปผลการวิจัย
66 68 70 - 74 76 78 - 94 96
5.1 ผลสรุปการวิจัย
98
5.2 ข้อจํากัดในการวิจัย
99
5.3 ข้อเสนอแนะ
100
บรรณานุกรม
102
ประวัติผู้วิจัย
104
1 บทนํา
บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา กรุงเทพมหานนครเป็นเมืองหลวงของประเทศไทย เป็นเขคที่มีความหนาแน่นของ ้ ง ่ ยูอ ประชากรสูง โดยความสําคัญนีส ่ ผลต่อคุณภาพและศักยภาพของพื้นทีอ ่ าศัยหรือชุมชนโดย รอบเป็นผลที่จะทําให้เกิดมาตรฐานของการใช้พ้ืนที่อยู่อาศัยที่เกิดประโยชน์ต่อประชากรที่จะส่ง ผลให้คุณภาพของชีวิตประชากรเพิ่มขึ้นหรือลดลง โดยจะแบ่งลักษณะของคุณภาพหรือ ศักยภาพของพื้นที่โดยการพัฒนาของธุรกิจ หรือ กิจประโยชน์ท่ส ี ่งผลต่อผู้ท่เี ป็นเจ้าของหรือ บุคคลโดยรอบไม่ว่าจะเป็นประโยชน์โดยตรงและโดยอ้อม จากการสังเกตุและวิเคราะห์ข้อมูลในปัจจุบันจึงยกตัวอย่างพื้นที่อาคารร้างที่อยู่ใน ชุมชนของตนเองที่อยู่ในส่วนของพื้นที่ท่ค ี วรจะมีการนําพื้นที่ไปสร้างหรือตกแต่ง รีโนเวต อาคารดังกล่าวให้มีคุณภาพ โดยปัจจุบันธุรกิจอสังหาริมทรัพย์น้น ั มีการทําธุรกิจใหม่ๆหลากหลายมากขึ้น ไม่ว่า จะเป็นอาคารที่ใช้ประโยชน์ประสม (mixed-use building) หรือ พื้นที่อยู่อาศัยแบบขาย หรือ เช่า สําเร็จ (rental resident) โดยการซื้อพื้นที่ดินมาเก็บไว้ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบอาคาร เปล่า หรือ มีการตกแต่งภายในใหม่ เปิ ดธุรกิจเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับอาคาร ดังนั้นเมื่อสํารวจพื้นที่สัดส่วนพื้นที่ท่ไี ม่ได้ถูกนํามาใช้งานต่อชุมชนนั้นจะมีสักสัดส่วน หนึ่งของพื้นที่ในชุมชนไม่ได้ถูกนําไปต่อยอดหรือพัฒนาเป็นธุรกิจอื่นๆ จึงยกตัวอย่างพื้นที่ อาคารร้างที่หนึ่งภายในชุมชนที่มีโอกาศหรือแนวโน้มสูงที่จะพัฒนาเพื่อต่อยอดธุรกิจที่จะสร้าง รายได้หรือทําให้เกิดมูลค่าทั้งทางด้านทุนทรัพย์ หรือ ทางสภาพแวดล้อมที่ดีข้ึน ให้แก่ชุมชนบริเวฯโดยรอบโดยการนําแนวทางของการพัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์มากําหนด ทิศทางของธุรกิจและความน่าจะเป็นที่จะเกิดขึ้นในอนาคตว่าจะมีทิศทางและแนวทางแบบไหนได้ บ้าง
1.2 คํานิยามศัพท์ มีการศึกษาจํานวนมากที่พูดถึงปรากฏการณ์ ้ ่ ของพืนทีท้ง ิ ร้างในเมืองสมัยใหม่ รวมทั้งบัญญัติคําศัพท์และนิยามไว้หลากหลาย เช่น พื้นที่ท่ีถูกละเลย (lost space) พื้นที่ไร้ประโยชน์ (waste space) พื้นที่ตาย (dead space) ช่องว่างเมือง (urban void) พื้นที่ว่างเปล่า ในนิยามนี้หมายถึง พื้นที่ ที่ไม่มีโครงสร้างอาคารขึ้นเป็นโครงสร้างที่จะต่อเติม ้ ่ เป็นพืนทีว่างที่อยู่ในแหล่งชุมชนหรือพื้นที่อยู่อาศัยอยู่โดยรอบ พื้นที่อาคารร้าง ในนิยามนี้หมายถึง พื้นที่ เดิมมีอาคารเป็นโครงสร้างที่สร้างแล้ว แต่ไม่มีผู้ อยู่อาศัยอาจด้วยปัจจัยหลายอย่าง โดยอาจจะเกิดอุบัตภ ิ ัย การปล่อยขายและไม่มีผู้ซ้ือ หรือ การที่ผู้เป็นเจ้าของปล่อยปละ ไม่ได้พัฒนาหรือควบคุมคุณภาพของตัวอาคารให้มีความปลอดภัย หรือ เหตุอ่ืนๆ ใจความสําคัญของพื้นที่เปล่า และ พื้นที่ร้าง พื้นที่เปล่า และ พื้นที่ร้าง คือแหล่งทุนทรัพย์สําคัญที่มีมูล่า ต่อ ตลาดอสังหาริมทรัพย์ โดยตามสัดส่วนแล้วนั้น ผู้ท่ล ี งทุนในด้านของตลาดอสังหาริมทรัพย์จะคํานึงด้านการลงทุน ผลตอบแทน และ ระยะเวลาของกําไรที่จะได้รับ รวมถึงการพัฒนาพื้นที่ให้เกิดมูลค่าที่เพื่มขึ้น
16
Objective เพื่อศึกษาการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ให้กับชุมชนเพื่อสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน โดยใช้หลัก การพัฒนาตามทฤษฏีมาปรับใช้กับสถานที่และชุมชน
Area of study 1. เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ 2. ศึกษาสภาพแวดล้อมของชุมชน 3. ประวัติศาสตร์ของชุมชน เหตุการณ์สาํ คัญ 4. ศึกษาศักยภาพของพื้นที่ โดยนําหลักทฤษฏีทางการทําธุรกิจอสังหาริมทรัพย์มาใช้ 5. ศึกษาแรงบันดาลใจในการออกแบบที่เกี่ยวเนื่องกับตัวสถาปัตยกรรม
Expectations 1. เกิดเป็นชุมชนตัวอย่าง ที่ส่งเสริมการใช้พ้ืนที่ให้เกิดประโยชน์โดยเริ่มจากชุมชน 2. เกิดเป็นธุรกิจต้นแบบการออกแบบภายในสู่ธุรกิจชุมชนอื่น 3. เพื่อตระหนักถึงปัญหาของอาคารร้าง พื้นที่ร้าง ให้ผู้คนตระหนักถึงและเป็นแรงบันดาล ใจในการพัฒนาธุรกิจขึ้นเอง
18
2 ข้อมูลพื้นฐาน และ รายละเอียด ประกอบโครงการ
AREA OF STUDY หลักการตัดสินใจเลือกสถานที่โครงการ สาเหตุทางการค้นคว้า จากข้อมูลการค้นคว้า เขตพื้นที่ปอ ้ มปราบนั้นมีธุรกิจมากมาย และ ยังเป็นชุมชนที่มีอยู่มาอย่างยาวนาน และ เหมาะที่จะเป็นตัวอย่างการพัฒนาชุมชน ในด้านธุรกิจให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
สาเหตุทางด้านการเข้าถึงข้อมูล เนื่องจากเป็นชุมชนของตนที่ตน และ ครอบครัวเคยอยู่อาศัย และ เปิ ดธุรกิจ มานาน เกือบ 50 ปี จึงอยากพัฒนาชุมชนที่เราอยู่อาศัยให้พัฒนามากขึ้นจากการ ทําธุรกิจที่มีมานาน ร้าน อู้เซ้ง เป็นร้านของอาเหล่ากงที่เป็นทวด ซึ่งเป็นคนจีน ที่อยู่อาศัยใน ้ พืนที่น้ม ี านานมีข้อมูลความรู้ของพื้นที่รอบๆ และ เพื่อนบ้านในระแวกชุมชนเ็นอ ย่างดี เนื่องจากชุมชนนั้นเก่าแก่ บางข้อมูลไม่สามารถที่ค้นคว้าหาได้จากข้อมูล ทางหนังสือ หรือ อินเตอร์เน็ต จึงเป็นการสํารวจชุมชนตนเองโดยการสอบถาม ประวัติของเพื่อนบ้าน เหตุการณ์สําคัญ และความรู้สึกของคนในบริเวณชุมชนต่อ พื้นที่น้ี
20
การจัดการกระบวนการในการเลือกพื้นที่การวิจัย และ ขอบเขตการค้นคว้า
ขั้นตอนการดําเนินงาน ขั้นตอนการทํางาน และ กระบวนการคิดแบบผังงาน
การเลือกพื้นที่ศึกษา โดยกําหนดขอบเขตการศึกษา และ สถานที่ท่น ี า่ ศึกษา และ เหตุผลประกอบการตัดสินใจ
- ทฤษฏีท่น ี าํ ประกอบกับ
หัวข้อศึกษา
การกําหนดหัวข้อ - สัดส่วนผลการสํารวจ
พื้นที่ศึกษา
ของหัวข้อ - ทฤษฏีท่น ี าํ ประกอบกับ การกําหนดพื้นที่
PROCESSING PHASE
เหตผลประกอบการตัดสินใจ
การลงดูพ้ืนที่จริง โดยการดูบริเวณโดยรอบ โครงสร้างภายใน ประวัติ และ ความเป็นไปได้ของโครงการ
ลงพื้นที่สํารวจ ชนิดพื้นที่อาคารร้าง ตรวจสอบ พื้นที่
กําหนดกรอบของพื้นที่ ชนิดพื้นที่วา่ งเปล่า
ประเมิณพื้นที่ในอนาคต
ตัดสินใจ
ตรวจสอบ พื้นที่
สํารวจความน่าจะเป็นของธุรกิจที่ควรจะเกิดขึ้นเพื่อเกิดรายได้
ลงพื้นที่สํารวจสภาพแวดล้อม
ตรวจสอบปัจจัยของทฤษฏี
สํารวจความน่าจะเป็นของธุรกิจที่ควรจะเกิดขึ้นเพื่อเกิดรายได้
คํานวณรายได้ หรือ ผลตอบแทนที่ได้รับ
ตีกรอบ ความน่าจะเป็น
ผลสรุปจากการสํารวจพื้นที่ โดยรอบชุมชน การสํารวจโดยการหาพื้นที่ร้าง และ อาคารร้างนั้น มีปัจจัยโดยการสํารวจจากเพื่อนบ้านว่ามี คนอยู่อาศัยไหม เนื่องจากบางพื้นที่ปิดประตูทางเข้าอาคาร อาจจะมีการอยู่อาศัยอยู่บ้างแต่ไม่ได้ทํา ธุรกิจ และ สาเหตุอ่น ื ๆ ผลสํารวจนัน ้ พบ 2 อาคารที่เป็นอาคารร้าง ไม่มีเจ้าของ หรือ กําลังปล่อยขาย 1. อาคารร้างบนถนน ไมตรีจิต ข้าง โบสถ์คริสตจักรชุมชน สถานะ : ร้าง โครงสร้างภายนอกดี สาเหตุ : สาเหตุการร้างของอาคาร เกิดอุบัติเหตุ ไฟไหม้อาคาร ทําให้โครงสร้างภายในเสียหาย ผลสรุป : ไม่ผ่านการเลือก เนื่องจาก ไม่สามารถที่จะทํานุบํารุงตัวอาคารได้ เนื่องจากโครงสร้าง ภายในเสียหายหนัก โครงสร้างคํ้ายันตัวอาคารไม่แข็งแรง
2. อาคารร้างบนถนน ไมตรีจิต ฝั่งตรงข้าม ศาลเจ้าจีน สถานะ : ร้าง โครงสร้างภายนอกดี สาเหตุ : สาเหตุการร้างของอาคาร มีการเลิกกิจการ ปล่อยร้าง ผลสรุป : ผ่าน เนื่องจาก โครงสร้างภายนอกยังคงสภาพเดิมอยู่ โครงสร้างภายในแข็งแรง ไม่เสียหายมากนัก สามารถปรับปรุงได้
22
SITE
721 MaitreeChit Rd. Pomprab,Sathupradit Bangkok 10100 Bangkok
master plan
24
AD IT RO
RI CH MAIT
BANGKOK TRAIN STATION
master plan graphic layout
1026
รูปทรงของตัวอาคาร ในมุมมอง isomatric
10
28
ประวัติความเป็นมาก่อนจะเกิดอาคารนี้ข้น ึ จุดกําเนิดของถนนไมตรีจิต กับ วงเวียน 22 กรกฏาคม
Life Magazine
บริเวณที่เป็นวงเวียน 22 กรกฎาคม เดิมเคย เป็นชุมชนที่มีคนอยู่อาศัยหนาแน่นมาก ราว พ.ศ . 2460 ได้เกิดไฟไหม้ใหญ่เผาผลาญบ้านเรือน ในบริเวณนี้ไปเกือบหมด เจ้าพระยายมราช (ปั้ น สุขม ุ ) เสนาบดีกระทรวงนครบาล ได้นําความกราบ บังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรมรา ชานุญาต ตัดถนนเพื่อความเป็นระเบียบของบ้าน เมือง ต่อมาได้โปรดพระราชทานพระบรมราชานุ ญาตให้ตัดถนนสามสาย บริเวณที่ถนนสามสาย นัน ้ มาตัดกันได้โปรดให้สร้างเป็นวงเวียน พระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงพระราชทาน ่ เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่เหตุการณ์สําคัญในช่วงรัช ชือ สมัยของพระองค์ว่า วงเวียน 22 กรกฎาคม
ต่อมา ในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 7) ได้โปรดให้พระสารประเสริฐคิดชื่อถนนตามแนว พระราชดําริรัชกาลที่ 6 จึงได้ช่อ ื ถนนทั้งสามสายคือ ถนนไมตรีจิต ถนนมิตรพันธ์ และถนนสันติภาพ โดยมีความ ประสงค์ท่ีจะให้มีความหมายเกี่ยวเนื่องคือ "...ด้วย 'ไมตรีจิต' ที่ได้เข้าร่วมกับ 'สัมพันธมิตร' เพื่อผดุง 'สันติภาพ' ของโลก จึงได้ประกาศสงครามเมื่อวันที่ '22 กรกฎาคม' แต่คําว่า "สัมพันธมิตร" ได้เปลี่ยนเป็น มิตรพันธ์ ก็เพื่อ ให้คล้องจองกัน
30
แยกพระราม 4 ปีพ.ศ. 2446 แต่เดิมนั้น บ้านเป็นการใช้สถาปัตยกรรมโคโลเนียล
32
COLONIAL STYLE สถาปัตยกรรมโคโลเนียล
Colony แปลว่า อาณานิคม เมืองขึ้น หรือหัวเมืองประเทศราช ส่วน Colonial เป็นคํา adjective แปลว่า เกี่ยวกับอาณานิคม ดังนั้นคําว่า Colonial Style จึงหมายถึงศิลปะแบบ อาณานิคม ซึ่งในยุคล่าอาณานิคมมหาอํานาจชาวตะวันตก เช่น โปรตุเกส ฮอลันดา ฝรั่งเศส อังกฤษ ได้เข้ามาปลูก สร้างอาคารต่างๆเอาไว้ในเมืองขึ้นของตน สรุปคร่าวๆ ก็คือ Colonial Style เป็นศิลปะแบบตะวันตกชนิดหนึ่ง เกิดขึ้น ในช่วงล่าอาณานิคม ซึ่งพบเห็นได้ในแถบประเทศเพื่อนบ้านของเรา แต่สาํ หรับ “สยาม” เราไม่เคยเป็นอาณานิคมของใคร ถึงกระนัน ้ สถาปัตยกรรมตะวันตกในยุคนัน ้ ก็เข้ามายังสยามด้วยเหมือน กัน รูปแบบของสถาปัตยกรรมจึงมีลักษณะผสมผสาน Colonial style ของแต่ละพื้นที่ไม่เหมือนกัน แต่ละพื้นที่จะได้รับ อิทธิพลของช่างพื้นถิน ่ เข้าไปผสมอยู่ด้วย สถาปัตยกรรมรูปแบบโคโลเนียลสไตล์เป็นรูปแบบสถาปัตยกรรมที่เริม ่ แพร่ขยายเข้ามาสู่ประเทศไทยเป็นครั้งแรกใน สมัยรัชกาลที่ 5-6 ซึ่งผู้คนในสมัยนั้นมักจะเรียกกันอย่างติดปากว่า “ตึกฝรั่ง” ซึ่งรูปแบบของอาคารแบบโคโลเนียลนั้นจะมีความหลากหลายตามอิทธิพลที่มาจากต่างแหล่งกลุ่มชนกัน เนื่องจากในเบื้อง ต้นนั้น รูปแบบโคโลเนียล ก็คือ การนําเอาสถาปัตยกรรมของประเทศแม่ไปก่อสร้างในดินแดนอาณานิคม แล้วจึงค่อยปรับ รูปแบบสู่ลักษณะที่สอดคล้องกับความเป็นอยู่ตามสภาพอากาศในแต่ละพื้นถิน ่ ดังนั้นอาคารรูปแบบนี้จึงสามารถเรียกอีก ชื่อได้ว่า เป็น “สถาปัตยกรรมอาณานิคม ” ดังตัวอย่างอาคารโคโลเนียลหลายหลังที่ยังคงมีลักษณะของอิทธิพลคลาสสิค อยู่ ในขณะที่อีกส่วนหนึ่งได้รับอิทธิพลจากกลุ่มโรแมนติค เช่น อาคารที่มีการประดับด้วยลวดลายไม้ฉลุ ที่เรียกกันว่า “เรือนขนมปังขิง” ซึ่งรูปแบบโคโลเนียลนี้ในช่วงแรกได้เข้ามาพร้อมกับกลุ่มมิชชันนารี ที่เข้ามาเผยแพร่ศาสนาคริสต์ในดิน แดนอาณานิคมและดินแดนใกล้เคียง จึงสามารถจัดรูปแบบสถาปัตยกรรมแบบมัชชันนารี ( Mission Style ) ให้เข้าไว้ใน กลุ่มนี้ได้ด้วย
เรามักอนุโลมเรียกบ้านเรือนที่ปลูกสร้างโดยชาวตะวันตกในยุคล่าอาณานิคมว่าเป็น “ศิลปะแบบอาณานิคม” หรือ “อาคารแบบโคโลเนียล” (Colonial Style) ซึ่งมีลักษณะเด่นคือ ด้านหน้าของอาคารชั้นล่างมักทําช่องโค้ง (arch) ต่อเนื่องกันเป็นระยะๆ เพื่อให้เกิดการเดินเท้า ที่ ภาษาไทยเรียกทับศัพท์ว่า “อาเขต” (arcade) หรือที่ภาษาจีนฮกเกี้ยนเรียกว่า “หง่อคาขี่” หมายถึงทางเดินกว้างห้าฟุ ต นอกจากอาเขตแล้ว อาคารแบบโคโลเนียลยังอาจนําลวดลายบางอย่างของศิลปะตะวันตกสมัยกรีก โรมัน ที่เรียกว่า “สมัยคลาสสิก” มา ใช้ใหม่ เช่น หน้าต่างวงโค้งเกือกม้า หรือหัวเสาแบบโยนิก หรือไอโอนิก (แบบม้วนก้นหอย) และคอรินเทียน (มีใบไม้ขนาดใหญ่ประดับ) เป็นต้น ทําให้นักวิชาการบางท่านซึ่งไม่ชอบคําว่าสถาปัตยกรรมแบบโคโลเนียล เพราะมีลักษณะของการกดขี่แฝงอยู่ เลี่ยงมาใช้คําว่า “นีโอคลาสสิก”แทน เนื่องจากเป็นคํากลางๆที่ใช้เรียกงานศิลปะซึ่งนํารูปแบบคลาสสิกกลับมาใช้อีกครั้ง รูปแบบสถาปัตยกรรมแบบโคโลเนียลสไตล์ มักมีลักษณะเด่นในการออกแบบรูปทรงอาคารดังนี้ 1. รูปทรงอาคารเป็นลักษณะสี่เหลี่ยมแบบสมมาตร (square and symmetrical shape) 2.มีการเน้นประตูทางเข้าที่ก่ง ึ กลางอาคาร (central door) 3. มีการใช้ชุดเสาสูงเป็นแนวรับชายคากว้าง (colonnade) ป้องกันแดด ลม ฝน และเป็นซุ้ม เพื่อเน้นบริเวณทางเข้า-ออก 4. มีการออกแบบแนวเส้นประตูหน้าต่างของบ้านให้เป็นระเบียบในแนวเดียวกัน ผนังส่วนใหญ่เป็นผนังไม้ตีซ้อนเกล็ด สลับไปกับโครงสร้าง ปูน อาจประดับตกแต่ง ด้วยบัวปูนปั้นรอบชายคา บัวหัวเสา หรือรอบกรอบหน้าต่าง 5. มีระเบียงโดยรอบ
34
สถาปัตยกรรมโคโลเนียลในกรุงเทพฯ
กรณีศึกษา ตําหนักริมนํ้า ธนาคารแห่งประเทศไทย River Pavilion, Bank of Thailand ปี ท่ส ี ร้าง พ.ศ.2457 ตําหนักริมนํ้า ตั้งอยู่ริมแม่น้ําเจ้าพระยาโดยก่อสร้างยื่นออกไปในแม่น้าํ ตําแหน่งที่ตั้งอยู่ในเขตวังเทวะเวสม์ ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่ง ของธนาคารแห่งประเทศไทย ตัวอาคารเป็นเรือนไม้ รูปแบบสถาปัตยกรรมโคโลเนียล ออกแบบโดยนายเอมิลิโอ โจวานนี กอลโล (Emilio Giovanni Gollo) วิศวกรชาวอิตาลี ผนังตกแต่งด้วยการตีค้ว ิ ไม้แบ่งผนังเป็นช่วงจังหวะ ตัวเรือนมีหน้าต่างโดยรอบ ด้านทิศเหนือและ ทิศใต้เป็นระเบียงอยู่หลังช่วงเสาลอยติดตั้งแผงกันแดดเกล็ดไม้โปร่ง รับด้วยไม้ฉลุตกแต่ง บรรยากาศของเรือนดูโปร่งสบายและกะทัดรัด สวยงาม ตามประวัติ ตําหนักนี้เคยเป็นที่ประทับของพระธิดาพระองค์หนึ่งในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ เสนาบดี พระองค์แรกของกระทรวงการต่างประเทศในรัชสมัยพระบามสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห ่ ว ั พระธิดาพระองค์นป ี้ ระชวรเป็นโรคติดต่อจึงได้ จัดให้ประทับที่ตําหนักแยกต่างหาก หลังจากพระองค์ท่านสิ้นพระชนมม์ เรือนก็ถูกทิ้งร้าง ต่อมาได้ใช้เป็นทําการกองมาลาเรียของกระทราง สาธารณสุข จนปี 2539 จึงได้โอนมาเป็นส่วนหนึ่งของ ธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งได้ดําเนินการบูรณะเพื่อใช้เป็นเรือนรับรองและจัดเลี้ยง มาจนปัจจุบัน
กรณีศึกษา เรือนภะรตราชา (Pharotracha House) ที่ต้ง ั จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝั่ งสํานักงานอธิการบดี) ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯผู้ครอบครอง จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ปี ท่ส ี ร้าง ปี พ.ศ. 2460 – 2472 เรือนภะรตราชาเป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ 2 ชั้นครึ่ง ใต้ถุนโล่ง รูปแบบสภาปัตยกรรมโคโลเนียล ลักษณะเด่นคือมีหอสูง หลังคาทรงมะนิลา ประดับไม้ฉลุตกแต่งที่เชิงชาย ราวบันได และราวระเบียง เมื่อแรกสร้างในสมัยรัชการที่ 6 นั้น เรือนภะรตรา ชาได้ใช้เป็นบ้านพักของผู้บริหาร อาจารย์ชาวต่างประเทศ และข้าราชการของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาบัยอยู่ระยะหนึ่ง จากนั้นก็เปลี่ยน มาเป็นที่ทําการของหน่วยงานต่างๆ ของมหาวิทยาลัย เมื่ออาคารชํารุดทรุดโทรมลง ทางมหาวิทยาลัยจึงได้ดาํ เนินการอนุรก ั ษ์เพื่อเป็น อนุสรณ์สถานและเป็นการรําลึกถึงพระยาภะรตราชา (ม.ล. ทศทิศ อิศรเสนา) อดีตผู้บญ ั ชาการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่าง พ.ศ. 2472 – 2495 ผู้เคยพํ านักในเรือนนี้ เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้รียนรู้สภาพความเป็นอยู่ของชนรุ่นก่อน รวมทั้งเป็นสถานศึกษา ทางศิลปวัฒนธรรมของไทยสืบไป นอกจากนี้ ยังใช้เป็นที่ทําการของ “ภูมิเมธีสโมสร” คือสถานที่ใช้ประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆ เช่น การประชุม สัมมนา การจัดเลี้ยงรับรอง และจัดนิทรรศการ
36
กรณีศึกษา สถานเอกอัครราชทูตอังกฤษ (British Embassy) ที่ต้ง ั ถนนวิทยุ กรุงเทพฯสถาปนิก/ผู้ออกแบบ นายวิลเลียม อัลเฟรด เร วูด (William Alfred Rae Wood)ผู้ครอบครอง สถานเอกอัครราชทูตอังกฤษ ปี ท่ส ี ร้าง พ.ศ. 2469 สถานเอกอัครราชทูตอังกฤษ ตั้งอยู่ ณ ถนนวิทยุ บนที่ดินที่สถานกงสุลอังกฤษได้ซ้อ ื จากนายเลิศ (พระยาภักดีนรเศรษฐ) เมื่อปี พ.ศ 2465 จากนั้นก็ได้ดําเนินการออกแบบอาคารโดย นาย ดับเบิลยู. เอ. อาร์. วูด รองกงสุล เป็นผู้วางแนวทางในการออกแบบ และ The British Ministry of Worksประเทศอังกฤษ ออกแบบและ รายละเอียด การก่อสร้างอาคารเริ่มในปี 2466 แล้วเสร็จในปี 2469 ในสมัยที่เซอร์ โรเบิร์ต เกรก เป็นกงสุล ใหญ่ ตัวอาคารเป็นสถาปัตยกรรมโคโลเนียลผังสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีมุขกลาง ที่จ่ว ั มุกกลางประดับตราแผ่นดินอังกฤษ ออกแบบโดยเน้นความโปร่งสบายด้วยหน้าต่างและช่องระบายอากาศ การตกแต่งเป็นปูนปั้ น และไม้ฉลุ ภาพรวมดูสง่า งาม มั่นคง และภูมิฐาน อาคารนี้ชั้นล่างใช้เป็นที่ทําการสถานเอกอัครราชทูต ชั้นบนเป็นบ้านพักเอกอัครราชทูต ซึ่ง เป็นการใช้สอยที่สืบเนื่องมาตลอดตั้งแต่แรกสร้างอาคาร
38
ประวัติความเป็นมาของตัวอาคาร เดิมตัวอาคารเป็นสถาปัตยกรรมโคโลเนียล ที่ เป็นโครงสร้างไม้ แต่ด้วยเหตุ ทําให้เกิดไฟไหม้ครั้ง ใหญ่ในชุมชนรอบบริเวณวงเวียน 22 กรกฏา ทําให้เกิดการก่อสร้างอาคารใหม่เป็นสถาปัตยกรรม โคโลเนียลที่ใช้วัสดุจําพวกคอนกรีต ในการ ก่อสร้าง และยังเป็นจุดกําเนิดสถาปัตยกรรม โคโลเนียลที่ใช้วัสดุจําพวกคอนกรีตในช่วงแรกๆ ของประเทศไทยอีกด้วย
ในยุคแรกๆนั้น คาดว่าเคยเป็นโรงพยาบาลมาก่อน ในช่วงยุคสงครามโลกครั้งที่ 1
< 60 years
“ Bank of China ”
ต่อมา พัฒนาเป็นธนาคาร ธนาคารนี้เคยโด่งดังในสมัยก่อน โดย เป็นธนาคารจากประเทศจีน ชื่อว่า Bank of China
< 50 years
“ Harem ” ต่อมา เป็นสถานบันเทิงอาบอบนวด ชื่อว่า ฮาเร็ม
40 - 50 years
“ Cleopattra ” ต่อมา เป็นสถานบันเทิงอาบอบนวด ชื่อว่า คลีโอพัตตรา แต่ต่อมาโดนสั่งปิ ดเนื่องจากตั้งใกล้อยู่กับสถานศึกษา
40
ปัจจุบัน ตอนนี้อาคารนี้ถูกเปลี่ยนเป็นโรงแรม ชื่อว่า The mustang Blu โดย “คุณจอย-อนันดา ฉลาดเจริญ” เป็นเจ้าของ โรงแรม โดยที่คุณจอยนั้นเปิ ดโรงแรมในชื่อ เครือ The mustang
42
แปลนโครงสร้างอาคาร ชั้นที่ 1
44
แปลนโครงสร้างอาคาร ชั้นที่ 2
46
แปลนโครงสร้างอาคาร ชั้นที่ 3
48
50
Balcony
Center facade windows
52
3 หลักการ ทฤษฏี แนวคิดศึกษา
1.5 นักพัฒนาโครงการอสังหาฯ Real estate Developer คือใคร ? ผู้พัฒนาโครงการอสังหาฯ Real estate Developer คือ นักลงทุนซึ่งจะสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับอสังหาริมทรัพย์ โดยได้ผลกําไรสูงสุด นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ มีท้ง ั แบบผู้ ประกอบการและองค์กร บริษัทอสังหาริมทรัพย์ต่างๆ ที่สร้าง บ้านและที่อยู่อาศัยอื่นๆ ก็นับเป็นนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เนื่องจากสามารถสร้างรายได้และการงอกเงยมูลค่าจาก สินทรัพย์ในครอบครองอยู่ได้ผู้พัฒนาโครงการ ต้องใช้ ความรู้ความสามารถในด้านการประเมินศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) ในการริเริ่มโครงการ ด้านกฎหมาย ด้านกายภาพ ด้านการตลาด และด้านการเงิน เพื่อให้มี สามารถดําเนินโครงการได้ประสบความสําเร็จ และสามารถผลิต โครงการใหม่เข้าสู้ตลาดได้อย่างต่อเนื่อง
Project Feasibility Study คืออะไร ? คือ แผนการศึกษาความเป็นไปได้ของตัวโครงการ โดยจะอ้างอิงถึงการเปิ ดธุรกิจ ว่าเหมาะสม และ เหตุผลต่อ ธุรกิจในระยะยาวหรือระยะสั้น โดยใช้ปจ ั จัยต่างๆเหล่านี้
่ งทําเลและศักยภาพ การศึกษาความเป็นไปได้โดยดูเรือ ที่ดิน เป็นการศึกษาเพื่อพิจารณาความเหมาะ สม ในการดําเนินการลงทุนอสังหาริมทรัพย์ ทั้งการ ดูแลเรื่องทําเลที่ต้ง ั และพื้นที่เป็นหลัก เช่น ขนาด ความกว้าง หรือรูปร่างของลักษณะที่ดิน โครงสร้าง อาคาร รูปแบบ และสภาพแวดล้อม โดยศึกษาจากข้อดี และข้อเสีย หรือโอกาสในการ อุปสรรคของ ทําเลที่ต้ง ั สภาพทางกายภาพ ลักษณะ ดิน ความลาดชัน ความสูงของที่ดิน การถามดิน ค่าถมดิน สิ่งอํานวยความสะดวก ซึ่งพิจารณาได้จาก การเข้าถึงของสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ และ อื่นๆ
การศึกษาความเป็นไปได้ของที่ดินกับข้อกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้างอาคาร กฎหมายที่จําเป็น สําหรับนักพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ นั้นมีอยู่ไม่มาก แต่ทุกข้อล้วน สําคัญ และไม่อาจละเลยได้ ได้แก่ พระราชบัญญัติการผังเมือง ,พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร, รายงานการศึกษาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม หรือ EIA, กฎหมายเฉพาะทาง ,กฎหมายพัฒนาพื้นที่,โครงการเวนคืน
การจัดการกระบวนการในการเลือกพื้นที่การวิจัย และ ขอบเขตการค้นคว้า
ขั้นตอนการดําเนินงาน ขั้นตอนการทํางาน และ กระบวนการคิดแบบผังงาน
การเลือกพื้นที่ศึกษา โดยกําหนดขอบเขตการศึกษา และ สถานที่ท่น ี า่ ศึกษา และ เหตุผลประกอบการตัดสินใจ
- ทฤษฏีท่น ี าํ ประกอบกับ
หัวข้อศึกษา
การกําหนดหัวข้อ - สัดส่วนผลการสํารวจ
พื้นที่ศึกษา
ของหัวข้อ - ทฤษฏีท่น ี าํ ประกอบกับ การกําหนดพื้นที่
PROCESSING PHASE
เหตผลประกอบการตัดสินใจ
การลงดูพ้ืนที่จริง โดยการดูบริเวณโดยรอบ โครงสร้างภายใน ประวัติ และ ความเป็นไปได้ของโครงการ
ลงพื้นที่สํารวจ ชนิดพื้นที่อาคารร้าง ตรวจสอบ พื้นที่
กําหนดกรอบของพื้นที่ ชนิดพื้นที่วา่ งเปล่า
ประเมิณพื้นที่ในอนาคต
ตัดสินใจ
ตรวจสอบ พื้นที่
สํารวจความน่าจะเป็นของธุรกิจที่ควรจะเกิดขึ้นเพื่อเกิดรายได้
ลงพื้นที่สํารวจสภาพแวดล้อม
ตรวจสอบปัจจัยของทฤษฏี
ตีกรอบ ความน่าจะเป็น
สํารวจความน่าจะเป็นของธุรกิจที่ควรจะเกิดขึ้นเพื่อเกิดรายได้
คํานวณรายได้ หรือ ผลตอบแทนที่ได้รับ
หัวใจหลักของหลักการพัฒนาพื้นที่อสังหาริมทรัพย์ 56
ร้านอาหาร หอสมุด
โรงแรม
แนวโน้มธุรกิจจะเกิดไ โรงอาหาร
พื้นที่สาธารณะชุมชน
ร้านขายยาจีน
ร้านขายของชุมชน
ไปในทิศทางใด ? ร้านขายยาจีน
บ้านพักคนชรา
58
เมื่อคํานึงถึงปัจจัยที่ทําให้เกิดผลกําไรต่อชุมชนมากที่สุด จึงได้ข้อสรุปว่า ....
โรงแรม จากหลากหลายธุรกิจที่คิดได้จากหัวข้อ ธุรกิจของชุมชน ในความเห็นส่วนตัวนัน ้ ธุรกิจโรงแรมสามารถทําให้ มีความหลากหลายมากที่สุด เนื่องด้วยโรงแรมนัน เหมื อ นสถานที ช เ ู อกลั ก ษณ์ ข องพื ่ ้นที่นัน ้ ้ ๆได้ และ ดึงดูดลูกค้า นักท่องเที่ยวให้เกิดความสนใจต่อชุมชนมากที่สุด
แล้วประเภทของโรงแรมหละ? โรงแรมนั้น มีหลายแบบแล้วจะใช้แบบไหนในการเรียกลูกค้า
Hotel
+
Hostel
การนํา hotel มารวมกับ hostel นั้น ทําให้มีความหลากหลายทางด้านการบริการ และประเภทของลูกค้า มากขึน ้ โดย จะใช้หลักทางด้านชุมชนมาใช้ในงานโดย การลดจํานวนพนักงานที่ต้องการ หรือ การช่วยเหลือ กันภายในชุมชน โดยการให้บริการง่ายๆ โดยคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการบริการลูกค้าทางด้าน service การพาเที่ยว ในส่วนลูกค้าที่ใช้บริการ Hotel ที่มีการบริการจากทางพนักงาน
60
กลุ่มเป้าหมายของโครงการ
กลุ่มของลูกค้าผู้มาใช้บริการ
กลุ่มของผู้มีส่วนของโครงการ
นักท่องเทีย ่ วทัว ่ ไป
คนในพื้นที่
นักท่องเทีย ่ ว Backpacker
พนักงานทีม ่ าจากคนในพื้นที่
คนไทยทัว ่ ไป
พนักงานนอก
คนในพื้นที่
ร้านค้าภายในชุมชน
นักเรียน นักศึกษา
ร้านอาหารภายในชุมชน
กิจกรรมภายในโครงการ กิจกรรมภายในโครงการ พื้นที่รับประทานอาหาร ส่วนของโรงแรมนั้นจะมีบริการ ทางด้านของ คาเฟ ่ ในตอนกลาง วัน และเป็นบาร์ในช่วงกลางคืน โดยอาหารนัน ้ จะเป็นอาหารที่มา จากร้านค้าในชุมชน โดยร้าน อาหารภายในชุมชนทําขึ้นมาขาย และเสิร์ฟภายในพื้นที่ของ โรงแรม
พื้นที่พักอาศัย Hotel ส่วนนี้จะเป็นที่พักที่มีการบริการ ทีเ่ หมือนกับอยูบ ่ า้ นพักโดยภายใน จะมีการบริการสําหรับพักผ่อน เช่นเก้าอี้โซฟา และ โต๊ะทํางาน เมื่อมาพักผ่อน และต้องการเขียน หนังสือ บันทึกต่างๆ
พื้นที่พักอาศัย Hostel ส่วนที่พักของจะเน้นไปที่ถูก สบาย และมีพ้ืนที่ใช้สอยที่น้อย แต่มีพ้ืนที่จัดเก็บวางของได้มาก
62
BEDROCK DETROIT
กรณีศึกษาด้านการพัฒนาพื้นที่อาคารร้าง ให้ตอบโจทย์ต่อประชาชน Project : BedRock Detroit Architecture : ODA Architecture Designer : Louis Kemper เดิมเป็นหอสมุด ของเมืองDetroit ที่ มีประวัติศาสตร์ทย ่ี าวนาน ตัง ้ อยู่ใจกลางเมือง ที่ทําการปรับเปลี่ยนรีโนเวทเป็นโรงแรม แบบ mixed-use ให้กับชุมชน โดยเดิมหอสมุดเก่านั้น ร้างและไม่ได้ปรับปรุงอะไรใหม่ให้เข้ากับยุคสมัย ปัจจุบัน สถาปนิกเลยทําการออกแบบโปรแกรมที่ จะตอบสนองด้านอสังหาริมทรัพย์ในปัจจุบัน ให้ แก่ประชาชน Detroit ในด้านการออกแบบนั้น เนื่องจากกฏ หมายของด้านตัวโครงสร้างอาคาร ภายนอกและ ภายในที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน จึงต้องอนุรักษ์ ตัวอาคารให้มีความใกล้เคียงและคงเดิมมากทีส ่ ุด และ อาคารสูง 38 ชั้น รวมทั้งเป็นโครงสร้างที่ขึ้น ด้วยโครงสร้างของปูนและเหล็ก จึงมีโครงสร้าง ทีแ ่ ข็งแรง จึงไม่จําเป็นต้องต่อเติมโครงสร้างหนัก เพิ่มเติมไปอีก
64
4 ผลงาน การออกแบบ
à¹&#x2014;
Branding
Meaning Identity
๗
ที่มาของโลโก หรือ ชื่อ แบรนดมาจากการพองเสียงของชื่อถนนไมตรีจิต ที่สามารถจําไดงายและสื่อถึงการรวม มือกันการชวยเหลือกัน และ ในวรรณยุกตของไทย ยังมี วรรณยุกต ไมตรี และ มีการเขียนที่เปนเหมือน เลขเจ็ด ในภาษาไทย [ ๗ ] และตอเนื่องกันถึงความเหมาะสมที่จะแสดงถึงชวงเวลาและประวัติศาสตรทางดานตัวอาคาร ทีย่ ังสื่อใหเห็นอีกวา เกิดใน ชวงสมัย รัชกาลที่ ๗ The origin of the logo or brand name comes from the sound of the name of Maitrijit Road. That can be easily remembered and communicate together, helping each other. And in the Thai tonal form, there is also the tonal symbol and the writing is like the number seven in the Thai language [7] and continuously, as appropriate to show the time and history of the building Which still shows that Was born during the reign of King Rama VII
แปลนเฟอร์นิเจอร์ ชั้นที่ 1
70
แปลนเฟอร์นิเจอร์ ชั้นที่ 2
72
แปลนเฟอร์นิเจอร์ ชั้นที่ 3
74
รูปตัดคาเฟ ่ และ ห่องพักโรงแรม
76
78
80
82
84
86
10
88
10
90
92
10
94
5 ผลสรุป
ผลสรุปงานวิจัย ผลจากงานวิจัยด้านพื้นที่พ้ืนที่ร้าง และ อาคารร้าง จากการสังเกตุและสํารวจผล ได้ข้อสรุปว่า ในอัตตราส่วน ร้อยละ 80 นั้นมีพ้ืนที่ร้างหรืออาคาร ร้างในชุมชนอย่างน้อย 1 หรือ 2 แห่งแล้วแต่ขนาดของชุมชน โดยการพัฒนาของชุมชนนั้นจะขึ้นอยู่กับ ความเจริญ หรือ ในแง่ของการพัฒนาทางด้านอสังหาริมทรัพย์ในอนาคตความต้องการพัฒนาพื้นที่ อสังหาริมทรัพย์เป็นหลักทฤษฏีอย่างหนึ่ง หรือ ปัจจัยในการพัฒนาพื้นที่โดยรอบอย่างมาก ผลจากงานการออกแบบ โดยการนําหลักการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์มาใช้ จากการวิจัยนี้มีผลสรุปโดยรวม คือ หากเราต้องการพัฒนาชุมชนขึ้นอย่างจริงจังแล้วนั้น สามารถ ทําเองได้โดยการนําหลักการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์น้น ั มาใช้โดยที่ การจะหวังผลกําไรของการพัฒนาพื้นที่ อสังหาริมทรัพย์ของชุมชนนัน ุ ชนต้องการหรือมีผต ู้ อ ้ งการให้ชม ุ ชนพัฒนาและ ้ จะสร้างรายได้หรือไม่หากแต่ชม ้ ได้จริงก็ถอ ่ ทีไ่ ม่ใช่เงิน แต่เป็นกําไรจากการให้ทีช ่ ม เกิดขึน ื เป็นกําไรอย่างหนึง ุ ชนอยากจะพัฒนาธุรกิจร่วมกัน และช่วยเหลือกัน
98
ข้อจํากัดจากการวิจัย 1. การสํารวจพื้นที่อาคารร้าง การสํารวพื้นที่อาคารร้างมีความอันตราย ทั้งด้านโครงสร้าง และ เหตุสุดวิสัย จึงต้องมีการทําเรื่องขออนุญาติเจ้าของ ซึ่งอาจจะเป็นทรัพย์สินส่วนบุคคลไม่สามารถ รุกลํ้าเข้าไปได้ จึงมีการสํารวจบริเวณรอบนอกโดยมองเข้าไปจากทางด้านในแทน 2. ข้อจํากัดในด้านการเก็บข้อมูลที่เป็นลายลักษณ์อักษร ข้อมูลในอดีต ข้อมูลมีความเก่ามากเป็นข้อมูลที่ ได้รับการบอกต่อกันมา และ มาจากการพบเห็นของคนในชุมชน ไม่สามารถหาได้ครบถ้วนจึงมีกระบวนการ ค้นคว้าเพิ่มเติมถึงเหตุการณ์และช่วงเวลาที่สอดคล้องกัน 3. ข้อจํากัดทางด้านข้อมูลเกี่ยวกับภาพถ่าย การถ่ายภาพในพื้นที่อาคารร้างบางภาพ ภายในเป็นการ บุกรุกทรัพย์สินส่วนบุคคล 4. ข้อจํากัดในด้านการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม การสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมพื้นที่อาคารส่วนใหญ่ปิด และ มีการใช้บริการซึ่งไม่สะดวกต่อการสอบถามข้อมูลจึงไม่สะดวกเท่าที่ควร
ข้อเสนอแนะ 1. เรื่องของการออกแบบภายใน ควรจะลงลึกรายละเอียดของข้อมูลงานออกแบบในด้านการออกแบบ ภายในสไตล์โคโลเนียล และ การปรับเปลี่ยนบริบทภายในอาคารให้สอดคล้องกับบริบทของชุมชนให้มี เอกลักษณ์ของชุมชนมากขึ้น 2. การค้นคว้าข้อมูลควรมีแหล่งอ้างอิงที่ชัดเจนกว่านี้ 3. ศึกษาระบบการบริการของโรงแรม แบบ hotel และ hostel ว่าสามารถทํางานร่วมกันเป็นระบบ ที่ดีข้น ึ ได้ไหม
100
บรรณานุกรม
ข้อมูลอ้างอิงจากเจ้าของ The mustang Blu คุณจอย-อนันดา ฉลาดเจริญ
https://www.google.com/search?q=the+mustang+blu&oq=the+mustang+blu&aqs=chrome.0.69i59l2j69i60l2j69i65l2.12825j0j7&sourceid=chrome&ie=UTF-8
ข้อมูลจากคนในชุมชน บริเวณถนนไมตรีจิต สารานุกรมสถาปัตยกรรมโคโลเนียล
http://siwakornsb.blogspot.com/2015/03/colonial-style.html http://www.pinterest.com http://www.behance.com http://th.wikipedia.org/wiki/
ประเภทของโรงแรม
http://www.elfhs.ssru.ac.th/weera_we/pluginfile.php/222/mod_resource/content/0/_Hotel_and_FB.pdf
History of distict
https://th.wikipidia.org/wiki/วงเวียน22กรกฏา
Colonial Architecture
https://www.behance.net/gallery/31518779/Vigan-Ilocos-Sur-Philippines?tracking_source=search%7Ccolonial
Business Benefit The local community
https://www.shopkeep.com/blog/10-ways-small-businesses-benefit-the-local-community#step-1
Bangkok Abandoned space Static
http://cpd.bangkok.go.th:90/web2/SAT/%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99%E 0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B9% 88%E0%B8%B2%E0%B8%87.pdf
BedrockDetroit Casestudy
https://www.bedrockdetroit.com/
102
ประวัติผู้วิจัย
ชื่อ :
ศตายุ อิงวัฒนโภคา
อีเมล :
puklepoq@gmail.com
เบอร์ติดต่อ :
0830794619
วุฒิการศึกษา :
ปี การศึกษา 2562 ศิลปบัญฑิต
ประวัติการทํางาน :
ประถมศึกษา โรงเรียนประภามนตรี มัธยมศึกษา โรงเรียนสิริรัตนาธร มัธยมศึกษาตอนต้น แผนก วิทย์ - คณิต มัธยมศึกษาตอนปลาย วิทย์ - คณิต IMEP นักศึกษาฝึ กงาน บริษัท Hypothesis
104