GUNPLA COMMUNITY PROJECT BOOK

Page 1

GUNPLA COMMUNITY

GUNPLA GUNDAM PLASTIC MODEL


PROJECT NAME INTRODUCE ABOUT THESIS ประเภทของงานศิลปนิพลธ์ ประเภทงานออกแบบภายในอาคาร ชื�อโครงการ GUNPLA COMMUNITY ผูด้ าํ เนินโครงการศิลปนิพลธ์ นาย จิรวัฒก์ โตบุบญ ุ พา รหัส ������� นักศึกษาชัน� ปี ท�ี � สาขาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ ที�ปรึกษาโครงการศิลปนิพนธ์ อาจารย์ วริศว์ สินสืบผล


สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมตั ใิ ห้นบั ศิลปนิพลธ์ฉบับนีเ� ป็ นส่วนหนึง� ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน

....................................... คณบดีคณะศิลปกรรม (รศ. พิศประไพ สาระศาลิน) คณะกรรมการศศิลปนิพนธ์

....................................... ประธานกรรมการ (อาจารย์ วริศว์ สินสืบผล) ....................................... กรรมการ (อาจารย์ เกรียงศักติ� สุวรรณบูล) ....................................... กรรมการ (อาจารย์ วิรุจน์ ไทยแซ่ม) ....................................... กรรมการ (อาจารย์ ถวัลย์ วงษ์สวรรค์) ....................................... กรรมการ (อาจารย์ อรรถกฤษณ์ อุทยั กาญจน์) ....................................... กรรมการ (อาจารย์ บัณฑิต เนียมทรัพย์) ....................................... กรรมการ (อาจารย์ เรวัฒน์ ชํานาญ) ....................................... กรรมการ (อาจารย์ ณัฐพงศ์ ศรีปงุ วิวฒ ั น์) ....................................... กรรมการ (อาจารย์ ไพลิน โภคทวี)

อาจารย์ท�ีปรึกษาศิลปนิพลธ์

..................................................... (อาจารย์ วริศว์ สินสืบผล)


หัวข้อศิลปนิพนธ์ ชื�อนักศึกษา สาขา อาจารย์ท�ีปรึกษาศิลปนิพลธ์ ปี การศึษา

: : : : :

GUNPLA COMMUNITY นายจิรวัฒก์ โตบุญพา ออกแบบภายใน อาจารย์ วริศว์ สินสืบผล 2562

บทคัดย่อ

GUNPLA หรือ GUNDAM PLASTIC MODELเป็ นของเล่นชุดตัวต่อของเล่นโมเดล จากการ์ตนู ซีรยี ช์ ดุ MOBILE SUIT GUNDAM และในปั จจุบนั PLASTIC MODEL ถือว่าเป็ น งานอดิเรกที�ได้รบั ความนิยมมากมายทั�วโลกแต่ก็ยงั มีผคู้ นบางส่วนที�มองว่า PLASTIC MODEL เป็ นการเล่นของเล่นของเด็กๆ ทัง� ที�การต่อโมเดลในปั จจุบนั ไม่ได้จบแค่การต่อตาม รูปแบบ แต่สามารถตกแต่งต่อเติมส่วนต่างๆของโมเดลให้เป็ นชิน� งานเหมือนการสร้างงาน ศิลปะอีกรูปแบบหนึง� พืน� ที�ของนักต่อ PLAMO ที�ใช้ในการต่อ PLASTIC MODEL มีความจําเป็ นที�จะต้อง ใช้พนื � ทีค� อ่ นข้างมากไม่วา่ จะเรือ� งของการทํางานละเอียดอย่างการทําสีทต�ี อ้ งใช้การระบายอา กาสที�ดรี วมไปถึงการเก็บอุปกรณ์ตา่ งๆแต่พนื � ที�ภายในบ้านของแต่ละคนอาจไม่เพียงพอและ การพบเจอกันของคนทีช� อบงานอดิเรกอย่างการต่อPLASTICMODELเพือ� แรกเปลีย� นหาความ รูแ้ ละเทคนิคใหม่ๆจะมีโอกาสได้เจอกันเฉพาะในงานประกวดหรือนัดเจอกันในร้านค้าต่างๆ จึงตัง� ใจที�จะออกแบบพืน� ที�สาํ หลับคนที�ช�ืนชอบในการต่อ PLASTIC MODEL การนําแนวคิดที�วา่ ถ้า PLASTIC MODEL ไม่ได้เป็ นแค่ของเล่นอีกต่อไป แต่เรา สามารถนําหลักการในการต่อประกอบมาใช้ในการออกแบบเพื�อให้เกิดมุมมองใหม่ๆแก่ผคู้ น และลบทัศนคติเดิมๆที�มีตอ่ ชุดของเล่นชนิดนี � ผ่านทางการออกแบบ INTERIOR การประกบแบบ SNAPFIX คือการประกบติดโดยที�ไม่ตอ้ งใช้ตวั ช่วยให้ตดิ กัน อย่างสนิทเป็ นวิธีท�ีใช้ในวงการ PLASTIC MODEL มาอย่างยาวนานควบคูไ่ ปกับการพัฒนา ตัว JOINT เพื�อให้ผคู้ นสามารถสนุกกับการขยับตัวโมเดลได้อย่างอิสระของโมเดล


ART TEHSIS SUBJECT STUDENT NAME PROGRAM ADVISOR ACADEMIC YEAR

: : : : :

GUNPLA COMMUNITY JIRAWAT TOBOONBHA INTERIOR DESIGN TEACHER WARIS SINSUEBPOL 2019

ABSTRACT

Ganpla or Gundam plastic model are a model toy from cartoon series of Mobile Suit Gundam. Nowadays plastic model use to be a hobbies to many people around the world but there are also many people still think that plastic model are just toy for kid. The space of Plamo player that use to assemble Plastic model acquire lots of space and many color detail which need good ventilation. The meeting of people who has the same hobbies about assembling Ganpla for discussing and learning new trick. So i design this work to give space for a plastic model lover. The concept idea of Plastic model are not just toy but the principle of joints can be use to design building. The design help improve negative point of view about Gundam by perspective of interior. Snap fix is another way which use to assemble ganpla. Which the assemble doesnt need glue to attach each other and this is a form in plastic model society nowadays. This make ganpla or Plastic model have a freestyle movement.



กิตติกรรมประกาศ ผลงานศิลปนิพนธ์โครงการ GUMPLA COMMUNITY นัน� สําเร็จได้ ด้วยบุพการีท�ีชว้ ยสนับสนุนทุนทรัพย์ในการเล่าเรียนและพัฒนางานมาจนถึง ปั จจุบญ ั ขอขอบพระคุณไวใน ณ ที�นีด� ว้ ย ขอขอบพระคุณคณะอาจารย์ภาควิชาศิละและการออกแบบภายใน ทุกท่านที�ให้คาํ ปรึกษาและชีแ� นะแนวทางวิธีการในการพัฒนาโครงการให้มี ประสิทธิภาพจนสําเร็จไปได้ดว้ ยดี ขอขอบพระคุณอาจารย์ วริศว์ สินสืบผล ที�ชว่ ยเหลือและให้คาํ แนะนํามาตลอดตั�งแต่เริม� โครงการ และคอยอบรมสั�งสอนให้ความรูใ้ นการ ทํางานมาโดยตลอด ขอขอบคุณเพื�อนๆ รุน่ พี�และรุน่ น้องทัง� ในและนอกคณะ ที�ให้ความช่วยเหลือในการทํางาน การใช้ชีวิตและให้ประสบตการณ์ ที�ดีตลอดระยะเวลาที�ได้ศกึ ษา ในมหาวิทยาลัย ขอขอบคุณ GUNPAL ที�ทาํ ให้ได้รูว้ า่ งานอดิเรกอย่างการนัง� ต่อ GUNPAL ก็สามารถนํามาสร้างสิ�งต่างๆได้อย่า� งมากมาย จนทําให้ผมทําผล งานชิน� นีอ� อกมาได้สาํ เร็จลุลว่ งต่ามที�ใจต้องการ นาย จิรวัฒก์ โตบุญพา � กรกฎาคม พ.ศ. ����


สารบัญ

บทที� บทคัดย่อภาษาไทย บทคัดย่อภาษาอังกฤษ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญ(ต่อ) สารบัญภาพ บทที� � บทนํา ( CHAPTR 1 ) �.� ที�มาและความสําคัญ (PROJECT BACKGROUND) �.� วัตถุประสงค์ (OBJECTIVE) �.� ขอบเขตการสร้างสรรค์ผลงาน (AREA OF STUDY) �.� ขัน� ตอนการดําเนินงาน (RESEARC SCHEDULE) �.� ผลที�คาดว่าจะได้รบั (EXPECTATION) บทที� � ข้อมูลพืน� ฐาน และรายละเอียดโครงการ ( CHAPTR 2 ) รายละเอียดเบือ� งต้นของโครงการ กรณีศกึ ษา ลักษณะทางกายภาพและสภาพแวดล้อมของโครงการ รายละเอียดทางสถาปั ตยกรรม บทที� � หลักการ ทฤษฎี แนวคิดที�ศกึ ษา ( CHAPTR 3 ) ทฤษฎีศกึ ษา แนวคิดในการออกแบบ หลักการในการออกแบบ กรณีศกึ ษา บทที� � ผลงานการออกแบบ ( CHAPTR 4 ) ผลงานการออกแบบ บทที� � บทสรุป และข้อเสนอแนะ ( CHAPTR 5 ) สรุปผลและข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ประวัติ

หน้า ก ข ค ง จ ฉ 2 3 4 5 6 9 -16 18 - 19 21 - 30 31 - 34 36 37 39 - 50 51 - 52 53 - 74 80 81 82


สารบัญภาพ

ภาพประกอบ ภาพประกอบอธิบาย GUNPLA ภาพประกอบอธิบายพัฒนาการของ GUNPLA ภาพประกอบอธิบายการผลิตGUNPLA ภาพกรณีศกึ ษา � ภาพกรณีศกึ ษา � ภาพกรณีศกึ ษา � ภาพประกอบProgramming ภาพที�ตงั� ของโครงการ ภาพแปลเดิม , รูปด้านและโครงสร้างของโครงการ ภาพการ SKETCH JOINT ภาพการพัฒนาการออกแบบของตัว JOINT ภาพกรณีศกึ ษาของตัวJOINT 1 ภาพกรณีศกึ ษาของตัวJOINT 2 ภาพ PERSPCETIVE ภายในโครงการ ภาพประกอบการออกแบบ BRANDING ภาพประกอบการออกแบบ BRAND CORPORATE ภาพการPESENTATION

หน้า 9 - 10 13 - 14 15 -16 19 20 20 25 - 30 31 - 32 33 - 34 37 - 38 39 - 48 51 52 57 - 74 75 75 77


CHAPTER

01


ในปั จจุบนั PLASTIC MODEL ถือว่าเป็ น งานอดิเรกทีไ� ด้รบั ความนิยมอย่างมากมาย ในทั�วทุกมุมโลก แต่กย็ งั มีผคู้ นมากมาอีก เช่นกันทีม� องว่าPLASTICMODELเป็นการ ต่อของเล่นของเด็กๆ ทั�งทีก� ารต่อโมเดลใน ปัจจุบนั ไม่ได้จบแค่การต่อตามรูปแบบแล้ว ตัง� โชว์อย่างเดียว แต่ยงั สามารถตกแต่ง ต่อเติมในส่วนต่างๆของMODELให้เป็นชิน� งานใหม่ๆเหมือนการสร้างงานศิลปะอีก รูปแบบนึง

porject background

กันพลาหรือ GUNDAM PLASTIC MODELเป็ นของเล่นชุดตัวต่อ MODEL จากการ์ตนู ซีรยี ช์ ดุ MOBILE SUIT GUNDAM โดยถูกสร้างขึน� ครัง� แรกในปี ����ที�ประเทศญี�ปนุ่ มีผผู้ ลิตรายแรกคือ บริษัท BANDAI มีการผลิตและจําหน่าย มาแล้วกว่า �� ปี เป็ นการเริม� ต้นจากการ ทํา PLASTIC INJECTION ซึง� เป็ นวิธีขนึ � รูปของพลาสติกรูปแบบใหม่ในยุคนัน� การ ประกบแบบสแนปฟิ ทที�ทาํ ให้สามารถ ติดตัวโมเดลเข้าหากันโดยที�ไม่ตอ้ งใช้ กาวการวิจยั โครงสร้างเพือ� การเคลือ� นไหว

c h a p t e r 01


objectives

- เพื�อเปลียนแนวคิดและทัศนคติของผูค้ นที�มีตอ่ PLSTIC MODEL ที�มองว่าเป็ นการเล่นของเล่น - เพื�อศึกษาตัว JOINT จากของเล่น PLSTIC MODEL และพัฒนาสูก่ ารออกแบบ -เพื� อ เป็ นศุ น ย์ ร วมใหม่ ๆ สํา หรั บ คนที� ส นใจใน PLASTIC MODEL - เพื�อสร้างความคิดที�ดีให้กบั PLASTIC MODEL


c h a p t e r 01 ศึกษาความเป็ นมาของพลาสติกโมเดลและการ พัฒนาการของพลาสติกโมเดล ศึกษาการเข้า JOIN ของพลาสติกโมเดล ศึกษาการเข้า JOINT ในปั จจุบั น ศึกษาการทํา PLASTIC INJECTION MOLDING

area of study


expectation research develop

lesson 1

design

lesson 2

lesson 3

lesson 4


c h a p t e r 01

- สามารถเป็ นพืน� ที�ใหม่ๆให้กบั นักสร้างสรรค์ผลงานจาก พลาสติกโมเดลให้เป็ นงานศิลปะ - ผูค้ นเข้าใจในเรือ� งของ PLASTIC MODELมากขึน� - ใช้ตวั JOINT ที�พฒ ั นามาจากแนวคิดการต่อ PLSTIC MODEL มาใช้ออกแบบและสามารถ พัฒนาและต่อยอดได้

research schedule



CHAPTER

02

what is gunpl?


GUNPLA เริม� ต้นจากการ์ตนู ซีรย์ชดุ กันดัม� และเริม� ผลิตครัง� แรกในปี ���� โดยบริษทBANDAIโดยเริม� แรกตัวโมเดล สามารถขยับได้เพียงแค่แขนขาและหัว เท่านัน�

ในปั จจุบนั มีการพัฒนาในส่วนของข้อต่อ ในจุดต่างๆจนทําสามารถขยับได้แทบจะ เป็ นอิสระและการทําสีท�ีทาํ ออกมาให้ สมจริงมากยิ�งขึน�

ความสนุกของ GUN จากการประกอบเสร ตกแต่งต่อเติมในส่วน การแกะสลักลาย (กา ส่วนเสริม (การทําพา และการทําสีโมเดล


NPLA ไม่ได้จบหลัง ร็จ แต่ยงั สามารถ นต่างๆของโมเดลเช่น ารเดินลาย) การทําชิน� าทเสริม) การใส่ไฟ

c h a p t e r 02

นอกจากการต่อเติมแลัวนัน� การทําฉาก จําลอง (การทําไดโอราม่า) ก็เป็ นอีกหนึง� สิ�งที�นิยมทํากัน จะเป็ นการสรางฉาก จําลองในการ์ตนู หรือจะเป็ นฉากทีถ� กู สร้าง ขึน� เอง ซึง� เหมือนกับการสร้างงานศิลปะ อีกรูปแบบหนึง�

การประกวด GUNPLA หรือที�รูจ้ กั ในชื�อ GUNPLA EXPO เป็ นงานประจําปี ท�ี � ปี จะมีครัง� เดียว จะเป็ นงานประกวดใหญ่ท�ี จะมีการประกวดไปทั�วโลก


IN THE BOX

พลาสติกพารท์ในแต่ละโครงรันเนอร์นนั� จะถูกแบ่ง ไวไดัวยตัวอักษร A,B,C,D ในแต่ละพารท์จะมีแท่งบ่างๆที�เรียกว่าเกทยึดติดกับ รันเนอร์เอาไว


การประกอบนัน� เป็ นรูปแบบการเสียบประกบ เข้าด้วยกันเรียกว่า “สแนปฟิ ก” โดยการใช้ ตัวเสียบและช่องรับอยูด่ า้ นหลังพาร์ทประ กบติดกันคือการประกอบขัน� พืน� ฐาน ซึง� ไม่ จําเป็ นต้องใช้กาวเลย ตัวเสียบกับช่องรับ นีจ� ะเรียก “เต้าเสียบ” กับ “ท่อรับ”

เป็ นส่วนที�ทาํ จาก POLYETHYLENE ซึง� มี ความยืดหยุน่ สูง เนื�องจากมีความทนต่อ แรงเสียดสีสงู กว่าพลาสติก จึงถูกนํามาใช้ใน ส่วนข้อพับต่างๆเป็ นหลัก ในรันเนอร์แท็กจะ ถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ “PC-” ให้สามารถ แยกได้งา่ ย

เป็ นแผ่นซีลแบบแปะสําหรับแยกสีในส่วนที� ละเอียดมากๆ ถูกพิมพ์อยูบ่ นแผ่นสีเงินเรียก ว่า “ฟอยร์ซีล”

c h a p t e r 02


THE EVOLUTION of GUNPLA

IS BORN 1980 � เป็ นรุน ่ ทีถ � ก ู ผลิตขึน เป็ นครัง� แรกมีขนาด 1:144 มีจด ุ ขยับเพียง ส่วนแขนขาและส่วน หัว

1987

1990

� เพือ ถูกผลิตขึน � เอาใจ เด็กๆสามารถต่อได้งา่ ย เพราะมีตวั JOINTและ ชิน � ส่วนทีไ� ม่ใหญ่มาก

เป็ นรุน ่ ทีถ � ก ู ผลิตมาก ทีส� ด ุ เนื�องจากมี ขนาดทีเ� หมาะทีส� ด ุ คือ1:144 มีดเี ทลและ จุดขยับต่างๆทีเ� หมือน จริง

199

เป็ นรุน ่ ทีข � น � คือ 1 มากขึน และมีโครงภ แข็งแรงจุดข � ตัวเฟรม ขึน สีทส ี� มจริง


95

นาดทีใ� หญ่ 1:100 ภายในที� ขยับทีม � าก มมีการทํา

c h a p t e r 02

1998

2010

2010

เป็ นรุน ่ ทีม � ข ี นาด 1:80 มีสว่ นโครงใน ทีม � รี ายละเอียดความ สวยงามและความซับ ซ้อนสูงความพิเศษคือ มีระบบไฟให้ตด ิ ตัง�

เป็ นรุน ่ ทีต � อ ่ ยอดจาก รุน ่ HG มีขนาด 1:144เหมือนกันแต่ จะมีรายละเอียดที� มากกว่าและมีขอ ้ ต่อ ทีเ� หมือนกัน MG

เป็ นรุน ่ ทีม � ข ี นาดที� ใหญ่ทส ี� ด ุ คือ 1:48 แต่มค ี วามระเอียดที� น้อยถูกผลิตออกมา ตอนครบรอบ 30 ปี


injection molding

แผ่นความร้อน

กระบอกฉี ด แม่พม ิ พ์

เปิ ดเครือ� งและใส่เม็ดพลาสติก ลงในกระบอก

เม็ดพลาสติกจะละรายจากเกลียวหมุน ที�ผา่ นแผ่นความร้อน

เกล


ทีใ� ส่เม็ดพลาสติก

การฉีดขึน� รูปเป็ นกระบวนการขึน� รูปโดยใช้แม่พิมพ์ วัสดุเช่น เรซินสังเคราะห์(พลาสติก) จะถูกทําให้รอ้ น และละลายก่อนจะถูกส่งไปยังแม่พมิ พ์เพือ� ทําให้เกิด รูปร่างที�ออกแบบไว้โดยการทําให้เย็น เนื�องจาก กระบวนการนีม� ีลกั ษณะคล้ายกับการฉีดของเหลว ผ่านกระบอกฉีดยาเราจึงเรียกว่ากระบวนการฉีดขึน� รูปขัน� ตอนของกระบวนการดังกล่าวมีดงั นีวั� สดุจะถูก ทําให้ละลายและเทลงในแบบหล่อเมื�อวัสดุแข็งตัวก็ จะถูกนําออกมาและเสร็จสิน� กระบวนการ การฉีดขึน� รูปสามารถทําให้ผลิตชิน� ส่วนทีม� รี ปู ร่างหลาก หลายรวมไปถึงชิน� ส่วนที�มรี ูปร่างซับซ้อนได้อย่างต่อ เนื�องและรวดเร็วในปริมาณมากด้วยเหตุนีการฉี � ดขึน� รู ปจึงใช้สาํ หรับการผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์ใน อุตสาหกรรมต่างๆ มากมาย

ลียวหนอน

ตัวไฮดรอลิกจะถูกดันออกไปเพื�อฉีด พลาสติกสูเ่ ข้าแม่พิมพ์

เมือผ่านกระบวนการความเย็นแล้วเอา แม่พิมพ์ออกก็จะได้ตวั โมเดลออกมา

c h a p t e r 02


GUNPLA C

พืน� ที�ของคน


COMMUNITY

นรักกันพลา

c h a p t e r 02


CASE STUDY

THE GUNDAM BASE TOKYO อาคาร Diver City Tokyo Plaza ชั�น �F โอไดบะ ประเทศญี�ปุ่น THE GUNDAM BASE ร้านขายของที�ระลึก

พืน� ที�สาํ หรับต่อ GUNPLA

ร้านขายโมเดลกันดัม� และอุปกรการต่อ

ห้องสําหรับทําสีโมเดล

พิพิธภัณฑ์การผลิต GUNPLA

พืน� ที�จดั แสดงผลงานในการประกวด

The Gundam Base Tokyo มีการวาง Circulation ทีมีการเชิญชวนให้คนเดินเป็ น วงกลมเพื�อที�จะได้เดินดูได้ท�วั ถึงทุกมุมโดยจะแบ่งโซนเป็ นส่วนต่างๆ มีสว่ นการ บริการเสริมเช่นการขนส่งสิน� ค้าจากการซือ� สินค้า มีจดุ ให้สามารถนั�งต่อหรือทําสี โมเดล มีบริการส่งของถึงบ้านทั�งในและนอก ประเทศ


GUNPLA EXPO THAILAND 2019

Gundam Expo Thailand 2019 มีการประกวดผลงานของผูค้ นจากทั�วประเทศไทย ภายในงานจะมีการจัดกิจกรรมที�ให้คนที�ไปได้รวมสนุกกัน

YIN YANG CARTOON

YIN YANG CARTOON สถานที�ต�งั ร้าน ชัน� G MRT พระราม � เป็ นร้านขายอุปกรณ์ทาํ สีโมเดล ที�เปิ ดสอนการทําสีโมเดลและสอนทําดีโอราม่า มีการให้คนทั�วไปสามารถมาใช้พืน� ที�ในการทําสีได้ บางโอกาสจะมีวิทยากรมา บรรยายเกียวกับของเล่นพลาสติกโมเดล ในวันปกติจะสามารถเข้ามาใช้พืน� ที� ทําผลงานได้โดยจะมีเจ้าของร้านอย่างคุณวินให้คาํ ปรึกษา

c h a p t e r 02


TARGET GROUP กลุม่ ที�เล่น GUNPLA อยูก่ ่อนแล้ว - คนที�พง�ึ หัดเล่น - คนที�มีความชํานานในการเล่นแล้ว - คนที�เล่นและทํางานส่งเข้าประกวด

กลุม่ เป๋ าหมายใหม่ - กลุม่ คนที�ยงั ไม่รูจ้ กั ใน GUNPLA - กลุม่ วัยรุน้ ในช่วงอายุ ��-�� ปี - กลุม่ คนที�ชอบของเล่น - กลุม่ ครอบครัว


c h a p t e r 02



GUNPLA WORKSHOP

c h a p t e r 02

GUNPLA MUSEUM GUNPLA EXHIBITION GUNPLA SHOP SERVICE AREA

progamming


GUNPLA WORKSHOP

GUNPLA WORKSHOP #01 สอนการต่อขัน� พืน� ฐาน - สอนต่อดิบ - สอนการเก็บงาน - สอนเดินลายให้หนุ่ - สอนตัดเส้น

GUNPLA WORKSHOP #02 ห้องสอนตกแต่งกันพลา - สอนทํา DIORAMA - สอนการใส่ไฟในตัวหุน่ - สอนทําชิน� ส่วนเสรฺ มิ


c h a p t e r 02

GUNPLA WORKSHOP #03

GUNPLA WORKSHOP #04

ห้องสอนทําสี - แบบพ่นสี - แบบพูก่ นั ทาสี - มีท�ีอบสี

WORKSHOP ของคนทั�วไป - ห้องนั�งต่อของคนภายนอก - ห้องบรรยาย - ห้องทําสีหนุ่


GUNPLA MUSEUM

- โชว์ผลงานของคนที�มาเรียน - โชว์ผลงงานการประกวด - โชว์ขนั� ตอนการผลิตกันพลา


c h a p t e r 02

- แข่งประกวดกันพลา - Work Shop นอกสถานที�

GUNPLA EXHIBITION


GUNPLA

- ขายอุปกรณ์และสีสาํ หรับทํา GUNPLA - ขายของที�ระลึก - ขาย GUNPLA

SERVICE AR


A SHOP

c h a p t e r 02

- Cafe&Canteen - Sitting Area - Reception

REA

- Office - LOCKER (สําหลับฝากงาน) - บริการรับส่งสินค้า - จุดยืมอุปกรณ์


location & site analysis the jam facktory

pors โครงการ The Jam Factory ที�อยู่ ��/� ถ.เจริญนคร คลองสาน กรุงเทพมหานคร ����� โครงการ The Jam Factory เปิ ดให้บริการทุกวันตัง� แต่ �� โมงเช้าจนถึง � ทุม่ ส่วนร้านอาหารเปิ ดให้บริการตัง� แต่ �� โมงเช้า และครัวปิ ดตอน � ทุม่ ภายในโครงการสามารถจอดรถได้ �� คันโดยประมาณ สามารถเดินทางมาทางเรือได้โดนขึน� ท่าเรือคลองสานและ เดินเข้าทางฝั�งริมนํา� เจ้าพระยา

- มีพืน� ที�ขนาดใหญ่

- อยูใ่ กล้กบั ICONSIAM - มีคอร์ดสนามที�สามารถจัดงาน Event กลางแจ้งได้ - เป็ นแหล่งพักผ่อนของนักท่องเที�ยว - เป็ นพืน� ที�ตดิ แม่นา�ํ เจ้าพยา

cons

- การเข้าถึงค่อนข้างยาก - การเดินทางลําบาก


c h a p t e r 02

สามารถขับรถมาเองได้

มีรถประจําทางผ่านทางหน้าตลาด

มีทา่ เรืออยูด่ า้ นในติดแม่นาํ ้

มีตลาดติดกับ THE JAM FACKTORY


plan the jam facktory


โครงสร้าง คอนกรีต กับไม้ โครงสร้างหลังคาเป็ นไม้

c h a p t e r 02 ผนังก่ออิฐฉาบปูน

ตัวโครงการมีกระจกรอบ ด้าน



CHAPTER

03

HYPOTHESIS ถ้าการต่อ PLASTIC MODEL ไม่ได้เป็ นเพียงการแค่ตอ่ ของเล่นเพียงอย่างเดียวอีกต่อไป แต่เราสามารถนําการต่อนีม� าใช้ในการออกแบบ โดยใช้หลักการเดียวกันกับการต่อ MODEL “SNAPFIX” คือการประกบติดขอววัตถุสองชิน� โดยไม่มีอะไรมาคอยเชื�อม


CONCEPT : SNAPFIX เป็ นการออกแบบตัว JOINT จากการเสียบประกบติดแบบวิธี SNAPFIX ที�ไม่ตอ้ งใช้ตวั ช่วยให้ตดิ กันอย่างสนิทและทําให้เกิด ข้อต่อที�สามารถขยับได้ ซึง� เป็ นพืน� ฐานของการต่อ GUNPLA มาใช้ในการออกแบบ INTERIOR


c h a p t e r 03

sketch joint design


นําตัว JOINT ของกันพลามาขยาย �ึ แล้วนําการ snapfix มา ใหญ่ขน ลองดีไซน์เป็ น display

JOINT DEVOLOP


� มาเพือ ทําโมเดลตัว JOINT ขึน � ดู ว่าตัว JOINT สามารถขยับได้มาก น้อยแค่ไหน

c h a p t e r 03

ลองออกแบบตัวเฟรมทีส� ามารถนํามา ประกบติดกันได้กบั ตัวโครงแล้วใช้ ตัว JOINT มาเป็ นตัวเชือ � มเข้าหากัน


ทํามาจาก HOLYETHYLENE เป็ นพลาสติก ที�สามารถขึน� รูปได้ท�งั แบบแข็งและแบบอ่อน

เปลี�ยนรูปแบบฟอร์มได้หลายรูปแบบ

ตัว Joint เพิ�มเติมเพื�อให้ขยับได้มากขึน�


เป็ นเฟรมนอกที�สามารถเปลียนสีเปลียนลายได้ เหมือนการต่อGunpla

มี � แบบ เป็ นแบบตัวรับกับตัวเสียบ

เป็ นตัวโครงที�ใช้การ snapfix เพื�อล็อค ตัว JOINT ให้ขยับได้อยูใ่ นกลอบ

c h a p t e r 03


ใช้หลักการต่อระบบโมดูลาร์ท�ีใช้การต่อไปเรือ� ยๆจนเกิดเป็ นแพทเทิรน์ ลายรูปหกเหลียม แต่ยงั สามารถขยับได้จากการใช้ตวั JOINT เสริมทําให้ดดั โค้งเป็ นโดมได้


c h a p t e r 03


นอกจากการต่อเป็ นแพทเทิรน์ แล้วยังสามารถต่อให้เกิดเป็ นรูปทรงได้อีกด้วยโดยใน ตัวอย่างได้ทาํ การต่อให้เป็ นกล่องสี�เหลียม


c h a p t e r 03


สามารถนํามาต่อเข้าด้วยกันได้อีหลายแบบแต่ตอ้ งใช้ตวั JOINT เสริมที�เป็ นตัว JOINT รปู T และ JOINT รูป + เพื�อให้ตอ่เข้าหากันได้ไม่วา่ จะเป็ นแนวตั�งหรือแนวนอน


c h a p t e r 03


ภายในตัวโรงการเมื�อนํามาต่อเรียงกันจะได้เป็ นจะกลายเป็ นตัว DISPLAY ที�เอาไวโชว์ผล งานที�ประกวดสามารถนําออกไปจัดเป็ นนิทรรศการได้


c h a p t e r 03


NV01 เป็ นผลงานของ Noir Vif สตูดโิ อ ที�ก่อตัง� โดย André Fontes และ Guillaume Lehoux ข้อต่อมุมของแต่ละโมดูลสามารถเสียบเข้าหากันได้ เป็ นการออกแบบที�ได้แนวคิดมาจาก การต่อจิก� ซอว์


casestudy Shigeru ban + Hermès: module H

ออกแบบโดย shigeru ban กับแบรนด์ Hermès จัดแสดงที� DESIGN WEEK 2012เป็ นการออกแบบ PARTITION จาก เหล็กให้มีแพทเทิรน์ เป็ นรูปตัว H เพื�อให้สามารถนําเอาบล็อก สี�เหลี�ยมนําไป JOINT กันทําให้เกิดเป็ นผนังที�เปลื�ยนลวดลาย ได้ และยังปรับเปลี�ยนแพทเทิรน์ ได้อีกด้วย

c h a p t e r 03


CHAPTER

04


23.45

3.70

4.00

4.06

4.04

4.15

3.50

4.50

SCALE

PLAN

4.49

FD.

FD.

4.50

FD.

FD.

4.50

35.11

FD.

FD.

4.70

FD.

FD.

FD.

4.00

2.69

4.18

4.00

1:300

6.84

0.87

2.46

4.00

FD.

2.44

2.46 2.44

20.54

2.46 2.44

2.46 2.44

c h a p t e r 04

FD. FD.

4.50 4.50

FD.

FD.

18.25

FD.

FD.

4.50

FD.

4.50

4.29

4.03

4.03

3.40

3.45

3.48

3.42

3.45

33.25

3.45


GUNPLANION

FUNITURE LAY OUT PLAN


SCALE

PLAN 1:300

c h a p t e r 04


perspective


c h a p t e r 04

LOBBY


perspective


c h a p t e r 04

WAITING AREA


perspective


c h a p t e r 04

WORK SHOP


perspective


WORK ROOM

c h a p t e r 04


perspective


gunpla cafe

c h a p t e r 04


perspective


GUNPLA SHOP

c h a p t e r 04


GUNPLA EXHIBITION IN DOOR


c h a p t e r 04 perspective


perspective


c h a p t e r 04

GUNPLA MUSEUM


perspective


c h a p t e r 04

GUNPLA EXHIBITION OUT DOOR


logo bland

G U N P L A N E R D

GUNPLANERD

DRENALPNUG

DRENALPNUG

GUNPLANERD

BRAND CORPERATE


GUNPLANERD c h a p t e r 04

GUNPLANED

GUNPLANED GUNPL BUILDER : KAEW NO : 001 AGE : 22 3/7/1997

GUNPLANED GUNPL BUILDER : KAEW NO : 001 AGE : 22 3/7/1997



c h a p t e r 04



CHAPTER

05

RESEARCH SUMMARY

สรุปผลการออกแบบ หลังจากที�ได้ทดลองจากการทําโมเดลขึน� มาทําให้ได้ขอ้ สรุปที�วา่ การใช้กระบวนการ SNAPFIX ของการต่อโมเดลสามารถนํามาใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานการออกแบบได้และสมมติฐานที�ผมตัง� ขึน� “ถ้าการต่อ PLASTIC MODEL ไม่ได้เป็ นเพียงการแค่ตอ่ ของเล่นเพียงอย่างเดียวอีกต่อไปแต่เราสามารถนําการต่อนี � มาใช้ในการออกแบบ โดยใช้หลักการเดียวกันกับการต่อ MODEL” สามารถทําให้เป็ นจริงขึน� ได้ ข้อเสนอแนะ -


research reference

https://www.designboom.com/architecture/shigeru-ban-hermes-module-h/ https://competition.adesignaward.com/design.php?ID=25500 https://www.vcagundam.com/article/1/gupla https://www.pinterest.ca/ https://www.facebook.com/MydesignClub/posts/3234990729852245 https://www.facebook.com/Mcraftstudio/photos หนังสือมือใหม่หดั เล่นกันพลา NOMOKE extra edition การฟั งบรรยายเรือ� งการทํา PLASTIC INJECTION MOLDING จากร้าน

YIN YANG CARTOON


ประวัติ

ชื�อ-นามสกุล : นายจิรวัฒก์ โตบุญพา วัน-เดือน-ปี เกิด : � กรกฎาคม พ.ศ. ���� อายุ : �� ปี ที�อยู่ : ���/��� ซ.�/� หมู่ � หมูบ่ า้ นชัยพฤษ์ ต.พิมลราช อ.บางบัวทอง ถ.บางกรวยไทรน้อย จ.นนทบุรี ����� โทรศัพย์ E-mail Facebook

:���������� :Jitawat.toboonbha@gmail.com :Jirawat Tobonbha

การศึกษา ประถมศึกษา

:โรงเรียนอนุราชประสิทธิ�

มัธยมศึกษาตอนต้น

:โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม

มัธยมศึกษาตอนปลาย

:โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม

อุดมศึกษา

:สาขาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต

c h a p t e r 01



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.