Jutatip Moramontree

Page 1

6. 2563

Vol.6

REPOSE Wel l n e s s & R e s o r t


โครงการศิลปนิพนธ วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต ชื่อโครงการ : โครงการศึกษาโรคนอนไมหลับเพื่อการออกแบบภายใน ที่ปรึกษาโครงการศิลปะนิพนธ : อาจารยกาลัญู สิปยารักษ ประเภทของงานศิลปนิพนธ : ประเภทงานออกแบบตกแตงภายใน ( INTERIOR DESIGN ) ผูดําเนินงาน : นางสาวจุฑาทิพย โมรมนตรี 5901715 นักศึกษาปที 4 วิทยาลัยการออกแบบสาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาวัยรังสิต



สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมัติใหนับศิลปนิพนธฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาบัณฑิต

สาขาวิชาออกแบบภายใน คณบดีคณะศิลปกรรม ( รศ. พิศประไพ สาระศาลิน ) คณะกรรมการศิลปนิพนธ

ประธานกรรมการ ( อาจารย วริศว สินสืบผล ) กรรมการ ( อาจารย ถวัลย วงษสวรรค ) กรรมการ ( อาจารย อรรถกฤษณ อุทัยกาญจน ) กรรมการ ( อาจารย บัณฑิต เนียมทรัพย ) กรรมการ ( อาจารย เรวัฒน ชํานาญ ) กรรมการ ( อาจารย กาลัญู สิปยารักษ ) กรรมการ ( อาจารย ณัฐพงศ ศรีปุงวิวัฒน ) กรรมการ ( อาจารย ไพลิน โภคทวี )

อาจารยที่ปรึกษาศิลปนิพนธ (

)



หัวขอศิลปนิพนธ

โครงการศึกษาโรคนอนไมหลับเพื่อการออกแบบ

ชื่อนักศึกษา

นางสาวจุฑาทิพย โมรมนตรี

สาขาวิชา

ออกแบบภายใน

อาจารยที่ปรึกษา

อาจารยกาลัญู สิปยารักษ

ปการศึกษา

2563

บทคัดยอ ในปจจุบันโรคนอนไมหลับเปนโรคที่เปนกันไดทุกคน ทุกเพศ ทุกวัย และยังเปนโดยไมรูตัวซึ่งถาเปนสะสม ไปนานๆแลวนั้นจะทำใหเสียชีวิตหรือการใชชีวิตประจำวันนั้นมีปญหาได โดยปจจัยที่ทำใหเกิดขึ้นนั้นเกิดขึ้น ไดในหลายปจจัยดวยกันเริ่มตนดวย ปจจัยทางดานรางกาย ปจจัยทางดานจิตใจ ปจจัยทางดานสิ่งแวดลอม และปจจัยทางดานสุขลักษณะ เนื่องจากการใชชีวิตประจำวันนั้นตองพบกับความเครียด ความเหนื่อยลา ทั้งปญหาทางดานสังคม สภาพแวดลอม หรือ พฤติกรรมการใชชีวิตประจำวัน การมีแนวทางในการดูแลและ สังเกตุตัวเองตั้งแตตนนั้น จะชวยลดความเสี่ยงในการเปนขั้นรายแรงได แนวทางการในการรักษาที่ชวยใหรางกายและจิตใจไดพักผอนโดยการบำบัดความเครียดและปรับเวลา การใชชีวิตประจำวัน การรับประทานอาหาร ปฏิบัติโดยใชหลักการใชชีวิตประจำของแตละบุคคลยึดเปนหลัก และปรับเปลื่ยนใหอยางเหมาะสม หลักแนวคิดที่ใชในการออกแบบภายในอาคารนั้นมุงเนนที่สุขภาพและความเปนอยูของผูมาใชบริการ โดยจะศึกษาการบำบัดในหลายๆดาน ทั้งดานรางกาย ดานจิตใจ ดานสิ่งแวดลอม และดานพฤติกรรมการ ใชชีวิตและการนอนของผูมาใชบริการ การออกแบบพื้นที่เปนสวนสำคัญของการบำบัดซึ่งตองศึกษาหลายๆดานเพื่อใชในกระบวนการออกแบบ เนื่องจากเปนพื้นที่เพื่อสุขภาพเพื่อการบำบัด วัสดุ อารมณความรูสึก จึงสำคัญตอการออกแบบจึงมุงเนนออก แบบโดยการเนนสัดสวนที่โคงมนตเพื่อ ลดฝุน ลดอาการเกิดภูมิแพ และ รูปทรงของของวงกลมนั้นเปนสวนที่ ทำใหความเครียดนั้นเบาบางลงชวยลดความเครียดได ทำความสะอาดไดงาย วัสดุปลอดภัยตอผูใชบริการ แสง สี และเสียง นั้นก็เปนสิ่งสำคัญตอการออกแบบ การที่สภาพแวดลอมและกิจกรรมการใชชีวิตประจำวันเปลื่ยนทำใหสุขภาพรางกายของเรานั้นดีขึ้นและ การทำกิจกรรมบำบัดอยางถูกวิธีจะสงเสริมใหการนอนไดมีอยางมีประสิทธิภาพลดการเกิดโรคตางๆและยังชวย อารมณและจิตใจดีขึ้นอีกดวย


กิตติกรรมประกาศ ศิลปนิพนธเลมนี้สำเร็จลุลวงไปไดดวยดีดวยความสนับสนุนและความชวยเหลือขอแนะนำและ กำลังใจ กำลังทรัพย และการชวยเหลือในอีกหลายๆดานเพื่อใหเกิดผลงานชิ้นได อยางภาคภูมิใจและประสบผลสำเร็จ ขอขอบคุณอาจารยที่ปรึกษาศิลปนิพนธ อาจารย กาลัญู สิปยารักษ ที่คอยชี้แนะให คำปรึกษา พัฒนาในทุกๆสวนของโครงการและคอยใหกำลังใจจนโครงการนี้สำเร็จลุลวง ไปไดดวยดี ขอขอบคุณคณะกรรมการที่ใหขอเสนอแนะและคำปรึกษาขอคิดเห็นตางๆในการทำศิลปนิพนธ จนสำเร็จไปไดดวยดี จึงขอขอบพระคุณอาจารยทุกทานไว ณ ที่นี้ ขอขอบคุณโรงเรียนเล็กโกเมศอนุสรณ แบบแปลน และ ภาพสถานที่ เพื่อใชเปนสถานที่ตั้งของ โครงการในการทำศิลปนิพนในครั้งนี้ สุดทายนี้ ขอขอบคุณ บิดา มารดา และ ครอบครัว ที่สนับสนุกการศึกษา สนับสนุนทุนทรัพย ตลอดจนชวยใหคำแนะนำและกำลังใจ และรวมถึงเพื่อนๆ พี่นอง ทุกคน ที่ใหกำลังใจจนโครงการนี้สำเร็จ ไปไดดวยดี ขอขอบคุณคะ

จุฑาทิพย โมรมนตรี


สารบัญ บทคัดยอ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ ที่มาของโครงการศิลปนิพนธ วัตถุประสงค ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ขอบเขตการศึกษา ระเบียบการวิจัย แผนการดำเนินงานวิจัย บทที่ 2 การศึกษาขอมูลพื้นฐานของโครงการ กลุมเปาหมาย กิจกรรมและชวงเวลา ความตองการดานพื้นที่และความสัมพันธดานการใชสอบ กรณีศึกษา สถานที่ตั้งโครงการ การวิเคราะหอาคาร การวิเคราะหพื้นที่ออกแบบ การศึกษาองคประกอบ รูปแบบและวัสดุในงานออกแบบภายในโครงการ บทที่ 3 ทฤษฏีและแนวความคิดในการออกแบบ กรณีศึกษา บทที่ 4 ผลงานการออกแบบ กระบวนการในการออกแบบ การวางผังและออกแบบพื้นที่ใชสอย การออกแบบภายในและภายนอก การออกแบบภาพลักษณของโครงการ บทที่ 5 บทสรุปและขอเสนอแนะ สรุปผลของโครงการ สรุปผลการวิจัย ปญหาและขอเสนอแนะ บรรณานุกรม ประวัติผูวิจัย

ก ข ค





1 PROJECT BACKGROUND OBJECTIVES EXPECTATIONS AREAS OF STUDIES RESEASCH METHODOLOGIES RESEARCH SCHEDULE


ปจจุบันโรคนอนไมหลับสามารถเกิดขึ้นไดกับทุกเพศและ อาจเปนกันไดโดยไมรูตัวโรคนอนไมหลับ มีอาการนอน หลับยาก หลับไมสนิท ตื่นกลางดึกแลวนอนตอไมได และอาจเกิดขึ้นไดจากโรคเดิมที่เปนอยูเชน โรคซึมเศรา ไบโพลา เจ็บปวดจากบาดแผล ความเครียดสะสม การใชชีวิตผิดเวลาจากปกติและการนอนผิดสุขลักษณะ ซึ่งปจจัยเหลานี้ เปนสาเหตุหลักของการเกิดโรคนอนไม หลับ เมื่อในอดีตจะเกิดขึ้นกับวัยทำงานหรือผูสูงอายุแต กับปจจุบันเกิดขึ้นกับวัยทำงานและเด็กวัยรุนขึ้นในสวน ใหญซึ่งเกิดจากการทำงานไมเปนเวลา ทำงานหนัก เลนโซเซียลมิเดีย เชน Twitter Instagram Facebook

PROJECT BAC ทำใหรางกายนั้นพักผอนไมเพียงพอเกิดการสะสม ความเหนื่อยลา ทำใหใชรางกายไมไดประสิทธิภาพ ตามที่ควรจะเปน เหนื่อยลาระหวางวัน ความจำสั้น และไมมีสมาธิ ดวยสาเหตุขางตนจึงตองการศึกษา โรคนอนไมหลับ เพื่อนำมาใชในการออกแบบภายใน เพื่อนอนไดอยางมีคุณภาพมากที่สุด


CKGROUND Insomnia is something close to you. Should be careful



OBJECTIVES วัตถุประสงค - ศึกษาเกี่ยวกับโรคนอนไมหลับ สาเหตุ อาการ และ การรักษา - ศึกษาการออกแบบพื้นที่เพื่อการนอนอยางถูกสุขลักษณะและถูกตอง - ศึกษาพื้นที่การแกปญหาเกี่ยวกับคนที่มีภาวะอาการเครียด

EXPECTATIONS สิ่งที่คาดหวัง - ออกแบบพื้นที่เพื่อคนที่เปนโรคนอนไมหลับไดพักผอนไดอยางสะดวกสบาย - ออกแบบพื้นที่ลดอาการเครียดใหรูสึกผอนคลาย - ออกแบบแสง สี เสียง ตอบสนองความตองการของบุคคลที่มีภาวะเสี่ยงหรือ เปนโรคนอนไมหลับ

AREAS OF STUDIES ขอบเขตการศึกษา - ศึกษาเกี่ยวกับโรคนอนไมหลับ - ศึกษาและทำความเขาใจเกี่ยวกับบุคคลที่เปนโรคและเสี่ยงตอการเปนโรคนอนไมหลับ - ศึกษาการรูปแบบการจัดพื้นที่เพื่อคลายเครียด - ศึกษาความเปนไปไดของโครงการ



RESEASCH METHODOLOGIES 1. การคนควาขอมูล ศึกษาขอมูลจากแหลงตางๆ ที่เกี่ยวของกับการดูแลสุขภาพ พฤติกรรมการนอนผลสํารวจจาก แหลงที่เชื่อถือได รวมถึงคนควาสถานที่ที่เหมาะสมในการจัดตัองโครงการ 2. การรวบรวมขอมูล รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการเขามาใชงานในพื้นที่ที่เลือก กลุมเปาหมาย พื้นที่ภายใน และโดยรอบของสถานที่ การเดินทางการเขาถึงตางๆ 3. วิธีการรวบรวมขอมูล การลงพื้นที่จริงเพื่อทําการรวบรวมขอมูล เริ่มจากใชการสังเกตจากบุคคล วัตถุ บรรยายกาศ สภาพแวดลอม กิจกรรม วิถีชีวิตของบริเวณใกลเคียง ทั้งนี้เพื่อขอมูลที่ครอบคลุม จึงลงพื้น ที่ทั้งวันจันทร-ศุกร และในวันเสาร-อาทิตยและลงพื้นที่ในชวงเวลาตางๆ เพื่อรวบรวมขอมูล การเขาใชพื้นที่ กิจกรรมที่เกิดขึ้น บรรยากาศที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่ 4. การวิเคราะหขอมูล ในการวิเคราะหขอมูลจะดําเนินไปพรอมๆกับการรวบรวขอมูล สวนการตรวจสอบขอมูลจะนํา มากจากขอมูลที่ไดมาจากการลงพื้นที่มาวิเคราะหอีกครั้ง เพื่อพิจารณาขอมูลที่ได ที่ตางวันและ เวลาวามีผลเปนอยางไร มีอะไรที่แตกตางกัน เพื่อนําไปสูกระบวนการออกแบบตอไป 5. การศึกษาเพิ่มเติม เปนการศึกษาขอมูลเพิ่มเติม เชน กรณีศึกษาของกิจกรรม กรณีศึกษาของโครงการอื่นๆรวมถึง แนวคิดและทฤษฎีที่สนใจหรือที่จะนํามาใชในการออกแบบ


RESEARCH SCHEDULE Term 1 /2563

8

1/63

August สงหัวขอโครงการศิลปนิพนธและรายชื่ออาจารยที่ปรึกษา

September

9

- นําเสนอหัวขอศิลปนิพนธและเสนอรางProposal ครั้งที่1 - ตรวจเตรียมศิลปนิพนธครั้งที่1 - เสนอหัวขอโครงการ ที่มา วัตถุประสงค กลุมเปาหมาย ที่ตั้ง โครงการและการวิเคราะหที่ตั้ง - เขาพบอาจารยที่ปรึกษาและคนควา / วิเคราะหขอมูลภายใตคํา แนะนําของอาจารยที่ปรึกษา

October

10

- เขาพบอาจารยที่ปรึกษาและคนควา / วิเคราะหขอมูลภายใตคํา แนะนําของอาจารยที่ปรึกษา - นําเสนอความคืบหนาของ Proposal / Research Process Programming Development และ Conceptual Idea - ตรวจเตรียมศิลปนิพนธครั้งที่ 2


RESEARCH SCHEDULE Term 1 /2563

1/63

November

11

- เขาพบอาจารยที่ปรึกษาและคนควา / วิเคราะหขอมูลภายใตคํา แนะนําของอาจารยที่ปรึกษา - นําเสนอความคืบหนาของ Proposal / Research Process Presentation Programming Developmentและ Conceptual Idea

December

12

- เขาพบอาจารยที่ปรึกษาและคนควา / วิเคราะหขอมูลภายใตคํา แนะนําของอาจารยที่ปรึกษา - นําเสนอความคืบหนาของ Proposal / Research Process Presentation Programming DevelopmentและConceptual Idea - ตรวจเตรียมศิลปนิพนธครั้งที่ 3


RESEARCH SCHEDULE Term 2 /2564

2/64

March

3

ตรวจเตรียมศิลปนิพนธครั้งที่ 1 -Design Process & Design Development -พัฒนาและนําเสนอการวางผัง Planning สรุปแนวคิดการออกแบบ Design Concept -นําเสนอการพัฒนาแนวความคิดไปสูการออกแบบและการออกแบบ Design ดวยการนําเสนอ Plans / Elevations / Perspectives / Models -เสนอรูปแบบของการกอสรางในบางสวนที฀เปนจุดเดนของการออกแบบ

April

4

ตรวจเตรียมศิลปนิพนธครั้งที่ 2 (ออนไลน) -Design Process & Design Development -พัฒนาและสรุปการวางผัง Planning -สรุปแนวคิดการออกแบบ Design Concept -นําเสนอการพัฒนาแนวความคิดไปสูการออกแบบและสรุปการออกแบบ Design ดวยการนําเสนอ Plans / Elevations / Perspectives / Models -สรุป Construction Concept -เสนอรูปแบบของการกอสรางในบางสวนที฀เปนจุดเดนของการออกแบบ

May

5

ตรวจเตรียมศิลปนิพนธครั้งที่3 -Design Finalize Final Presentation -สรุปเนื้องานทั้งหมดทั้ง2เทอม -ทํา Presentation ใหไดมาตรฐาน -Working Drawing : Planning Elevations Details : สงใหอาจารยที่ปรึกษา -สวนเนื้อหาเลมศิลปนิพนธครบทุกบท


RESEARCH SCHEDULE Term 2 /2564

2/64



2 TARGETS GROUP AREA REQUIREMENTS AND REIATIOSHIP CASE STYDY LOGATION


TARGETS

TARGETS GROUP อายุเฉลี่ย 25-60 ป ฐานเงินเดิน 50000+ ไมมีหนี้สิน ตองการปรับเปลื่ยนพฤติกรรม การนอนและลดความเครียด

Working ag female

24%

76%

male

เพศหญิงจะเปนโรคนอนไมหลับมากกวาเพศชาย

45%

older

48%


S GROUP

ge

short-term insomnia

7%

37%

School age

Transientinsomnia

53%

10%

Long-term or Chronic insomnia


AREA REQUIREMENTS AND REIATIOSHIP ACTIVITIES RELAX

PROGRAMING SPA

Aroma pouring Hydrotherapy EXERCISE

EXERCISE

yoga Fitness COOKING

COOKING

Healthy food THERAPY Music therapy Natural healing Consultation room Meditation room

THERAPY


AREA REQUIREMENTS AND REIATIOSHIP ACTIVITIES ROOM

PROGRAMING ROOM

Deluxe Suite Connecting PUBLIC Reception

PUBLIC


CASE STYDY

BDMS Wellness Clinic เปนโครงการที่จะชวยตอบสนองวิถีชีวิตของสังคมยุคใหม โดยเปนการใหบริการดูแลสุขภาพที่มุงเนนการดูแลปองกันและ เสริมสรางสภาวะสุขภาพใหผูมารับบริการมีชีวิตยืนยาวอยางมีคุณภาพ โดยการรวบรวมแพทยผูมีความรูความชำนาญจาก ทั่วโลกและเทคโนโลยีในการปฏิบัติงานทางการแพทยที่ทันสมัยเพื่อพัฒนาใหเปน “คลินิกสุขภาพดานดูแลปองกันและฟน ฟูสุขภาพ” ในเอเชียนายแพทยปราเสริฐ ปราสาททองโอสท ผูกอตั้งบริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน) ผูซึ่งรัก การสะสมงานศิลปะและชิ้นงานที่มีคุณคาในเชิงประวัติศาสตรสวนหนึ่งของโครงกระดูกไดโนเสารจำลองจากพิพิธภัณฑที่จัง หวัดสุโขทัยไดถูกนำมาแสดงอยูใจกลางกรุงเทพมหานครที่บีดีเอ็มเอส เวลเนส คลินิก เพื่อใหคนทั่วไปสามารถเขาถึงและศึก ษาไดใกลชิดยิ่งขึ้น


CASE STYDY

Villa Stephanie at Brenners Park-Hotel & Spa Brenners Park-Hotel & Spa ตั้งอยูใจกลางเมือง Baden-Baden ซึ่งเปนเมืองสปาที่มีชื่อเสียงของ เยอรมันเปนโอเอซิสในเมืองในสวนสวนตัวที่หันหนาไปทาง Lichtentaler Allee ที่มีชื่อเสียง การผสมผสานระ หวางความสงางามประเพณีและแนวคิดที่สรางสรรคในอนาคตเปนจุดเดนของรีสอรทในเมืองแหงนี้

E


LOGATION

ตัวอาคารตั้งอยูบริเวณตรงขามเดอะมอลลงามวงศวาน โดยมีทางเขาตัวอาคารติดกบถนงามวงศวานซึ่งสะดวก ตอการเดินทางนอกจากนั้นยังมีโรงพยาบาลอยูตรงขาม ซึ่งหางจากบริเวณอาคารเพียง 140 เมตร สะดวกตอ การมีอุบัติเหตุฉุกเฉิน N

N

W

E

ทางหนาโคการเปนทิศเหนือ ซายทิศตะวันตก ขวาทิศตะวันออก

W

E

พระอาทิตขึ้นทางทิศตะวันออก ตกทางทิศตะวันตก แสงแดดที่เขาแรงสุดคือดานหนา


Lekkomes Anusorn School 30/39-50 หมู 2 ถนน งามวงศวาน ตำบล บางเขน อำเภอ เมืองนนบุรี จังหวัด นนทบุรี 11000

Lekkomes Anusorn School

N

N

W

E

ทางลมขาทางทิศตะวันตกเฉียงใต

W

บริเวณภายในโครงการ มีพื้นที่ที่งหมดประมาณ 5 ไร พื้นที่สีเขียว 60 % พื้นที่อาคาร 40 %



3 DESIGN THEORY AND COMCEPT


INSOMNIA


A

INSOMNIA นอนไมหลับ : โรคแหงยุคสมัยในมุมมองแพทยและนักจิตวิทยา

โรคนอนไมหลับ(Insomnia)นี้สามารถเกิดขึ้นไดกับทุกเพศ ทุกวัยแตมักพบมากในผูหญิงและคนชราซึ่งโรคนอนไมหลับนี้อาจ สงผลใหเกิดการสูญเสียสมรรถภาพในการทำงาน ออนเพลีย ขาดสมาธิ นอกจากนี้อาจสงผลใหเกิดปญหาดานความทรงจำ (Memory Problems) ภาวะซึมเศรา(Depression) อารมณฉุนเฉียวงาย(Irritability) ภูมิคุมกันต่ำอีกทั้งเปนปจจัย เสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจ


How many hours should we sleep?


Sleep with age แลวคนเราควรนอนวันละกี่ชั่วโมง? โดยปกติ คนเรามีชั่วโมงการนอนที่แตกตางกันตามชวงอายุ โดยจำนวนชั่วโมง ที่เหมาะสมสำหรับการนอนหลับพักผอนที่เพียงพอในแตละวัยเปนดังนี้ เด็กแรกเกิด : 14-17 ชั่วโมงตอวัน อายุ 1 ป : 14 ชั่วโมงตอวัน อายุ 2 ป : 12-14 ชั่วโมงตอวัน อายุ 3-5 ป : 10-13 ชั่วโมงตอวัน อายุ 6-13 ป : 9-11 ชั่วโมงตอวัน อายุ 14-17 ป : 8-10 ชั่วโมงตอวัน ผูใหญ : 7-9 ชั่วโมงตอวัน สวนผูสูงอายุจะมีชั่วโมงการนอนที่สั้นลง เพราะรางกายสามารถผลิตสาร ที่ชวยใหนอนหลับไดลดนอยลง


Causes of insomnia อาจเกิดไดจากหลายปจจัย ตั้งแตปจจัยทางดานรางกาย จิตใจ สภาพแวดลอมและอุปนิสัยการนอน (Sleep hygiene) - ปจจัยทางดานรางกาย อาจมีความผิดปกติระหวางการนอน เชน มีภาวะหยุดหายใจขณะหลับ (Sleep apnea) หรือมีปญหาจากอาการอื่น เชน อาการเจ็บปวย มีไข โรคกรดไหลยอน บางคนอาจมีระบบประสาทที่ตื่นตัวมากกวาปกติจึงทำใหหลับยาก

- ปจจัยทางดานจิตใจ อาจเกิดจากความเครียด ความวิตกกังวล โรคซึมเศรา โรคไบโพลาร - ปจจัยทางดานสิ่งแวดลอม ซึ่งเกิดจากการมีเสียงรบกวน หรือมีแสงไฟ รบกวน - อุปนิสัยการนอนที่ไมถูกสุขลักษณะ โดยการทำกิจกรรมตางๆที่สงผล ใหนอนไมหลับ เชน การเลนเกม การดื่มเครื่องดื่มที่มีสารกระตุนคาเฟอีน


Disease symptoms อาการของโรคนอนไมหลับนี้ สามารถพบไดหลายรูปแบบ เชน - ตองใชเวลานานกวาจะนอนหลับได - ชั่วโมงนอนนอยเกินไป (ดูหัวขอดานบน เรื่องระยะเวลาการนอนที่ เหมาะสมในแตละอายุ) - หลับแลวตื่นบอยๆ (Interrupted sleep) - ตื่นแลวไมสามารถนอนหลับไดอีก - งวงนอนในเวลากลางวัน แตนอนไมหลับในเวลากลางคืน เหลานี้ เปนตน

การปองกันอาการนอนไมหลับ Insomnia สามารถปองกันไดดวยการฝกอุปนิสัยในการนอนหลับที่ดี โดยทำดังนี้ - นอนหลับเมื่อรูสึกงวง แตหากนอนไมหลับใหทำกิจกรรมที่ผอนคลาย เชน ฟงเพลง ทำกิจกรรมที่ชวยใหผอนคลายกอนนอน หลักเลี่ยงเรื่องที่สงผลใหเกิดความเครียดและ ทำใหรูสึกตื่นตัว เชน เลนเกมส - เขานอนตื่นนอนใหเปนเวลา - หลีกเลี่ยงการงีบหลับในตอนกลางวัน - ออกกำลังกายสม่ำเสมอ แตหลีกเลี่ยงการออกกำลังกายกอนนอน - จัดสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการนอน เชน อุณหภูมิเหมาะสม เงียบ - หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มประเภทที่มีสารกระตุนคาเฟอีน - งดดื่มเครื่องดื่มประเภทแอลกอฮอล สูบบุหรี่ และสารเสพติด


The severity of insomnia ความรุนแรงของโรคนอนไมหลับ สามารถแบงออกไดเปน 3 ระดับดังนี้ 1.อาการนอนไมหลับชั่วคราว (Transient insomnia) มักพบในชวงการเปลี่ยนแปลงชีวิตประจำวัน สิ่งแวดลอมที่ไมคุนชิน หรืออาจเกิดจากอาการ Jet lag เมื่อเดินทางขามเสนแบงเวลาโลก (Time zone) 2.อาการนอนไมหลับระยะสั้น (Short-term insomnia) มักเกิดเพียง 2-3 วันจนถึง 3 สัปดาห อาจพบไดเนื่องจากเกิดภาวะเครียด 3.อาการนอนไมหลับเรื้อรัง (Long-term or Chronic insomnia) เกิดขึ้นเปนระยะเวลานานอาจเปนเดือน หรือเปนป ซึ่งอาจเกิดผลจากการใชยา การเจ็บปวยเรื้อรังไมวาทางดานรางกายและจิตใจ หรืออาจเกิดจากความผิดปกติ ของการนอนหลับโดยตรง (Primary sleep disorder)

Insomnia trea


atment

Insomnia diagnosis การวินิจฉัยโรคนอนไมหลับ แพทยจะทำการซักประวัติจากตัวผูปวยและบุคคลที่นอนใกลชิด เพื่อขอมูลที่เกี่ยว กับชวงที่ผูปวยหลับวามีอาการอยางไรบาง เชน มีปญหาการนอนอยางไร มีอาการ มานานเทาไรรวมถึงสภาพแวดลอมการนอน และพิจารณาแยกโรคทางจิตเวชและ อายุรกรรมที่อาจทำใหนอนหลับไดไมดี สวนการตรวจสภาพสรีรวิทยาการนอนหลับดวยเครื่อง Polysomnograph หรือเรียกวางายๆ วา การตรวจการนอนหลับ (Sleep Test) ควรทำในผูปวย ที่ไมตอบสนองตอการรักษาเชน รักษานานกวา 6 เดือนแลวอาการยังไมดีขึ้นหรือ จากการซักประวัติแพทยสงสัยวาอาจเกิดจากปญหาของโรคที่เกี่ยวของกับการนอน โดยตรง เชน Sleep apnea syndrome หรือ PLMD

การรักษาโรคนอนไมหลับ - การรักษาโดยไมใชยาโดยการแนะนำใหผูปวยปฏิบัติตามหลักสุขลักษณะการนอนหลับ - การใชยาชวยในการนอนหลับ ตองทำรวมกับการนอนที่ถูกสุขลักษณะดวยเสมอ ซึ่งควร ใชยาในกรณีที่มีความรุนแรง และควรใชยาใหระยะสั้นที่สุด ไมควรใชยาเกิน 2-3 สัปดาห


What is the best bedroom temp สุขลักษณะและปจจัยทางดาน สิ่งแวดลอมในการนอน พื้นฐานของการสรางสภาพแวดลอมในหองนอนที่เหมาะสมที่สุด งานวิจัยลาสุดที่ใหขอมูลเชิงลึกใหมๆและนำไปใชไดจริงวาสิ่งใดที่ ดีที่สุดสำหรับคนสวนใหญในพื้นที่นอนหลับเมื่อตองเผชิญกับแสง เสียงพื้นผิวเสียงและอุณหภูมิ นักวิทยาศาสตรจากSan Jose State Research Foundationและ NASA Ames Research Foundation ไดทำการทบทวนงานวิจัยทางวิทยาศาสตร เกี่ยวกับสิ่งที่สรางสภาพแวดลอมการนอนหลับที่เหมาะสมที่สุด พวกเขาพบวาชวงอุณหภูมิในอุดมคติกวางมากคือระหวาง 17-25 องศาเซลเซียส งานวิจัยอื่น ๆ เมื่อเร็ว ๆ นี้ไดพิจารณาถึงผลกระทบของสภาพ อากาศบนเตียงที่มีตอการนอนหลับโดยเฉพาะที่การกระจาย ความรอนและความรูสึกของอุณหภูมิทั่วรางกายภายในเตียง การศึกษานี้พบวาอุณหภูมิของเตียงรอบแกนกลางของรางกาย เปนการวัดที่ดีที่สุดในการกำหนดอุณหภูมิการนอนหลับที่สบาย และเหมาะสมที่สุด

อุณหภูมิหองนอ


perature?

อนที่ดีที่สุดคือ ?

ภูมิอากาศของเครื่องนอน สิ่งที่คุณสวมใสนอนที่นอนและหมอนโดยผาปูที่นอนของคุณผาปูที่นอนและ ผาคลุมและทั้งหมด ทุกวันนี้คุณไมเพียง แตสามารถสรางอิทธิพลตอสภาพ อากาศบนเตียงของคุณตามประเภทของวัสดุที่คุณใชในเครื่องนอนเทานั้น อุณหภูมิผิวและการไหลเวียนของอากาศและดูอุณหภูมิของสภาพแวดลอม การนอนหลับที่เหมาะสมเปนปจจัยที่มีสวนรวมกันระหวางปจจัยเหลานี้



การจัดหองนอน 1. หองนอนกับเสียง : หองนอนควรอยูหางไกลชุมชน หองนอนที่ดีหรือที่เหมาะสมควรตั้งอยูในบริเวณที่ สงบเงียบไมมีเสียงดังรบกวน 2. หองนอนกับแสง : เลือกทิศหองนอนใหดีเลือกหอง ที่หองนอนอยูที่ทิศเหนือ เพราะเปนทิศที่โดนแดดนอยที่สุด 3. หองนอนกับโทนสี : โทนสีใหเหมาะสมควรเปนโทนสีสบายตา ใหอารมณผอนคลาย เชน สีขาวหรือสีฟา ควรใชสีที่ไมฉูดฉาดเพื่อ สรางใหเกิดความรูสึกอยากพักผอน 4. หองนอนกับอุณหภูมิ :อุณหภูมิหองนอนที่เหมาะสมสำหรับ การนอนหลับอยูที่ประมาณ 17-25 องศาเซลเซียสการใชเครื่อง ฟอกอากาศ ในหองนอนจะชวยเพิ่มปริมาณออกซิเจนใหเกิดความ สมดุลและนอนหลับไดยาวนานขึ้น


5 colors that help you sleep งานวิจัยสนับสนุนโดยเครือโรงเเรมTravelodgeของประเทศอังกฤษไดทำ การวิจัยหองนอนทั่วประเทศมากกวา2000หองเพื่อที่จะหาวาสีใดทำใหคุณ ภาพการนอนดีขึ้นเเละสีใดที่สงผลเสียตอการนอน


ฟาออนถือเปนสีที่ทำใหการนอนหลับมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพราะสีฟาจะชวยทำใหเรารูสึกสงบเย็นสบายปลอบประโลมใจ และยังลดการเกิดฝนรายไดอีกดวยนักวิจัยยังพบอีกวาผูที่นอน หลับในหองนอนสีฟาจะสามารถนอนหลับไดนานถึงง7ชม.52นาที

สีเหลืองเปนสีแหงความอบอุน สบายใจจะสังเกตุไดวาเมื่อเราอยูในหอง ที่ทาดวยสีเหลืองเรามักจะรูสึกผอนคลายไดงายกวาสีอื่นอีกทั้งยังรูสึก กระปรี้กระเปราอีกดวยผูนอนจะสามารถนอนหลับได 7 ชม. 40 นาที

สีเขียวทำใหรูสึกสงบสบายใจตอผูอยูอาศัยสำหรับผูที่ชื่นชอบสีเขียมากกวา สีฟานั้นนอกจากสีเขียวปกติคาเฉลี่ยของผูที่นอนในหองที่ใชสีเขียวเปนหลัก จะสามารถนอนหลับสนิทประมาณ 7 ชม. 36 นาที

สีเงินถึงแมจะเปนสีที่สื่อถึงความหรูหราเชนเดียวกับสีทองแตสีเงิน จะใหความรูสึกสงบและชวยใหนอนหลับเร็วกวาสีทองอีกทั้งยังชวย กระตุนใหผูอาศัยรูสึกอยากทำงานมากขึ้นอีกดวยโดยทั่วไปผูที่นอน ในหองนอนสีเงินจะสามารถหลับสนิทอยูที่ประมาณ 7 ชม. 33 นาที

สีสมเปนสีโทนอุนอีกสีหนึ่งที่สงผลใหเกิดความรูสึกอบอุนและ สบายใจ นอกจากนี้สีสมยังมีสวนกระตุนใหการยอยอาหารของเราดีขึ้นและชวย วอรม อัพกระเพาะของเราใหพรอมตอการนอนโดยคุณภาพของการนอน ของเราจะสามารถหลับสนิทไดถึง 7 ชม. 28 นาที ตอคืน


Bedding that helps to sleep

Memory foam

ที่นอนเพื่อสุขภาพ แกอาการปวดหลัง เหมาะสำหรับผูที่ ประสบปญหากับอาการ ปวดเมื่อย บริเวณหลังและลำคอ ทำจากแผนโฟมที่ผลิตจากใยสังเคราะหและหนาแนนกวา โฟมทั่วไป

ChiliPad™ แผนรองอัจฉริยะทำความรอนและความเย็น แบบใชน้ำควบคุมอุณหภูมิที่ดีที่สุดใหกับเตียง

allergry care ออกแบบมาเพื่อแกปญหาภูมิแพจาก ฝุนในหองและมืดสนิท


หลอดไฟ LED

ปลอดแสงรังสีอุตราไวโอเลตและ ประหยัดพลังงาน หลอดไฟ led สงผลดีตอนาิกาชีวิต ชวยใหการ นอนดีขึ้น

ชุดผาปู

cbcottonชุดผาปู1000เสน ปกกัน ไรฝุน นุมสบาย

cylence zounbdlock วัสดุซับเสียงเขาออก ผนังกันเสียงเปนฉนวน แบบแผนสีเทาดำหุมดวยวัสดุกันความชื้น ซึ่งไมใสสารไมอุมน้ำใหสำหรับกันเสียงทะลุผาน ผานเขาออกผนัง


Hyperbaric ไฮเปอรแบริค (hbo)

การบำบัดดวยออกซิเจนความกดบรรยากาศสูงไดรับการรับรองจากสมาคมแพทยเวชศาสตรใตน้ำ และเวชศาสตรความดันบรรยากาศสูง (Undersea and Hyperbaric Medical Society หรือ UHMS) ใหใชรักษาโรคตางๆ


Floating treatments In a capsule tank เกลือ Epsom

ทรีตเมนตลอยตัว ไมใชวาทำที่ไหนก็ได เพราะตัวแคปซูลสีขาวไดรับการออกแบบมาเปนพิเศษ มีลักษณะรูปทรงไข ภายในเปนน้ำละลายเกลือ Epsom ที่มีความหนาแนนถึง 600 กิโลกรัม /ลูกบาศกเมตร ความลึกประมาณ 10 นิ้ว ดวยความหนาแนนขนาดนี้ทำใหคุณลอยตัวเหนือผิวน้ำ ไดอยางไรกังวล


ผูดำเนินงานการวิจัย รศ.นพ.ณัฐพงษ เจียมจริยธรรม หัวหนาศูนยนิทราเวช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ สภากาชาดไทย พญ.ธัญญรัตน อโนทัยสินทวี แพทยเวชศาสตรครอบครัว โรงพยาบาลรามาธิบดี พิมสิริ เรืองจิรนันท นักจิตวิทยาที่ปรึกษาอิสระ นพ.โชติมันต ชินวรารักษ จิตแพทยประจำศูนยนิทราเวช Dr. Michael Bruce The Sleep Doctor


DESIGN GUIDELINES


CASE STYDY

BDMS Wellness Clinic เปนโครงการที่จะชวยตอบสนองวิถีชีวิตของสังคมยุคใหม โดยเปนการใหบริการดูแลสุขภาพที่มุงเนนการดูแลปองกันและ เสริมสรางสภาวะสุขภาพใหผูมารับบริการมีชีวิตยืนยาวอยางมีคุณภาพ โดยการรวบรวมแพทยผูมีความรูความชำนาญจาก ทั่วโลกและเทคโนโลยีในการปฏิบัติงานทางการแพทยที่ทันสมัยเพื่อพัฒนาใหเปน “คลินิกสุขภาพดานดูแลปองกันและฟน ฟูสุขภาพ” ในเอเชียนายแพทยปราเสริฐ ปราสาททองโอสท ผูกอตั้งบริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน) ผูซึ่งรัก การสะสมงานศิลปะและชิ้นงานที่มีคุณคาในเชิงประวัติศาสตรสวนหนึ่งของโครงกระดูกไดโนเสารจำลองจากพิพิธภัณฑที่จัง หวัดสุโขทัยไดถูกนำมาแสดงอยูใจกลางกรุงเทพมหานครที่บีดีเอ็มเอส เวลเนส คลินิก เพื่อใหคนทั่วไปสามารถเขาถึงและศึก ษาไดใกลชิดยิ่งขึ้น


CASE STYDY

Villa Stephanie at Brenners Park-Hotel & Spa Brenners Park-Hotel & Spa ตั้งอยูใจกลางเมือง Baden-Baden ซึ่งเปนเมืองสปาที่มีชื่อเสียงของ เยอรมันเปนโอเอซิสในเมืองในสวนสวนตัวที่หันหนาไปทาง Lichtentaler Allee ที่มีชื่อเสียง การผสมผสานระ หวางความสงางามประเพณีและแนวคิดที่สรางสรรคในอนาคตเปนจุดเดนของรีสอรทในเมืองแหงนี้



4 ACTIVITIES KEYWORDS CONCEPT MOOD ZONING PLAN PERSPECTIVE BRANDING


ACTIVIT


TIES

SPA

สปาเพื่อสุขภาพบำบัดผอนคลาย ความเครียดดวย อโรมาเทอราพี วารีบำบัด เซนสปา FITNESS

ศูนยรวมเครื่องออกกำลังกาย ที่ชวยใหสุขภาพรางกายและจิตใจ ดีขึ้น MUSIC THERAPY

ดนตรีบำบัดฟงเพลงลดความเครียด และความกังวล อาการเจ็บปวย และลดการวิตกกังวล CONSULTATION ROOM

หองทำสมาธิเพื่อฝกจิตใจใหมีความสงบ ไรวิตกกังวล ลดความตึงเครียด MEDITATION ROOM

หองทำสมาธิเพื่อฝกจิตใจใหมีความสงบ ไรวิตกกังวล ลดความตึงเครียด HEALTHY FOOD

อาหารเพื่อสุขภาพจัดเปนคอรสทเพื่อให กลุมลูกคาไดรับสารอาหารอยางเพียงพอ และเหมาะสมในแตละมื้อ

YOGA

โยคะเพื่อการนอนหลับ ทำรูสึกเบาสบายมีทั้งหมด 9 ทาดวยกันที่ชวยใหนอนหลับ


SPA

การบำบัดดวยการนวด การบำบัดดวยการนวดสามารถชวยผอนคลาย ความเครียดตางๆของรางกายไดเปนการบำบัด ที่ไมใชยาเคมีแตจะใชสมุนไพรและองคความรู จากธรรมชาติ เพื่อไมใหเกิดผลขางเคียง

กลิ่นน้ำมันหอมชวยบำบัดจิตใจ

การนวดสปาชวยใหนอนหลับไดงายขึ้น นวดน้ำมันสปานั้นจะมีขั้นตอนของการสัมผัสจาก การบีบนวดสปาทั้งในบริเวณฝามือฝาเทาและบริเวณ ศรีษะซึ่งอวัยวสวนที่มีประสาทสัมผัสที่สำคัญของ รางกายอยูการบีบนวดคลึงเบาๆพรอมกับการใช น้ำมันหอมระเหยในการสรางบรรยากาศและการนวด น้ำมันสปาดวยก็จะยิ่งสรางความรูสึกที่ผอนคลายได มากยิ่งขึ้น

ผูเชี่ยวชาญหลายคนเชื่อวา โมเลกุลขนาดเล็กของกลิ่นน้ำมันหอมหอมระเหย จะไปกระตุนการทำงานของประสาทรับ กลิ่นภายในจมูก และสมองที่ทำหนาที่ดานการรับรูความรูสึก ความทรงจำ และพฤติกรรมสมองจะตอบสนองตอกลิ่น เหลานั้น ดวยการหลั่งสารตางๆ ออกมาเพื่อบำบัดสวนตางๆ ของรางกาย เชน น้ำมันหอมกลิ่นมะลิ จะกระตุนใหสมอง หลั่ง melatonin ที่ชวยใหหลับสบายออกมา หรือ peppermint และ rosemary ที่จะชวยทำใหเรารู สึกตื่นตัว สดชื่นขึ้น




YOGA

นอกจากชวยเผาผลาญไขมันชวยกระชับ รูปรางไดแลวยังเปนการออกกำลังกายที่ ชวยทำใหดึงสติกลับมาอยูกับตัวเองมีสมาธิ มากขึ้นจิตใจสงบชวยใหรูสึกผอนคลายจาก ความเครียด

https://eclipsestudiobkk.com/blog/read/49

ปจจุบันหลายคนกลับประสบปญหาการนอน เชน นอนไมหลับหรือหลับๆ ตื่นๆ กลางดึกเปนประจํา ทําใหรางกายพักผอนไมเพียงพอ แตเรามี ทาโยคะ ชวยใหนอนหลับ ผอนคลาย หลับสบาย หลับลึก ยิ่งขึ้น


MEDITATION

การนั่งสมาธินั้นเปนวิธีพัฒนาตนเองและมี ประโยชนชวยทำใหจิตเรานิ่งและสามารถ เรียนหรือทำงานไดมีประสิทธิภาพขึ้นแต สำหรับการนอนหลับวิธีนั่งสมาธิใหจิตนิ่ง มีสวนชวยเรื่องการนอนของเรา

รายละเอียดจากการผลการศึกษาที่ตีพิมพ วารสารสมาคมการแพทยอเมริกัน(JAMA) โดยทำการทดลองในกลุมผูใหญจำนวน49คนที่ มีปญหาดานการนอนหลับระดับปานกลางและ ใหกลุมผูทดลองบางคนทำสมาธิกอนนอนเปน เวลา 6 สัปดาหผลการศึกษาพบวาผูที่ทำสมาธิ กอนนอนหลับงายขึ้นอาการนอนไมหลับลดลง และปญหาเหนื่อยลาชวงกลางวันลดลงดวย


MUSIC THERAPY

เสียงดนตรีไมไดทำหนาที่แคใหความบันเทิง เทานั้นแตในฐานะของการเปนเครื่องมือบำ บัดดนตรียังทำหนาที่เปนเสมือนหมอผูชวย ที่ทำงานควบคูกันกับยาตางๆเพื่อใชในการ รักษาผูปวยทั้งในโรคทางจิตใจอยางเชน โรคเครียด โรคซึมเศราฯลฯ

วิจัยทางการแพทยของ Buckwalter et.al 1985 ระบุไววาการรักษาโรคทางจิตใจดวย การใชดนตรีบำบัดจะชวยทำใหลด ความกังวลความกลัวเพิ่มการเคลื่อน ไหวและสรางแรงจูงใจขึ้นมาไดมาก ยิ่งขึ้น


HEALTHY FOOD

การผสมผสานใหไดสัดสวนที่เหมาะสมถูกตองตามความตองการของคนนั้นๆ เพื่อใหรางกายไดรับประโยชนมากที่สุดอาหารเพื่อสุขภาพอาจพูดไดวาอาหาร สุขภาพที่ด(ี HealthyFood)ยึดหลักความสมดุลหลากหลายและปริมาณ ที่เหมาะสมกับกิจกรรมการดำรงชีวิตของคนนั้นๆเปนหลักการกินอาหารสุขภาพ แบบนี้จะทำใหคนรับประทานไมรูสึกถูกจำกัดหรือมีขอแมในชีวิตมากเกินไปถึง แมผูปวยที่เปนโรคตางๆซึ่งตองควบคุมอาหารไมวาจะเปนโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง โรงเกาท หรือโรคไต และอื่นๆ ไดมีทางเลือกและไมขาด ความสุขในการกินและยังสามารถควบคุมโรคไดอีกดวยจากที่เรารูคาการเผาผลาญ พลังงานโดยปกติ(TDEE)



keywords

airy

curve

smooth

breezy


Concept

Elements ธาตุประกอบไปดวย ดิน น้ำ ไฟ ไม ทอง การเกิดธาตุแตละธาตุนั้น เกิดขึ้นไดโดยธรรมชาติซึ่งการเกิดขึ้นของหนึ่งธาตุทำใหเกิดอีกธาตุ ตามมาและแตละธาตุยังจำเปนตอการใชชีวิตประจำวัน เปนวัฏจักร เปรียบเหมือนวัฏจักรการนอนของคนซึ่งการทำกิจวัตรประจำวันนั้น สงผลตอการนอนในระยะยาวเปนวัฏจักรไปถาไมปรับเปลื่ยนก็จะเสีย สมดุลไป

Earth

Water

Fire

Wood

Metal


Interpret the elements Color and the relationship of the five elements

Earth โลกเปนสะเก็ดจากดวงอาทิตย เมื่อเย็นตัวจึงกลายเปนดินสภาพของธาตุนี้เชนเดียวกับดินคือมีความหนักแนน มั่นคง มีเสถียรภาพ ธาตุดิน : สีเหลืองออน, สีเหลืองปนน้ำตาล, สีน้ำตาลออน


Interpret the elements Color and the relationship of the five elements

Water ธาตุน้ำในวิชาโหราศาสตรหมายถึงอารมณ หมายถึงอะไรที่มากระทบอารมณ ในเกิดการเปลื่ยนแปลง และยังใหความสงบสันติ ธาตุน้ำ : สีฟา, สีน้ำเงิน, สีดำ


Interpret the elements Color and the relationship of the five elements

Fire ไฟคือใหกิริยา การกระทำ ปรียบเหมือนไฟแหงดวงอาทิตย ใหพลังงานในการสรางสรรคชีวิต ดังนั้นไฟ จึงเปนตนเหตุกอนอื่นใดทั้งหมด ถาไมมีไฟจากดวงอาทิตย โลกนี้ก็ไมมีคนไมมีสิ่งที่มีชีวิตเกิดขึ้นไดใน ทางนิสัย ธาตุไฟ : สีแดง, สีเหลืองเขม, สีสม, สีมวง, สีชมพู


Interpret the elements Color and the relationship of the five elements

Wood ไม เปรียบเหมือนตนไมใหญซึ่งเติบโตอยูตลอดเวลา บรรยากาศเปนอิสระ ไมถูกตีกรอบ ไมชอบระเบียบแบบแผน ธาตุไม : สีเขียว, สีน้ำตาล


Interpret the elements Color and the relationship of the five elements

Metal ทองคำ โลหะ เปนแรธาตุที่มีควาแข็งแกรง ถูกซอนอยูในดิน จึงมีลักษณะซอนเรน มีระเบียบวินัย ยึดมั่น ธาตุทอง : สีขาว, สีเทา


Relationship of the 5 Elements วัฎจักรสงเสริม (ใหกำเนิด) ธาตุไม เกิด ธาตุไฟ

Wood ธาตุไฟ เกิด ธาตุดิน

Fire

< ไมเปนเชื้อเพลิงใหเกิดไฟ (ไฟ) >

Fire < ไฟมอดก็จะกลายเปนเถา (ดิน) >

Earth


ธาตุดิน เกิด ธาตุทอง

Earth ธาตุทอง เกิด ธาตุน้ำ

Metal ธาตุน้ำ เกิด ธาตุไม

Water

< ในดินก็จะมีแรธาตุหลายชนิด ทั้งเงิน ทอง เหล็ก (ทอง) >

Metal < โลหะ ในสภาพปกติจะเย็น ทำใหละอองน้ำรวมตัวไดบนผิวโลหะกลายเปนน้ำ >

Water < น้ำ หลอเลี้ยงใหไมเจริญเติบโต >

Wood


Zoning area and elements Project area and their relationship with the elements

Earth

Accommodation Meditation room

Water

Fire

Wood

Metal

Spa Hyper baric

Fitness

Restaurant

Lobby

Music therapy


Zoning area and elements Project area and their relationship with the elements

Accommodation Meditation room

Earth

แสดงถึงความสงบนิ่ง มั่นคง

รูสึกสงบกับการนอนและยังชวย ใหมีสมาธิ โทนสีที่ใชในธาตุนั้น ยังชวยใหการนอนนั้นมีประสิทธิ ภาพเพิ่มมากขึ้น

รูปทรงสี่เหลี่ยมนั้นเปนรูปทรงที่ดีที่สุด ของการนอนรูสึกมั่นคงไมมีการเคลีื่อน ไหว


Zoning area and elements Project area and their relationship with the elements

Spa Hyper baric

Water การเปลื่ยนแปลงในรางกาย ผอนคลาย การคลายเครียด แสดงถึงความสงบ การเปลื่ยนแปลง

รูปทรงของคลื่นนั้นชวยใหรูสึก ถึงความสบาย และ ผอนคลาย


Zoning area and elements Project area and their relationship with the elements

Fitness Music therapy

Fire การเผาผลาญการออกกำลังกาย แลวการใชพลังงานตางๆ พลังงาน แสงสวาง

รูปทรงสามเหลี่ยมเปรียบเหมือนรูป ทรงพีระมิดที่บงบอกถึงพลังงานใน และยังใหความรูสึกถึงความรอนแรง


Zoning area and elements Project area and their relationship with the elements

Restaurant

Wood

ความคิดสรางสรรค และการเติบโต

หองอาหารเปนหองที่กระตุน ความคิดสรางสรรคมากที่สุด ชวงเวลาแหงความผอนคลาย

รูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผานั้นบงบอก ถึงความยาวใหญของตนไมซึ่ง เหมือนกันการเติบดตขอความคิด และรางกาย


Zoning area and elements Project area and their relationship with the elements

Lobby

Metal

ความหรูหรา ระเบียบวินัย ความยึดมั่น

ล็อบบี้เปนจุดเริ่มตนของโครงการ ซึ่งเปนจุดที่ตองมีความเปนระเบียบ และใหความนาเชื่อถือไดมากที่สุด

รูปทรงวงกลม เปนรูปทรงที่ใหความ รูสึกถึงความผอนมากที่สุดจึงเลือกใช ตั้งแตเริ่มตนของโครงการ


MOOD


Lobby

Metal


Restaurant

Wood


Fitness

Fire


Spa

Water


Accommodation ----

Earth


LAY- OUT PLAN


LAY- OUT PLAN

44000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

17525

5000 5000 5000 1250 5000 5000 5000 5000

67250

5000

5000

5000

4000

4000

4000

2000

4000

100

4000

4000 8000

1 FL MASTER PLAN

18655 13000

6600

3350

1050

2260


LAY- OUT PLAN

44000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

17525

5000 5000 5000 1250 5000 5000 5000 5000

67250

5000

5000

5000

4000

4000

4000

2000

4000

4000

4000 8000

2 FL MASTER PLAN

18655 13000

6600

3350

1050

4000


LAY- OUT PLAN

44000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

2000

3 FL MASTER PLAN

18655 13000

6600

3350

1050

4000


ZONING


44000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

17525

5000

4000

4000

4000

2000

4000

100 5000

5000

5000

Multipurpose yard

5000

5000

5000

1250

classroom

5000

67250

5000

5000

Cafeteria

4000

4000 8000

1 FL MASTER PLAN

18655 13000

6600

3350

1050

2260


44000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

17525

5000

5000

4000

4000

4000

2000

4000 5000 5000 5000 5000

5000

5000

1250

classroom

5000

67250

5000

classroom

4000

4000 8000

2 FL MASTER PLAN

18655 13000

6600

3350

1050

4000


44000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

4000

2000

classroom

3 FL MASTER PLAN

18655 13000

6600

3350

1050

4000


NEWZONING





























LOBBY



LOBBY



RESTAURANT



RESTAURANT



RESTAURANT



SPA SHOP



SPA SHOP



SPA



SPA



HYPERBARIC



EPSOM



FITNESS



BEDROOM TYPE 1



BEDROOM TYPE 1



BEDROOM TYPE 2



BEDROOM TYPE 2


REP

Wel l ness


OSE

s & R es or t


REPOSE Wellness & Res o r t

R E P O S E

W E L L N E S S & R E S O R T

Phone number Email ID Line Fa c e b o o k

R E P O S E W E L L N E S S & R E S O R T

Key card


ZZ

PLEASE Z

DO NOT DISTURB

CLEAN MY ROOM

REPOSE

REPOSE

Wellness & Res or t

We llne ss & R e s or t


Milk

Milk

Milk

Milk

Tea Tea

Menu name Various ingredients The benefits of this menu

Coffee Coffee

Fruit Fruit


REPOSE

Menu name Various ingredients The benefits of this menu

REPOSE

REPOSE

REPOSE

Rep o s e Restaurant

Menu name Various ingredients The benefits of this menu


WEB


SITE


REPO Wel l n es s

Hotel package

Contact the property

Consult a doctor


OSE & R e s or t

Restaurant

Spa

Hyperbetik machine

Tank machine

EN

Book


REPO SE CAFE

Cafe menu Categor y


Menu Dr ink

Bre ad

c ake Donut Drink


REPO SE Restaurant Menu


Rep os e Restaurant

Category

He althy fo o d Single dish Sle ep fo o d S et me al


B

REPO SE Spa

P

P


Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background Background

Product

Program

R E P O S E

W E L L N E S S & R E S O R T R E P O S E

REPOSE We lln e ss & R e s or t

Serum

W E L L N E S S & R E S O R T

W E L L N E S S & R E S O R T

REPOSE

We l l n e ss & R e s o r t

We l l n e ss & R e s o r t

Lavender W E L L N E S S & R E S O R T

W E L L N E S S & R E S O R T

R E P O S E

REPOSE

Rosemary W E L L N E S S & R E S O R T

R E P O S E

W E L L N E S S & R E S O R T

REPOSE We l l n e ss & R e s o r t

Peppermint W E L L N E S S & R E S O R T


บรรณานุกรม https://www.nksleepcare.com/blog/what-is-insomnia/ https://www.the101.world/insomnia_ep-1/ https://www.nksleepcare.com/blog/insomnia-effects/ https://www.nksleepcare.com/blog/snoring-osa-treatment/ https://www.mytheras.com/insomnia-massage/ https://www.duckingtiger.com/how-to-choose-the-correct-pillow/ https://thesleepdoctor.com/?cn-reloaded=1 https://thesleepdoctor.com/products/resources/ https://www.thinklite.co.th/technology/dimming/ https://myhealthcare.in.th/ https://www.paolohospital.com/th-TH/phahol/Article/Details/

หนังสือ


ประวัติผูวิจัย ชื่อ - สกุล รหัสนักศึกษา การศึกษา

จุฑาทิพย โมรมนตรี 5901715 นักศึกษาชั้นปที่ 4 สาขาออกแบบภายใน

ปการศึกษา การติดตอ

2563 โทรศัพท 082-007-5281 jutatip46120@hotmail.com ID : je225014



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.