โครงการออกแบบ Community สำหรับผู้สูงอายุ โดยใช้ปรัชญา IKIGAI

Page 1

KLANG CHEEWIT

03


โครงการออกแบบ Community สําหรับผูส้ งู อายุ โดยใช้ปรัญญา IKIGAI ประเภทออกแบบภายใน

ชือ� โครงการ

:

ประเภทศิลปะนิพนธ์

:

ผูด้ าํ เนินโครงการ

:

นายเตชิต บุญหยง รหัส 5902136 นักศึกษาชัน� ปี ที� 4 คณะศิลปะและการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ

ที�ปรึกษาโครงการ

:

อาจารย์อรรถกฤษณ์ อุทยั กาญจน์


PROJECT BACKGROUND ที�มาและความสําคัญของโครงการ ในปัจจุบนั ประเทศไทยได้เป็ นสังคมผูส้ งู อายุ กล่าวคือมีผสู้ งู อายุมากกว่าร้อยละ 10 ตามเกณฑ์ขององค์การสหประชาชาติ และจากการฉายภาพประชากรของประเทศไทยระหว่างปี 2553 - 2583 พบว่าจํานวนและสัดส่วนของประชากรผูส้ งู อายุเพิม� ขึน� อย่างต่อเนือ� งโดยทีจ� าํ นวนและสัดส่วนของประชากรวัยทํางานลดลงอย่างต่อเนือ� งเช่นเดียวกัน ในขณะเดียวกัน ผูส้ งู อายุในปัจจุบนั มีการศึกษาค่อนข้างสูง และมีอายุเฉลี�ยที�มากขึน� จากอดีต เนือ� งจากมีเทคโนโลยี ยารักษาโรค และการออกกําลังกายมากขึน� ซึ�ง ทําให้ผสู้ งู อายุมอี ายุมากขึน� และ มีจาํ นวนมากขึน� อย่างต่อเนือ� ง ในปั จจุบนั ได้มอี งค์กรทัง� ภาครัฐบาลและภาคเอกชน ทําวําจัยเกีย� วกับผูส้ งู อายุทจี� ะมีมากขึน� ในอนาคตซึ�งจะส่งผลกระทบ กับ ครอบครัว สังคม และการดํารงชีวิต ทัง� นีเ� องจึงเกิดเป็ นแรงบันดาลใจที�เสริมสร้างการดํารงชีวิตของผูส้ งู อายุในปั จจุบนั เพื�อตอบสนองและยุคสมัยที�กาํ ลังค่อยๆเปลี�ยนไปใน อนาคต


OBJECTIVE วัตถ ุประสงค์ของโครงการ เพื�อศึกษาแนวทางการดํารงชีวิตของผูส้ งู อายุในยุคสมัยที�กาํ ลังเปลี�ยนไป โดยใช้ทฤษฎีการออกแบบ องค์รวมโดยศึกษา มโนทัศน์ใหม่ของนิยามผูส้ งู อายุ New Concept of Olderr Persons

1)

เพื�อตระหนักถึงผูส้ งู อายุ ซึ�งเป็ นบุคคลแก่การยอมรับ และการดูแลเอาใจใส่

2)

เพื�อตอบสนองความต้องการของผูส้ งู อายุ ในยุคสมัยที�เปลี�ยนไป

3)

เพื�อพัฒนาเป็ นโมเดลต้นแบบในการเรียนรูผ้ สู้ งู อายุในมุมต่างๆ


EXPECTATIONS ผลที�คาดว่าจะได้รบั 1)

เกิดพื�นที�ดแู ลผูส้ งู อายุ และตระหนักถึงผูส้ งู อายุ

2)

เกิดพื�นที�เพื�อตอบสนองผูส้ งู อายุ

3)

เกิดโมเดลต้นแบบที�เรียนรูผ้ สู้ งู อายุ เพื�อไปใช้ในที�อื�น


AREAS OF STUDY ขอบเขตการวิจยั 1)

ศึกษาผูส้ งู อายุในประเทศไทย อดีต - ปั จจุบนั - อนาคต

2)

ศึกษาวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมของประเทศไทยต่อผูส้ งู อายุ

3)

ศึกษางานออกแบบที�ได้รบั แรงบันดาลใจมาจากผูส้ งู อายุ

4)

ศึกษาการใช้งานพื�นที�อย่างเหมาะสมและเกิดประโยชน์สงู สุด

5)

ศึกษาบริบทโดยรอบ


RETIREMENT AGE วัยเกษียณ คือ บุคคลทีม� อี ายุเกิน 60 ปี บริบรู ณ์ขนึ� ไป โดยใช้นยิ ามตามปี เกิดในปฎิทนิ ซึ�งไม่มกี ารกําหนดนิยามผูส้ งู อายุ อย่างเป็ นทางการ ซึ�งใช้มาเป็ นเวลานาน ตัง� แต่สมัย อยุธยา โดยใช้ระบบ “ มูลนาย ” ปั จจุบันประเทศไทยได้มีการกําหนด บุคคลที�มอี ายุ 60 ปี บริบรู ณ์ และมีสญ ั ชาติไทย เป็ นบุคคลที�มวี ยั เกษียณในราชการ โดยจะได้รบั ผลประโยชน์จากภาครัฐบาล คือ สวัดกิ าร และเบี�ยยังชีพ

OLDER ADULTS นิยามผูส้ งู อายุ คือ บุคคลที�ถกู พิจารณาจาก เกณฑ์ทางกายภาพ เกณฑ์ทางสุขภาพ การเปลี�ยนแปลงทางสถานภาพ พฤติกรรมและอารมณ์ ซึ�งเกณฑ์ในการให้นยิ ามดังกล่าว ได้แสดงถึงการมองผูส้ งู อายุในทางแง่ลบกล่าวคือบุคคลทีม� กี ารเปลีย� น -แปลงทางกายและจิตใจ จะถูกนิยามว่าเป็ นผูส้ งู อายุ






การลดลงของประชากรโดยรวม อัตราการเกิด 6 คนต่อผูห้ ญิงหนึง� คนมาอยูท่ ร�ี าวๆ 1.5 ในปั จจุบนั และยังไม่มวี ี�แววว่าจะดีขนึ�

สัดส่วนของผูส้ งู อายุเพิ�มขึน� เนือ� งมาจาก ประชากรมีการศึกษาทีด� ขี นึ� มุง่ เน้นในการทํางานมากกว่า ทําให้อตั ราการเกิดลดลงรวมทัง� ความก้าวหน้าทางการแพทย์ ทําให้คนมีอายุยืนขึน�

ครอบครัวมีนอ้ ยลงเนือ� ง มาจากเศรษฐกิจของประเทศไทยในสมัยก่อนค่อนข้างไม่ดนี กั

การลดลงของอัตราการเกิดในช่วงก่อนประกอบกับจํานวนประชากรทีเ� ข้าสูก่ ารเป็ นประชากรสูงวัย ทีม� จี าํ นวนมากขึน� ซึ�งหมายความว่าประชากรวัยทํางานจะต้องรับภาระทีม� ากขึน� ในการดูแลผูส้ งู อายุ

ผูส้ งู อายุมเี งินออมไม่เพียงพอต่อการเลี�ยงชีพในวัยหลังเกษียณเนือ� งมาจาก คนในปั จจุบนั ออกจาก แรงงานก่อนวัยอันควร

การเปลีย� นแปลงของโครงสร้างประชากร ย่อมส่งผลกระทบต่อการเติบโตเมือ� จํานวนคนทํางานลดลง ผลผลิตที�ได้ ย่อมมีแนวโน้มลดลงตามไปด้วย





BANGKOK

พื�นที�เขตที�มจี าํ นวนสังคมผูส้ งู อายุระดับสุดยอด ได้แก่ เขตบางแค เขตจตุจกั ร เขตบางเขน เขตจอมพล เขตส

พื�นที�เขตที�มจี าํ นวนสังคมผูส้ งู อายุระดับสมบูรณ์ ได้แก่ เขตภาษีเจริญ เขตบางพลัด เขตดินแดง เขตสาทร เข พื�นที�เขตที�มจี าํ นวนสังคมผูส้ งู ได้แก่ เขตสัมพันธ์วงศ์ เขตปทุมวัน เขตบางรัก เขตป้ อมปราบ เขตราชเทวี ฯ

อ้างอิง : กองยุทธศาสตร์สาณาร


สายไหม

ขตคลองเตย

รณสุขและสิ�งแวดล้อม ( 2560 )

2560


อยูใ่ นช่วงอายุ 60 - 69 ปี เป็ นกลุม่ วัยพึ�งเกษียณ ทําให้อยูใ่ นช่วงของการปรับตัวจากการเปลีย� นแปลง สิ�งต่างๆในชีวิตจากไลฟ์ สไตล์ที�เคยทําก่อนหน้านี� ทําให้พยายามให้ความสําคัญกับการให้คณ ุ ค่าใน ชีวิต

อยูใ่ นช่วงอายุ 70 - 79 ปี กลุม่ นีม� กี ารปรับตัวเข้าสู่ ภาวะหลังวัยเกษียณได้มากพอสมควร แต่มขี อ้ จํากัด ในการทํากิจกรรมต่างๆเนือ� งจากลักษณะทางกายที� เริม� ถดถอยตามวัย การเสือ� มสมรรถภาพทัง� ร่างกาย และจิตใจจะมีอายุมากกว่า 75 ปี ขึน� ไป


ในกลุม่ นีจ� ะมีอายุ 80 ปี ขึน� ไป เป็ นกลุม่ ที�ตอ้ งได้รบั การดูแลในเรื�องของสุขภาพอย่างระมัดระวังอย่าง ระมัดระวังเป็ นพิเศษเพิ�มมากขึน�

อ้างอิง : การสํารวจประชากรผูส้ งู อายุในประเทศไทย สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติ ( 2557 )


การเลี�ยงดูพอ่ แม่ / ผูส้ งู อายุ มีการดูแลพ่อ แม่ ญาติ หรือผูส้ งู อายุอยู่ แต่ก็ตอ้ งยอมรับว่าในปั จจุบนั นีส� ภาพสังคม และ เศรษฐกิจที�เปลีย� นไป ย่อมมีผลกระทบต่อวัฒนธรรมและวิถีชวี ิตของคนไทยเป็ น อย่างมาก

เบี�ยยังชีพ นอกจากวัฒนธรรมไทยที�มกี ารเลี�ยงดูแล พ่อ แม่ หรือผูส้ งู อายุแล้ว ประเทศไทยยังมี ขนบธรรมเนียมที�จา่ ยเบี�ยเลี�ยงให้กบั บุคคลที�เป็ นผูส้ งู อายุอีกด้วย

เลี�ยงดูหลาน เมือ� มีสมาชิกเพิม� มากขึน� ทําให้บทบาทของผูส้ งู อายุมคี วามสําคัญมากโดยช่วยเลีย� งดูแล ในขณะเดียวกันสังคมไทยมีการเกือ� หนุนในหมูเ่ ครือญาติคอ่ นข้างสูง ผูส้ งู อายุในสังคม ไทยจึงได้รบั ความเคารพนับถือทัง� นัน�

ถ่ายทอดความรู้ ผูส้ งู อายุลว้ นแล้วผ่านประสบการ์ณค่อนข้างสูง นอกจากบทเรียนและชีวิตจริงจึงเป็ น เข็มทิศของครอบครัวลูกๆ หลานๆ ให้คาํ แนะนําที�เป็ นประโยชน์ได้เสมอ















AGING S

BUSIN


SOCIETY

NESS



BUSINESS for Older Adults

การดูแลผูส้ งู อายุในประเทศไทยเพิม� สูงขึน� เป็ นลําดับเนือ� งจากประชากรกลุม่ นีม� จี าํ นวนเพิม� ขึน� และมีแนวโน้มทีจ� ะมีอายุยืนยาวขึน� ความต้องการที�เพิ�มขึน� ไม่สอดคล้องกับหน่วยงานหรือสถานบริการของภาครัฐที�ให้บริการ ทําให้ประชากรกลุม่ นีจ� าํ นวนหนึง� ต้องพึง� การใช้บริการจากภาคเอกชน ทําให้อตั ราการเติบโตในภาคธุรกิจนีร� วมถึงสถานบริการสงเคราะห์เพิม� ขึน� แต่ก็ยงั ไม่สามารถ รองรับความต้องการที�เพิ�มขึน� ดังกล่าว




















































NONTH


HABURI




















































Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.