Lorca Scott Waterman

Page 1

P H U K E T



โครงการศิลปนิพนธ สาขาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต

ชื่อโครงการ

โครงการเสนอแนะสถานศึกษาสำหรับผูพิการทางสายตา

ประเภทของศิลปนิพนธ

ประเภทงานออกแบบภายใน

ผูดำเนินโครงการศิลปนิพนธ

นาย ลอร กา สกอตต วอเตอร แมน รหัส 5901945 นักศึกษาชั้นปที่ 4 วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต

ที่ปรึกษาโครงการศิลปนิพนธ

อาจารย กาลัญู สิปยารักษ



สาขาวิชาออกแบบภายในวิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมัติใหนับศิลปนิพนธ ฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาบันฑิต

สาขาวิชาออกแบบภายใน

..........................................คณะบดีวิทยาลัยการออกแบบ ( ร.ศ.พิศประไพ สาระศาลิน )

คณะกรรมการศิลปนิพนธ ..........................................ประธานกรรมการ ( อาจารย วริศร สินสืบผล )

..........................................กรรมการ ( อาจารย เกรียงศักดิ์ สุวรรณบูล )

..........................................กรรมการ ( อาจารย วิรุจน ไทยแซบ )

..........................................กรรมการ ( อาจารย ถวัลย วงษ สวรรค )

..........................................กรรมการ ( อาจารย อรรถกฤษณ อุทัยกาญจน )

..........................................กรรมการ ( อาจารย บัณฑิต เนียมทรัพย )

..........................................กรรมการ ( อาจารย เรวัฒน ชำนาญ )

..........................................กรรมการ ( อาจารย ณัฐพงศ ศรีปุงวิวัฒน )

..........................................กรรมการ ( อาจารย ไพลิน โภคทวี )

..........................................กรรมการ ( อาจารย กาลัญู สิปยารักษ )

.................................................... อาจารย ที่ปรึกษาศิลปนิพนธ (

)



หัวขอศิลปนิพนธ

โครงการเสนอแนะสถานศึกษาสำหรับผูพิการทางสายตา

ชื่อนักศึกษา

ลอร กา สกอตต วอเตอร แมน

สาขาวิชา

ออกแบบภายใน

อาจารยที่ปรึกษา

อาจารย กาลัญู สิปยารักษ

ปการศึกษา

2563

บทคัดยอ

การที่เห็นภาพผูพิการทางสายตาหรือคนตาบอดในชีวิตประจำวันไมวาจะเปนตามปายรถเมล หรือตามสถานที่ ตางๆ สวนมากในภาพที่เห็นคือผูพิการทางสายตา ขายลอตเตอรี่ หรือวา รองเพลงตามสถานที่เหลานี้จึงเกิด การสงสัยขึ้นมาวาทำไมผูพิการทางสายตาหรือคนตาบอดถึงขายลอตเตอรี่หรือตองรองเพลงดวย

ทั้งที่ในปจจุบันมีอาชีพตางๆสามารถรองรับพวกเขาไดมากขึ้น ไมวาจะเปน ครู นักวิชาการ โปรแกรมเมอร นักวิทยาศาสตร หรือกระทั่งหาสิ่งที่ชอบมาทำเปนงานไดแตวาคนไทยสวนมากมักชินและเห็นวาผูพิการทาง สายตาทำอยูแคนี้คือ ขายลอตเตอรี่และรองเพลง สิ่งที่ควรพัฒนาที่สุดคือสิ่งที่ยั่งยืนที่สุด คือการพัฒนาคน คนจะเติบโตมาเปนคนดีไดก็มาจากการเรียนรู ที่ดี การศึกษาที่ดีทำใหคิดถึงความเปนไปไดอยางนึงวาไมแนภาพเหลานี้อาจจะคอยๆหายไปจากสายตา ของคนไทย

การที่มีสถานศึกษาที่ไมใชแคใหความรูเรื่องวิชาการ แตไดใหประสบการณ การใชชีวิตกับพวกเขา จะทำใหเขา สามารถอยูในสังคมไดอยางมีคุณภาพ ไมถูกมองวาเปนภาระของสังคม



กิตติกรรมประกาศ

ศิลปนิพนธ เลมนี้ไดรับความสนับสนุนและอนุเคราะห หลายๆ ดานจากบุคคลหลายทานทั้งเรื่องขอแนะนำ กำลังใจ กำลังทรัพย และการสนับสนุนตางๆอีกมากมาย ซึ่งเปนสวนหนึ่งที่ทำใหเกิดผลงานที่ภาคภูมิใจและ ความสำเร็จขึ้นมา ขอขอบคุณบุคคลในครอบครัวที่ชวยเหลือมาตั้งแตเริ่มโครงการทั้งที่อนุเคราะห ในเรื่องตางๆทั้งเวลา สถานที่ และกำลังใจที่มอบใหตลอดมา ขอขอบคุณ อาจารย กาลัญู สิปยารักษ ในเรื่องการใหขอแนะนำและคำปรึกษาดานการพัฒนาแบบ ตางๆใหสมบูรณ และขอขอบคุณคณะกรรมการที่ใหขอเสนอแนะและปรับปรุงเกี่ยวกับโครงการไดเปนอยางดี ขอขอบคุณผูอำนวยการ คุณครู ผูจัดการโรงเรียน Kajonkiet International School (Phuket) ที่ไดให ขอมูลตางๆการสอบถามโดยละเอียด

ลอร กา สกอตต วอเตอร แมน



สารบัญ

หนา

บทคัดยอ

กิตติกรรมประกาศ

สารบัญ

บทที่ 1 บทนำ

1.1 ที่มา หลักการและเหตุผลของโครงการศิลปนิพนธ 1

1.2 วัตถุประะสงค ของโครงการ 3 1.3 ผลที่คาดวาจะไดรับ

3

1.4 ขอบเขตโครงการ

4

บทที่ 2 การศึกษาขอมูลพื้นฐานของโครงการ 2.1 กลุมเปาหมาย

5

2.2 กิจกรรม

7

17 2.3 ความตองการดานพื้นที่และความสัมพันธ 2.4 ระเบียบวิธีวิจัย

18

2.5 สถานที่ตั้งโครงการ

19

2.6 การวิเคราะห อาคาร 20 บทที่ 3 ทฤษฏี และ แนวคิดในการออกแบบ

3.1 คำศัพท 21 3.2 แนวความคิดไอเดีย 23

3.3 การวิเคราะห พื้นที่ออกแบบ 24 3.4 ภาพประกอบในการออกแบบ

28

บทที่ 4 ผลงานการออกแบบ

4.1 แปลน 29 4.2 ทัศนียภาพ 34 4.3 การสรางแบรนด 47 บทที่ 5 กรณีศึกษา 5.1 กรณีศึกษา 5.2 ขอมูลพื้นฐาน

51 52

บรรณานุกรม

56



?

ที่มาและความสำคัญ

PROJECT BACKGROUND

ทำไมคนตาบอด ถึงขายลอตเตอรี่ ถึงรองเพลง

ทำไมผูพิการทางสายตาหรือคนตาบอดในประเทศไทยสวนมาก

ถึงขายลอตเตอรี่ทำไมถึงรองเพลง ?

ในปจจุบันผูพิการทางสายตาหรือคนตาบอดสามารถทำไดหลายอาชีพมากขึ้น

ไมวาจะเปน ครู อาจารย โปรแกรมเมอร นักวิชาการ นักวิทยาศาสตร หรือกระทั่ง สามารถหาสิ่งที่ชอบมาทำเป็นงานได แตวาคนไทยมักชินและเห็นวาผูพิการทาง สายตาหรือคนตาบอดทำอยูแ คนน ่ั พอมองยอนไปถึงการศึกษาพบวาคนตาบอด มีโอกาสเขาถึงการศึกษาเพียงแค 15% เทานั้น


ที่มาและความสำคัญ

POTENTIAL Potential

ภาพที่คนเคยชิน เคยเห็น จะคอยๆหายไป

สิ่งที่ควรพัฒนาที่สุดคือส่ิ่งที่ยั่งยืนที่สุด คือการพัฒนาคนคนจะเติบโตมาเปน

คนดีไดก็มาจากการศึกษากระบวนการเรียนรูที่ดีประสบการณ ที่ควรไดรับจึงได เล็งเห็นความสำคัญของการศึกษาซึ่งการที่มีโรงเรียนที่พรอมสำหรับคนตาบอด ที่สอนพวกเขาตั้งแตวัยเด็กไดหาสิ่งที่ชอบแสวงหาตนเองมีอิสระในการคนหา สอนพื้นฐานพวกเขาจนกระทั่งสอนประสบการณ เพื่อเวลาจบออกไปแลวพวกเขา สามารถอยูรวมกับสังคมไดอยางสมศักดิ์ศรีและยั่งยืน


เพื่อ ศึกษาแนวทางการใชชีวิตของผูพิการทางสายตา เพื่อ ออกแบบสถานศึกษาเพื่อการสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต

วัตถุประสงคของโครงการ

OBJECTIVES

ของผูพิการทางสายตาใหมีจุดยืนในสังคมได

EXPECTATIONS ทำ

ใหคนทั่วไปลืมภาพจำที่เห็นคนพิการมีอาชีพอยางจำกัดในสังคม

ทำ

ใหสังคมยอมรับในศักยภาพของคนพิการทางสายตามากขึ้น

ทำ ใหมีพื้นที่ศึกษากระบวนการเรียนรูทักษะชีวิตเพิ่มขึ้นในภูเก็ต

ผลที่คาดวาจะไดรับ

เพื่อ เปนตนแบบของสถานศึกษาที่มีการออกแบบที่เหมาะสมสำหรับผูพิการทางสายตา


ขอบเขตการวิจัย

AREAS OF STUDIES ศึกษา ประเภทของการบกพรองทางสายตา ศึกษา สาเหตุของการตาบอด ศึกษา ประสาทสัมผัสอื่นที่ผูพิการทางสายตาตองใชในชีวิตประจำวัน


กลุมเปาหมาย

TARGET GROUP

Male 57%

Female 43%

ผูชายที่ตาบอดจะมีมากกวาผูหญิง สถิติตามประเภทความพิการมากที่สุด 3 อันดับสูงสุด

ทางการเห็น ทางการไดยิน ทางการเคลื่อนไหว

10.21% 18.39% 49.18%


กลุมเปาหมาย

TARGET GROUP

ild h C 35%

5%

n u o F

n o i t da

60%

เด็กที่ดอยโอกาสแตผูปก ครองมีกำลังในเรื่องเงิน ซัพพอร ตลูกไดตองการ สงลูกเรียนในเรือ่ งพืน ้ ฐาน และทักษะการใชชีวิตเพื่อ ในอนาคตสามารถอยูใน สังคมไดอยางมีคณ ุ ภาพ

ild h C มี ค นจากมู ล นิ ธ ิ ค นตาบอด มาเปนคนสอนในโรงเรียนมีเด็ก จากทางมูลนิธิที่มีควาสามารถ แต ไ ม ม ี เ งิ น ในการศึ ก ษาจะให โอกาสเขาโดยที่ส ามารถสร า ง ชื ่ อ เสี ย งใหโรงเรียนได

เด็กที่ดอยโอกาสแตผูปก ครองไมมีกำลังทรัพย ใน การช ว ยเหลื อ ในการส ง เด็ ก หรื อ ลู ก เข า มาเรี ย น เราจะมีทุนมอบใหกับเด็ก ซึ ่ ง ในแต ล ะป จ ะมอบทุ น 15 ทุน ในเด็ก เด็กจะตองมี ความสามารถด า นพิ เ ศษ หรือความถนัด


กิจกรรม

ACTIVITIES White Cane For Life

สำหรั บ คนตาบอดแล ว เค า ไม ส ามารถทำอะไรได เ ลยยิ ่ ง ถ า พึ ่ ง สู ญ เสี ย การตาบอด เหมื อ นทุ ก อย า งมื ด ไปหมดใช ช ี ว ิ ต ลำบาก ไม เ ท า ขาวคื อ สิ ่ ง ที ่ ท ำให ค นตาบอด ดำรงชี ว ิ ต ได โ ดยไม เ ป น ภาระของสั ง คมไปไหนมาได โ ดยตั ว เองได ต ลาดขึ ้ น รถเมล ป จ จุ บ ั น ทางเดิ น เท า ของผู  พิการทางสายตา ไม ไ ด ถ ู ก ออกแบบมาให ไ ด ใ ช จ ริ ง ๆ ไมวาจะพึ่งสรางวางตัวอักษร มั ่ ว หรื อ ป า ยโฆษณามาตั ้ ง ใหมและเศษของกอสราง

Straight

Stop


กิจกรรม

ACTIVITIES Braille Books

ปจจุบันหนังสือเบรลล สำหรับคนตาบอดไมพอสำหรับผูใชไมวาเด็กที่อยากอานนิทาน หรือนวนิยายตางๆ ไดมีการเปดใหอาสาสมัครหรือคนทั่วไปที่สนใจมารวมทำหนังสือ อั ก ษรเบรลล ใ ห ก ั บ ผู  พ ิ ก ารทางสายตา และยั ง ได ค วามรู  จ ากการทำหนั ง สื อ เบรลล ด ว ย

y

er l l i a

r s Lib Book lle ooks Game i a Br B o oard i d Au lle B i Bra

หนังสือเบรลล สำหรับคนตาบอด การหาหนั ง สื อ สำหรั บ คื อ ตั ว หนังสือจะมีเทปติดและติดอักษร เบรลล ใ นสั น หนั ง สื อ เพื ่ อ หาได สะดวกมากขึ้น


กิจกรรม

ACTIVITIES Audio Books หนังสือเสียงสำหรับคนตาบอดคือ หนังสือที่คนตาบอดไมตองอานเองแตจะเปนการฟง เสียงจากที่คนอัดเลาตามหนังสือที่อานใหฟง ปจจุบันหนังสือเสียงสำหรับคนตาบอดมี น อ ยมากเป ด รั บ คนทั ่ ว ไปที ่ อ ยากศึ ก ษาและอาสาสมั ค รมารวมทำหนั ง สื อ เสี ย งให ค น ตาบอด

Read For The Blind

ป จ จุ บ ั น สามารถทำ ที ่ ไ หนก็ ไ ด เ พราะมี แพลตฟอร ม สำหรั บ อัดหนังสือเสียง ได ท ำให ค นที ่ ไ ม ว  า ง มาหรื อ หน า ใหม ท ี ่ อยากศึกษาก็ทำ ได ม ากขึ ้ น


กิจกรรม

ACTIVITIES Braille Board Game

บอร ดเกมส ในปจจุบันถูกทำมาใหผูพิการทางสายตาสามารถเลนกับคนทั่วไปไดแลว ซึ่งเปนตัวสื่อกลางวาทำใหคนตาบอดรูสึกเทาเทียมกับคนทั่วไป

เกมส ห ลายๆเกมส น อก จากบอร ด เกมส ก ็ ย ั ง ถู ก พั ฒ นามาให ผ ู  พ ิ ก ารทาง สายตาเลนไดมากขึ้นเชนกัน


กิจกรรม

ACTIVITIES Multi - Sensory Room สิ่งที่เด็กควรไดรับการศึกษาคือการไดเรียนรูประสาทสัมผัสอื่นแทนที่สัมผัส ของดวงตา เพราะเป น สิ ่ ง ที ่ ต ั ว เขาต อ งใช ใ นชี ว ิ ต ประจำวั น และชิ น กั บ สิ ่ ง นั ้ น เพื่อใหการดำรงชีวิตในอนาคตไมเปนภาระของสังคมและอยูไดอยางมีคุณภาพ

m om h o o R ry ro Touc y a , Pl nso ell e i-s ar, Sm t l Mu t, He h Sig

ห อ งที ่ ร วมการพั ฒ นาการของ เด็ ก ในด า นประสาทสั ม ผั ส การ ใหเด็กไดสัมผัสถึงสิ่งตางๆ ไม ว  า จะเป น รู ป ทรงต า งๆ หรื อ กระทั ่ ง จำแนกสั ต ว สิ ่ ง ที ่ เ ด็ ก หรื อ คนตาบอดเห็นคือการที่คอยๆ สัมผัสจากสิ่งเล็กๆไปเปนภาพรวม ใหญ ซึ ่ ง จะต า งจากคนปกติ ท ี ่ ม อง ภาพรวมละถึ ง ค อ ยไปสั ง เกตุ ถ ึ ง สวนเล็กๆ เปนการที่เคาได จินตนาการ


Hear

ประสาทสั ม ผั ส หู หรื อ การได ย ิ น สำคั ญ มากถ า พวกเขาได เ รี ย นรู  เ ตรี ย มตั ว ไว ก  อ นเจอ เผชิ ญ โลกจริ ง ในอนาคต นอกจากเค า สามารถแยกแยะเสี ย งพู ด คุ ย กั บ ว า บุ ค คลนี ้ ใครได แ ล ว เสี ย งภายนอกก็ ส ำคั ญ เช น กั น ให เ ค า ได เ รี ย นรู  ว  า เสี ย งนี ้ ค ื อ เสี ย งอะไร เช น เสียงน้ำตก น้ำพุ เสียงเครื่องบินขึ้น เสียงรถไฟ เสียงตลาด เสียงรถบนถนนที่ สัญจร

Smell

ประสาทสั ม ผั ส ในเรื ่ อ งของกลิ ่ น หรื อ ลมหายใจเป น สิ ่ ง ที ่ ค นตาบอดได ศ ึ ก ษาว า กลิ ่ น ไหนปลอดภั ย และกลิ ่ น ไหนอั น ตรายสำหรั บ ตั ว เค า เช น กลิ ่ น ควั น ไฟ พอดม หรื อ เกิ ด ขึ ้ น จริ ง ในชี ว ิ ต เค า ได ร ั บ รู  ว  า เค า ไม ค วรอยู  ต รงนี ้ กลิ ่ น บู ด กลิ ่ น ของเสี ย ให ร ู  ว  า สิ ่ ง ไหนยั ง รั บ ประทานได อ ยู  ไ หม กลิ ่ น ผงซั ก ฟอก กลิ ่ น น้ ำ ยาล า งจาน จะไดรูวาไมควรที่จะรับประทานมัน

กิจกรรม

ACTIVITIES


กิจกรรม

ACTIVITIES Sight

ในเรื่องของแสง แสงยังเปนประโยชน ตอผูพิการทางสายตาแบบเลือนราง กระตุนการใชสายตาใหกับพวกเขาได แ ส ง เ ป  น M o v e m en t ให ก ั บ พวกเขาสามารถ สามารถเดินไปตาม ตำแหนงที่แสงนำได

ถ า ส อ งแสงสี แ ดงไปใน วั ต ถุ ส ี แ ดงเราก็ จ ะเห็ น สี แ ดง

แต ถ  า ส อ งแสงสี แ ดงไป บนวั ต ถุ อ ื ่ น เช น น้ ำ เงิ น สี น ้ ำ เงิ น ใน วั ต ถุ ก ็ จ ะหายไปหรื อ เห็ น เป น สี เ ทาเข ม หรื อ ดำ

ไดเรียนรู เรื่องสี เรื่องแสง เรื่องฟอร มไปพรอมกัน


กิจกรรม

ACTIVITIES Goalball (Sport) กี ฬ าสำหรั บ ผู  พ ิ ก ารทาง สายตาคื อ กี ฬ าโกลบอล เปนกีฬาที่มีสมาชิกในทีม ฝ  ง ละ3และสำรองอี ก ฝ  ง ละ3 สนามกว า ง 9 เมตร ยาว 18 เมตร โกลกว า ง 9 เมตร สู ง 1.3 เมตร การแข ง ขั น ผลั ด กั น ขว า ง บอลในตั ว บอลจะมีกระดิ่ง ใหคนตาบอดใชสัมผัสหูใน การฟงละกันไมใหเขาประตู

ในปจจุบันกีฬาโกลบอล เปนกีฬาระดับประเทศ ที่ผูพิการทางสายตา แขงขันกันและไทยเคย เปนแชมปในอาเซียน


Swimming Skills g n i m

lls i k S

im

Sw

ทักษะการวายน้ำ ฝกคนตาบอดและสายตาเลือนลางใหมีทักษะในการวายน้ำและเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ กลุ​ุมเด็กตาบอดสวนมากจะถูกพบวาวายน้ำไมเปนเยอะ ขาดโอกาสในการเรียนวายน้ำ ควรสรางโอกาสใหคนตาบอดไดเรียนและฝกวายน้ำ

กิจกรรม

ACTIVITIES


กิจกรรม

ACTIVITIES oom R cs i s Ba Room e l il ion a r B itat re m d u Megcult r Roo Ari pute Com

Arigculture การเกษตร แนนอนวาผูพิการทางสายตาหรือคนตาบอดก็ตองรูจักกับธรรมชาติบางเชนกัน ใหพวก เขาไดเรียนรูเรื่องปุย เรื่องการปลูก

Computer Room

คนตาบอดหรื อ ผู  พ ิ ก ารทางสายตาควรได เ รี ย นรู  เ ทคโนโลยี เ ช น เดี ย วกั น กั บ คนปกติ คอมที่ใชจะเปนคอมปกติเหมือนคนทั​ั่วไป แตคีย บอร ดในแตละคีย จะมีเสียงไมเหมือนกัน เผื่อใหคนตาบอดสามารถจำแนกเสียงได


oom R ics s e a f B kill Li e l r il ng S m o a F r h B mi Roo e omouc n m o a o r im ion o ory ll, T C y w R r e S it d tat ure om ille n lay sens , Sme i a u d Wh P r s Megcult r Ro ti- Hear en ygro l k l Lib o u a o e Pl lbal M ht, ri pute B t A n e ill oks ame Sig oad Ca a G r Comm o G l B o B rd e r Fi di Boa Do u A le il a r B

ความตองการดานพื้นที่และความสัมพันธ

AREA REQUIREMENTS AND RELATIONSHIP


ระเบียบวิธีวิจัย

RESEARCH METHODOLOGIES 1. คนควาขอมูล ศึกษาขอมูลจากแหลงตางๆที่เกี่ยวของกับผูพิการทางสายตาความบกพรองสาเหตุการ เกิดจากแหลงที่นาเชื่อถือได และรวมไปถึงคนควาสถานที่ที่เหมาะสมกับโครงการ

2. การรวบรวมขอมูล รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับการเรียนการสอนในเรื่องทักษะชีวิตและพื้นฐาน นำมาใชในพื้นที่ ที่เลือก กลุมเปาหมายพื้นที่ภายในและโดยรอบของสถานที่ การเดินเขาถึงที่ตางๆ

3. วิธีการรวบรวมขอมูล การหาขอมูลกอนลงพื้นที่จริงเพื่อทำการรวบรวมขอมูลเริ่มจากสังเกตบุคคบรรยากาศ โดยรอบ กิ จ กรรม ทั้งนี้เพื่อ ขอ มูล ที่ครอบคลุ ม จึ ง ลงพื ้ น ที ่ จ ริ ง เพื่อดูกิจกรรมที่เกิด ขึ้น บรรยากาศภายในพื้นที่

4. การวิเคราะหขอมูล

ในการวิ เ คราะห ข อ มูล จะดำเนินการไปพร อ มกั บ การรวบรวมข อ มู ลส ว นการตรวจสอบ ขอมูลจะนำมาจากขอมูลที่ไดมาจากการลงพื้นที่มาวิเคราะห อีกครั้งเพื่อพิจารณาขอมูล ที่ไดวามีอะไรแตกตางเพื่อนำไปสูกระบวนการออกแบบตอไป

5. การศึกษาเพิ่มเติม เป น การศึ ก ษาข อ มู ล เพิ ่ ม เติ ม เช น กรณี ศ ึ ก ษาของกิ จ กรรมกรณี ศ ึ ก ษาของโครงการ อื่นๆ รวมถึงแนวคิดและทฤษฎีที่สนใจหรือที่จะนำมาใชในการออกแบบ


Kajonkiet International School Phuket (KIS)

สถานที่ตั้งโครงการ

LOCATION

ซอย เดอะแววลีย 1 , ถนน พระภูเก็ตแกว 125 , อำเภอ กะทู เทศบาลนครภูเก็ต, จังหวัดภูเก็ต 83120


Kajonkiet International School Phuket (KIS)

พื้นที่ 4700 ตร.ม

การวิเคราะหอาคาร

SITE ANALYSIS

ซอย เดอะแววลีย 1, ถนน พระภูเก็ตแกว 125 , อำเภอ กะทู เทศบาลนครภูเก็ต, จังหวัดภูเก็ต 83120 ตัวอาคารตั้งหางจาก ตัวเมือง มีหมูบาน 2 หมูบานใกลเคียง รอบ ขางของอาคารจะเปน พื้นที่วางและเปนพื้นที่ สีเขียว ผู  พ ิ ก ารทางสายตา ควรอาศัยในโรงเรียน ที่รอบดานไมมีเสียง อึกทึก เสียงดัง และ เสียงรถ เพราะตอง ใชประสาทสัมผัสหูใน การเรียน


Independent “ อิสระ ”

คำศัพท

KEYWORDS


คำศัพท

KEYWORDS

Guidance “ คำแนะนำ ”


แนวความคิดไอเดีย

CONCEPT

Independent

Guidance

“ Independent guidance ”

อิ ส ระ ซึ ่ ง เป น อิ ส ระที ่ ส ามารถค น หา ตั ว เอง สิ ่ ง ที ่ ช อบที ี ่ อ ยากทำเพื ่ อ นำ ไปเป น สิ ่ ง ที ่ อ ยากทำในอนาคต และ ไม ใ ช แ ค อ ิ ส ระในเรื ่ อ งของการค น หา หรื อ แสวงหา แต ย ั ง อิ ส ระในพื ้ น ที ่ ที ่ ส ามารถเดิ น ไปในพื ้ น ที ่ ต  า งๆเพื ่ อ ฝ ก ประสบการณ ก ารใช ช ี ว ิ ต แต เ ป น อิ ส ระที ่ อ ยู  ใ นกรอบ กรอบในที ่ น ี ้ ม า จากการชี ้ น ำชี ้ ใ ห ค ุ ณ อยู  ใ นกรอบ ที ่ เ ราได ใ ห ไ ม ว  า จะเป น สั ญ ลั ก ษณ ใน การเขาถึงสถานที่ตางๆเราวางกรอบ ให ค ุ ณ แล ว และกรอบอี ก อย า งคื อ โรงเรี ย น..


Teacher Lounge

Basics Swimming Skills Rm.

Storage W.C.

Multi Sensory Area

Canteen

Storage

Waiting Area

Waiting Area

Basics Swimming Skills Rm.

W.C.

Computer Rm.

Information

Reading Area

W.C Audio Book Rm.

Teacher Lounge

Multi Sensory Area

at ion

fo rm

In

ro ng e

St

W. C.

LAYOUT PLAN การวิเคราะหพื้นที่ออกแบบ

Kajonkiet International School


Braille Board Game Rm.

rL

Braille Basics Rm.

Braille Basics Rm.

e ch

Shared Classroom

Braille Rm.

a Te

Shared Classroom

Braille Rm.

Computer Rm.

Kajonkiet International School

n ou ge

การวิเคราะหพื้นที่ออกแบบ

LAYOUT PLAN


Art Room

Nursing Room

Music Room

Music Room

rL

Music Room

Music Room

e ch

Shared Classroom

Music Room

a Te

Shared Classroom

Music Room

Music Room

Kajonkiet International School

n ou ge

การวิเคราะหพื้นที่ออกแบบ

LAYOUT PLAN


Conference room

Conference room

Kajonkiet International School

การวิเคราะหพื้นที่ออกแบบ

LAYOUT PLAN


ภาพประกอบในการออกแบบ

MOOD-TONES


E

n ra nt

ce

e

ag

or

St

fo r

In n

at io

m

PLAN FL.1 / Information SCALE 1 : 50

W. C.

แปลน

PLAN


แปลน

PLAN

Reading Area

Entrance

Information

Waiting Area

W.C.

Audio Book Rm.

Multi - Sensory Area

PLAN FL.1 / Libraillery SCALE 1 : 75


Storage

W.C.

Eating Area

Entrance

Canteen

Eating Area

W.C.

PLAN FL.1 / Canteen SCALE 1 : 75

Storage

แปลน

PLAN


แปลน

PLAN

Pantry

Lounge

Entrance

Entrance

PLAN FL.1 / Teacher Lounge SCALE 1 : 50


แปลน

PLAN

Multi-Sensory

Multi-Sensory

PLAN FL.1 / Multi-Sensory Room SCALE 1 : 75


Information

ทัศนียภาพ

PERSPECTIVE


Reading Area ทัศนียภาพ

PERSPECTIVE


Reading Area ทัศนียภาพ

PERSPECTIVE


Multi-Sensory Area

ทัศนียภาพ

PERSPECTIVE


Multi-Sensory Area

ทัศนียภาพ

PERSPECTIVE


Canteen ทัศนียภาพ

PERSPECTIVE


Canteen ทัศนียภาพ

PERSPECTIVE


Teacher Lounge ทัศนียภาพ

PERSPECTIVE


Teacher Lounge ทัศนียภาพ

PERSPECTIVE


Multi-Sensory Rooom ทัศนียภาพ

PERSPECTIVE


Multi-Sensory Rooom ทัศนียภาพ

PERSPECTIVE


PERSPECTIVE

ทัศนียภาพ


PERSPECTIVE ทัศนียภาพ


การสรางแบรนด

BRANDING

abc abc abc Letter a b c

Braille

Include

P H U K E T

Old Emblem

P H U K E T

New Emblem


การสรางแบรนด

BRANDING


r t bl

P H U K E T

fo he

P H U K E T

การสรางแบรนด

BRANDING

in d


About Page

P H U K E T

P H U K E T

Kajonkiet

Home

Timeline

More

Like

9 minutes ago

Comment

SCHOOL PHUKET

18 minutes ago

Share

P H U K E T

P H U K E T

Kajonkiet International School Phuket - KIS added

d

Like

in

P H U K E T

Share

bl

Comment

e

White Cane For Life

th

Like

Follow

Kajonkiet International School Phuket - KIS

Welcome

r

fo

KAJONKIET INTERNATIONAL SCHOOL PHUKET

P H U K E T

About

@KISPhuket โรงเรย ี นมธ ั ยม

Kajonkiet International School Phuket - KIS

Email: reception@kibs.academy, admissions@kibs.academy

Tel : (+66) 15 212 424-4, (+66) 88 111 2222

KAJONKIET INTERNATIONAL SCHOOL PHUKET

P H U K E T

P H U K E T

a photo

P H U K E T

Message

www.kisbs.academy

15 minutes ago

Kajonkiet International School Phuket - KIS

Like

Comment

First place in Phuket!! #Braille #JoinUS

P H U K E T

Share

การสรางแบรนด

BRANDING


กรณีศึกษา

CASES STUDIES

Classroom Makeover For The Blind / CREATIVE CREWS

จุดมุงหมายหลักของโครงการนี้คือเพื่อใหนักเรียนทุกคนมีทักษะพื้นฐานที่จำเปนสำหรับ การใชชีวิตประจำวันและเปนพื้นฐานสำหรับการศึกษาอักษรเบรลล เพิ่มเติม

หองสมุดที่ไมสบายจะถูกเปลี่ยนเปนหองประสาทสัมผัสแหงใหมสำหรับเด็กเล็ก หองนี้ ไดรับการออกแบบใหสอดคลองกับหลักสูตรกอนอักษรเบรลล ตามการรับรูและการรับรู ทางประสาทสัมผัสจึงสงเสริมการมีปฏิสัมพันธ กับ รูปทรงเรขาคณิตพื้นฐานที่มีขนาด ความหนาแตกตางกันไปจนถึงรูปทรงที่ซับซอนมากขึ้นเชนสัตว ตลอดจนพื้นผิวและ เสียงที่แตกตางกัน


ขอมูลพื้นฐาน

BASIC RESEARCH ประเภทของคนตาบอด

1. ตาบอดสนิท ซึ่งไมสามารใชสายจาในเรื่องของการเรียนการสอนไดเลย 2.ตาบอดแบบเลือนราง จะบกพรองทางสายตาจะเห็นบางแตไมชัดเทาคนปดติ

สาเหตุของการตาบอด

1. สาเหตุตาบอดในเด็ก - จอตาเสื่อมในเด็กคลอดกอนกำหนด - เยื่อตาและกระจกตาอักเสบจากเชื้อหนองใน - ภาวะขาดวิตามินเอ - โรคที่เปนกรรมพันธุ แตกำเนิด - ภาวะตาขี้เกียจ - อุบัติเหตุ 2. สาเหตุตาบอดในผูใหญ - สายตาผิดปกติที่ไมรับการแกไข - ตอกระจก - ตอหิน - จอประสาทตาเสื่อมจากเบาหวาน - แผลบริเวณกระจกตา - ริดสีดวงตา แมจะพบเด็กที่ตาบอดมีจำนวนนอยกวาผูใหญ แตถาคำนึงถึงคุณภาพชีวิตที่จะ ตองอยูแบบคนตาบอดก็จะเห็นวา เด็กจะตองอยูในสภาพนี้เปนระยะเวลาที่นาน กวาผูใหญ อีกทั้งเด็กที่ตาบอดมักจะทำใหมีปญหาอื่นๆ ดวย อาทิ การเรียนรูที่ ดอยกวาเด็กปกติ หรืออาจมีปญหาทางสมอง มีอาการชัก รวมถึงอาจมีปญหา ทางการได ย ิ น ตลอดจนการพู ด การรู  จ ั ก โรคที ่ อ าจจะเป น สาเหตุ ท ำให เ ด็ ก ตาบอดจึงเปนเรื่องสำคัญ


ขอมูลพื้นฐาน

BASIC RESEARCH

คนตาบอดมองไมเห็นแลวจะใชชีวิตกันยังไง

แนน อนว า การใชชีว ิตแบบมองไมเห็ น ไม ใ ช เ รื ่ อ งง า ย แต ค นตาบอดพิ การแค สายตา ไมไดพิการในการใชชีวิต การใชประสาทสัมผัสอื่นนอกจากดวงตาตาง ก็เติมเต็มสิ่งที่ขาดไปไดในชีวิตไดเปนอยางดี

หู : เสี ย ง มี อิท ธิพ ลตอ การใชชีว ิต ของคนตาบอดมาก เพราะสามารถช วย ใหค นตาบอดจำแนกสิ่งรอบตัว ได เช น แยกแยะบุ ค คลจากเสี ย งพู ด ช วยใน การทำงาน และเสพสิ่งบันเทิงตา ง ๆ ซึ ่ ง แท จ ริ ง แล วคนตาบอดไม ไ ด ห ู ด ี กวา คนทั ่ ว ไป เพี ยงแคตอ งใชห ูใ นชีวิต ประจำวั น มากกว า จึ ง สั ง เกตสิ ่ ง ต า ง ๆ ได ละเอี ย ดขึ ้ น เชนบอกไดวา ปุม หมายเลข 1 4 7 และ * บนโทรศั พท มี เ สี ยง เหมื อ นกั น เชนเดียวกับ 2 5 8 0 และ 3 6 9 # และที ่ น  า สนใจคื อ คนตาบอด สามารถทำ Ecolation ได คือ เมื่อคนตาบอดต อ งการรู  ต ำแหน ง ของวั ต ถุ ที่อยู  ใกล ๆ พวกเขาจะทำเสียงดว ยการ เดาะลิ ้ น ตบมื อ หรื อ อื ่ น ๆ ตาม ความถนั ด แลว คอยฟงคลื่นเสียงที ่ ต กกระทบกั บวั ต ถุ แล วสะท อ นกลั บ มายั ง หู แ ละสมอง เพื่อ หาตำแหนงของสิ ่ ง นั ้ น ๆ

จมู ก : กลิ ่ น มีความสำคัญกับคนตาบอด เช น เวลาเดิ น ทางไปตามสถานที่ ตาง ๆ กลิ ่ น เฉพาะของสถานที่นั้น จะช วยบอกตำแหน ง และช วยไม ใ ห ห ลง ทาง เช น กลิ ่ น แอร แสดงวา มีห า งสรรพสิ น ค า อยู  ไ ม ไ กล และกลิ ่ น ยั ง ช วยให พวกเขาสามารถแยกแยะชนิดของอาหารได ด  วย

สัม ผั ส : คนตาบอดจำเปนตอ งใช การสั มผั สอย า งมากในชี วิ ต ประจำวั น ทั ้ ง การเลื อ กซื ้ อของจำพวกเสื้อ ผา ผั กผลไม หรื อ ผลิ ต ภั ณฑ ต  า ง ๆ ที ่ มี ขนาด และบรรจุ ภ ั ณฑ ท ี่ไมเหมือ นกัน ไปจนถึ ง แยกแยะจากวั สดุ ร ู ป ร า งต า ง ๆ

ปาก : บางครั้งที่คนตาบอดตกอยู  ใ นสถานการณ ท ี ่ ช  วยเหลื อ ตนเอง ลำบาก การเอยปากถามคนอื่นจึง เป น วิ ธ ี ท ี ่ ง  า ยที ่ สุ ด จะเห็ น ได ว  าถึ งแมว า ผูพ ิก ารทางสายตาจะไร ซ ึ ้ ง ดวงตาในการมองเห็ น แต ก ็ มีสิ ่ ง อื ่ นมาทดแทนจนบางสิ่งบางอย า งสามารถใช ง านได ด ี กว า คนตาดี ๆ อย างพวกเราดวยซ้ำ ไป


Beginner GRADE 1 Braille Basics GRADE 2 Braille Basics Multi-Sensory Learning White Cane Circulation (Orientation & Mobility) GRADE 3 Swimming Skills Arigculture Braille Basics

ขอมูลพื้นฐาน

BASIC RESEARCH


ขอมูลพื้นฐาน

BASIC RESEARCH Intermediate GRADE 1 Braille Basics White Cane Circulation Multi-Sensory Learning GRADE 2 Swimming Skills Arigculture Braille Basics


บรรณานุกรม ชื่อเรื่อง.กฎหมาย กฎกระทรวง-กำหนดสิ่งอำนวยความสำดวกในอาคารสำหรับผูพิการ.(ม.ป.ป.).{ออนไลน}.ไดจาก https://www/bsa/or.th/กฎหมาย/กฎกระทรวง-กำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารสำหรับผูพิการหรือทุพพลภาพ-และคนชรา {สืบคนเมื่อปพ.ศ.๒๕๖๔} พิมพพญา เจริญศิริพันธ (ม.ป.ป.). ชื่อเรื่อง. Classroom Makeover : โปรเจกตเปลี่ยนโรงเรียน คนตาบอดใหกลายเปนพื้นที่เรียนรู 360 องศา {สืบคนไดจาก.} https://adaymagazine.com/classroom-makeover/ {สืบคนเมื่อปพ.ศ.๒๕๖๒} ชื่อเรื่อง.ประเภทไมเทาขาวที่คนพิการทางสายตาใช.(ม.ป.ป.).{ออนไลน}.ไดจาก https://thisable.me/content/2018/06/422{สืบคนเมื่อปพ.ศ.๒๕๖๑} ชื่อเรื่อง.ความรูเบื้องตนกับอักษรเบรลล.(ม.ป.ป.).{ออนไลน}.ไดจาก http://cfbt.or.th/sk/index.php/article/12-readbraille{สืบคนเมื่อปพ.ศ.๒๕๖๐} ชื่อเรื่อง.โครงการสระวายน้ำเดินไดเพื่อเด็กตาบอด.(ม.ป.ป.).{ออนไลน}.ไดจาก http://a-treat.co.th/pr_single.php?PrID=8{สืบคนเมื่อปพ.ศ.๒๕๕๗} รศ.ไตรรัตนจารุทัศน (ม.ป.ป.). ชื่อเรื่อง. UNIVERSAL DESIGN DESIGN FOR ALL {สืบคนไดจาก.} http://www.dentistry.go.th/wheelchair/datafile/universal_design.pdf {สืบคนเมื่อปพ.ศ.๒๕๔๘} โสมรัศมิ์ วิจิตร, อารีย ชื่นวัฒนา, อรทัย วารีสอาด (ม.ป.ป.). ชื่อเรื่อง. การดำเนินงานหองสมุดสำหรับผูพิการทางสายตา {สืบคนไดจาก.} http://ejournals.swu.ac.th/index.php/jlis/article/view/2991 {สืบคนเมื่อปพ.ศ.๒๕๔๘}



P H U K E T


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.