CENTER FOR THE DEVELOPMENT AND PROMOTION OF HEALTH PROJECT BOOK

Page 1

5907526 CHATTIYA SAEN-UDOM

Ocean CENTER FOR THE DEVELOPMENT AND PROMOTION OF HEALTH FOR WORKING URBAN PEOPLE

โครงการศึกษาการพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพของคนเมืองวัยทํางาน FACULTY OF ART AND DESIGN DEPARTMENT OF INTERIOR RANGSIT UNIVERSITY


โครงการศึกษาการพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพของคนเมืองวัยทํางาน

CENTER FOR THE DEVELOPMENT AND PROMOTION OF HEALTH FOR WORKING URBAN PEOPLE

โดย นางสาวฉัตรติยา แสนอุดม รหัส �������

ศิลปนิ พนธ์นี�เป็ นส่วนหนึ� งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต ปี การศึกษา ����



สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุ มตั ิให้นับศิลปนิ พนธ์ ฉบับนี� เป็ นส่วนหนึ� งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาบัณฑิตสาขาวิชาออกแบบภายใน ............................................................ คณบดีคณะศิลปกรรม (รศ. พิศประไพ สาระศาลิน) คณะกรรมการศิลปนิ พนธ์ .

............................................................ ประธานกรรมการ (อาจารย์วริศว์ สินสืบผล) ........................................................... กรรมการ (อาจารย์วริ ุจน์ ไทยแช่ม) ............................................................ กรรมการ (อาจารย์ถวัลย์ วงษ์สวรรค์) ............................................................ กรรมการ (อาจารย์อรรถกฤษณ์ อุทยั กาญจน์) ............................................................ กรรมการ (อาจารย์บณ ั ฑิต เนี ยมทรัพย์) ............................................................ กรรมการ (อาจารย์เรวัฒน์ ชํานาญ) ............................................................ กรรมการ (อาจารย์ณฐั พงศ์ ศรีปุงวิวฒ ั น์) ............................................................ กรรมการ (อาจารย์ไพลิน โภคทวี)

อาจารย์ที�ปรึกษาศิลปนิ พนธ์

............................................................ (อาจารย์เกรียงศักดิ� สุวรรณบูล)



หัวข้อศิลปนิ พนธ์

:

โครงการศึกษาศูนย์พฒ ั นาและส่งเสริมสุขภาพของคนเมืองวัยทํางาน

ผูด้ าํ เนิ นงาน

:

นางสาวฉัตรติยา แสนอุดม รหัส �������

อาจารย์ที�ปรึกษา

:

อาจารย์เกรียงศักดิ� สุวรรณบูล

ปี การศึกษา

:

����

สาขาวิชา

:

ออกแบบภายใน

บทคัดย่อ กลุ่มคนวัยทํางาน เป็ นกลุ่มคนที�มีจาํ นวนประชากรสูงที�สุด และยังเป็ นกลุ่มคนที�กอ่ ให้เกิดผลผลิต ทางด้านเศรษฐกิจ และ มีส่วนสําคัญต่อฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศ ซึ�งอีกไม่กี�ปีข้างหน้ากลุ่มคนวัย ทํางานจะค่อยๆลดลง จากอัตราการเกิดที�ลดลง และก้าวเข้าสู่สงั คมสูงอายุอย่างเต็มตัว ดังนั�นกลุ่มคนวัย ทํางานเหล่านี� จึงต้องตระหนักและให้ความสําคัญเรื�องสุขภาพเป็ นอย่างมาก สุขภาพ เป็ นเรื�องที�สาํ คัญของทุกคนในแต่ละช่วงวัย แน่ นอนว่า ทุกคนล้วนอยากมี สุขภาพที�ดี แต่ในปั จจุบนั สังคมไทยมีการพัฒนาและการเปลี�ยนแปลงที�รวดเร็ว ทุกคนให้ความสําคัญกับงาน จนลืมที� จะดูแลสุขภาพ และการพักผ่อน รวมไปถึงการหาความสุขในกับตนเอง ส่งผลให้สุขภาพแย่ เมื�อมีสุขภาพ ที�แย่ ก็กอ่ ให้เกิดความทุกข์ท�งั ทางกาย ,ทางจิตใจ และยังส่งผลต่อการทํางาน และการใช้ชีวติ ในแต่ละวัน โครงการนี� จึงตั�งใจศึกษาและปรับวิถีชีวติ ของกลุ่มคนเมืองวัยทํางาน ให้มีกิจกรรมที�ส่งเสริมสุขภาพ และ สร้างสมดุลระหว่าง “งาน” กับ “การใช้ชีวติ ” ให้มีความสมดุลกัน โดยนําทฤษฎีของ “ บลูโซน ” ( Blue zones ) ที�เป็ นคําที�ใช้เรียกสถานที�แห่งหนึ� งในโลก ที�มี สัดส่วนของประชากร ที�มีอายุยนื นานที�สุดในโลก ซึ�งเป็ นกลุ่มคนชราที�มีสุขภาพดี แข็งแรง และมีชีวติ ชีวา ด้วยปั จจัย ทั�ง � ปั จจัยนี� ทําให้เกิดแนวคิดในการสร้างศูนย์พฒ ั นาและส่งเสริมสุขภาพให้แก่คนเมืองวัย ทํางาน ได้มีพื�นที�อาํ นวยความสะดวกแก่กลุ่มคนเหล่านี� ในพื� นที�ใจกลางเมือง ที�ลอ้ มรอบไปด้วย ธรรมชาติ สะดวกต่อการเดินทาง และการสัญจรไปในที�ต่างๆรอบข้าง

-ก-



Title

:

CENTER FOR THE DEVELOPMENT AND PROMOTION OF HEALTH FOR WORKING URBAN PEOPLE

Name

:

Chattiya Saen-udom 5907526

Advisor

:

Aj. Kriangsakdi Suwannabool

Academic Year

:

2019

Department

:

Interior Design

ABSTRACT Working aged people is the group of people with the highest population, and is also the group of people that contributes the most to the national economy. In the next few years, working aged group of people will gradually decrease due to the decreasing birth rate and fully enter the aging society. Therefore, these working people must be aware and attach great importance to their health. Health is an important issue for everyone of any age group. Everyone wants to have good health, but nowadays, Thai society is developing and changing rapidly. Everyone pays attention to work, so much so that they forget to take care of their health and rest, or to look for happiness from within, which results in poor health both physically and mentally, which could then go on to affect work and other aspects of life. This project therefore aims to study and help adjust the lifestyle of working aged urban people to include activities that promote good health and to create a balance between "work" and "personal life". By using the theory of "Blue Zones", which is a term used to refer to a place in the world that has the proportion of the population with the longest life expectancy, which is a group of old people that are healthy, strong and lively. In reference to Power 9 - the 9 principles to achieving Blue Zones, I have developed an idea of creating a center for the development and promotion of health for working urban people to be in the city center area and surrounded by nature, in order to facilitate their needs while being easily accessible.

-ข-



กิตติกรรมประกาศ

ผลงานศิลปะนิ พนธ์ โครงการศึกษาศูนย์พฒ ั นา และส่งเสริมสุขภาพของคนเมืองวัยทํางาน นั�น สําเร็จได้ดว้ ยบุพการี ที�ชว่ ยสนับสนุ นทุนทรัพย์ ในการเล่าเรียน และ พัฒนางานมาจนถึงปั จจุบนั ขอขอบ พระคุณไว้ใน ณ ที�นี�ด้วย ขอขอบพระคุณคณะอาจารย์ วิทยาลัยการออกแบบ สาขาวิชาออกแบบภายในทุกท่านที�ให้คาํ ปรึกษา และคอยชี� แนะวิธีการในการพัฒนาตัวโครงการให้มีประสิทธิภาพมากขึ� น จนสําเร็จไปได้ดว้ ยดี ขอขอบพระคุณอาจารย์ที�ปรึกษา อาจารย์เกรียงศักดิ� สุวรรณบูล ที�คอยช่วยเหลือ และ ให้คาํ ปรึกษา ให้คาํ แนะนําตลอดตั�งแต่เริ�มโครงการ อีกทั�งเป็ นกําลังใจและคอยสัง� สอนดิฉนั นอกห้องเรียนอยู่ เสมอ ขอขอบคุณเพื�อน รุ่นพี�และรุ่นน้องทั�งในและนอกคณะที�ให้ความช่วยเหลือในการทํางาน ในการ ใช้ชีวติ ตลอดระยะเวลาที�ได้ศึกษาในมหาวิทยาลัย ให้ได้พบประสบการณ์ต่าง ๆที�ดี ขอบคุณมิตรภาพที�ดี ที�มีให้ต่อกันใน ณ ที�นี� ขอขอบคุณพี�ๆที�ฝึกงานที�คอยเป็ นกําลังใจและช่วยเหลือ สัง� สอนในทุกๆเรื�อง พร้อมทั�งให้ความ อบอุ่นกับดิฉนั มาตลอด ขอบคุณมิตรภาพที�ดีที�มีให้ต่อกันใน ณ ที�นี� และสุดท้ายนี� ขอบคุณตัวดิฉนั เอง สําหรับการให้ความร่วมมือในการทํางาน และความพยายาม ที�จะทําโครงการนี� ให้เสร็จลุล่วง และยังพยายามที�จะพัฒนาขึ� นเรื�อยๆ

นางสาวฉัตรติยา แสนอุดม � กรกฎาคม ����

-ค-


สารบัญ บทที�

หน้า

บทคัดย่อภาษาไทย บทคัดย่อภาษาอังกฤษ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ

ก ข ค ง

บทที� � บทนํา ทีม� าและความสําคัญ วัตถุประสงค์ ขอบเขตการสร้างสรรค์ผลงาน ขัน� ตอนการดําเนินงาน ผลทีค� าดว่าจะได้รบั

� � � � � �

บทที� � ข้อมูลพื�นฐาน และรายละเอียดโครงการ รายละเอียดเบื�องต้นของโครงการ - ช่วงอายุ Generation / จํานวนประชากรของประเทศไทย - กลุม่ เป้ าหมาย Target group - ปัญหาของกลุม่ คนวัยทํางาน - เทนรด์ Trend - ทฤษฎี Blue zones

� � � 11 �� 13 15

ลักษณะทางกายภาพ และสภาพแวดล ้อมของโครงการ - ทีต� งั� โครงการ Sit Location - ภายใน ภายนอกอาคาร - แปลนอาคารเดิม Existing plan

�� 31 �� 37


สารบัญ บทที�

หน้า

บทที� � หลักการ ทฤษฎี แนวคิดทีศ� ึกษา คําจํากัดความ Work-life balaance กรณีศึกษา Case study

�� 40 41

บทที� � ผลงานการออกแบบ แนวคิดในการออกแบบ Programing Zoning Plan Facade design Perspective Exterior Mood&tone Perspective Interior Branding

�� �� 47 49 51 59 61 63 65 83

บทที� � บทสรุป และ ข้อเสนอแนะ สรุปผลและข้อเสนอแนะ

�� ��

บรรณานุกรม ประวัตผิ ูว้ จิ ยั

�� ��

-ง-


บทที� � บทนํา -1-


Project Background ทีม� าและความสําคัญ

ในปัจจุบนั สังคมไทยมีการพัฒนา และ การเปลีย� นแปลงทีร� วด เร็วเนื�องด้วยเป็ นยุคทีม� คี วามเจริญทางเทคโนโลยี และ เศรษฐ กิจเป็ นอย่างมาก ทําให้วถิ ชี วี ติ ของคนเมืองทุกคน ล ้วนมีคู่แข่ง เดียวกันคือ “เวลา” ฉะนัน� ทําให้ทกุ อย่างในแต่ละวันจึงเต็มไป ด้วยความเร่งรีบ รวมไปถึง การให้ความสําคัญกับงาน จนลืม ดูแลสุขภาพ การพักผ่อน และ การหาความสุขให้ตนเอง อีกทัง� คนไทย �� % ระบุวา่ ตนเองมีความเครียด ซึง� สูงกว่าค่าเฉลีย� ทัว� โลกที� ��% และ กว่า ��% ระบุวา่ พวกเขาอยู่ในวัฒนธรรม การทํางานทีต� อ้ งตื�นตัวตลอดเวลา ส่งผลให้ มีความเครียดสูง โดยเกือบทัง� หมดเห็นได้วา่ ความเครียด ในสถานทีท� าํ งานส่งผล เชิงลบ ต่อประสิทธิภาพการทํางาน และ การนําไปสู่บรรยากาศ การทํางานทีน� ่าหดหู่ ทัง� นี�ความเครียดทีเ� กิดขึ�น อาจส่งผลให้ เกิดโรคภัยไข้เจ็บตามมา โดยสุขภาพนัน� เป็ นตัวบ่งบอกถึง ความสุข และ ร่างกายทีแ� ข็งแรง เมือ� มีสุขภาพทีแ� ย่ ก็ก่อให้เกิดความทุกข์ทงั� ทางกาย และ จิตใจ ซึง� ยัง ส่งผลต่อการทํางาน และ การใช้ชวี ติ ในแต่ละวัน ดังนัน� การมีสุขภาพทีด� เี ป็ นรากฐานของการคุณภาพชีวติ ทีด� ี ทีท� กุ คน ล ้วนแสวงหา จึงเป็ นทีม� าของ แนวคิดการศึกษาศูนย์พฒั นา และการส่งเสริม สุขภาพของคนเมืองวัยทํางาน เพือ� ส่งเสริม และช่วยแก้ปญั หา ของกลุม่ คนเหล่านี� ให้มกี ารดูแลสุขภาพทีด� ี ทีถ� กู ต้อง ทัง� ทาง กาย และ ทางใจรวมไปถึง ช่วยป้ องกันโรคในผูส้ ูงอายุทจ�ี ะตาม มาเมือ� อายุมากขึ�น โดยการพัฒนานัน� จะเน้นไปในรูปแบบของ การเพิม� พื�นทีเ� พือ� อํานวยความสะดวกแก่คนวัยทํางาน ในพื�นที� กลางใจเมือง ทีส� ะดวกต่อการเดินทาง และ การสัญจรไปใน ทีพ� �นื ต่างๆรอบข้าง

-2-


Objectives วัตถุประสงค์ของโครงการ

เพือ� ศึกษาแนวคิดสร้างสรรค์ หลักการจัดสรรพื�นทีใ� ช้สอย ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและศึกษาทฤษฎีท�ี เกี�ยวข้องและทฤษฎีอน�ื ๆสู่การออกแบบภายในอาคารพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพของคนเมืองวัยทํางาน เพือ� ศึกษาประเภทช่วงอายุ พฤติกรรมการใช้ชวี ติ ประจําวัน และความต้องการของคนวัยทํางานในปัจจุบนั เพือ� ศึกษาการดูแล และส่งเสริมสุขภาพทีเ� หมาะสมของกลุม่ คนวัยทํางาน เพือ� ออกแบบพื�นที� สําหรับส่งเสริมสุขภาพของกลุม่ คนวัยทํางานยุคใหม่ ให้มใี จรักและความสนใจในการ ดูแลสุขภาพของตนเองมากขึ�น

-3-


Areas of study ขอบเขตการศึกษา

ศึกษาพฤติกรรม และความต้องการของกลุม่ คนในแต่ละช่วงวัยทํางาน ศึกษาทฤษฎีการดูแลและการส่งเสริมสุขภาพ ทัง� การดูแลสุขภาพทางกาย และทางใจ ศึกษาบริบทโดยรอบของวิถชี วี ติ คนเมืองปัจจุบนั ศึกษาทฤษฎีทเ�ี กี�ยวข้องกับการเสริมสร้างสุขภาพ ศึกษาศิลปะในการเสริมสร้างสุขภาพ

- 4-


Research methology ขัน� ตอนการดําเนนงาน

ศึกษาข้อมูลเกี�ยวกับ พฤติกรรมของคนเมืองแต่ละช่วงวัย ศึกษาข้อมูลเกี�ยวกับ ปัญหาของคนวัยทํางาน ศึกษาข้อมูลเกี�ยวกับ การดูแลสุขภาพเบื�องต้น ศึกษาข้อมูลเกี�ยวกับ เทรนด์การดูแลสุขภาพ ศึกษาข้อมูลเกี�ยวกับ ศูนย์การดูแลสุขภาพ ศึกษาข้อมูลเกี�ยวกับ ทฤษฎีการดูแลสุขภาพทีเ� หมาะสม

- 5-


Expectations ผลทีค� าดว่าจะได้รบั

ได้ศึกษาพฤติกรรม และความต้องการของกลุม่ คนในแต่ละช่วงวัยทํางาน ได้ศึกษาทฤษฎีการดูแลและการส่งเสริมสุขภาพทีเ� หมาะสมของกลุม่ คนเมืองวัยทํางาน เกิดศูนย์พฒั นาและส่งเสริมสุขภาพของคนเมืองยุคใหม่ ให้มใี จรักและสนใจในการดูแล สุขภาพของตนเองมากขึ�น

-6-


บทที� � ข้อมูลพื�นฐาน และรายละเอียดโครงการ -7-


เริ�มต้นจากการสนใจในการพัฒนาสุขภาพของคนเมืองวัยทํางาน ในแต่ละช่วงวัย ซึง� กลุม่ คนวัยทํางานเหล่านี� เป็ นกลุม่ คน ทีม� ี จํานวนประชากรสูงทีส� ุด และ ยังเป็ นกลุม่ คนทีม� สี ่วนสําคัญต่อ ฐานะทางเศรษฐกิจ ซึง� ไม่อี​ีิ กกี�ปีขา้ งหน้า กลุม่ คนวัยทํางานจะ ค่อยๆลดลง เนื�องด้วยอัตราการเกิดทีล� ดลง ขึ�นทุกๆปี และยัง เป็ นช่วงทีส� งั คมไทยเริ�มเข้าสูงสังคมสูงอายุอย่างเต็มตัว ดังนัน� กลุม่ คนวัยทํางานเหล่านี� จึงควรตระหนัก และ ให้ความสําคัญ เรื�องสุขภาพเป็ นอย่างมาก

Eat more Plants. Do more Yoga.

-8-


Generations

53-71 Gen B 2489-2507

20-37 Gen Y 2523-2540 -9-

ช่วงอายุ

38-52 Gen X 2508-2522

-20

Gen Z หลัง พ.ศ.����


POPULATION OF THAILAND ESTIMATED TOTAL: 67,000,000

GEN Y

19,000,000 คน

GEN Z

10,600,000 คน

GEN X

16,600,000 คน

ระหว่างสงครามโลก

GEN B

15,000,000 คน

ก่อนสงครามโลก

�,���,��� คน ���,��� คน

อ้างอิง : http://www.thansettakij.com/content/234315 (24 Nov 2017)

- 10 -


ปัญหาของคนวัยทํางาน

- 11 -


TARGET GROUP

GEN Y

GEN X

20-37

38-52

GEN B , Z

70 %

20 %

10 %

ETC.

พนักงานออฟฟิ ศ หรือ วัยทํางาน เป็ นกลุม่ ทีม� จี าํ นวนมากในสังคมปัจจุบนั ซึง� ทางข้อมูล ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พบว่าคนในกลุม่ นี� ซึง� ควรจะเป็ นกลุม่ ทีม� สี ุขภาพ แข็งแรง แต่กลับเป็ น ครึ�งหนึ�งของผูเ้ สียชีวติ ด้วยโรคทีส� าํ คัญต่าง ๆ เช่น โรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง และ โรคหลอดเลือดสมอง ดังนัน� การป้ องกันโรคทีด� ี และ การดูแลสุขภาพทีเ� หมาะสมจึงน่าจะช่วยลดอัตราการเสียชีวติ และเพิม� คุณภาพชีวติ ให้แก่คนในวัยนี�ได้

- 12 -


Trend

เทรนด์สุขภาพมาแรง คนเมืองยุคใหม่ตงั� เป้ าชีวติ ดีมสี ุข จากรายได้ทเ�ี พิม� ขึ�น และการขยายตัวของเมือง ทําให้ผู ้ บริโภค เริ�มหันมาใส่ใจสุขภาพของตนเองมากขึ�น ทําให้ กระแสการเป็ นตัวเองทีด� กี ว่ากําลังมาแรงในยุคปัจจุบนั ทัง� ในเชิง สุขภาวะร่างกาย อารมณ์ และ สุขภาพจิตใจ

- 13 -

ด้านผลสํารวจ เฉพาะผูบ้ ริโภค ชาวไทย พบว่า คนไทย �� % กําลังจะเริ�มปฏิวตั วิ ถิ กี ารบริโภคในอีก �� เดือน ข้างหน้าเพือ� สุขภาวะทีด� ขี �นึ และในกลุม่ ผูบ้ ริโภคเหล่านี� ประมาณ �� % ระบุวา่ จะรับประทานผลไม้รวมถึงผัก ต่างๆ ให้มากขึ�น ในขณะทีอ� กี ��%วางแผนทีจ� ะลดการ บริโภคเนื�อสัตว์ และ ��% เผยว่า พวกเขาจะเดินตาม แนวทางชีวจิต หรือมังสวิรตั ิ


องค์การสหประชาชาติ (United Nations: UN) คาดการณ์วา่ ในช่วง ค.ศ. ����-���� เป็ นศตวรรษแห่งผูส้ ูงอายุทห�ี ลายประเทศทัว� โลกจะก้าวเข้าสู่สงั คมสูงวัย โดยจะเร็วหรือ ช้าขึ�นอยู่กบั ความแตกต่างตามสภาพแวดล ้อมของแต่ละประเทศ เช่น สภาพการเติบโต ทางเศรษฐกิจและสังคม การพัฒนาทางการแพทย์ ภาวะโภชนาการ ฯลฯ องค์การสหประชาชาติได้กาํ หนดนิยาม ‘ผูส้ ูงอายุ’ (older person) หมายถึง ประชากร ทัง� เพศชายและหญิงทีม� อี ายุมากกว่า �� ปี ข�นึ ไป และได้แบ่งระดับการเข้าสู่สงั คมสูงวัย ออกเป็ นสามระดับ ได้แก่

Aging Society

Aged Society

10%

20%

60+

60+

ประชากรกลุม่ ผูส้ ูงวัยอายุ �� ปี ข�นึ ไป มีสดั ส่วน ��% ของประชากรทัง� ประเทศ (ปัจจุบนั ประเทศไทยอยู่ในระดับนี�)

ประชากรกลุม่ ผูส้ ูงวัยอายุ �� ปี ข�นึ ไป มีสดั ส่วน ��% ของประชากรทัง� ประเทศ

Super-Aged Society >20% 65+

ประชากรกลุม่ ผูส้ ูงวัยทีม� อี ายุ �� ปี ข�นึ ไป มี มากกว่า ��% ของประชากรทัง� ประเทศ

ปัจจุบนั ประเทศไทยเข้าสู่สงั คมผูส้ ูงอายุ (Aged Society) โดยมีจาํ นวนประชากรอายุ �� ปี ข�นึ ไป คิดเป็ น ��.� % และ อีก � ปี ขา้ งหน้า ราวปี พ.ศ. ���� จะเข้าสู่สงั คมสูง อายุอย่างสมบูรณ์ (Completely Aged Society) และ ในอีก �� ปี ขา้ งหน้า คาดว่า ประเทศไทยจะมีสดั ส่วนของผูส้ ูงอายุประมาณ � ใน � ของประชากรทัง� ประเทศ นัน� คือ การเข้าสู่สงั คมสูงอายุระดับสุดยอด (Super-Aged Society)

อ้างอิง : https://waymagazine.org/family_aging_society/ (10 Apr 2018)

- 14 -


- 15 -


BLUE ZONES

P O W E R

9

'บลู โซน' เป็ น คําทีใ� ช้เรียกสถานทีแ� ห่งหนึ�งแห่งใดก็ตามในโลก ทีม� สี ดั ส่วนของประชากรทีม� คี นอายุยนื นาน ทีส� ุดในโลก นับช่วงอายุตงั� แต่ �� ปี ข�นึ ไป และ สามารถเฉลิมฉลองอายุครบ ��� ปี คนกลุม่ นี�เป็ นคนชราทีม� สี ุขภาพดี มี กําลังแข็งแรง และ มีชวี ติ ชีวา ด้วยปัจจัยต่างๆ ทัง� � ปัจจัย 'บลู โซน' (Blue Zone) มีทม�ี าจาก ดร. ไมเคิล พูเลน (Dr. Michel Poulain) นักวิจยั ด้านประชากรศาสตร์ ชาวเบลเยีย� ม ทีไ� ด้ศึกษาเรื�องราวของกลุม่ ประชากรทีม� อี ายุยนื ทัว� โลก ในงานวิจยั ชิ�นหนึ�ง ท่านได้สงสัยขึ�นมาว่า ทําไม ชายชาวซาดีเนีย มีอายุยนื ยาวกว่าหญิงชาวซาดีเนียเป็ นไปได้อย่างไร ทัง� ๆ ทีง� านสํารวจประชากรทีท� าํ กันมาทัง� หมดมัก จะพบว่า ผูห้ ญิงอายุยนื กว่าผูช้ ายเสมอ ดร.ไมเคิล พูเลน จึงได้ร่วมกับ นายแพทย์เกียนนี เพส (Dr. Gianni Pes) นัก วิจยั ด้านประชากรศาสตร์ชาวอิตาลี จึงได้ร่วมกันค้นหาหลักฐานเพิม� เติม เพือ� พิสูจน์รายงานวิจยั ชิ�นนี� ในครัง� แรก ดร. พู เลน ได้ทาํ การศึกษาหาข้อมูลของคนทีม� อี ายุ ��� ปี ข�นึ ไป โดยเริ�มต้นในห้องวิจยั ด้วยการระบุตาํ แหน่งบนแผน ทีโ� ลก เมือ� พบผูท้ ม�ี อี ายุยนื จากสถานทีใ� ด ก็จะนําปากกาสีนาํ� เงินวงพื�นทีต� รงนัน� ไว้ในแผนที� จึงได้กลายเป็ นทีม� าของ คําว่า ‘บลู โซน’ หรือโซนสีนาํ� เงิน และกลายมาเป็ นหนังสือ ‘บลู โซน’ ของ นักวิจยั แดน บิวต์เนอร์ (Dan Buettner) ที� เขียนเรื�อง ‘เคล็ดลับแห่งอายุยนื ’

- 16 -


SARDINIA ITALY

LOMA LINDA CALIFORNIA NICOYA COSTA RICA

ICARIA GREECE

OKINAWA JAPAN

LOMA LINDA, CALIFORNIA : เป็ นพื�นทีพ� าํ นักของโบสถ์มชิ ชัน� นารี ทีม� นี ิกายโปรเตสแตนต์ จึงทําวิถชี วี ติ จะเน้น ไปทีก� ารทําอะไรร่วมกันและสวดมนต์อธิษฐาน รับประทานธัญพืชและพืชผัก

- 17 -

NICOYA, COSTA RICA

: เน้นรับประทานธัญพืช โดยเฉพาะถัว,� ข้าวโพด, พืชและผลไม้เขตร้อน ทีอ� ดุ ม ไปด้วยสารอาหารทีช� ่วยให้ร่างกายแข็งแรง

SARDINIA, ITALY

: ออกกําลังกายทุกวัน แม้ในกิจวัตรประจําวัน

ICARIA, GREECE

: ความเครียดทีเ� กิดขึ�นทําให้เกิดกิจวัตรลดเครียดบางประการในอิคาเรียขึ�น นัน� คือ การงีบหลับ พวกเขาจะรวมตัวกันเพือ� หลับประจําวัน และ

OKINAWA, JAPAN

: ให้ความสําคัญกับครอบครัว และรวมไปถึงความสัมพันธ์กบั คนในชุมชน


- 18 -


01 Move Naturally - 19 -


เคลือ� นไหวตามธรรมชาติ ผูค้ นทีม� อี ายุยนื ทีส� ุดในโลกอาศัยอยู่ใน สถานทีซ� ง�ึ ผลักดันพวกเขาให้เคลือ� นไหวตามธรรมชาติ การทํางานกับ ผูว้ างผังเมืองโรงเรียน และสถานทีท� าํ งาน จะช่วยพัฒนาชุมชน ทําให้ ผูค้ นเคลือ� นไหวได้มากขึ�น ในแต่ละวันโดยไม่ตอ้ งคิด และ การปรับ เปลีย� นชีวติ ประจําวันบางประการ เช่น การปลูกต้มไม้ พาตัวเองไป เดินในสวนสาธารณะทีล� ้อมรอบไปด้วยธรรมชาติ เพราะ ธรรมชาติ ถือ เป็ นหัวใจสําคัญของชีวติ ทีย� นื ยาว และ สุขภาพทีด� ี รวมไปถึงการ ใช้ชวี ติ ในสิง� แวดล ้อมทีเ� อื�อให้เคลือ� นไหวตลอดเวลาโดยไม่ตอ้ งคิด จะทําให้เราสนุกทีจ� ะออกจากบ้าน และเข้าร่วมในกิจกรรม สนุกกับ การเดินทาง หรือ เดินไปร้านอาหาร

- 20 -


Know Your Purpose - 21 -

มีเป้ าหมายในชีวติ ตัง� เป้ าหมายของทุกวันทีล� มื ตา ไม่วา่ จะอายุเท่าไรก็ตาม มันหมายความว่า ' สิง� ทีท� าํ ให้คุณลุกขึ�นจากเตียงในตอนเช้า ' และนัก วิจยั ได้ยนิ คนในภูมภิ าคนี�พดู ถึงสิง� ต่าง ๆ เช่น 'เพือ� ดูแลหลานสาวของฉัน' หรือ 'จับปลาเพือ� ครอบ ครัวของฉัน' โดยในประเทศญีป� ่ นุ ชาวโอกินาวาเรียก เป้ าหมายชีวติ ว่า อิคไิ ก (Ikigai) และชาวคอสตาริกา้ เรียกว่า แผนชีวติ (plan de vida) และ การตัง� เป้ า หมายในชีวติ มีค่าเทียบกับช่วงอายุ � ปี ทย�ี นื ยาวขึ�น

02


03

Down Shift หาวิธกี ารคลายเครียด ภาวะเครียด และ ความเครียด ก่อให้เกิดการอักเสบเรื�อรังและเกี�ยวเนื�องกับโรคภัยในทุกช่วงวัย ดังนัน� การ คลายเครียดเพือ� สร้างสุขให้ตนเองเป็ นประจํา จะเป็ นการผ่อนคลายทําให้สุขภาพดีข�นึ เช่น ประเทศญีป� ่ นุ ชาวโอกินาวาใช้เวลาในการ กราบไหว้บรรพบุรุษ ชาวอิคาเรียจะนอนพักกลางวัน และ ชาวซาดีเนียจะดืม� ในช่วง happy hour เมือ� เราใช้เวลาในการพักผ่อน หรือ ผ่อนคลายให้กบั ตนเอง กระบวนการทีอ� นั ตรายนี�จะถูกปิ ดและร่างกายของเราจะสามารถกลับสู่สภาวะสมดุลได้

- 22 -


80% Rule

04 - 23 -

กฏ �� % เป็ นกฏการกินทีไ� ม่ตอ้ งเต็ม กระเพาะ ใส่ไว้แค่ ��% และให้เหลือช่องว่าง ��% ระหว่างทีไ� ม่ รูส้ กึ หิว และ ทานอาหารจนอิม� สามารถสร้าง

ความแตกต่างในการลดนํา� หนัก หรือ เพิม� นํา� หนัก โดยคนในบลูโซนจะทานอาหารมื�อเล็ก ในช่วงบ่าย หรือค่อนช่วงเย็น และจะไม่ทาน อะไรเพิม� ในช่วงเวลาทีเ� หลือ เพือ� ให้ร่างกาย ได้ทาํ งานได้ตามระบบของมัน


05

ทานผัก ผลไม้ เป็ นหลัก เป็ นการกินอาหารโดยเน้นผักเป็ นส่วนใหญ่ ถัวชนิ � ดต่างๆ เช่น ถัวเหลื � อง ถัวดํ � า ถือเป็ น อาหารหลัก ของการลด นํา� หนักในหมูข่ องผูส้ ูงวัย และจะรับประทาน เนื�อหมูประมาณ � ครัง� ในหนึ�งเดือน ครัง� ละไม่เกิน ��-��� กรัม

Plant Slant - 24 -


Wine at 5

06 - 25 -

ดื�มไวน์ตอน � โมงเย็น คนในเขตบ ลูโซน จะดืม� แอลกอฮอล์ เป็ นประจํา และสมํา� เสมอ เขาเชื�อว่า ผูท้ ด�ี ม�ื นิดหน่อย จะมีช่วงอายุทย�ี นื กว่าผูท้ ไ�ี ม่ดม�ื เลย เคล็ดลับเล็กๆคือ ดืม� ไวน์วนั ละ �-� แก้ว และการดืม� ไวน์มกั ดืม� กับเพือ� นหรือครอบครัว พร้อมการรับประทานอาหาร


Family First

07

รักครอบครัวก่อนเสมอ หรือ มีใครให้รกั การมอบความรักให้ใครสักคน กลุม่ คนในบลูโซน มักมอบความรักให้ครอบครัวเป็ นสืง� แรก ให้คาํ มันต่ � อคู่รกั และ มอบความรักให้กบั กลุม่ คนรุ่นลูก รุ่นหลาน สิง� เหล่านี�ไม่เป็ นเพียงตัวเลข ปริศนาทีท� าํ ให้อายุยนื แต่มแี นวโน้มทีจ� ะ ต่อยอดจากความรักนี� ไปได้ ซึง� จะ หมายถึง การดูแลกัน ในยามวัยชรา ซึง� ทําให้เราอยู่ดว้ ยกันยาวนานขึ�น

- 26 -


08 Belong เป็ นผูม้ ีศรัทธา จากการสํารวจกลุม่ คนในบลูโซน พบว่าคนทีย� ดึ มันในศาสนา � และ ประกอบพิธที างศาสนาจะช่วยทําให้อายุยนื ขึ�นราว �-��ปี ผูค้ นในบลูโซน จะมีการพบปะกัน ของกลุม่ คนทีม� ศี รัทธาใน � ครัง� ต่อเดือน

- 27 -


Right Tribe อยู่ในสังคมที�ดี กับกลุม่ คนที�ดี หมายถึง การสร้างกลุม่ สังคมทีช� ่วยสนับสนุนสุขภาพ ทีด� ี เช่นเดียวกับ ชาวโอกินาวา ทีแ� ต่ละคนสร้างกลุม่ “moai” หรือ กลุม่ เพือ� น � คน ขึ�นเพือ� ดูแลช่วยเหลือกัน

09 - 28 -


- 29 -


Blue zones Project

- 30 -


- 31 -


SITE LOCATION

“ ในป่ า ” ตัง� อยู่ในย่านพระโขนง ซึง� เป็ นแหล่งทีพ� กั อาศัย บ้านพัก คอนโดมิเนียม อพาร์ ทเม้นต์ และโรงแรม ประกอบกับทีต� งั� ของ “ในป่ า” อยู่ในซอยสุขมุ วิท �� ห่างจาก สถานีรถไฟฟ้ าพระโขนงเพียง ��� เมตร และ เป็ นจุดเชื�อมต่อระหว่างถนนสุขมุ วิท และ ถนนพระราม � อีกทัง� ยังอยู่ใกล ้จุดขึ�นลงทางด่วน สายเอกมัย - รามอินทรา และ ทางด่วนอาจณรงค์ จึงทําให้การเดินทางมา “ในป่ า” สะดวกมากแก่คนเมืองอีกทัง� เป็ น พื�นทีส� เี ขียวกลางกรุงเทพทีย� อดเยีย� มแห่งหนึ�ง ทีล� ้อมรอบไปด้วยต้นไม้ใหญ่อายุกว่า �� ปี

- 32 -


Sukhumvit 71 BTS Phra khanong

Sukhumvit 46

SITE Sukhumvit Rd Rama IV Rd

- 33 -


Naiipa Art Complex

Naiipa Art Complex BTS Phra khanong (Exit 4) 100 m Sukhumvit 46 Sukhumvit Rd , Rama IV Rd , Sukhumvit 71

- 34 -


1st Floor

- 35 -

2nd


Floor

3rd Floor

- 36 -


EXISTING PLAN / 1st Floor

- 37 -


EXISTING PLAN / 2nd Floor

EXISTING PLAN / 3rd Floor

- 38 -


บทที� � หลักการ ทฤษฎี แนวคิดทีศ� กึ ษา - 39 -


WORK-LIFE BALANCE หรือ ความสมดุลระหว่าง “งาน” กับ “การใช้ชวี ติ ” ซึง� เป็ นสิง� ทีค� วรให้ความสําคัญเนื�องจากในวัย ทํางาน มักพบปัญหาจากการเสียสมดุลนี�ไป ซึง� โดยส่วนใหญ่ มีปจั จัยจาก หน้าทีก� ารงาน ภาระหน้าทีข� องการเป็ นพ่อแม่ หรือ ความเครียดทางการเงินจนทําให้มผี ลกระทบอืน� ๆ ตามมา เช่น ภาวะเครียด โรคซึมเศร้า หรือ ปัญหาทางสุขภาพ เช่น ภาวะ นอนไม่หลับ โรคหัวใจ โรคทางระบบภูมคิ ุม้ กัน จนถึงปัญหาทาง ครอบครัวและสังคม

- 40 -


80 % Rule กฏ ��case %

study

Architects : Mecanoo Location : Cartesiusweg, Utrecht, The Netherlands Architect in Charge : Mecanoo Area : 133000.0 m2 Project : Year 2018

- 41 -


Cartesiusdriehoek / Blue District Blue District will be a bustling urban district with lots of greenery and where everyone is welcome The historic CAB building will form the hub of the district, housing among other things the CAB LAB The most public transport-friendly, the most bicycle-friendly and the healthiest district in the Netherlands

อ้างอิง : https://mrpdevelopment.nl/en/projects/cartesiusdriehoek-blue-district/

- 42 -


80 % Rule กฏ ��case %

study

Architects : Full Scale Studio

Jongluck Villa

- 43 -

อรรถสิทธิ� กองมงคล Design Team : กฤตานน ฉัว� ชุมแสง,สุรศักดิ� จิตรเอียด,โสภิดา จิตร จํานอง,สุจนิ ดา ตุย้ เขียว Structural Engineer : พิลาวรรณ พิรยิ ะโภคัย Lead Architect :


อ้างอิง : https://dsignsomething.com/2020/03/18/jongluck-vill

- 44 -


บทที� � ผลงานการออกแบบ - 45 -


แนวคิดในการออกแบบ มาจากการนําเอาทฤษฎีของ “ Blue zones ” มาใช้ในการ ออกแบบซึง� ในทฤษฎีของ Blue zones ประกอบไปด้วยปัจจัย � ปัจจัย หรือเรียกว่า Power 9 ซึง� ปัจจัยทัง� � นี� เป็ นปัจจัยที� ส่งผลให้ผูค้ นมีอายุทย�ี าวนาน สุขภาพดี แข็งแรง ประกอบไป ด้วย เคลือ� นไหวแบบธรรมชาติ , การใช้ชวี ติ แบบมีเป้ าหมาย, มีวธิ คี ลายเครียด, กฎ �� เปอร์เซ็นต์, กินพืชเป็ นอาหารหลัก, ดืม� ไวน์, มีสงั กัด, รักตนเอง-ครอบครัว และสุดท้าย ชุมชนดี

- 46 -


ACTIVITIES

Move Naturally

Know your purpose Down Shift

Walk

Workshop Exercise

80 % Rule

Plant Slant Wine At 5

Family First

Belong Right Tribe

- 47 -

Organic Food


DIAGRAM

PROGRAMMING

KITCHEN

SPACE

STORAGE

RESTAURANT

STORE

ENTRANCE TOILET

WORKSHOP AREA

RECEPTION

CAFE

SPA

1st floor

YOGA FITNESS SPA MEDITATION

FITNESS

OFFICE

RESTAURANT CAFE STORE

TOILET

TOILET

STAIRS

TOILET

RECEPTION

STORAGE

WORK SHOP

RECEPTION

SPA

2nd floor

OFFICE

MEDITATION COMMON AREA GARDEN

YOGA WORKSHOP AREA

TOILET

GARDEN

3rd floor - 48 -


ZONING

Building A

- 49 -

Building B


3rd Floor YOGA WORKSHOP MEDICATION OFFICE

103 SQ.M 158 SQ.M 94 SQ.M

TOILET LIFT STORAGE

2nd Floor MEDITATION FITNESS WORKSHOP SPA & RECEPTION

94 147 119 249

SQ.M SQ.M SQ.M SQ.M

246 58 46 140

SQ.M SQ.M SQ.M SQ.M

OFFICE TOILET LIFT STORAGE

1st Floor RESTAURANT CAFE RETAIL SHOP SPA & RECEPTION KITCHEN TOILET LIFT STORAGE

- 50 -


- 51 -


N PLAN 1st Floor

- 52 -


- 53 -


N PLAN 2nd Floor

- 54 -


- 55 -


N PLAN 3rd Floor

- 56 -


GARDEN

- 57 -

SPA

RECEPTION


FITNESS

CAFE

WORKSHOP AREA

- 58 -


FACADE DESIGN

- 59 -


“ Perforated Aluminum ” ลักษณะผนังภายนอกอาคารทีม� กี ารเจาะเป็ นรูพรุน เพือ� ช่วยกรองแสงแดดทีส� ่องเข้ามา ไม่ให้ภายในร้อนมาก อีกทัง� ยังสามารถสร้างความเป็ นส่วนตัวให้กบั ผูใ้ ช้งานภายในอาคาร เพราะ ไม่สามารถมองผ่านจากภายนอกเข้าไปเห็นผูค้ นภายในได้ แต่สามารถมองจากภายในสู่ภายนอกได้ คุณสมบัติ : งานตระแกรงเหล็กฉีก มีความคงทนแข็งแรง ป้ องกันสนิมได้ ทนทานต่อสภาพอากาศ และใช้งานได้นานมากกว่า �� ปี การใช้งาน : เหมาะกับการใช้งานภายนอกอาคาร ใช้งานสถาปัตยกรรมได้หลากหลายพื�นที� เช่น ทําผนังระบายอากาศ ,ประตูรวั� และทํา Facade อาคาร เป็ นต้น

- 60 -


- 61 -


EXTERIOR DESIGN ภายในของตัวอาคารประกอบไปด้วย � อาคาร ทัง� หมด � ชัน� ซึง� มีบนั ไดกลางเชื�อมต่อระหว่างทัง� � อาคารเข้าด้วยกัน ส่วนของ facade ภายนอก อาคาร มีการใช้ Perforate Aluminum ซึง� เป็ นวัสดุอลูมเิ นียมเจาะรูพรุน ทาสีดาํ เพือ� ช่วยในการกรองแสงแดดทีส� ่องเข้ามาภายในอาคาร ไม่ให้ภายในร้อนจนเกินไป ส่วน ของหน้าต่างและประตู จะเน้นให้สูงยาวถึงเพดาน เพือ� เป็ นการเปิ ดให้มองเห็นวิวธรรมชาติภายนอกตัวอาคารได้

- 62 -


mood & tone

modern contemporary design process black

coconut milk

basil

1918-2013

11-0608 TCX

16-6216 TCX

material

- 63 -


- 64 -


Restaurant /1st Floor

INTERIOR DESIGN ภายในของส่วน ร้านอาหาร ทีอ� ยู่ชนั� � ตึกอาคาร A ตกแต่งด้วยวัสดุไม้เป็ นหลัก โทนสีเอิรธ์ โทน เพือ� ให้ดูสบายตาและ กลมกลืนกับธรรมชาติภายนอก ซึง� ภายในร้านอาหารจะมีการบริการอาหารเพือ� สุขภาพ เครื�องดืม� ผลไม้ ไวน์ สามารถมาทานได้ทงั� ช่วง เช้าและเย็น เหมาะสําหรับการมาทานอาหารเป็ นครอบครัว หรือเพือ� น และคนรักสุขภาพ

- 65 -


Reception restaurant / 1stFloor

- 66 -


Restaurant / 1 stFloor

- 67 -


- 68 -


Spa area /1st Floor

INTERIOR DESIGN ภายในของส่วน สปา มือ-เท้า ทีอ� ยู่ชนั� � ตึกอาคาร A ตกแต่งด้วยวัสดุไม้และหินแกรนิต โทนสีเอิรธ์ โทน เพือ� ให้ดูสบายตา โดยเมือ� เดินเข้ามา ในจุดแรกจะพบกับ ส่วนของ Reception spa มีพ�นื ทีใ� ห้ตดิ ต่อกับพนักงานและนัง� รอ เดินต่อมา จะมีทางเดินเชื�อมต่อไปยังส่วนของ Spa product ทีข� ายสินค้าสปาออร์แกนิค และเดินมาในส่วนในสุด จะเป็ นพื�นทีส� าํ หรับการบริการทําสปามือ-เท้า ไม่วา่ จะเป็ นทําเล็บ นวดมือ-เท้า โดยจะมีพนักงานเป็ นผูใ้ ห้การบริการ

- 69 -


Reception spa / 1st Floor

- 70 -


Spa product / 1 st Floor

- 71 -


Hand and foot spa / 1 st Floor

- 72 -


Cafe area /1st Floor

INTERIOR DESIGN ภายในของส่วน คาเฟ่ ทีอ� ยู่ชนั� � ตึกอาคาร B ตกแต่งด้วยวัสดุไม้ เก้าอี�สาน คุมสีนาํ� ตาล ขาว เทา ดํา และมีบานหน้าต่างสูงติดเพดาน เพือ� ให้มองเห็น วิวจากภายนอกตัวอาคาร ซึง� ภายในคาเฟ่ จะมีการบริการเครื�องดืม� ผลไม้ นม ขนมปังเพือ� สุขภาพ

- 73 -


- 74 -


Fitness room /2nd Floor

INTERIOR DESIGN ภายในของส่วน ฟิ ตเนส ทีอ� ยู่ชนั� � ตึกอาคาร A ตกแต่งด้วยวัสดุไม้ มีเครื�องออกกําลังกายหลายชนิด และมีบานหน้าต่างรอบห้อง เพือ� ให้มองเห็นวิวจากภายนอก

- 75 -


Fitness room / 2nd Floor

- 76 -


Yoga room /3rd Floor

INTERIOR DESIGN ภายในของส่วน โยคะ ทีอ� ยู่ชนั� � ตึกอาคาร A ตกแต่งด้วยวัสดุไม้เป็ นหลัก โทนสีเอิรธ์ โทน เพือ� ให้ดูสบายตาและ มีบานหน้าต่างสูงติดเพดาน เพือ� ให้มองเห็นวิวจากภายนอกตัวอาคาร

- 77 -


Yoga room / 3rd Floor

- 78 -


Workshop area /2nd Floor

INTERIOR DESIGN ภายในของส่วน เวิรค์ ช็อป ทีอ� ยู่ชนั� � ตึกอาคาร B ตกแต่ง คุมสีนาํ� ตาล ขาว เทา ดํา เพือ� ให้งานต่อการใช้งาน ภายในทางซ้ายมีส่วนของห้องนํา� ชาย-หญิง และเมือ� เดินเข้ามาส่วนของข้างหน้าจะเป็ น Reception สําหรับให้คนมาติดต่อในการรวมทําเวิรค์ ช็อป ทางขวามือเป็ นส่วนของห้องนัง� เล่น มีตูห้ นังสือให้อ่าน และพักผ่อนได้ตามอัธยาศัย

- 79 -


Workshop / 2nd Floor

- 80 -


Workshop area /3rd Floor

INTERIOR DESIGN ภายในของส่วน เวิรค์ ช็อป ทีอ� ยู่ชนั� � ตึกอาคาร B ตกแต่ง คุมสีนาํ� ตาล ขาว เทา ดํา เพือ� ให้งานต่อการใช้งาน ภายในชัน� นี�เป็ นส่วนของเวิรค์ ช็อปทัง� หมด กิจกรรมเวิรค์ ช็อป จะเป็ นงานประดิษฐ์ งานแฮนเมด เช่น การจัดดอกไม้ การวาดรูป การปัน� เซรามิค งานเย็บปักถักรอย รวมไปถึงสามารถจองพื�นทีส� ่วนนี�เป็ นทีจ� ดั งานประชุม หรืองานมีตติ�งได้ดว้ ย

- 81 -


Workshop / 3rd Floor

- 82 -


Ocean

- 83 -


- 84 -


บทที� � บทสรุป และ ข้อเสนอแนะ - 85 -


สรุปผลการออกแบบ หลังจากนําการออกแบบไปพูดคุยกับกลุ่มคนวัยทํางาน ได้รบั การตอบรับที�ดี เนื� องจากได้ดึงเอาทฤษฎีของ Blue zones มาใช้ในการออกแบบ และทุกคนต่างมีความ สนใจในเรื�องของ ทฤษฎีของ Blue zones และในพื� นที�ใช้สอยภายในอาคารมีกิจกรรมที� หลากหลายในการช่วยสนับสนุ นแนวคิด เพื�อส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มคนเมืองวัยทํางาน ให้รวมมาอยูใ่ นพื� นที�เดียว และยังมีความสะดวกสบายในการเดินทางเข้ามาในพื� นที�แห่งนี� แต่ยงั มีบางจุดที�คาํ นึ งถึงน้อยไป เช่น พื� นที�บางจุดรองรับผูใ้ ช้งานไม่ทวั � ถึง

ข้อเสนอแนะ -

- 86 -


RESEARCH REFERENCE source : https://www.ocsc.go.th/sites/default/files/document/ocsc-2561-y60b04.pdf source : https://www.ddproperty.com/2016/9/134552/72-courtyard source : https://www.soimilk.com/nightlife/news/72-courtyard-bars-restaurants source : https://www.thansettakij.com/content/234315 source : https://www.honestdocs.co/blue-zone-healthy-aging source : https://www.unlockmen.com/longest-lived-people-never-go-gym/ source : https://goodlifeupdate.com/healthy-body/health-education/21636.html source : http://oknation.nationtv.tv/blog/surasakc/2011/03/28/entry-1 source : https://goodlifeupdate.com/healthy-body/health-education/8422.html source : http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/article/article_work.html source : https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/3791 source : https://www.bumrungrad.com/th/health-blog/february-2019/new-trend source : https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/17186.html source : https://www.home.co.th/hometips/detail/82294 source : https://www.prachachat.net/marketing/news-160285 source : https://forrest-massage-spa.business.site/ source : https://travel.trueid.net/detail/e9Nw8kwvDQK source : https://www.baanlaesuan.com/158993/design/lifestyle/minoburi source : http://www.naiipa.com source : https://www.bluezones.com/live-longer-better/life-radius/ source : https://www.sharecare.com/pages/blue-zones source : https://plenae.com/the-secret-to-a-long-and-happy-life/

- 87 -


ประวัติ ชื�อ-นามสกุล

: นางสาวฉัตรติยา แสนอุดม

วัน-เดือน-ปี เกิด

: �� มกราคม พศ.����

อายุ

: �� ปี

ที�อยู่

: �/��� คอนโดศุภาลัยปาร์ค (อาคาร�) ถ.พหลโยธิน ซอยพหลโยธิน �� แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร �����

โทรศัพท์

: ���-���-����

E-mail

: Chattiya.saenudom@gmail.com

Facebook

: PaNg Saenudom

การศึกษา ประถมศึกษา : โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ ายประถมศึกษา (ศึกษาศาสตร์) มัธยมศึกษาตอนต้น : โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์) มัธยมศึกษาตอนปลาย : โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์) อุดมศึกษา : สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต

- 88 -


CHATTIYA SAEN-UDOM

5907526


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.